มาตรฐานการพิมพ์ ISO 12647 กับ มอก. 2260

Page 1


มาตรฐานการพิมพ์ ISO 12647 กับ มอก. 2260 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วีระ โชติธรรมาภรณ์* การแข่งขันทางเศรษฐกิจในสังคมปัจจุบันมีการแข่งขันกันอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันกัน ในคุณภาพของสินค้าและบริการ การบริหารจัดการทีด่ ี การส่งมอบสินค้า การรับประกันสินค้า ตลอดจนการไม่สร้างปัญหา รบกวน หรือทำลายสิ่งแวดล้อม การแข่งขันทางเศรษฐกิจไม่ใช่เพียงการแข่งขันกันในประเทศเท่านั้น อนาคตอันใกล้ เขตการค้าเสรีจะเกิดขึ้นทั่วโลก เช่น FTAs AFTA NAFTA เป็นต้น กำแพงภาษี ข้อจำกัดทางการค้าจะถูกลดลง การแข่งขันจากต่างชาติจะเพิม่ มากขึน้ อุตสาหกรรมจำเป็นต้องมีศกั ยภาพในการแข่งขันจึงจะสามารถดำเนินธุรกิจไปได้ ระบบมาตรฐานเป็นข้อกำหนดหนึ่งในการแข่งขันของอุตสาหกรรม หากอุตสาหกรรมใดไม่ได้รับรองมาตรฐาน ก็อาจไม่ได้รบั การยอมรับในการทำธุรกิจต่อกันได้ จีงจำเป็นทีอ่ ตุ สาหกรรมต้องได้รบั การรับรองมาตรฐาน ระบบมาตรฐาน ISO เป็นระบบมาตรฐาน

กิจกรรม หรือผลทีเ่ กิดขึน้ ของกิจกรรมนัน้ ๆ เพือ่ ให้เป็น

สากลระหว่างประเทศ ระบบมาตรฐานที่เราคุ้นเคย

หลักเกณฑ์ใช้กนั ทัว่ ไป จนเป็นปกติวสิ ยั โดยมุง่ ให้บรรลุถงึ

หรือได้ยินชื่อ เช่น อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 เป็น

ความสำเร็จสูงสุดตามข้อกำหนดทีว่ างไว้

มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000 เป็ น มาตรฐานการจั ด การสิ ่ ง แวดล้ อ ม

มาตรฐานสากล ISO องค์ ก ารมาตรฐานสากลหรื อ องค์ ก าร

เป็นต้น ส่วนประเทศไทยมีหน่วยงานในการกำหนด

ระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ยมาตรฐาน (International

กำกับและดูแลคุณภาพของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คือ

Organization for Standardization : ISO) ก่อตัง้ เมือ่

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรม หรือ สมอ.

ปี พ.ศ. 2489 ตัง้ อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์

สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม

และกำหนดว่าวันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันมาตรฐานโลก (World Standards Day) เป็นองค์การระหว่างประเทศ

มาตรฐาน (Standard)

ทีก่ อ่ ตัง้ ขึน้ เพือ่ ทำหน้าทีก่ ำหนดมาตรฐานของอุตสาหกรรม

มาตรฐาน หมายถึง ข้อกำหนดหรือเอกสาร

ประเภทต่าง ๆ ISO เป็นชือ่ เรียกองค์การ เดิมใช้เป็นตัว

ทีจ่ ดั ทำขึน้ จากการเห็นพ้องต้องกัน และได้รบั ความเห็นชอบ

อักษรย่อว่า IOS ต่อมาจึงเปลีย่ นเป็น ISO ซึง่ เป็นการใช้

จากองค์การอันเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป เอกสารดังกล่าว

เรียกชือ่ องค์การแทนการใช้อกั ษรย่อ และเพือ่ ให้สอดคล้อง

วางกฎระเบียบ แนวทางปฏิบัติหรือลักษณะเฉพาะแห่ง

กับภาษากรีก ทีแ่ ปลว่า เท่ากัน เสมอกัน ISO เป็นองค์การ

* รองคณบดีคณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม, หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา

10

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐


ทีม่ ใิ ช่หน่วยงานรัฐบาลเป็นองค์การ ทีเ่ กิดจากการรวมตัว

และหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจะแสดงความจำนงของ

ระหว่างองค์การอุตสาหกรรมนานาชาต โดยมีพนั ธะสัญญา

ความต้องการมาตรฐาน การทีจ่ ะประกาศใช้มาตรฐาน ISO

ทีจ่ ะพัฒนามาตรฐานอุตสาหกรรม ในแต่ละประเทศจะมี

ได้ต้องได้รับความยอมรับอย่างน้อย 75% จากสมาชิก

หน่วยงานทางด้านมาตรฐาน หรือองค์การมาตรฐานของ

ทัง้ หมด ในแต่ละกลุม่ มาตรฐาน

ประเทศนั้น ๆ เป็นตัวแทน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม ความร่ ว มมื อ และการกำหนดมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

อุตสาหกรรรม ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อประโยชน์

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม หมายถึง

ทางการค้ า ระหว่ า งประเทศหรื อ เกิ ด ระบบมาตรฐาน

สิ่งหรือเกณฑ์ทางเทคนิคที่กำหนดขึ้น สำหรับผลิตภัณฑ์

ของโลกทีส่ มบูรณ์ยง่ิ ขึน้

อุตสาหกรรม เกณฑ์ทางเทคนิคนี้จะระบุคุณลักษณะ

มาตรฐาน ISO ไม่ได้เป็นมาตรฐานบังคับว่า

ทีส่ ำคัญของผลิตภัณฑ์ ประสิทธิภาพของการนำไปใช้งาน

ทุกอุตสาหกรรมต้องปฏิบัติตาม แต่เป็นมาตรฐานที่มี

คุ ณ ภาพของวั ต ถุ ด ิ บ ที ่ น ำมาผลิ ต ซึ ่ ง จะรวมถึ ง วิ ธ ี

ลักษณะตามความสมัครใจ โดยส่วนใหญ่ของมาตรฐาน

การทดสอบด้วย เพื่อใช้เป็นเครื่องตัดสินว่าคุณภาพ

จะมุ่งเน้นให้ความสำคัญเกี่ยวกับคุณภาพของสินค้า

ผลิตภัณฑ์นน้ั ๆ เป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่ ซึง่ หน่วยงาน

มาตรฐานการบริหารจัดการ มาตรฐานด้านสุขภาพ

ในประเทศไทยทีด่ แู ลผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม คือ สำนักงาน

มาตรฐานด้ า นความปลอดภั ย หรื อ มาตรฐานด้ า น

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรม หรือ สมอ. เป็นหน่วยงาน

สิ่งแวดล้อม เป็นต้น มาตรฐานที่กำหนดจะถูกนำเข้าไป

ภาคราชการทีม่ กี ารพัฒนางานด้านการบริการมาโดยตลอด

เป็นกฎแนวทางของแต่ละประเทศ หรือใช้เป็นแนวทางด้าน

อย่างต่อเนือ่ ง และในฐานะที่ สมอ. เป็นสถาบันมาตรฐาน

เทคนิคในการตัดสินใจของหน่วยงานทีค่ วบคุมกฎระเบียบ

แห่งชาติ และเป็นสมาชิกองค์การ ระหว่างประเทศว่าด้วย

หรือภาคราชการ

การมาตรฐาน (ISO) สมอ.จะเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน

ข้อกำหนดของมาตรฐาน ISO จะถูกกำหนด

ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม หรือทีเ่ ราเรียกว่า มอก. และจะเป็น

ขึ้นจากแรงผลัดดันทางการตลาดและจะต้องเกิดจาก

ผูอ้ อกเครือ่ งหมาย มอก. ให้แก่หน่วยงานทีไ่ ด้รบั การรับรอง

ความเห็นพ้องของแต่ละประเทศสมาชิก ผู้เชี่ยวชาญ

ตาม มอก.

ในแต่ละอุตสาหกรรม หรือกลุม่ ธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้ใช้

เครื ่ อ งหมาย มอก. คื อ เครื ่ อ งหมาย

เป็นแนวทางสากล การแสดงเจตจำนงของความต้องการ

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม กำหนดขึน้ โดยสำนักงาน

มาตรฐานใด ๆ อาจจะมีความร่วมมือระหว่างผูเ้ ชีย่ วชาญ

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) มาตรฐานที่

และรัฐบาล หน่วยงานทีค่ วบคุมกฎระเบียบหรือราชการ

กำหนดขึน้ คือ ข้อกำหนดทีร่ ะบุคณ ุ ลักษณะของผลิตภัณฑ์

หน่ ว ยงานตรวจสอบ สถาบั น ศึ ก ษา กลุ ่ ม ผู ้ บ ริ โ ภค

วัตถุดิบที่นำมาผลิต ประสิทธิภาพการใช้งาน รวมถึง วิธกี ารทดสอบผลิตภัณฑ์นน้ั ๆ เพือ่ บ่งชีว้ า่ ผลิตภัณฑ์ตาม มาตรฐานที่กำหนด โดยอนุญาตให้แสดงเครื่องหมาย มาตรฐาน ปัจจุบัน สมอ. อนุญาตให้แสดงเครื่องหมาย มอก. รับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ 2 เครือ่ งหมาย คือ

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐

11


1. เครือ่ งหมายมาตรฐานทัว่ ไป

ไม่พร้อมกันโดยเริ่มประกาศใช้ครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ.

2. เครือ่ งหมายมาตรฐานบังคับ

2544 - 2549 และไม่ได้เรียงตามมาตรฐาน หลังจากมี ประกาศใช้ทุกมาตรฐานแล้ว กระทรวงอุตสาหกรรม จึงได้นำมาตรฐาน ISO 12647 ทั้งหมดมาจัดทำเป็น มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม โดยกำหนดเป็น มอก. 2260 โดยประกาศในปี พ.ศ.2549 ดังนัน้ มาตรฐาน ISO

เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป

เครื่องหมายมาตรฐานบังคับ

12647 ก็คอื มอก. 2260 ISO 12647-1 : 2004 กับ มอก. 2260 เล่ม 1-2549

มาตรฐาน ISO 12647 กับ มอก. 2260

มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ุ ต สาหกรรมนี ้

มาตรฐาน ISO ทางการพิมพ์ เป็นกลุ่ม

กล่าวถึง พารามิเตอร์และวิธกี ารวัด (Parameters and

มาตรฐาน Graphic Technoogy มีสมาชิกจากประเทศ

measurement methods) การควบคุมกระบวนการ

ต่าง ๆ ประมาณ 37 ประเทศ แบ่งเป็นประเภทสมาชิก

การผลิตในงานแยกสี ฮาล์ฟโทน ปรูฟ๊ และพิมพ์

ที ่ ร ่ ว มทำงานหรื อ ร่ ว มดำเนิ น การ (Participating

ในกระบวนการพิมพ์ ความถูกต้องของ

member หรือ P-member) จำนวน 15 ประเทศ ได้แก่

การแสดงสี แ ละน้ ำ หนั ก สี จะขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ข้ อ ตกลงใน

เยอรมัน สวิตเซอร์แลนด์ ฝรัง่ เศส อังกฤษ สเปน เบลเยีย่ ม

การควบคุมคุณภาพระหว่างผู้ปฏิบัติงานแยกสี ปรู๊ฟ

ออสเตรีย เนเธอร์แลนด์ รัสเซีย ยูเครน สหรัฐอเมริกา

และช่ า งพิ ม พ์ ด้ ว ยการสื ่ อ สารใช้ ค ่ า พารามิ เ ตอร์

บลาซิล จีน ญีป่ นุ่ และไทย และประเภทสมาชิกสังเกตการณ์

ทางการพิมพ์ ซึ่งเป็นตัวกำหนดคุณภาพของภาพและสี

(Observer member หรือ O-member) จำนวน 22

บนสิ่งพิมพ์ วิธีการนี้จะช่วยให้การทำงานของขั้นตอน

ประเทศ เช่น สวีเดน เดนาร์ก อิตาลี อินเดีย เกาหลี

ต่าง ๆ ตัง้ แต่การแยกสี ปรูฟ๊ ดิจทิ ลั หรือปรูฟ๊ จากแท่นพิมพ์

เป็นต้น

สามารถผลิตงานได้เหมือนหรือใกล้เคียงกับงานพิมพ์ ISO 12647 เริม่ ประกาศใช้ เมือ่ ปี พ.ศ.2544

จริงมากทีส่ ดุ โดยไม่จำเป็นต้องทำงานแบบลองผิดลองถูก

(ค.ศ. 2001) ISO 12647 จัดเป็นอนุกรมมาตรฐาน

มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ุ ต สาหกรรมนี ้

ซึง่ ประกอบด้วยมาตรฐานในอนุกรม 6 มาตรฐาน ได้แก่

มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื ่ อ กำหนดรายการและรายละเอี ย ด

มาตรฐาน ISO 12647-1, ISO 12647-2,

ของชุดพารามิเตอร์ปฐมภูมิ ที่จำเป็นและมีความสำคัญ

ISO 12647-3, ISO 12647-4, ISO 12647-5, และ

ต่ อ คุ ณ ภาพงานพิ ม พ์ ท ี ่ ป รากฎ รวมทั ้ ง เกี ่ ย วข้ อ งกั บ

ISO 12647-6 ซึง่ แต่ละ ISO มีการประกาศใช้มาตรฐาน

ขั้นตอนการทำงานต่าง ๆ ของกระบวนการพิมพ์ ไม่ว่า จะเป็ น งานปรู ๊ ฟ โดยตรงจากไฟล์ ข ้ อ มู ล ดิ จ ิ ท ั ล หรื อ จากฟิล์มแยกสีฮาล์ฟโทน ขณะที่ในอนุกรมมาตรฐาน เทคโนโลยีการพิมพ์ฉบับอืน่ ๆ กำหนดค่าของพารามิเตอร์ เหล่านี้เพื่อให้เหมาะสมกับกระบวนการเฉพาะ (ได้แก่

12

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐


การพิมพ์ออฟเซต กราวัวร์ เฟล็กโซกราฟฟี และสกรีน) พบว่าบางระบบพิมพ์ พารามิเตอร์กลุม่ หนึง่ อาจมีนยั สำคัญ มากกว่าพารามิเตอร์อื่น ๆ ในกรณีนี้พารามิเตอร์ที่มี นัยสำคัญจะกำหนดไว้เพือ่ บังคับใช้ ในขณะทีพ่ ารามิเตอร์ อื ่ น ๆ จะกำหนดเพื ่ อ เป็ น ทางเลื อ ก อย่ า งไรก็ ต าม ในมาตรฐานเล่ ม นี ้ จ ะพิ จ ารณาพารามิ เ ตอร์ ท ั ้ ง หมด โดยให้ความสำคัญอย่างเท่าเทียมกัน พารามิเตอร์ปฐมภูมิ หมายถึง พารามิเตอร์ ที ่ ม ี ผ ลโดยตรงต่ อ คุ ณ ภาพของภาพ (การมองเห็ น ) พารามิเตอร์ทุติยภูมิ หมายถึง พารามิเตอร์ที่อาจมีผล ทางอ้อมต่อคุณภาพของภาพ ด้วยการทำให้คา่ พารามิเตอร์ ปฐมภูมเิ ปลีย่ นแปลงไป ตัวอย่างพารามิเตอร์ทตุ ยิ ภูมเิ หล่านี้ ได้แก่ ความหนาของฟิล์มแยกสี การสลับด้านของฟิล์ม (อ่านออก - อ่านไม่ออก) การกำหนดฟิล์มเป็นเนกาทีฟ พอสิทฟี ความหยาบของผิวหน้าด้านเคลือบน้ำยา (อีมลั ชัน) ของฟิล์ม การกำหนดเครื่องหมายรีจิสเตอร์ ลำดับสี ในการพิมพ์ ISO 12647-2 : 2004 กับ มอก. 2260 เล่ม 2-2549 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนี้ กล่าวถึง กระบวนการพิ ม พ์ อ อฟเซต (Offset lithographic processes) มีวตั ถุประสงค์เพือ่ กำหนดค่าพารามิเตอร์และ เกณฑ์ ก ำหนดทางเทคนิ ค ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ คุ ณ ภาพ งานพิมพ์ออฟเซต มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ุ ต สาหกรรมนี ้ นำเสนอพารามิเตอร์ต่าง ๆ ทางการพิมพ์และค่าเกณฑ์ กำหนด เพื่อใช้ควบคุมกระบวนการผลิต ตั้งแต่ขั้นตอน การแยกสีสำหรับพิมพ์ออฟเซตสี่สีจนถึงขั้นตอนพิมพ์

ไม่ว่าจะเป็นระบบพิมพ์ป้อนม้วนแห้งตัวด้วยความร้อน ป้อนแผ่น หรือการพิมพ์แบบฟอร์มต่อเนื่อง และปรู๊ฟ ของงานพิมพ์เหล่านี้ รวมถึงปรู๊ฟออฟเซต สำหรับงาน พิมพ์ฮาล์ฟโทนระบบกราวัวร์ดว้ ย ISO 12647-3 : 2005 กับ มอก. 2260 เล่ม 3-2549 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนี้ กล่าวถึง การพิมพ์หนังสือพิมพ์ด้วยระบบออฟเซต แบบโคลด์เซต (Coldset offset lithography and letterpress on newsprint) มีวตั ถุประสงค์เพือ่ กำหนด ค่าพารามิเตอร์ และเกณฑ์กำหนดทางเทคนิคทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณภาพสิง่ พิมพ์ หนังสือพิมพ์ดว้ ยระบบออฟเซต แบบโคลด์เซต มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ุ ต สาหกรรมนี ้ นำเสนอพารามิเตอร์ต่าง ๆ ทางการพิมพ์และค่าเกณฑ์ กำหนด เพื่อใช้ควบคุมกระบวนการผลิต ตั้งแต่ขั้นตอน การแยกสีและปรู๊ฟสำหรับพิมพ์หนังสือพิมพ์สีเดียวหรือ สีส่ ี จนถึงขัน้ ตอนพิมพ์ ISO 12647-4 : 2005 กับ มอก. 2260 เล่ม 4-2549 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนี้ กล่าวถึง การพิมพ์นติ ยสารวารสารด้วยระบบกราวัวร์ (Publication gravure printing) มี ว ั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื ่ อ กำหนดค่ า พารามิ เ ตอร์ ป ฐมภู ม ิ แ ละเกณฑ์ ก ำหนดทางเทคนิ ค ที ่ เกี่ยวข้องกับ คุณภาพงานพิมพ์นิตยสารวารสารด้วย ระบบกราวัวร์ มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ุ ต สาหกรรมนี ้ นำเสนอพารามิเตอร์ต่าง ๆ ทางการพิมพ์และค่าเกณฑ์

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐

13


กำหนด เพือ่ ใช้ควบคุม กระบวนการผลิตนิตยสารวารสาร

เพื่อใช้กับการพิมพ์บรรจุภัณฑ์และงานพิมพ์ทั่วไปด้วย

สี่สีด้วย ระบบกราวัวร์ ตั้งแต่ขั้นตอนการแยกสี ปรู๊ฟ

กระบวนการพิมพ์เฟล็กโซกราฟีสี่สี ยกเว้นการพิมพ์

จนถึงขัน้ ตอนพิมพ์

หนั ง สื อ พิ ม พ์ ตั ้ ง แต่ ข ั ้ น ตอนการแยกสี เตรี ย มฟิ ล ์ ม ทำแม่พมิ พ์ ปรูฟ๊ พิมพ์ และขัน้ ตอนหลังพิมพ์

ISO 12647-5 : 2001 กับ มอก. 2260 เล่ม 5-2549 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนี้ กล่าวถึง

ใครบ้างที่ต้องการมาตรฐานการพิมพ์

การพิมพ์สกรีน (Screen printing) มีวัตถุประสงค์

ผูท้ ต่ ี อ้ งการมาตรฐานการพิมพ์ ในอุตสาหกรรม

เพื่อกำหนดค่าพารามิเตอร์ปฐมภูมิและเกณฑ์กำหนด

การพิมพ์ประกอบด้วยลูกค้า ผู้จัดจ้าง กลุ่มธุรกิจแยกสี

ทางเทคนิคทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณภาพงานพิมพ์สกรีนฮาล์ฟโทน

และทำปรู๊ฟ ที่ต้องการเทียบสีให้ดีขึ้น สีเหมือนกับ

บนวัสดุประเภทกระดาษ พลาสติก และกระดาษแข็ง

แผ่ น พิ ม พ์ ม ากขึ ้ น กลุ ่ ม โรงพิ ม พ์ ท ี ่ ต ้ อ งการพิ ม พ์ ง าน

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนีน้ ำเสนอ

ให้เหมือนปรูฟ๊ ลดต้นทุนในงานเตรียมพิมพ์ และรับงาน

พารามิเตอร์ตา่ ง ๆ ทางการพิมพ์ และค่าเกณฑ์ กำหนด

พิมพ์จากลูกค้าทีต่ อ้ งการมาตรฐาน ได้อย่างสะดวกสบายใจ

เพือ่ ใช้ควบคุม

หรือแม้แต่การทำให้โรงพิมพ์เป็นทีย่ อมรับในเรือ่ งคุณภาพ

กระบวนการ

มาตรฐาน อันจะช่วยนำชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือ

พิมพ์สกรีนสี่สี

มาสูโ่ รงพิมพ์

ตั้งแต่ขั้นตอน การแยกสี ปรูฟ๊

ข้อกำหนดในการทำมาตรฐานการพิมพ์

จนถึงขั้นตอน

ใน ISO 12647 ได้ทำข้อกำหนดมาตรฐาน

การพิมพ์ด้วย

ตั้งแต่เรื่องไฟล์งานที่ใช้ ฟิล์มและการแยกสี, คุณภาพ

เครือ่ งพิมพ์ทง้ั แบบราบและแบบโม (flat bed or cylinder

ของฟิลม์ ความดำ (Density) การบวมของเม็ดสกรีน (Dot

screen printing)

Gain) ความถี ่ ส กรี น มุ ม สกรี น รู ป ร่ า งของสกรี น สีของกระดาษ สีของชุดหมึกพิมพ์ คุณภาพของแม่พมิ พ์

ISO 12647-6 : 2006 กับ มอก. 2260 เล่ม 6-2549

และแผ่นปรูฟ๊ การพิมพ์ การไล่ระดับของสี (Tone value

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนี้ กล่าวถึง

increase) สภาพการควบคุมคุณภาพ การรายงานสภาพ

การพิ ม พ์ ร ะบบเฟล็ ก โซกราฟี (Flexographic

การพิมพ์ เป็นต้น ซึง่ แต่ละหัวข้อมีการกำหนดวิธกี ารปฏิบตั ิ

printing) มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดค่าพารามิเตอร์

และค่าของมาตรฐานต่าง ๆ ไว้อย่างละเอียด

ปฐมภูมิและเกณฑ์กำหนดทางเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับ คุณภาพ สิ่งพิมพ์ที่ผลิตโดยการพิมพ์ภาพฮาล์ฟโทน

การนำ ISO 12647 มาใช้ในอุตสาหกรรม

เฟล็กโซกราฟี มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมนี้ กำหนด พารามิเตอร์ต่าง ๆ ทางการพิมพ์และค่าเกณฑ์กำหนด

14

ประโยชน์ของการทำมาตรฐานการพิมพ์ การพิมพ์ ช่วยให้เกิดประโยชน์โดยตรงต่อธุรกิจเป็น อย่างมาก เช่น

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐


ช่ ว ยลดปั ญ หาการพิ ม พ์ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น และ สามารถตรวจสอบได้ ISO 12647 ได้กำหนดให้มกี ารใช้ เครื่องมือในการวัดคุณภาพของงานพิมพ์ รวมทั้งการ จดบันทึกและนำผลมาวิเคราะห์ นอกจากนี้ ISO 12647 ช่วยเพิ่มผลผลิต ในการทำงาน ลดความสูญเสีย ลดต้นทุน รวมทัง้ ช่วยเพิม่ ศักยภาพ การยอมรับและความสามารถในการแข่งขัน ความเป็ น สากล ได้ ค ุ ณ ภาพของงาน

ทัง้ ในประเทศ ภูมภิ าคของโลก และทัว่ โลกได้ อันเป็นการ

เป็นทีย่ อมรับ ISO 12647 เป็นมาตรฐานการพิมพ์ทไ่ี ด้รบั

ขจัดปัญหาข้อโต้แย้งและการกีดกันทางการค้าระหว่าง

การยอมรั บ จากทั ่ ว โลก ดั ง นั ้ น หากหน่ ว ยงานใด

ประเทศได้

ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 12647 นี้ ก็จะเป็น

จากบทความข้างต้นจะเห็นได้ว่ามาตรฐาน

การแสดงให้เห็นว่า มีการปฏิบัติงานด้านการพิมพ์ที่มี

ISO 12647 หรือ มอก. 2260 มีความสำคัญอย่างไร

คุณภาพมาตรฐาน ก่อให้เกิดความมั่นใจในการติดต่อ

ต่ออุตสาหกรรมการพิมพ์ ต่อธุรกิจ ต่อความสามารถ

ธุรกิจด้วย

ในการแข่งขันของประเทศ ดังนั้นหน่วยงานที่อยู่ใน การทำงานคล่ อ งตั ว และรวดเร็ ว ขึ ้ น

อุตสาหกรรมการพิมพ์ควรจะตระหนักและเริ่มจัดทำ

ในข้อกำหนดของ ISO 12647 มีการกำหนดมาตรฐาน

มาตรฐานการพิมพ์เพือ่ ให้เป็นทีย่ อมรับ แม้วา่ การทีจ่ ะได้รบั

การปฏิ บ ั ต ิ ง าน ช่ ว ยให้ ก ารสื ่ อ สารในการทำงาน

การรับรองมาตรฐาน ISO นั้น ไม่ใช่เรื่องง่าย จะต้อง

เป็นภาษาเดียวกัน มีการทำงานที่เป็นระบบและขั้นตอน

ได้รับความร่วมมือจากจากบุคลากรภายในหน่วยงาน

นอกจากนีย้ งั ครอบคลุมไปยังส่วนอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการพิมพ์

และหน่วยงานสนับสนุนภายนอก แต่ก็คงไม่ยากเกินไป

ั หาในการผลิต ด้วย เช่น วัสดุพมิ พ์ หมึกพิมพ์ ทำให้ปญ

ทีจ่ ะร่วมมือร่วมใจในการปฏิบตั ใิ ห้ประสบความสำเร็จ

สิง่ พิมพ์ลดลง เอกสารอ้างอิง อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2550). “ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3543-3547 ” ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 26 ง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักคณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2550). “ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3596 ” ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 40 ง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักคณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐

15


โครงงานนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์วีระ โชติธรรมาภรณ์* นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ ชั้นปีที่ 4 ทุกคนจะต้องทำโครงงาน เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ การศึกษา ในรายวิชาโครงงานเทคโนโลยีการพิมพ์ ซึง่ มีโครงงานทีส่ ำเร็จเรียบร้อยแล้ว ดังนี้ 1. เครื่องตัดนามบัตร (Automatic Cutter Business Card) ผูจ้ ดั ทำโครงงาน 1. นายณัฐพล สุจริตประกอบค้า 2. นายรัตติ พรหมศาสตร์ 3. นายจตุพร แจ่มนาม ทีป่ รึกษาโครงงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์

เครื่องตัดนามบัตร

ลักษณะของโครงงาน เป็นเครื่องตัดนามบัตรที่พิมพ์ลงบนกระดาษ ขนาด A4 นามบัตรที่ตัดได้จะมีขนาด 54x90 มิลลิเมตร รูปแบบการจัดวางนามบัตรแต่ละใบต้องห่างกัน 3 มิลลิเมตร การตัดจะเป็นลักษณะการตัด 2 มีด สามารถตัดกระดาษ ทีม่ นี ำ้ หนักไม่เกิน 210 แกรม การป้อนกระดาษเพือ่ ทำการตัดจะต้องป้อนด้วยมือ

เครื่องเดินรอยร้อน

2. เครือ่ งเดินรอยร้อน (Hot Stamping Machine) ผูจ้ ดั ทำโครงงาน 1. นางสาวเกสมณี เดชโคตร 2. นายนัฐพงศ์ สุวชิ ชาชนันท์ ทีป่ รึกษาโครงงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ ลั ก ษณะของโครงงาน เป็ น เครื ่ อ งเดิ น รอยร้ อ นมี หน้ากว้าง 10 x 12 นิ้ว ใช้ความร้อนและแรงกดช่วย ในการเดินรอยร้อน ป้อนวัสดุพิมพ์ด้วยมือ แม่พิมพ์จะมี ลักษณะนูน ทำจากโลหะทนความร้อน

* หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐

95


เครื่องผสมหมึกพิมพ์ออฟเซต

3. เครือ่ งผสมหมึกพิมพ์ออฟเซต (Offset Ink Mixer Machine) ผูจ้ ดั ทำโครงงาน 1. นายอธิวฒ ั น์ จิตต์รงุ่ เรืองสุข 2. นายธรรมนูญ ประสพวงษ์ ทีป่ รึกษาโครงงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ ลักษณะของโครงงาน เป็นเครือ่ งผสมหมึกทีส่ ามารถผสมหมึกทีม่ นี ำ้ หนัก ตัง้ แต่ 0.5- 5 กิโลกรัม หมึกทีใ่ ช้ควรเป็นหมึกข้นเหนียว

4. เครือ่ งอบฟิลม์ หดด้วยความร้อน (Shrink Tunnels) ผูจ้ ดั ทำโครงงาน 1. นางสาวนวรัตน์ ชุตภิ ญ ิ โญกุล 2. นายภาสวร

หามนตรี

3. นายนิธวิ ฒ ั น์

มหิทธิหาญ

ทีป่ รึกษาโครงงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ ลักษณะของโครงงาน เป็นเครือ่ งทีม่ ขี นาด กว้าง 40 x ยาว 60 x สูง

เครื่องอบฟิล์มหดด้วยความร้อน 70 cm ความกว้างของวัสดุทเ่ี ข้าเครือ่ งได้ 15 x 20 cm การควบคุมความร้อนทำงานโดยโทโมสตัด มีเครือ่ งตัดฟิลม์ สำหรับรัดชิน้ งาน สามารถห่อชิน้ งานได้หลายรูปแบบ เช่น หนังสือ ขวดน้ำ กล่อง สามารถตัง้ อุณหภูมไิ ด้ตง้ั แต่ 60-200 องศาเซลเซียล 5. เครือ่ งพิมพ์แพด (Pad Printing Machine) ผูจ้ ดั ทำโครงงาน 1. นายพงศักดิ์

ภิรมย์จติ กรณี

2. นายภาคภูม

ตรีธรรมพินจิ

3. นายภูวดล

หนูหมาด

ทีป่ รึกษาโครงงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ เครือ่ งพิมพ์แพด

ลักษณะของโครงงาน

เป็นเครือ่ งพิมพ์ทม่ี แี ม่พมิ พ์เป็นแท่นราบ สามารถ พิมพ์ได้ครัง้ ละ 1 สี สามารถพิมพ์บนวัสดุพมิ พ์ทม่ี รี ปู ทรงต่าง ๆ ได้ ทำงานโดยอาศัยมอเตอร์

96

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐


6. เครือ่ งตีเลขกึง่ อัตโนมัติ (Semi-automatic Numbering StampsMachine) ผูจ้ ดั ทำโครงงาน 1. นายเผด็จ อินสวัสดิ์ 2. นายชัยรัตน์ แก้วกระจ่าง 3. นายกิตติ เพ็งรุง่ ทีป่ รึกษาโครงงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ ลักษณะของโครงงาน เป็นเครือ่ งตีเลขกึง่ อัตโนมัติ จะสามารถตีเลขได้ ครัง้ ละ 4 จุด สามารถตัง้ ให้ตวั เลขทีต่ ไี ม่เลือ่ นตามจำนวน ครัง้ ทีต่ หี รือเลือ่ นเลขได้ครัง้ ละ 1 - 10 ครัง้ จึงเลือ่ นเลข ใช้สำหรับการตีเลขลงบนใบเสร็จ ใช้ระบบนิวเมติกในการกด เครือ่ งตีเลข

เครื่องตีเลขกึ่งอัตโนมัติ

7. สือ่ การเรียนการสอนเรือ่ ง การพิมพ์สกรีน ด้วยโปรแกรม Desktop Author (Teching and Learning media of Screen Printing by Desktop Author) ผูจ้ ดั ทำโครงงาน นางสาวประภัสสร นามเขต ทีป่ รึกษาโครงงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ ลักษณะของโครงงาน เป็ น การสร้ า งคอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยสอนเรื ่ อ ง การพิมพ์สกรีน ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับความเป็นมา แม่พมิ พ์ กระบวนการพิมพ์ รวม 10 บท

สื่อการเรียนการสอนเรื่อง การพิมพ์สกรีน ด้วยโปรแกรม Desktop Author

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐

97


8. สือ่ การเรียนการสอนระบบการพิมพ์พน้ื ลึกด้วย โปรแกรม Desktop Author (Teaching and Learning media of Recess Printing by Desktop Author) ผูจ้ ดั ทำโครงงาน นางสาวฝน พิพลพัฒน์ ทีป่ รึกษาโครงงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ ลักษณะของโครงงาน เป็นการสร้างคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเรือ่ ง การพิมพ์ พื้นลึก ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับความเป็นมา แม่พิมพ์ กระบวนการพิมพ์ การพิมพ์อนิ ทาลโย การพิมพ์กราวัวร์ และการพิมพ์แพด

สื่อการเรียนการสอนเรื่อง การพิมพ์พื้นลึก ด้วยโปรแกรม Desktop Author

สือ่ การเรียนการสอน เรือ่ งเทคโนโลยีการพิมพ์เบือ้ งต้น ด้วยโปรแกรม Desktop Author

98

9. สือ่ การเรียนการสอนเทคโนโลยีการพิมพ์เบือ้ งต้น ด้วยโปรแกรม Desktop Author (Teaching and Learning media of Introduction to Printing Technology by Desktop Author) ผูจ้ ดั ทำโครงงาน นางสาวศุภวรรณ พันธ์เกาะเลิง่ ทีป่ รึกษาโครงงาน ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์วรี ะ โชติธรรมาภรณ์ ลักษณะของโครงงาน เป็นการสร้างคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเรือ่ ง เทคโนโลยี การพิมพ์เบื้องต้น ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับความเป็นมา ของเทคโนโลยีการพิมพ์ การพิมพ์ในระบบต่าง ๆ วัสดุพมิ พ์ งานหลังพิมพ์ กฎหมายการพิมพ์ รวม 9 บท รวมทั้ง แบบทดสอบในแต่ละบทด้วย

วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา... ๒๕๕๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.