นิสิตนักศึกษา ฉบับบางคณฑีที่รักษ์

Page 1

หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบตั ิ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฉบับ บางคณฑีที่รักษ์

ทุกปัจจุบัน ...มีอดีต

2 4 6 8 10 11 12 14 15 16

“อาชีพอดิเรก” ชาวบางคนที ตีแผ่โครงการแม่น�้ำใหม่ ตอก “หัวใจ” ใส่แผ่นหนัง ที่เห็นและเป็นอยู่ สุนัขสัมพันธ์ “คนแก่” ดูแลได้ การจัดการอดีตของรั​ัฐกับชุมชน เกษตรอินทรีย์ ประโยชน์จากมะพร้าว ความงามในศรัทธา


ช่องทางท�ำกิน

กระทงใบตอง :

“อาชีพอดิเรก” ของชาวบางคนที ธารใส อัจฉริ ยบุตร

ตามความหมายทัว่ ไป “งานอดิเรก” หมายถึงสิง่ ทีผ ่ คู้ นท�ำยามว่างตามความสนใจและเพือ่ ความสนุกสนานเป็นหลักมากกว่าทีจ่ ะท�ำเพือ่ หวังผลตอบแทนทีเ่ ป็นเงินหรือสิง่ แลกเปลีย่ นอืน่ ๆ ส่วน “อาชีพเสริม” หมายถึงงานทีท่ ำ� เพิม่ จากอาชีพประจ�ำทีม่ อี ยูแ่ ล้วเพือ่ เพิม่ รายได้

ใน

หลายพื น้ ที่ ค�ำสองค� ำนี อ้ าจหมายถึงงานคนละอย่าง แต่ส�ำหรั บ ชาวบางคนที งานอดิเรกกับอาชีพเสริ มคือสิง่ เดียวกัน งานยามว่างที่ช่วยเพิ่มรายได้ หรื อ “อาชีพอดิเรก” ของชาวบางคนทีมี หลากหลายประเภท ส่วนมากมักจะเป็ นงานที่เกี่ยวเนื่องกับอาชีพหลักของชาวบ้ าน เพราะวัตถุดิบที่เอามาใช้ ประกอบอาชีพอดิเรกนัน้ ล้ วนมาจากวัสดุเหลือใช้ จาก งานประจ�ำทังสิ ้ ้น เช่นเดียวกับอาชีพอดิเรกที่จะมาแนะน�ำในฉบับนี ้ที่ดเู หมือนจะได้ รับความนิยมอย่างยิ่งจากคนในชุมชนทุกเพศทุกวัย นัน่ คือ “การเย็บกระทงใบตอง” อย่าเพิง่ เข้ าใจผิด! (เหมือนกับทีผ่ ้ เู ขียนเคยปล่อยไก่มาแล้ ว) ว่านี่คอื กระทง ที่ใช้ ลอยน� ้ำเพื่อขอขมาพระแม่คงคา เพราะกระทงใบตองที่ว่านี ้เป็ นกระทงขนาด เล็ก ๆ เส้ นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6-7 ซม.จับจีบรอบวงกลม แล้ วกลัดขอบด้ วย ไม้ กลัดจนมีลกั ษณะคล้ ายถ้ วยเล็ก ๆ ส่วนมากจะเอาไว้ ใส่อาหาร วัตถุดบิ ที่ใช้ ทำ� กระทงใบตองมีสองอย่ างด้ วยกัน อย่างแรกคือใบตอง แต่ไม่ใช่ใบตองทุกชนิดจะสามารถน�ำมาใช้ ท�ำกระทง ได้ เพราะแต่ละชนิดก็มีความเปราะและความเหนียวแตกต่างกันออกไป ใบตองที่มี ความเหนียวเหมาะกับการท�ำกระทงมากที่สดุ ก็คือใบกล้ วยน� ้ำว้ า นอกจากนี ้ยังต้ อง เป็ นใบตองแห้ งที่แห้ งคาต้ นเท่านัน้ เพราะใบตองสดที่น�ำมาตากแห้ งอาจขึ ้นราได้ หากเก็บรักษาไม่ถกู ต้ อง ที่ส�ำคัญใบตองที่แห้ งคาต้ นจะเหนียวพอดี เหมาะที่จะใช้ ท�ำกระทงด้ วย วัตถุดิบอย่างที่สองคือไม้ กลัดยาวประมาณ 1 ซม.ท�ำจากไม้ ไผ่สีสกุ ที่ หาได้ งา่ ยในชุมชน ถ้ าไม้ ไผ่ทนี่ ำ� มาใช้ ออ่ นเกินไป ก็สามารถเอามาคัว่ ให้ แข็งก่อนแล้ ว ค่อยเอาไปกลัดกระทงก็ได้ การท�ำกระทงแบ่งได้ เป็ นสามขันตอนคื ้ อขันตอนการเตรี ้ ยมวัตถุดิบ การ จับจีบกระทง และหลังท�ำกระทงเสร็จแล้ ว ขันตอนการเตรี ้ ยมวัตถุดิบยังช่วยสร้ างอาชีพอดิเรกเพิ่มขึ ้นอีกสองงาน นัน่ คืองานเก็บใบตองแห้ ง และงานตัดไม้ กลัด งานเก็ บ ใบตองแห้ ง ไม่ต้ อ งใช้ อุป กรณ์ อ ะไรมากมาย เพี ย งแค่มี ด กับ รถจักรยานยนต์สกั คันไว้ ขนใบตองที่ตดั มาก็เป็ นอันใช้ ได้ เมื่อเก็บใบตองแห้ งได้ แล้ ว ก็เอามาผึ่งแดดเอาไว้ หนึ่งวัน วันต่อมาค่อยฉีกใบตองเป็ นแผ่น ๆ ตากแดดจัด ๆ อีกวันเป็ นการฆ่าเชื ้อ แล้ วจึงม้ วนเก็บไว้ เป็ นก้ อน ทีนี ้ก็สามารถเก็บใบตองเอาไว้ ได้ นานเป็ นปี ไม่ต้องกลัวขึ ้นรา จะตุนไว้ เย็บกระทงเองหรื อขายต่อให้ ชาวบ้ านคนอื่น ๆ ด้ วยก็ได้ ชาวบ้ านนักเก็บใบตองแห้ งส่วนมากจะมีสวนกล้ วยเป็ นของตนเองอยูแ่ ล้ ว จึงไม่ต้องลงทุนอะไรใหม่เลย เมื่อจะเย็บกระทง ก็ใช้ ใบมีดโกนเจียนใบตองแห้ งเป็ นวงกลมขนาดต่างกัน ไปแล้ วแต่ประเภทกระทง เช่น กระทงกระจิบ มีเส้ นผ่านศูนย์กลาง 6.5 ซม.แต่ถ้าเป็ น กระทงกะเทยเล็กก็ต้อง 7.5 ซม.เป็ นต้ น หรื อจะใช้ แม่แบบเป็ นถ้ วยตะไลใบเล็ก ๆ ที่ หาได้ ตามบ้ านเรื อนต่าง ๆ ก็ได้ งานอดิเรกอีกอย่างคืองานตัดไม้ กลัด ผู้ทที่ ำ� งานนี ้ส่วนมากมีอาชีพจักสาน อยู่แล้ ว อย่างเช่นคุณตาค�ำ ทองพรามและลูกสาวคือคุณป้าประยูร ทองพราม คุณตาเล่าว่า ไม้ กลัด 1 กก.สามารถขายได้ ถงึ 300 บาทเลยทีเดียว

2

ขัน้ ตอนที่ ส องคื อ การจับ จี บ กระทงซึ่ง ต้ อ งอาศัย ทัก ษะความช� ำ นาญ อยูส่ กั หน่อย ยิง่ ใบตองขนาดเล็ก การจับจีบยิง่ ทวีความยากขึ ้นไปด้ วย ยังไม่ต้องพูด ถึ ง การกลัด ให้ แ ต่ ล ะกลี บ คงรู ป ร่ า งไว้ ซึ่ง ทรมานพอดูส� ำ หรั บ มื อ ใหม่ หัด กลัด (อย่างเช่นผู้เขียน) ทีก่ ว่าจะดันไม้ กลัดให้ ทะลุใบตองได้ ก็ถกู ไม้ กลัดทิม่ นิ ้วเป็ นว่าเล่น เลยทีเดียว แต่เหตุการณ์ทวี่ า่ คงไม่เกิดกับชาวบางคนทีมากนัก เพราะชาวบ้ านทีน่ ไี่ ม่ ว่าจะวัยไหน เพศอะไร ต่างก็ชำ� นาญการท�ำกระทงกันทังนั ้ น้ ดังทีค่ ณ ุ ตาค�ำได้ กล่าวไว้ ว่า “งานเย็บกระทงนี่ ไม่เลือกคน เย็บได้ หมด บางทีเด็กนักเรียนเย็บเก่งกว่าผู้ใหญ่อกี ” ขันตอนสุ ้ ดท้ ายหลังจากท�ำกระทงเสร็ จแล้ ว นักเย็บกระทงก็จะน�ำกระทง มาเรี ยงซ้ อนกันเป็ นแถว แถวละ 100 ใบ อุดปลายด้ านหนึง่ ด้ วยจุกที่ท�ำจากกระดาษ และเศษใบตองแห้ งที่เหลือจากการตัดใบตองเพื่อให้ กระทงคงรูปทรง แล้ วค่อยน�ำ เชือกฟางมาผูกแถวกระทงเอาไว้ ชาวบ้ านส่วนใหญ่นิยมใช้ เชือกฟางสีเหลืองอมส้ ม เพราะเชื่อกันว่าจะท�ำให้ ใบตองมีสีนวลสวยไปด้ วย จากนันก็ ้ เอากระทง 10 แถวมา เรียงกันเป็ นรูปทรงพีระมิด (สามเหลีย่ มฐานสีเ่ หลีย่ ม) ทีป่ ระกอบด้ วยกระทง 1,000 ใบ แล้ วขายทีละมัด ได้ ราคาแตกต่างกันไป เช่น กระทงกะเทย 1,000 ใบขายได้ 280 บาท ส่วนกระทงกระจิบ พันละ 250 บาท เป็ นต้ น นอกจากสร้ างรายได้ แล้ ว คุณสิริยา ไทยสมบูรณ์ และคุณนิภา สุขสะอาด ที่เย็บกระทงเป็ นอาชีพอดิเรกเป็ นประจ�ำมองว่าการเย็บกระทงท�ำให้ ชาวบ้ านสนิท กันมากขึ ้น เพราะผู้ที่ช�ำนาญแล้ วสามารถเย็บกระทงได้ โดยไม่ต้องใช้ สมาธิมาก บางทีก็เย็บไปคุยกันไป หรื อนัง่ ล้ อมวงเย็บกระทงและดูโทรทัศน์ไปพร้ อมกันก็ได้ งานนี ้เลยเปิ ดโอกาสให้ ชาวบ้ านต่างเพศ คละวัยได้ มาอยูใ่ นที่เดียวกัน ท�ำกิจกรรม ร่วมกัน พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ส่งผลให้ สนิทกันไปโดยปริ ยาย ส่วนคุณตาค�ำและคุณป้าประยูรามองว่า อาชีพอดิเรกนี ้ยังท�ำให้ ผ้ สู งู อายุ อย่างพวกเขาได้ มีโอกาสฝึ กทักษะและฝี มือ ไม่ต้องนัง่ เหงาอยูเ่ ฉย ๆ และปล่อยให้ เวลาผ่านไปโดยไร้ ประโยชน์อีกด้ วย จะเห็นได้ วา่ งานเย็บกระทง งานเก็บใบตองแห้ ง และงานตัดไม้ กลัดของ ชาวชุมชนบางคนทีมจี ดุ ร่วมกันนัน่ คือการน�ำ “ของเหลือ” สองประเภทมาเพิม่ มูลค่า ประเภทแรกคือวัสดุทเี่ หลือใช้ จากการประกอบอาชีพหลัก และประเภททีส่ องก็คอื เวลา นอกจากนี ้งานทังสามอย่ ้ างนี ้ยังท�ำให้ ชาวบ้ านเกิดความเพลิดเพลินและผ่อนคลาย ขณะทีท่ ำ� งานด้ วย เพิม่ พูนกันทัง้ รายได้ และความเพลิดเพลินขนาดนี้ จะไม่ ให้ เรี ยกว่ า “อาชีพอดิเรก” ได้ ยังไง

(สุดท้ ายนี ้ขอขอบคุณพี่ขม (สิริยา ไทยสมบูรณ์) และพี่ต้อย (นิภา สุขสะอาด) ที่อตุ ส่าห์เสียสละ ใบตองแห้ งที่ตดั แล้ วร่ วมสามสิบแผ่น และไม้ กลัดอีกจ�ำนวนหลายร้ อยเพื่อให้ ผ้ เู ขียนได้ ทดลอง ท�ำเสีย เอ้ ย! ท�ำกระทงใบตอง มา ณ โอกาสนี ้ด้ วยค่ะ)


บทบรรณาธิการ

เจ้ าของ : ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ ท่ ปี รึกษา : อ.พรรษาสิริ กุหลาบ บรรณาธิการ : จาตุรณต์ พูลสวัสดิ์ กองบรรณาธิการ : การะเกด นรเศรษฐาภรณ์, จิตริ นทร์ เลิศรัตนวิสทุ ธิ์, จุฑารัตน์ กุลตัณกิจจา, ธารใส อัจฉริ ยบุตร, พรทิวา ไวยครุฑธา, วรรณรัตน์ กล�่ำสมบัต,ิ ศิลป์ศุภา โยคะกุล บรรณาธิการฝ่ ายศิลป์ : อภิชชญา โตวิวิชญ์ กองบรรณาธิการฝ่ ายศิลป์ : กฤตพร ธนะสิริวฒ ั น์, ชฎารัตน์ โภคะธนวัฒน์, ณภศศิ สุรวรรณ, อรุณรัตน์ ใจกล้ า สถานที่ตดิ ต่ อ : ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

ต้นเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา กองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์นิสิตนักศึกษาได้ รับ

มอบหมายให้ ลงพื ้นที่เขต ต.บางคนทีและต.บ้ านยายแพง อันเป็ นพื ้นที่ในความดูแลขององค์การ บริ หารส่วนต�ำบลบางคนที อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม โดยใช้ ระยะเวลาสัน้ ๆ ของวัน หยุด สุดสัปดาห์ ไม่กี่ครั ง้ คราวเพื่อศึกษาและเฝ้ามองชุมชนในฐานะคนนอกกลุ่มหนึ่ง นอกจากได้ เ ห็ น วิ ถี ชี วิ ต ที่ อ ยู่อ ย่ า งพอเพี ย ง และได้ ฟั ง เรื่ อ งเล่ า ชวนสนุก ที่ แ สดงถึ ง ความใกล้ ชิดกันของคนในชุมชนแล้ ว สิ่งที่ เราทราบคือชาวบ้ านหลายคนมี ความเห็นที่ ตรงกัน เรื่ องการรั บมือกับการเปลี่ยนแปลงจากสังคมภายนอกที่ก�ำลังรุ กล� ้ำเข้ ามาในชุมชน ก่ อ นหน้ า ที่ จ ะเป็ นถนนลาดยางอย่ า งทุก วัน นี ้ ชาวบ้ า นเคยสัญ จรทางน� ำ้ เป็ นหลัก ผ่านคูคลองและท้ องร่ องที่เชื่อมต่อถึงกัน พื ้นที่คบั แคบของเรื อและการลงแรงพายด้ วยมือตัวเอง ท�ำให้ การเดินทางล่าช้ าและไม่ค่อยสะดวกสบายนัก แถมยังต้ องทักทายเพื่อนบ้ านที่ท�ำงานอยู่ ริ มคลองหรื อพายเรื อสวนมาอยู่บ่อยครัง้ จึงเสียเวลาไปมากกับการเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ แทนที่ จะเอาเวลาไปท�ำงานในสวนมะพร้ าวจ�ำนวนหลายร้ อยไร่ ของตน จนมามีพื ้นยางมะตอยที่ราบเรี ยบและร้ อนระอุ การไปมาหาสู่กนั จึงเร็ วขึ ้นมาก ง่ายดาย และแทบจะไม่ต้องใช้ ก�ำลังให้ เหนื่อยเหมือนตอนพายเรื อ ธุระอันใดที่ตงใจไว้ ั้ ก็ท�ำเสร็ จได้ ในเวลา ที่ต้องการ พืน้ ที่ท�ำกินที่เคยมีอยู่นับร้ อยไร่ ก็ลดลง ไม่ต้องท�ำงานกันหนักเหมือนแต่ก่อน ชาวบ้ านบอกว่ารั บรู้ กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกภายนอกชุมชนได้ ดี แม้ จะเห็น ข้ อดีมากมายแต่ตัวเองก็ยังค่อนข้ างพอใจกับวิถีชีวิตเกษตรกรรมท�ำไร่ ท�ำสวน สภาพแวดล้ อม ก็ยงั เอื ้อให้ ท�ำมาหากินในลักษณะนี ้อยู่ ความห่างไกลสังคมเมืองยังปกป้องชุมชนจากการกลาย เป็ นแหล่งท่องเที่ยวและการรุ กล�ำ้ ของคนภายนอกที่จะน� ำกระแสทุนนิยมเข้ ามาด้ วย ท� ำให้ ไม่ ยากนักที่ชาวชุมชนจะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เล็ดลอดเข้ ามาได้ ด้วยสายตาที่มีวิจารณญาณ ทั ง้ ยั ง สามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ ความรู้ ใหม่ ๆ ที่ เ กิ ด ขึ น้ พร้ อมกั บ การเปลี่ ย นแปลง เพื่ อ สร้ าง ประสิทธิ ภาพในการประกอบอาชีพและดูแลรั กษาชุมชน น่าประทับใจไม่น้อยที่คนในชุมชนส่วนหนึ่งพร้ อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอย่าง รู้ เท่าทัน อาจจะเพราะความรักในถิ่นเกิดหรื อเพราะมีตวั อย่างของชุมชนอื่นให้ เห็นอยู่บ้างก็แล้ วแต่ แต่ความจริ งประการหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ ก็คือ เมื่อขึน้ ชื่อว่า “ชุมชน” แล้ วก็ต้องเป็ นคนทัง้ หมดใน ชุมชนที่ จ ะมองเห็นปั ญ หาและช่ว ยกันแก้ ไ ขให้ เ หมาะควร ถึง แม้ จ ะมี “มื อ ” จากภายนอกมา เกี่ ยวข้ องบ้ าง แต่สุดท้ ายก็ต้องเป็ น “ใจ” ของคนในพืน้ ที่ที่จะร่ วมกันตัดสินเลือกแนวทางเดิน ต่อไปในอนาคต “นิสิตนักศึกษา” เป็ นเพียงคนนอกที่ผ่านเข้ ามา คงไม่สามารถเป็ นฝี พายของเรื อใหญ่ ล�ำนี ้ อาจเป็ นได้ แค่สายลมบางเบาที่แม้ จะไม่มีส่วนช่วยผลักให้ เรื อเดินไปข้ างหน้ า แต่อย่างน้ อย ก็พดั ทวนกระแสลมอื่น ๆ เพื่อส่งสัญญาณเตือนว่าพายุใหญ่ก�ำลังตังเค้ ้ าอยู่ไม่ไกล เหล่าฝี พาย จงจับไม้ พายให้ มนั่ จ้ องมองไปข้ างหน้ าให้ ดี เนื่องด้ วยมรสุมที่ก�ำลังใกล้ เข้ ามาแค่คนไม่กี่คนคง ไม่อาจรั บมือได้ และเรายัง ขอเป็ นสายลมระรื่ น ที่ พัด เรี ย กก� ำ ลัง ใจให้ กั บ ลูก เรื อ ทุ ก คนที่ ก� ำ ลัง สู้อ ยู่ และที่ส้ ูจนแทบจะหมดแรงไปแล้ ว ให้ พอได้ ชื่นใจและกลับมามีความหวังอีกครั ง้ หนึ่ง เพราะเรารู้ ว่าฝี พายที่ดีท่ีสุดบนเรื อ คือฝี พายที่ร้ ู จักเรื อและไม้ พายของตนดีท่ีสุดนั่ นเอง.

ขอขอบคุณ น.ส.เรณู เล็กนิมิตร (นายก อบต.บางคนที) น.ส.พัชรี มีวัฒนะ (พี่ปอ) น.ส.ณัฏฐา นาคคีรี (พี่ณัฐ)

น.ส.อมรรัตน์ อยู่เชื้อ (น้องรัตน์) น.ส.สุภาพร ศุกรโยธิน (น้องมิ้น) น.ส.ณิชนันทน์ จีบประจง (น้องนุ่น)

แ ล ะ พี่ น ้ อ ง ช าวชุ ม ช น บ า ง ค น ที ทุ ก ค น

3


สารคดีขา่ ว

ตีแผ่โครงการแม่น�้ำใหม่: กรณีศึกษา ผลกระทบ

และเสียงสะท้อนจากชาวสมุทรสงคราม จุฑารัตน์ กุลตัณกิจจา / พรทิวา ไวยครุฑธา

เมื่อวันที่ 22 พ.ย. 2556 ภายในบริเวณ

4

วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงครามเนืองแน่นไปด้ วยผู้คน ตัง้ แต่ เ ช้ า แม้ นัก ศึ ก ษายัง คงมาเรี ย นกัน ตามปกติ แต่ บ รรยากาศในห้ ว งเวลานัน้ อาจไม่ ชิ น ตาส� ำ หรั บ ผู้พ บเห็ น เช่ น ทุก วัน เพราะมี เ จ้ า หน้ า ที่ ต� ำ รวจและ กองบัญชาการกองอาสารักษาดินแดน จ.สมุทรสงคราม จ� ำ นวนมากคอยดู แ ลและควบคุ ม บริ เ วณทางเข้ า วิทยาลัย ทังยั ้ งกระจายไปทัว่ พื ้นที่ตงแต่ ั ้ เวลา 5.00 น. ส่วนบริ เวณสนามหญ้ า และศาลาอเนกประสงค์ก็เต็ม ไปด้ วยประชาชนจ� ำนวนมากที่พร้ อมใจกันมาแสดง จุดยืนของตนเกี่ยวกับโครงการเพือ่ การวางระบบบริหาร จัดการน� ้ำและสร้ างอนาคตประเทศ หรื อที่ร้ ูจกั กันในชื่อ โครงการบริ หารจัดการน� ำ้ 3.5 แสนล้ าน พื น้ ที่ ของ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงครามซึ่งเป็ นสถานที่จัดเวที รับฟั งความคิดเห็นจึงคุกรุ่ นไปด้ วยกระแสการคัดค้ าน โครงการดังกล่าว หลังเหตุการณ์ น�ำ้ ท่วมใหญ่ ปลายปี 2554 รั ฐ บาลแต่ ง ตั ง้ ให้ คณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ เ พื่ อ วางระบบการบริ หารจัดการทรัพยากรน� ้ำ (กยน.) จัดท�ำ แผนแม่บทการบริ หารจัดการทรัพยากรน� ้ำเพื่อป้องกัน บรรเทา และลดผลกระทบที่อาจเกิดจากน� ้ำท่วมที่อาจ เกิดขึ ้นในอนาคต แต่แผนแม่บทดังกล่าวต้ องมาชะงัก เมื่อศาลปกครองมีค�ำสัง่ ให้ รัฐบาลต้ องรั บฟั งความ คิดเห็นของประชาชนที่เกี่ ยวข้ องอย่างทั่วถึงก่อนจะ ด�ำเนินการจ้ างออกแบบและก่อสร้ างในแต่ละแผนงาน (โมดูล) ประชาชนกลุม่ หนึง่ ที่มีสว่ นได้ สว่ นเสียในเรื่ องนี ้ คือชาวจ.สมุทรสงคราม เอกสารเผยแพร่ ก ารด� ำ เนิ น การโครงการ ระบบบริ หารจัดการทรัพยากรน� ้ำอย่างยัง่ ยืนและระบบ แก้ ไขปั ญหาอุทกภัยของประเทศไทย โดยส�ำนักงาน นโยบายและบริ หารจัดการน� ำ้ และอุทกภัยแห่งชาติ (สบอช.) ลงวันที่ 1 พ.ค. 2556 ระบุวา่ โครงการจัดท�ำ ทางน� ำ้ หลาก (Floodway) หรื อ ทางผันน� ำ้ (Flood Diversion Channel) รวมทั ง้ ถนนและอาคาร องค์ประกอบเพือ่ รับน� ้ำหลากจากแม่น� ้ำป่ าสักและแม่น� ้ำ เจ้ าพระยาอยู่ในแผนงานเอ 5 หรื อโมดูลเอ 5 การ ก่อสร้ างคลองผันน� ้ำซึง่ มีบริษัทโคเรี ย วอเตอร์ รี ซอสเซส คอร์ ปอเรชัน่ (เค-วอเตอร์ ) เป็ นผู้รับจ้ างด�ำเนินงาน หนึ่งในข้ อกังวลของชาวลุ่มน�ำ้ แม่กลองคือ หากโมดูลเอ 5 เริ่มด�ำเนินการแล้ ว อาจเกิดน� ้ำท่วมชุมชน บริ เ วณลุ่ม น� ำ้ แม่ ก ลอง จากฝั่ ง ตะวัน ตกของแม่ น� ำ้

เจ้ าพระยา เริ่ มตังแต่ ้ เหนือจ.นครสวรรค์ (แม่น� ้ำปิ ง) มา เชื่ อ มต่ อ กับ แม่ น� ำ้ แม่ ก ลองลงสู่อ่ า วไทยด้ ว ยระบบ แรงโน้ มถ่วงขุดทางผันน� ้ำ โดยจะมีการขุดลอกท้ องน� ้ำ แม่น� ้ำแม่กลองเพื่อเพิ่มความจุขึ ้นอีกมากกว่าสองเท่า เพื่อรองรับน� ้ำหลาก นอกจากนี ประชาชนบางส่ ้ วนยังเคลือบแคลง ว่ากระบวนการก่อสร้ างแบบ “ออกแบบและก่อสร้ าง (Design and Build)” ซึง่ เป็ นกรอบการด�ำเนินงานสร้ าง โมดู ล เอ 5 อาจไม่ เ หมาะสม โดยหลั ก การของ กระบวนการก่อสร้ างแบบนี ้ผู้รับเหมาจะต้ องรับภาระ ด�ำเนินการตังแต่ ้ แรกออกแบบไปถึงก่อสร้ างให้ แล้ วเสร็จ ภายในระยะเวลาห้ าปี ดังนันบริ ้ ษัทเค-วอเตอร์ จงึ ต้ อง ศึกษาความเหมาะสมของตัวโมดูลในทุกแง่มุมโดย วิ เ คราะห์ ข้ อ มูล ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จัด ท� ำ แบบจ� ำ ลองทาง คณิตศาสตร์ ทสี่ ามารถแสดงให้ เห็นประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการน� ้ำ ศึกษาความสามารถในการระบายน� ้ำ โดยแรงโน้ มถ่วงในช่วงปลายทางผันน� ้ำในภาวะปกติ และภาวะที่ มี น� ำ้ ทะเลหนุ น ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชน บ้ านเรื อน สิง่ ก่อสร้ าง รวมถึงวางแผนการใช้ ประโยชน์ และการพัฒนาพืน้ ที่ตลอดแนวคลองผันน� ำ้ จากนัน้ บริ ษั ท เค-วอเตอร์ จ ะน� ำ ข้ อ มูล ดัง กล่า วไปวิ เ คราะห์ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม สังคม และสุขภาพ ความ คุ้มค่าด้ านเศรษฐศาสตร์ และการเงินของแผนการลงทุน ในโมดูลเอ 5 ก่อนเริ่ มการก่อสร้ าง และระหว่างการเก็บ ข้ อมูลก็ต้องด�ำเนินการรับฟั งความคิดเห็นและการมีสว่ น ร่ วมของประชาชนตามที่กฎหมายก�ำหนด รวมทังเปิ ้ ด โอกาสให้ ผ้ มู สี ว่ นได้ สว่ นเสียมีสว่ นร่วมในแต่ละขันตอน ้ ทว่าจนถึงวันที่มีเวทีรับฟั งความเห็น สบอช.ก็ ยัง ไม่ มี ข้ อ มูล ที่ เ ป็ นรู ป ธรรมเกี่ ย วกับ ผลกระทบของ โครงการต่อสาธารณะ บริ ษัทเค-วอเตอร์ จงึ ไม่สามารถ เข้ ามาด�ำเนินการศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบ ของตัวโมดูลได้ นายวุฒิวิชญ์ อุบลภักดีพนั ธ์ วิทยากร ประจ�ำนิทรรศการน�ำ้ เพื่อชีวิตในเวทีรับฟั งความเห็น จ.สมุท รสงครามชี แ้ จงว่ า สบอช.ยัง ไม่ ส ามารถท� ำ รายงานประเมินผลกระทบด้ านต่าง ๆ ของโมดูลเอ 5 ได้ จนกว่าแผนแม่บทจะได้ รับความเห็นชอบจากประชาชน ดังนันทั ้ งรายงานผลกระทบสิ ้ ง่ แวดล้ อมเบื ้องต้ น (IEE) รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้ อม (EIA) หรื อ รายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้ อมส�ำหรับโครงการ หรื อกิจการที่อาจก่อให้ เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงทังด้ ้ านคุณภาพสิง่ แวดล้ อม ทรัพยากรธรรมชาติ

และสุขภาพ (EHIA) ตามพ.ร.บ.ส่งเสริ มและรั กษา คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ.2535 รวมทัง้ การศึกษามาตรการป้องกันแก้ ไขและลดผลกระทบ สิ่ ง แวดล้ อ มและแผนติ ด ตามตรวจสอบผลกระทบ สิง่ แวดล้ อม (EIMP) จึงเป็ นขันตอนหลั ้ งจากประชาชน แสดงความเห็นต่อแผนแม่บทแล้ ว ท่ามกลางความคลุมเครื อของข้ อมูลเกี่ยวกับ ฟลัดเวย์และกระบวนการด�ำเนินงาน “นิสิตนักศึกษา” ขอเสนอกรณีศกึ ษาโครงการบริ หารจัดการน� ้ำลักษณะ คล้ า ยกั น นี ใ้ นประเทศแคนาดาและเนเธอร์ แ ลนด์ ซึง่ ด�ำเนินมาเป็ นเวลาหลายปี แล้ ว รวมทังงานวิ ้ จยั ที่ชี ้ ให้ เห็นข้ อดีและข้ อเสียของโครงการ ซึง่ อาจน�ำมาเทียบ เคียงกับโมดูลเอ 5 ของไทยได้ ฟลัดเวย์ ในประเทศแคนาดา ตัวอย่างหนึ่งที่น่าสนใจคือประเทศแคนาดา ซึง่ เคยเกิดเหตุน� ้ำท่วมอันเป็ นผลมาจากฟลัดเวย์ แม้ ใน กรณี นี ฟ้ ลัด เวย์ จ ะท� ำ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาน� ำ้ ท่ ว มตามมา แต่รายงานการท�ำประชาพิจารณ์โครงการส่วนต่อขยาย ฟลัดเวย์แม่น� ้ำแดงเมือ่ ปี 2548 ก็แสดงให้ เห็นว่า รัฐบาล แคนาดาจัดการปั ญหาดังกล่าวอย่างมีประสิทธิ ภาพ ด้ วยแผนการที่เป็ นรูปธรรมและมีกฎหมายรองรับ ย้ อนกลับไปในปี 2493 เกิดเหตุน� ้ำท่วมครัง้ ใหญ่ที่เมืองวินนิเพก เมืองหลวงของมณฑลแมนิโทบา ประเทศแคนาดา รั ฐบาลท้ องถิ่ นจึงสร้ าง “ฟลัดเวย์ แม่น� ้ำแดง” ระยะทางประมาณ 48 กม. ในปี 2540 เกิดอุทกภัยครัง้ ใหญ่ในบริ เวณ แอ่งแม่น� ้ำแดง (Red River Valley) เพราะระดับน� ้ำใน ฟลัดเวย์สงู กว่าระดับน� ้ำตามธรรมชาติ ส่งผลให้ ประชาชน ที่ อ าศัย ในมณฑลแมนิ โ ทบาตอนใต้ ทัง้ หมดรวมถึ ง เมืองวินนิเพก ต้ องเผชิญกับ “น� ้ำท่วมเทียม” ซึง่ เป็ นน� ้ำที่ ท่วมสูงเกินระดับน� ้ำท่วมปกติอนั เกิดจากการมีฟลัดเวย์ รั ฐ บาลแคนาดาและมณฑลแมนิ โ ทบาจึ ง ศึกษามาตรการป้องกันน� ้ำท่วมในแอ่งแม่น� ้ำแดง และ ประกาศสร้ างส่ ว นต่ อ ขยายฟลัด เวย์ แ ม่ น� ำ้ แดงใน ปี 2546 เพื่อลดโอกาสการเกิดน� ้ำท่วมเทียม ซึง่ รัฐบาล ขณะนัน้ คาดว่า จะใช้ ง บประมาณทัง้ สิ น้ 660 ล้ า น ดอลลาร์ แคนาดา (ประมาณ 20,000 ล้ านบาท) ต่อมา ในปี 2547 รั ฐ บาลประกาศใช้ พ .ร.บ.การฟลัด เวย์ แม่น� ำ้ แดง ก่ อ นที่ จ ะตัง้ การฟลัด เวย์ แ ห่ง แมนิ โ ทบา (MFA) ขึ ้นในเวลาต่อมา เพื่อเป็ นหน่วยงานรับผิดชอบ ด�ำเนินโครงการสร้ างส่วนต่อขยายฟลัดเวย์แม่น� ้ำแดง


สารคดีขา่ ว

จุดเด่นของการด�ำเนินการครัง้ นี ้คือการค�ำนึง ถึ ง ผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม มี ม าตรการจัด การ ผลกระทบอย่างเป็ นรู ปธรรม และเปิ ดให้ ประชาชน มีส่วนร่ วมอย่างจริ งจัง เอกสารเผยแพร่ ของโครงการ ระบุวา่ ในช่วงสองปี ก่อนการก่อสร้ างโครงการสร้ างส่วน ต่อขยายฟลัดเวย์แม่น� ้ำแดงรัฐบาลท้ องถิน่ มีกระบวนการ ตรวจสอบด้ านสิง่ แวดล้ อมอย่างทัว่ ถึง ประกอบด้ วยการ ประเมิ น ด้ านสิ่ ง แวดล้ อมและการจั ด ท� ำ ข้ อแถลง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม (EIS) รวมถึ ง การรั บ ฟั ง ความคิดเห็นของประชาชนในด้ านสิง่ แวดล้ อม ความคิดเห็นและข้ อกังวลของประชาชนได้ ถกู น� ำ มารวบรวมและจั ด ท� ำ เป็ น “แผนจั ด การด้ าน สิ่ ง แวดล้ อ ม (EMP)” เพื่ อ ให้ MFA จัด ท� ำ รายงาน ประจ�ำปี และชี ้แจงแก่ภาคประชาชนทังก่ ้ อน ระหว่าง และหลังการก่อสร้ าง เหตุที่ต้องท�ำเช่นนี ้เพราะโครงการ สร้ างส่วนต่อขยายฟลัดเวย์ จะต้ องได้ รับใบอนุญาต ด�ำเนินการตามพ.ร.บ.สิง่ แวดล้ อม มิฉะนัน้ MFA จะไม่ สามารถด�ำเนินโครงการได้ โครงการสร้ างส่วนต่อขยายฟลัดเวย์ ประกอบ ด้ วยการปรับช่องฟลัดเวย์ให้ กว้ างขึ ้น ปรับปรุงสะพาน ทีว่ างตัวอยูต่ ามช่องฟลัดเวย์ ปรับปรุงโครงสร้ างภายใน และภายนอก รวมถึงต่อเติมแนวกัน้ น� ำ้ (Dyke) ให้ กว้ างและสูงขึ ้น ใช้ เวลาก่อสร้ างทังสิ ้ ้นประมาณห้ าปี (ปี 2548-2553) จึงแล้ วเสร็ จ ทังนี ้ โ้ ครงการดังกล่าว ครอบคลุมหลักเกณฑ์การชดเชยความเสียหายจากน� ้ำท่วม เทียมทีก่ ำ� หนดโดย พ.ร.บ.การจัดการทรัพยากรน� ้ำด้ วย

“ถ้าประชาชนไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมและ ปรึกษาหารือ เราจะไม่มีทางเข้าใจความ ซับซ้อนโครงการอย่างแท้จริง และการยืน่ ขอใบอนุญาตด้านสิง่ แวดล้อมก็คงจะเป็น ไปได้ยากอย่างยิ่ง” - เทอร์ รี่ ซาเจียน ประธาน คณะกรรมาธิการด้ านสิง่ แวดล้ อมกล่าว -

การจัดการน�ำ้ ของประเทศเนเธอร์ แลนด์ ส่วนการจัดการปั ญหาน�ำ้ ท่วมของประเทศ เนเธอร์ แลนด์มีจุดเด่นที่มีการศึกษาวิจยั เพื่อวางแผน จัดการน� ้ำโดยสถาบันวิจยั พิเศษที่เชี่ยวชาญในเรื่ องน� ้ำ และดิน (Deltares) ซึง่ จัดตังขึ ้ ้นเมื่อปี 2551 และด�ำเนิน โครงการจัดการน� ้ำโดยมีกฎหมายรองรับทุกขันตอน ้

บทความเรื่ อง “การป้ องกั น อุ ท กภั ย ใน เนเธอร์ แลนด์” โดยดีทริค เก-ออร์ ก ทีต่ พี มิ พ์ในนิตยสาร เอ็นจิเนียร์ออสเตรเลีย ฉบับเดือนธ.ค. 2553 ระบุวา่ พื ้นที่ เกินครึ่งของประเทศเนเธอร์ แลนด์เป็ นพื ้นที่ที่มีแนวโน้ ม การเกิดอุทกภัย ในปี 2550 รัฐบาลเนเธอร์ แลนด์จงึ ตัง้ คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาชายฝั่ งอย่างยัง่ ยืน หรื อ “คณะกรรมการเดลต้ าทีส่ อง” ขึ ้น เพือ่ ท�ำหน้ าทีป่ กป้อง พื ้นที่ชายฝั่ งและพื ้นที่ราบต�ำ่ ที่อาจได้ รับผลกระทบจาก การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศของโลก คณะกรรมการเดลต้ าที่ ห นึ่ ง ถู ก จั ด ตัง้ ขึ น้ หลังการเกิดอุทกภัยครัง้ รุ นแรงในปี 2496 เพื่อจัดการ กับปั ญหาอุทกภัยโดยเฉพาะ ขณะที่คณะกรรมการ เดลต้ าที่ สองรั บผิดชอบปั ญหาในระยะยาวเกี่ ยวกับ ระดับน� ้ำทะเลที่สงู ขึ ้น โดยขันแรกคณะกรรมการเดลต้ ้ า ที่ ส องจะศึ ก ษาประเมิ น ความเป็ นไปได้ ของการ ป้องกันภัยน� ้ำท่วม ทังในทางเทคนิ ้ ค สังคม และการเงิน แล้ วจึงประเมินระดับน� ้ำทะเลในกรณี ที่เลวร้ ายที่สดุ ใน อีก 100 และ 200 ปี ข้ างหน้ า เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐาน ในการวางแผนโครงการป้องกันอุทกภัย และประเมิน งบประมาณที่ต้องใช้ จากนัน้ คณะกรรมการเดลต้ าที่สองก็ได้ เสนอ วิธีการจัดการน� ้ำโดยเพิ่มการระบายน� ้ำ ปรับปรุ งพื ้นที่ ลุ่ม แม่ น� ำ้ เพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถในการระบายน� ำ้ ปรับปรุงทิศทางของแนวคันกันน� ้ ้ำ และเตรี ยมเขตพื ้นที่ ควบคุมน� ำ้ ท่วมในยามจ� ำเป็ น แต่ยังไม่มีการพูดถึง การสร้ างฟลัดเวย์ การด� ำ เนิ น โครงการใด ๆ ก็ ต ามจะต้ อ งมี กฎหมายรองรับ ดังนันคณะกรรมการเดลต้ ้ าที่สองจึง เสนอต่อรั ฐบาลให้ ร่างพ.ร.บ.เดลต้ าเพื่ อรองรั บการ ด�ำเนินโครงการเดลต้ าและเพื่อจัดสรรทุนด�ำเนินการ รัฐบาลเนเธอร์ แลนด์จงึ ได้ จดั ท�ำพ.ร.บ.เดลต้ าในปี 2553 โครงการเดลต้ าจึงถือก�ำเนิดขึ ้นในเวลาต่อมา โครงการเดลต้ ามีขอบเขตทังในระยะสั ้ นและ ้ ระยะยาว โครงการที่ก�ำลังด�ำเนินการอยูใ่ นปั จจุบนั คือ โครงการระยะสัน้ เช่ น โครงการป้ องกั น น� ำ้ ท่ ว ม และโครงการแม่น� ้ำเมิซ ส่วนในระยะยาวยังต้ องศึกษา วิ จัย เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ตัด สิ น ว่ า นโยบายที่ ด� ำ เนิ น อยู่ ใ น ปั จจุบนั จะใช้ ได้ ผลอีกนานเท่าใดและต้ องปรับเปลี่ยน นโยบายเมื่อไร การศึ ก ษาโครงการป้ องกั น อุ ท กภั ย ใน ต่างประเทศชีใ้ ห้ เห็นว่าฟลัดเวย์สามารถยับยัง้ ความ เสียหายจากน� ้ำท่วม ทังยั ้ งสามารถป้องกันน� ้ำท่วมใน พื ้นที่ชมุ ชนหรื อพื ้นที่เศรษฐกิจส�ำคัญ โมดูลเอ 5 ของ ไทยเองก็มีแผนจะสร้ างถนนริ มฟลัดเวย์เพื่อรองรับการ ขยายตัวของการคมนาคมเช่นกัน ทว่าการสร้ างฟลัดเวย์กม็ ผี ลกระทบในทางลบ ที่ต้องค�ำนึงถึง เนื่องจากเป็ นการดัดแปลงเส้ นทางการ ไหลของน� ้ำ งานวิจยั หลายชิ ้นระบุถึงผลกระทบสี่ด้าน หลักที่อาจเกิดขึ ้นดังนี ้ ผลกระทบด้ านแรกคือปั ญหาที่เกิดจากการ ที่ รั ฐ ต้ องเวนคื น ที่ ดิ น เพื่ อ สร้ างเส้ นทางระบายน� ำ้ ตามที่งานวิจยั จากแคนาดาระบุไว้ ปั ญหานี ้ท�ำให้ เกิด ผลกระทบด้ านสังคมตามมา ดังที่งานวิจยั ผลกระทบ ฟลัดเวย์ในอินเดียและบังกลาเทศ ระบุวา่ ประชาชนต้ อง ปรั บ เปลี่ ย นวิ ถี ก ารด� ำ เนิ น ชี วิ ต ใหม่เ นื่ อ งจากที่ ดิ น ที่ ถูกเวนคืนอาจเป็ นที่อยูอ่ าศัยหรื อพื ้นที่สำ� หรับประกอบ อาชีพของผู้คน

ผลกระทบด้ านที่สามคือเรื่ องสิ่งแวดล้ อมที่ น่ า ห่ ว งไม่ แ พ้ กัน งานวิ จัย จากญี่ ปุ่ นเตื อ นว่ า พื น้ ที่ ก่อสร้ างฟลัดเวย์จะถูกปรับสภาพให้ เหมาะสมกับการ สร้ างทางระบายน� ้ำที่มีน� ้ำไหลปริ มาณมาก ส่งผลให้ พืช ในบริ เวณนันไม่ ้ สามารถอยู่รอดได้ ส่วนงานวิจยั จาก ออสเตรเลียชี ้ให้ เห็นว่า ฟลัดเวย์สง่ ผลให้ สตั ว์บางชนิด เช่น ปลา งู ทาก และนกน� ้ำลดจ�ำนวนลง นอกจากนี ้ งานวิจยั ผลกระทบฟลัดเวย์ในอินเดียและบังกลาเทศยัง พบว่า บริ เวณโดยรอบที่มีการสร้ างเขื่อนหรื อทางผันน� ้ำ มักมีปริ มาณฝนลดลง อากาศร้ อนขึน้ และดินกลาย สภาพเป็ นดินเค็มอีกด้ วย สุดท้ ายคือผลกระทบด้ านเศรษฐกิจ งานวิจยั พบว่าฟลัดเวย์จะท�ำให้ ผลผลิตบางประเภทอาจลดลง เพราะการสร้ างทางผันน� ้ำ ฟลัดเวย์ และเขื่อนกัน้ น�ำ้ ส่งผลให้ มีปริ มาณน� ้ำไม่เพียงพอต่อการท�ำการเกษตร รวมถึงฝูงปลาต้ องอพยพเพราะมีการผันน� ้ำไปในทิศทาง อืน่ ท�ำให้จำ� นวนปลาในบางบริเวณทีม่ กี ารท�ำประมงลดลง

ปัญหาส�ำคัญของโครงการบริหาร จัดการน�ำ้ ของไทยข้อหนึง่ คือไม่ได้จดั ให้มกี าร รับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทัว่ ถึง ตั้งแต่การจัดท�ำแผนแม่บทจนกระทั่งมีการ ฟ้องร้องไปยังศาลปกครอง เรียกว่าสะดุดกัน ตั้งแต่ย่างก้าวแรกเลยทีเดียว

“ก่ อ นที่ คุ ณ จะท� ำ โครงการนี ้ คุ ณ ต้ องมา สอบถามก่อน มาขอความคิดเห็นจากชาวบ้ านก่อน ให้ พวกก�ำนันผู้ใหญ่บ้านมาสอบถามความเห็นว่า ดีไหม โครงการแบบนี ้ นี่คุณตัง้ โครงการขึน้ มาแล้ วค่อยมา รับฟั งความคิดเห็น ชาวบ้ านก็ไม่ยอม ตอนนี ้ชาวบ้ าน ต่อต้ านอย่างเดียว” นางลัดดาวัล สุขประเสริ ฐ หนึง่ ใน ชาวบ้ า น อบต.บางคนที ที่ คัด ค้ า นโครงการนี ก้ ล่า ว “นี่คณ ุ เล่นท�ำโครงการไว้ แล้ ว กู้เงินแล้ ว แล้ วคุณมาถาม ความคิดเห็นชาวบ้ าน มันเหมือนมัดมือชก พอเกิดเรื่ อง แล้ ว รั ฐ บาลค่อ ยมาถามชาวบ้ า น มัน ก็ เ ลยเป็ นการ ทะเลาะกัน” การประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 9 ธ.ค. 2556 ท�ำให้ การด�ำเนินโครงการบริหารจัดการน� ้ำ 3.5 แสนล้ านต้ องชะลอออกไปก่อน แต่โครงการนี ้ก็พร้ อม จะถู ก น� ำมาปั ดฝุ่ นและเดิ น หน้ าต่ อ ได้ ทุ ก เมื่ อ เพราะพ.ร.ก.ให้ อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อการ วางระบบบริ หารจัดการน�ำ้ และสร้ างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 ได้ ผา่ นมติครม. และมีผลบังคับใช้ ตงแต่ ั ้ วนั ที่ 26 ม.ค. 2555 นอกจากนี ้ข้ อมูลของส�ำนักงานบริ หาร หนี ้สาธารณะยังระบุว่ารัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้ ก้ เู งินไปแล้ วเป็ นวงเงินรวม 324,606 ล้ านบาท ดังนั้นหากรัฐบาลชุดใหม่ ปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ ศาลปกครองถูกต้ องครบถ้ วนและจัดการรั บฟั ง ความคิ ด เห็น เสร็ จ สิ้ น ก็ ส ามารถเซ็ น สั ญ ญากั บ บริษัทเอกชนเพื่อด�ำเนินโครงการต่ อได้ ทนั ที

อ้ างอิง - รายงานการท�ำประชาพิจารณ์โครงการส่วนต่อขยายฟลัดเวย์แม่น� ้ำแดง ประเทศแคนาดา ปี 2548 - งานวิจยั ผลกระทบด้ านสิง่ แวดล้ อมและสิง่ ที่เกี่ยวข้ องของทางผันน� ้ำแม่น� ้ำ คงคาโดยโมนิรัล มิร์ซาปี 2547 - เอกสารของหน่วยปฏิบตั ิการระหว่างประเทศในการจัดการความเสี่ยงใน ที่ราบลุม่ แม่น� ้ำโดยโคจิ อิเคอุชิ นักวิจยั ชาวญี่ปนปี ุ่ 2539 - งานวิจยั ผลกระทบทางนิเวศวิทยาของเขือ่ นทางผันน� ้ำและการจัดการแม่น� ้ำ ในที่ราบลุม่ แม่น� ้ำในประเทศออสเตรเลียโดยริ ชาร์ ด คิงส์ฟอร์ ด ปี 2543

5


สัมภาษณ์

คนบ้านเดียวกัน : ตอก “หัวใจ” ใส่แผ่นหนัง การะเกด นรเศรษฐาภรณ์ / จิตริ นทร์ เลิศรัตนวิสทุ ธิ์

ท่ า มกลางสวนมะพร้ า วที่ ร ายล้ อ มทั่ ว อ.บางคนที มี บ ้ า นไม้ เ รื อ นเล็ ก ริ ม คลองอยู ่ ห ลั ง หนึ่ ง ลั ก ษณะคล้ า ยกั บ หลังอืน่ ๆ ในแถบนี้ ต่างไปทีห่ น้าบ้านเต็มไปด้วยไม้ปลูกขนาดเล็กสีสนั สวยงาม คุณตาสงัด ใจพรหม ศิลปินดีเด่นจ.สมุทรสงคราม ผู้เป็นเจ้าของบ้าน เดินออกมาต้อนรับนิสิตต่างถิ่นด้วยใบหน้ายิ้มแย้ม ดูแข็งแรงสุขภาพดีแม้จะอยู่ในวัย 85 ปีแล้ว

คนทัว่ ไปอาจคิดว่าชาวบางคนทีคงจะ “เล็ก” ดังเช่นพื ้นที่ แต่หากได้

สัมผัสชุมชนก็จะพบว่าคนบางคนทีใจใหญ่ไม่น้อย และผู้ทมี่ หี วั ใจโดดเด่นไม่แพ้ ใคร คือคุณตาสงัด ใจพรหม ศิลปิ นผู้สบื สานการสร้ างแผ่นหนังใหญ่ให้ คงอยูใ่ นปั จจุบนั ศิลปิ นดีเด่นจ.สมุทรสงครามผู้นี ้ได้ รับรางวัล “แทนคุณแผ่นดิน” ปี 2552 ครูชา่ งหัวใจ ไทยปี 2553 และเป็ นทีร่ ้ ูจกั และเคารพรักของชาวบ้ านในพื ้นทีน่ ี ้ เนื่องจากสร้ างชื่อ เสียงและผลงานไว้ หลายอย่าง คุณตาสงัดเกิ ดที่ อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม เรี ยนจบชัน้ ประถมที่ โรงเรี ย นวัด บางน้ อ ย และเรี ย นต่อ จนจบชัน้ มัธ ยมที่ โ รงเรี ย นสายธรรมจัน ทร์ ซึง่ คุณครูในโรงเรี ยนนี่เองที่เป็ นต้ นทางให้ คณ ุ ตารู้จกั กับหนังใหญ่ จากนันคุ ้ ณตาก็ เลื อ กสมัค รเข้ า เรี ย นที่ โ รงเรี ย นเพาะช่า งต่อ เพราะมี เ พื่ อ นมาชวน กอปรกับ มี ความสนใจด้ า นศิ ล ปะโดยไม่ ร้ ู เลยว่ า ทัก ษะการผลิ ต งานศิ ล ป์ และงานฝี มื อ อันละเอียดอ่อนที่คณ ุ ตาได้ เรี ยนรู้ที่โรงเรี ยนเพาะช่างจะเป็ นประโยชน์ให้ กบั วงการ หนังใหญ่ในเวลาต่อมา

6

“ท้ อใจมากช่วงแรก เพราะเพื่อนเขาเรี ยนสายตรงมา เราเพิ่งมาเริ่ ม ตาม เขาไม่ทนั อาศัยว่ามีเพื่อนดี เขาช่วย ก็เลยจบมาได้ ในสามปี ” ด้ วยใจรักในงานศิลปะและความเพียรพยายามอย่างหนัก คุณตาสามารถ เรี ยนจนส�ำ เร็ จ วุฒิการศึกษาครู ประถมการช่า งในเวลาเพี ยงสามปี จากนัน้ ก็ ตัดสินใจเรี ยนต่ออีกสองปี เพื่อให้ ได้ วุฒิประโยคครู มธั ยมการช่างหรื อเทียบเท่า อนุปริ ญญา หลังจากคว้ าวุฒกิ ารศึกษาได้ ตามที่ตงใจ ั ้ คุณตาสงัดเข้ ารับราชการครู อยูท่ งสิ ั ้ ้น 25 ปี โดยสอนวิชาเขียนแบบและศิลปะ เริ่ มจากที่โรงเรี ยนวัดกลางเหนือ ในปี 2496 และมาอยูท่ ี่โรงเรี ยนอัมพวันในช่วงหกปี สุดท้ ายก่อนเกษี ยณอายุ คุณตามีความสนใจหลากหลายด้ าน หลังจากเกษี ยณอายุราชการแล้ ว คุณตาได้ หนั มาเลี ้ยงโกสนเข้ าประกวด จนบริเวณรัว้ หน้ าบ้ านของคุณตาสงัดปรากฏ ต้ นโกสนจํานวนหลายกระถางวางเรี ยงอยู่ การปลูกโกสนเพื่อส่งประกวดนี ้เองที่ ทําให้ คณ ุ ตาปั น้ และวาดลวดลายบนกระถางด้ วยตัวเองเพือ่ ให้ ต้นโกสนทีส่ ง่ ประชัน กับคนอื่น ๆ ดูสวยงามและโดดเด่น จนกระทัง่ เพื่อนคนหนึง่ มาเห็นฝี มือปั น้ กระถาง


สัมภาษณ์ อันละเอียดอ่อนเข้ า จึงชักชวนให้ มาช่วยซ่อมแผ่นหนังใหญ่ให้ ประกอบกับคุณตา เคยสัมผัสหนังใหญ่อยูบ่ ้ างในสมัยเรี ยนประถม ทังที ้ ่ลองเล่นเองและเห็นผู้ใหญ่เชิด จึงมีความผูกพันกับศิลปะแขนงนี ้มาเสมอ เมื่อมีโอกาสที่จะได้ เรี ยนรู้ สืบทอด และพัฒนาหนังใหญ่ คุณตาจึงเข้ าสูว่ งการด้ วยประการฉะนี ้ เมือ่ มาสนใจทําตัวหนังใหญ่อย่างจริงจัง คุณตาสงัดจึงศึกษาเกี่ยวกับทีม่ า ของหนังใหญ่ ได้ ความว่าการละเล่นหนังใหญ่มีมานานแล้ วตังแต่ ้ สมัยสุโขทัย เป็ นมหรสพที่ นิ ย มในสมัย นัน้ และเป็ นที่ โ ด่ง ดัง มาก ซึ่ง ข้ อ มูล ดัง กล่า วตรงกับ หลักฐานทีบ่ นั ทึกไว้ ในกฎมณเฑียรบาล พ.ศ. 2001 สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แห่งอยุธยาตอนต้ น นอกจากนีค้ ุณตายังชื่นชอบผลงานของหลวงพ่อฤทธิ์ แห่ง วัดพลับพลาชัยเป็ นพิเศษ คุณตาบอกว่าฝี มือตอกแผ่นหนังของหลวงพ่อฤทธิ์ ละเอียดอ่อนชนิดหาตัวจับยาก นอกจากนี ้ท่านยังตังใจรั ้ กษาศิลปะหนังใหญ่ เห็น ได้ จากการก่อตังหนั ้ งใหญ่คณะวัดพลับพลาชัยที่มีชื่อเสียงโด่งดังในสมัยรัชการที่ 6 วิธีการสร้ างตัวหนังใหญ่ของหลวงพ่อฤทธิ์ยงั เป็ นต้ นแบบของคุณตาสงัด อีกด้ วย คุณตาบอกว่าเหตุที่แผ่นหนังใหญ่ของหลวงพ่อดูละเอียดและประณี ต เพราะหลวงพ่อใช้ ต๊ ดุ ตู่หลายขนาด “ตุ๊ดตู่” ที่ว่านี ้คือแท่งเหล็กตอกหนังที่มีรูกลม ที่ ส่ ว นปลาย ใช้ ต อกหนัง ให้ เ ป็ นรู ป ร่ า งต่ า ง ๆ คุณ ตาจึ ง ให้ ค วามสํ า คัญ กับ ความละเอียดอ่อนช้ อยของลายมาก เพราะถือว่าในการทํางานนัน้ จะทําอย่าง หยาบ ๆ ไม่ได้ คุณตาบอกว่าตัวเองเป็ นคนที่เมื่อได้ ลงมือทําสิง่ ใดแล้ วก็จะจริ งจัง และมีความตังใจจริ ้ ง “พอใช้ ต๊ ดุ ตูต่ วั เดียวมันก็ไม่สวย มันไม่ละเอียดเท่าใช้ หลายตัว ใช้ ตวั เดียวมันจะเหมือนกันไปทังแผ่ ้ น แต่ใช้ หลายตัวมันจะมีมติ กิ ว่า หลวงพ่อฤทธิ์ ทาํ ได้ ละเอียดมาก ลูกศิษย์กท็ าํ ได้ ไม่เหมือน” ถึงปั จจุบนั คุณตาจะอายุมากแล้ ว แต่ยงั มีโครงการจะเปิ ดพิพิธภัณฑ์ หนังใหญ่ในเดือนเม.ย.ปี นี ้ (2557) โดยจะรวบรวมชิ ้นงานและความรู้ ต่าง ๆ ที่ คุณตาสะสมและศึกษามาเผยแพร่ ให้ แก่คนทัว่ ไปได้ ชม และเพื่อรวบรวมความรู้ เกี่ยวกับหนังใหญ่เพื่อให้ คนรุ่นต่อไปได้ ศกึ ษา ที่ส�ำคัญความเป็ นครูบาอาจารย์ยงั หยัง่ รากลึกในตัวคุณตาสงัดอยูเ่ สมอ เห็ น ได้ จากการได้ รั บ เชิ ญ ให้ เป็ นที่ ป รึ ก ษาคณะกรรมการการศึ ก ษาของ จ.สมุทรสงคราม คุณตาเห็นความส�ำคัญของการเรี ยนรู้ โดยซึมซับจากกิจวัตร ประจ�ำวัน เช่น การท่องสูตรคูณ เพราะการกระทําดังกล่าวจะทําให้ ผ้ เู รี ยนจดจ�ำ ความรู้ ได้ แถมยังช่วยให้ ประยุกต์ใช้ ความรู้ ที่มีอยู่อย่างคล่องแคล่วและมีไหวพริ บ อยู่เสมอ คุณตามองว่าการฝึ กฝนสมองเช่นนี ้อาจเป็ นปั จจัยหนึง่ ที่ท�ำให้ คณ ุ ตายัง คล่องแคล่วแข็งแรงทังร่้ างกายและความคิด อย่างทีเ่ ล่าไปข้ างต้ นว่านอกจากความสนใจเรื่องศิลปะแล้ ว คุณตายังเป็ น นักเลี ้ยงโกสนตัวยง คุณตากล่าวว่าโกสนเป็ นไม้ มงคล เปรี ยบเหมือนตระกูลผู้ดี คุณ ตาค่ อ ย ๆ ศึ ก ษาและปลูก เลี ย้ งดูแ ลต้ น โกสนจนมี เ กื อ บ 500-600 ต้ น ในครอบครอง เมื่อมีการประกวดจัดขึ ้นที่ใดคุณตาไม่พลาดที่จะเข้ าร่ วมจนได้ รับ รางวัลมากมาย และร่ วมตังชมรมโกสนบางคนที ้ ขึ ้นมา แต่เมื่อครัง้ น� ้ำท่วมหนัก ในปี 2538 โกสนเหล่านี ้เสียหายไปไม่น้อย สามารถรักษาไว้ ได้ บางส่วนเท่านัน้ เมื่อพิจารณาทุกสิง่ ที่คณ ุ ตาทํา ไม่วา่ จะเป็ นการสร้ างแผ่นหนัง การปลูก โกสนประกวด การเป็ นครู หรื อการผลิตงานศิลป์อื่น ๆ สิ่งเหล่านี ้ล้ วนเกิดขึ ้นได้ เพราะความรักและตังใจ ้ คุณตาสงัดแสดงให้ เห็นว่าการใช้ หวั ใจที่ละเอียดลออ กลัน่ ผลงานนัน้ สร้ างคุณประโยชน์เกินกว่าจะประเมินค่าได้ ให้ กบั สังคม ทังยั ้ งได้ ตอบแทนแผ่นดินเกิดและเป็ นที่ให้ อยูอ่ าศัย อย่างที่คณ ุ ตาได้ กล่าวไว้ วา่ “มนุษย์เรา ตักตวงจากแผ่นดินที่อาศัยเสียตังมาก ้ การอุทศิ เพื่อสังคมเล็กน้ อยเพียงเท่านี ้มิอาจ ทดแทนได้ แต่อย่างน้ อยที่สดุ การทิ ้งอะไรไว้ บ้างอาจดีกว่าไม่ทําอะไรเลย” เมื่อพินิจเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ส่งเสริ ม กอปรกับจิตวิญญาณความเป็ นครู คุณตาจึงมุ่งมั่นที่จะถ่ายทอดศิลปะเก่าแก่ ที่ใกล้ จะเลือนหาย และส่ งต่ อ “หัวใจ” ทีเ่ ป็ นส่ วนหนึ่งของวัฒนธรรมท้ องถิน่ ให้ กับคน รุ่ นใหม่ เพื่อสืบต่ อชั่วลูกชั่วหลาน

มนุษย์เราตักตวงจากแผ่นดินทีอ่ าศัยเสียตัง้ มาก การอุทศิ เพื่อสังคมเล็กน้อยเพียงเท่านี้มิอาจทดแทนได้ แต่อย่างน้อยที่สุด การทิ้งอะไรไว้บ้างอาจดีกว่าไม่ทําอะไรเลย - คุณตาสงัด ใจพรหม -

7


เรื่องหลัก

ที่เห็นและเป็นอยู่ : ก่อนจะเป็นสวนมะพร้าว การะเกด นรเศรษฐาภรณ์ / จิตริ นทร์ เลิศรัตนวิสทุ ธิ์ / ศิลป์ศุภา โยคะกุล

เมือ่ ลองหลับตาแล้วอยูน่ งิ่ ๆ จะแว่วเสียงใบมะพร้าวกระทบกัน สายลมแผ่วเบาเย็น ๆ ของฤดูหนาว ช่วยลดอุณหภูมิ ของแสงแดดยามบ่ายไม่ให้อบอ้าวจนเกินไป ไม่มีเสียงอะไรมากไปกว่าเสียงพูดคุย และเสียงรถที่นาน ๆ จะผ่านมาที

วั น

ชาวบ้ านจึงนํามะพร้ าวมาปลูกอีกจํานวนมาก จนกระทัง่ ทาํ ให้ ดนิ เปลีย่ นสภาพไปจน ปลูกข้ าวไม่ได้ เหตุที่เป็ นเช่นนี ้เพราะพืชทังสองมี ้ ลกั ษณะต่างกัน ข้ าวต้ องปลูกในที่ แจ้ งแต่มะพร้ าวต้ องการพื ้นที่ร่ม การปลูกข้ าวที่ได้ ราคาต�่ำกว่าจึงค่อย ๆ หายไป นอกจากนันก็ ้ มีการนําเอาผลไม้ ยืนต้ นอื่น ๆ มาปลูกเสริ มมะพร้ าวเพื่อช่วยสมดุลดิน แทนทังกล้ ้ วย ลิ ้นจี่ มะม่วง และทุเรี ยน ที่หลายคนลองปลูกแล้ วได้ รสดี ชาวบางคนที จึงค่อย ๆ เปลี่ยนจากการทําเกษตรพืชล้ มลุก มาเป็ นพืชยืนต้ นอย่างทุกวันนี ้ คุณตาสงัดเล่าว่า ตัง้ แต่คุณตาเด็กมาจนเป็ นหนุ่ม ทรั พยากรในพืน้ ที่ บางคนที อุดมสมบูรณ์ มาก อาหารการกิ นหาได้ จากทัง้ ท้ องนา ท้ องร่ อง คลอง ป่ าชายเลน และสวนรอบบ้ าน ในปั จจุบนั แม้ จะไม่ได้ ขาดแคลนอาหาร แต่ทรัพยากร ที่เคยมีก็ลดลงไปมากเพราะการเปลี่ยนแปลงในหลายด้ าน ไม่ว่าจะเป็ นการปล่อย น� ้ำเสียจากจังหวัดที่เหนือขึ ้นไป ทําให้ ปปู ลาในท้ องร่ องอยู่ไม่ได้ และลดจํานวนลง ทังพั ้ นธุ์ปลาบางชนิดที่สญ ู พันธ์ไุ ปหมด รวมทังการเปลี ้ ่ยนแปลงของสภาพอากาศที่ มีผลต่อการออกดอกออกผลของพืชพันธุ์ ธรรมชาติ โ อบล้ อ มเกลี ย วกลมกับ ชาวบางคนที ม าช้ า นาน บ้ า นเรื อ น ในสมัย สัก หลายสิ บ ปี ก่ อ นหน้ า ล้ ว นตัง้ อยู่ร ายเรี ย งริ ม แม่ น� ำ้ ลํ า คลอง เพราะ สายน� ำ้ คื อ เส้ นทางสั ญ จรหลั ก ของคนในท้ องถิ่ น ที่ ใ ช้ กั น อย่ า งพลุ ก พล่ า น คุณ ชญานุช วิ ม ลประดิ ษ ฐ์ ผู้ใ หญ่ บ้ า นบางคนที (บางกล้ ว ย) หมู่ที่ 9 เล่า ว่า แทบทุ ก ครั ว เรื อนมี เ รื อไม้ พายซึ่ ง เป็ นพาหนะเดิ น ทางสํ า คั ญ สมั ย นั น้ ใน ครอบครอง คลองแถบนัน้ มี เ รื อ สัญ จรผ่ า นไปมาคึก คัก ต่อ มาในช่ ว งปี 2546 เมื่ อถนนลาดยางเริ่ มตัดพาดผ่าน ความนิ ยมใช้ เรื อเดินทางก็ ลดลง หลายครั ว เรื อนเริ่ มขายเรื อแล้ วซือ้ จักรยานยนต์ และรถยนต์ มาใช้ แทน ชาวบ้ านหลายคน จนกระทัง่ ยุคทีน่ � ้ำตาลอ้ อยเป็ นทีน่ ยิ ม ชาวบ้ านบางคนก็เริ่มนําอ้ อยมาปลูก เห็ น ว่า การมี ถ นนเป็ นเรื่ อ งดี เพราะการสัญ จรบนถนนตัด ใหม่ที่ แ ม้ จ ะคดเคี ย้ ว เพื่ อ ส่ง โรงงานผลิ ต น� ำ้ ตาลเพราะได้ ร าคาดี ต่อ มามี ค นคิ ด ทํา น� ำ้ ตาลมะพร้ าว เลีย้ วลด แต่ก็สะดวกรวดเร็ วกว่าแต่ก่อน หากเจ็บไข้ ได้ ป่วยก็เข้ าเมืองได้ ทันที หนึ่ ง ในบางคนที ช่ า งดู เ รี ย บง่ า ยและสงบ ความวุ่ น วายจาก โลกภายนอกยังไม่สามารถคืบคลานเข้ ามากลืนกินชุมชนเล็ก ๆ แห่งนี ้ได้ กว่าจะมาเป็ นบางคนทีอย่างทุกวันนี ้ ที่ดนิ ตรงนี ้เป็ นทะเลมาก่อน ตะกอน ทับ ถมจนพัฒ นาเป็ นป่ าชายเลน แล้ ว จึ ง มาเป็ นที่ ร าบลุ่ม อย่ า งที่ เ ห็ น ปั จ จุบัน เช่นเดียวกับพื ้นที่ในภาคกลางบริ เวณอื่น ๆ แต่แรกชาวบ้ านชุมชนบางคนทีไม่ได้ ทํา ไร่ สวนพืชยืนต้ นดังเช่นในปั จจุบนั แต่เพาะปลูกบรรดาพืชผักสวนครัว ผลไม้ ล้มลุก เป็ นหลัก ชาวบ้ านนิยมปลูกข้ าวนาปรัง เผือก ถัว่ แระ หัวหอม มันแกว และฟั กแฟง คุณตาสงัด ใจพรหม อายุ 85 ปี ชาวบ้ านในชุมชนเล่าให้ ฟังว่า ชาวบ้ านนิยมปลูก ฟั กแฟงกันมาก จนรัชกาลที่ 5 พระราชทานชื่อให้ ชุมชนนี ้ว่าหมู่บ้าน “ยายแฟง” ที่ตอนหลังเพี ้ยนมาเป็ น “ยายแพง” คุณยายละเมียด ศิลา อายุ 76 ปี เสริมว่าในช่วงเวลาเกือบ 60 ปี กอ่ นหน้ านี ้ พื ้นที่ที่ปัจจุบนั เป็ น อ.บางคนทีเต็มไปด้ วยแปลงพืชผักล้ มลุกมากมาย ดินในพื ้นที่ เกิดจากการตกตะกอนมาเป็ นเวลานาน ทําให้ ชุมชนนี ้อุดมสมบูรณ์ ด้วยแร่ ธาตุที่ เหมาะกับการเพาะปลูกพืชได้ หลายชนิด ชาวบ้ านปลูกแตงกวา มัน เผือกเป็ นแปลง น� ำ หัว หอมมาปลูก ริ ม ท้ อ งร่ อ ง ส่ว นข้ า วก็ ส ามารถน� ำ ไปปลูก ในท้ อ งร่ อ งได้ เ ลย นอกจากนี ้ในท้ องร่องทีไ่ ม่มกี ารเพาะปลูก ก็อดุ มไปด้ วยสัตว์น� ้ำนานาชนิด ทังกุ ้ ้ งแม่น� ้ำ ก้ ามโต ปลาบางชนิดที่ปัจจุบนั สูญพันธ์ไุ ปจากพื ้นที่แล้ ว “สมัยก่อนนะ กุ้งตัวใหญ่เท่าแขนอยากกินตอนไหนก็ลงไปจับได้ เลย จับกุ้ง นี่ใคร ๆ ก็วา่ ยาก แต่มนั มีวิธีจบั ต้ องหลอกมันข้ างหน้ า เอามือรอด้ านหลังมัน พอมัน ตกใจมือเราข้ างหน้ า ก็จะว่ายถอยหลัง มือที่อยูข่ ้ างหลังก็จบั หางมันดึงขึ ้นมาได้ เลย ปลาก็มีให้ จบั เยอะแยะ ตัวใหญ่เชียว” คุณตาสงัดกล่าว

8


เรื่องหลัก แต่เดิมบ้ านเรื อนตังอยู ้ ่ริมคลองแล้ วจึงขยายเข้ าไปเป็ นสวน ผืนดินส่วนที่ ไม่ตดิ ริ มลําคลองเป็ นเรื อกสวนไร่นากว้ างขวางทอดยาวติดกัน โดยไม่มีเส้ นเขตแดน หรือสัญลักษณ์มาแบ่งเขตแดนชัดเจนเพราะเป็ นสวนหรือนาด้ วยกันทังนั ้ น้ แม้ จะไม่มี รัว้ กันแต่ ้ ชาวบ้ านในพื ้นที่ตา่ งรู้เขตที่ดินของตนดี ทุกคนรู้จกั กันและไม่ถือสาหากจะ มี ก ารเดิ น ผ่ า นสวนกั น บ้ า ง ทุ ก ครั ว เรื อ นต่ า งเป็ นมิ ต ร พึ่ ง พาอาศัย และไว้ ใ จ ซึง่ กันและกัน อย่างไรก็ตามในระยะหลัง ๆ เมื่อมีถนนตัดผ่าน รัว้ แบ่งอาณาเขตของ บ้ านและพื ้นที่ทําสวนเริ่ มก่อตัวขึ ้นทีละนิด ๆ จนเป็ นเส้ นแบ่งชัดเจนขึ ้น นอกจากนี ้ ทีด่ นิ ในกรรมสิทธิ์ของบางคนก็หดเล็กลง เมือ่ มีการแบ่งขายบางส่วนให้ กบั คนต่างถิ่น มาปลูกบ้ านเรือนลงหลักปั กฐาน คุณยายละเมียดให้ เหตุผลว่าเหตุทตี่ ้ องปั นทีด่ นิ ขาย ไปบ้ าง เพราะจํานวนผลผลิตจากไร่สวนลดน้ อยลงอันเป็ นผลจากสภาพแวดล้ อมใน ปั จจุบนั ประกอบกับสมาชิกในบ้ านที่เป็ นคนรุ่ นใหม่ก็สนใจการดูแลสวนน้ อยลง ลําพังแรงผู้สงู อายุไม่เพียงพอที่จะดูแลพื ้นที่และทําสวนกว้ างใหญ่หลายสิบไร่ ใน ครอบครองได้ ขณะเดียวกัน เรื อที่เคยแล่นในคลองบางกล้ วยก็บางตาลงทุกที นอกจาก เรื อเพื่อการท่องเที่ยวก็คงเหลือเพียงผู้สงู อายุจํานวนไม่มากผู้เคยชินกับการพายเรื อ ที่ยงั ใช้ เรื อเป็ นพาหนะอยูบ่ ้ าง ผู้ใหญ่ฯ ชญานุชกล่าวถึงปั ญหาที่เกิดขึ ้นในช่วง 10 ปี ที่ผา่ นมานี ้ว่า เมื่อเรื อแล่นน้ อยลง กระแสน� ้ำในคลองลําเล็กที่เคยกระเพื่อมไหวเวลา เรื อแล่นผ่านจึงค่อนข้ างนิ่ง เป็ นเหตุให้ วัชพืชอย่างผักตบชวาและจอกแหนเพิ่ม จํานวนมากขึ ้นจนกลายเป็ นปั ญหาลําคลองตื ้นเขิน

คุณตาสงัด ใจพรหม

ผู้ใหญ่ ฯ ชญานุช วิมลประดิษฐ์

“สมัยก่ อนนะกุ้งตัวใหญ่ เท่ าแขน อยาก กินตอนไหนก็ลงไปจับได้ เลย จับกุ้งนี่ ใคร ๆ ก็ว่ายาก แต่ มันมีวิธีจับ ต้ อง หลอกมันข้ างหน้ า เอามือรอด้ านหลัง มัน พอมันตกใจมือเราข้ างหน้ าก็จะ ว่ ายถอยหลัง มือทีอ่ ยู่ข้างหลังก็จบั หาง มั น ดึ ง ขึ้ น มาได้ เลย ปลาก็ มี ใ ห้ จั บ เยอะแยะ ตัวใหญ่ เชียว”

“เราก็ ไ ด้ แ ต่ ห วั ง ให้ เ ด็ ก รุ่ นต่ อ ไปมั น รั กษาไว้ นะ วิถชี ีวติ แบบนี้ ลาํ พังแค่ เรา ทํามันไม่ ไหวหรอก มันต้ องอาศัยพลัง ของหนุ่มสาว แต่ กไ็ ม่ ร้ ูว่าเขาจะเอากัน หรือเปล่ า อย่ างดีทสี่ ุดเราก็ต้องให้ เขา รู้ สึกรั กบ้ านเกิด ให้ อยากจะกลั บมา พัฒนา มาหากินที่นี่นั่นแหละ ยังไงก็ คือบ้ านเรา”

ถนนตัดใหม่นําพาวิทยาการการผลิตแบบใหม่ ๆ เข้ ามาด้ วย ที่เห็นได้ ชดั ใน ชุมชนนี ้คือการแปรรูปอาหาร สร้ างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อยืดอายุผลผลิต ในท้ องที่นอกจากการขายพืชผลไม้ สดเพียงอย่างเดียว อย่างเช่นการแปรรู ปลิ ้นจี่ เป็ นไวน์ นอกจากนี ผู้ ้ ใหญ่ฯ ชญานุชเสริมว่าชาวบ้ านรวมตัวกันตังกลุ ้ ม่ วิสาหกิจชุมชน ที่ตอนนี ้มีอายุกว่าห้ าปี แล้ ว เพื่อสร้ างสรรค์ความคิดใหม่ ๆ และแปรรู ปวัตถุดิบใน ท้ องถิ่นให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่สามารถน�ำไปจําหน่ายภายนอกและสร้ างรายได้ ให้ กบั คนในชุมชน เช่น ลูกประคบสมุนไพรพาสเจอไรซ์ หรื อลูกประคบสมุนไพรสดที่น�ำมา อัดกระป๋ อง เป็ นต้ น ระยะ 5-10 ปี มานี ้ ชาวบางคนทีกระตือรื อร้ นกับการจัดโครงการต่าง ๆ ที่สนับสนุนความเป็ นอยูห่ รื อสวัสดิการของคนในชุมชนให้ ดีขึ ้น เช่น โครงการกองทุน หมู่บ้านที่ ผ้ ูใหญ่ ฯ ชญานุชอธิ บายว่าสามารถจัดสรรเงิ นทุนเพื่ อคอยสนับสนุน ชาวบ้ าน ในกรณีที่ใครต้ องการใช้ เงินลงทุนหรื อเผชิญกับปั ญหาหนี ้สินจะได้ ไม่ต้อง ไปกู้ยืมนอกระบบ นอกจากนี ้ก็ยงั มีกลุ่มสวัสดิการเงินออมวันละบาทที่กระตุ้นให้ ชาวบ้ านเก็บเงินเพื่อเป็ นสวัสดิการชีวิตในยามล�ำบาก แม้ จะไม่มีเงินปั นผลและให้ กู้ยืม แต่จะมีคา่ ทําขวัญเมื่อเด็กเกิดใหม่และเป็ นค่ารักษาพยาบาลในยามเจ็บป่ วย นอกจากโครงการเหล่านี ้จะเป็ นทีพ่ งึ่ ทีม่ นั่ คงให้ แก่คนในชุมชนแล้ ว ยังช่วยให้ ชาวบ้ าน ไว้ ใจและร่วมมือกัน เพื่อให้ ร่วมกันพัฒนาชุมชนได้ อย่างยัง่ ยืนต่อไป ทุกวันนี ้ ชุมชนบางคนทียงั สามารถอนุรักษ์ วิถีดงเดิ ั ้ มบางส่วนควบคู่กบั การรับความเจริ ญมาเป็ นส่วนหนึง่ ในชีวิตประจ�ำวัน แต่สมาชิกในชุมชนก็ตระหนัก ว่าถึง “ความเจริ ญ” จะมีประโยชน์หลายประการ แต่ผลจากความเจริ ญไม่ได้ มีแค่ ข้ อดีเพียงอย่างเดียว “เราก็ได้ แต่ หวังให้ เด็กรุ่ นต่ อไปมันรั กษาไว้ นะ วิถชี ีวติ แบบนี้ ลําพัง แค่ เราทํามันไม่ ไหวหรอก มันต้ อง อาศัยพลังของหนุ่มสาว แต่ กไ็ ม่ ร้ ู ว่าเขาจะ เอากันหรือเปล่ า อย่ างดีทส่ี ุดเราก็ต้องให้ เขารู้สกึ รั กบ้ านเกิด ให้ อยากจะกลับ มาพัฒนา มาหากินทีน่ นี่ นั่ แหละ ยังไงก็คอื บ้านเรา” ผู้ใหญ่ฯ ชญานุช วิมลประดิษฐ์ กล่าวปิ ดท้าย

9


บันเทิง

สุนัขสัมพันธ์ : มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน พรทิวา ไวยครุฑธา

ส�ำหรับผู้มาเยือนถิ่นบางคนที นอกจากถนนสายเล็กที่คดเคี้ยวเลี้ยวเลาะระหว่างบ้านสวน ต้นมะพร้าวที่ปลูกสลับกับต้นกล้วย ท้องร่องทีเ่ ชือ่ มกับล�ำคลอง และสะพานข้ามคลองทีส่ งู พอให้เรือลอดผ่านได้แล้ว อาจสะดุดตากับ “น้องหมา” ทีบ่ า้ งก็เดินไปเดินมา ราวกับต�ำรวจตรวจพืน้ ที่ บ้างก็นอนเอกเขนกสบายใจอยูก่ ลางถนน จนบางคนอาจเกิดค�ำถามขึน้ ในใจว่า “ท�ำไมทีน่ หี่ มาเยอะจัง?”

ส�ำ

หรับชาวบ้ านบางคนที เจ้ าสีข่ าเหล่านี ้คือ สิ่งมีชีวิตที่อยู่คกู่ บั ชุมชนมาหลายต่อหลายรุ่น จนอาจ เรียกได้ วา่ เป็ นสมาชิกทีข่ าดไม่ได้ ก�ำนันธวัช สุขประเสริฐ แห่งต.บางคนทีเล่าว่า ชุมชนนี ้ผูกพันกับหมามานาน เพราะหมาท� ำ หน้ า ที่ เ ฝ้ าบ้ า น จะสัง เกตได้ ว่า เกื อ บ ทุกบ้ านในอบต.บางคนทีล้วนแล้ วแต่เลี ้ยงสุนขั “รุ่ นพ่อรุ่ นแม่ก็เลี ้ยงหมามา มันไม่สญ ู พันธุ์” ก�ำนันธวัชบอก “พอมันตายก็ฝัง” น้ องหมาในแต่ละบ้ านล้ วนมีที่มาแตกต่างกัน อย่างทีบ่ ้ านของคุณป้าวนิดา แสงพิทกั ษ์ รับลูกหมามา จากบ้ านอืน่ น้ องหมาทีบ่ ้ านของคุณน้ านิภา สุขสะอาด ก็ เป็ นหมาที่ เดิมคนจะน� ำไปปล่อ ยวัด ส่วนคุณยาย ละเมี ย ด ศิ ล า ได้ ข อลูก หมามาจากบางนกแขวก หลังจากทีห่ มารุ่นเก่าทีเ่ ลี ้ยงไว้ ตายไป ไม่ เ พี ย งแต่สุนัข ที่ เ ลี ย้ งไว้ ต ามบ้ า นเท่ า นัน้ ชุมชนบางคนทียงั มีพลพรรคน้ องหมาเร่ ร่อนที่มีผ้ ูเอา มาปล่อยไว้ ข้างถนน ซึ่งจะมีชาวบ้ านมาให้ ข้าวเป็ น ประจ�ำทุกเช้ าเย็น เรียกว่าเป็ นหมาเลี ้ยง เพียงแต่ไม่ได้ อยูท่ บี่ ้ านเท่านันเอง ้ ข้ าวกับไก่ทอดหรื อไก่ต้มคือเมนูประจ�ำของ น้ องหมาในหลาย ๆ บ้ าน บางบ้ านใส่ซอี วิ๊ ด้ วยเพือ่ ความ อร่อยกลมกล่อม

ส่วนเรื่ องสุขภาพของสมาชิกสี่ขา ชาวบ้ าน บอกว่าสบายหายห่วง เพราะหมาบ้ านไม่คอ่ ยเจ็บป่ วย บ่อยนัก แต่เมือ่ ป่ วยเขาก็จะไปกินหญ้ าเอง บางทีเจ้ าของ ก็ให้ กนิ ยารักษาตามอาการหรือพาไปหาหมอ นอกจากนี ้ แต่ละปี ปศุสตั ว์อาสาประจ�ำหมู่บ้านจะไปรับยาจาก อบต.บางคนทีมาบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนขั บ้ า ให้ น้ อ งหมาทุก ตัว ตามจ� ำ นวนที่ เ คยได้ ส� ำ รวจและ ลงทะเบียนไว้ อย่างถ้ วนหน้ ากัน ฟรี! ถ้ า กลัว ว่า จะเกิ ด ปั ญ หาประชากรหมาล้ น บางคนทีจนเพ่นพ่านไปทัว่ ผู้ใหญ่ฯ ชญานุช วิมลประดิษฐ์ แห่ ง หมู่ 9 ต.บางคนที ยื น ยัน ว่า เรื่ อ งนี ไ้ ม่ มี ปั ญ หา เพราะในการฉีดวัคซีนประจ�ำปี ทางปศุสตั ว์จะให้ ยาคุม ก�ำเนิดด้ วย แถมหมาที่นี่ก็แบ่งเขตแดนกันอย่างชัดเจน ไม่ล� ้ำเส้ นกันแน่ ๆ “เขาจะอยู่ เ ป็ นโซน มี อ าณาเขตของเขา ข้ ามบริเวณกันไม่ได้ ” ผู้ใหญ่ฯ ชญานุชบอก ผู้ใหญ่ ฯ ยังเล่าถึงความซุกซนของเจ้ าสี่ขา ที่บ้านผู้ใหญ่ คือบางทีก็ชอบไปกัดไก่ในโครงการของ หมู่บ้านที่บ้านอื่นเลีย้ งไว้ ด้ านคุณป้าวนิดาก็ เล่าถึง น้ องหมาที่บ้านว่า กลางวันเขาก็ออกเที่ยว กลางคืน กลับ มาอยู่บ้ า น แถมครั ง้ หนึ่ง ยัง ไปกัด กับ ตัว อื่ น จน ได้ แผล เพราะแย่งกันจีบสาว

ะแมวเบื้องต้น แล ข ั น ุ ลส แ ู รด กา บ ั หร ำ ส� อ ข้ 6 ค�ำแนะน�ำ าบาลสัตว์ทองหล่อ วแพทย์แห่งโรงพย โดยคุณหมอวรยุพดี ตรีศรี สัต

1. ฉีดวัคซีนป้องกันโรค : ควรเริ่มฉีดวัคซีนรวมและวัคซีนพิษสุนขั บ้ าเมื่อ

สุนขั และแมวอายุได้ สองเดือน และควรฉีดวัคซีนกระตุ้นทุกปี ส�ำหรับสุนขั โต 2. ถ่ายพยาธิ : ควรถ่ายพยาธิสตั ว์เลี ้ยงเป็ นประจ�ำทุก ๆ 3-6 เดือน 3. ป้องกันเห็บหมัดและพยาธิหัวใจ : เห็บหมัดเป็ นพาหะของโรคพยาธิ เม็ดเลือดและพยาธิล�ำไส้ ส่วนโรคพยาธิหวั ใจมียงุ เป็ นพาหะ ยาที่ใช้ ป้องกัน เห็บหมัดและพยาธิหวั ใจมีหลายชนิด มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน ควรปรึกษา สัตวแพทย์ก่อนใช้ ยา

10

ส่วนหมาที่บ้านของคุณยายละเมียดไม่ค่อย ออกเทีย่ วในช่วงกลางวัน จะอยูภ่ ายในบริเวณบ้ าน และ หากนึกสนุกก็จะเข้ ามาอ้ อนเจ้ าของ หรือบางครัง้ ก็ตาม เจ้ านายเวลาออกไปท�ำงานทีส่ วนด้ วย แล้ วกลับมาบ้ าน พร้ อมกัน “ฝนตกยังไม่กลับเลยนะ เฝ้าอยูอ่ ย่างนันแหละ” ้ คุณยายละเมียดเล่า “เขาหันมาหาเรา ร้ องหงิงหงิงหงิง เราไม่กลับ เขาก็ไม่กลับ เขาก็ไปหลบตามโคนกล้ วย พอเรากลับเขาก็กลับบ้ าง เหมือนเขารู้” นอกจากจะสร้ างวีรกรรมให้ ข�ำขันแล้ ว หมาทัง้ หลายยังเป็ นองครักษ์ พทิ กั ษ์ ชมุ ชนด้ วย ผู้เขียนขอเสนอ ค�ำขวัญด้ านความปลอดภัยประจ�ำชุมชนบางคนทีว่า “บ้านบางคนทีนีด้ ี อยู่แล้วอุ่นใจ รัว้ ไม่ตอ้ งล้อม กริ่ งไม่ ต้องติ ด กล้องวงจรปิ ดชิ ดซ้ าย” เพราะแต่ละบ้ านมี ผู้พทิ กั ษ์ คอยส่งเสียงโฮ่ง ๆ เมือ่ คนแปลกหน้ าย่างกราย เข้ ามาในรัศมี คุณยายละเมียดบอกว่าทีบ่ ้ านจ�ำเป็ นต้ อง เลี ้ยงหมาไว้ ตลอด เพื่อจะได้ พึ่งพาอาศัยให้ เฝ้าบ้ าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเวลากลางคืน “เหมือนเป็ นวัฒนธรรมหนึ่งของบ้ านสวน และเป็ นเรื่ องของความเมตตากรุ ณาในความรู้ สึก ของคนไทยด้ วย” ผู้ใหญ่ ฯ ชญานุชกล่ าวเกี่ยวกับ การเลี้ยงหมาของทีน่ ี่

4. สุขอนามัย : ควรตัดเล็บ เช็ดหู บีบต่อมก้ น และแปรงฟั น เป็ นประจ�ำ หรือ อย่างน้ อยเดือนละครัง้

5. อาหารและโภชนาการ : อาหารมีผลต่อสุขภาพของสัตว์เลี ้ยงในระยะ

ยาว หากท�ำอาหารให้ หมาเองก็ควรศึกษาปริ มาณพลังงาน โปรตีน ไขมัน คาร์ โบไฮเดรต และควบคุมความเค็มของอาหารด้ วย 6. เมื่อสุนัขมีไข้ควรท�ำอย่างไร? : ไม่แนะน�ำให้ สนุ ขั กินยาลดไข้ ของคน ส่วนแมวห้ ามกินโดยเด็ดขาด ควรให้ ยาส�ำหรับสัตว์เพราะยาลดไข้ ของคน มักมีสว่ นประกอบของยาที่เป็ นพิษต่อสัตว์เลี ้ยง วิธีลดไข้ เบื ้องต้ นคือเช็ดตัว ด้ วยน� ้ำเย็นเพื่อลดอุณหภูมิร่างกาย แต่ไม่ใช้ น� ้ำที่เย็นจัด หรื อถ้ าต้ องการให้ กินยาลดไข้ ยาที่ค่อนข้ างปลอดภัยและมีฤทธิ์ลดไข้ ได้ คือ ฟ้าทะลายโจร ยาสมุนไพรของไทยที่หาซื ้อได้ ทวั่ ไป


สุขภาพ

“คนแก่” ดูแลได้ วรรณรัตน์ กล�่ำสมบัติ

ความก้าวหน้าทางการแพทย์ท�ำให้คนอายุยืนกว่าสมัยก่อน ทั่วโลกจึงมีจ�ำนวนผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ บางคนอาจยังท�ำตัว ไม่ค่อยถูกเมื่อต้องกลายเป็นคนแก่ เช่นเดียวกับลูกหลานและคนรอบข้างที่ยังงง ๆ อยู่ว่าจะช่วยเหลือและดูแลคุณลุงคุณป้าอย่างไรดี

อบต.

บางคนที เ ป็ นตั ว อย่ า งหนึ่ ง ของชุ ม ชนที่ มี ผ้ ู สู ง อายุ จ� ำ นวนมากถึ ง หนึ่ ง ในห้ า ของประชากรทัง้ หมด คุณลุงคุณป้าเหล่านีค้ ือก� ำลัง ส�ำคัญในการพัฒนาชุมชน เพราะต่างเป็ นผู้ที่เปี่ ยม ด้ วยประสบการณ์ และภูมิปัญญา แม้ ต้องเผชิญกับ ความเปลีย่ นแปลง ทังในด้ ้ านร่างกาย จิตใจ และสังคม แต่พวกเขายังคงใช้ ชีวติ อย่างมีความสุขและมีคณ ุ ค่าได้ หากได้ รับการดูแลและส่งเสริ มอย่างเหมาะสม พ.ญ.จิตติมา บุญเกิด ภาควิชาเวชศาสตร์ ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี กล่าวว่า หลักส�ำคัญของการดูแลผู้สงู อายุคือเน้ นให้ พวกเขาช่วยเหลือตนเองให้ ได้ มากทีส่ ดุ จะได้ ไม่เป็ นภาระ ของลูกหลาน ขณะเดียวกันครอบครัวและชุมชนก็ต้องมี ความรู้ความเข้ าใจในการดูแลด้ วย ไม่ควรคิดว่า “แก่แล้ ว ก็ได้ แค่นี ้แหละ” หรือปล่อยให้ หมอรักษาอย่างเดียว

ประวัติการรักษา และการแพ้ ยาติดตัวไปด้ วยทุกครัง้ หากไปคนเดี ย ว ควรขอให้ ห มอเขี ย นค� ำ แนะน� ำ ใน การรั ก ษาสุข ภาพและการกิ น ยาใส่ก ระดาษกัน ลื ม ในส่วนของผู้ดแู ลควรหมัน่ สังเกตอาการของผู้สงู อายุ ตังใจฟั ้ งค�ำแนะน�ำของหมอ เพื่อดูแลให้ คณ ุ ลุงคุณป้า ปฏิบตั ิตวั ได้ ถกู ต้ อง และอาจใช้ ตลับยาเพื่อจัดยาแยก ตามมื ้ออาหาร แก่ อย่ างไรให้ มีความสุข ผู้สงู อายุอยูใ่ นวัยทีเ่ ผชิญกับความเปลีย่ นแปลง และการสูญเสีย ถ้ าปรับตัวหรือท�ำใจยอมรับไม่ได้ ก็เสีย่ ง เป็ นโรคซึมเศร้ า จึงควรหาทางผ่อนคลายความเครี ยด เช่ น ท� ำ งานอดิ เ รกตามความสนใจ อ่ า นหนั ง สื อ รั บ ข่า วสาร เข้ า สัง คมเพื่ อ พบปะพูด คุย ปรึ ก ษากับ ลูกหลานหรื อผู้คนในชุมชน หากสุขภาพแข็งแรงพอก็ อาจเข้ าร่ วมโครงการของชุมชน เช่น เป็ นอาสาสมัคร ไปเยี่ยมเพื่อน ๆ ที่เดินทางไม่สะดวก ขณะเดียวกัน ผู้ดูแลควรเข้ าใจและยอมรับ การเปลีย่ นแปลงของผู้สงู อายุ แสดงความใส่ใจ ด้ วยการ พูดคุยสร้ างรอยยิม้ และเสียงหัวเราะ จัดหาอุปกรณ์ ส�ำหรับท�ำงานอดิเรก หรื อพาไปเข้ าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ หากต้ องเดินทางไกล ควรช่วยกันจัดกระเป๋ าเพื่อให้ มี ของใช้ จ�ำเป็ นครบถ้ วน ดูแลเรื่ องห้ องน�ำ้ และที่พัก ให้ สะดวก ถ้ าอาการซึมเศร้ าหรื อสุขภาพจิตไม่ดีขึน้ ควรปรึกษาคุณหมอเพื่อหาหนทางรักษาต่อไป

กินเพื่ออยู่ เมื่ออายุมากขึ ้น ระบบต่าง ๆ ของร่ างกาย ย่อมมีความเสื่อมถอยเป็ นธรรมดา ระบบย่อยอาหารก็ เช่ น เดี ย วกัน อาหารส� ำ หรั บ คนแก่ จึ ง ต้ อ งย่ อ ยง่ า ย ปรุ ง ให้ เ ปื่ อยยุ่ย และรสไม่ จัด แต่ ยัง ต้ อ งคงความ หลากหลายและดูน่ า กิ น เอาไว้ เพราะบางคนอาจ เบื่ออาหารหรื อกินได้ น้อยลง นอกจากนี ้การมีสว่ นร่วม ในการปรุงอาหาร เช่น คิดรายการอาหาร บอกวิธปี รุง รวม ถึงการเปลีย่ นบรรยากาศและมีญาติมิตรมาร่วมโต๊ ะจะ จัดบ้ านอย่ างไร ให้ เหมาะกับคนแก่ สภาพบ้ านมีความส�ำคัญต่อสภาพร่ างกาย ช่วยให้ ผ้ สู งู อายุมีความสุขและเจริ ญอาหารมากขึ ้นได้ และจิ ต ใจของผู้ อยู่ อ าศั ย จึ ง ควรดู แ ลให้ สะอาด ไม่ มีใครแก่ เกินออกก�ำลังกาย สะดวกสบาย และเหมาะสมกับการใช้ ชวี ติ ของผู้สงู อายุ คุณ ลุง คุณ ป้ าในชุม ชนบางคนที ส่ว นใหญ่ รอบบริ เวณบ้ านควรมีพื ้นที่ส�ำหรับปลูกต้ นไม้ เพื่อให้ ท�ำสวนมาตังแต่ ้ หนุ่มสาว ท�ำให้ ยงั มีสขุ ภาพแข็งแรง แต่ห ลายคนอาจมี ปัญหาเรื่ อ งข้ อ เสื่อ ม คุณหมอจึง 1 แนะน� ำ ให้ เลื อ กการออกก� ำ ลั ง กายที่ ช่ ว ยเพิ่ ม ความยืดหยุน่ ของข้ อ เพิ่มความแข็งแรงของกล้ ามเนื ้อ รอบข้ อ และช่วยยืดเส้ น นอกจากนี ้อาจออกก�ำลังกาย เพื่อช่วยให้ เลือดไหลเวียนดี เช่น เดิน ปั่ นจักรยาน ฯลฯ โดยต้ องท�ำอย่างต่อเนือ่ ง ครังละประมาณ ้ 30 นาที ห้ าวัน ต่อสัปดาห์ แต่ไม่ควรหักโหม และให้หยุดเมือ่ พบว่ามีอาการ ผิดปกติ เช่น ใจสัน่ เจ็บตามข้อ เป็ นต้น ส่วนคุณลุงคุณป้า ที่ มี โ รคประจ� ำ ตัว ควรปรึ ก ษาหมอเพื่ อ หาวิ ธี ก าร 5 ออกก�ำลังกายทีเ่ หมาะสม อย่ าลืมไปหาหมอ การตรวจสุ ข ภาพเป็ นสิ่ ง ที่ ไ ม่ ค วรละเลย ผู้สงู อายุควรหาหมอเป็ นประจ�ำเพื่อตรวจหาโรคเรื อ้ รัง เช่น เบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือด และควรตรวจ สายตา สุขภาพกระดูกและฟั น รวมถึงรับวัคซีนทีจ่ �ำเป็ น เมื่อครบก� ำหนด โดยน�ำใบที่บอกเรื่ องโรคประจ�ำตัว

บรรยากาศสดชื่น ห้ องพักของผู้สงู อายุควรอยู่ชนล่ ั ้ าง ใกล้ กบั ห้ องน� ้ำ ภายในห้ องมีแสงสว่างเพียงพอ และไม่มี ขันต่ ้ างระดับ เตียงนอนสูงขนาดนัง่ แล้ วเท้ ายันพื ้นได้ พอดี ไม่ ว างข้ าวของเครื่ องใช้ กี ด ขวางทางเดิ น วางของใช้ จ� ำ เป็ นในต� ำ แหน่ ง ที่ ห ยิ บ ได้ สะดวก และเครื่องใช้ ไฟฟ้าต่าง ๆ ควรเป็ นแบบใช้ งา่ ยไม่ซบั ซ้ อน ในส่วนของห้องน� ้ำ ให้มผี ้าซับน� ้ำหรือพรมเช็ดเท้า เตรียมไว้ พื ้นห้ องน� ้ำควรแห้ งและไม่ลื่น อาจมีราวจับสูง จากพื ้นประมาณ 90 ซม.เพื่อป้องกันการหกล้ ม โถส้ วม ควรเป็ นแบบโถนั่ ง และเนื่ อ งจากผู้ สู ง อายุ ท น ความหนาวเย็นได้ น้อยอาจต้ องมีเครื่ องท�ำน� ้ำอุ่นหรื อ ต้ มน� ้ำให้ อาบด้ วย อีกสิง่ หนึง่ ทีส่ ำ� คัญคือห้ ามวางของใช้ เช่น สบู่ แชมพู ฯลฯ ปะปนกับสารเคมีที่ใช้ ท�ำความ สะอาดห้ องน� ้ำเด็ดขาด ส� ำ หรั บ ห้ องครั ว ต้ องจั ด เก็ บ เครื่ องมื อ เครื่ องใช้ ให้ เป็ นระเบียบ โดยเฉพาะของมีคมและของที่ มีน� ้ำหนักมาก เช่น เขียง ครก ฯลฯ เพื่อป้องกันอุบตั เิ หตุ ภาชนะต่าง ๆ รวมถึงขวดเครื่ องปรุ งควรเป็ นแบบตก ไม่แตกและน� ้ำหนักเบา หากผู้สงู อายุต้องการประกอบ อาหารเอง ควรมีผ้ ูช่วยเพื่อป้องกันอันตรายจากการ ลืมปิ ดแก๊ ส หรื อตังอาหารทิ ้ ้งไว้ บนเตาจนไหม้ และอาจ ติดตังเครื ้ ่ องจับควันช่วยส่งเสียงเตือนร่วมด้ วย การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุต้องอาศัย ความร่ วมมือจากทัง้ ตัวผู้สงู อายุเอง ครอบครัว และ สมาชิกในชุมชน เมื่อก�ำลังส�ำคัญอยู่ได้ อย่ างแข็ง แรงและมีความสุขแล้ ว ชุมชนย่ อมจะอยู่ได้ อย่ าง เข้ มแข็งเช่ นกัน

“แก่แล้วกินอะไรดี?” 2

3

4

7

8

6

โดย อินทัช อัคนิวรรณ

11


เรื่องรอง

เมื่อการ สถานทีท่ กุ แห่งย่อมมีประวัตศิ าสตร์หรือเรือ่ งราวของตัวเอง หากประวัตศิ าสตร์คอื รากแก้วของสถานทีเ่ หล่านัน้ การรูจ้ กั และเข้าใจ ความเป็นมาของชุมชนทีต่ นอาศัยอยู่ ก็เท่ากับการรูจ้ กั และเข้าใจตัวตนของสมาชิกในชุมชนนัน้ ด้วย การรับรูท้ มี่ าทีไ่ ปของตนท�ำให้ชมุ ชนนัน้ ไม่สูญเสียความเป็นตัวเอง และสามารถยืนหยัดได้อย่างมั่นคงท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง

อ.บางคนทีก็มีเรื่องราวของตนเองเช่นกัน

เห็นได้ จากสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ มากมาย ไม่วา่ จะเป็ น “โบสถ์ปรกโพธิ์” แห่งวัดบางกุ้ง ที่ตงอยู ั ้ ใ่ น บริ เวณค่ายบางกุ้งซึ่งเป็ นค่ายทหารเรื อเก่าแก่ตงั ้ แต่ สมัยกรุงศรี อยุธยาแตกครัง้ ที่สอง “วัดบางคณฑีใน” ซึง่ เป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธรู ปเก่าแก่อายุหลายร้ อยปี และ “พิ พิธภัณฑ์ ตัง้ เซี ยมฮะ” บริ เวณใกล้ สี่แยกวัด เกาะแก้ ว ซึ่งเก็บรวบรวมวัตถุโบราณที่พบในแม่น� ำ้ แม่กลองหลายพันชิ ้น ผู้คนในอ.บางคนทีทราบดีว่าสถานที่เหล่านี ้ ล้ วนมีคณ ุ ค่าและเปี่ ยมด้ วยความรู้ เชิงประวัติศาสตร์ จึงพยายามดูแลรักษาแหล่งโบราณคดีในชุมชนของตน เท่าที่จะท�ำได้ นายธวัชชัย พิเสฎฐศลาศัย เจ้ าของพิพธิ ภัณฑ์ ตัง้ เซี ย มฮะเล่า ถึง การเก็ บ รั ก ษาโบราณวัต ถุภ ายใน พิพิธภัณฑ์วา่ เขาจัดใส่ต้ กู ระจกสามชัน้ ลักษณะคล้ าย ตู้เ ก็ บ ขนมเค้ ก และจัด แสดงในอาคารพาณิ ช ย์ ซึ่ ง เมื่อก่อนเป็ นร้ านขายเฟอร์ นิเจอร์ เนื่องจากพิพิธภัณฑ์ มี โ บราณวัต ถุจ�ำ นวนมากแต่มี พื น้ ที่ จ�ำ กัด ท� ำ ให้ ไ ม่ สามารถจัดแบ่งเป็ นโซนต่าง ๆ ตามยุคสมัยหรือประเภท ของโบราณวัตถุเหมือนพิพิธภัณฑ์ขนาดใหญ่ได้ “ทุกวันนี ท้ ี่ ท�ำมันเข้ าเนื อ้ และขาดทุนอย่าง เดียว ไม่มีก�ำไรอะไร ... แต่ที่ยงั ท�ำเพราะคิดว่าจะเป็ น วิทยาทานให้ นกั ศึกษา ประชาชน บุคคลทัว่ ไป ที่เขา สนใจเกี่ ยวกับวัตถุโบราณสามารถเข้ ามาศึกษาได้ ” นายธวัชชัยกล่าว ขณะที่นายค�ำ ทองพราม วัย 91 ปี หนึง่ ใน ผู้ค้นพบวัตถุโบราณที่วดั บางคณฑีใน เล่าความเป็ นมา ของพระพุทธรู ปที่ ตัง้ อยู่ภ ายในวิ ห ารเจ้ า แม่กวนอิ ม ของวัดว่า เมื่อปี 2541 ทางวัดปรับพื ้นที่เพื่อสร้ างวิหาร เจ้ าแม่กวนอิม ขณะที่ชาวบ้ านทุบเจดีย์เก่าซึ่งอยู่ใน สวนมะพร้ าวบริ เวณหลังวัด เพื่อน�ำอิฐมาใช้ สร้ างวิหาร ก็ พ บว่ า ภายในเจดี ย์ บ รรจุชิ น้ ส่ ว นของพระพุท ธรู ป โบราณไว้ หลายองค์ หลั ง จากย้ ายชิ น้ ส่ ว นของ พระพุทธรูปออกจากเจดีย์แล้ ว นายค�ำกับเจ้ าอาวาสวัด บางคณฑีในและพระลูกวัด จึงช่วยกันประกอบชิ ้นส่วน พระพุทธรูปทีก่ ระจัดกระจายให้ เป็ นรูปเป็ นร่าง ภายหลัง จึงอัญเชิญมาประดิษฐานในวิหารเจ้ าแม่กวนอิมทีส่ ร้ าง ขึ ้นใหม่เพื่อให้ เป็ นที่สกั การบูชา การด� ำ เนิ น การเช่ น นี ไ้ ม่ ใ ช่ เ รื่ องแปลก นายเทอดศักดิ์ เย็นจุระ หัวหน้ ากลุม่ อนุรกั ษ์โบราณสถาน ส� ำ นัก ศิ ล ปากรที่ 3 พระนครศรี อ ยุ ธ ยาอธิ บ ายว่ า การประกอบชิ ้นส่วนพระพุทธรู ปเข้ าด้ วยกันโดยไม่ได้ ตรวจสอบอายุส มัย ของโบราณวัต ถุก่ อ น เป็ นสิ่ ง ที่ เกิดขึ ้นในหลายชุมชน

12


เรื่องรอง

รจัดการอดีตของรัฐกับชุมชน...เป็นคนละเรื่องเดียวกัน ธารใส อัจฉริ ยบุตร / วรรณรัตน์ กล�่ำสมบัติ

“กรณี นี เ้ จอบ่อ ยมาก เอาขาขององค์ ห นึ่ง มาต่อ กับ ตัว ของอี ก องค์ ห นึ่ง ดี ไ ม่ดี ก็ ปั น้ ขึน้ มาใหม่ ที่ท�ำได้ ก็คือต้ องดูเจตนาของเขาว่าเขาต้ องการท�ำเพื่อ อะไร เจตนาส่วนใหญ่ที่ท�ำอย่างนี ้ก็ด้วยความเคารพ ศรั ท ธาในพระพุท ธศาสนา ความเชื่ อ ตรงนัน้ ไม่ มี ความผิด” นายเทอดศักดิ์กล่าว แม้ ส องกรณี ข้ า งต้ น จะเป็ นการดูแ ลรั ก ษา โบราณวัตถุคนละประเภท แต่มีความเหมือนกันคือ ผู้คนในชุมชนจัดการเองทุกขันตอนโดยไม่ ้ ได้ ขอความ ช่วยเหลือจากกรมศิลปากร ซึง่ เป็ นหน่วยงานภาครัฐที่ มีหน้ าที่โดยตรงในการดูแลรักษาแหล่งโบราณคดี เหตุที่ชาวบ้ านไม่ยินยอมให้ กรมศิลปากรมา ดูแลจัดการแหล่งโบราณคดีในชุมชน เพราะมักเข้ าใจ ว่าการขึ ้นทะเบียนโบราณสถานหรือโบราณวัตถุ เท่ากับ เป็ นการยกสถานที่ แ ละวั ต ถุ ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ทาง ประวัติศาสตร์ ซงึ่ พวกเขาดูแลมานานให้ กรมศิลปากร และชุมชนจะไม่เหลือสิทธิใด ๆ ในการจัดการโบราณสถาน หรือโบราณวัตถุทขี่ ึ ้นทะเบียนแล้ว “ถามว่าของของเรา สะสมมาไม่ใช่วา่ เล็กน้ อย เราสะสมมากว่า 20 ปี มันเป็ นไปไม่ได้ หรอกว่าอยู่ ๆ เราจะไปยกให้ ทางกรมศิลป์เลย การขึ ้นทะเบียนคือการ ให้ ทางกรมศิลป์เขาเข้ ามาดูแล ถ้ าพูดภาษาชาวบ้ านก็ คือยกให้ เขานัน่ แหละ” นายธวัชชัยกล่าวถึงเหตุผลที่ ไม่ได้ ขึ ้นทะเบียนพิพธิ ภัณฑ์ตงเซี ั ้ ยมฮะกับกรมศิลปากร เช่ น เดี ย วกั บ โบราณสถานขึ น้ ชื่ อของ อ.บางคนทีอย่างโบสถ์ปรกโพธิ์ วัดบางกุ้ง ซึง่ เป็ นอุโบสถ เก่ า แก่ ที่ ป กคลุม ด้ ว ยรากไม้ นายสมศัก ดิ์ แซ่ โ ค้ ว หนึ่ ง ในกรรมการสภาวั ฒ นธรรมชุ ม ชนต.บางกุ้ ง เล่าให้ ฟังว่าที่ผ่านมาทางวัดดูแลรั กษาโบสถ์ ได้ ด้วย แรงศรัทธาของชาวบ้ านและนักท่องเที่ยว และที่ทางวัด ไม่ขึ ้นทะเบียนโบราณสถานกับกรมศิลปากรก็เพราะ “ถ้ าขึ ้นทะเบียนแล้ วเราจะไม่มีสทิ ธิเข้ าไปจัดการเลย” อย่างไรก็ตามหัวหน้ ากลุม่ อนุรกั ษ์โบราณสถาน ส�ำนักศิลปากรที่ 3 ชี ้แจงว่าการขึ ้นทะเบียนไม่ได้ ท�ำให้ โบราณสถานหรื อโบราณวัตถุนนเป็ ั ้ นของกรมศิลปากร เพราะหน้ าที่ของกรมศิลปากรคือเฝ้าระวัง คุ้มครอง และดู แ ลรั ก ษามรดกทางศิ ล ปวั ฒ นธรรมไม่ ใ ห้ ถูกท�ำลาย มรดกเหล่านันจึ ้ งยังคงเป็ นของเจ้ าของเดิม

แต่ต้องอยูภ่ ายใต้ ข้อตกลงว่า เจ้ าของจะต้ องไม่แต่งเติม โบราณสถานหรื อโบราณวัตถุ และถึงไม่ขึน้ ทะเบียน ทางกรมศิ ล ปากรก็ ยัง ต้ อ งเข้ ามาดูแ ล เพราะการ คุ้ มครองตาม พ.ร.บ.โบราณสถาน โบราณวั ต ถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ.2504 แก้ ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2535 ครอบคลุมถึงสถานทีแ่ ละวัตถุ ที่ไม่ขึ ้นทะเบียนด้ วย

โบราณวัต ถุ ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ นวัด พระสงฆ์ จึ ง ต้ อ งมี ความรู้ ในเรื่ องการอนุรักษ์ ที่ถกู ต้ อง เพื่อป้องกันไม่ให้ สถานที่ ห รื อ สิ่ ง ของเหล่ า นัน้ ผุ พัง ก่ อ นเวลาอัน ควร ส่วนกลุม่ ทีส่ องคือ ประชาชนในพื ้นที่ โดยให้ ความรู้ผา่ น องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น เช่น อบต. เพื่อให้ ชาวบ้ าน ช่วยกันระมัดระวัง สอดส่องดูแลโบราณสถานและ โบราณวัตถุ รวมถึงมีเครื อข่ายอาสาสมัครของหมูบ่ ้ าน ท�ำหน้ าทีต่ ดิ ต่อกับกรมศิลปากร เมือ่ พบแหล่งโบราณคดี นอกจากนี้ ความไม่พอใจการท�ำงาน ใหม่ ๆ หรือต้ องการให้ ชว่ ยดูแลจัดการในเรื่องทีเ่ กินก�ำลัง ของเจ้าหน้าที่กรมศิลปากรยังเป็นอีกสาเหตุ กดิ์ยงั ชี ้แจงเพิ่มเติมว่า เนื่องจาก หนึ่งที่ท�ำให้ชาวบ้านพยายามดึงสิทธิในการ เจ้ าหน้ าที่ในายเทอดศั วยงานมีน้อยมาก ไม่เพียงพอกับแหล่ง จัดการอดีตกลับมาเป็นของชุมชน มากกว่า โบราณคดีนหน่ ทั่ ว ประเทศ กรมศิ ล ปากรจึ ง ต้ องจ้ าง ที่จะพึ่งพาหน่วยงานของรัฐ ผู้รับเหมาเอกชน โดยเลือ กบริ ษั ท ที่ มีประสบการณ์ “เมื่อก่อนเขา (กรมศิลปากร) เคยเข้ ามาวัด การบูรณะและอนุรักษ์ โบราณสถานที่สร้ างจากวัสดุ หน้ าบันสามครัง้ วัดเสร็ จก็หายไป เขาบอกว่าจะมา เดียวกัน เช่น ถ้ าเป็ นไม้ บริษทั ทีเ่ ข้ ามาท�ำก็ต้องมีผลงาน บูรณะ แต่วัดไปสามเที่ ยวไม่เห็นจะท�ำอะไรเลย ... ด้ านการบูรณะโบราณสถานที่ท�ำจากไม้ มาก่อน หลังจากนันมี ้ มาเป็ นคณะ เขาบอกว่าได้ งบมาหนึง่ แสน “ ยุ ค ส มั ย มั น เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ก็ ม าบูร ณะให้ ห น่ อ ยหนึ่ง ตรงส่ว นที่ ช� ำ รุ ด ในโบสถ์ ที่ ประชาชนเขาค่อนข้างทีจ่ ะกลัวการสมอ้างเป็น รากไม้ ท�ำให้ แตก แล้ วก็ซ่อมภาพเขียนข้ างในให้ เห็น เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ แล้ ว ท� ำ ที ไ ปขุ ด โบราณวั ต ถุ ชัดขึ ้น นอกนันเป็ ้ นการดูแลของวัดเองทังหมด ้ อย่าง พวกนีเ้ ขาจะหวงมาก เพราะฉะนัน้ กรมศิลป์จงึ อบต. จังหวัด หรื อ อบจ. ไม่เคยมาเหลียวแล เราท�ำด้ วย ต้องประชาสัมพันธ์ด้วย เพื่อให้ชาวบ้านรับรู้ ล�ำแข้ งของตัวเอง” นายสมศักดิ์กล่าว และเข้ า ใจในแนวทางหรื อ วิ ธีก ารอนุ รั ก ษ์ ขณะที่ ผศ.ชวลิต ขาวเขียว หัวหน้ าภาควิชา บูรณะ และคงคุณค่าของโบราณสถานนัน้ ไว้” โบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร - นายเทอดศักดิก์ ล่าว ให้ ความเห็นเกี่ยวกับกรณีดงั กล่าวว่า ปกติกรมศิลปากร ในส่วนความต้ องการของชาวบ้ าน ผู้ก่อตัง้ ต้ องชี ้แจงเรื่ องการขึ ้นทะเบียนให้ ชาวบ้ านเข้ าใจก่อน พิพิธภัณฑ์ตงเซี ั ้ ยมฮะให้ ความเห็นว่า เขาต้ องการให้ แต่เนื่องจากไม่มกี ฎระเบียบทีบ่ งั คับใช้ โดยตรงจึงขึ ้นอยู่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องช่วยเหลือเพิ่มเติมในเรื่ องเงินทุน กับเจ้ าหน้ าที่ ของรั ฐแต่ละคน ว่าจะเข้ าไปชี แ้ จงกับ ส�ำหรับจัดการแหล่งโบราณคดี หน่วยงานท้ องถิ่นหรื อไม่ “พิพิธภัณฑ์ทงหลายที ั้ ่เป็ นเอกชนนี่ มันไม่มี “บางคนไม่ได้ ชี ้แจงเลยก็มี เข้ าไปรังวัดแล้ วก็ โอกาสที่ จ ะไปได้ เพราะต้ อ งใช้ เ งิ น มหาศาลในการ กลับมา ท�ำให้ เกิดความเข้ าใจผิดได้ จริ ง ๆ แล้ วเมื่อ จัดการ ไม่ว่าจะเป็ นการประชาสัมพันธ์ หรื อว่าลงทุน ประกาศ (ขอขึ ้นทะเบียน) เสร็จ ต้ องดูแลชาวบ้ านให้ เขา อะไรทุกอย่าง” นายธวัชชัยกล่าว ท� ำประชาพิจารณ์ ว่าจะเอายังไง จะพัฒนาอย่างไร เขายังเสริ มอีกว่า ความเอาใจใส่ของภาครัฐ หรื อแม้ กระทั่งของที่จะขุด กรมศิลป์ต้ องขออนุญาต ก็เป็ นสิง่ ที่ชาวบ้ านผู้ดแู ลโบราณสถานและโบราณวัตถุ เจ้ าของที่ก่อน” ผศ.ชวลิตกล่าว ต้ องการเช่นกัน ด้ านหั ว หน้ ากลุ่ ม อนุ รั ก ษ์ โบราณสถาน “อย่ างน้ อย ๆ ถ้ าเราท�ำ เราต้ องมีกำ� ลังใจ” ส�ำนักศิลปากรที่ 3 ให้ ข้อมูลว่า ปั จจุบนั กรมศิลปากรมี นายธวัชชัยกล่ าวสรุ ป นโยบายที่จะลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานรัฐกับชุมชน ด้ ว ยการให้ ค วามรู้ กั บ กลุ่ม บุ ค คลสองกลุ่ม หลัก ๆ กลุ่ ม แรกคื อ พระสงฆ์ เพราะโบราณสถานหรื อ

9 ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ของกรมศิลปากร

1 2 3 4 5 6 7 8 9 รวบรวมข้ อมูล +เตรี ยมการ

- หาข้ อมูลที่ตงั ้ ประวัติ รูปแบบ - ท�ำหนังสือถึง เจ้ าของเพื่อขอ อนุญาตส�ำรวจ - วางแผน เตรี ยมเครื่ องมือ

ส�ำรวจ

- ลงพื ้นที่ ถ่ายภาพ - ตรวจสอบสภาพ โบราณสถาน/ โบราณวัตถุ - สัมภาษณ์เจ้ าของ

ท�ำเอกสาร ขึน้ ทะเบียน

ตรวจสอบ ข้ อมูลเอกสาร

- ท�ำรายงานการ ส�ำรวจและแผนผัง ของโบราณสถาน - ท�ำบัญชี รายละเอียดของ โบราณวัตถุ/ ศิลปวัตถุ

เมื่อข้ อมูลถูกต้ อง ครบถ้ วนแล้ วส่ง ให้ คณะกรรมการ พิจารณา

พิจารณา คุณค่ า

คณะกรรมการดู หลักเกณฑ์จาก พ.ร.บ.โบราณ สถานฯ ฉบับแก้ ไข พ.ศ.2535

ประกาศขึน้ ทะเบียน

ลงในราชกิจ จานุเบกษา

อธิบดีกรม ศิลปากรเซ็นชื่อ ในประกาศ ขึ ้นทะเบียน

แจ้ งส�ำนัก เลขาธิการ คณะรัฐมนตรี เพื่อ ขอลงประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา

แจ้ งเจ้ าของ

- แจ้ งให้ เจ้ าของ รับทราบถึงการขึ ้น ทะเบียน ระเบียบ ปฏิบตั ิ และการ ดูแลรักษา **เจ้ าของโบราณ สถานสามารถ คัดค้ านได้ ภายใน 30 วัน**

เผยแพร่ +ติดตาม

- เผยแพร่ข้อมูล -ดูแลซ่อมแซม สถานที่ที่ขึ ้น ทะเบียนแล้ ว - ติดตามวัตถุที่ถกู โจรกรรมสูญหาย - ปรับปรุงข้ อมูลให้ ทันสมัย

ที่มา: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ

13


บทความ

เกษตรอินทรีย์ หนึ่งทางเลือกดี ๆ ของเกษตรกร จุฑารัตน์ กุลตัณกิจจา

“รสชาติมะพร้าวสมุทรสงครามกินขาด ไม่ใช่คุยนะ! อัมพวายังสู้บางคนทีไม่ได้เลย”

เป็น

14

ปากค�ำของคุณตาอนงค์ สุขสะอาด ชาวสวนมะพร้ าว ต.บางคนทีในวัย 74 ปี ผู้เคยเดินทาง ไปทัว่ ร้ อยเอ็ดเจ็ดย่านน� ้ำ เมื่อถูกถามถึงความแตกต่าง ของมะพร้ าวที่ปลูกในแต่ละพื ้นที่ “ท�ำสวนมะพร้ าวนี่มนั เป็ นชีวิตยาวนานมาก เลยนะ คือว่ามะพร้ าวมันเป็ นพืชยืนต้ นที่มีอายุตงแต่ ั้ ปลูกเนี่ยมันอยู่ได้ เป็ นร้ อยปี เลย” คุณตาอนงค์เล่าถึง อาชีพเลี ้ยงปากท้อง “มันง่าย ปลูกผัก ปลูกมันแกว ปลูกอ้อย มันเหนื่อย ไปไหนไม่ได้ ต้องคอยดูแล ปลูกมะพร้ าว ไปไหนมาไหนสามวันสี่วนั มะพร้ าวก็ยงั อยู”่ ทว่ า หลัง จากท� ำ สวนมะพร้ าวมายาวนาน หลาย 10 ปี ชาวสวนมะพร้ าวอย่างคุณตาอนงค์ก็ยงั หนี ไม่พ้นความท้ าทายใหม่ ๆ เมื่อมีคแู่ ข่งจากต่างถิ่นที่ขาย มะพร้ าวในราคาถูกกว่า “สองสามปี กอ่ นมะพร้ าวเหลือลูกละสามบาท” ชาวสวนมะพร้ าวมากประสบการณ์เล่าปั ญหาที่เกิดขึ ้น “ให้ มนั ยืนสัก 15 บาทก็ยงั ดี เดี๋ยวมะพร้ าวใต้ ขึ ้นมาอีก แล้ ว อี ก สองปี มะพร้ าวอาเซี ย น จบอี ก เลยนะ ของ เวียดนามไม่ใช่น้อยนะ” ปี 2558 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ จะรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และ การเมืองเพือ่ เข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียน ซึง่ จะท�ำให้ อาเซียน กลายเป็ นตลาดร่ วมที่ไม่มีการกีดกันทางภาษี ระหว่าง ประเทศสมาชิก อันได้ แก่ ไทย สิงคโปร์ ลาว อินโดนีเซีย กัมพูชา บรูไน เวียดนาม เมียนมาร์ ฟิ ลปิ ปิ นส์ และมาเลเซีย รายงานผลการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) : กลุม่ อุตสาหกรรม อาหาร โดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ชี ้ว่าการ แข่งขันทางการค้ าอาจรุนแรงมากขึ ้น เนือ่ งจากลูกค้ าอาจ ย้ายไปซื ้อผลผลิตจากประเทศอืน่ ในอาเซียนแทน นอกจากนี ้ การท�ำข้ อตกลงเขตการค้ าเสรี อาเซียน-จีนก็เป็ นอีกหนึง่ เงื่อนไขทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อ ชาวสวนมะพร้ าวเช่นกัน รายงานการวิจยั เรื่องผลกระทบ จากการท�ำข้ อตกลงเขตการค้ าเสรี อาเซียน-จีนต่อภาค เกษตรของไทย โดยน� ้ำ ชลสายพันธ์ วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักรชี ้ให้ เห็นว่าผู้ค้าในประเทศเปิ ดพื ้นทีส่ ำ� หรับ ผักผลไม้นำ� เข้ามากขึ ้น เนือ่ งจากความสะดวกในการขนส่ง และต้นทุนการผลิตถูกกว่า แม้สภาอุตสาหกรรมจะประเมิน ว่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารของไทยอยูใ่ นระดับสูงก็ตาม

งานวิจยั ระบุวา่ แม้ ผ้ บู ริโภคจะให้ ความส�ำคัญ กั บ ความปลอดภั ย ทางอาหารและคุ ณ ประโยชน์ ทางโภชนาการเป็ นล� ำ ดับ แรก แต่ ก ลับ ไม่ ท ราบว่ า แต่ละแหล่งผลิตมีความปลอดภัยและคุณค่าทางอาหาร แตกต่ า งกั น อย่ า งไร ท� ำ ให้ เข้ าใจไปว่ า ผั ก ผลไม้ ชนิดเดียวกันไม่ว่าปลูกที่ไหนย่อมไม่ต่างกัน ผู้บริ โภค จึงมักจะตัดสินใจซื ้อสินค้ าที่ราคาถูกกว่า การตรวจสอบรับรองมาตรฐานจึงเป็ นหนทาง หนึง่ ที่ชว่ ยให้ ผ้ บู ริ โภคเกิดความมัน่ ใจในการซื ้อหาและ เลือกบริ โภคผลิตภัณฑ์เกษตร ถือเป็ นการให้ ข้อมูลแก่ ผู้บริ โภคว่าผลผลิตมีความปลอดภัย การรั บ รองเกษตรอิ น ทรี ย์ เ ป็ นระบบที่ ต้ อ ง ตรวจสอบตังแต่ ้ ขนตอนการปลู ั้ ก การเก็บเกี่ยว จนถึง การแปรรูป บรรจุ และจ�ำหน่ายด้วย ดังนันประกาศนี ้ ยบัตร และตรารับรองเกษตรอินทรี ย์บนผลิตภัณฑ์จงึ ไม่เพียง สร้ างความรู้ ความมัน่ ใจให้ ผ้ บู ริ โภคเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ เท่านัน้ แต่ยงั มัน่ ใจได้ ถึงตัวเกษตรกร พื ้นที่การผลิต และระบบบริ หารจัดการผลผลิต ขณะเดี ย วกัน ตลาดเกษตรอิ น ทรี ย์ ทั่ว โลก ก็ก�ำลังขยายตัวอย่างรวดเร็ ว ออร์ แกนิค มอนิเตอร์ (Organic Monitor) หน่วยงานวิจยั เรื่ องตลาดเกษตร อินทรี ย์โลก ศึกษาและประเมินตลาดเกษตรอินทรี ย์ ในปี 2554 ว่ามีมลู ค่าราว 1.89 ล้ านล้ านบาท ส่วนตลาด เกษตรอินทรี ย์ของไทยจากการประเมินของกรี นเนท (Greennet) ในปี 2553 มีมลู ค่ามากกว่า 1,752 ล้ าน บาทและมีแนวโน้ มเติบโตอย่างต่อเนื่อง การส�ำรวจของกรี นเนทร่ วมกับมูลนิธิสายใย แผ่ น ดิ น พบว่ า ผู้ บริ โ ภคมี ค วามพร้ อมในการซื อ้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ กษตรอิ น ทรี ย์ ใ นราคาที่ สู ง กว่ า ปกติ ร้ อยละ 10-15 แต่ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวจะต้ องผ่านการ ตรวจสอบรั บ รองมาตรฐานที่ ส ร้ างความมั่น ใจให้ ผู้บริ โภคด้ วย สมหวัง พิมสอ ชาวสวนมะพร้ าว อ.บางสะพาน ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองมาตรฐานเกษตรอิ น ทรี ย์ เล่ า ประสบการณ์ว่า “ผมท�ำสวนมะพร้ าว 15 ไร่ เริ่ มแรก ต้ นทุนเจ็ดบาทต่อลูก แต่ยิ่งท�ำนานไปต้ นทุนจะลดลง เรื่ อย ๆ ” และเมื่อพูดถึงปริ มาณผลผลิต พี่สมหวังก็เล่า อย่างภาคภูมใิ จว่าผลผลิตมะพร้ าวของตนไม่เคยต�ำ่ กว่า 1,200 ลูกเลยตังแต่ ้ เปลี่ยนมาเป็ นระบบเกษตรอินทรี ย์ เนื่องจากเป็ นการด�ำเนินการร่ วมกับสหกรณ์ กรี นเนทท� ำให้ มีการประชุมก� ำหนดราคากันในกลุ่ม ของสมาชิ ก โดยประเมิ น จากปริ ม าณผลผลิ ต ของ

สวนมะพร้ าวอิ น ทรี ย์ ที่ เ ป็ นสมาชิ ก ทัง้ หมด แล้ ว จึ ง ก�ำหนดราคาให้ เป็ นไปตามกลไกตลาด แต่ราคาสูงกว่า มะพร้ าวธรรมดา ก่อนสหกรณ์กรีนเนทจะเป็ นผู้รวบรวม ผลผลิตน�ำออกจ�ำหน่าย พี่สมหวังจึงขายมะพร้ าวได้ ใน ราคาสูงกว่าปกติร้อยละ 10-20 “ราคาประกันต�ำ่ สุดคือหกบาท ช่วงสองสามปี ที่ ผ่ า นมาที่ ร าคามะพร้ าวตกต�่ ำ มากเหลื อ ลู ก ละ 2-3 บาท มะพร้ าวอินทรี ย์เรายังขายได้ ในราคาลูกละ 6 บาท 30 สตางค์” เกษตรกรสวนมะพร้ าวอินทรีย์ระบุ กรีนเนทระบุวา่ การรับรองมาตรฐานยังช่วยยก ระดับภาพลักษณ์ของผักผลไม้ ไทย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ช่ ว ยอนุรั ก ษ์ ฟื้น ฟูสิ่ ง แวดล้ อ มและปกป้ องคุ้ม ครอง ผู้บริ โภค ด้ านพี่สมหวังเห็นว่าการท� ำเกษตรอินทรี ย์ นอกจากจะดีตอ่ สิ่งแวดล้ อมและผู้บริ โภคแล้ ว ยังดีตอ่ ตัวเกษตรกรเช่นกัน “ข้ อดีอย่างแรกคือสุขภาพ เราปลอดสารเคมี ร่างกายเราย่อมดีอยูแ่ ล้ ว” ค�ำตอบของพี่สมหวังเมื่อถูก ถามว่าท�ำไมจึงหันมาท�ำเกษตรอินทรี ย์ “อย่างที่สองคือ สิง่ แวดล้ อม เราจะไม่มีการเผาวัชพืช หรื อใส่สารเคมีที่ ท�ำให้ ดินเสื่อมสภาพ ที่ได้ ต่อมาคือความมั่นคงด้ าน อาชีพ เพราะมีการประกันราคามะพร้ าว เราไม่มีปัญหา ด้ านตลาด ต่างประเทศยังมีผ้ บู ริ โภคที่ต้องการอาหาร ปลอดภัยจ�ำนวนมาก ตอนนี ้เราผลิตได้ ไม่เพียงพอด้ วยซ� ้ำ และที่ได้ ตามมาคือความมัน่ คงด้ านอาหาร” “เพราะเราผลิตอาหารที่ปลอดสารเคมี มีความปลอดภัยทั้งต่ อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้ อม”

อ้ างอิง • รายงานผลการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการเข้ าสูป่ ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) : กลุม่ อุตสาหกรรมอาหาร, โครงการเสริม สร้ างความแข็งแกร่งให้ SMEs ภาคการผลิต เพื่อรองรับการเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ปี 2554 : กลุม่ อุตสาหกรรมอาหาร • น� ้ำ ชลสายพันธุ์, รายงานการวิจัยเรื่ อง ผลกระทบจากการ ท�ำข้ อตกลงเขตการค้ าเสรี อาเซียน-จีนต่ อภาคเกษตรของ ไทย, (กรุงเทพฯ: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2550). • วิฑรู ย์ ปั ญญากุล และเจษณี สุขจิรัตติกาล, การตลาดเกษตร อินทรี ย์,(กรุงเทพฯ : มูลนิธิสายใยแผ่นดิน, 2546).


15


ท่องเที่ยว

อาสนวิหารแม่พระบังเกิด :

ความงามในศรัทธาของชาวบางนกแขวก ศิลป์ศุภา โยคะกุล

อา

สนวิหารแม่พระบังเกิดหรื อที่ชาวบ้ าน อ.บางคนทีเรี ยกกันจนติดปากว่า “โบสถ์คริ สต์” เป็ น โบสถ์ ค าทอลิ ก ประจ� ำ ต� ำ แหน่ ง พระสัง ฆราชแห่ ง สังฆมณฑลราชบุรี ตังอยู ้ ใ่ นต.บางนกแขวก อ.บางคนที จ.สมุท รสงคราม ถู ก สร้ างขึ น้ ตัง้ แต่ ปี 2433 โดย บาทหลวงเปาโล ซัล มอน มิ ช ชัน นารี ช าวฝรั่ ง เศส ผู้เข้ ามาเผยแผ่คริ สต์ศาสนาในยุคนัน้ เป็ นผู้ดูแลการ ก่อสร้ าง แรงงานส่วนมากเป็ นชาวบ้ านผู้มีความศรัทธา ในศาสนาคริ สต์อยูแ่ ล้ ว พวกเขาจะใช้ เวลาหลังเลิกงาน ในไร่สวนมาช่วยกันสร้ างโบสถ์ ด้ วยเหตุนี ้จึงต้ องใช้ เวลา ก่อสร้ างยาวนานถึงหกปี กว่าจะส�ำเร็จ จุด เด่ น ของโบสถ์ ค ริ ส ต์ แ ห่ ง นี ค้ ื อ กระจกสี (Stained Glass) ที่น�ำเข้ าจากประเทศฝรั่งเศส เมื่อก้ าว เข้ าสู่ด้าน ในโบสถ์ จะเห็นหน้ าต่างกระจกสีสนั สดใส ที่ถูกประกอบขึน้ เป็ นลวดลายงดงามวิจิตร บอกเล่า เรื่ องราวต่าง ๆ ในพระคัมภีร์เอาไว้ คุณสุเทพ สัตยวินิจ เจ้ าหน้ าที่ดแู ลโบสถ์ให้ ความรู้ เกี่ ยวกับการท�ำกระจกสี ว่างานศิลปะชนิดนี ้ ต้ องใช้ ช่างฝี มือดีและความประณีตสูง ตังแต่ ้ ขนตอน ั้ การผสมสีจากแร่ธาตุตา่ ง ๆ ไปจนถึงการวาดและเชื่อม กระจก แต่ละชิน้ เข้ าด้ วยกัน ช่วงเวลาที่เริ่ มสร้ างจึง ต้ อ งใช้ ช่ า งศิ ล ป์ จากต่ า งประเทศผู้มี ค วามช� ำ นาญ เฉพาะทาง แต่ภายหลังเมือ่ ช่างชาวไทยมีความสามารถ ในการท� ำ งานกระจกสี ม ากขึ น้ จึ ง สามารถบู ร ณะ ซ่อมแซมได้ สะดวกขึ ้นกว่าสมัยก่อน ความพิเศษอีกอย่างหนึง่ ก็คอื ในเวลากลางวัน เราสามารถมองเห็นภาพกระจกสีจากด้ านในโบสถ์ เท่า นัน้ เนื่ อ งจากต้ อ งอาศัย แสงอาทิ ต ย์ ส่อ งเข้ า มา กระทบเรื อ นกระจกจึง จะเห็ น เป็ นลวดลายที่ มี สี สัน

16

สวยงาม และเมื่อถึงเวลากลางคืนจึงเปิ ดไฟจากด้ านใน โบสถ์เพื่อให้ มองเห็นภาพบนกระจกจากด้ านนอก ในปั จจุ บั น คริ สต์ ศ าสนสถานแห่ ง นี ไ้ ด้ กลายเป็ นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วส� ำ คัญ ของจัง หวัด ที่ มี ผู้เดินทางแวะเวียน ผ่านมาไม่ขาดสาย นักท่องเที่ยว ส่ ว นมากรู้ จั ก ที่ นี่ จ ากการประชาสั ม พั น ธ์ ตาม สื่ออินเทอร์ เน็ตและมีแหล่งท่องเที่ยวในพื ้นที่ใกล้ เคียง อย่ า งอั ม พวาที่ ดึ ง ดู ด คนเข้ ามาเป็ นจ� ำ นวนมาก แม้ ผู้ มาเที่ ย วชมโบสถ์ จ ะพลุ ก พล่ า นในบางเวลา บาทหลวงสมควร หมายแม้ น บาทหลวงประจ� ำ อาสนวิหารแม่พระบังเกิ ดยืนยันว่าการมาเยือนของ นักท่องเที่ยวไม่รบกวนชาวคาทอลิกผู้มีศรัทธาอย่าง แน่นอน เพราะได้ จดั การแบ่งเวลาเยี่ยมเยือนและเวลา ประกอบพิธีทางศาสนาส�ำคัญ ๆ ไว้ แล้ ว “ต้ องแยกระหว่างสถานที่ท�ำพิธีและสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วมัน เป็ นคนละเรื่ อ งกัน เพราะฉะนัน้ เวลา นักท่องเที่ยวเข้ ามาเวลาประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เราจะไม่อนุญาตให้ เข้ าชม จะมีป้ายเขียนไว้ ข้างหน้ า ชัดเจน แต่ถ้าโบสถ์วา่ งไม่มีใครท�ำพิธีทางศาสนาก็จะมี เจ้ า หน้ า ที่ พ าเข้ า ชมและคอยอธิ บ ายเกี่ ย วกับ โบสถ์ ให้ ฟัง” บาทหลวงสมควรกล่าว ส่ ว นชาวคาทอลิ ก ที่ นี่ ก็ ร้ ู สึก ภาคภูมิ ใ จที่ มี ศูนย์รวมจิตใจอันวิจติ รงดงาม และยินดีทมี่ นี กั ท่องเทีย่ ว เข้ ามาเยี่ยมชมโบสถ์แห่งนี ้ “(นักท่องเที่ยว) ไม่รบกวน ครับ เรายินดีให้ เข้ าชม เพราะโบสถ์ที่นี่เขาว่าสวยงาม ที่ สุ ด ในประเทศไทย มี ก ระจกที่ ส วยงามมาก” คุณยุทธ คงสถาพรชัย ชาวคาทอลิก ต.บางนกแขวก ผู้มาโบสถ์ทกุ วันอาทิตย์กล่าวพร้ อมรอยยิ ้ม คุ ณ ยุ ท ธยั ง เล่ า ต่ อ อี ก ว่ า สมั ย นี จ้ � ำ นวน ชาวคาทอลิ ก ที่ ม าโบสถ์ ใ นวัน อาทิ ต ย์ น้ อยลงกว่ า สมัยก่อนมาก เนือ่ งจากคนหนุม่ สาวมักจะย้ ายถิน่ ฐานไป อยูก่ รุงเทพฯ เพือ่ ท�ำงานหาเลี ้ยงชีพ ทีน่ จี่ งึ มีแต่ผ้ สู งู อายุ เป็ นส่วนใหญ่ซงึ่ บางคนก็มสี ภาพร่างกายไม่แข็งแรงจึงไม่

สามารถมาท�ำพิธีทางศาสนาได้ ทกุ สัปดาห์ ต้ องอาศัย กลุ่ ม ชาวคาทอลิ ก ในอ.บางคนที ที่ ร วมตั ว กั น เป็ น อาสาสมัครเดินทางไปเยีย่ มให้ ก�ำลังใจผู้สงู อายุเหล่านัน้ แทน การมีนกั ท่องเที่ยวมาเยี่ยมชมก็ทำ� ให้ โบสถ์คกึ คัก ขึ ้นมาอีกครัง้ แม้ จะไม่ได้ ประกอบศาสนพิธรี ่วมกันเหมือน สมัยก่อนก็ตาม ถึงแม้ ว่าคนในสังคมปั จจุบนั จะให้เวลากับ ศาสนาน้ อยลง แต่ น่ั นไม่ ได้ หมายความว่ าความ เลื่อมใสศรั ทธาในจิตใจนั้ นจะลดน้ อยลงไปด้ วย เรายังเห็นเจ้ าหน้ าทีแ่ ละบาทหลวงผู้ทำ� หน้ าทีด่ แู ล โบสถ์ แ ห่ ง นี้ ด้ ว ยความตั้ ง ใจ เห็น ชาวคาทอลิ ก ที่ยัง เชื่ อฟั ง ค�ำสอนของพระผู้ เ ป็ นเจ้ า และเห็น นักท่องเทีย่ วต่ างศาสนาเข้ ามาเยีย่ มเยือนโบสถ์ ด้วย ความชื่นชม สิ่งเหล่ านี้พิสูจน์ ว่าสถานที่แห่ งนี้คือ มรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณค่ ามากแห่ งหนึ่ง ของ จ.สมุทรสงคราม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.