คู่มือการเลือกตั้ง "รู้ก่อนกา กลเกมเลือกตั้ง'62" โดย ILAW

Page 1

ไม่

รู้ก่อนกา กลเกม


ถึงเวลา ประชาชน


จัดทําเนื้อหา ทีมงาน iLaw การ์ตูนและศิลปกรรม สตูหมูว จัดพิ มพ์ โดย แรงสนับสนุนจากประชาชนจํานวนมาก พิมพครั้งแรก กุมภาพันธ 2562


คํานํา เป็นเวลาเกือบห้าปีแล้วที่ระบอบประชาธิปไตยถูกยกเลิกโดยคณะ รั กษาความสงบแห่ง ชาติ (คสช.) ซึ่ง ได้ป กครองประเทศโดยไม่สนใจ ความต้องการของประชาชน มาถึงตอนนี้ประเทศไทยกําลังจะมีการ เลือกตั้งอีกครั้ง หลังจากเว้นวรรคมานาน แต่เป็นการเลือกตั้งภายใต้ รัฐธรรมนูญของ คสช. ซึ่งยังไม่เป็นประชาธิปไตยมากนัก อย่างไรก็ตามในการเลือกตัง ้ ระชาชนมีโอกาสทีจ ่ ะผนึกกําลัง ้ ครัง ้ นีป กันเลือกพรรคการเมืองในกลุม ่ ทีม ่ แ ี นวโน้มจะนําประเทศเดินหน้าสูร่ ะบอบ ประชาธิปไตยที่แท้จริง ซึ่งจะเป็นการคืนอํานาจให้ประชาชนได้กลับมามี บทบาทกําหนดนโยบายสําคัญๆ ในการบริหารประเทศ เรามีความตัง ่ อ ื เล่มนีจ ้ ะช่วยให้คณ ุ ได้เข้าใจระบบการเลือกตัง ้ ใจว่า คูม ้ ใหม่ ที่ให้กากบาทบัตรเลือกตั้งเพี ยงใบเดียวแล้วมีผลใช้ตัดสินทุกเรื่อง เพื่ อ ที่ คุ ณ จะสามารถเตรี ย มตั ว ใช้ ค ะแนน “หนึ่ ง เสี ย ง” ของคุ ณ ให้ มี ความหมายและมีพลังมากที่สุด เสียงของคุณสามารถที่จะกําหนดว่าประเทศไทยจะเดินหน้าหรือ ถอยหลังในเรื่องของประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพของประชาชนตลอด จนเรื่องของชีวิตความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจและสังคม

คะแนนเสี ย งหนึ่ ง เสี ย งของคุ ณ จะยิ่ ง มี พ ลั ง เพิ่ ม ทวี ขึ้ น หากคุ ณ สามารถตกลงกับญาติพ่ีนอ ้ งและเพื่อนฝูง ทีจ ่ ะร่วมกันเลือกเฉพาะพรรค การเมืองในกลุ่มที่มีนโยบายชัดเจนด้านการพั ฒนาระบอบประชาธิปไตย และความเป็นธรรมทางสังคม เพื่อลบล้างความอยุตธ ิ รรมต่างๆ ทีผ ่ า่ นมา ขอให้คณ ุ ได้มส ี ว่ นร่วมสําคัญในการเปลีย ่ นแปลงสังคมไทยให้นา่ อยูส ่ าํ หรับ ทุกคน


สารบัญ เรื่อง ข้อควรรู้ก่อนเข้าคูหา เตรียมตัวให้พร้อมก่อนไปเลือกตั้ง ทางเลือกสําหรับคนที่ไม่สะดวกไปเลือกตั้ง

เข้าใจระบบเลือกตั้ง ก่อนตัดสินใจกา

หน้า 1 2 10

13

ประชาชนกาบัตรใบเดียว มีความหมายสี่อย่าง

14

วิธีจัดสรรจํานวนที่นั่งในสภา

18

สํารวจจุดยืนพรรคการเมือง

20

หลังเลือกตั้งยังไม่ง่าย

31

วิธีการเลือกนายกรัฐมนตรี

32

นายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งที่สง่างาม

34

4 ฉากการเมืองไทย หลังการเลือกตั้ง

36

ไพ่ 5 ใบสุดท้ายเพื่อเปลี่ยนผลการเลือกตั้ง

38

คสช. ยังอยู่กับเรา ทิ้งกับระเบิดไว้อีกเพียบ

40

สิ่งที่ประชาชนทําได้ นอกจากการไปเข้าคูหา

42


บทที่ : 1 ข้อควรรู้ก่อนเข้าคูหา


เตรียมตัวให้พร้อม ก่อนไปเลือกตั้ง เช็คคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 1.

ต อ งมี อ ายุ 18 ป บ ริ บู ร ณ ใ นวั น เลื อ กตั้ ง สําหรับการเลือกตั้งวันที่ 24 มีนาคม 2562 ผูมีสิทธิตองเกิดวันที่ 24 มีนาคม 2544 หรือ กอนหนานั้น

2.

ตองมีสัญชาติไทย ผู  ที่ โ อนสั ญ ชาติ ม าเป น คนไทย ต อ งได รั บ สัญชาติมาแลวไมตํ่ากวา 5 ป

สําเนาทะเบียนบาน

2

3. ตองมีชื่อในทะเบียนบานมาแลวไมนอยกวา 90 วัน


ต้องไปลงคะแนนตามที่อยู่ ในทะเบียนบ้าน

ผูจะไปใชสิทธิเลือกตั้ง ตองไปใชสิทธิตามที่อยูในทะเบียนบาน เวนแต คนที่เพิ่งยาย ทะเบียนบานไมถงึ 90 วัน กอนวันเลือกตัง้ ตองไปใชสทิ ธิในหนวยเลือกตัง้ ตามทะเบียนบานเดิม ที่อยูมานานกวา 90 วัน หากเพิ่งยายทะเบียนบาน และตองการใชสิทธิในหนวยออกเสียงตามที่อยูใหม ตองไป ลงทะเบียนใชสิทธิเลือกตั้งนอกเขตโดยตองเลือกผูสมัครของเขตเลือกตั้งตามที่อยูเดิม 3


วันหย่อนบัตรพกบัตรประชาชน ไปใบเดียว

หลักฐานแสดงตัวสําหรับการออกเสียงเลือกตัง้ ขอแคบตั รประจําตัวประชาชนใบเดียวก็พอ ถาบัตรประจําตัวประชาชนหมดอายุแลว ก็ยังใชไดนะ ถาไมมีบัตรประชาชน หาบัตรหรือเอกสารอื่นที่ราชการออกให ซึ่งมีรูปและหมายเลข ประจําตัวประชาชน 13 หลัก เชน ใบขับขี่ บัตรขาราชการ หรือพาสปอรต ใชแทนไดหมด 4


ขยายเวลาเปิดคูหาให้ถึงเย็น การเลือกตั้งครั้งนี้ขยายเวลาเปดหีบลงคะแนน จากเดิม 8.00 – 15.00 น.

10

11

9

12

1

2 3

8

เป็น

8.00 – 17.00 น. 10

11

12

1

9

2 3

8

4 5

ให้เวลาเพิ่ มมากขึ้นอีกสองชั่วโมง! กรณีหนวยออกเสียงมีคนเยอะชวงใกลเวลาปดหีบ ผูที่แสดงตัวกับเจาหนาที่ กอนเวลา 17.00 สามารถดําเนินการออกเสียงตอไปไดแมพนเวลา 17.00 น. แตผูที่มาแสดงตัวหลัง เวลา 17.00 จะไมสามารถใชสิทธิได

คนต่อไปนี้ ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง

ภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช

คนที่อยู่ในระหว่าง ถูกเพิ กถอนสิทธิ การเลือกตั้ง

คนที่ถูกคุมขัง ตามคําสั่งศาล

คนวิกลจริต

5


ตรวจสอบรายชื่อตัวเอง และหน่วยเลือกตั้งของตัวเองให้ดี

กกต. จะจัดสงเอกสารแจงรายชื่อผูมีสิทธิไปยังเจาบานตามทะเบียบบาน ผูมีสิทธิเลือกตั้ง สามารถตรวจสอบชื่อ และหนวยออกเสียงที่ตัวเองตองไปลงคะแนนได จากหนังสือที่สงไปยังเจาบาน ซึ่งจะสงไปถึงไมเกิน 20 วัน กอนวันเลือกตั้ง หรือสามารถตรวจสอบรายชื่อไดในเว็บไซต www.khonthai.com ซึ่งจะมีการทํา ระบบขึ้นรองรับตอไป

6


!

ไม่

ดูให้ดี ชื่อใครหาย ชื่อใครเกิน

หากพบวา รายชื่อตัวเองตกหลนจากบัญชีผูมีสิทธิเลือกตั้ง ผูมีสิทธิ หรือเจาบานสามารถ นําสําเนาทะเบียนบาน และบัตรประชาชน หรือบัตรประจําตัวอืน่ ทีท่ างราชการออกใหไปแจง ไดที่หนวยทะเบียนราษฎร (หนวยออกบัตรประชาชน) ในกรณีกรุงเทพมหานครสามารถไป แจงไดที่สํานักงานเขต กรณีตางจังหวัดสามารถแจงไดที่ที่วาการอําเภอ กอนวันเลือกตั้ง ไมนอยกวา 10 วัน หรือภายในวันที่ 14 มีนาคม กรณีพบวา มีชื่อผูมีสิทธิเลือกตั้ง แตคนนั้นไมไดมีชื่ออยูในทะเบียนบานเดียวกันดวย ใหผูมีสิทธิเลือกตั้ง หรือเจาบานยื่นคํารองขอถอดถอนรายชื่อที่เกินมานั้น กอนวันเลือกตั้ง ไมนอยกวา 10 วัน โดยนําทะเบียนบานไปเปนหลักฐานดวย 7


ดูให้ดี เบอร์ผส ู้ มัครของพรรคเดียวกัน แตกต่างกันไปตามเขต เขตที่ 1

เขตที่ 5

พรรค A

พรรค A

ตามกติกาการเลือกตั้งใหม ผูสมัคร ส.ส. จากพรรคเดียวกันที่ลงสมัครแตละเขตจะได หมายเลขไมซํ้ากันขึ้นอยูกับลําดับการมาสมัคร แตถามาสมัครพรอมกันก็จะตองจับฉลาก กติกานีอ้ าจสรางความสับสนใหประชาชนทีไ่ ปลงคะแนนอยางมาก ถาไปเห็นสือ่ ประชาสัมพันธ การหาเสียงของเขตเลือกตั้งติดๆ กันแลวจําเอามากากบาทในเขตตัวเอง อาจจะเลือกผิดคน เลือกผิดพรรคได ทางที่ดีกอนเขาคูหาตรวจสอบหมายเลขผูสมัครที่ตองการเลือกใหแนใจ อีกครัง้ ทีบ่ อรดหนาหนวยลงคะแนนของตัวเอง หรือถาชืน่ ชอบพรรคใดใหจาํ โลโกพรรคใหแมน

8


ข้อห้ามสําหรับวันเลือกตั้ง 1. หามจําหนายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอลลตงั้ แตหกโมงเย็น ของวันกอนเลือกตัง้ ถึงเวลาหกโมงเย็นของวันเลือกตัง้ หรือตั้งแตหกโมงเย็นวันที่ 23 มีนาคม 2562 ถึง หกโมงเย็นของ วันที่ 24 มีนาคม 2562 แตไมได หามการดื่มสุรา

POLL

56.2%

2.

25.6%

หามเผยแพรผลโพลในชวง 7 วันกอนวันเลือกตั้ง จนถึงเวลาปดหีบ (17.00 น.ของวันเลือกตั้ง) หาม เฉพาะการเผยแพรผล กลัวจะเปนการชีน้ าํ แตไมได หามทําโพลสํารวจความคิดเห็น

18.7%

3. หามถายภาพบัตรเลือกตั้งที่ทําเครื่องหมายแลว แต ไ ม ไ ด ห  า มถ า ยภาพอื่ น ๆ เป น ที่ ร ะลึ ก เมื่ อ ไป ลงคะแนนเสียง

9


ทางเลือกสําหรับคนที่ ไม่สะดวกไปเลือกตั้ง

ถ้าวันเลือกตั้งไม่ว่างต้องเลือกตั้ง ล่วงหน้า ที่เขตอื่น สําหรับคนที่ไมวางในวันที่ 24 มีนาคม 2562 สามารถยื่นคําขอเลือกตั้งกอนลวงหนาได แตจะตองไปใชสทิ ธิทเ่ี ขตอืน่ ไมสามารถเลือกตัง้ ลวงหนาทีเ่ ขตของตัวเองได เวนแตมคี าํ สัง่ ของ ราชการใหไปปฏิบัติหนาที่ที่อื่น แตสามารถเลือกเขตอื่นที่อยูใกลบานได สําหรับวันเลือกตัง้ ลวงหนากําหนดไววนั ที่ 17 มีนาคม 2562 โดยตองไปยืน่ เองทีส่ าํ นักงาน เขต หรือที่วาการอําเภอ หรือจะยื่นทางไปรษณีย หรือทางอินเทอรเน็ตก็ได ตองยื่นระหวาง วันที่ 28 มกราคม - 19 กุมภาพันธ 2562 โดยจะถือตามวันที่ประทับตราเปนสําคัญ หากลงทะเบียนขอใชสิทธิเลือกตั้งลวงหนานอกเขตแลวไปไมได จะไมสามารถไปใชสิทธิ ในวันเลือกตัง้ ทัว่ ไปได ทําใหเสียสิทธิเลือกตัง้ ครัง้ นีไ้ ป แตสามารถไปแจงเหตุไมไปใชสทิ ธิแทนได 10


ถ้าวันเลือกตั้งไม่สะดวกกลับบ้าน ขอเลือกตั้งนอกเขตได้ ผูที่ไมไดอยูอาศัยจริงตามที่อยูในทะเบียนบาน และไมสะดวกที่จะเดินทางไปเลือกตั้งตาม ที่อยูที่ตัวเองมีสิทธิ สามารถขอใชสิทธิเลือกตั้งลวงหนานอกเขตได แลวไปใชสิทธิในพื้นที่ ที่เดินทางสะดวกแทน โดยตองยืน่ คําขอทีส่ าํ นักงานเขต หรือทีว่ า การอําเภอ หรือยืน่ ทางไปรษณีย หรือทางอินเทอร เน็ตระหวางวันที่ 28 มกราคม - 19 กุมภาพันธ 2562 โดยการสงทางไปรษณียจ ะถือตามวันที่ ประทับตราเปนสําคัญ สําหรับวันเลือกตั้งนอกเขตกําหนดไววันที่ 17 มีนาคม 2562 หากลงทะเบียนขอใชสิทธิ เลือกตั้งลวงหนานอกเขตแลวไปไมได จะไมสามารถไปใชสิทธิในวันเลือกตั้งทั่วไปได ทําให เสียสิทธิเลือกตั้งครั้งนี้ไป แตสามารถไปแจงเหตุไมไปใชสิทธิแทนได

ถ้าอยู่ต่างประเทศ ขอเลือกตั้งจาก ต่างประเทศก็ได้ ผูท อี่ าศัยอยูใ นตางประเทศระหวางมีการเลือกตัง้ สามารถลงทะเบียนขอใชสทิ ธินอกราชอาณาจักรไดที่ สถานทูตไทย หรือสถานกงสุลประจําประเทศนั้นๆ และสามารถลงทะเบียนผานเว็บไซตได ระหวางวันที่ 28 มกราคม - 19 กุมภาพันธ 2562 สําหรับการเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรกําหนด ไวระหวางวันที่ 4 - 16 มีนาคม 2562 จะแตกตางกัน ไปในแตละประเทศ ผูที่จะใชสิทธิในตางประเทศ ตองติดตามขาวจาก กกต. หรือสถานทูตไทยในประเทศ ที่ตัวเองอาศัยอยู 11


ถ้าจะไม่ไปจริงๆ แจ้งเหตุขด ั ข้องก่อนนะ สําหรับคนทีต่ ดิ ภารกิจสําคัญ ไมสามารถไปออกเสียงเลือกตัง้ ไดในวันที่ 24 มีนาคม 2562 สามารถไปแจ ง เหตุ ไ ม ไ ปใช สิ ท ธิ ไ ด ที่ ห น ว ยทะเบี ย นราษฎร (หน ว ยออกบั ต รประชาชน) ผูมีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพมหานคร ใหไปที่สํานักงานเขต ผูมีภูมิลําเนาอยูจังหวัดอื่นใหไปที่ ที่วาการอําเภอ ภายในเจ็ดวันกอนหรือหลังวันเลือกตั้ง คือระหวางวันที่ 17 - 31 มีนาคม

17 มีนาคม

24 มีนาคม

31 มีนาคม

7 วัน ก่อนวัน เลือกตั้ง

วัน เลือกตั้ง

7 วัน หลังวัน เลือกตั้ง

แจงที่หนวยทะเบียนราษฎร ประจําสํานักงานเขต/อําเภอ

แจงที่หนวยทะเบียนราษฎร ประจําสํานักงานเขต/อําเภอ

โดยพิจารณาจาก มีธรุ ะเรงดวน เจ็บปวย พิการ ทุพลภาพ ผูอ ยูต า งประเทศ หรือผูส งู อายุ ที่ไมสามารถเดินทางได มีถิ่นอาศัยอยูไกล หรือตามเหตุสุดวิสัยอื่น หากไมไปใชสิทธิโดยไมแจงเหตุหรือแจงเหตุแตเจาหนาที่เห็นวาไมใชเหตุอันควร จะเสีย สิทธิบางประการ เชน สิทธิในการยื่นคํารองคัดคานการเลือกตั้ง สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง มี กําหนดครั้งละสองปนับจากวันเลือกตั้งที่ไมไดไป เวนแตระหวางเวลาดังกลาวมีการจัดการ เลือกตั้งทั่วไปขึ้น และผูถูกตัดสิทธิไปใชสิทธิเลือกตั้ง การตัดสิทธิจากการเลือกตั้งครั้งกอน ก็เปนอันเลิกไป 12


บทที่ : 2 เข้าใจระบบเลือกตั้ง ก่อนตัดสินใจกา


ประชาชนกาบัตรใบเดียว มีความหมายสี่อย่าง เลือกคน ที่รัก

เลือกนายก ที่ใช่

เลือกพรรค ที่ชอบ

ไม่

เลือก อนาคต ที่เชื่อ

การเลือกตั้งที่จะเกิดขึ้นในป 2562 มี ส.ส. จากสองระบบ คือ ระบบแบงเขตเลือกตั้ง และระบบบัญชีรายชื่อแตจะใชบัตรเลือกตั้งใบเดียวใหประชาชนกากบาทเลือกบุคคลที่ ชื่นชอบเปน ส.ส. แบบแบงเขตแลวคะแนนที่เลือกไปจะมีความหมายสี่ประการ

14

1) ใช้เลือกคนที่รัก

2) ใช้เลือกพรรคที่ชอบ

เพื่ อ ตั ด สิ น ว า คนที่ ไ ด ค ะแนน สู ง สุ ด ในเขตการเลื อ กตั้ ง นั้ น จะได เปน ส.ส. ตัวแทนของเขต

คะแนนที่เลือกจะถูกนําไปรวมกัน ทั้ ง ประเทศเพื่ อ คํ า นวณจํ า นวนที่ น่ั ง ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่อของพรรคนั้น

3) ใช้เลือกนายกฯ ที่ใช่

4) ใช้เลือกอนาคตที่เชื่อ

ส.ส. ทั้งจากระบบแบงเขตและ ระบบบัญชีรายชื่อ จะไปรวมกันเพื่อ เลือกนายกรัฐมนตรีแทนเราอีกชัน้ หนึง่

ในการเลือกตั้งป 2562 จะวัดกัน ระหวางความนิยม คสช. กับความไมนยิ ม คสช. ซึ่งประชาชนจะชวยกันบอกดวย วาอยากไดอนาคตประเทศไทยแบบที่ ผานมากวาสี่ปหรือไม?


เลือก ส.ส. เขตจากพรรคไหน บังคับเทใจให้พรรคการเมืองนั้นด้วย เมื่อเดินเขาคูหาประชาชนจะไดรับบัตรเลือกตั้งคนละ 1 ใบ เพื่อกากบาทเลือก ส.ส. แบบแบงเขต และคะแนนนั้นจะนําไปใชคํานวณจํานวน ส.ส. ระบบบัญชีรายชื่ออีกตอหนึ่ง ประชาชนไมมโี อกาสทีจ่ ะเลือก “คนทีร่ กั ” ทีม่ าจากคนละพรรคการเมืองกับ “พรรคทีช่ อบ” เมื่อกากบัตรเลือก ส.ส. แบบแบงเขตคนใด ก็เทากับลงคะแนนในระบบบัญชีรายชื่อให พรรคการเมืองนั้นดวย เลือกคนที่รัก เลือกพรรคที่ชอบ

+ บัตรเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบงเขตเลือกตั้ง

พรรค ที่ชอบ

บัตรเลือกตั้ง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ

เลือกคนที่รัก บังคับได้พรรคนั้นด้วย พรรค ที่ชอบ

บัตรเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบงเขตเลือกตั้ง

ไม่

15


ดูตัวเลือกให้ดี ทุกพรรคเสนอ 3 ชื่อ เตรียมเป็นนายกฯ กติกาการเลือกตั้งครั้งนี้ เราจะไดเห็นรายชื่อผูเขาชิงเกาอี้นายกรัฐมนตรีกอน เพราะ พรรคการเมื องถู กบั ง คั บ ใหตองเสนอรายชื่อพรรคละไมเกิน 3 รายชื่อกอนการเลือกตั้ง เพื่อใหประชาชนคาดหมายไดวา ถาพรรคการเมืองนั้นชนะการเลือกตั้งและไดจัดตั้งรัฐบาล จะเสนอใครเปนนายกรัฐมนตรี ประชาชนก็ตองดูใหดีวา อยากไดนายกรัฐมนตรีหนาตา แบบไหน? จะไดเลือกไดถูกตอง

1

2

3

16


รัฐสภาหลังเลือกตั้ง จะมีสมาชิก 750 คน แบ่งเป็น ส.ส. จากระบบ แบ่งเขต 350 คน

ส.ส. จากระบบ บัญชีรายชื่อ 150 คน

ส.ว. จากการ เลือกของ คสช. 250 คน

= 10คน

ทั้ง 750 คน จะร่วมกันเลือกนายกรัฐมนตรี หากพรรคการเมืองใด ตองการจัดตั้งรัฐบาลตองหาเสียงสนับสนุนใหไดมากกวาครึ่งหนึ่ง หรือ 376 เสียง หาก คสช. ตองการจะเปนรัฐบาลก็อาจตองหาเสียงสนับสนุนแค 126 เสียง เมื่อรวมกับ ส.ว. ที่คัดเลือกมาเองอีก 250 เสียงก็จะได 376 เสียง ไมยากเย็น 17


วิธีจัดสรร จํานวนที่นั่งในสภา 1. สําหรับ ส.ส. แบบแบ่งเขตใครได้คะแนน มากที่สุดชนะไปเลย คะแนนที่ประชาชนออกเสียงไปจะใชตัดสินกัน โดยตรงเลย ผูส มัครทีไ่ ดรบั คะแนนเสียงสูงสุดในเขต เลือกตั้งนั้นๆ จะไดที่นั่ง ส.ส. เปนตัวแทนของเขต เลือกตัง้ นัน้ ๆ เลย โดยไมตอ งคํานึงวา คนทีไ่ ดคะแนน ลําดับที่สอง และลําดับอื่นๆ จะไดคะแนนมากนอย เพียงใด Vote NO มีความหมาย

1

ผูสมัครที่จะไดเปน ส.ส. ยังตองชนะจํานวนเสียงที่กาในชอง ‘ไมประสงคลงคะแนน’ หรือ Vote NO ดวย ถาแพ Vote NO เขตนั้นๆ จะตองเลือกตั้งใหม โดยผูสมัครรายเดิมไมสามารถ กลับมาสมัครไดอีก เพราะประชาชนไดแสดงเจตจํานงแลววา ไมอยากเลือกผูสมัครทั้งหมดที่เขาแขงขันในคราวนั้น

2. สํ าหรับ ส.ส. บัญชีรายชื่อ เอาคะแนน ทัง ้ ประเทศมาคํานวณสูตรคณิตศาสตร์ สามชั้น สูตรคณิตศาสตรนี้ ปรากฏอยูใ นรัฐธรรมนูญมาตรา 91 และ กฎหมายเลือกตัง้ มาตรา 128 เปนสูตรที่เขียนขึ้นเปนครั้งแรกและจะทดลองใชเปนครั้งแรก โดยใหเอาคะแนนที่ประชาชน กากบาทเลือก ส.ส. แบบแบงเขตของแตละพรรคการเมืองมารวมกันทัง้ ประเทศ แลวคํานวณดังนี้ 18


หากคิดคํานวณแลวไดเศษเปนทศนิยม ใหใชจํานวนเต็มกอนยังไมตองนับทศนิยม แตถา ได ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อยังไมครบ 150 คน ก็ใหพรรคการเมืองที่ไดทศนิยมสูงสุด ไดท่ีนั่ง เพิ่มกอน ไลไปตามลําดับ

1

จํานวนผู้มาใช้สิทธิท่วั ประเทศ จํานวนที่นั่ง ส.ส ทั้งหมด

2

คะแนนที่พรรคนั้นได้ ทั่วประเทศ

=

=

x

x จํานวน ส.ส. ที่พรรคนั้น ควรได้

3 จํานวน ส.ส. ที่พรรคนั้น ควรได้

-

จํานวน ส.ส. ทีไ่ ด้จากระบบ แบ่งเขต

=

จํานวน ส.ส. ระบบ บัญชีรายชื่อ

1) นํ า จํ า นวนผู  ม าใช สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ทั้ ง ประเทศ ไม ร วมบั ต รเสี ย เป น ตั ว ตั้ ง หารด ว ยจํ า นวน ส.ส. ทั้งหมด คือ 500 จะไดผลลัพธเปนตัวเลข ชุดหนึ่ง ที่อนุมานวา เปนคาเฉลี่ยของจํานวน ประชากรตอ ส.ส. หนึ่งที่นั่ง 2) เมื่อจะหาจํานวน ส.ส. ของพรรคการเมืองใด ก็นําคะแนนรวมทั้งประเทศที่พรรคการเมืองนั้น ไดจากการเลือกตั้งในระบบแบงเขตมาเปนตัวตั้ง แลวนําตัวเลขทีไ่ ดจากขอ (1) ไปหาร ผลลัพธจะ เปนจํานวน ส.ส. ทีพ่ รรคการเมืองนัน้ ควรจะมีได ในการเลือกตั้งครั้งนี้ 3) นําจํานวน ส.ส. ที่พรรคการเมืองนั้นควร จะมีได จากขอ (2) มาเปนตัวตัง้ ลบดวยจํานวน ส.ส. แบบแบ ง เขตทั้ ง หมดที่ พ รรคการเมื อ ง นัน้ ไดมาแลว ผลลัพธ คือ จํานวน ส.ส. จากระบบ บัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองนั้นจะไดรับ

สูตรการคํานวณเชนนี้ มีขอดี คือ ทําใหทุกคะแนนที่ประชาชนออกเสียงไปมีความหมาย แมจะลงคะแนนใหกับผูสมัครที่ไมชนะในเขตนั้นๆ คะแนนก็ยังถูกหยิบมาใชไดอีกชั้นหนึ่ง แตกม็ ขี อ เสียคือ ระบบแบบนีก้ ท็ าํ ใหพรรคการเมืองขนาดใหญเสียเปรียบ หากชนะการเลือกตัง้ ในระบบแบงเขตจํานวนมาก ก็อาจจะได ส.ส. จากระบบบัญชีรายชื่อนอยมาก หรือไมไดเลย ขณะที่พรรคการเมืองขนาดกลางๆ ที่มีฐานเสียงแข็งแรงเฉพาะในบางพื้นที่ อาจจะได ส.ส. จากระบบบัญชีรายชื่อมากกวาความนิยมของประชาชนที่มีอยูจริงๆ 19


บทที่ : 3 สํารวจจุดยืน พรรคการเมือง


สํารวจจุดยืน พรรคการเมือง ใครอยู่ที่ไหนในสนามเลือกตั้ง 62

การเลือกตั้งป 2562 ใชระบบจัดสรรปนสวนผสม หรือระบบ MMA มีจุดเดนสําคัญอยูที่ การใช บัตรเลือกตั​ั้งใบเดียว เลือก ส.ส. แบบแบงเขต และคะแนนจะถูกนํามาใชคิด ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ ของพรรคที่กาไปดวย ในสนามการเลือกตัง้ นี้ คสช. เตรียมสงพรรคการเมืองของตัวเองลงสนามเพือ่ หวังสืบทอดอํานาจตอ สวนพรรคการเมืองทีม่ จี ดุ ยืนตรงขามกับ คสช. ก็รอโอกาสเลือกตัง้ เพือ่ ทวงอํานาจและประชาธิปไตยคืน ตามระบบใหม ถาพรรคใดได ส.ส. แบบแบงเขตมากก็จะได ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อนอยหรืออาจ ไมไดเลย และถาพรรคการเมืองใดได ส.ส. แบบแบงเขตนอยหรือไมไดเลยก็อาจได ส.ส. บัญชีรายชือ่ มาก ระบบนี้ทําใหพรรคขนาดใหญ ไดรับผลกระทบมากหากสงผูสมัครลงทุกเขตและชนะเยอะ ก็อาจจะได ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อนอย เราจึงเห็นปรากฏการณที่ ส.ส. จากพรรคเพื่อไทยยายไปสังกัดพรรคที่ เกิดใหมหลายพรรค นี่อาจเปน ยุทธศาสตร “แยกกันเดิน รวมกันตี” ดานพรรคขนาดกลาง อยางเชน พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทยพัฒนา ฯลฯ มีแนวโนมจะได ส.ส. เพิม่ ขึน้ จากระบบนี้ สวนพรรคประชาธิปต ย นับเปนหนึง่ ตัวแปรในการรวมจัดตัง้ รัฐบาลแตพรรค การเมืองเหลานี้ก็ยังมีจุดยืนที่ไมชัดเจนวา จะเขารวมกับฝงไหน ขณะที่ยังมีพรรคการเมืองเกิดขึ้นใหมหลายพรรค สวนใหญจะมาพรอมกับอุดมการณที่ชัดเจน ถาไมสนับสนุน คสช. สุดทาง ก็เสนออนาคตประเทศแบบตรงกันขามกับ คสช. ไปเลย ระบบเลือกตั้งใหมจะทําใหพรรคขนาดใหญไมสามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได เพราะการเลือก นายกรัฐมนตรี ตองใชเสียงเกินกึง่ หนึง่ ของรัฐสภา คือ 376 เสียง จาก 750 คน ดังนัน้ หนทางทีพ่ รรค การเมืองจะสามารถชนะการสืบทอดอํานาจของ คสช. ได ประชาชนตองเลือก ส.ส. จากพรรคทีม่ จี ดุ ยืน ไมเขารวมกับ คสช. ใหเกิน 376 คน และผนึกกําลังกันเพื่อจัดตั้งรัฐบาลที่มาจากประชาชน ขณะที่ คสช. มี ส.ว.แตงตัง้ เปนทุนเดิมอยู 250 เสียง ตองการ ส.ส. อีก 126 เสียง ก็จะตัง้ รัฐบาลสืบทอดอํานาจ ตอไปได เราจึงจําเปนที่จะตองศึกษาวา ส.ส. แบบแบงเขตที่เราจะกากบาทเลือก สังกัดอยูพรรคไหน และ พรรคนั้นมีจุดยืนตออนาคตอยางไร มาลองดูกัน 21


พรรคที่เคยทํางานร่วมกับ คสช. พรรคในกลุมนี้เปนพรรคที่แกนนำพรรคคนสำคัญ เคยทำงานรวมกับ คสช. บางคนเปน รัฐมนตรี อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปประเทศ สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ ฯลฯ

พรรคพลังประชารัฐ

พรรคพลังประชารัฐ (ตัวยอ พปชร.) พรรคเกิดใหม ทีส่ นับสนุนให พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา กลับมาเปนนายกรัฐมนตรี โดยมีแกนนำคนสำคัญลวนเปนรัฐมนตรีในยุคของ คสช. อยาง อุตตม สาวนายน รมว.กระทรวงอุตสาหกรรม เปนหัวหนาพรรค, สุวทิ ย เมษินทรีย รมว.กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนรองหัวหนาพรรค, สนธิรตั น สนธิจริ วงศ รมว.กระทรวงพาณิชย เปนเลขาธิการพรรค และมี กอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเปนโฆษก พรรค แถมชือ่ พรรคก็ยงั ไปตรงกับนโยบายหลักของ คสช. คือ “โครงการประชารัฐ” ทีข่ น้ึ ปาย โดดเดนอยูทั่วทุกหมูบานของประเทศไทย สมาชิกพรรคพลังประชารัฐมีอดีต ส.ส. และอดีตรัฐมนตรี จากพรรคเพื่อไทย, พรรคประชาธิปตยและแกนนำ กปปส. รวมอยูดวย ชวงเริ่มกอตั้งถูกวิจารณวา เดินสายดูดนักการเมือง จากคายตางๆ แกนนำพรรคอยาง สมศักดิ์ เทพสุทนิ เคยกลาววา “รัฐธรรมนูญฉบับนีด้ ไี ซนม า เพื่อพวกเรา” จึงมั่นใจวาหลังเลือกตั้งพรรคจะเปนแกนนำจัดตั้งรัฐบาลแนนอน 22


พรรคประชาชนปฏิรูป

พรรคประชาชนปฏิรปู (ตัวยอ ปชช.) พรรคเกิดใหมทมี่ ี ธนพัฒน สุขเกษม เปนผูย นื่ จดแจง และมี ไพบูลย นิติตะวัน อดีต สปช. เปนหัวหนาพรรค มีจุดยืนชัดเจนประกาศ สนับสนุน พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา ใหกลับมาเปนนายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

พรรครวมพลังประชาชาติไทย

พรรครวมพลังประชาชาติไทย (ตัวยอ รปช.) พรรคเกิดใหม ในยุค คสช. ที่มี ทวีศักดิ์ ณ ตะกั่วทุง ทนายความสวนตัวของ สุเทพ เทือกสุบรรณ เปนผูจดทะเบียน และ สุเทพ เทือกสุบรรณ ประกาศตัวเปนสมาชิกเดินเคียงขางพรรคนี้ โดยมี ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล หรือ “หมอมเตา” เปนหัวหนาพรรค และมี อเนก เหลาธรรมทัศน อดีตประธานคณะกรรมการ ปฏิรปู ประเทศ ของ คสช. เปนมันสมองของพรรค สมาชิกสวนหนึง่ ของพรรคเปน กปปส. และ มีทา ทีชดั เจนเห็นดวยกับแนวทางการบริหารประเทศของ คสช. และมีแนวโนมวาจะสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ และคนของ คสช. เปนนายกรัฐมนตรี 23


พรรคเพื่ อไทย และเครือข่าย กลุมพรรคเพื่อไทย และพรรคเครือขาย ที่มีทั้ง แกนนํา และ ส.ส. แยกตัวออกมาจาก พรรคเพื่อไทย ประกาศจุดยืนเพื่อประชาธิปไตย และไมเอาแนวทางแบบ คสช. จุดขาย คือ ประสบการณที่เคยทํางานการเมืองและผลักดันนโยบายสําคัญๆ ไดสมัยที่เคยเปนรัฐบาล

พรรคเพื่ อไทย

พรรคเพื่อไทย (ตัวยอ พท.) เปนพรรครัฐบาลลาสุดกอนถูก คสช. ยึดอํานาจในป 2557 จุดยืนของพรรคชัดเจนวา ตรงขามกับ คสช. สืบทอดเจตนารมณมาจากพรรคไทยรักไทย และ พรรคพลังประชาชนที่ถูกสั่งยุบพรรคไปจากความขัดแยงทางการเมืองในทศวรรษที่ผานมา ตําแหนงหัวหนาพรรค คือ พล.ต.ท.วิโรจน เปาอินทร และมีภูมิธรรม เวชยชัย เปน เลขาธิการพรรค ขณะที่สุดารัตน เกยุราพันธุ รับตําแหนงประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร ดานการเลือกตัง้ นอกจากนีย้ งั มีแกนนําพรรคคนสําคัญ เชน เสนาะ เทียนทอง, โภคิน พลกุล, เฉลิม อยูบํารุง, วัฒนา เมืองสุข ฯลฯ เลือกตั้งครั้งนี้พรรคเพื่อไทยขายสโลแกน “นักบริหารมืออาชีพ” เพื่อพาประเทศไทย ออกจากความสิ้นหวังในยุค คสช. และสรางโอกาสใหคนไทยหายจน สําหรับผูทาชิงเกาอี้ นายกรัฐมนตรี จากพรรคเพื่อไทยคาดวาจะเปน สุดารัตน เกยุราพันธุ และชัชชาติ สิทธิพันธุ อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม 24


พรรคไทย รักษาชาติ

พรรคเพื่ อชาติ

พรรค ประชาชาติ

พรรคไทยรักษาชาติ (ตัวยอ ทษช.) เกิดจาก แกนนําหลายคนที่เคยอยูกับพรรคเพื่อไทย, แกนนํา นปช. คนรุน ใหมทเี่ ปนลูกหลานนักการเมือง หัวหนา พรรค คือ ปรีชาพล พงษพาณิช และมี มิตติ ติยะไพรัช เปนเลขาธิการพรรค แกนนําคนสําคัญอื่นๆ เชน เยาวเรศ ชินวัตร, ขัตติยา สวัสดิผล และ ยังสมทบ ดวยนักการเมืองรุนใหญ เชน จาตุรนต ฉายแสง, พิชัย นริพทะพันธุ, ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ ฯลฯ ทั้งนี้ตัวยอ ของพรรคถูกตัง้ ขอสังเกตวาคลายชือ่ “ทักษิณ ชินวัตร”

พรรคเพือ่ ชาติ (ตัวยอ พช.) ถูกมองวา เปนพรรค ของกลุมแนวรวมประชาธิปไตยตอตานเผด็จการ แห ง ชาติ (นปช.) โดยมี แ กนนํ า คนสํ า คั ญ คื อ ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และ จตุพร พรหมพันธุ ประธาน นปช. ทั้งนี้ ยงยุทธ และจตุพร ไมสามารถลงสมัครรับเลือกตั้งได เพราะเคยรับโทษ จําคุก พรรคเพื่อชาติมีหัวหนาพรรค คือ สงคราม กิ จ เลิ ศ ไพโรจน อดี ต ส.ส. พรรคพลั ง ประชาชน และมี ลินดา เชิดชัย อดีต ส.ส. พรรคเพื่อไทย เปน เลขาธิการพรรค พรรคประชาชาติ (ตัวยอ ปช.) นําโดย 'กลุม วาดะห' ซึ่งแยกตัวออกจากพรรคเพื่อไทย มียุทธศาสตรที่ มุ  ง เน น พื้ น ที่ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต นํ า โดย วันมูหะมัดนอร มะทา นอกจากนี้ยังมีแกนนําพรรค คนสําคัญ อยาง อารีเพ็ญ อุตรสินธุ, วรวีร มะกูดี อดีตกรรมการบริหารพรรคเพือ่ ไทย เปนรองหัวหนา พรรค, พล.ต.อ.ทวี สอดสอง อดีตเลขาธิการ ศอ.บต. เปนเลขาธิการพรรค 25


พรรคการเมืองหน้าใหม่ ไม่เอา คสช. “พรรคการเมืองหนาใหม” จำนวนหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยมีจุดยืนชัดเจนวา ไมเอา คสช. คนสวนใหญในประเทศอาจจะยังไมคุนชื่อ ทั้งชื่อพรรค และชื่อคน ดวยขอจำกัดของกติกา การเลือกตั้งใหม ทุกพรรคจะตองสง ส.ส. ลงระบบเขตเลือกตั้งใหมากที่สุด เพื่อนำมาคิด เปนจำนวนที่นั่ง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ นับเปนความทาทายวา พรรคเหลานี้จะสามารถควา ที่นั่งในสภาไดเทาไหร

พรรคอนาคตใหม่

พรรคอนาคตใหม (ตัวยอ อนค.) เปนพรรคการเมืองแรกๆ ทีช่ จู ดุ ยืน “คนรุน ใหม” ภายใต การนำของ ธนาธร จึงรุง เรืองกิจ หรือฉายา “ไพรหมืน่ ลาน” อดีตรองประธานกรรมการบริหาร กลุม บริษทั ไทยซัมมิท และปยบุตร แสงกนกกุล เลขาธิการพรรค อดีตนักวิชาการคณะนิตริ าษฎร จุดเดนของพรรคนี้ เปนการรวมตัวกันของนักวิชาการ นักกิจกรรมทางการเมือง นักธุรกิจ และ กลุมคนรุนใหม ที่ชูอุดมการณในทางกาวหนาดานประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน เชน ชำนาญ จันทรเรือง นักวิชาการดานรัฐศาสตร, พรรณิการ วานิช อดีตสือ่ มวลชน, รังสิมนั ต โรม นักกิจกรรมที่ตอตาน คสช. และพิธา ลิ้มเจริญรัตน นักธุรกิจ เปนตน 26


พรรคสามัญชน

พรรคสามัญชน (ตัวยอ สช.) เปนพรรคที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม มีที่มาจาก 'ขบวนการสามัญชน' ที่กอรูปขึ้นตั้งแตป 2555 ผูรวมกอตั้งพรรคและสมาชิกมาจากเครือขายนักกิจกรรมทางสังคม เอ็นจีโอ และผูไ ดรบั ผลกระทบจากนโยบายสาธารณะ สวนใหญในพืน้ ทีภ่ าคอีสาน หัวหนาพรรค คือ เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์ ผูเคลื่อนไหวเรื่องการสรางเหมืองแร และมีเลขาธิการพรรค คือ กิตติชัย งามชัยพิสิฐ ผูริเริ่มกิจกรรมจุดเทียนเขียนสันติภาพ รณรงคเลือกตั้งชวงตนป 2557

พรรคเสรีรวมไทย

พรรคเสรี ร วมไทย (ตั ว ย อ สร.) ภายใต ก ารนำของ พล.ต.อ.เสรี พ ิ ศ ุ ท ธ เตมี ย าเวส อดีตผูบัญชาการตำรวจแหงชาติ ผูไดรับฉายา “วีรบุรุษนาแก” และ “มือปราบตงฉิน” มีจุดขายที่โดดเดน คือ ขอเสนอปฏิรูปกองทัพ เพื่อปองกันการเกิดรัฐประหารในอนาคต 27


พรรคที่จุดยืนไม่ชัดเจน พรรคการเมืองอีกจํานวนมากทีเ่ ปนหนาเกาในสนามเลือกตัง้ มีฐานเสียงเขมแข็งในบางพืน้ ที่ อยางชัดเจน และในการเลือกตั้งป 2562 ก็ยังไมเห็นความชัดเจนวา พรรคการเมืองเหลานี้ จะเลือกอยูขาง คสช. หรืออยูขางที่ตรงขามกับ คสช.

พรรคประชาธิปัตย์

พรรคประชาธิปตย (ตัวยอ ปชป.) พรรคขนาดใหญที่เกาแกที่สุดของไทย ในการเลือกตั้งครั้งนี้ พรรคประชาธิปตยยังมี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนหัวหนาพรรค แกนนำคนสำคัญ เชน กรณ จาติกวณิช, องอาจ คลามไพบูลย, ถาวร เสนเนียม, วรงค เดชกิจวิกรม ยังอยูครบ นอกจากนี้ พรรคประชาธิปตย ยังเปดตัว “คนรุนใหม” ภายใตชื่อ “New Dem” ที่นำทัพโดย ไอติม-พริษฐ วัชรสินธุ หลานชายของ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ, สุรบถ หลีกภัย ลูกของชวน หลีกภัย และ คนหนาใหมอีกหลายคน อยางไรก็ดี หากพรรคประชาธิปตยไดที่นั่ง ส.ส. ไมตางจากเปาหมายมากนัก ก็จะเปนตัวแปรสำคัญในการจัดตั้งรัฐบาล แมวา หัวหนาพรรคเคยประกาศอุดมการณ “เสรีนยิ มประชาธิปไตย” และเคยแสดงจุดยืนไมรว มทางกับ คสช. แตอีกเงื่อนไขสำคัญที่พรรคประชาธิปตยเคยประกาศไวชัดเจน ก็คือ จะไมเขารวมกับพรรคเพื่อไทย

พรรค ภูมิใจไทย

พรรคภูมิใจไทย (ตัวยอ ภท.) เปนพรรคการเมืองขนาด กลาง เดิมมีฐานเสียงสําคัญในพื้นที่อีสานใตตําแหนงหัวหนา พรรค คือ อนุทนิ ชาญวีรกูล และมี ศักดิส์ ยาม ชิดชอบ เปน เลขาธิการพรรค มี พ.อ.เศรษฐพงค มะลิสุวรรณ เปนโฆษก พรรค ในการเลือกตั้งครั้งนี้ไดสมาชิกหนาใหมเขาพรรค จํานวนมาก เชน ภราดร ปริศนานันทกุล และ อาจไดเสียง สนับสนุนจากหลายจังหวัดเพิ่มเติมอีกดวย


พรรคชาติ ไทยพั ฒนา

พรรคชาติ พั ฒนา

พรรคพลัง ท้องถิ่นไท

พรรคชาติไทยพัฒนา (ตัวยอ ชทพ.) พรรคการเมือง เดิ ม ของ บรรหาร ศิ ล ปอาชา อดี ต นายกรั ฐ มนตรี การเลือกตั้งครั้งนี้มีหัวหนาพรรคคนใหม คือ กัญจนา ศิลปอาชา ลูกสาวของบรรหาร และมี ประภัตร โพธสุธน เป น เลขาธิ ก ารพรรคและยั ง มี ก ลุ  ม การเมื อ ง คนดั ง หลายคนเขารวม เชน พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน “บิก๊ บัง” อดีตประธาน คมช. อดีตหัวหนาพรรคมาตุภูมิ และ กลุมสะสมทรัพย นครปฐม ที่ยายออกมาจากเพื่อไทย พรรคชาติพัฒนา (ตัวยอ ชพน.) หรือในชื่อเดิมวา รวมชาติ พ ั ฒ นา และรวมใจไทยชาติ พ ั ฒ นา และ ชาติพฒ ั นาเพือ่ แผนดิน สมาชิกสวนใหญเปนนักการเมือง หนาเดิม มีหวั หนาพรรค คือ เทวัญ ลิปตพัลลภ นองชาย ของ สุวัจน ลิปตพัลลภ และยังมีบุคคลสำคัญหลายคน เขารวม เชน ดล เหตระกูล หนึง่ ในเครือญาติของหนังสือ พิมพเดลินวิ ส เปนเลขาธิการพรรค วิว-เยาวภา บุรพลชัย อดีตนักกีฬาเทควันโดเหรียญทองแดงโอลิมปก เปน โฆษกพรรค พรรคพลังทองถิน่ ไท (ตัวยอ พทท.) มี ชัชวาลล คงอุดม หรือ “ชัช เตาปูน” อดีต ส.ว. กรุงเทพมหานคร และ บรรณาธิการบริหาร หนังสือพิมพสยามรัฐเปนผูกอตั้ง ในการเลือกตั้งครั้งนี้ชัชวาลลไดรับเลือกใหเปนหัวหนา พรรค และมี เกรียงไกร ภูมิเหลาแจง อดีต สปช. เปน รองหั ว หน า พรรค ธี ร ศั ก ดิ ์ พานิ ช วิ ท ย อดี ต สปช. เป น เลขาธิ ก ารพรรค นอกจากนี ้ ย ั ง มี น ั ก การเมื อ ง หนาเกา คนดัง หลายคนเขารวม เชน ชื่นชอบ คงอุดม ลูกชายของ ชัชวาลล ซึ่งเปนอดีต ส.ส. กทม. พรรค ประชาธิปตย และ รัฐภูมิ โตคงทรัพย หรือ “ฟลม” อดีตนักรองนักแสดงชื่อดัง มาเขารวมดวย


The BALLOT is stronger than the BULLET. บัตรเลือกตั้ง มีพลังกว่า กระสุนปืน

- Abraham Lincoln


บทที่ : 4 หลังเลือกตั้ง ยังไม่ง่าย


วิธีการเลือกนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญ 40, 50

รัฐธรรมนูญ 60

การเลือกนายกรัฐมนตรีเปนการ ลงมติของ ส.ส. เทานั้น

การเลือกนายกรัฐมนตรีเปน การลงมติของ ส.ส. รวมกับ ส.ว.

สภา ส.ส. 500 เสียง

สภา ส.ส. 500 เสียง

+

สภา ส.ว. 250 เสียง

ใชคะแนนเสียงจาก ส.ส. 251 เสียง ในการเลือกนายกรัฐมนตรี

ใชคะแนนเสียงจาก ส.ส.+ส.ว. 376 เสียง ในการเลือกนายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรีตอง มาจากการเลือกตั้ง

นายกรัฐมนตรีไมจําเปนตอง มาจากการเลือกตั้ง

เงื่อนไขเพิ่ มเติม - นายกรัฐมนตรีตองอยูใน 1 ใน 3 รายชื่อ ของพรรคการเมือง โดยไมจําเปนตองลงสมัคร ส.ส. ก็ได - คนจะที่จะถูกเสนอเปนนายกรัฐมนตรี ตองอยูในรายชื่อของพรรคที่ได ส.ส. 25 คนขึ้นไปและตองไดรับการรับรอง จาก ส.ส. 50 คนขึ้นไป - คนที่จะไดเปนนายกรัฐมนตรี ตองมีเสียง ส.ส.+ส.ว. รับรอง มากกวาครึ่งหนึ่งของรัฐสภาคือ 376 จาก 750 คน - ส.ส.+ส.ว. 375 คนขึ้นไป ขอยกเวน ใหเอา “คนนอก” บัญชีรายชื่อมาเปนนายกรัฐมนตรีไดโดย ส.ส.+ส.ว. 500 คน เสนอชื่อ “นายกฯ คนนอก” มาไดเลย 32


คสช. คัดเลือก ส.ว. 250 คน มาเลือกนายกรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญ 2560 กําหนดใหในชวงหาปแรก มี ส.ว. 250 คน มีท่ีมา 3 แบบ แมขั้นตอน จะซับซอนแตสุดทายทุกรายชื่อที่จะเขามาเปน ส.ว. ตองผานมือของ คสช. กอน ส.ว. โดยตําแหน่ง 6 คน

พล.อ.ณัฐ อินทรเจริญ

พล.อ.พรพิพัฒน เบญญศรี

พล.อ.อภิรัชต คงสมพงษ

พล.ร.อ.ลือชัย รุดดิษฐ

ปลัดกระทรวงกลาโหม

ผูบัญชาการทหารสูงสุด

ผูบัญชาการทหารบก

ผูบัญชาการทหารเรือ

พล.อ.อ.ชัยพฤกษ ดิษยะศริน พล.ต.อ.จักรทิพย ชัยจินดา ผูบัญชาการทหารอากาศ

ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ

ส.ว. จากคณะกรรมการสรรหา 194 คน คสช. ตั้ง ‘คณะกรรมการสรรหา ส.ว.’

คณะกรรมการ คัดเลือกว่าที่ ส.ว.

400

คน

คสช. คัดเลือก ให้เหลือ

194

คน

ส.ว. จากการคัดเลือกกันเองของ 10 กลุ่มอาชีพ 50 คน ใช้วิธีเปิดรับสมัคร

คัดเลือกกันเองในกลุ่มอาชีพ ในระดับอําเภอ, จังหวัด, ประเทศ

200

รวม

คน

คสช. คัดเลือก ให้เหลือ

50

คน

ส.ว. 250 คน ถือเปนจํานวนหนึ่งในสามของรัฐสภาหลังการเลือกตั้ง และจะเปนกลุม กอนหลักที่จะลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ใหไดคนที่ คสช. ตองการ 33


นายกรัฐมนตรี จากการเลือกตั้งที่สง่างาม นายกรัฐมนตรีที่สง่างามและมีความชอบธรรม ควรมีองค์ประกอบดังนี้

นายกรัฐมนตรีเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)

แมวารัฐธรรมนูญ ไมไดบังคับใหนายกรัฐมนตรี ตองเปน ส.ส. ดวย แตเพื่อความสงางาม ก็ควรจะตองผานสนามเลือกตั้ง

นายกรัฐมตรี ที่สง่างามและ มีความชอบธรรม นายกรัฐมนตรีเป็น 1 ใน 3 “รายชื่อที่พรรคการเมืองเสนอไว้”

ซึ่งจะเปดเผยใหประชาชนรูกอนการเลือกตั้ง เปนการการันตีวา “วาที่ นายกฯ” จะเปนที่รับรู และยอมรับของประชาชนที่ไปออกเสียงให และควรจะตองมาจากพรรคการเมือง ที่ไดที่นั่ง ส.ส. มากที่สุดดวย

34

นายกรัฐมนตรี ได้รับการลงมติเสียงข้างมาก จาก ส.ส. โดยยังไม่นับคะแนน จาก ส.ว.

แมรัฐธรรมนูญจะใหอำนาจ ส.ว. รวมเลือกนายกรัฐมนตรีดวย แต ส.ว. มาจากการคัดเลือกของ คสช. จึงไมควรให ส.ว. เปนเสียงชี้ขาด


พล.อ.ประยุทธ์กลับมาเป็น นายกรัฐมนตรี ได้ 3 ช่องทาง 1. เป็นายกฯ จากบัญชีของพรรคการเมือง 1

2

3

1. พรรคพลังประชารัฐเสนอชื่อ พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา เปน 1 ใน 3 รายชื่อในบัญชีวาที่นายกรัฐมนตรีของพรรค 2. พรรคพลังประชารัฐได ส.ส. อยางนอย 126 คน หรือหา ส.ส. จากพรรคอื่นมารวมรัฐบาลกันได 3. ส.ว. 250 คน ทีม่ าจาก คสช. + ส.ส. พรรคพลังประชารัฐ 126 คน รวม 376 คนลงมติการเลือกใหเปนนายกรัฐมนตรี

2. เป็นนายกฯ คนนอก 1. ส.ส. + ส.ว. 375 คนขึน้ ไป ลงมติขอยกเวน ใหมนี ายกรัฐมนตรี ที่เปนคนอื่นนอกจากรายชื่อที่พรรคการเมืองเสนอไวได 2. ส.ส. + ส.ว. 500 คน เสนอชือ่ ให พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา ใหเปนนายกรัฐมนตรี 3. ส.ส. + ส.ว. 376 คนขึ้นไป ลงมติเลือก พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา ใหเปนนายกรัฐมนตรี 3. เป็นนายกฯ ตั้งตัวเองด้วย ม.44 า 44 มาตร

หาก คสช. ไมพอใจกับผลการเลือกตั้งและเห็นวา คสช. จะไมสามารถตัง้ รัฐบาลใหมเพือ่ สืบทอดอำนาจได พล.อ.ประยุทธ อาจใช “มาตรา 44” ทำใหการเลือกตัง้ เปนโมฆะ และแตงตัง้ ตัวเอง เปนนายกรัฐมนตรีอีกสมัยหนึ่งก็ยังได คลายกับเปน การรัฐประหารอีกครั้งนั่นเอง

35


4 ฉากการเมืองไทย

คาดการณวา คสช. จะใชกลไกตางๆ เพื่อจัดตั้งรัฐบาลใหไดหลังการเลือกตั้ง แตตัวแป

1

คสช. สืบทอดอํานาจได้สําเร็จ

่ ั่ง พรรคที่สนับสนุน คสช. ได้ ส.ส. ≥ 126 ทีน ่ ง พรรคเพื่ อไทย และเครือข่าย ได้ ส.ส. < 251 ทีน ั่

1. พรรคของ คสช. สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได 2. พรรคของ คสช. มีโอกาสจับมือกับพรรคอื่นรวมกันตั้ง รัฐบาลเสียงขางมากได 3. พรรคเพือ่ ไทยมีแนวโนมจะเปนฝายคานทีม่ เี สียงขางนอย จัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได รัฐบาลผานกฎหมาย และงบประมาณได ฝายคานลงมติไมไววางใจรัฐบาลได ประเทศเดินหนาตามแนวทางของ คสช. ประเทศมีโอกาสเดินหนาสูประชาธิปไตย

3

ไม่มีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดชนะ

่ ั่ง พรรคที่สนับสนุน คสช. ได้ ส.ส. < 126 ทีน ่ ง ่ั พรรคเพื่ อไทย และเครือข่าย ได้ ส.ส. < 251 ทีน

1. พรรคของ คสช. ไมสามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได 2. ถาจะเปนรัฐบาล พรรคของ คสช. ตองจับมือกับหลายพรรค 3. พรรครวมรัฐบาลจะมีอำนาจตอรองทางการเมืองสูง จัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได รัฐบาลผานกฎหมาย และงบประมาณได ฝายคานลงมติไมไววางใจรัฐบาลได ประเทศเดินหนาตามแนวทางของ คสช. ประเทศมีโอกาสเดินหนาสูประชาธิปไตย 36


ยหลังการเลือกตั้ง

ปรจะขึ้นอยูกับจำนวนที่นั่ง ส.ส. ที่พรรคของ คสช. และพรรคเพื่อไทยและเครือขายได

2

พรรคเพื่ อไทยชนะถล่มทลาย

พรรคที่สนับสนุน คสช. ได้ ส.ส. < 126 ที่นั่ง ่ ง ่ั พรรคเพื่ อไทย และเครือข่าย ได้ ส.ส. ≥ 251 ทีน

1. พรรคของ คสช. ไมสามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได 2. ถาจะเปนรัฐบาล พรรคของ คสช. ตองจับมือกับพรรคอืน่ และจะเปนรัฐบาลเสียงขางนอย 3. พรรคเพื่อไทยมีแนวโนมจะเปนฝายคานที่มีเสียงขางมาก จัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได รัฐบาลผานกฎหมาย และงบประมาณได ฝายคานลงมติไมไววางใจรัฐบาลได ประเทศเดินหนาตามแนวทางของ คสช. ประเทศมีโอกาสเดินหนาสูประชาธิปไตย

4

คสช. ตั้งรัฐบาล เพื่ อไทยล้มรัฐบาล

่ ั่ง พรรคที่สนับสนุน คสช. ได้ ส.ส. ≥ 126 ทีน ่ ง ่ั พรรคเพื่ อไทย และเครือข่าย ได้ ส.ส. ≥ 251 ทีน

1. พรรคของ คสช. สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได 2. พรรคของ คสช. มีโอกาสจับมือกับพรรคอืน่ แตกเ็ ปนรัฐบาล เสียงขางนอย 3. พรรคเพื่อไทยมีแนวโนมจะเปนฝายคานที่มีเสียงขางมาก จัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได รัฐบาลผานกฎหมาย และงบประมาณได ฝายคานลงมติไมไววางใจรัฐบาลได ประเทศเดินหนาตามแนวทางของ คสช. ประเทศมีโอกาสเดินหนาสูประชาธิปไตย 37


ไพ่ 5 ใบสุดท้ายเพื่ อ เปลี่ยนผลการเลือกตั้ง หลังสิน้ สุดการลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กกต. มีเวลา 60 วัน ทีจ่ ะนับคะแนนและประกาศผล อยางเปนทางการ ระหวางนี้ กกต. ที่ คสช. เลือกสรรขึ้นมา อาจใชอํานาจที่มีเพื่อ “เขี่ย” ผูสมัคร ส.ส. ของพรรคอื่นออกจาสนามการเลือกตั้งได

38

ใบเหลือง

ใบแดง

กกต. อาจสั่งใหเลือกตั้งซอม หากพบเห็นการกระทําไมสุจริต กอนหรือระหวางการเลือกตั้ง

ศาลฎีกาอาจสั่งใหเลือกตั้งซอม และผูสมัครบางคนระยะเวลาหนึ่ง หากพบหลักฐานการกระทําไมสุจริต

ใบส้ม

ใบดํา

กกต. อาจสั่ งใหเลือกตั้ง ซอม และตัดสิทธิผสู มัครบางคน 1 ป หากพบเห็นการกระทําไมสจุ ริต กอนหรือระหวางการเลือกตั้ง

ศาลฎีก าอาจสั่งใหเ ลือกตั้งซอม และสั่งตัดสืท ธิผูสมัครบางคน ตลอดไป หาพบหลักฐาน การกระทําไมสุจริต


มาตรา 44

ไพใบสุดทายของ คสช. ที่สามารถใชทําอะไรก็ได รัฐธรรมนูญรับรองให คสช. ยังมีอํานาจมาตรา 44 กอน-ระหวาง และหลังการเลือกตั้ง จนกวารัฐบาลใหมจะตั้งไดสําเร็จ

กกต. จะใชใบสม สั่งระงับสิทธิผูสมัคร ส.ส. มากขึ้นในการเลือกตั้งรอบนี้ ซึ่งจะมีผล ตอการเพิ่มและลดจํานวนที่นั่ง ส.ส. ของแตละพรรคได หากผลการเลือกตั้งออกมาสูสี และ การจัดตั้งรัฐบาลตองวัดกันดวยที่นั่ง ส.ส. ไมก่ีที่นั่ง อํานาจแจก “ใบสม” ก็อาจมีผลตอการ ตั้งรัฐบาลใหมได นอกจากนี้ ดวยระบบเลือกตัง้ ทีเ่ อาคะแนน ส.ส. แบบแบงเขต มาคิดทีน่ งั่ ส.ส. บัญชีรายชือ่ ถา ส.ส. แบบแบงเขตโดนระงับสิทธิและใหเลือกตัง้ ใหม คะแนนทีเ่ อาไปคํานวน ส.ส. บัญชีรายชือ่ ของพรรคนัน้ ก็จะหายไปดวย ทําใหทนี่ งั่ ส.ส. ของพรรคนัน้ นอยลง ขณะเดียวกันก็อาจไปเพิม่ จํานวน ส.ส. ใหพรรคคูแขงไดดวย

39


คสช. ยังอยู่กับเรา ทิง ้ กับระเบิดไว้อีกเพี ยบ ไมวา ผลการเลือกตัง้ จะออกมาอยางไร ไมวา ฝายสนับสนุน คสช. จะไดจดั ตัง้ รัฐบาลหรือไม เครือ่ งมือตางๆ ที่ คสช. ใชเวลาเกือบหาปคอ ยๆ สรางขึน้ ก็ยงั จะอยูค กู บั สังคมไทย เพือ่ รองรับ อํานาจแบบ คสช. ใหยังอยูกับเราตอไป ตัวอยางเชน

มนูญ ร ร ธ รัฐ 2560

40

รัฐธรรมนูญซึง่ รางโดยคนที่ คสช. แตงตัง้ ขึน้ จากนัน้ ใหทำ ประชามติภายใตบรรยากาศที่ประชาชนถูกปดกั้นการแสดง ความคิดเห็น และการรณรงคเกิดขึน้ จากภาครัฐเทานัน้ หลาย มาตรา ก็ไดรบั รองใหอำนาจของ คสช. อยูก บั เราตอไป พรอม กับวางเงื่อนไขใหแกไขไดยากมาก

ยุทธ ติ ร์ชา ต ส า ศ ี 20 ป

คสช. แอบรางยุทธศาสตรขึ้นเองโดยประชาชนไมมี สวนรวม แตจะผูกมัดชีวิตคนไทยไปอีกถึง 20 ป บังคับให รัฐบาลทุกชุดตอจากนีต้ อ งทำนโยบาย และใชจา ยงบประมาณ ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ไมเชนนั้นอาจถูกถอดถอน จากตำแหนงได โดยมีคณะกรรมการยุทธศาสตรชาติ และ ส.ว. ซึ่งถูกแตงตั้งจาก คสช. คอยกำกับ

ฏิรูป ป น ผ แ ศ ประเท

คสช. ยังแตงตัง้ คณะกรรมการขึน้ มาอีก 11 ชุด รางแผน ปฏิรปู ประเทศเอาไว 11 ดาน ความยาวรวมกวา 3,000 หนา แมไดรัฐบาลใหมแลวคณะกรรมการที่ตั้งขึ้นนี้ก็ยังจะนั่งคุม เกาอี้คอยสอดสองหนวยงานรัฐทุกแหงใหทุกคนตองทำงาน ไปตามแผนที่เขียนขึ้นไวแลวดวย


ฐาน ร ต า ม รรม ธ ย ิ ร จ

ศาลรัฐธรรมนูญและองคกรอิสระรางมาตรฐานทาง จริยธรรมขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อจะใชบังคับกับตุลาการศาล รัฐธรรมนูญ, กรรมการองคกรอิสระ แตก็จะใชกำกับ ส.ส., ส.ว. นักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งดวย หวังสรางบรรทัด ฐานกวางๆ ใหวางตัวเปน "คนดี" หากผูใดฝาฝนอาจพนจาก ตำแหนง และถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งไมเกิน 10 ป

าศ/ ก ะ ร ป สช. ค ่ ง ั คําส

คสช. ใชอำนาจพิเศษและมาตรา 44 ออกประกาศ/คำสัง่ ของ คสช. รวมกันมากกวา 500 ฉบับ เพื่อแตงตั้งโยกยาย ขาราชการสรางองคกร และมอบอำนาจใหทำงานสนอง นโยบายของ คสช. ในทุกระดับ หลายฉบับละเมิดสิทธิมนุษยชน และขัดตอประชาธิปไตย ตอใหมีรัฐบาลใหมหลังเลือกตั้ง ประกาศ/คำสั่ง เหลานี้ก็ยังคงใชไดตลอดไปจนกวาจะมี กฎหมายมายกเลิก

มาย ห ฎ ก สนช. ก า จ

สภานิติบัญญัติแหงชาติ (สนช.) ที่ คสช. แตงตั้งทหาร ขาราชการ 250 คน เขามายกมือออกกฎหมายกลายเปน ตรายางผานกฎหมายมากกวา 350 ฉบับ ทั้งจำกัดสิทธิ ประชาชน เพิ่มอำนาจราชการสวนกลาง และอนุมัติจายเงิน งบประมาณ พระราชบัญญัติหลายรอยฉบับนี้จะกลายเปน กฎหมายทีย่ คุ สมัยของ คสช. ทิง้ ไวและอยูก บั เราไปอีกยาวนาน 41


นอกจากไปเข้าคูหา ประชาชนทําอะไรได้บ้าง? 1. ช่วยกันชักชวนคนอื่นไปเลือกตั้ง การไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง เปนทั้งสิทธิและหนาที่ของ ประชาชน การเลือกตั้งอาจไมไดแกปญหาไดทุกเรื่องแตก็เปน โอกาสสําคัญทีจ่ ะไดบอกวา ประชาชนตองการอะไร ไปลงคะแนน กันเยอะๆ และชวยกันชักชวน พอ แม พี่ นอง เพื่อนฝูงทุกคน ไปลงคะแนนกันใหมากที่สุดนะ

2. ช่วยกันบอกต่อความรู้ ระบบการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ 2560 ยังเปนของใหม สําหรับประเทศไทย หลายคนก็ยังไมเขาใจ หากใครอานแลว ศึกษาแลว พอเขาใจ ชวยกันบอกตอ อธิบายให พอ แม พี่ นอง เพือ่ นฝูงเขา ใจเหมือนกัน และไปลงคะแนนไดถกู ตองตามกติกาใหม ดวยนะ

? 42

3. ช่วยกันตัง ้ คําถามกับนักการเมือง ชวงใกลเลือกตั้งผูสมัคร ส.ส. จะลงพื้นที่พบปะประชาชน เพื่อหาเสียง ในชวงเวลาแบบนี้ ถามีเรื่องอะไรที่เราอยากเห็น ปญหาไหนที่อยากแกไขชวยกันตั้งคําถามและขอใหนักการเมือง ที่มาหาเสียงเก็บเอาไปออกเปนนโยบายดวย ถาเขาไดเปน ส.ส. แลวเราก็ตองชวยกันทวงถามใหทําตามที่เขาสัญญาไวดวยนะ


4. ช่วยกันจับตาการเอาเปรียบ คู่แข่ง เรากําลังจะมีเลือกตั้ง ทั้งๆ ที่รัฐบาลของ คสช. ยังอยูใน อํานาจแถมตัง้ พรรคการเมืองมาลงสนามแขงเองดวย ประชาชน ตองชวยกันดูวา พรรคการเมืองของ คสช. เอาเปรียบคูแขง บางหรือไม เชน ไดติดปายในตําแหนงที่ดีกวา เวลาหาเสียง มากกวา ใชทรัพยากรของราชการในการหาเสียง ฯลฯ หรือ พรรคการเมืองคูแขงถูกเอาเปรียบบางหรือไม เชน ถูกหาม ทํากิจกรรมทางการเมือง ถูกตัง้ ขอหาดําเนินคดี ถูกทหาร-ตํารวจ กดดันระหวางการหาเสียง ฯลฯ

5. ช่วยกันจับตาการโกงเลือกตัง ้ ชวงกอนเลือกตั้งหากประชาชนพบเห็นการโกง เชน การ ซื้อเสียงขายเสียง เปนหนาที่ตองชวยกันใหขอมูลเพื่อเปดโปง การโกง ในวันเลือกตั้ง นอกจากเดินไปคูหาเพื่อลงคะแนนเสียง แลว ประชาชนยังสามารถชวยกันสังเกตการณไดวา มีการโกง เลือกตั้ง หรือทําผิดกฎหมายเลือกตั้ง หรือมีการติดปายหาเสียง บริเวณคูหา มีการถายภาพบัตรเลือกตัง้ ทีล่ งคะแนนแลว รวมทัง้ ระหวางการนับคะแนน ประชาชนสามารถไปติดตามดูไดวา การ นับคะแนนเปนไปอยางโปรงใสหรือไม หากประชาชนพบเห็นการทุจริตเลือกตั้ง หรือการเอาเปรียบคู่แข่ง สามารถแจ้งมาได้ที่

เครือขายประชาชนสังเกตการณเลือกตั้ง (We Watch) ทางเว็บไซต www.wewatchthailand.org/report_election_problem หรือทางไลน ที่ @we-watch สามารถแจง กกต. โดยตรงไดทางสายดวนเลือกตั้ง โทร. 1171 กด 1 หรือทางเว็บไซต www.ect.go.th/ect_th/report_corruption.php 43


ติดตามข้อมูลเพิ่ มเติม เกี่ยวกับการเลือกตั้ง’62 ได้ที่

หรือ www.ilaw.or.th/2019election


การเลือกตั้ง‘62 กติกาเขียนโดย คสช. ผลลัพธ์เขียนโดยพวกเรา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.