บางคนที2

Page 1

หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบตั ิ ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฉบับปี ที่ บางคณฑี ท ร ่ ี ก ั ษ์ 1 ฉบับที่ 2 มีนาคม 2557

ทุกปัจจุบัน...มีอนาคต ไม้กวาดทางมะพร้าว ภูมิปัญญาท้องถิ่น จากอดีตสู่อนาคต หน้า 2 ทางเลือกของโรงเรียนขนาดเล็ก หน้า 4 คน “ซื่อ” หัวใจ “สัตย์” หน้า 6

ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ผูกอู่ตามใจผู้นอน หน้า 8 จากน�้ำสู่น�้ำ หน้า 10 ท้องเสีย: ภัยร้ายรับหน้าร้อน หน้า 11 เออีซี: โอกาสการแข่งขันมะพร้าวบางคนที หน้า 12

การค้าที่เป็นธรรม ทางออกราคาสินค้าเกษตรตกต�่ำ หน้า 14 กินกล้วย กล้วย หน้า 15 ตลาดน�้ำบางน้อย วิถีชีวิตชุมชนเข้มแข็งเพื่อการพัฒนา หน้า 16


ช่องทางท�ำกิน

ไม้ ก วาดทางมะพร้ า ว ภูมิปัญญาท้องถิ่น จากอดีตสู่อนาคต

ณภศศิ สุรวรรณ

ท่ามกลางสังคมยุคใหม่ทมี่ สี งิ่ อ�ำนวยความสะดวกและเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาให้บริการมากมาย รวมทัง้ การคมนาคม การติดต่อ สื่อสารที่กระชับ ฉับไว และทั่วถึง หลายสิ่งหลายอย่างในชุมชนบางคนทีได้เปลี่ยนแปลงไป

ไม่ว่าจะเป็ นการที่คนรุ่นใหม่อพยพย้ายถิ่นไปท�ำงานในเมือง หรือการ

พัฒนาของเทคโนโลยี ส่งผลให้ สงิ่ ตกทอดมาตังแต่ ้ อดีตถูกแทนที่ด้วยความทันสมัย ท�ำให้ วิถีชีวิตของคนในชุมชน ทังระบบการผลิ ้ ต การบริ โภค ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้ อม ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมเปลี่ยนแปลงไป หรื อแม้ แต่ภมู ิปัญญาท้ องถิ่น ที่ชาวบ้ านได้ ก่อเกิดและสืบทอดกันมาตังแต่ ้ อดีตก็ก�ำลังสูญหายไปมิใช่น้อย หนึง่ ในภูมิปัญญาท้ องถิ่นดังกล่าวก็คือการท�ำ “ไม้ กวาดทางมะพร้ าว” ที่ เป็ นการน�ำทางมะพร้ าวแก่ทหี่ ลุดจากต้ นและใช้ ประโยชน์อนื่ ไม่ได้ แล้ วมาเพิม่ คุณค่า ซึง่ ถือเป็ นหนึง่ ภูมิปัญญาท้ องถิ่นที่ชว่ ยเพิม่ รายได้ ให้ คนในชุมชนสืบทอดกันมาจาก รุ่นสูร่ ุ่น ลุงแจ้ หรื อคุณบุญชู อยูเ่ ชื ้อ วัย 68 ปี เล่าว่า “ผมเห็นการท�ำไม้ กวาดมา ตังแต่ ้ สมัยบรรพบุรุษ พอเรี ยนอยูช่ นป. ั ้ 2 ก็สามารถเหลาทางมะพร้ าวได้ แล้ ว และยัง ถักปลอกเพื่อใช้ เป็ นด้ ามจับได้ ด้วย” การถักปลอกที่ลงุ แจ้ ว่าคือการใช้ หวายหรื อ พลาสติกมาชุบน� ้ำให้ นิ่มแล้ วพันเข้ ากับโครงด้ ามด้ วยลวด ท�ำประมาณ 10 ชัน้ แล้ ว เสียบเข้ ากับปลอก จากนันจึ ้ งสานลายสองและสานลายสันปลาช่อน เพื่อให้ ก้าน มะพร้ าวบานสวยงาม ลุงแจ้ เล่าต่อว่า “ปกติมกั ท�ำเป็ นงานอดิเรกยามว่าง นับเป็ น ภูมิปัญญาท้ องถิ่นมาตังแต่ ้ เดิม ข้ อดีของไม้ กวาดทางมะพร้ าวก็คือมีความคงทน ใช้ ได้ นานเป็ นสิบ ๆ ปี ก็ไม่หลุด ไม่เหมือนไม้ กวาดที่ขายในปั จจุบนั และยังเป็ น ไม้ กวาดสารพัดประโยชน์ ใช้ กวาดใบไม้ ใบหญ้ า เศษผงเล็ก ๆ ตามซอกหรื อจะใช้ กวาดลานวัดก็ได้ ถ้ าเป็ นด้ ามสันชาวบ้ ้ านทุกคนจะสามารถท�ำใช้ เองได้ แต่ขายไม่ได้ ราคา ถ้ าใครอยากท�ำขายก็ต้องไปเรี ยนใส่ด้ามยาว ก็จะขายได้ ด้ามละ 45-70 บาท แต่สว่ นใหญ่ไม่คอ่ ยมีใครท�ำ จะท�ำก็แค่เหลาขาย กก.ละ 15 บาท” เช่นเดียวกับป้าแต๋ว หรื อคุณเฉลียว ยังวัฒนา วัย 66 ปี ที่เล่าว่า ในอดีต ตนนัง่ เหลาทางมะพร้ าวมาตังแต่ ้ จ�ำความได้ พอมีเวลาว่างจะมานัง่ ท�ำ และเงินที่ได้ ถือเป็ นผลพลอยได้ แต่ถ้าจะให้ ยดึ เป็ นอาชีพคงไม่ไหว เพราะไม่พอกิน ถึงปั จจุบนั ราคาไม้ กวาดจะปรับขึ ้นแล้ ว จากสมัยก่อนกก.ละ 5-6 บาทมาเป็ น 15 บาท แต่ก็ยงั ไม่พอซื ้อก๋วยเตีย๋ วสักชามด้ วยซ� ้ำ แม้ วนั ไหนจะขยัน นัง่ เหลาทังวั ้ นได้ มากสุดก็ไม่เกิน 4 กก.คิดเป็ นเงินประมาณ 60-70 บาท ทังลุ ้ งแจ้ และป้าแต๋วต่างบอกว่า เหตุผลหลักทีช่ าวบ้ านส่วนใหญ่นยิ ม เหลา ไม้ กวาดทางมะพร้ าวนันไม่ ้ ใช่เพื่อเงิน แต่ต้องการก�ำจัดทางมะพร้ าวออกจากสวน พื่อไม่ให้ รก แถมยังได้ น�ำของที่ไม่ได้ ใช้ มาดัดแปลงให้ เกิดประโยชน์ นอกจากนี ้ ชาวบ้ านก็มอี าชีพหลักคือ ท�ำสวนและรับจ้ างกันอยูแ่ ล้ ว จึงไม่มใี ครยึดการท�ำไม้ กวาด เป็ นอาชีพหลัก เพราะรายได้ จากการขายอย่างเดียวไม่พอใช้ ปั จจุบนั จึงเหลือเพียง ชาวบ้ า นรุ่ น ปู่ ย่ า ตายาย ที่ ยัง นั่ง เหลาทางมะพร้ าวท� ำ เป็ นอาชี พ เสริ ม ที่ ช่ ว ย เพิ่มรายได้

2

คุณจ�ำนงค์ ศุกรโยธิน วัย 66 ปี บอกว่า “การท�ำไม้ กวาดเป็ นอาชีพคนแก่ที่ ไม่มีงานท�ำ ท�ำอะไรไม่ได้ เพราะบางคนจะให้ มานัง่ เย็บกระทง ก็ท�ำไม่ได้ เพราะเป็ น งานที่ต้องอาศัยฝี มือ แต่ถ้าเหลาไม้ กวาดท�ำได้ ทกุ คน อายุ 70-80 ก็ยงั เหลาได้ จึง เรี ยกว่าอาชีพคนแก่ ท�ำอะไรไม่ได้ เพราะบางคนถ้ าไม่มีงานท�ำก็จะเครี ยด ลูกหลาน ต้ องหาทางมะพร้ าวมาให้ เหลา” ส่วนป้าจุ หรื อคุณจุไรรัตน์ สุขสะอาด วัย 52 ปี อธิบายเสริ มว่า วิถีชีวิตของ ผู้คนเปลี่ยนไปตามสังคมและสภาพแวดล้ อมที่เปลี่ยนแปลงไป คนรุ่นใหม่ ไม่สนใจ การท�ำไม้ กวาดทางมะพร้ าวเพราะเด็กสมัยนี ้มีกิจกรรมมากมายอยูแ่ ล้ ว ตอนเช้ าต้ อง ไปโรงเรี ยน กลับมาก็ท�ำการบ้ าน แถมยังมีเทคโนโลยีตา่ ง ๆ มากมาย เมื่อมีเวลาว่าง ก็เล่นเกม ดูทีวี คุยโทรศัพท์ แชท กับเพื่อน ต่างจากเมื่อก่อนที่ไม่มีอะไรเลย พอมีเวลา ว่าง เด็ก ๆ ก็นงั่ เหลาไม้ กวาดตามพ่อแม่เพราะไม่มีกิจกรรมอื่น ๆ ตอนกลางวันจะไป หาทางมะพร้ าวลากกลับมาที่บ้าน กลางคืนก็มานัง่ เหลา มองพระจันทร์ ไปคุยกันไป ปั จจุบนั แม้ การท�ำไม้ กวาดทางมะพร้ าวจะลดน้ อยลง แต่งานอดิเรกอีกชนิด หนึง่ อย่างการเย็บกระทงใบตองที่เป็ นการน�ำใบตองแห้ งมาจับจีบรอบ กลัดขอบด้ วย ไม้ กลัดท�ำเป็ นกระทง ลักษณะคล้ ายถ้ วยเล็ก ๆ ที่สว่ นมากเอาไว้ ใส่อาหาร กลับมี จ�ำนวนเพิม่ มากขึ ้น เนื่องจากได้ รับความนิยมจากคนในชุมชนทุกเพศทุกวัย โดยชาว บ้ านส่วนใหญให้ เหตุผลว่าท�ำแล้ วเพลิดเพลินผ่อนคลาย รวมถึงสร้ างรายได้ มากกว่า การท�ำไม้ กวาดทางมะพร้ าว กระทง 1,000 ใบขายได้ 280 บาท เมื่อหักค่าใช้ จา่ ย 50 บาทจะได้ ก�ำไรถึง 230 บาทต่างจากทางมะพร้ าวที่ 1 กิโลกรัมขายได้ เพียง 15 บาท แม้ การท�ำไม้ กวาดทางมะพร้ าวอาจไม่ได้ รับความนิยมในทุกครั วเรื อน เหมือนเมื่อก่อน เพราะเมื่อเวลาผ่านไปก็มีสงิ่ ใหม่ ๆ ขึ ้นมาทดแทน แต่ลงุ แจ้ ให้ ความ เห็นว่า สิง่ ส�ำคัญที่สดุ ในการรักษาภูมปิ ั ญญาท้ องถิ่นไว้ ก็คอื ทุกคนในชุมชนควรช่วย กันอนุรักษ์ และกระตุ้นให้ เด็กรุ่นใหม่เห็นความส�ำคัญของภูมิปัญญาท้ องถิ่นควบคู่ ไปกับการรับความเจริ ญมาเป็ นส่วนหนึง่ ในชีวิตประจ�ำวัน “การเหลาไม้ กวาด ถึงจะลดน้ อยลง แต่จะหายไปหมดคงไม่มีทาง เพราะ ถ้ ายังมีคนรับซื ้อ แต่อาจจะไม่ได้ เป็ นงานอดิเรกที่ทกุ คนจะท�ำเหมือนเมื่อก่อน เพราะ กว่าจะเหลาได้ สกั หนึ่งกก.ก็นานแล้ ว ไหนจะต้ องไปลากทางมะพร้ าวมาจากสวน ตัดหัวและหางออก เลือกก้ านที่ใช้ ได้ ก็เหนื่อยแล้ ว แถมเปลืองเวลาด้ วย ซึง่ ตอนนี ้ใน ชุมชนของเราได้ จดั กิจกรรมโดยชุมชนอบต. เพื่อส่งเสริ มให้ ทกุ คนร่ วมกันอนุรักษ์ ภูมปิ ั ญญาท้ องถิ่น จัดตังกลุ ้ ม่ ผู้สนใจที่จะเรี ยนการทําไม้ ทางมะพร้ าว เพื่อปลูกฝั งลูก หลานอย่างสม�่ำเสมอเพื่อให้ เด็ก ๆ และคนในชุมชนมาเข้ าร่วม” “ยั งไงการท�ำไม้ กวาดทางมะพร้ าวก็จะยั งอยู่ครั บและจะต้ องอยู่ ตลอดไป” ลุงแจ้ กล่ าว


บทบรรณาธิการ

เจ้ าของ : ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์ ท่ ปี รึกษา : อ.พรรษาสิริ กุหลาบ บรรณาธิการ : ธารใส อัจฉริ ยบุตร กองบรรณาธิการ : กฤตพร ธนะสิริวฒ ั น์, จาตุรณต์ พูลสวัสดิ,์ ชฎารัตน์ โภคะธนวัฒน์, ณภศศิ สุรวรรณ, วรรณรัตน์ กล�่ำสมบัติ, อภิชชญา โตวิวิชญ์, อรุณรัตน์ ใจกล้ า บรรณาธิการฝ่ ายศิลป์ : ศิลป์ศุภา โยคะกุล กองบรรณาธิการฝ่ ายศิลป์ : การะเกด นรเศรษฐาภรณ์, จิตริ นทร์ เลิศรัตนวิสทุ ธิ์, จุฑารัตน์ กุลตัณกิจจา, พรทิวา ไวยครุฑธา สถานที่ตดิ ต่ อ : ภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

บน

โลกใบนี ม้ ี ค� ำ ที่ มี ค วามหมายน่ า กลั ว อยู่ ห ลายค� ำ หนึ่ ง ในนั น้ คื อ ค� ำ ว่ า “การเปลี่ยนแปลง” สาเหตุประการหนึ่งอาจเป็ นเพราะค� ำนี ห้ มายรวมถึงการ “พลัดพราก” “ลาจาก” “ผุกร่ อน” “พังทลาย” และอื่น ๆ ที่มีความหมายน่าหวาดหวัน่ ไม่แพ้ กัน อีกสาเหตุหนึ่งอาจเป็ นเพราะตามธรรมชาติแล้ ว คนเรามักจะหวาดกลัวต่อสิ่งที่มองไม่ เห็นและสัมผัสไม่ได้ ในเมื่อเราไม่อาจทราบได้ ว่า “การเปลี่ยนแปลง” จะน�ำพาอะไรเข้ ามา หรื อ พรากอะไรออกไปบ้ าง จึงไม่แปลกที่เราจะตังต้ ้ นตอบสนองมันด้ วยความกลัวเป็ นอันดับแรก แต่ถึง แม้ จ ะน่ า กลัว สัก เพี ย งใด สุด ท้ า ยแล้ ว “การเปลี่ ย นแปลง” ก็ ต้ อ งมาถึง อยู่ดี ไม่ช้าก็เร็ ว ดังนัน้ สิ่งที่เราท�ำได้ ก็คือการเตรี ยมรับมืออย่างเต็มที่ การเตรี ยมขัน้ แรกคือปรั บทัศนคติที่มีต่อ “การเปลี่ยนแปลง” เสียใหม่ เพราะต้ องไม่ ลื ม ว่า ทุก สิ่ ง มี ส องด้ า นเสมอ ในความอัป ลัก ษณ์ ยัง มี ค วามงาม ในความมื ด ยัง มี แ สงสว่า ง “การเปลี่ยนแปลง” ก็ยงั มีที่ว่างให้ กับค�ำความหมายดี ๆ อย่าง “พานพบ” “หวนคืน” “ต่อเติม” และ “ก่อร่ าง” เช่นกัน หนทางที่จะท�ำให้ เรารู้ ถึงข้ อดีเหล่านัน้ คือเราต้ องกัดฟั นข่มความกลัวแล้ วหันหน้ ามา เผชิญกับ “การเปลี่ยนแปลง” ดู เมื่อได้ ลองท�ำความเข้ าใจ ศึกษาให้ ละเอียด และมองลึกเข้ าไป ให้ ถึง แก่ น แล้ ว ก็ จ ะพบว่า เมื่ อ เวลาผ่า นไป บ้ า นไม้ อ าจผุก ร่ อ นลงและถูก แทนที่ ด้ ว ยบ้ า นอิ ฐ คนรุ่ นใหม่อาจเป็ นเจ้ าของชุมชนแทนคนรุ่ นเก่า ทุกสรรพสิ่งไม่มีอะไรจีรังยั่งยืน แต่ท่ามกลาง การเปลี่ยนผ่านเหล่านัน้ ก็ยงั คงมีการก่อร่ างของสิ่งใหม่อยู่เสมอ บ้ านอิฐที่ทนทานขึน้ กว่าเดิมอาจท�ำให้ คนในบ้ านไม่ต้องกังวลเมื่อพายุลูกต่อไปพัด ผ่านมา และคนรุ่ นใหม่ก็อาจมีความคิดสร้ างสรรค์ อันน�ำมาซึ่งความสุขความเจริ ญแก่คนใน ชุมชนต่อไปไม่แพ้ คนรุ่ นเก่า แท้ จ ริ ง แล้ ว “การเปลี่ ย นแปลง” ก็ ไ ม่ไ ด้ พ รากเอาทุก อย่า งไปดัง ที่ เ ราหวาดระแวง ความคุ้นเคยบางอย่างอาจจะหายไป แต่ในอีกแง่ “การเปลี่ยนแปลง” ก็ได้ น�ำพาโอกาสใหม่ ๆ เข้ ามาเช่นเดียวกัน อีกปั จจัยหนึ่งที่มีส่วนก� ำหนดว่า เราจะสามารถใช้ โอกาสเหล่านัน้ ให้ เกิ ดประโยชน์ สูงสุดต่อชุมชนได้ มากน้ อยแค่ไหน ก็คือการกระท�ำของทุก ๆ คน ในปั จจุบนั เพราะเราต้ องไม่ ลืมว่าทุกปั จจุบนั ล้ วนน�ำไปสู่อนาคตที่แตกต่าง หนทางที่จะได้ มาซึ่งอนาคตดังที่วาดหวังไว้ ก็ คือการสร้ างปั จจุบนั ให้ ดีดงั ที่ตงใจเสี ั้ ยก่อน แต่ ก ารจะท� ำ ปั จจุ บั น ให้ ดี ไ ด้ เราก็ ต้ องเรี ย นรู้ เกี่ ย วกั บ จุ ด แข็ ง และจุ ด อ่ อ นของ “การเปลี่ยนแปลง” เช่น การศึกษาจากประสบการณ์ ของชุมชนอื่น ๆ แล้ วน� ำข้ อมูลมาปรับใช้ เพื่อให้ เหมาะกับศักยภาพที่ชุมชนเรามีอยู่ หากเราสามารถเสริ มจุดแข็งและก�ำจัดจุดอ่อนของ ชุมชนได้ แล้ ว ต่อให้ ต้องประสบกับ “การเปลี่ยนแปลง” สักกี่รอบ อนาคตที่จะมาถึงก็คงจะไม่ สามารถท�ำอันตรายแก่อดีต และปั จจุบนั ที่เรารั กได้ เพื่อการตังรั ้ บที่แข็งแกร่ งมากยิ่งขึ ้น “นิสิตนักศึกษา” จึงขอเสนอทางเลือก เพื่อเตรี ยม พร้ อมรั บ มื อ กั บ “การเปลี่ ย นแปลง” ที่ จ ะเกิ ด ขึ น้ ต่ อ ไปในอนาคต ไม่ ว่ า จะเป็ นการเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียน การแก้ ไขปั ญหาราคาสินค้ าเกษตรตกต�่ำด้ วยการค้ าแบบแฟร์ เทรดและมุม มองของคนรุ่ นใหม่ต่อการก้ าวต่อไปข้ างหน้ าของชุมชน เพราะเราเชื่อว่าการต่อสู้ที่ดีที่สดุ ไม่ใช่ การปิ ดประตูสกัดกัน้ ความเปลี่ยนแปลงด้ วยความกลัว แต่เป็ นการเปิ ดประตูแบบชาญฉลาด เพื่อศึกษาและตังรั ้ บอย่างมีสติ แม้ ว่า “การเปลี่ยนแปลง” จะน่ าหวาดหวั่นสักเพียงใด แต่ สุดท้ าย หากทุกคน ร่ วมมือกันเตรี ยมตัวตั้งรั บ ไม่ เพียงแต่ ชุมชนจะสามารถเปลี่ยนค�ำที่มีความหมายน่ ากลั ว ให้ ก ลายเป็ นค� ำ ที่ เ ป็ นมิ ต รได้ เ ท่ า นั้ น แต่ ยั ง จะสามารถสร้ างอนาคตที่ ห วั ง ไว้ ด้ วยมือของสมาชิกชุมชนเองอีกด้ วย

ขอขอบคุณ น.ส.เรณู เล็กนิมิตร (นายก อบต.บางคนที) น.ส.พัชรี มีวัฒนะ (พี่ปอ) น.ส.กนกพร เจริญสมบัติ (พี่พร)

น.ส.อมรรัตน์ อยู่เชื้อ (น้องรัตน์) น.ส.สุภาพร ศุกรโยธิน (น้องมิ้น) น.ส.ณิชนันทน์ จีบประจง (น้องนุ่น)

แ ล ะ พี่ น ้ อ ง ช าวชุ ม ช น บ าง ค น ที ทุ ก ค น

3


สารคดีขา่ ว

ทางเลือกของโรงเรียนขนาดเล็ก วรรณรัตน์ กล�่ำสมบัติ / อภิชชญา โตวิวิชญ์

ประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้าสูก่ ารเป็นสังคมผูส้ งู อายุหรือสังคมทีม่ ปี ระชากรอายุ 60 ปีขนึ้ ไปมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากร ทัง้ หมด หลายชุมชนพบว่าเมือ่ ประชาชนมีอายุยนื ขึน้ ขณะทีอ่ ตั ราการเกิดลดลง ประกอบกับผูป้ กครองนิยมส่งบุตรหลานไปเรียน ในเมือง โรงเรียนในพื้นที่จึงเริ่มขาดแคลนเด็กวัยเรียน ส่งผลให้กลายเป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่ทั้งโรงเรียนมีนักเรียนไม่ถึง 60 คน

ส�ำ

หรั บภาครั ฐ การเพิ่มขึน้ ของโรงเรี ยน ขนาดเล็กเนื่องจากปั จจัยข้ างต้ นเป็ นปั ญหาที่ต้องเร่ ง แก้ ไขเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาเนื่องจากผลการ ประเมินของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้น ฐาน (สพฐ.) พบว่าโรงเรี ยนขนาดเล็กหลายแห่งยังไม่ สามารถบริ หารจัดการให้ มีคุณภาพได้ ทัง้ ในแง่การ จัดสรรครู ความพร้ อมของอุปกรณ์ การเรี ยนการสอน และผลสอบระดับชาติของนักเรี ยน จึงเป็ นที่มาของการ ด�ำเนินงานรวมโรงเรี ยนขนาดเล็กเพื่อรองรับการปฏิรูป การศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) หรื อที่ คนทัว่ ไปมักเรี ยกกันว่า “นโยบายยุบโรงเรี ยน”

เสียงสะท้อนจากชุมชน

ในอบต.บางคนที มีโรงเรียนทีเ่ ข้ าข่ายโรงเรียน ขนาดเล็กสองแห่ง คือ โรงเรี ยนบ้ านยายแพง (พิศผ่อง ประชานุสรณ์) ต.ยายแพง ที่มีนกั เรี ยนจ�ำนวน 43 คน และโรงเรี ย นวัด บางคนที ใ น (วามโกประชานุกู ล ) ต.บางคนที ที่มีนักเรี ยนจ�ำนวน 38 คน โดยทัง้ สอง โรงเรี ยนเปิ ดสอนตังแต่ ้ ชนอนุ ั ้ บาลหนึ่งถึง ป.6 และมี ระยะห่างจากกันประมาณ 2 กม. กลางปี ที่ผ่านมา (พ.ศ.2556) นโยบายยุบ โรงเรี ยนเป็ นหนึง่ ในประเด็นที่สื่อมวลชนให้ ความสนใจ น�ำเสนอมาก ขณะที่ผ้ ูปกครองในชุมชนก็ตื่นตัวและ

4

แสดงความไม่เห็นด้ วย นางสุกญ ั ญา นุชศิริ ผู้ช่วยครู ดูแ ลเด็ ก อนุ บ าลและปฐมวัย ศูน ย์ พัฒ นาเด็ ก เล็ ก ต.ยายแพง เล่าให้ ฟังว่าช่วงที่มีข่าวผู้ปกครองจะมา สอบถามตลอด ตนก็ตอบไปว่าไม่จริงเพราะการยุบไม่ใช่ เรื่องง่าย โดยผู้ปกครองส่วนใหญ่เชือ่ มัน่ ในคุณภาพของ โรงเรี ยนอยู่แล้ วเพราะเคยเป็ นศิษย์ เก่ า พวกเขาจึง สบายใจเมื่อครู และผู้อ�ำนวยการยืนยันว่าโรงเรี ยนซึ่ง เป็ นศูนย์กลางของชุมชนจะไม่ถกู ยุบ “ที่ยายแพงนี่ไม่มีวดั แล้ วก็มีแค่โรงเรี ยนเดียว ในต�ำบล ถ้ าโรงเรี ยนปิ ดไปคือเงียบเลย ไม่มีอะไรเลย (โรงเรียน) เป็ นอะไรทีห่ วงแหนของชาวบ้ าน เพราะฉะนัน้ การยุบไม่ใช่จะท�ำได้ งา่ ย ๆ ก่อนหน้ านี ้ที่บมู ขึ ้นมาว่าจะ ยุบ ๆ แต่ด้วยประชาชนในต�ำบลไม่ยอม มันก็ผา่ นมาได้ เพราะว่า (ผล) การสอบของ (นักเรี ยน) เราค่อนข้ างผ่าน เกณฑ์คะ่ ” นางสุกญ ั ญากล่าว ด้ านนางปสุรัตน์ ไทยสมบูรณ์ ผู้ปกครองของ นักเรี ยนโรงเรี ยนบ้ านยายแพงกล่าวว่า ตนไม่อยากให้ ยุบรวมโรงเรี ยนเพราะอาจท�ำให้ ทงผู ั ้ ้ ปกครองและเด็ก เดินทางไม่สะดวก ปั จจุบนั ผู้ปกครองส่วนใหญ่ให้ เด็ก ปั่ นจักรยานไปเรี ยนเองหรื อผู้ปกครองไปส่งตอนเช้ า ส่วนหลังเลิกเรี ยนทางโรงเรี ยนจัดรถรับ-ส่งให้ ดังนันไม่ ้ ว่า จะเป็ นโรงเรี ย นใดที่ ถูก ยุบ ก็ ต้ อ งมี ฝ่ ายที่ เ ดิ น ทาง ไกลขึ ้น เพราะแม้ ว่าระยะทางจากโรงเรี ยนถึงโรงเรี ยน

จะไม่หา่ งกันมากก็จริ ง แต่บ้านของเด็กต้ องเข้ าไปตาม ตรอกซอกซอยอีก เช่นเดียวกับนางสาวปลา ดอกบัว ผู้ปกครอง ของนักเรียนโรงเรียนวัดบางคนทีใน ทีไ่ ม่อยากให้ ยบุ รวม โรงเรี ยนเพราะปั จจุบนั บ้ านห่างจากโรงเรี ยนเพียง 500 เมตร ลูกสามารถปั่ นจักรยานไปเรียนเองได้ หากยุบรวม สองโรงเรี ยนเข้ าด้ วยกัน ผู้ปกครองก็ต้องตัดสินใจว่าจะ ให้ เด็กไปเรี ยนที่ไหน แต่ส�ำหรับตนอาจให้ ลกู ย้ ายไป โรงเรี ยนที่อยู่นอกเขตอ�ำเภอซึง่ ลูกอีกคนเรี ยนอยู่ก่อน แล้ วและตนคงต้ องไปส่งเอง นอกจากความผูกพันที่ชุมชนมีต่อโรงเรี ยน และปั ญหาด้ านการเดินทางแล้ ว อีกเหตุผลหนึ่งที่ผ้ ู ปกครองไม่เห็นด้ วยกับการยุบโรงเรียนคือ พวกเขาพอใจ กับการทีท่ งสองโรงเรี ั้ ยนมีจำ� นวนนักเรี ยนไม่มากนัก ดัง เช่นที่นางสาวดรุณี ใจเอื ้อเฟื อ้ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 1 ต.ยาย แพง ให้ ความเห็นว่าการทีโ่ รงเรียนมีจำ� นวนนักเรียนน้ อย ไม่ใช่ปัญหาแต่กลับเป็ นข้ อดีเพราะครู ดแู ลได้ ทวั่ ถึงทัง้ ยั ง ท� ำ ให้ เด็ ก ได้ รั บ ทุ น การศึ ก ษาและค่ า สนั บ สนุ น อุปกรณ์การเรี ยนเท่าเทียมกันทุกคน สอดคล้ องกับนางปสุรัตน์ ที่กล่าวว่า การที่ โรงเรียนมีนกั เรียนไม่มากเป็ นข้ อได้ เปรียบ โดยเฉพาะกับ นักเรี ยนชัน้ ป.6 ที่ต้องสอบแข่งขันเพื่อเข้ าศึกษาต่อใน โรงเรียนมัธยม เนือ่ งจากครูจะให้ความใส่ใจติวเข้มเป็ นพิเศษ


สารคดีขา่ ว นโยบายที่พร้อมจะน�ำกลับมาใช้ใหม่

แม้ ว่าปั จจุบนั นโยบายยุบรวมโรงเรี ยนขนาด เล็ ก จะหยุด ชะงัก ไปแล้ ว เพราะกระแสต่ อ ต้ า นจาก ประชาชนในหลายพื ้นที่ แต่ก็มีความเป็ นไปได้ ที่จะถูก น�ำกลับมาใช้ อีก เพราะการมีโรงเรี ยนขนาดเล็กจ�ำนวน มากและอยู่กระจัดกระจายกันถูกมองว่าเป็ นการใช้ ทรัพยากรอย่างไม่ค้ มุ ค่า นอกจากนี ้ ปั ญหาขาดแคลน ครู และเทคโนโลยีทางการศึกษาทัว่ ประเทศก็ส่งผลให้ คุณภาพการศึกษาไม่ได้ มาตรฐาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรถพล อนันตวรสกุล คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่าใน แง่การบริ หารจัดการของรัฐ การมีโรงเรี ยนขนาดเล็กไม่ คุ้มทุนอยูแ่ ล้ ว แต่โรงเรียนขนาดเล็กหลายแห่งไม่เหมาะ จะถูกยุบเพราะอาจเกิดปั ญหาตามมา อย่างปั ญหาการ เดินทางส�ำหรับนักเรี ยนในพื ้นที่หา่ งไกล หากพ่อแม่ไม่ เห็นความส�ำคัญของการไปรับไปส่งทุกวัน ก็จะท�ำให้ เด็กขาดโอกาสเข้ าสูก่ ารศึกษา ที่ส�ำคัญโรงเรี ยนขนาด เล็กส่วนใหญ่เป็ นโรงเรียนประถมศึกษา การปิ ดโรงเรียน จึงอาจกระทบต่อการศึกษาขันพื ้ ้นฐานหรื อการศึกษา ภาคบังคับ “ทุ ก สมั ย จะมี ค น (ในกระทรวง ศึกษาธิการ) พยายามชงขึ้นมาว่ายุบโรงเรียน ขนาดเล็กเถอะ เพราะตอนนี้ภาระเยอะมาก แล้ว ในความเป็นจริงก็ไม่สามารถจัดสรรครูครบทุก วิชาเอกเข้าไปในโรงเรียนขนาดเล็กได้ มีเด็กแค่ 60 คน จะให้มีครูครบแปดสาระต้องลงทุนแพง มากคิดเป็นเงินไม่คมุ้ อยูแ่ ล้ว แต่คำ� ถามคือถ้าเกิด ไม่ยุบล่ะ ท�ำอย่างไร?” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรรถพล กล่าว

อาจารย์คณะครุ ศาสตร์ ยงั เสริ มอีกว่า การมี โรงเรี ยนขนาดเล็กแม้ จะไม่ค้ มุ ในแง่ของการลงทุน แต่ ในแง่ของการศึกษาเพือ่ ปวงชน เด็กยิง่ อยูห่ า่ งไกล รัฐยิง่ ต้ องให้ ความช่วยเหลือมาก “เท่ากันไม่ได้ แปลว่าเป็ นธรรม ... การจัดการ โรงเรี ยนขนาดเล็กต้ องเคาะประเด็นนี ้ก่อน ต้ องคิดถึง ความยุตธิ รรมไม่ได้ พดู ถึงความเท่าเทียม เพราะถ้ าเกิด เท่าเทียม (รัฐ) ต้ องโดนแน่ ๆ ว่าคุณเอาเงินไปให้ น� ้ำหนัก จ่ายไปกับโรงเรียนขนาดเล็กเสียเยอะ เยอะมาก แต่ถาม ว่าจ�ำเป็ นต้ องจ่ายไหม ต้ องจ่าย เพราะถ้ าคุณไม่จา่ ยเด็ก พวกนี ้ก็หลุดออกจากโรงเรียนหมด” ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ อรรถพลให้ ความเห็น

ปัญหาทุกอย่างมีทางเลือก

เมื่ อ ชุ ม ชนไม่ เ ห็ น ด้ ว ยกับ การยุบ โรงเรี ย น หลายฝ่ ายจึงต้ องร่วมกันหาหนทางให้ โรงเรียนขนาดเล็ก อยูไ่ ด้ อย่างมีคณ ุ ภาพ โดยเฉพาะการแก้ ปัญหาจ�ำนวน นักเรี ยนลดลงและครูไม่ครบชันเรี ้ ยน จ�ำนวนนักเรี ยนที่ลดลงอาจไม่เป็ นปั ญหาใน ขณะนี ้ แต่จะส่งผลต่อการบริ หารจัดการโรงเรี ยนใน

อนาคตได้ เนื่ อ งจากรั ฐ สนับ สนุน งบประมาณตาม จ�ำนวนนักเรี ยน (รายหัว) ท�ำให้ ทงสองโรงเรี ั้ ยนได้ รับงบ ประมาณไม่มาก แต่ต้องบริ หารจัดการค่าใช้ จา่ ยทังค่ ้ า อุปกรณ์การเรี ยนการสอน ค่าอาหาร ตลอดจนค่าน� ้ำค่า ไฟ ทางโรงเรี ยนจึงต้ องหารายได้ เพิ่มเองในส่วนที่ไม่ เพียงพอ ส�ำหรับโรงเรียนในอบต.บางคนที นางรสสุคนธ์ สวนจันทร์ ครูรักษาการแทนผู้อ�ำนวยการโรงเรี ยนบ้ าน ยายแพงให้ ข้อมูลว่าทางอบจ.และอบต. ช่วยสนับสนุน ค่าจ้ างครูให้ บางส่วน และชาวบ้ านก็ชว่ ยกันบริ จาคเงิน เข้ าโรงเรี ยน ไม่ เ พี ย งแต่ ก ารหารายได้ เพิ่ ม เท่ า นั น้ คณาจารย์ ข องทัง้ สองโรงเรี ย นยัง พยายามพัฒ นา โรงเรี ย นทั ง้ ด้ านกายภาพและคุ ณ ภาพการศึ ก ษา เพื่ อ ดึ ง ดู ด ความสนใจและสร้ างความเชื่ อ มั่น ให้ ผู้ ปกครองไม่สง่ ลูกหลานไปเรี ยนที่อื่น ตังแต่ ้ การปรับปรุง สถานที่ การจ้ างครู สอนดนตรี มาเสริ มทักษะพิเศษให้ นักเรี ยน ไปจนถึงการสอนเสริ มเพื่อเตรี ยมนักเรี ยนให้ พร้ อมส�ำหรับการทดสอบระดับชาติ ส�ำหรับปั ญหาครูไม่ครบชันเรี ้ ยน สถานศึกษา ทังสองแห่ ้ งใช้ วิธีให้ เด็กในชันใกล้ ้ เคียงมาเรี ยนร่ วมกัน เช่น ป.1กับ ป.2 โดยให้ ครูรับหน้ าที่สอนควบชัน้ ซึง่ นาง รสสุคนธ์บอกว่าแม้ จะมีครูไม่ครบตามจ�ำนวนห้ องเรี ยน แต่อตั ราส่วนครูตอ่ นักเรียนทีเ่ หมาะสมในปั จจุบนั คือครู หนึ่งคนต่อเด็ก 25 คน จึงถือว่าที่โรงเรี ยนมีครู เกินอยู่ สองคนท�ำให้ ยงั ไม่มีปัญหาขาดแคลนครู ในรายวิชาที่โรงเรี ยนไม่มีครู เฉพาะทางสอน โดยเฉพาะภาษาอังกฤษทังสองโรงเรี ้ ยนแก้ ปัญหาด้ วย การน�ำนักเรี ยนมาเรี ยนรวมกันโดยให้ ครู จากโรงเรี ยน วัดบางน้ อย(แจ่มประชานุกูล) ต.จอมปลวก ที่ เป็ น โรงเรี ยนใหญ่ในละแวกนันมาสอนที ้ ่โรงเรี ยนบ้ านยาย แพงซึง่ อยูร่ ะหว่างกลางสองต�ำบลนี ้ “ผลการสอบโอเน็ต (O-NET) จากเดิมที่เราได้ ร้ อยละสิบกว่าตอนนี ้เราก็พฒ ั นาขึ ้น... แล้ วอีกอย่างหนึง่ เด็ ก ก็ ไ ด้ มี สัม พัน ธ์ กั บ เด็ ก โรงเรี ย นอื่ น ๆ มากขึ น้ ” นางณัฏ ฐนัน ท์ ช� ำ นาญรั ก ษ์ ผู้อ� ำ นวยการโรงเรี ย น วัดบางคนทีในชี ้แจงถึงข้ อดีของการน�ำนักเรี ยนมาเรี ยน รวมกันในวิชาภาษาอังกฤษ ขณะที่นางสาวแก้ วใจ จิเจริ ญ ผู้อ�ำนวยการ กลุ่มนโยบายและแผน ส�ำนักงานเขตพื ้นที่การศึกษา ประถมศึกษา (สพป.) จ.สมุทรสงคราม เสนอแนะการ แก้ ปัญหาด้ วยการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยให้ โ รงเรี ย นขนาดเล็ก จัด การเรี ย นการสอนตาม ตารางของโรงเรี ยนวังไกลกังวล หรื อหากไม่สะดวก ครู ก็สามารถขอเทปมาเปิ ดในชันเรี ้ ยนได้ นอกจากนี ้ชุมชน ยังสามารถแก้ ปัญหาโดยพึง่ พาภูมิปัญญาท้ องถิ่น เช่น ให้ ชาวบ้ านในพื ้นที่มาสอนวิชาที่เกี่ยวข้ องกับวิถีชีวติ ใน ชุมชนอย่างเกษตรกรรมหรื อสอนท�ำขนมเป็ นต้ น ส่วนทางเลือกที่อาจารย์คณะครุศาสตร์ เสนอ คือการคืนโรงเรี ยนให้ กับองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่น อย่ า งอบต.หรื อ เทศบาลเป็ นผู้บ ริ ห ารจัด การเพราะ

โรงเรี ยนขนาดเล็กส่วนใหญ่ อยู่ในพืน้ ที่ของอบต.ที่มี ความพร้ อมด้ านงบประมาณในการดูแลโรงเรียนอยูแ่ ล้ ว แต่หน่วยงานเหล่านี ้ต้ องท�ำให้ ครูร้ ูสกึ ถึงความมัน่ คงใน การจ้ างงานด้ วย เพราะหลายคนเข้ าใจว่าการสังกัด ท้ อ งถิ่ น อาจต้ อ งขึน้ อยู่กับ นโยบายของนัก การเมื อ ง ท้ องถิ่น ท�ำให้ ความมัน่ คงในการท�ำงานแตกต่างจาก การเป็ นข้ าราชการสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้ช่ ว ยศาสตราจารย์ อ รรถพลเสริ ม ว่ า การ บริ หารจัดการโรงเรี ยนขนาดเล็กไม่ควรมีสตู รตายตัว เพราะไม่ใช่ทุกท้ องถิ่นที่จะมีความพร้ อมในการดูแล โรงเรี ยน ในทางกลับกันไม่ใช่โรงเรี ยนขนาดเล็กทุกแห่ง ที่ ขาดคุณภาพ บางแห่งที่ ชุมชนเข้ มแข็ง โรงเรี ยนก็ สามารถบริ หารจัดการเองได้ ดังนันการแก้ ้ ปัญหาแบบ เบ็ดเสร็ จด้ วยการยุบโรงเรี ยนขนาดเล็กทัง้ หมดหรื อ คืนให้ ท้องถิ่นทังหมดจึ ้ งไม่ใช่วิธีที่เหมาะสม สิ่งส�ำคัญ คือรัฐต้ องกระจายอ�ำนาจให้ ท้องถิ่นตัดสินใจและหารื อ กับ ชาวบ้ า นโดยประสานผ่ า นสพป.เพราะการรวม โรงเรี ยนขนาดเล็กเป็ นประเด็นอ่อนไหว หากรัฐตัดสิน ใจแทนชุมชนก็จะถูกต่อต้ านอย่างแน่นอน “ปั ญ หาใหญ่ ที่ สุด ของประเทศไทยคื อ เรา รวมศูนย์ทกุ อย่างมานานมาก แล้ วยิง่ นานวันไปเราก็พบ ว่าความเป็ นรัฐแบกไม่ไหวหรอก เพราะตอนนี ้ท้ องถิ่น จ�ำเป็ นต้ องโตได้ แล้ ว จะรอส่วนกลางมาท�ำทุกอย่าง เหมือน 30 ปี ที่แล้ วไม่ได้ แล้ วพ.ร.บ.การศึกษาฯก็ออก มาตังแต่ ้ ปี 2542 แล้ วว่าต้ องกระจายอ�ำนาจสูท่ ้ องถิ่น โดยเฉพาะการสร้ างการมีสว่ นร่วมของคนในชุมชน ถึง มีแนวคิดเรื่ องการศึกษาเพื่อปวงชน ปวงชนเพื่อการ ศึกษา คุณอยากให้ การศึกษาเป็ นไปเพื่อปวงชนก็ต้อง ระดมปวงชนเข้ ามาท� ำ งานการศึ ก ษา” ผู้ ช่ ว ย ศาสตราจารย์อรรถพลกล่าว ด้ านผู้อำ� นวยการกลุม่ นโยบายและแผน สพป. จ.สมุทรสงคราม อธิบายว่าการยุบรวมโรงเรี ยนขนาด เล็กเป็ นเพียงทางเลือกหนึง่ ในการแก้ ปัญหา หากชุมชน ไม่ยนิ ยอมก็ไม่สามารถด�ำเนินการได้ จึงต้ องมีการหารือ กันทังในส่ ้ วนของ สพป. โรงเรี ยน และชุมชน ว่าจะใช้ วธิ ี การใดท�ำให้ โรงเรี ยนอยูไ่ ด้ อย่างมีคณ ุ ภาพ “ถ้ าเราอยากเป็ นโรงเรี ยนในชุมชน สอน เด็กแค่ 40-50 คน แต่ เด็กเรามีคณ ุ ภาพดี มีคณ ุ ธรรม ่ มีคุณลักษณะทีดีแล้ วด�ำรงอยู่ในชุมชน (จบการ ศึกษา) ออกมาท�ำงานประกอบอาชีพด้ วยตัวเองได้ ในชุมชนเองก็ทำ� ได้ กฎหมายเขาก็เปิ ดโอกาสให้ ไปท�ำหลักสูตรของเราเองก็ได้ แต่ นั่นหมายความ ว่ าชุมชนต้ องเข้ มแข็ง” นางสาวแก้ วใจกล่ าว

แผนงานของนโยบายยุบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก

แบ่งมาตรการเพื่อลดจ�ำนวนโรงเรี ยนขนาดเล็กออกเป็ นสามระยะ ได้ แก่ • ระยะที่หนึง่ (พ.ศ. 2554-2556) รวมโรงเรี ยนที่มีนกั เรี ยนไม่เกิน 60 คน จ�ำนวนทังสิ ้ ้น 5,627 โรง • ระยะที่สอง (พ.ศ.2557-2559) รวมโรงเรี ยนที่มีนกั เรี ยนไม่เกิน 100 คน อย่างน้ อยร้ อยละ 50 • และระยะที่สาม (พ.ศ.2560-2561) รวมโรงเรี ยนที่มีนกั เรี ยนไม่เกิน 120 คน อย่างน้ อยร้ อยละ 50

5


สัมภาษณ์

คุณตาอนงค์: คน “ซื่อ” หัวใจ “สัตย์” จาตุรณต์ พูลสวัสดิ์ / อรุณรัตน์ ใจกล้ า

ถ้าพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “สจฺเจน กิตฺตี ปปฺโปติ” อัน แปลว่า “คนเราจะบรรลุถึงเกียรติได้เพราะความซื่อสัตย์” เป็น ความจริงแล้วล่ะก็ คุณตาอนงค์ สุขสะอาด ผู้ประกอบอาชีพ สวนมะพร้าวแห่งต.บางคนที ชายผูผ ้ า่ นโลกมามากคนนีค้ งต้อง ถือว่าเป็นผู้ที่มีเกียรติที่สุดคนหนึ่ง

ในวัย 74 ปี คุณตาอนงค์ใช้ชวี ติ อยูท่ บี่ ้านกับคุณยายบุญขวัญ ผู้เป็ นภรรยา

และลูกอีกสองคนที่ หมู่ 4 ต.บางคนที กองบรรณาธิการนิสติ นักศึกษาได้ มโี อกาสพูด คุยกับคุณตาบ้ างแล้ วจากการลงพื ้นทีใ่ นคราวก่อน ๆ ท�ำให้ พอจะทราบว่าคุณตามี เรื่องราวชีวติ ในอดีตทีน่ า่ สนใจ และแฝงคุณธรรม ซึง่ จะเป็ นประโยชน์ให้ กบั คนรุ่นต่อ ไปได้ ครัง้ นีเ้ ราจึงมาหาคุณตากันถึงใต้ ถุนบ้ านเพื่อให้ ช่วยเล่าประวัติชีวิตแบบ คร่าว ๆ พอหอมปากหอมคอ คุณตาอนงค์เกิดและเติบโตทีต่ .บางคนที เมือ่ เรียนจบชันประถมฯ ้ 4 แล้ ว จึงออกมาช่วยพ่อแม่ทำ� สวนพืชล้ มลุก ปลูกข้ าวและพืชพันธุ์ตา่ ง ๆ รอบบ้ าน ขณะนัน้ คุณตาอายุประมาณ 14 ปี ท�ำงานอยูท่ บี่ ้ านจนถึงวัย 22 ปี จึงสมัครเข้ ารับราชการ ทหาร ทัง้ ที่ ก่ อ นหน้ า นี ค้ ุณ ตาตัง้ ใจจะบวช แต่ค รอบครั ว ไม่มี เ งิ น จึง มาสมัค ร เป็ นทหารแทน

6

คุณตาเป็ นทหารอยูส่ องปี ในช่วงชีวติ พลทหารนี ้เองทีค่ ณ ุ ตาได้ รบั การปลูก ฝั งคติในการใช้ ชวี ติ สองข้ อทีค่ ณ ุ ตายังคงจดจ�ำและใช้ มาจนถึงทุกวันนี ้ คุณตาอนงค์ เล่าให้ ฟังว่า สมัยทีอ่ ยูใ่ นกองพัน ทุก ๆ เย็น ผู้กองจะเรียกทหารทีไ่ ม่ได้ เข้ าเวรซึง่ เหลือ อยูไ่ ม่กคี่ นมานัง่ คุยกัน เล่านิทานหรือเรื่องราวต่าง ๆ ให้ ฟัง หนึง่ ในเรื่องราวทีค่ ณ ุ ตาได้ ฟังมาจากผู้กองนัน้ คือเรื่องราวของเจ๊ กหงส์ ชาว จีนทีเ่ ริ่มท�ำงานจากการเป็ นกุลเี ข็นรถเจ๊ กจนสุดท้ ายกลายเป็ นคหบดีชนผู ั ้ ้ ใหญ่ ผู้กอง เล่าให้ คณ ุ ตาฟั งว่า สมัยทีเ่ จ๊ กหงส์กำ� ลังสร้ างตัวใหม่ ๆ นัน้ เขาเริ่มจากการท�ำงานทุก วันอย่างขยันขันแข็ง และประหยัดอดออม สามารถเก็บเล็กผสมน้ อยจนกลายเป็ น เจ้ าของกิจการร้ านค้ าใหญ่โตได้ เจ๊ กหงส์สอนลูกจ้ างของแกเสมอว่า “ถ้ าลื ้อคิดจะอยู่ กับอัว๊ จะอยูเ่ พือ่ กินลื ้ออยูก่ บั อัว๊ ไม่ได้ แต่ถ้ากินเพือ่ อยู่ ลื ้อก็อยูก่ บั อัว๊ ได้ ” กับอีกเรื่อง ก็คอื “ลื ้อเอาเยีย่ งกาแต่อย่าไปเอาอย่างกาสิ กามันออกหากินแต่เช้ ามืด ตีสมี่ นั ก็ออก บินให้ วอ่ นแล้ ว แต่อกี านีม่ นั นิสยั เสียทีไ่ ปลักเขากิน ใครตากปลาเค็มใครมีลกู ไก่ มัน ฉวยได้ มนั เอาไปกินหมดล่ะ” คติสองข้ อจากเจ๊ กหงส์คอื “เอาเยีย่ งกา แต่อย่าเอาอย่างกา” กับ “กินเพือ่ อยู่ ไม่ใช่อยูเ่ พือ่ กิน” จึงได้ กลายมาเป็ นคติทคี่ ณ ุ ตาอนงค์ยดึ ถืออยูต่ ลอดในชีวติ ภาย หลังจากนัน้ ทังการท� ้ ำงานทีค่ ณ ุ ตารับท�ำแทบทุกอย่างโดยไม่ปฏิเสธเพราะความขยัน ท�ำมาหากิน และการใช้ ชวี ติ อยูอ่ ย่างพอกินพอใช้ ไม่ฟมุ่ เฟื อย ท�ำให้ คณ ุ ตาและภรรยา สามารถท�ำงานเป็ นชาวสวนมะพร้ าวมาได้ ถงึ ทุกวันนี ้โดยไม่เดือดร้ อน


สัมภาษณ์ มีอกี เหตุการณ์หนึง่ ระหว่างการเป็ นทหารทีส่ ะท้ อนถึงอุปนิสยั ทีซ่ อื่ สัตย์และ รู้หน้ าทีข่ องตนเอง คุณตาเล่าว่า วันเกิดเหตุป็นวันอาทิตย์ พลทหารอนงค์มเี วรต้ องท�ำ หน้ าทีเ่ ฝ้าประตูคา่ ยทหารในวันนัน้ โดยได้ รับค�ำสัง่ มาว่าห้ ามเปิ ดประตูให้ ใครเข้ าไป เด็ดขาด จู่ ๆ ก็มรี ถยนต์มาจอดหน้ าประตู ผู้ทอี่ ยูใ่ นรถซึง่ ดูทา่ จะเป็ นทหารยศนาย พัน สัง่ ให้ คณ ุ ตาเปิ ดประตู แต่คณ ุ ตาก็ไม่ให้ เข้ าท่าเดียว จนนายพันผู้นนยอมถอยรถ ั้ จากไป เช้ าวันต่อมา พลทหารอนงค์จึงถูกเรี ยกไปหน้ าแถวและให้ อธิ บายถึง เหตุการณ์เมือ่ วันก่อน ตอนนันคุ ้ ณตากลัวมากว่าจะถูกลงโทษ แต่กเ็ ล่าไปตามความ จริง “ตอนนันในหั ้ วเรานี่ โดนโทษแน่ ๆ แล้ ว” คุณตากล่าวถึงความรู้สกึ ในตอนนัน้ แต่ ปรากฏว่าเป็ นเพียงการเรี ยกไปสอบถามเท่านัน้ เพราะเรื่ องถูกส่งไปยังนายทหารที่ ต�ำแหน่งใหญ่กว่าคนในรถยนต์ คุณตาเลยรอดตัวไม่ถกู ลงโทษ “เราท�ำตามหน้ าทีข่ อง เรา เปิ ดให้ ก็โดน ไม่เปิ ดให้ ก็โดน ท�ำตามค�ำสัง่ ที่ได้ รับมาดีกว่า” คุณตากล่าวเสริม นอกจากความซือ่ สัตย์แล้ ว เรื่องนี ้ยังสะท้ อนให้ เห็นถึงความกล้ าหาญในการท�ำหน้ าที่ ทีต่ นได้ รบั มอบหมายมาให้ สำ� เร็จลุลว่ งโดยไม่ขาดตกบกพร่องอีกด้ วย เพราะคุณตารู้ ว่าตนเป็ นใครและก�ำลังท�ำหน้ าทีอ่ ะไรอยูข่ ณะนัน้

คุณตาต้ องไปต่างจังหวัดและไม่มเี งินติดกระเป๋ า คุณตาก็จะ “ขอยืม” เงินของภรรยา ก่อน เมือ่ ขายผลไม้ ได้ เมือ่ ไรก็ใช้ คนื เมือ่ นัน้ เป็ นวิธีการแบ่งกระเป๋ าเงินทีน่ า่ รัก เมือ่ พูดถึงภรรยาผู้เป็ นทีร่ กั แววตาของคุณตาจะทอประกายอ่อนหวานกว่า ปกติ คุณตาอนงค์เล่าว่า อยูก่ ินกับคุณยายบุญขวัญมาตังแต่ ้ อายุ 26 ช่วงนันยั ้ ง รับจ้ างเขาท�ำงานทัว่ ไป จนกระทัง่ ปี 2526 คุณตาตัดสินใจไปท�ำงานทีค่ เู วต เมือ่ ไปอยู่ ทีน่ นั่ มีหลายครัง้ ทีอ่ ดไม่ได้ วา่ คนไกลบ้ านจะใช้ ชวี ติ อยูอ่ ย่างไร เรื่องเล่าจากคนรอบ ตัวทีว่ า่ ภรรยาของพวกเขาท�ำตัวประหนึง่ คุณนาย ใช้ เงินโดยไม่เห็นใจสามีทม่ี าล�ำบาก เลยสักนิดท�ำให้ จติ ใจของคุณตาหวัน่ เกรง แต่เมือ่ เดินทางกลับมาบ้ านเกิดเมืองนอน ในปี 2529 จึงพบว่า คูช่ วี ติ ได้ เก็บออมเงินทุกบาทเอาไว้ อย่างดี และเงินก้ อนดังกล่าว ก็ได้ น�ำมาซื ้อทีท่ ใี่ ช้ ปลูกสวนอยูใ่ นปั จจุบนั เรียกได้ วา่ ความรักของทังคู ้ เ่ กื ้อหนุนกัน อย่างแท้ จริง คุณตาบอกว่าตังแต่ ้ แต่งงานกันมาไม่เคยทะเลาะกันเลยสักครัง้ เคล็ดไม่ ลับของทังคู ้ ก่ ค็ อื “น� ้ำเชีย่ วอย่าเอาเรือขวาง” หากใครร้ อน อีกคนจะต้ องเย็น ความรัก ของคุณตาและภรรยาจึงมีความเข้ าใจและการเคารพซึง่ กันและกันเป็ นส่วนประกอบ หลัก ท�ำให้ ชวี ติ คูข่ องคนทังสองยื ้ นยาวมาจนถึงปั จจุบนั นี ้ ตอนนี ้คุณตาอนงค์ดำ� รงต�ำแหน่งมากมาย อาทิ ประธานชุมชน ประธาน ผู้สงู อายุ รองประธานสภาวัฒนธรรมอ�ำเภอบางคนที และวิทยากรประจ�ำศูนย์อนุรกั ษ์ เรือไทย ขอยกตัวอย่างเพียงเท่านี ้เพราะเกรงจะนับกันไม่ไหว ด้ วยต�ำแหน่งเหล่านี ้ ท�ำให้ คณ ุ ตาได้ เดินทางไปทัว่ ประเทศ ได้ สมั ผัสถึงวิถีชีวิตของคนแต่ละท้ องถิ่น ถ้ าอะไรดีคณ ุ ตาก็จะน�ำมาประยุกต์ใช้ กบั ชุมชน คุณตาอนงค์จงึ เปรียบได้ กบั ห้ องสมุด เคลือ่ นที่ เป็ นปราชญ์เดินดินทีอ่ ยูเ่ พือ่ บอกเล่าเรื่องราวให้ ลกู หลานได้ เรียนรู้ตอ่ ไป

ลื้อเอาเยี่ยงกาแต่อย่าไปเอาอย่างกาสิ กามันออก หากินแต่เช้ามืด ตีสมี่ นั ก็ออกบินให้วอ่ นแล้ว แต่อกี านีม่ นั นิสยั เสียทีไ่ ปลักเขากิน ใครตากปลาเค็มใครมีลกู ไก่ มันฉวยได้มนั เอาไปกินหมดล่ะ

หลังจากพูดคุยกันมาสักพัก คุณตาอนงค์กช็ วนเราเข้ าไปดูสวน “เดีย๋ วจะ พาไปดูมะพร้ าวเจ็ดยอด” คุณตาพูดอย่างอารมณ์ดแี ล้ วพาลัดเลาะเข้ าไปยังสวนด้ าน ใน บนพื ้นที่กว่าเจ็ดไร่แน่นขนัดไปด้ วยมะพร้ าว ลิ ้นจี่ ส้ มโอ กล้ วย และมะดัน สลับกันไป คุณตาเล่าให้ ฟังว่าตนและคุณยายบุญขวัญแบ่งกันดูแลผลไม้ ในสวน ใครรับผิดชอบต้ นไหน เมือ่ ต้ นนันออกผล ้ เงินทีข่ ายผลผลิตได้ กจ็ ะตกเป็ นของคนนัน้ ซึง่ ความคิดดังกล่าวคุณตาบอกว่าดัดแปลงมาจากค�ำสอนของในหลวง นอกจากนี ้ คุณตาและภรรยายังไม่ก้าวก่ายในเรื่ องเงินของกันและกันอีกด้ วย หากยามใดที่

ทุกวันนี ้คุณตายังแข็งแรงและมีความสุขดี เข้ านอนสองทุม่ ตืน่ หกโมงเช้ า ไม่ดมื่ เหล้ า ไม่สบู บุหรี่ หากว่างจากการท�ำงานก็จะปั่ นจักรยานไปดูปลาริมแม่น� ้ำ เป็ นการออกก�ำลังกาย ใช้ ชวี ติ อย่างเรียบง่ายตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง สิง่ ทีค่ ณ ุ ตาภูมใิ จมากทีส่ ดุ ครังหนึ ้ ง่ ในชีวติ คือ การได้ ถวายการแสดงวิธีการพายเรือบดต่อพระ พักตร์ สมเด็จพระเทพฯ เมือ่ ครัง้ เสด็จอุทยานฯ รัชกาลที่ 2 ซึง่ คุณตาบอกว่าไม่ใช่ทกุ คนจะพายเรือบดได้ ต้ องมีทกั ษะมากพอสมควร จากทศวรรษสูท่ ศวรรษ คุณตาอนงค์มองเห็นการเปลีย่ นแปลงของชุมชน มาอย่างต่อเนือ่ ง ในฐานะคนทีอ่ าบน� ้ำร้ อนมาก่อนคุณตามีเรื่องอยากฝากคนรุ่นใหม่ เพียงสามประการเท่านัน้ คือให้ ช่วยกันรักษาวัฒนธรรมไทยที่ดีงามเอาไว้ เช่น ผู้หญิงเข้ าวัดก็ต้องแต่งตัวให้ เรียบร้ อย “อย่างน้ อยถ้ าไม่เห็นแก่ตวั เอง ก็เห็นแก่พระ สักหน่อย” คุณตาว่า ประการต่อมา คือ ให้ ระลึกถึงบิดามารดาเสมอ เอาใจใส่ผ้ สู งู อายุ และ ประการสุดท้ าย ให้ ทำ� บุญกับคนด้ อยโอกาสโดยการให้ โอกาส ซึง่ คุณตาเชื่อว่าการ แบ่งปั นคือสิง่ งดงามในสังคม นอกจากนี คุ้ ณตายังมองว่าสิง่ ทีค่ นบางคนทีต้องท�ำต่อ ไปคือการปรับตัวเพือ่ รับเทคโนโลยีเข้ ามาใช้ อย่างเหมาะสม เพราะไม่ มใี ครสามารถหยุดการเปลีย่ นแปลงได้ เพียงแต่ ต้องเลือก และใช้ มนั ให้ เป็ น

7


เรื่องหลัก

ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ ผูกอู่ตามใจผู้นอน จาตุรณต์ พูลสวัสดิ์

“ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่”

สุ

ภาษิตนี ้หมายถึงการ “ท�ำตามความพอใจของผู้ที่จะได้ รับผลโดยตรง” โดยเปรี ยบเทียบว่าการสร้ างบ้ านสักหลังควรขึ ้นอยู่กบั ความพอใจของผู้อยู่อาศัย ไม่ใช่สถาปนิกผู้ออกแบบ เพราะคนที่ร้ ูดีที่สดุ ว่าอยากได้ บ้านแบบไหนคือคนที่อยู่ ในบ้ านเอง ดังนัน้ ถ้ าอยากได้ บ้านที่ตรงตามความพอใจของตนแล้ ว เจ้ าของบ้ าน และผู้ออกแบบก็ต้องปรึกษาหารื อจนเกิดความเข้ าใจที่ตรงกันก่อนลงมือปลูกบ้ าน หรื อไม่อย่างนันตั ้ วเจ้ าของบ้ านก็ท�ำหน้ าที่เป็ น “ผู้สร้ าง” ด้ วยการลงมือออกแบบ แล้ วสร้ างบ้ านด้ วยตัวเองเลย หากเปรียบชุมชนบางคนทีเป็ นเสมือนบ้ านเรือนไทยสักหลัง สมัยเริ่มสร้ าง คงผ่านกระบวนการวางแผนปลูกเรื อนมาอย่างดีแล้ วระดับหนึ่ง ตังแต่ ้ การวาง ต�ำแหน่งเสาเอก เสาโท ไปจนถึงการวางกระเบื ้องครอบหลังคา ให้ เหมาะสมกับ ลักษณะการใช้ ชวี ติ ประจ�ำวันของผู้อยูเ่ รือน มีขนาดและสัดส่วนทีพ่ อเหมาะต่อพื ้นที่ ใช้ สอย สะดวกแก่การท�ำมาหากินของคนในบ้ าน โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือให้ สมาชิก ในบ้ านสามารถอาศัยอยูไ่ ด้ อย่างมีความสุข ทว่ า ด้ ว ยกาลเวลาที่ ผ่ า นไป อากาศอัน แปรปรวนจากกระแสการ เปลีย่ นแปลงของเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ท�ำให้ สภาพแวดล้ อมของชุมชนที่เปรี ยบ เสมือนตัวบ้ านหลังนี ้เริ่ มมีบางส่วนผุพงั ท�ำให้ ผ้ อู าศัยรุ่นต่อไปที่ก�ำลังจะก้ าวขึ ้นมา เป็ น “ผู้สร้ าง” ในอนาคตนัน้ เริ่ มสับสนและชักจะไม่แน่ใจเสียแล้ วว่า วิธีการซ่อม เรื อ นที่ ไ ด้ รั บ รู้ มาในวัย เด็ก จะใช้ ไ ด้ ผ ลกับลมมรสุม ที่ ก� ำลัง ตัง้ เค้ า อยู่ข้ า งหน้ า เนื่องด้ วยภัยครัง้ นี ้ไม่เคยมีใครเผชิญกับมันมาก่อน หนึง่ ในคนรุ่นต่อไปของบ้ านหลังนี ้อย่างน้ องนุน่ ณิชนันทน์ จีบประจง นัก เรี ยนชันม.5 ้ รร.ถาวรานุกลู ผู้อาศัยอยู่ที่ หมู่ 1 ต.บางคนที และด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานสภาเยาวชนของชุมชน ที่เป็ นผู้รวบรวมเด็ก ๆ ในชุมชนมาร่ วมกันท� ำ กิจกรรมที่ทางอบต.จัดให้ อยูเ่ ป็ นระยะ ๆ บอกว่า เธออยากให้ สภาพแวดล้ อมของที่ นี่เป็ นแบบนี ้ต่อไป แม้ ว่าอาจจะไม่เจริ ญเหมือนที่กรุ งเทพฯ แต่ทกุ คนที่นี่ก็อยู่กนั อย่างมีความสุขดี

8

เมือ่ ถามว่าจะท�ำอย่างไรให้ ชมุ ชนรักษาวิถชี วี ติ เรียบง่ายและมีความสุขอย่าง ที่เธอวาดภาพเอาไว้ น้ องนุน่ ตอบว่า “ก็จะไปบอกให้ น้องรุ่นต่อไปเขารู้คะ่ ว่าเป็ นแบบ นี ้ก็ดีอยูแ่ ล้ ว ไม่ต้องหาอะไรเพิ่มเติม” และเสริ มว่า ไม่อยากให้ ที่นี่เป็ นเหมือนอัมพวา เพราะพอผู้คนพลุกพล่านแล้ วทุกคนก็จะขายที่ย้ายออกไป ในทางกลับกัน น้ องรัตน์ อมรรัตน์ อยูเ่ ชื ้อ นักเรี ยนชันม.5 ้ รร.ถาวรานุกลู และน้ องมิ ้นท์ สุภาพร ศุกรโยธิน นักเรี ยนชันม.4 ้ รร.อัมพวันวิทยาลัย จากหมู่ 4 ต.บางคนที สองแกนน�ำของสภาเยาวชนของชุมชนบางคนทีให้ ความเห็นว่า ยังอยาก ให้ ทน่ี พี่ ฒ ั นาเป็ นแหล่งท่องเทีย่ วและต้ อนรับคนภายนอกมากขึ ้นอีก “อยากให้ (ชุมชน) พัฒนา อย่างอัมพวาเขาก็จะมีแหล่งท่องเที่ยว แต่อย่างบางคนทีมนั อยู่ในสวน มัน ยากที่นกั ท่องเที่ยวจะเข้ ามาถึง คืออยากให้ มนั อยูใ่ นลักษณะที่คงเดิมไว้ นะคะ อยาก ให้ มนั เป็ นสวนแบบนี ้แหละ แต่อยากให้ นกั ท่องเที่ยวได้ เข้ ามาบ้ าง” น้ องรัตน์กล่าว ส�ำหรับคนรุ่นหลังที่โตขึ ้นมาหน่อยอย่างพี่เอ็ม จิราภรณ์ แก้ วมณีแห่งหมู่ 1 ต.บางคนที นักศึกษาปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ก่อนหน้ านี ้ผ่านการศึกษา ระดับชัน้ ปวช.จากดรุณาราชบุรี ต่อปริญญาตรี ด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ราชภัฏ นครปฐม และอาศัยอยูท่ ี่สมุทรสงครามมาตังแต่ ้ เรี ยนจบชันป.6 ้ ก็บอกว่า ส่วนตัวแล้ ว ตนไม่มีความตังใจที ้ ่จะเข้ ากรุงเทพฯ หรื อออกจากจ.สมุทรสงคราม เพราะที่นี่มีครบ ทุกอย่างแล้ วตามทพี่เอ็มต้ องการ เหตุผลแรกคือที่นี่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ และสองคือ ค่าอาหารการกินและของใช้ ตา่ ง ๆ ก็ไม่แพงมากเมื่อเทียบกับในเมืองหลวง อย่างไรก็ตาม คงไม่ใช่ทุกคนในชุมชนที่จะคิดเหมือนพี่เอ็ม เธอเล่าว่า คนรุ่นเดียวกันส่วนใหญ่ไม่ได้ อาศัยอยูท่ ี่ชมุ ชนแล้ ว “ส่วนใหญ่ถ้าไม่มีครอบครัวก็จะ ย้ ายไปอยูก่ รุงเทพฯ หรือไปอยูจ่ งั หวัดอืน่ กันหมดแล้ ว คือไปท�ำงานจังหวัดอืน่ เทศกาล ทีก็กลับมาที” พี่เอ็มกล่าว สิง่ ทีพ่ เี่ อ็มเล่าสะท้ อนให้ เห็นว่า นอกจากลมมรสุมแห่งการเปลีย่ นแปลงทาง สังคมจากภายนอกแล้ ว อีกหนึง่ ปั ญหาของบ้ านหลังนี ้คือจ�ำนวนสมาชิกในบ้ านที่เริ่ ม ลดลง เพราะมีบ้านรูปแบบใหม่ ๆ อีกมากมายให้ เลือกอยูอ่ าศัยและตอบโจทย์วถิ ีชีวติ


เรื่องหลัก

ในยุคสมัยใหม่มากกว่าเดิม เมื่อจ�ำนวนคนเฝ้าบ้ านหลังใหญ่นี ้เริ่ มลดลงไปจนอาจ ท�ำให้ การดูแลรักษาบ้ านที่เคยมีมาก็เริ่ มลดไปด้ วย มีเหตุผลมากมายทีค่ นในพื ้นทีจ่ ะย้ ายออกไปอยูท่ อี่ นื่ ทังไปประกอบอาชี ้ พ ที่ตนเองต้ องการ สร้ างครอบครัว หรื อต้ องการอาศัยอยูใ่ นสภาพสังคมที่ตา่ งออกไป จากเดิม ส�ำหรับคนรุ่นต่อไปอีกคนที่ย้ายออกจากบ้ านหลังนี ้ไปชัว่ คราวอย่างน้ อง แนน กนกนาถ สินธุเจริ ญ นักเรี ยนชันม.5 ้ รร.กสิณธรเซนต์ปีเตอร์ บอกเหตุผลที่ ตัดสินใจไปเรี ยนที่กรุงเทพฯ ว่า “เรี ยนที่นี่ (รร.ดรุณาบางนกแขวก) ไม่ได้ ขยันอะไร เลย ไม่อา่ นหนังสือ เรี ยนไปแบบอยากเรี ยนอะไรก็เรี ยน วัน ๆ ไม่คอ่ ยได้ พกหนังสือ แต่พอไปทีก่ รุงเทพฯ การแข่งขันมันเยอะก็เลยต้ องตังใจอ่ ้ านหนังสือแล้ วก็ต้องท�ำการ บ้ าน ท�ำงานทุกชิ ้นให้ ดีที่สดุ ให้ ได้ คะแนนเยอะที่สดุ ” เมื่อถามผู้ใหญ่บ้านนภดล สินธุเจริ ญ แห่งหมู่ 1 ต.บางคนที คุณพ่อของ น้ องแนนในฐานะหนึง่ ใน “ผู้สร้ าง” รุ่นปั จจุบนั ถึงความส�ำคัญของเยาวชนที่จะก้ าว เข้ ามาเป็ นคนรุ่นต่อไปของชุมชน ผู้ใหญ่ฯ ดลบอกว่า คงจะดีขึ ้นถ้ าเยาวชนลงมา ช่วยกันพัฒนาชุมชน เพราะจะได้ มีความคิดแปลกใหม่เข้ ามาเสริมของเก่าที่เป็ นอยู่ อย่างทุกวันนี ้บ้ าง ก่อนที่วฒ ั นธรรมดังเดิ ้ มจะหายไปหมด ผู้ใหญ่ฯ ดลยังเสริ มอีกว่า เยาวชนสมัยนี ้ดูแลล�ำบากเพราะไม่คอ่ ยเชื่อฟั งและเคารพผู้ใหญ่กนั แล้ ว ท�ำให้ ต้อง สอดส่องดูแลกันมากกว่าเดิม ค�ำกล่าวของผู้ใหญ่ฯ ดล สะท้ อนให้ เห็นว่า คงไม่ใช่แค่หน้ าที่ของรุ่นต่อไป เท่านันที ้ จ่ ะต้ องรับผิดชอบการดูแลบ้ านหลังนี ้ต่อไปในอนาคต แต่เป็ นหน้ าทีข่ องคน รุ่นปั จจุบนั ด้ วยว่าจะปลูกฝั งจิตส�ำนึกเกี่ยวกับวิถีชีวติ และการดูแลรักษาบ้ านหลังนี ้ ให้ คนรุ่นหลังต่อไปได้ อย่างไร ส่วนจะได้ ผลหรื อไม่นนั ้ คงต้ องรอดูวา่ เยาวชนจะเห็น ด้ วยกับวิธีการที่ถกู ปลูกฝั งมาหรื อเปล่า เมื่อต้ องเผชิญหน้ ากับปั ญหาจริ ง ๆ ด้ านนายกอบต.บางคนที นางสาวเรณู เล็กนิมิตร ที่เพิ่งกลับมาด�ำรง ต�ำแหน่งนายกฯ สมัยที่ 2 มาได้ ไม่นาน ให้ ความเห็นเกี่ยวกับนโยบายการพัฒนา เยาวชนของอบต.ว่า “อันดับแรกนะ ให้ เขารู้สกึ รักและผูกพันกับพื ้นที่มาก ๆ แล้ วเขา จะมีความสุข เมื่อมีความสุขแล้ วเขาจะรู้ สึกว่าต้ องอนุรักษ์ อนุรักษ์ ในส่วนของ ทรัพยากรในพื ้นที่ ไม่วา่ จะเป็ นน� ้ำหรื อต้ นไม้ ถามว่ามันจะเปลี่ยนไปไหม เราก็ต้อง

ช่วยกัน คือเปลีย่ นได้ มันต้ องสมสมัย จะไม่ให้ ของเขามีรถใช้ จะไม่ให้ เขาใช้ เทคโนโลยี เลยมันไม่ได้ คือสภาพแวดล้ อมตามวีถีนี ้อยากให้ คงไว้ แต่ในเรื่ องของการใช้ ชีวติ อาจ จะเปลี่ยนไป” นายกฯ เรณูเป็ นชาวบางคนทีโดยก�ำเนิด แต่สมัยสาว ๆ ออกไปท�ำงานที่อื่น แล้ วถึงกลับมาอยูท่ ี่บ้านเกิดตอนอายุประมาณ 30 ปี นายกฯ จึงเล็งเห็นความส�ำคัญ ของการพัฒนาเยาวชน โดยวัดจากความรู้สกึ ของตนหลังจากทีอ่ อกไปใช้ ชีวติ และเจอ เรื่องราวหลายรูปแบบจากโลกภายนอกว่า เมือ่ อยูท่ อ่ี นื่ ไปสักระยะแล้ วจึงเปรียบเทียบ ระหว่างที่อยู่อาศัยในเวลานันกั ้ บบ้ านเดิม พอเห็นว่าที่บางคนทีดีกว่าก็เลยกลับมา ตอนนันเองที ้ ่คนรุ่นหลังแบบนายกฯ ได้ กลายเป็ นก�ำลังส�ำคัญให้ กบั ชุมชน นายกฯ ยังเสริ มอีกด้ วยว่า การจะมอบหมายให้ เด็กและเยาวชนท�ำงานใน ระดับเทียบเท่าผู้ใหญ่ทนั ทีคงไม่ได้ ต้ องค่อย ๆ ใช้ เวลาในการปลูกฝั ง อย่ารี บร้ อน “ที่ ท�ำได้ ก็เพราะว่าบางทีเขาตามพ่อแม่มาช่วยงานด้ วย มันเหมือนกับเป็ นวิถีชีวิตของ เขาไง คือบางครัง้ เด็กมาช่วยงาน ถ้ าพูดถึงเนื ้องานนี่ก็ไม่ได้ เนื ้องานหรอก แต่ถ้าเรา พูดถึงการปลูกจิตส�ำนึกมันก็ท�ำให้ เขาได้ ซมึ ซับ เพราะต่อไปมันเป็ นพื ้นทีข่ องเขา บ้ าน เขาเอง เขาก็จะอินไปเอง” ค�ำบอกเล่าของเยาวชนคนรุ่นใหม่ข้างต้ นสะท้ อนให้ เห็นช่วงเปลีย่ นผ่านจาก “ผู้สร้ าง” รุ่นปั จจุบนั ไปสูร่ ุ่นต่อไปและทิศทางในอนาคตทีย่ งั ไม่ชดั เจนนัก แต่ทา่ มกลาง ความคลุมเครื อ สิง่ ที่ปรากฏเด่นชัดคือ ผู้สร้ างและผู้อยูอ่ าศัยทุกคนรักและภาคภูมิใจ กับความสงบร่มรื่ นของบ้ านหลังนี ้ ดังนัน้ ชาวชุมชนทังรุ้ ่นใหญ่และเล็กอาจต้ องเริ่ ม จับเข่าคุยกันเพื่อค้ นหาวิธีดแู ลรักษาและสร้ างบ้ านใหม่ จะได้ รับมือกับมรสุมที่จะพัด เข้ ามาเรื่ อย ๆ ภายใต้ ข้อจ�ำกัดที่มีอยูอ่ ย่างเหมาะสม ให้ “บ้ าน” และ “อู”่ เป็ นที่พอใจของ ผู้อยูแ่ ละผู้นอนต่อไป

9


บันเทิง

จากน�้ำสู่น�้ำ

อรุณรัตน์ ใจกล้ า

พืน้ ทีข่ องจ.สมุทรสงครามเป็นพืน้ ทีส่ ามน�ำ้ - น�ำ้ จืด น�ำ้ เค็ม และน�ำ้ กร่อย หากกล่าวว่าน�ำ้ คือชีวติ ของคนทีน่ กี่ ค็ งจะไม่ผดิ นัก โดย เฉพาะกับชาวบางคนทีทตี่ อ้ งอาศัยน�ำ้ เพือ่ ท�ำการเกษตรตลอดทัง้ ปี รวมถึงใช้เป็นเส้นทางสัญจรในบางครา

ธรรมชาติของน� ้ำคือไหลจากทีส่ งู ลงสูเ่ บื ้องล่าง

น� ้ำในคลองของ บางคนทีกร็ บั มาจากแม่น� ้ำแม่กลองอีกทีหนึง่ ก่อนจะไหลลงสูป่ ากอ่าว ทว่านอกจาก สารอาหารและบรรดาสัตว์น� ้ำน้ อยใหญ่แล้ ว สิง่ ทีไ่ หลมากับน� ้ำก็คอื ตะกอนดินและ วัชพืช ทังจอก ้ แหน และสาหร่าย รวมไปถึงเศษขยะ ซึง่ นานวันเข้ าก็ทบั ถมและ กีดขวางเส้ นทางการไหลของน� ้ำในคลอง ชาวบ้ านบางคนทีจงึ แก้ ปัญหาด้ วยการจัด กิจกรรมขุดลอกคูคลองเอง พร้ อมตังชื ้ ่อเรียกสะดุดหูวา่ “ลงแขกลงคลอง” แค่ฟัง ชื่อก็ร้ ูแล้ วว่าสนุก “ลงแขกลงคลอง” เป็ นกิจกรรมทีช่ าวบ้ านต.บางคนที และต.ยายแพงจะ มารวมตัว กัน เพื่ อ ขุด ลอกคูค ลองที่ ตัด ผ่า นในพื น้ ที่ เดิ ม ที ท� ำ กัน ในชาวบ้ า น กลุม่ เล็ก ๆ ต่อมาหมูบ่ ้ านทัง้ 13 หมูบ่ ้ านเล็งเห็นประโยชน์ของกิจกรรมทีน่ อกจาก จะช่วยท�ำให้ คลองสะอาดขึ ้นแล้ ว ยังเสริมสร้ างความสามัคคีในหมูค่ ณะได้ อกี ด้ วย ท�ำให้ ทงั ้ 13 หมูบ่ ้ านร่วมมือกันจัดกิจกรรมลงแขกลงคลองอย่างเป็ นกิจจะลักษณะ มากขึ ้น โดยจัดขึ ้นทุกวันเสาร์ แรกของเดือนและมี อบต.เป็ นผู้ประสานงาน แต่ละ เดือนวนไปลงคลองตามหมูต่ า่ ง ๆ สับเปลี่ยนกันไปตามล�ำดับที่จบั ฉลากเอาไว้ ตังแต่ ้ แรก จากวันนันจนถึ ้ งวันนี เวลาล่ ้ วงมากกว่าสองปี แล้ ว จ�ำนวนผู้ร่วมกิจกรรม ก็เพิม่ ขึ ้นเรื่อย ๆ และหนึง่ ในนันคื ้ อฉันเอง แดดเช้ าวันเสาร์ ที่ 8 ในเดือนกุมภาพันธ์คอ่ นข้ างแรง ท้ องฟ้าปลอดโปร่ง ลมหนาวต้ นปี จากไปสักพักใหญ่จนไม่ต้องกังวลอีกต่อไปว่าแล้ วจะลงน� ้ำได้ ไหม เบื ้องหน้ าฉันคือ พีพ่ ร กนกพร เจริญสมบัติ เจ้ าของพื ้นทีผ่ ้ พู าฉันลัดเลาะไปตามสวน มะพร้ าวเพือ่ ไปยังจุดหมายของการเดินทางครัง้ นี ้ ล�ำคลองสายเล็ก ๆ ของหมู่ 2 ต.บางคนทีกว้ างประมาณ 3 เมตรทอดตัวขนาบไปกับสวนมะพร้ าว บรรยากาศ ร่มรื่ นจนนึกอยากให้ มแี ปลญวนแขวนอยูใ่ กล้ ๆ สักผืน แต่วนั นี ้ฉันไม่ได้ มาเพือ่ พักผ่อน มีกิจกรรมทีส่ นุกกว่านันก� ้ ำลังรออยู่ “ว่ายน� ้ำเป็ นไหม” พีพ่ รหันมาถามอย่างอารมณ์ดี ฉันเอ่ยปากปฏิเสธ นึก เสียใจลึก ๆ ทีบ่ ้ านเกิดตัวเองก็อยูใ่ กล้ คลองแต่ไม่เคยได้ โดดน� ้ำเล่นอย่างเด็กคนอืน่ เขา เดินต่อมาอีกไม่นานก็ถงึ ริมตลิง่ ทีช่ าวบ้ านก�ำลังช่วยกันถอนวัชพืชใต้ น� ้ำอย่าง ขะมักเขม้ นแล้ วโยนขึ ้นไปพักไว้ บนฝั่ ง ปล่อยไว้ อย่างนันจนมั ้ นสลายกลายเป็ นปุ๋ย ให้ แก่ต้นไม้ ริมคลองต่อไป “ลงน� ้ำมาเร็ว” เสียงคุณป้าทีอ่ ยูใ่ นคลองตะโกนพลางกวักมือเรียกหลังจาก พีพ่ รพูดฝากฝั งฉันไว้ ให้ ลงน� ้ำไปกับทุกคนด้ วย ฉันพยายามหาทางลาดเพือ่ เดินลง น� ้ำไป นึกกลัวในใจเล็ก ๆ เพราะไม่ร้ ูวา่ ระดับน� ้ำสูงแค่ไหน เมือ่ ลงน� ้ำก็โล่งใจเมือ่ พบว่าน� ้ำสูงแค่อกเท่านัน้ แต่ปัญหาต่อมาคือเรื่ องการทรงตัว เพราะขาจมโคลน อยูค่ รึ่งเข่า กว่าจะก้ าวขาได้ แต่ละครัง้ ล�ำบากมาก ฉันคล�ำ ๆ ดูใต้ น� ้ำก็พบว่ามี วัชพืชขึ ้นอยูเ่ ต็มไปหมด รวมถึงเศษสวะอืน่ ๆ ทีล่ อยมา แต่นอกจากนันสิ ้ ง่ ทีฉ่ นั เจอ ก็คอื “กุ้งฝอย” ตัวเล็ก ๆ ทีล่ อยอยูผ่ วิ น� ้ำเพราะเมาขี ้โคลนทีเ่ ราย�ำ่ กันมา ความหวัง ที่จะเจอกุ้งแม่น� ้ำตัวใหญ่ดงั่ ที่พี่พรเคยเล่าให้ ฟังท�ำให้ การลงคลองของฉันครัง้ นี ้น่า ตืน่ เต้ นขึ ้น บรรยากาศการท�ำงานเต็มไปด้ วยความสนุก ชาวบ้ านจะแบ่งออกเป็ น สองกลุม่ โดยมีผ้ นู ำ� ชุมชนทีเ่ ป็ นเจ้ าของพื ้นทีใ่ นวันนันเป็ ้ นแกนน�ำหลักในการท�ำงาน กลุม่ หนึง่ เริ่มต้ นจากจุดเริ่ม อีกกลุม่ เริ่มต้ นจากจุดสิ ้นสุดเลาะคลองไล่ขึ ้นมาเรื่อย ๆ

10

จนกว่าทังคู ้ จ่ ะมาบรรจบกันตรงกลาง ระหว่างท�ำงานจะมีฝ่ายสวัสดิการพายเรือ ตามเพือ่ แจกเครื่องดืม่ ดับกระหายให้ แก่ผ้ ทู อี่ ยูใ่ นน� ้ำด้ วย ขณะทีส่ องมือดึงเศษวัชพืช และสองเท้ าพยายามเดินไปข้ างหน้ า ภาพที่ ฉันเห็นคือชาวบ้ านก�ำลังร่วมมือกันเพื่อพัฒนาชุมชนของตัวเองโดยไม่ต้องรอความ ช่วยเหลือจากส่วนกลาง สร้ างระบบการช่วยเหลือกันในชุมชนจนเข้ มแข็ง แต่สงิ่ ที่ เห็นสังเกตเห็นอีกอย่างหนึง่ ระหว่างอยูใ่ นคลอง คือ ผู้ทลี่ งมาท�ำกิจกรรมนี ้จะเป็ น วัยผู้ใหญ่เสียส่วนมาก ฉันยังมองไม่เห็นคนหนุม่ สาวทีก่ ำ� ลังจะก้ าวมารับช่วงต่อมาก เท่าไรนัก พาลสงสัยว่าการลงแขกลงคลองจะด�ำรงอยู่ท่ามกลางกระแสแห่งความ เปลีย่ นแปลงได้ นานแค่ไหน? ทังเรื ้ ่องช่องว่างทางความคิดของคนรุ่นใหม่และคนรุ่น เก่า รวมไปถึงการยึดถือผลประโยชน์สว่ นตนมากกว่าส่วนรวม พีพ่ รให้ ความเห็นกับฉันว่าทุกอย่างย่อมมีการเปลีย่ นแปลง คนในชุมชนก็ แค่คอ่ ย ๆ ปรับตัวไป ขณะทีก่ �ำนันธวัช สุขประเสริฐ ก�ำนัน ต.บางคนที บอกว่าต่อ ให้ ภายนอกเปลีย่ นไป แต่ภายในยังเหมือนเดิม จิตส�ำนึกรักบ้ านเกิดจะเพิม่ ขึ ้นตาม เวลา ถ้ าวางรากฐานไว้ แข็งแกร่งมากพอคนรุ่นใหม่กจ็ ะเข้ ามาต่อยอดได้ งา่ ยขึ ้น ฉัน - ในฐานะของคนรุ่นใหม่ มองว่าการเชือ่ มช่องว่างระหว่างคนสองรุ่นใน ชุมชนให้ กลมกลืนกันให้ ได้ เป็ นโจทย์ใหญ่ของทุกคนในชุมชน เพราะหากคนรุ่นใหม่ รู้สกึ ว่าเขาเป็ นส่วนหนึง่ ของชุมชน เขาก็จะรักษาสิง่ ทีบ่ รรพบุรุษได้ สร้ างเอาไว้ ไม่ใช่ เพียงแค่เรื่องลงแขกลงคลองเท่านัน้ แต่ยงั รวมไปถึงภูมปิ ั ญญาท้ องถิ่นอืน่ ๆ อีกด้ วย คงจะดีไม่น้อยหากในอีก 30 ปี ข้ างหน้ าบางคนทีก็จะยังเป็ นต้ นแบบการลงแขกลง คลองให้ ผ้ ทู สี่ นใจเข้ ามาศึกษาอยู่ ตะวันเคลือ่ นตัวมาเกือบจะตรงศีรษะเมือ่ คุณป้าบอกให้ ฉนั ขึ ้นจากน� ้ำ จวบ จนนาทีสดุ ท้ ายฉันก็ยงั ไม่เจอกุ้ง แต่ความสนุกในระหว่างการท�ำงานยังคงอิม่ เอิบอยู่ ในร่างกาย ฉันให้ รางวัลตัวเองด้ วยก๋วยเตีย๋ วน� ้ำแดงทีช่ าวบ้ านช่วยกันท�ำมาเลี ้ยงเป็ น มื ้อกลางวัน หลังจากเหน็ดเหนือ่ ยจากงานคงไม่มใี ครปฏิเสธว่า อาหารอร่อย ๆ พร้ อม ด้ วยบทสนทนาสนุก ๆ เป็ นการพักผ่อนทีด่ ที สี่ ดุ จากแม่กลองสูค่ ลองบางคนที กระแสน� ้ำพัดพามาทังสิ ้ ง่ ทีเ่ ราต้ องการและ สิง่ ทีไ่ ม่ต้องการ ท่ามกลางอุปสรรคเหล่านัน้ เรายังได้ เห็นการน�ำ “น� ้ำใจ” มาใช้ แก้ ปั ญหาในรูปแบบของการลงแขกลงคลอง เป็ นการแก้ ปัญหาแบบ “น� ้ำต่อน� ้ำ” ว่ าแต่ ตอนนี้ใครมี “น�้ำเปล่ า” บ้ างไหม เผลอใส่ “น�้ำปลา” มากไปจน เค็มเกินแล้ ว

เตรียมตัวก่อนลงน�ำ้

1. ส�ำรวจตัวเองก่อนว่าร่างกายแข็งแรงและพร้ อมดีหรือเปล่า ถ้ าป่ วยก็อย่าฝื น เดีย๋ วอาการ จะแย่กว่าเดิมนะ 2. เตรียมเสื ้อแขนยาว กางเกงขายาว รองเท้ านินจา (คล้ ายรองเท้ าบูธแต่ทำ� จากผ้ า) และ ถุงมือให้ เรียบร้ อย เพือ่ ป้องกันอุบตั เิ หตุเบื ้องต้ น เราไม่ร้ ูนี่วา่ ในน� ้ำมีอะไรบ้ าง 3. ส�ำหรับคุณผู้หญิง ถ้ าผมยาวก็มดั ให้ เรียบร้ อย ใครใคร่ใส่หมวกเพือ่ กันแสงแดดก็ใส่มา 4. เงิน 100 บาท เป็ นกองกลางในการท�ำอาหารมากินด้ วยกันหลังจบกิจกรรม 5. ถุงหรือข้ องเอาไว้ ใส่ก้ งุ เวลาโชคดีทไี่ ด้ ก้ งุ แม่น� ้ำตัวโตเท่าข้ อมือมาเป็ นอาหารเย็น 6. บริหารปอดไว้ เยอะ ๆ เพราะคุณอาจจะข�ำจนเหนื่อยเลยล่ะ


สุขภาพ

ท้องเสีย: ภัยร้ายรับหน้าร้อน กฤตพร ธนะสิริวฒ ั น์

ช่วงอากาศเปลีย่ นแปลงหรือเปลีย่ นฤดู บางครัง้ ผูใ้ หญ่อย่างเรา ๆ ก็ปรับตัวไม่ทนั ถึงขัน้ ป่วยแบบไม่คาดคิดก็บอ่ ย ยิง่ ในปัจจุบนั ที่สภาพอากาศแปรปรวน โอกาสเกิดโรคต่าง ๆ ย่อมมีมากขึ้น

ปัจ

จุบนั อากาศเริ่มร้ อนขึ ้น แสงแดดจ้ ากับ อุณหภูมทิ เี่ พิม่ ขึ ้นไม่เพียงเป็ นสัญญาณต้ อนรับหน้ าร้ อน ที่ก�ำลังจะมาถึง แต่ยงั เป็ นสัญญาณเตือนของโรคภัยที่ มักมาคูก่ บั สภาพอากาศแบบนี ้อย่าง “ท้ องเสีย” เพราะ เชื อ้ แบคที เ รี ย ซึ่ง เป็ นสาเหตุข องอาการท้ อ งเสี ย นัน้ สามารถเจริ ญเติบ โตได้ ดีใ นอุณหภูมิสูง เราจึงต้ อง ระมัดระวังเป็ นพิเศษ โดยเฉพาะวัยเด็กที่มกั เกิดอาการ ท้ องเสียได้ งา่ ย เนื่องจากเด็ก ๆ มักยังเล่นซน จับโน่นจับ นี่ หยิบของเข้ าปากโดยไม่ล้างมือก่อน หรื อรับประทาน อาหารทีป่ นเปื อ้ นเชื ้อโรคเข้ าไป ถึงแม้ จะเป็ นปริมาณไม่ มากแต่ก็อาจท�ำให้ เด็กท้ องเสียได้ ข้ อมูลจากฝ่ ายวิชาการ โรงพยาบาลนภาลัย จ.สมุท รสงคราม ระบุว่ า อาการท้ อ งเสี ย เป็ นระบบ ป้องกันตัวเองจากสารพิษต่าง ๆ ที่เด็กได้ รับเข้ าไป ซึง่ ถือว่าเป็ นสิง่ ที่ดี แต่การขับถ่ายที่มากเกินไปก็จะท�ำให้ สูญเสียน� ้ำและเกลือแร่ในร่างกาย ท�ำให้ ออ่ นเพลีย ขาด น� ้ำ ถ้ าอาการหนักอาจเป็ นอันตรายถึงชีวติ ได้ ดังนันเมื ้ อ่ เด็กเริ่ มท้ องเสีย ผู้ปกครองควรรี บรักษาโดยให้ ดื่มน� ้ำ เกลือแร่ ซึง่ มีสว่ นผสมของเกลือและน� ้ำตาลในปริมาณ ทีเ่ หมาะสม ใช้ ทดแทนน� ้ำทีร่ ่างกายสูญเสียไปจากภาวะ ท้ องเสียได้ ดีกว่าให้ ดื่มน� ้ำเปล่าเพียงอย่างเดียว ส�ำหรับเด็กโตที่ไม่ชอบน� ้ำเกลือแร่ อาจให้ ดื่ม เครื่ องดื่มอื่น ๆ เช่น น� ้ำอัดลมที่เปิ ดขวดปล่อยไว้ ให้ แก๊ ส หายซ่าแล้ ว หรื อเครื่ องดื่มชนิดหวาน ซึง่ สามารถหาซื ้อ ได้ งา่ ยในร้ านสะดวกซื ้อใกล้ บ้าน หรือร้ านขายของช�ำใน ชุม ชน ผู้ป กครองจึ ง ควรซื อ้ ติ ด ตู้เ ย็ น ไว้ เ ผื่ อ ในกรณี ฉุกเฉิน เมือ่ เด็กหยุดถ่ายแล้ วจึงค่อย ๆ ให้ รับประทาน อาหารอ่อน ย่อยง่าย เช่น น� ้ำข้ าว โจ๊ กไม่ใส่ไข่ ข้ าวต้ ม หรื อซุปใส เช่น ต้ มกระดูกหมู จะใส่เกลือหรื อซีอิ๊วนิด หน่อยพอมี รสชาติได้ โดยให้ ทานทีละน้ อย แต่ถ้ามี อาการท้ องเสียอีกก็ต้องหยุดทานก่อน และทีส่ ำ� คัญควร

งดน� ้ำผลไม้ สด เพราะผลไม้ มีไฟเบอร์ สงู ท�ำให้ ลำ� ไส้ เกิด การระคายเคือง เป็ นสาเหตุท�ำให้ ท้องเสียมากขึ ้นได้ นอกจากนี ้ ผู้ปกครองไม่ควรให้ เด็กดื่มนม เพราะอาจท�ำให้ อาการท้ องเสียรุ นแรงขึ ้น อีกทังท� ้ ำให้ ท้ องอืด แน่นเฟ้อ เพราะร่างกายไม่สามารถย่อยสารเลค โตสที่มีอยู่ในนมได้ ท�ำให้ ระบบการย่อยอาหารและ ระบบขับถ่ายแปรปรวน ผู้ปกครองจึงควรให้ เด็กโตงด ดื่มนมไว้ ก่อน 1-2 วัน หลังจากมีอาการท้ องเสีย ส่วน เด็กเล็กที่ยงั จ�ำเป็ นต้ องดื่มนม ควรเว้ นระยะให้ หา่ งขึ ้น โดยป้อนสลับกับน� ้ำเกลือแร่ ส่วนใหญ่เมื่อผู้ปกครอง ปฏิบตั ติ ามวิธีดงั กล่าวแล้ ว เด็กก็มกั จะหายจากอาการ ท้ องเสียและกลับสูส่ ภาวะปกติได้ ในเวลาไม่นาน โดย ไม่ต้องทานยาหรื อพบแพทย์ แต่เมื่อเด็กมีอาการต่อไป นี ้ ซึง่ แสดงถึงอาการของการขาดน� ้ำค่อนข้ างมาก ควร รี บน�ำเด็กไปพบแพทย์ทนั ที •ไม่มีปัสสาวะเลยใน 4-6 ชม. •มีไข้ ร่วมกับอาการท้ องเสีย โดยไข้ สงู กว่า 38 องศาเซลเซียส •มีอาการซึม หงอยลง ไม่เล่น ไม่คยุ เหมือน ก่อน บางทีจะพบว่าเด็กจะเพลียเอาแต่นอน ในบางราย อาจดูกระสับกระส่าย เอะอะโวยวาย สลับกับอาการซึม •ขับ ถ่ า ยเป็ นมูก เลื อ ด หรื อ มี ลัก ษณะเป็ น อุจจาระเหลวปนเลือด •ในกรณีที่เป็ นเด็กเล็ก (อายุต�่ำกว่าหกเดือน) เมื่อมีอาเจียนหรื อท้ องเสียค่อนข้ างมาก ควรพบแพทย์ โดยเร็ว เพราะอาจเกิดอันตรายจากการขาดน� ้ำหรื อการ ติดเชื ้อรุ นแรงได้ ง่าย และเนื่องจากเป็ นเด็กเล็กท�ำให้ อาการต่าง ๆ สังเกตได้ ยากกว่าเด็กโต อาการท้ องเสียในเด็กนัน้ หากได้ รับการรักษา อย่างไม่ถกู วิธี มีอนั ตรายถึงชีวติ โรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต�ำบลบางคนทีได้ แนะน�ำวิธีป้องกันกันโรค ซึง่ เป็ น วิธีงา่ ย ๆ ที่ผ้ ปู กครองทุกคนสามารถท�ำได้ โดยเริ่ มจาก

การที่ ผ้ ูป กครองควรปลูก ฝั ง ให้ เ ด็ ก มี นิ สัย รั ก ความ สะอาด ฝึ กให้ เด็กล้ างมือให้ สะอาดด้ วยสบูท่ กุ ครัง้ โดย เฉพาะก่อนรับประทานอาหารและหลังจากเข้ าห้ องน� ้ำ เรื่องการบริโภคอาหารก็เป็ นอีกอย่างทีล่ ะเลย ไม่ได้ ก่อนรับประทานอาหารควรล้ างผักผลไม้ ให้ สะอาด โดยล้ างน� ้ำหลาย ๆ ครัง้ หรื อแช่ในน� ้ำเกลือประมาณ 10-15 นาที และรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ ๆ ผ่าน การปรุ งที่ถกู ต้ องปลอดภัย ระมัดระวังไม่ให้ แมลงวัน ตอมอาหาร เพราะแมลงวันเป็ นพาหะน�ำโรคต่าง ๆ ที่ อันตราย เช่น โรคบิด อาหารเป็ นพิษ อหิวาตกโรค เป็ นต้ น เมือ่ รับประทานอาหารเสร็จแล้ วควรล้ างภาชนะ ให้ สะอาดทุกครัง้ โดยใช้ น� ้ำประปาในการล้ าง ไม่ควร ล้ างด้ วยน� ำ้ จากแม่น�ำ้ คูคลอง เพราะยังไม่ผ่านการ ฆ่าเชื ้อ โอกาสที่จะมีเชื ้อโรคเจือปนสูง การดูแลความสะอาดสภาพแวดล้ อมในชุมชน ก็เป็ นเรื่ องส�ำคัญ เนื่องจาก อบต.บางคนที เป็ นชุมชนที่ มีแหล่งน� ้ำเยอะ ทุกคนจึงควรร่ วมกันดูแลรักษาความ สะอาด โดยไม่ทิ ้งขยะของเสียหรื อสิง่ ปฎิกลู ลงในแม่น� ้ำ ล�ำคลอง เพราะจะท�ำให้ น�ำ้ เน่าเสียสกปรก และเป็ น แหล่งสะสมของเชื ้อโรค ในครอบครัวที่มีเด็ก ๆ ผู้ปกครองควรรู้จกั วิธี ดูแลบุตรหลานให้ หายจากอาการท้ องเสีย และรู้ ถึง สัญญาณอันตรายจากการขาดน� ้ำที่อาจเกิดขึ ้นกับเด็ก เพื่อจะได้ รีบน�ำไปพบแพทย์ให้ ได้ รับการรักษาอย่างถูก วิธี อย่าลืมศึกษาเส้ นทางสถานพยาบาลใกล้ บ้าน เผื่อ ในกรณีฉกุ เฉินจะได้ รับมือกับสถานการณ์ได้ ทนั ที และ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือปฏิบตั ติ ามวิธีป้องกันไม่ให้ เกิดโรค เพือ่ สุขภาพที่ดีของเด็ก ๆ ในชุมชน

สถานพยาบาลแนะน�ำใกล้บ้าน

• โรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพต�ำบลบางคนที (สถานี อนามัยเดิม) ต.บางคนที อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม โทร: 034-761908 • สถานีอนามัยยายแพง ต.ยายแพง อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม โทร: 034-703635 • โรงพยาบาลนภาลัย ต.กระดังงา อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม โทร: 034-761476-8

11


เรื่องรอง

เออีซี: โอกาสการแข่งขันมะพร้าวบางคนที ชฎารัตน์ โภคะธนวัฒน์ / อภิชชญา โตวิวิชญ์

ในปี 2558 ประเทศไทยจะเข้าสูก่ ารเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ

เออีซี (ASEAN Economic Community : AEC) ซึง่ เป็ นการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ ของ 10 ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพือ่ เพิม่ อ�ำนาจในการต่อรองกับ คูค่ ้ าและเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจระดับโลก โดยเป้าหมายหนึง่ ของประชาคมซึง่ ถือเป็ นโอกาสส�ำคัญส�ำหรับเกษตรกรคือการเปิ ดเขตการค้ าเสรี ใน กลุม่ ประเทศสมาชิกเออีซี เขตการค้ าเสรี คือข้ อตกลงทีพ่ ยายามลดข้ อจ�ำกัดทางการค้ าระหว่างกลุม่ ประเทศในอาเซียน ผ่านการลดก�ำแพงภาษีศลุ กากรและข้ อกีดขวางทางการค้ าอืน่ ๆ อาจารย์สภุ าค์พรรณ ตังตรงไพโรจน์ ้ แห่งศูนย์เอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่าการเปิ ดประชาคมอาเซียนจะท�ำให้ ตลาดส่งออกของไทยกว้ างขึ ้นเนือ่ งจาก จ�ำนวนประชากรโดยรวมของประชาคมนันมี ้ มากถึง 600 ล้ านคน นอกจากนันการลด ้ ก�ำแพงภาษีจะช่วยลดต้ นทุนการผลิตเพื่อการส่งออก เพราะสามารถน�ำเข้ าวัตถุดบิ ได้ ถกู ลงและท�ำให้ สามารถส่งสินค้ าเกษตรได้ มากขึ ้น ประโยชน์อีกประการหนึง่ ที่อาจารย์สภุ าค์พรรณน�ำเสนอคือโอกาสในการ ลงทุนทีจ่ ะมีมากขึ ้น เช่น การขยายกิจการ การขยายฐานการผลิตไปยังประเทศเพือ่ น บ้ านที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ และมีต้นทุนการผลิตที่ต�่ำกว่าประเทศไทย ซึ่งถือ เป็ นการสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั ห่วงโซ่อปุ ทานสินค้ าเกษตรและอาหารของไทย

โอกาสทีม่ าพร้อมความเสีย่ ง

แม้ ว่าการเปิ ดเขตการค้ าเสรี จะเป็ นประโยชน์ต่อภาคการเกษตรของไทย แต่หากมองมุมกลับแล้ วก็เป็ นประโยชน์ส�ำหรับประเทศอื่น ๆ ในอาเซียนเช่นกัน จึงมีความเป็ นไปได้ วา่ จะส่งผลกระทบด้ านลบต่อเกษตรกรในประเทศ ผลกระทบแรก ที่ อาจารย์ ประจ� ำศูนย์ เอเชี ยศึกษากล่าวถึงคือความเสี่ยงในการสูญเสียตลาด เนื่องจากเกษตรกรหลักส่วนใหญ่ของไทยเป็ นรายย่อยซึง่ มีต้นทุนการปลูกที่สงู กว่า ประเทศอืน่ คุณอังคณา พุทธศิลป์ เจ้ าหน้ าทีส่ ำ� นักเศรษฐกิจการเกษตรระหว่างประเทศ อธิบายเสริมว่า “ในแง่การแข่งขัน ใช่วา่ เราจะเก่งคนเดียวแต่ประเทศอืน่ ๆ ในอาเซียนก็ ผลิตของคล้าย ๆ กันกับเราเหมือนกัน สมมติวา่ เขามีต้นทุนถูกกว่าและท�ำได้คณ ุ ภาพใกล้ เคียงกับเรา เขาก็จะสามารถส่งเข้ ามาแล้วแชร์ตลาดแข่งขันกับผู้ผลิตในประเทศได้ ” ผลกระทบประการที่สอง คือความเสีย่ งต่อระดับราคาผลผลิตที่เกษตรกร จะขายได้ เพราะผลิตขายเป็ นวัตถุดบิ เป็ นส่วนใหญ่ซงึ่ มีคแู่ ข่งทางการตลาดสูงกว่า ผลิตภัณฑ์แปรรูป คุณอังคณาอธิบายว่าตามหลักเศรษฐศาสตร์ กลไกราคาจะขึ ้นอยู่ กับความต้ องการซื ้อและความต้ องการขาย ถ้ าความต้ องการขายมากสินค้ าในตลาด จะมีปริ มาณเยอะราคาสินค้ าก็จะถูกลง ดังนันหากประเทศไทยเปิ ้ ดให้ มีการน�ำเข้ า สินค้ าจากประเทศเพือ่ นบ้ านมาก ๆ โดยไม่มขี ้ อกีดกันทางการค้ า ปริมาณสินค้ าใน ตลาดก็จะเพิม่ ขึ ้นและส่งผลกระทบกับระดับราคาทีเ่ กษตรกรในบ้ านเราได้ รับ

12

อย่างไรก็ตามเจ้ าหน้ าที่สำ� นักเศรษฐกิจการเกษตรชี ้แจงว่า แม้ หลักการ เขตการค้ าเสรี ควรจะเป็ นการน�ำเข้ าโดยอิสระ แต่สินค้ าเกษตรหลายชนิดยังมี กฎหมายเกีย่ วกับการน�ำเข้ าและส่งออกคุ้มครองอยู่ ดังนันทุ ้ กวันนี ้ราคาสินค้ าเกษตร บางชนิดจึงอาจไม่สะท้ อนราคาตลาดจริ ง ๆ และท�ำให้ ยงั มองไม่เห็นผลกระทบที่ ชัดเจน โดยในอนาคตอาจมีการปรับกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้ อง ทังท� ้ ำให้ เข้ มงวดขึ ้นหรือ ยืดหยุน่ ลง ขึ ้นอยูก่ บั ความอ่อนไหวของสินค้ า หากเป็ นสินค้ าที่มีความส�ำคัญ ส่ง ผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และจ�ำเป็ นต้ องใช้ เวลา ในการสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั อุตสาหกรรมประเภทนัน้ ก็จะมีการเจรจายืดเวลา การลดภาษีออกไปก่อน ส�ำหรับประเทศไทยได้ จดั ให้ ไม้ ตดั ดอก มันฝรั่ง กาแฟ และ เนื ้อมะพร้ าวอยูใ่ นรายการสินค้ าอ่อนไหวทีย่ ดื เวลาการลดภาษีออกไป ส่วนผลกระทบประการสุดท้ าย คือเรื่ องของการเคลื่อนย้ ายสินค้ าที่ ประเทศเพือ่ นบ้ านอาจมีประสิทธิภาพสูงกว่า เนือ่ งจากเคลือ่ นย้ ายได้ สะดวกรวดเร็ว ซึง่ จะส่งผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ คุณสุรชาติ นิลศาสตร์ ชาวสวนมะพร้ าว ต.บางคนทีกล่าวว่า ค่าขนส่งถือเป็ นปั จจัยส�ำคัญในการเจาะตลาดมะพร้ าวประเทศ อืน่ ในอาเซียน หากสามารถส่งออกโดยไม่เสียค่าขนส่งแพงเกินไปก็จะขายได้ ดี

มะพร้าวไทยสูต่ ลาดอาเซียน

ส�ำหรับมะพร้ าวที่เป็ นผลผลิตหลักทางการเกษตรของชาวบางคนทีนนั ้ สถิติของส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ การค้ าซึง่ เก็บข้ อมูลด้ านศักยภาพในการ แข่งขันของมะพร้ าวไทยเมื่อปี 2555 ชี ้ว่าประเทศในกลุม่ อาเซียนเป็ นแหล่งผลิต มะพร้ าวที่สำ� คัญของโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศอินโดนีเซียและฟิ ลปิ ปิ นส์ซงึ่ มีผลผลิตคิดเป็ นร้ อยละ 30 และร้ อยละ 26 ของผลผลิตรวม ส่วนประเทศไทยมี ปริ มาณการผลิตที่ลดลงถึงร้ อยละ 22.9 เนื่องจากปั ญหาภัยแล้ ง แมลงศัตรู พืช ระบาด การขยายตัวของเขตเมืองและพื ้นทีอ่ ตุ สาหกรรม รวมถึงผลตอบแทนทีไ่ ด้ รับ น้ อยลงจึงไม่จงู ใจให้ เกษตรกรขยายพื ้นทีก่ ารปลูก


เรื่องรอง

นอกจากนันสถิ ้ ติยงั ระบุว่า กลุ่มประเทศในอาเซียนส่งออกมะพร้ าวสู่ ตลาดโลกมากทีส่ ดุ คิดเป็ นร้ อยละ 78 ของการส่งออกทังหมด ้ โดยประเทศทีส่ ง่ ออก สูงสุดคืออินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ เวียดนาม และไทยตามล�ำดับ ขณะเดียวกัน ประเทศไทยเริ่มน�ำเข้ ามะพร้ าวจากประเทศเพือ่ นบ้ านมากขึ ้น ซึง่ ส�ำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ การค้ าวิเคราะห์วา่ ประเด็นปั ญหาของไทยคือเรื่องขีดความสามารถใน การแข่งขัน เนื่องจากผลผลิตภายในประเทศมีจ�ำนวนน้ อยลงจนต้ องมีการน�ำเข้ า มะพร้ าวมากขึ น้ ซึ่ ง ในอนาคตจะท� ำ ให้ ต้ นทุ น การผลิ ต สิ น ค้ ามะพร้ าวใน ภาคอุตสาหกรรมสูงขึ ้น สอดคล้ องกับทีค่ ณ ุ อังคณาให้ ความเห็นว่าอินโดนีเซียและฟิ ลปิ ปิ นส์เป็ น คูแ่ ข่งส�ำคัญเพราะเป็ นประเทศที่มีประสิทธิภาพทางการผลิตและส่งออกมะพร้ าว เป็ นอันดับต้ น ๆ ของโลก อีกทังต้ ้ นทุนการผลิตของประเทศไทยนัน้ เมือ่ เปรียบเทียบ แล้ วสูงกว่าประเทศอืน่ พอสมควร ด้ วยนโยบายค่าแรงขันต� ้ ำ่ 300 บาทท�ำให้ ราคา สินค้ าและบริการสูงตามไปด้ วย คุณสุรชาติยอมรับว่าการเปิ ดประชาคมอาจส่งผลต่อราคามะพร้ าวในไทย เพราะมะพร้ าวของเพือ่ นบ้ านทีม่ รี าคาถูกกว่าจะเข้ ามาแบ่งส่วนแบ่งทางการตลาด แต่ต นยัง มองว่า เป็ นโอกาสเพราะเขตการค้ า เสรี จ ะท� ำ ให้ ต ลาดเปิ ดกว้ า งขึน้ เกษตรกรไทยสามารถส่งสินค้ าไปประเทศใกล้ เคียงที่คา่ ขนส่งถูกอย่างเวียดนาม หรือลาวได้ โดยไม่เสียภาษี “เมื่อไม่ต้องเสียภาษีก็ถือว่าได้ ประโยชน์กนั ทังสองฝ่ ้ าย ดังนันในแง่ ้ ของ การแข่งขันก็ต้องขึ ้นอยู่กบั ผลิตภัณฑ์ ถ้ ามีคณ ุ ภาพก็ส้ ไู ด้ คนสวนจึงต้ องท�ำให้ มี คุณภาพ” คุณสุรชาติกล่าว

ศักยภาพการแข่งขันของไทยในเออีซี

อาจารย์ศนู ย์เอเชียศึกษายืนยันว่าภาคการเกษตรของไทยมีศกั ยภาพ ทางการแข่งขันในอาเซียนเพียงพอ ทังสภาพแวดล้ ้ อมและลักษณะทางภูมศิ าสตร์ ของประเทศที่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก หรื อการเป็ นผู้สง่ ออกสินค้ าเกษตรหลัก เป็ นอันดับต้ น ๆ ของโลกโดยมีภาพลักษณ์สนิ ค้ าทีด่ ี เป็ นทีย่ อมรับในตลาดโลก อีก ทังยั ้ งมีเทคโนโลยีการแปรรู ปที่ทนั สมัย ผู้ประกอบการแปรรู ปและผู้ส่งออกก็มี ศักยภาพสูงเมือ่ เทียบกับคูแ่ ข่ง ส่วนเกษตรกรก็มคี วามรู้ด้านการเกษตรทีด่ ี สามารถ รวมกลุม่ เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน หรือมีระบบสหกรณ์ทเี่ ข้ มแข็ง อย่างไรก็ตาม ปฏิเสธไม่ได้ วา่ ประเทศไทยยังมีจดุ อ่อน นอกจากเรื่องของ ต้ นทุนการผลิตทีส่ งู กว่าประเทศเพือ่ นบ้ านด้ วยเหตุผลเรื่องค่าแรง และเกษตรกรเกิน ร้ อยละ 80 เป็ นรายย่อยท�ำให้ มีต้นทุนและการพัฒนาการผลิตสูงดังทีก่ ล่าวไว้ ข้าง ต้ นแล้ ว ก็ยงั มีเรื่องผลผลิตต่อไร่ทมี่ แี นวโน้ มต�ำ่ ลง ตัวอย่างเช่นสวนมะพร้ าวบางแห่ง ที่พื ้นที่กว่าครึ่ งมีสภาพเป็ นสวนเก่า ต้ นมีอายุมากและขาดการดูแล ข้ อมูลของ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรปี 2555 ชี ้ว่าผลผลิตมะพร้ าวลดลงเหลือ 750 กก. ต่อไร่ จากที่เคยสูงกว่า 900-1000 กก.ต่อไร่ มาโดยตลอดตังแต่ ้ ปี 2542-2552

นอกจากนัน้ การพึง่ พาตลาดส่งออกเป็ นหลักซึง่ ยังคงต้ องอาศัยคนกลางอย่างประเทศ สิงคโปร์ หรือการเน้ นขายผลผลิตเป็ นวัตถุดบิ ก็เป็ นอีกปั ญหาหนึง่ เพราะท�ำให้ ได้ ราย ได้ น้อยและมีระยะเวลาการเสือ่ มของสินค้ าเร็ว

มาตรการเพือ่ รับมือตลาดใหม่

ด้ วยจุดแข็งจุดอ่อนดังกล่าว ภาคการเกษตรของไทยจึงควรเตรี ยมพร้ อม รับมือกับโอกาสและความเสีย่ งทีจ่ ะเข้ ามาพร้ อมการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แนวทางการปรับตัวของเกษตรกรทีอ่ าจารย์สภุ าค์พรรณน�ำเสนอประการแรกคือต้ อง เร่ งสร้ างความเข้ าใจให้ เกษตรกรตระหนักถึงผลกระทบจากการเปิ ดประชาคม คุณอังคณาอธิบายเสริมว่ารัฐควรมีการพัฒนาเกษตรกร (Smart Farmer) โดยการ สนับ สนุน แหล่ง เรี ย นรู้ จากชาวบ้ า น จัด ตัง้ ศูน ย์ ส� ำ หรั บ ผู้มี ค วามสามารถด้ า น การเกษตรมาถ่ายทอดความรู้ให้ เกษตรกรคนอืน่ ประการต่อมาเกษตรกรและหน่วยงานรัฐต้ องเพิม่ สมรรถภาพทางการผลิต และลดต้ นทุนการผลิตลง โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อยควรร่วมกลุม่ ก�ำหนดเขตแดน (Zoning) เพือ่ ปลูกพืชสายพันธุ์เดียวกัน รวมกลุม่ ซื ้อปุ๋ยหรือยาปราบศัตรูพชื ประการทีส่ ามให้ ใช้ การตลาดน�ำการผลิตโดยส่งเสริมแนวทางเกษตรอินทรีย์ หรื อการท�ำเกษตรอย่างเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้ อม สอดคล้ องกับโครงการที่เจ้ าหน้ าที่ อังคณาเสนอคือ เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) และการเกษตรแบบปลอดวัสดุ เหลือใช้ (Zero Waste) ซึง่ นอกจากจะช่วยลดต้ นทุนการผลิตแล้ วยังสามารถเพิ่ม มูลค่าให้ กบั สินค้ าได้ อกี ด้ วย ประการที่สี่ ให้ มงุ่ เน้ นไปที่ตลาดเชิงคุณภาพเพื่อหนีการแข่งขันด้ านราคา ควบคูไ่ ปกับการสร้ างพันธมิตร รวมกลุม่ ผู้ผลิตในอาเซียนเพื่อลดการขายตัดราคา คุณอังคณากล่าวว่าปั จจุบนั ก�ำลังมีการผลักดันให้ การเกษตรประเทศไทยมีมาตรฐาน จีเอพี (Good Agricultural Practice: GAP) คือการท�ำเกษตรตามแนวปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้ องเพือ่ ให้ ผลิตภัณฑ์ทอี่ อกมามีคณ ุ ภาพดีและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ประการสุดท้ ายให้ ศึกษาข้ อมูลเกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้ านเพื่อหา โอกาสและลดอุปสรรค รวมถึงการหาลู่ทางเพือ่ ขยายการลงทุนไปยังประเทศ ใกล้ เคี ยง ส�ำหรั บชาวสวนมะพร้ าวอย่ างคุ ณสุ รชาติยืนยั นว่ าข้ อมู ลเป็ น สิ่งส�ำคัญและจ�ำเป็ นมาก หากคิดตามหลักการพื้นฐานถ้ าเราซื้อมาถูก และ ขายได้ แพงก็จะได้ กำ� ไร ดังนั้นเกษตรกรจึงต้ องคอยติดตามตลาดเพือ่ รู้เท่ าทัน และมองเห็นช่ องทางในการลงทุน

“ทุกอย่างต้องขวนขวายเราถึงจะได้มา เรารอใครไม่ได้ เพราะเราต้องแข่งขัน” - คุณสุรชาติแห่งสวนมะพร้ าวบางคนที สรุป-

13


บทความ

การค้าที่เป็นธรรม: ทางออกราคาสินค้าเกษตรตกต�่ำ

วรรณรัตน์ กล�่ำสมบัติ

หลักการแฟร์เทรด 10 ข้อ 1. สร้างโอกาสส�ำหรับผู้ผลิตที่ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจ 2. มีความโปร่งใสและความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงาน 3. มีความสัมพันธ์ทางการค้าที่ดี 4. ให้ราคายุติธรรม 5. ไม่ใช้แรงงานเด็กและแรงงานบังคับ 6. ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่กีดกันทางเพศ สีผิว เชื้อชาติ ศาสนา หรืออายุ 7. มีหลักประกันสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ดี ปลอดภัย 8. มีการพัฒนาศักยภาพผู้ผลิต 9. มีการประชาสัมพันธ์การค้าที่เป็นธรรม 10. ให้ความส�ำคัญกับการรักษาสิ่งแวดล้อม ข้อมูลจาก: สหกรณ์กรีนเนท จ�ำกัด

ปัญหาราคาผลผลิตตกต�่ำเป็นปัญหาส�ำคัญที่ประเทศเกษตรกรรมทั่วโลกประสบมายาวนาน เช่นเดียวกับประเทศไทยที่มักมีข่าวการรวมตัวของเกษตรกรเพื่อเรียกร้องให้รัฐเร่งหามาตรการช่วยเหลือ

อบต.

14

บางคนที เป็ นหนึ่ง ในชุม ชนที่ ประชากรส่วนใหญ่ยดึ อาชีพเกษตรกร โดยเฉพาะการ ท�ำสวนมะพร้ าวเกษตรกรรายย่อยหลายครัวเรือนทีไ่ ม่มี ก�ำลังหรื อเวลาพอจะแปรรูปผลผลิตด้ วยตนเอง จ�ำต้ อง ขายผลผลิตในสวนของพวกเขา แม้ วา่ ช่วงนันราคาจะ ้ ตกต�่ำจนขาดทุนก็ตาม “ต่า งคนต่า งขาย เพราะ (ราคามะพร้ าว) ตกมันก็ตกเหมือนกันหมด มันก็ต้องขายในราคานี ้ เอา ไว้ ก็ไม่ร้ ูจะไปท�ำอะไร” นางคนึงนิจ ดวงภุมเมศ เจ้ าของ สวนมะพร้ าวใน ต.บางคนที เล่าถึงการจัดการในช่วง มะพร้ าวราคาตกต�่ำ นอกจากเกษตรกรรายย่อยซึง่ เป็ นผู้ได้ รับผล กระทบโดยตรงแล้ ว ผู้บริ โภคเองก็ตระหนักถึงปั ญหานี ้ เช่นกัน ดังนัน้ ตังแต่ ้ ช่วงพ.ศ.2513-2522 เป็ นต้ นมา ประเทศที่พฒ ั นาแล้ วทังฝั ้ ่ งอเมริ กาและยุโรปจึงเริ่ มสัง่ ซือ้ สินค้ าจากผู้ผลิตในประเทศก� ำลังพัฒนา โดยใช้ แนวคิด “การค้ าที่เป็ นธรรม” หรื อ “แฟร์ เทรด (Fair Trade)” เพื่อช่วยเหลือผู้ผลิตไม่ให้ ถกู เอาเปรี ยบทังใน ้ ด้ านแรงงาน และราคาสินค้ า “แฟร์ เทรด” เป็ นระบบการค้ าทางเลือกทีส่ ร้ าง ความเป็ นธรรมแก่ผ้ มู สี ว่ นเกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย ตังแต่ ้ ผ้ ผู ลิต แปรรูป จัดจ�ำหน่าย ไปจนถึงผู้บริ โภค สินค้ าในระบบ แฟร์ เทรดมีทงสิ ั ้ นค้ าเกษตรและงานหัตถกรรม ซึง่ องค์กร แฟร์ เทรดรับซื ้อจากผู้ผลิตในราคาที่สงู กว่าราคาตลาด แล้ วน�ำไปจ�ำหน่ายทัว่ โลกตามช่องทางต่าง ๆ เช่น ร้ าน จ�ำหน่ายสินค้ าแฟร์ เทรดโดยเฉพาะ ซูเปอร์ มาร์ เก็ต และ การสัง่ ซื ้อผ่านอินเทอร์ เน็ต เหตุทสี่ นิ ค้ าติดฉลากแฟร์ เทรดสามารถขายได้ แพงกว่าราคาตลาดเป็ นเพราะสินค้ าเหล่านีผ้ ่านการ รับรองมาตรฐานจากองค์กรแฟร์ เทรดระดับโลก ท�ำให้ ผู้ บริ โ ภคมั่ น ใจได้ ว่ า เป็ นสิ น ค้ าที่ มี คุ ณ ภาพ ผ่ า น กระบวนการผลิตทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม และไม่มกี าร กดขี่ แ รงงาน โดยส่ ว นเกิ น ที่ ลูก ค้ า ยิ น ดี จ่ า ย (เงิ น พรี เมียม) จะถูกน�ำไปใช้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ แรงงานในประเทศก�ำลังพัฒนาอย่างแท้ จริ ง ส�ำหรับประเทศไทยแนวคิดเรื่ องการค้ าที่เป็ น

ธรรมนันมี ้ มากว่า 40 ปี แล้ ว บทความ คุณรู้จกั “แฟร์ เทรด” ดีแค่ไหน? และ แฟร์ เทรด คอนเซ็ปต์ดี แต่เข้าถึง ยาก? ของ ดร.วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ ซึง่ เป็ นส่วนหนึง่ ของ โครงการวิจยั การเข้าถึ งตลาดสิ นค้า FairTrade ใน สหภาพยุ โ รป: โอกาสด้ า นการส่ ง ออกส� ำ หรั บ ประเทศไทย ระบุวา่ ขบวนการแฟร์ เทรดในประเทศไทย เริ่ มขึ ้นตังแต่ ้ พ.ศ.2516 โดยมูลนิธิ คริ สเตียน เซอร์ วิส (Christian Service Foundation) ที่สง่ ออกผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมของชาวเขาภาคเหนือไปจ�ำหน่ายให้ กบั เครื อ ข่ายคริ สเตียนในยุโรป แม้ จะไม่ใช่เรื่ องใหม่ แต่ปัจจุบนั แฟร์ เทรดยัง ไม่แพร่ หลายในประเทศไทย ดร.วิไลลักษณ์อธิบายว่า เหตุที่ เ ป็ นเช่ น นัน้ เพราะประชาชนยัง ไม่ ค่ อ ยเข้ า ใจ แนวคิดเรื่ องการค้ าที่เป็ นธรรม นอกจากนี ้ การด�ำเนิน การของผู้ผลิตเพื่อให้ ได้ รับเครื่ องหมายแฟร์ เทรดก็มี อุปสรรคหลายประการ โดยเฉพาะด้ านภาษาและเงิน ทุน เนื่องจากต้ องท�ำเอกสารขอการรับรองจากองค์กร แฟร์ เทรดในต่างประเทศ รวมทังต้ ้ องเสียค่าธรรมเนียม ประมาณ 500 ยูโรหรื อประมาณ 25,000 บาท การผลักดันสินค้ าเกษตรของชุมชนให้ ได้ รับ มาตรฐานแฟร์ เทรดอาจยังไม่ราบรื่ นนัก แต่ก็มีความ เป็ นไปได้ เพราะมีกลุ่มเกษตรกรที่ประสบความส�ำเร็ จ แล้ ว หนึง่ ในนันคื ้ อ “วิสาหกิจชุมชนกลุม่ สหกรณ์ผ้ ปู ลูก สับปะรดแฟร์ เทรด” อ.สามร้ อยยอด จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ ทีผ่ ลิตสับปะรดผลสดทังเพื ้ อ่ ส่งขายในประเทศ และเป็ น วัต ถุดิ บ ในการแปรรู ป เป็ นน� ำ้ สับ ปะรดเข้ ม ข้ น และ สับปะรดกระป๋ องเข้ าสู่ตลาดยุโรป ให้ บริ ษัทสามร้ อย ยอด จ�ำกัด ซึง่ เป็ นโรงงานแปรรูปทีเ่ ข้ าร่วมโครงการแฟร์ เทรดเช่นกัน นางสาวอมรรัตน์ อนุรักษ์ วงศ์ศรี เจ้ าหน้ าที่ แฟร์ เทรดประจ�ำกลุม่ เล่าถึงความเป็ นมาของวิสาหกิจ ชุม ชนว่า ผู้ซื อ้ คื อ แฟร์ เ ทรด ออริ จิ น อล ประเทศ เนเธอร์ แลนด์ มาติดต่อที่สหกรณ์ชาวไร่ สบั ปะรดสาม ร้ อยยอดจ�ำกัด ขอให้ คดั เลือกสมาชิกเพื่อจัดตังกลุ ้ ่ม น�ำร่องส�ำหรับขอการรับรองมาตรฐานแฟร์ เทรด โดยผู้ ซื ้อรับผิดชอบค่าสมัครและค่าตรวจรับรองครัง้ แรกให้ ทังยั ้ งมีที่ปรึ กษาซึ่งเป็ นคนไทยมาท�ำความเข้ าใจและ

ช่วยเตรี ยมเอกสาร เจ้ าหน้ าที่ แฟร์ เทรดประจ�ำกลุ่มยังเสริ มว่า เนื่ อ งจากเกษตรกรในระบบแฟร์ เ ทรดมี ข้ อปฏิ บัติ มากกว่าเกษตรกรทั่วไป เจ้ าหน้ าที่กลุ่มจึงต้ องสร้ าง ความเข้ าใจให้ กบั สมาชิกโดยแปลมาตรฐานแฟร์ เทรด เป็ นภาษาไทย และอบรมให้ ความรู้ในเรื่ องต่าง ๆ เช่น กระบวนการปลูกทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม สารเคมีต้อง ห้ าม เป็ นต้ น “ทางกลุม่ จะได้ รับเงินพรี เมียมจากลูกค้ า คือ ผู้บ ริ โ ภคเขาจ่ า ยกลับ มาให้ เ รา สมมุติ ว่ า สับ ปะรด กระป๋ องที่ซื ้อต่างประเทศกระป๋ องละ 50 บาท แต่ของ เรากระป๋ องละ 60 บาท เราก็จะได้ สว่ นต่างตรงนี ้ส่งกลับ มาที่กลุม่ เพื่อให้ สมาชิกกลุม่ ได้ ใช้ พฒ ั นากลุม่ พัฒนา สังคม ชุมชน สิง่ แวดล้ อม” นางสาวอมรรัตน์กล่าวถึงข้ อ ได้ เปรี ยบของการผ่านมาตรฐานแฟร์ เทรด เอกสารของโครงการพัฒนาโซ่อปุ ทานภายใต้ หลักการ “การค้ าเป็ นธรรม” (Fair Trade) โดยแฟร์ เทรด ออริจินอล (Fair Trade Original) ประเทศเนเธอร์ แลนด์ ระบุวา่ ปั จจัยทีท่ ำ� ให้ วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ สหกรณ์ผ้ ปู ลูก สับ ปะรดแฟร์ เ ทรดประสบความส� ำ เร็ จ ได้ แ ก่ ก าร สนับสนุนด้ านงบประมาณและก� ำลังคนจากสหกรณ์ ชาวไร่ สับปะรดสามร้ อยยอดจ� ำกัดประกอบกับการ สนับสนุนด้ านการพัฒนาสินค้ าและพัฒนาตลาดจาก แฟร์ เทรด ออริ จินอลและที่ส�ำคัญที่สดุ คือ ความตังใจ ้ และเปิ ดรับการพัฒนาด้ านต่าง ๆ ของสมาชิกกลุม่ ความร่วมมือร่วมใจของคนในพื ้นที่ และการ เปิ ดรับโอกาสจากภายนอก คือแรงผลักดันทีท่ ำ� ให้ สนิ ค้ า เกษตรของชุมชนผ่านการรับรองมาตรฐานแฟร์ เทรด ไม่เพียงแต่ตวั สินค้ าที่จะได้ รับการประกันทังคุ ้ ณภาพ และราคา ทังยั ้ งสามารถส่งออกได้ หลายประเทศทัว่ โลก แต่เ กษตรกรเองก็ จ ะได้ รั บ การประกัน คุณ ภาพชี วิ ต เพราะหลักการของแฟร์ เทรดครอบคลุมถึงเรื่ องสุขภาพ และสวัสดิการของผู้ผลิตด้ วย การค้ าทีเ่ ป็ นธรรม จึงไม่ ใช่ ทางออกทีไ่ กล เกินเอื้อมส�ำหรั บชุมชน


15


ท่องเที่ยว

ตลาดน�้ำบางน้อย

วิถีชีวิตชุมชนเข้มแข็งเพื่อการพัฒนา ในอดีต ตลาดน� ้ำทุกแห่งต้องพึ่งพาอาศัย

แม่น� ้ำล�ำคลองเป็ นเส้ นทางส�ำคัญในการคมนาคมและ การค้ าขาย เช่นเดียวกับตลาดน� ้ำบางน้ อย ซึง่ เป็ นที่ตงั ้ ของชุมชนเกาะแก้ วพัฒนา ต.กระดังงา อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม ท�ำให้ ชวี ติ ของชาวชุมชนริมฝั่ งคลองแห่ง นี ้ ผูกพันอยูก่ บั สายน� ้ำมาเป็ นเวลานาน เมื่อกาลเวลาผันเปลี่ยนน�ำความเจริ ญมาสู่ ชุม ชน มี ถ นนหนทางเข้ า ถึง อย่า งสะดวก ตลาดน� ำ้ บางน้ อยกลายเป็ นสถานที่ทอ่ งเที่ยวทางวัฒนธรรมอีก แห่ ง หนึ่ ง ที่ ยัง ด� ำ รงไว้ ซึ่ง เอกลัก ษณ์ แ ละความเป็ น ธรรมชาติของชีวติ ริมฝั่ งคลอง ไม่วา่ จะเป็ นบรรยากาศที่ สงบร่มรื่น เรือนไม้ ตลอดริมสองฝั่ งคลอง ภูมปิ ั ญญาชาว บ้ านอันเป็ นวิถชี วี ติ แบบดังเดิ ้ ม เช่น การด�ำน� ้ำจับกุ้ง การ ตักบาตรทางเรือ สิง่ เหล่านี ้ล้ วนเป็ นเสน่ห์ทไี่ ม่ได้ ปรุงแต่ง ซึง่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ วผู้รักความสงบ ให้ ลองมาสัมผัสกับ บรรยากาศร่มรื่นและวิถชี วี ติ ของชาวชุมชนตลาดน� ้ำบาง น้ อยสักครัง้ เบื ้องหลังความเรียบง่ายของวิถชี วี ติ ริมสายน� ้ำ และการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ของตลาดน� ้ำ แห่งนี มี้ พลังความเข้ มแข็งของคนในชุมชนคอยหนุนหลัง และส่งผลให้ ความสงบยังคงอยูค่ กู่ บั ชาวชุมชนบางน้ อย มาจนทุกวันนี คุ้ ณลาวัณย์ เชิดชู ประธานชุมชนเกาะแก้ ว พัฒนาและประธานชมรมคนรักตลาดปากคลองบางน้ อย เล่าว่า บทบาทของตลาดน� ้ำบางน้ อยในการอนุรักษ์ วถิ ี ชีวติ ชุมชน เกิดจากการทีช่ าวบ้ านต้ องการน�ำผลิตภัณฑ์ ของคนในชุมชนมาขาย โดยเน้ นให้ โอกาสกับคนในชุมชน ก่อนเป็ นหลัก “การรวมกลุม่ กันมันไม่ได้ มาจากคนคนเดียว แต่มาจากบุคคลหลายคน เหมือนเป็ นเกราะให้ เราด้ วย เวลาจะท�ำอะไร เพราะมาจากเสียงหลายเสียง ทาง เทศบาลก็จะรับฟั งเรามากขึ ้น” คุณลาวัณย์ เชิดชูกล่าว

16

ชฎารัตน์ โภคะธนวัฒน์ ต่อมา คนในชุมชนจึงร่วมกันก่อตังชมรมคนรั ้ ก ตลาดปากคลองบางน้ อยขึ ้น โดยมีพอ่ ค้ าแม่ค้าในชุมชน เป็ นสมาชิกและคนในชุมชนร่วมเป็ นคณะกรรมการชมรม ชมรมนี ้ช่วยกันดูแลเรื่ องกิจการค้ าขายภายในบริ เวณ ตลาดน� ้ำ และจัดการประชุมเป็ นประจ�ำทุกเดือน เพือ่ น�ำ ความเห็นของพ่อค้ าแม่ค้าซึ่งเป็ นสมาชิกชมรมเข้ าที่ ประชุมเพือ่ การพัฒนาต่อไป คุณเกรียงศักดิ์ เพชรจันทรานนท์ กรรมการชมรม คนรักตลาดปากคลองบางน้ อย และเจ้ าของร้ านก๋วยเตีย๋ ว ต้ มย�ำมะนาวเจ๊ สงวน อธิบายว่า ในการประชุมแต่ละครัง้ สมาชิ ก ในชมรมก็ ส ามารถเข้ า ร่ ว มประชุม กับ คณะ กรรมการได้ ด้วย และหลังจากการประชุมทุกครัง้ จะมี รายงานการประชุมแจกสมาชิกทุกคนให้ ได้ รับรู้ขา่ วสาร อย่างทัว่ ถึง บทบาทของชมรมคือการจัดกิจกรรมขึ ้นใน ตลาดเพือ่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ ว ทังกิ ้ จกรรมทางศาสนา เช่น ตักบาตรทางเรือ สรงน� ้ำพระ และกิจกรรมตามเทศกาล ประจ�ำปี ตา่ ง ๆ เช่น วันลอยกระทง เป็ นต้ น สมาชิกชมรม แต่ละคนจะลงขันกันสัปดาห์ละ 10 บาทเพือ่ สะสมเป็ นเงิน ส�ำหรับจัดกิจกรรม เช่น การท�ำป้ายประชาสัมพันธ์ หรือสือ่ โฆษณาทีไ่ ม่ต้องใช้ งบประมาณมาก เพือ่ จะได้ ไม่ต้องรอ คอยความช่วยเหลือจากเทศบาลแต่เพียงฝ่ ายเดียว การดูแลตลาดน� ้ำบางน้ อย จ�ำเป็ นต้ องอาศัย การเกื ้อกูลกันของทังชุ ้ มชนเกาะแก้ วพัฒนาและชมรมคน รักตลาดปากคลองบางน้ อย คุณลาวัณย์เล่าว่า กรรมการ ชมรม ฯ หลายคนควบต�ำแหน่งกรรมการชุมชน ฯ ด้ วย แม้ จะเป็ นการสวมหมวกสองใบ แต่ก็นับว่าเป็ นข้ อดี เพราะคณะกรรมการชุมชน ฯ ซึง่ เป็ นผู้เข้ าร่วมประชุมกับ เทศบาล ต.กระดังงา จะเข้ าใจความต้ องการของชมรม ฯ ซึง่ เป็ นคนค้ าขายในตลาด และสามารถน�ำสิง่ ที่สมาชิก ชมรม ฯ ต้ องการไปหารื อกับเทศบาลได้ ขณะเดียวกัน ชมรม ฯ ก็จะให้ การสนับสนุนชุมชน ฯ ในด้ านงบประมาณ ได้ เช่นกัน

การรวมกลุ่มกันท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ของชาว ชุมชนริมคลองบางน้ อย ทังเพื ้ ่อดึงดูดนักท่องเที่ยวและ เพือ่ รักษาวิถีชวี ติ ดังเดิ ้ มแสดงให้ เห็นถึงความเป็ นชุมชน เข้ มแข็ง และเป็ นแรงผลักดันให้ ชมุ ชนอันเป็ นที่รักของ พวกเขา เป็ นแหล่งท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจแต่ไม่พลุกพล่าน ความพยายามในการอนุรกั ษ์ตลาดน� ้ำกลางวัน ซึง่ ไม่ขาย ของล่วงไปจนถึงเวลากลางคืน ท�ำให้ การท่องเที่ยวไม่ กระทบต่อวิถีชีวิตอันสงบสุขแบบที่เคยเป็ นมาของชาว บ้ าน และไม่กลายเป็ นตลาดธุรกิจแบบเต็มตัว แม้ วา่ ในปั จจุบนั บทบาทของตลาดน� ้ำบางน้ อย จะเปลีย่ นแปลงไป จากการเป็ นตลาดนัดน� ้ำและตลาด นัดบกที่สำ� คัญในอดีต มาสูก่ ารเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรกั ษ์ทางวัฒนธรรม แต่ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน ก็ยงั คงเข้ มแข็งและเหนียวแน่นด้ วยการประนีประนอม และการรวมกลุม่ กันเพื่อสร้ างประโยชน์สว่ นรวมให้ แก่ ชุมชน ชาวบ้ านและพ่อค้ าแม่ค้าในชุมชนจึงสามารถ พัฒนาให้ ตลาดน� ้ำบางน้ อยกลายเป็ นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ทีน่ า่ สนใจ โดยยังคงไว้ ซงึ่ วิถชี วี ติ ทีส่ งบเรียบง่าย อันเป็ น เสน่ห์แบบดังเดิ ้ มทีน่ า่ หลงใหลของตลาดน� ้ำแห่งนี ้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.