บทบรรณาธิการ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2379 วันกําเนิดสิ่งพิมพฉบับแรก ในประเทศไทย โดย หมอบรัดเลย (Dan Beach Bradley) “บิดาแหงการพิมพสยาม” นับตัง้ แตวนั นัน้ รวมระยะเวลา 174 ป อุตสาหกรรมการพิมพของเรามีวิวัฒนาการและไดพัฒนา กาวหนาอยางตอเนือ่ งมาโดยตลอด ปจจุบนั อุตสาหกรรมการ พิมพมีความสําคัญเพราะสิ่งพิมพมีความสัมพันธเกี่ยวโยงกับ ธุรกิจและอุตสาหกรรมอืน่ ๆ อยางแยกจากกันไมได เพราะเราคือ ผูผ ลิตบรรจุภณ ั ฑ สือ่ เพือ่ การประชาสัมพันธ ตลอดจนหนังสือ แหลงความรูต า งๆ ซึง่ เอือ้ ประโยชนแกอตุ สาหกรรมนัน้ ๆ วันการพิมพไทย ตรงกับวันที่ 3 มิถนุ ายน ของทุกป และ หนังสือการพิมพไทยฉบับนี้ คือ ความรวมแรงรวมใจของสหพันธ อุตสาหกรรมการพิมพ ซึง่ เกิดจากความรวมมือของ 9 องคกร ตลอดจน บริษัทหางราน บุคลากรผูสนับสนุนตางๆ ภายใน อุตสาหกรรม ดังนัน้ หนังสือ “วันการพิมพไทย” จึงถือเปนหนังสือ ทีไ่ มได เปนเพียงแคแหลงความรูห รือแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาและ วิวฒ ั นาการของอุตสาหกรรมการพิมพของไทยเทานัน้ หากแต หนั ง สื อ ฉบั บ นี ้ ย ั ง เปรี ย บเสมื อ นความเป น น้ ำ หนึ ่ ง ใจเดี ย ว ของคนในวงการธุรกิจอุตสาหกรรมการพิมพ ที่พรอมรวมมือ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมของพวกเราใหกาวไปดวยกันอยาง มัน่ คง และอยูใ นระดับแถวหนาของวงการสิง่ พิมพระดับโลก คณะกรรมการจัดทําหนังสือ “วันการพิมพไทย” ขอขอบ พระคุณคณาจารยและผูท รงคุณวุฒทิ กุ ทาน ทีใ่ หการสนับสนุน เขียนบทความสาระประโยชนทางวิชาการ ตลอดจนผูส นับสนุน ทุกทาน ที่ใหการสนับสนุนและรวมกันจัดทําหนังสือฉบับนี้ จนสําเร็จลุลวงไปดวยดี กระผมและคณะกรรมการทุกทาน คาดหวังวา หนังสือวันการพิมพไทย ฉบับนี้ จะเปนอีกหนึ่ง ฐานขอมูลสําคัญสําหรับทุกทาน ในการรับทราบถึงพัฒนาการ ทางการพิมพ และเปนหนึ่งในสิ่งบงบอกถึงประวัติศาสตร การพิมพไทย เหมือนเชนทุกปทผ่ี า นมา ชาธิป บุญชวย บรรณาธิการบริหาร
รายชื่อผูจัดทํา หนังสือวันการพิมพไทย 2553 คณะที่ปรึกษา เต็กมิ้ง แซโงว เกรียงไกร เธียรนุกุล สุรศักดิ์ พรบุญมารุง ประสิทธิ์ คลองงูเหลือม พรชัย รัตนชัยกานนท ดร.วิชัย พยัคฆโส ริสรวล อรามเจริญ พิรัช ธัมพิพิธ เกษม แยมวาทีทอง บรรณาธิการบริหาร ชาธิป บุญชวย กองบรรณาธิการ สมชาย รังนกใต มงคล คงสวัสดิ์วรากุล อิทธิพล เกาะพราม สุวิชาภรณ ไทยสวัสดิ์ อนันต วีรชุณหรักษ วิชัย สกลวรารุงเรือง กิตติวัฒน เริงวัย ธีรเดช พรวุฒิกูล วศิน เพิ่มทรัพย ถนัดวิทย โรจนพจนรัตน สุรเชษฐ ลําเพาเลิศวิไล อุมา อัจจิมารังษี รัชนี ชัยชาติ วิรัตน อองจันทร ประสานงานโฆษณา/การจัดทํา วิรัตน อองจันทร ออกแบบปก-จัดหนา บริษัท วิสคอมเซ็นเตอร จํากัด โทร. 0-2734-0773-6 แยกสี-ทําแมพิมพ สมาคมแยกสีแมพิมพเพื่ออุตสาหกรรมการพิมพไทย พิมพ-เขาเลม บริษัท จินดาสาสนการพิมพ จํากัด โทร. 0-2433-6503
8 | วันนการพิ มพไทย ๓ มมิพถนในการจั ุ ายน ด๒๕๕๓ หนังสือเลมนีใ้ ช Font TF ของสหพั ธอตุ สาหกรรมการพิ ทำรูปแบบทัง้ เลม ผูส นใจสามารถติดตอขอรับไดท่ี โทร. 0-2944-6975
54 33 ประวัตหิ มอบรัดเลย 34 ประวัตวิ นั การพิมพไทย
333
36 อินเตอรเน็ทชวยทําใหผปู ระกอบการผูผ ลิตกลอง
สารบัญ
82
40 44 50 54 58 66 68 74 82 90 98 102 112 116 126
74
กระดาษลูกฟูกขนาดเล็กกลายเปนผูผ ลิตขนาดใหญ แยกสีจากอดีต ถึง ปจจุบนั Google กับ สํานักงานไรกระดาษ PaperLess Office Green Environment (Printless) คลัสเตอรสง่ิ พิมพสราง Value Chain ตัง้ เปา 1 แสนลาน ทะลวงตลาดสิงคโปร - ฮองกง ธุรกิจสํานักพิมพและหนังสือเลมในประเทศไทย ป 2552 และแนวโนม 2553 Cluster in Screen Printing มุง สูอ ตุ สาหกรรมการพิมพและบรรจุภณ ั ฑสเี ขียว “เทคโนโลยีสะอาด” สําหรับอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภณ ั ฑ เทคโนโลยี QR Code การดูดซึมน้ำของกระดาษและเทคนิคการวิเคราะห การผลิตสิง่ พิมพเพือ่ สิง่ แวดลอมเพือ่ ใคร หมึกพิมพออฟเซตชนิดใชสารใหสจี ากดีปลาหมึกโดยใชตวั พาฐานน้ำมันถัว่ เหลือง 5Rs เพือ่ บรรจุภณ ั ฑรกั ษสง่ิ แวดลอม การพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ...เพือ่ สิง่ แวดลอม กับผลงาน STOU Packaging Design Award 2010 การกําจัดหมึกและสิง่ แปลกปลอมออกจากกระดาษเพือ่ การรีไซเคิล
132 รายนามคณะมนตรี สหพันธอตุ สาหกรรมการพิมพ (สอกพ.) 141 ธรรมนูญและกฎขอบังคับของสหพันธอตุ สาหกรรมการพิมพ
66 9 | วันการพิมพไทย ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
116
เทคโนโลยี QR Code ทานผูอานหลายทานคงเคยเห็นสัญลักษณสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ประกอบดวยกรอบ สีเ่ หลีย่ มและจุดอยูภ ายใน (ตัวอยางอยูบ นบริเวณชือ่ เรือ่ ง) ซึง่ มักจะปรากฏอยูบ นบรรจุภณ ั ฑ หนังสือ ปายโฆษณา หรือแมแตนามบัตร ความจริงแลวสัญลักษณดงั กลาว คือ รูปแบบ หนึง่ ของบารโคด (Barcode) ทีม่ ลี กั ษณะเปน 2 มิติ (2 Dimension) ปจจุบนั ไดรบั ความ นิยมในการใชเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็วซึง่ คาดวาจะมาแทนทีบ่ ารโคดแบบเดิมทีเ่ ปนแบบ 1 มิติ (1 Dimension) เราจึงควรทําความรูจ กั กันเทคโนโลยี QR Code นี้
ลักษณะของบารโคด ผศ.วีระ โชติธรรมาภรณ หัวหนาสาขาวิชาเทคโนโลยี การพิมพ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนนั ทา
ตัวอยางบารโคด 1 มิติ ชนิดระบบ UPC ระบบ EAN แบบ EAN-8 และแบบ EAN-13
บารโคดเปนระบบสัญลักษณชนิดหนึ่งที่สามารถเขารหัสและถอดรหัสได เชน การเก็บชื่อ รหัสสินคา หรือขอมูลตางๆ บารโคดที่ใชกันมากในปจจุบันยังเปนบารโคด แบบ 1 มิติอยู มีลักษณะเปนเสนแถบยาวสีดําสลับกับ สีขาว ใชแทนรหัสตัวเลขหรือ ตัวอักษร สามารถบรรจุขอมูลไดประมาณ 20 ตัวอักษร การใชงานจะตองมีฐานขอมูล ของบารโคดกอนเมือ่ อานรหัสบารโคดดวยเครือ่ งอานแลว จึงจะเรียกขอมูลจากฐานขอมูล ทีม่ อี ยู บารโคดแบบ 1 มิติ มีหลายระบบ ไดแก ระบบ UPC (Universal Product Code) ระบบ EAN (European Article Numbering Code) ซึ่งระบบ EAN มี 2 ประเภท คือ EAN-8 (short version) และ EAN-13 (standard version)
Barcode ระบบ UPC
Barcode แบบ EAN-8
Barcode ระบบ EAN-13
นอกจากนี้ยังมี ระบบ ISBN Barcode (International Standard Book Number Barcode) ซึง่ ใชกบั หนังสือโดยเฉพาะ
ตัวอยางบารโคด 1 มิติ ชนิดระบบ ISBN Barcode
82 | วันการพิมพไทย ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
นอกจากบารโคดแบบ 1 มิติ แลวยังมีบารโคดแบบ 2 มิติ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มาเพือ่ ให บรรจุขอมูลไดมากกวา แบบ 1 มิติ ในขนาดที่ใชพื้นที่นอยกวาสามารถบรรจุภาษา นอกเหนือจากภาษาอังกฤษไดมากขึน้ เชน ภาษาจีน ภาษาเกาหลี (สําหรับประเทศไทย ทางกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกาํ ลังดําเนินการพัฒนามาตรฐานเพือ่ ปรับปรุง การใชภาษาไทยกับ QR Code ใหมปี ระสิทธิภาพดียง่ิ ขึน้ ) บารโคดแบบ 2 มิติ มีหลาย ระบบ ไดแก ระบบสแตก (Stacked Barcode) แบบ PDF417 (Portable Data File) เปนการ นำบารโคดแบบ 1 มิติ มาวางซอนกันหลายแถว
ตัวอยางบารโคด 2 มิติ ระบบสแตก แบบ PDF417
ระบบเมตริกซ (Matrix Barcode) มักจะมีรปู แบบเฉพาะตัวบางสวน เชน วงกลม สามชั้นตรงกลาง สี่เหลี่ยมตรงมุมสามดาน หรืออื่นๆ ซึ่งเรียกรวมวา “รูปแบบคนหา (Finder Pattern)” ทั้งนี้เพื่อชวยใหเครื่องอานสามารถกําหนดตําแหนงและขอบเขตของ บารโคด และอานออกมาเปนขอมูลไดอยางรวดเร็วแมนยํา รวมทัง้ สามารถอานบารโคด ไดไมวา จะอยูใ นลักษณะใด จะเอียง หมุนหรือกลับหัว บารโคดระบบเมตริกซมหี ลายแบบ ไดแก 1. แบบ MaxiCode มีลกั ษณะเปนบารโคดสีเ่ หลีย่ มทีม่ ขี นาดแนนอน (fixed-size) ที่ 1.11 x 1.054 นิ้ว สามารถบรรจุขอมูลตัวเลขได 138 ตัวเลขหรือตัวอักษรได 93 ตัวอักษร รูปแบบคนหาคือ วงกลมซอนกันสามวง อยูก ลางบารโคด รหัสของขอมูลจะเปน รูปหกเหลีย่ มทัง้ หมด 866 โมดูล เรียงตัวกันใน 33 แถว
ตัวอยางบารโคด 2 มิติ ระบบเมตริกซ แบบ MaxiCode
Finder
83 | วันการพิมพไทย ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
2. แบบ Data Matrix มีลกั ษณะเปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั และสีเ่ หลีย่ มผืนผา มีหลาย ขนาด สามารถบรรจุขอ มูลตัวเลขไดมากสุดถึง 3,116 ตัวเลขหรือตัวอักษรได 2,355 ตัวอักษร
ตัวอยางบารโคด 2 มิติ ระบบเมตริกซ แบบ Data Matrix
Finder
3. แบบ QR Code (Quick Response Code) มีลกั ษณะเปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั มีหลายขนาด สามารถบรรจุขอมูลตัวเลขไดมากสุดถึง 7,089 ตัวเลขหรือตัวอักษรได 4,296 ตัวอักษร มีลกั ษณะรูปแบบ คนหาเปนรูปสีเ่ หลีย่ มถึงสามจุด
ตัวอยางบารโคด 2 มิติ ระบบเมตริกซ แบบ QR Code
Finder
เทคโนโลยี QR Code QR Code ไมไดเปนบารโคดทีเ่ พิง่ ถือกําเนิด แตไดมกี ารสรางขึน้ มาตัง้ แตป พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) โดย Denso Wave Incorporated ประเทศญีป่ นุ ปจจุบนั เทคโนโลยีของ โทรศัพทมอื ถือมีการพัฒนาขึน้ เปน อยางมากซึง่ เปนสวนสําคัญในการทีท่ าํ ให QR Code ไดมกี ารใชกนั อยางแพรหลายมากขึน้ เพราะโทรศัพทมอื ถือ จะมีกลองทีส่ ามารถถายภาพได จึงไดมกี ารพัฒนาโปรแกรมใหสามารถติดตัง้ โปรแกรมอานขอมูล QR Code ในโทรศัพท มือถือได รวมทัง้ สามารถติดตอผานระบบอินเตอรเน็ตไปยังเว็บไซตตา งๆ ได ขอมูลทีเ่ ก็บใน QR Code จะเปนขอมูล URL ของเว็บไซต ขอความ เบอรโทรศัพท ขอมูล SMS รวมทัง้ ขอมูลตางๆ ปจจุบนั มีการนำ QR Code มาใชในการเก็บขอมูล URL ของเว็บไซต เพราะ URL บางอันอาจจะยาว จดจําไดยาก อาจจะซับซอน มีเครือ่ งหมายมาก แตถาใชเทคโนโลยี QR Code เราเพียงใชโทรศัพทมือถือมาสแกน QR Code ที่อยู บนผลิตภัณฑตา งๆ นามบัตร นิตยสาร ฯลฯ แลวมือถือจะลิง้ คเขาเว็บไซตท่ี QR Code นัน้ ๆ บันทึก ขอมูลอยูโ ดยอัตโนมัติ และดวยการมาของระบบ 3G ทีค่ า ยมือถือตางๆ
84 | วันการพิมพไทย ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
ในบานเรา เชน True Move และ AIS เริม่ นำเขามาใหบริการแลว จะทําใหเราสามารถ เขาอินเตอรเน็ตบนมือถือไดอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีการนำ QR Code มาใสไวบนนามบัตรดวย โดยจะใช QR Code บันทึก URL ของขอมูลสวนตางๆ บนเว็บไซต เชน E-mail Hi5 MSN หรือจะเก็บขอมูล สวนตัวในรูปแบบตัวอักษร เชน ชือ่ ตําแหนง ทีอ่ ยู เบอรโทรศัพท เพียงแคเอามือถือมา สแกนทีน่ ามบัตร ขอมูลบนนามบัตรทุกๆ อยางก็จะถูกจัดเก็บเขามือถือทันที
ตัวอยางขอมูลทีแ่ ปลงเปน บารโคด 2 มิติ ระบบเมตริกซ แบบ QR Code
Asst.Prof.Weera Chotithammaporn Head of Printing Technology Department Suan Sunandha Rajabhat University Faculty of Industrial Technology 1 U-Thongnork Rd.Dusit BKK.10300 www.weera.ssru.ac.th E-mail: weerachoti@hotmail.com Mobile: 08 9892 4249
ขอควรรูเ กีย่ วกับ QR Code (ขอมูลจาก www.educause.edu/eli) 1. QR Code เปนรหัส 2 มิตทิ ป่ี ระกอบดวยตัวเลข ตัวอักษร และความสามารถ ของโปรแกรมทีส่ ามารถสือ่ สารกับระบบ URL ทีเ่ ชือ่ มตอกับเว็ปไซตตา งๆ ได ทัง้ นีร้ ะบบ สามารถจะเชือ่ มตอกัน พรอมกับยืนยัน ขอมูลในรูปแบบของการสือ่ สาร โดยการถอดรหัส จากรูปแบบทีส่ รางขึน้ QR Code ทีม่ ขี นาดเล็ก สามารถแนบไป ในหนังสือพิมพ เอกสาร นิตยสาร หรือเสือ้ ผา ฯลฯ ได 2. ผูผลิต QR Code คือ ประเทศญี่ปุน ซึ่งไดรับความนิยมในการใชงานอยาง แพรหลาย สวนใหญจะนำไปใชในงานดานโลจิสติกส การขนสง การพาณิชย และการ ติดตามขอมูลสินคาผลิตภัณฑตา งๆ หรือแมกระทัง่ การใชเปนสือ่ ในการโฆษณา เพือ่ การ ขายสินคา อีกทัง้ ยังเปนทีน่ ยิ มแพรหลายไปทัว่ อเมริกา และทางดานยุโรป 3. QR Code สามารถทํางานไดอยางงายดาย อีกทัง้ ยังเปนสือ่ กลางขอมูลในการ ถายทอด และรับ หรือสรางรหัส ใชในรูปแบบของสัญญาณทางอิเล็กทรอนิกส จากกลอง ดิจติ อลโทรศัพทมอื ถือทีเ่ ปนทีน่ ยิ ม 4. QR Code มีความสําคัญอยางยิง่ ในการสือ่ สารขอมูลถอดรหัสแบบใหมทส่ี ามารถ กระจายไปทัว่ ทุกองคกร บริษทั หางราน รานขายยา การตรวจสอบสภาพอากาศ หรือ จะใชเปนบัตรผานในการเขาเรียนก็ได
85 | วันการพิมพไทย ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
5. QR Code ยังมีขอจํากัดในการ ใชงานเฉพาะ ที่ตองลงโปรแกรมระบบ ทํางานกอน อีกทั้งเครื่องมือ ที่มีความ จําเปนตอการใชงานตองเปนจําพวกกลอง ดิจติ อลของกลองในโทรศัพทมอื ถือ จึงจะ สามารถใชงานได ซึง่ จะเปนการจํากัดสิทธิ์ เฉพาะกลุม ดังกลาว 6. ในอนาคตการใชงานของ QR Code ทีเ่ ปนรูปแบบเมตริกซจะสามารถใช งานไดเปนอยางดี ในระบบสาธารณูปโภค ระบบสินคา ผลิตภัณฑหีบหอ ระบบ รานอาหาร การลงทะเบียนตางๆ ในมหาวิทยาลัย โรงเรียน คอรสการอบรม หรือ การใชในดานบันเทิง ดานการแสดงดนตรีท่ี สามารถสรางรูปแบบเฉพาะของนักรองได เชน ผลงานของอัลบัม้ ใหม หากตองการ เปดฟงเพลงอัลบั้มที่ชื่นชอบ สามารถใช ระบบดังกลาวสือ่ สารเปดรหัสล็อค เพือ่ รับ ขอมูลเพลง พรอมมิวสิควิดโี อ รูปเจาของ เพลง พรอมรายละเอียดตางๆ ได 7. QR Code เปนการเชือ่ มโยงขอมูล ทางกายภาพที่แสดงใหเห็นถึงการสื่อสาร ที่เปนรูปแบบภาษา ทางสัญลักษณ ใน รูปแบบ online จากแหลงหนึง่ ไปอีกแหลง หนึง่ สามารถแพรหลายแบบโลกาภิวฒ ั น แบบไรขอบเขต โดยมีความเขาใจโดย ปราศจากภาษา และไมหลอกลวงในระบบ ฐานขอมูลทีม่ กี ารอางอิงจากขอมูลจริง
การสราง QR Code การทีเ่ ราจะสราง QR Code สามารถ สรางไดโดยวิธงี า ยๆ โดยไมเสียคาใชจา ย
86 | วันการพิมพไทย ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
เราสามารถเขาไปสราง QR Code หรือ ที่เรียกวา QR Code Generator ได โดยผานทางเว็บไซต ผูเขียนขอแนะนำ 2 เว็บไซต ไดแก
1. QR Code ของ http:// qrcode.kaywa.com
การสราง QR Code นัน้ สามารถเลือก ชนิดของการสราง (content type) ได วาเรา ตองการสราง เปนชือ่ เว็บไซต (URL) ขอความ (Text) หมายเลขโทรศัพท (Phone Number) หรือขอมูลทีส่ ง ไปยังโทรศัพทมอื ถือ (SMS) สามารถเลือกขนาดของ QR Code ได เมือ่ เลือกขนาดแลวจึงเลือก Generate ก็จะได QR Code จากนัน้ ก็ Copy ไปใช หรือสามารถ นำไปใชในลักษณะขอมูลแบบ HTML
2. QR Code ของ http:// qreateandtrack.com/
การสราง QR Code ดวยเว็บไซต นีส้ ามารถเลือกชนิดของการสรางได เชน ชือ่ เว็บไซต (Web Address) ที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (E-mail Address) หมายเลขโทรศัพท (Phone Number) ขอความ (Plain Text) นามบัตร (Business Card) รายการตาราง นัดหมาย (Schedule Event)
การอาน QR Code การอาน QR Code นัน้ สามารถดาวนโหลดโปรแกรมในการอานไวในโทรศัพทมอื ถือ ไดจาก 1. Kaywa สามารถดาวนโหลดไดที่ http://reader.kaywa.com โทรศัพทมือถือที่ รองรับ ไดแก Nokia 3230, 3250, Series 5, Series 6, Series 7, E-Series, N-Series, Motorola V3x, V8, Samsung SGH-Z500, Sony Ericsson K300i, K610i, K700i, K750i, K800i, S500, S710a, V630, V800, W-Series, Z-Series 2. Quickmark สามารถดาวนโหลดไดท่ี http://www.quickmark.com.tw/En/basic/ download.asp โทรศัพทมือถือที่รองรับ ไดแก ทุกรุนที่มีกลองและใชระบบปฏิบัติการ Windows Mobile, Symbian 6.x ขึน้ ไป หรือมีระบบ Java 3. I-nigma สามารถดาวนโหลดไดที่ http://www.i-nigma.com/personal/Get Reader.asp โทรศัพทมอื ถือทีร่ องรับ ไดแก Nokia 3230, 3250, Series 5, Series 6, Series 7, 8600 Luna, E-Series, N-Series, Sony Ericsson C905, D750i, G900, K300i, K5xxx Series, K6xxx Series, K7xxx Series, K8xxx Series, P1, P990i, S710a, V630, V800, W-series, Z-Series 4. Jaxo systems สามารถดาวนโหลดไดที่ http://www.jaxo-systems.com/ download/index.php?lang=en_US โทรศัพทมอื ถือทีร่ องรับ ไดแก BenQ-Siemens EF81, S65, LG KT512, KU800, Motorola A910, U9, V3x, Nokia 3230, 3250, Series 5, Series 6, Series 7, 8600 Luna, E-Series, N-Series, Sagem My501C, Samsung SGHF-Series, I-Series, Z-Series, Siemens SXG75, Sony Ericsson C-702x, F501x, G502x, K310x, K500x K600x, K700x, K800x, S-Series, T650i, V-Series, W-Series, Z-Series 5. Active Print สามารถดาวนโหลดไดท่ี http://www.activeprint.org/download. html โทรศัพทมอื ถือทีร่ องรับ ไดแก Nokia 3650, 3660, 6600, 6630, 6670, 6680, 7610, 7650, N70, N90, Siemens SX1 6. แอพพลิเคชัน่ สําหรับสแกน QR Code บนโทรศัพทมอื ถือ iPhone มีใหเลือกหลาย ตัว สามารถเลือกดาวนโหลดไดจากรานออนไลน iTunes Store ของ Apple ผานโปรแกรม iTunes ซึง่ หลายตัวเปนโปรแกรมแจกฟรีทใ่ี ชงานไดดี เชน I-nigma, QR App และอืน่ ๆ
87 | วันการพิมพไทย ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
หลักการทํางานของ QR Code ผานโทรศัพทมอื ถือ ตามทีไ่ ดกลาวไวแลวขางตนวาปจจุบนั โทรศัพทมเี ทคโนโลยีทด่ี ขี น้ึ มีการใชโทรศัพท มือถือกันมากขึ้น เรียกไดวาแทบจะมีโทรศัพทมือถือกันทุกคน จึงเปนโอกาสที่จะนำ เทคโนโลยี QR Code มาใชผา นโทรศัพทมอื ถือทีส่ ามารถเขาถึงกลุม เปาหมายไดดที ส่ี ดุ มีหลักการทํางาน คือ 1. สแกนขอมูล QR Code ดวยโทรศัพทมอื ถือทีล่ งโปรแกรมเรียบรอยแลว 2. สงขอมูลเพือ่ อานคา QR Code 3. ถอดรหัส QR Code 4. แสดงผลการเขารหัส
หลักการทํางานของ QR Code ผานโทรศัพทมอื ถือ
สแกน QR Code
สงขอมูล
ถอดรหัส
Website หรือขอมูล
QR Code ใชกบั อะไรไดบา ง 1. ใชในการใหขอมูลตางๆ ของสินคาและผลิตภัณฑ เชน ชื่อสินคา ราคา ชนิด บริษทั ผูผ ลิต หรือบริษทั สงออก เบอรโทรศัพทตดิ ตอ ชือ่ เว็บไซต เปนตน 2. ใชสาํ หรับบริการสาธารณูปโภคพืน้ ฐานตางๆ ไมวา จะเปนตัว๋ รถไฟ บัตรผูป ว ย บัตรเงินสด ซึง่ ภายในบารโคดจะระบุตวั เลขหรือตัวอักษรทีเ่ พียงแคใชเครือ่ งสแกนหรือใช โทรศัพทมือถือสแกนก็จะปรากฏขอมูลตางๆ เชน บัญชีผูชําระและผูรับเงินหรือขอมูล ของเจาของบัตร 3. ใชกับบัตรตางๆ ที่ใชแสดงตน เชน บัตรประชาชน พาสปอรต ใบขับขี่ บัตรเขารวมงานประชุม สัมมนา บัตรเขาชมคอนเสิรต บัตรเขาชมกีฬา เปนตน 4. นำมาใชในการจัดกิจกรรมทางการตลาด เชน คูปองสวนลดในนิตยสาร ที่ใช โทรศัพทมอื ถือถาย รูปโคดแลวนำไปใชไดทร่ี า น การแนะนำรานคา 5. นำมาใชในธุรกิจหรือสวนตัว เชน นามบัตร กระดาษหัวจดหมาย 6. นำมาใชในธุรกิจสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน ปายโฆษณาขนาดใหญ โฆษณาในหนังสือพิมพ นิตยสาร ในเว็บไซต
88 | วันการพิมพไทย ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
ตัวอยางการนำ QR Code มาใชกบั บัตรชมกีฬา และการแนะนำรานคา
ตัวอยางการนำ QR Code มาใชกบั นามบัตร และปายโฆษณา
นอกจากนี้เรายังสามารถนำ QR Code ไปประยุกตใชกับงานตางๆ ของธุรกิจ การพิมพหรือบรรจุภณ ั ฑ รวมทัง้ สือ่ อิเล็กทรอนิกสไดอกี หวังวาบทความนีค้ งชวยใหทา น ผูอานไดรูจักกับเทคโนโลยี QR Code มากยิ่งขึ้น ทานสามารถหาขอมูลเพิ่มไดเว็บไซต จากอางอิงทายบทความนี้
แหลงขอมูลอางอิง http://qreateandtrack.com/ http://www.educause.edu/eli http://wakeupmagazine.exteen.com/ http://www.denso-wave.com/qrcode/index-e.html
89 | วันการพิมพไทย ๓ มิถนุ ายน ๒๕๕๓