Russia

Page 1

поговори́м по-ру́сски? รู้จักและเข้าใจภาษารัสเซีย


อักษรรัสเซีย

АОУИЫЭ Й ЕЁЮЯ МНЛР Б П ВФД Т ЗСЦ ГКХ ЖШЧЩ ЬЪ


ภาษารัสเซีย เป็นภาษาในกลุ่มสลาฟตะวันออก ที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน (ภาษาสลาฟแบ่งเป็น สลาฟตะวันตก สลาฟตะวันออกและสลาฟใต้) คล้ายกับ ภาษายูเครนและภาษาเบลารุส อักษรรัสเซียคืออักษรซีริลิค (ใช้เขียนภาษายูเครน เบลารุส บัลแกเรีย และเซอร์เบีย) ในปั จ จุ บั น ภาษารั ส เซี ย ใช้ คํ า ที่ ต รงกั น กั บ ภาษาอังกฤษอยู่มาก เช่น интерне́т (internet) хот-до́г (hot dog) дедла́йн (deadline) маркетинг (marketing) фи́тнес (fitness) бра́узер (browser) ток-шо́у (talkshow)

ЯЦSSIДИ

ЯЦ SSIДИ

ЯЦSSIДИЯЦSSIДИ ЯЦSSIДИ

ЯЦSSIДИ ภาษารัสเซีย

หน้า 1


ЯЦSSIДИ

เรียนภาษารัสเซีย

อย่างเข้าใจต้องรู้ ?

ผู้เรียนต้องศึกษาวิธีการออกเสียง ตําแหน่งที่ เน้นเสียงในคํา เพราะมีผล ต่อความหมาย เช่น писа́ть (เขียน) пи́сать (ถ่ายปัสสาวะ) เพศ พจน์ การก = หัวใจ หลักของภาษารัสเซีย สิ่งสําคัญที่ผู้เรียนต้องเข้าใจคือ การเปลี่ยนรูปคํานาม ตามเพศ พจน์ การก คํานามมี 3 เพศ (ชาย หญิง กลาง) 2 พจน์ (เอกพจน์ พหูพจน์) และ 6 การก ตัวลงท้ายที่เปลี่ยนแปลงไปในคํานาม เช่น кни́га (เอกพจน์) кни́ги (พหูพจน์) кни́гу (กรรม) ตัวลงท้ายกริยาที่กําหนดไว้เฉพาะประธานผู้กระทํา นั้นๆ เช่น чита́ю (ฉัน) чита́ет (เขา/หล่อน) чита́ют (พวกเขา) ตัวลงท้ายกริยาที่เปลี่ยนตามเพศของประธานในรูป อดีตกาล เช่น чита́л (ชาย) Читала (หญิง) читали (พหูพจน์) หน้า 2

การก คือการเปลี่ยนรูปคํา (คํานาม คําสรรพนามคําคุณศัพท์) เพื่อแสดงความหมายและหน้าที่ เช่น Иван = นายอิวาน การกที่ 1 ทําหน้าที่เป็นประธาน (ใครเป็นผู้ทํากริยา อาการ) Это Ива́н. นี่คือนายอิวาน การกที่ 2 ทําหน้าที่แสดงความเป็นเจ้าของ การครอบครอง Дом Ива́на. บ้านของนายอิวาน การกที่ 3 ทําหน้าที่ แสดงกรรมรอง (รับผลจากการกระทําทางอ้อม) звони́ть Ива́ну. โทรหานายอิวาน การกที่ 4 ทําหน้าที่เป็นกรรมตรง (กรรมที่เกิดจากการกระทําโดยตรง) люби́ть Ива́на. รักนายอิวาน การกที่ 5 ทําหน้าที่เป็นเครื่องมือ อุปกรณ์ หรือทํากริยาอาการร่วมกับใคร поговори́ть с Ива́ном. พูดคุยกับนายอิวาน การกที่ 6 ทําหน้าที่แสดงสถานที่ (เหตุการณ์เกิดขึ้นที่ใด) พูดหรือคิดเกี่ยวกับเรื่องใด писа́ть об Ива́не. เขียนเกี่ยวกับนายอิวาน หน้า 3


การประสมอักษร бана́н [บะน́าน] = กล้วย ба เบอะ+อา = บา нан เนอะ+อา+เนอะ = นาน เน้นเสียงพยางค์ที่สอง คําพยางค์แรกจึงกร่อนเสียงลง институ́т [อินสติตูท́] = สถาบัน ин อิ+เนอะ = อิน сти เสอะ+เตอะ+อิ = สติ тут เตอะ+อู+เตอะ = ตูท คําสามพยางค์ เน้นเสียงที่พยางค์สุดท้าย Росси́я [รัสซีย́ะ] = ประเทศรัสเซีย Рос เรอะ+โอ+เสอะ = โรส си เซอะ+อี = ซี я ยา = ยา เน้นเสียงพยางค์ที่สอง พยางค์อื่นจึงกร่อนเสียงลง สระโอ จึงกลายเสียงเป็นสระอะหรืออา การแบ่งพยางค์ภาษารัสเซีย ทําได้โดยการนับจํานวนสระในคํา เช่น бана́н 2 สระ 2 พยางค์ (а-а) институ́т 3 สระ 3 พยางค์ (и-и-у) Росси́я 3 สระ 3 พยางค์ (о-и-я) หน้า 4

การออกเสียงพยัญชนะที่เป็นตัวสะกดท้ายคําภาษา รัสเซียมีความสําคัญ ต้องออกเสียงให้ครบเช่น

март спорт

ควรฝึกการออกเสียงเรียงทีละอักษร март มา-เรอะทึ = ม́า-รทึ спорт สโป́-เรอะทึ = สโป́-รทึ Новосиби́рск นะวะสิบี ́-รึสึกึ ตําแหน่งที่เน้นเสียงมีผลต่อความหมายในภาษา รัสเซีย เช่น я плачу́ ฉันจ่าย(เงิน)ให้ [ยา ปละชู́] я пла́чу ฉัน(กําลัง)ร้องไห้ [ยา ปล́าชู]

* การถ่ายเสียงหรือถอดเสียงภาษารัสเซียเป็นภาษาไทยน้ันยากที่จะ ตรงกัน ฉะนั้นผู้เรียนควรฝึกฝนการฟัง จากเจ้าของภาษาโดยตรง หรือสื่อการเรียนด้วย

หน้า 5


คือสระ ให้เสียง /อะ อา/ หรือทําหน้าที่เป็นไม้หันอากาศ -ั ในภาษาไทย เช่น

ма́ма [ม́ามะ] па́па [ป́าปะ]

ในบางกรณีก็ออกเสียงเป็น สระ /อิ/ а=и ภาษารัสเซียมี 33 อักษร สระ 10 а о у и ы э е ё ю я พยัญชนะ 21 б в г д ж з й к л м н п р с т ф х ц чшщ เครื่องหมายกํากับการออกเสียง 2 ь ъ

หน้า 6

* การออกเสียงภาษารัสเซียในตําแหน่งที่เน้นเสียง [ ́ ] โดยส่วนใหญ่ แล้วมักเป็นเสียงตรีภาษาไทย เช่น ма́ма [ม๊าม่ะ] ла́мпа [ลั๊มป่ะ] ру́чка [รู๊ชก่ะ]

часы́ [ชิซือ́] пло́щадь [ปโล́ชิท]

หน้า 7


คือสระ ให้เสียง /โอะ โอ/ แต่หากไม่เน้นเสียง ก็ออกเสียงเป็น а /อะ อา อัน/ แทน หรือ ในคําหลายพยางค์ก็อาจได้ยินเป็น /เออะ เออ/ ได้เช่นกัน เช่น о́ = о

о =а

дом [โดม]

คือสระ ให้เสียง /อิ อี/ เช่น

рот [โรท]

гора́ [กะร́า]

лимо́н [ลิโมน́]

ки́ви [กี ́วิ]

дома́ [ดะม́า] คือสระ ให้เสียง /อึ อือ/ หากตามด้วยพยัญชนะ й อาจได้ยินเป็น อึย เช่น

คือสระ ให้เสียง /อุ อู/ เช่น หน้า 8

суп [ซุพ]

су́мка [ซุม́ก่ะ]

мы́ло [มือ́ละ]

сыр [ซือร] หน้า 9


คือสระ ให้เสียง /แอะ แอ เอ/ หรือตําแหน่งที่ไม่เน้นเสียงคือ อิ อึ อือ เช่น

экра́н [อิคร́าน]

поэ́т [ปาแอท́]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เหยอะ ยิ อิ/ คือ ย หรือสระอิในภาษาไทย เสียงนี้คล้าย กับเสียงท้ายคําในภาษาอังกฤษที่สะกดคําด้วย y (my, toy) เช่น

หน้า 10

май [มัย]

คือสระกึ่งพยัญชนะ ให้เสียง /ยิ+แอะ/ เสียง е /เยีย/ ก็มาจาก й+э จึงเป็นที่มา ของสระกึ่งพยัญชนะ ลองพูดเร็วๆ ยิ+แอะ ผสมเสียงกัน เช่น

чай [ชัย]

есть [ยิเอส́ท] * е = и เมื่อไม่ได้เน้นเสียง

река́ [ริก́า]

คือสระกึ่งพยัญชนะ ให้เสียง /ยิ+โอ/ เพราะมาจากการผสมเสียงกันของ й+о พูดเร็วๆ ยิ+โอ เช่น

ёлка [ยิโอล́ก่ะ] мёд [มิโอท́] หน้า 11


คือสระกึ่งพยัญชนะ ให้เสียง /ยิ+อู/ มาจาก й+у พูดเร็วๆ ควบเสียงพยัญชนะ และ สระเข้าด้วยกัน ยิ+อู เช่น

юг [ยิอูค́]

лю́ди [ลิอู́ดิ]

คือสระกึ่งพยัญชนะ ให้เสียง /ยิ+อา/ พูดเร็วๆ ควบเสียง й+а ยิ+อา เช่น

หน้า 12

я [ยิอ́า]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เมอะ/ เช่น

пять [ปิอ́าท]

Москва́ [มัสคว́า] метро́ [มิ-ตโ́ร]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เนอะ/ เช่น

нос [โนส]

слон [สโลน] หน้า 13


คือพยัญชนะ ให้เสียง /เลอะ/ เช่น

ла́мпа [ลัม́ป่ะ]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เบอะ/ เช่น

стол [สโตล]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เรอะ/ รัวสะบัด ร เรือ กระดกให้สุด เช่น

Росси́я [รัสซ́ี ย่ะ] หน้า 14

рука́ [รูก́า]

бана́н [บ่ะน́าน]

биле́т [บิเลีย́ท]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เปอะ เพอะ/ เช่น

па́па [ป́าป่ะ]

пи́во [ป́ีว่ะ] หน้า 15


А БА ПА ВА ФА ДА ТА ЗА СА ЦА МА НА ЛА РА ГА КА ХА ША ЖА ЧА ЩА АЙ

О БО ПО ВО ФО ДО ТО ЗО СО ЦО МО НО ЛО РО ГО КО ХО ШО ЖО ЧО ЩО ОЙ

У БУ ПУ ВУ ФУ ДУ ТУ ЗУ СУ ЦУ МУ НУ ЛУ РУ ГУ КУ ХУ ШУ ЖУ ЧУ ЩУ УЙ

Ы БЫ ПЫ ВЫ ФЫ ДЫ ТИ ТЫ ЗИ ЗЫ СИ СЫ ЦИ ЦЫ МИ МЫ НИ НЫ ЛИ ЛЫ РИ РЫ ГИ КИ ХИ ШИ ЖИ ЧИ ЩИ ИЙ ЫЙ

И БИ ПИ ВИ ФИ ДИ

ЭЙ

Э БЭ ПЭ ВЭ ФЭ ДЭ ТЭ ЗЭ СЭ ЦЭ МЭ НЭ ЛЭ РЭ ГЭ КЭ ХЭ

Е БЕ ПЕ ВЕ ФЕ ДЕ ТЕ ЗЕ СЕ ЦЕ МЕ НЕ ЛЕ РЕ ГЕ КЕ ХЕ ШЕ ЖЕ ЧЕ ЩЕ ЕЙ

Ю БЮ ПЮ ВЮ ФЮ ДЮ ТЮ ЗЮ СЮ ЦЮ МЁ МЮ НЁ НЮ ЛЁ ЛЮ РЁ РЮ ГЁ ГЮ КЁ КЮ ХЁ ХЮ ШЁ ЖЁ ЖЮ ЧЁ ЩЁ ЁЙ

Ё БЁ ПЁ ВЁ ФЁ ДЁ ТЁ ЗЁ СЁ

ЯЙ

КЯ

МЯ НЯ ЛЯ РЯ

Я БЯ ПЯ ВЯ ФЯ ДЯ ТЯ ЗЯ СЯ

สระที่ทำให้พยัญชนะออกเสียงเสียงหนัก สระที่ทำให้พยัญชนะออกเสียงเบา พยัญชนะโฆษะ (เสียงก้อง ลำคอสั่น) ลักษณะการออกเสียงแบบพิเศษ ци ши жи = цы шы жы เสมอ และ це ше же = цы шы жы เมื่อไม่เน้นเสียง

Б П В Ф Д Т З С Ц М Н Л Р Г К Х Ш Ж Ч Щ Й

ตารางอักษรและพยางค์ภาษารัสเซีย


คือพยัญชนะ ให้เสียง /เวอะ เฝอะ/ สําคัญตรงที่ต้องใช้ฟันบนแตะริมฝีปากล่าง เช่น

во́дка [โวท́ก่ะ] дива́н [ดิว́าน]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เฟอะ/ เช่น

флаг [ฟลาค] หน้า 16

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เดอะ/ แต่ ด นี้ต่างจากเสียง ด ของไทย ตรงที่เสียงจะ หนักและก้องกว่า เสียงต้องถูกเค้นออกมาจากลําคอ เช่น

вода́ [วะด́า]

Дио́р [ดิโอ́ร]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เตอะ เทอะ/ เช่น

фо́то [โฟ́ต่ะ]

Таила́нд [ตะอิลัน́ท] торт [โต́รึทึ] หน้า 17


คือพยัญชนะ ให้เสียง /เซอะ/ เสียงนี้จะต้องเค้นออกมาจากคอ คอต้องเกร็ง เช่น

ро́за [โ́รซ่ะ]

зонт [โซน́ท]

หน้า 18

цирк [ซือ́รึคึ] ци́фры [ซือ́ฟรือ]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เกอะ/ เสียงนี้ไม่ใช่ ก ไก่ ธรรมดาๆ แต่ต้องเค้นเสียง ออกมา จากคอ ลึกๆ ต้องรู้สึกได้ว่าคอสั่น เช่น

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เสอะ เซอะ/ เช่น

сто [สโต]

คือพยัญชนะ ให้ /ตเสอะ ทเสอะ/ (TS) เอาเสียงท้ายคํา caTS biTS siTS มาเป็น เสียงต้นคําในภาษารัสเซีย ให้จําความรู้สึก ตําแหน่งของลิ้นและปากค้างไว้ แล้วจึง เปล่งเสียง ц ในภาษา รัสเซียออกมา เช่น

сок [โซค]

гита́ра [กิต́าร่ะ] га́лстук [ก́าลสตูค] หน้า 19


คือพยัญชนะ ให้เสียง /เฉอะ/ (ZH) เสียงที่คล้าย ช แต่ก็ ไม่ใช่ซะทีเดียว เพราะ เสียงที่ได้ต้องหนัก คอต้องสั่น ปากต้องห่อ ลมต้องพ่นออกจากปาก เสียง ж ก็คือ เสียง ш เพียงแต่เพิ่ม ลักษณะพิเศษที่ลําคอต้องสั่นพยายามเค้นเสียงออกมาจาก คอ อือ--->ฉึ อือ--->ฉึ นี่คือวิธีฝึกที่ใช้ ในการ ออกเสียงนี้ เช่น

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เขอะ เคอะ/ เช่น

кот [โคท]

Кита́й [คิตัย́]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /คเฮอะ/ (KH) ให้ลองขากเสลดดู ประมาณว่า เคอะ +เฮอะ คือ คล้ายๆ ค ข แต่ให้มีลมออกมาด้วย เค้นเสียงออกมาจากคอ เช่น

храм [คฮ_ราม]

нож [โนฌ] жира́ф [ฉือราฟ]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เฌอะ/ (SH) คล้ายกับ ช แต่ขอให้เพิ่มลมพ่นออกมา ห่อ ปากกลมๆ เหมือนต้องการจะให้ ใครสักคนเงียบ จะได้ /เฌอะ/ อย่างที่ต้องการหรือไม่ อยู่ที่การห่อปากและลม เหมือนจะจูบหรือทําปาก “ฌูววว” ให้เงียบเสียง หรือ นําเสียง ให้เด็กฉี่ ลมต้องมา ปากต้องห่อ ตรง นี้สําคัญ เช่น

хлеб [คฮ_เลียพ] шко́ла [ฌโก́ล่ะ] шокола́д [ฌะกะล́าท]

หน้า 20

หน้า 21


คือพยัญชนะ ให้เสียง /เชอะ/ (CH) ช ช้าง ไทยๆ เรานี้ยังไม่พอสําหรับการออก เสียงในภาษารัสเซีย ขอให้เพิ่มความแรง ความชัด ให้รู้สึกได้ว่าเสียงกระแทกเป็นลม ออกมาจากปาก เช่น

чесно́к [ชิสโนค́]

врач [วราช]

คือพยัญชนะ ให้เสียง /เชอะ/ (SHCH) เสียงนี้เป็น ช ที่เบาเป็นพิเศษ เสียงจะ ลากยาว กว่า ช ช้างในภาษาไทย ให้จําความรู้สึกจากการออกเสียงคํา fresh cheese นั่นคือ การรวมกันของเสียง SH+CH โดยที่ปากห่อแล้วจึงปล่อยลมออกมา ริมฝีปากต้อง เหยียดออกไปด้านข้างเหมือนคนยิ้ม จําหลักไว้ว่า ห่อ เหยียด ยิ้ม เบา เช่น

หน้า 22

борщ [โบ́-รึชึ] щётка [ชิโอท́ก่ะ]

ไม่เป็นทั้งพยัญชนะและสระ แต่เป็นเครื่องหมายที่กํากับการออกเสียง ในภาษา รัสเซียมีชื่อเรียกตัวเองว่า “เบา” หรือ “ค่อย” เห็นอักษรนี้เมื่อใด พยัญชนะที่อยู่ข้าง หน้าจะออกเสียงเบา โดยทันที คําใดก็ตามที่มี ь ปิดท้ายคํา จะได้ยินเป็นเสียงสระอิ เช่น ลิ-ль ทิ-ть

соль [โซลิ]

чита́ть [ชิต́าทิ]

ชื่อเรียกอักษร มีชื่อว่า “หนัก” หรือ แข็ง” ทําหน้าที่เป็นเครื่องหมายกํากับการ ออก เสียง มีหลักว่าหากปรากฏที่ท้ายพยัญชนะใด พยัญชนะนั้นออกเสียงหนักเสมอ หนัก ในที่นี้คือออกเสียงเต็มแรง เต็มพลัง เวลาออกเสียงให้นึกว่าจะต้องหยุดเสียงซักนิด ให้เห็นเหมือนเป็น .[full stop] แล้วจึง ออกเสียงเหมือนกับพยัญชนะที่อยู่ข้างหน้านั้น สะกดด้วย สระอึ เช่น

подъём [ปัท-ยิโอม] въезд [วึ-เยสท]

หน้า 23


ЯЦSSIДИ

ภาษารัสเซียน่ารู้ อักษรรัสเซียที่เสียงและรูปตรงกับอักษรในภาษาอังกฤษได้แก่ актом

อักษรที่รูปตรงกันแต่ออกเสียงต่างออกไปได้แก่ рнухвс

อักษร ё เน้นเสียงหนักเสมอ เช่น моё [มะโย́] ёлка [ยิโอล́ก่ะ]

́ (stress mark) คือเครื่องหมายเน้นเสียง ใช้กํากับการออก เสียงหนักที่พยางค์นั้นๆ แต่ละคําจะมีตําแหน่งที่ต้องเน้น 1 ตําแหน่ง โดยที่ ́ อยู่เหนือสระเสมอ ต้องออกเสียงให้หนัก ชัด ยาวนาน กว่า พยางค์อ่ืนๆ ในคํา เพราะตําแหน่งท่ีเน้นเสียงช่วยแยกความหมายและ หน้าที่ของคํา เช่น дом дома́ до́ма до́рого доро́га дорого́й

หน้า 24

[โดม] บ้าน [ดะม́า] บ้านหลายหลัง [โด́ม่ะ] อยู่ท่ีบ้าน [โด́ร่ะก่ะ] ราคาแพง [ดะโ́รก่ะ] ถนน [ดะราโก́ย] ที่รัก

พยัญชนะที่อยู่ข้างหน้าสระ е ё ю я ขณะที่ออกเสียงจําเป็นต้อง แยกเสียงเป็นส่วนๆ юбка [ยิอูพ́ก่ะ] лес [ลิเอส] пёс [พิโอส] = ยูพก่ะ เลียส โพส

พยัญชนะภาษารัสเซียมีเสียงหนัก-เบา ขึ้นกับสระและเครื่องหมาย (ь ъ) เช่น нос рад (о а = หนัก) [โนส] [ราท] нёс ряд (ё я = เบา) [นิโอ́ส] [ริอ́าท]

พยัญชนะจะออกเสียงเบาลง เมื่อสะกดด้วย е ё ю я и และมี เครื่องหมายกํากับการออกเสียง ь พยัญชนะเสียงเบาจะออกเสียงครึ่ง หนึี่ง คล้ายกับการสะกดด้วยสระอิ เช่น ря [ริอา] нё [นิโอ]

ภาษารัสเซียแบ่งคํานามออกเป็น สิ่งทีชีวิตและไม่มีชีวิต คําถามที่ใช้จึง ต่างกัน Кто э́то? Э́то Анто́н. Что э́то? Э́то анана́с.

นี่คือใคร นี่คืออันโตน นี่คืออะไร นี่คือสับปะรด

หน้า 25


เลขภาษารัสเซียก็มีเพศ เช่น เลข 1 และ 2 оди́н кот แมวหนึ่งตัว (ชาย) одна́ ры́ба ปลาหนึ่งตัว (หญิง) одно́ письмо́ จดหมายหนึ่งฉบับ (กลาง) два карандаша́ ดินสอสองแท่ง (ชาย) две ру́чки ปากกาสองด้าม (หญิง) ภาษารัสเซียมีการเชื่อมเสียงพยัญชนะและสระ เช่น в оптике [воп]-ти-ке в аптеку [вап]-те-ку в институт [вин]-сти-тут в университет [ву]-ни-вер-си-тет

ภาษารัสเซียมีการจําแนกระดับของคนท่ีเราส่ือสารด้วย โดยการใช้คํา สรรพนามเรียกบุคคล ты คนท่ีอายุน้อยกว่า เพื่อนสนิท คนในครอบครัว вы คนที่อาวุโสด้วยวัยและคุณวุฒิ คนที่ไม่สนิทสนม บุคคล ท่ีเจอกันในคร้ังแรก เป็นการให้เกียรติและ แสดงความสุภาพ вы อาจใช้เรียกคนๆ เดียวหรือหลายคนก็ ได้ คุณอาจได้ยิน คําเรียกบุคคลในสถานท่ีต่างๆ เช่น ร้านค้า รถโดยสาร ธนาคาร молодо́й челове́к! [มะลาโดย́ ชิลาเวียค́!] мужчи́на! [มูฌ́ชินะ!] พ่อหนุ่ม คุณ ๆ де́вушка! же́нщина! [เดีย́วูฌก่ะ!] [แฉน́ชิน่ะ!] เธอๆ นี่หล่อน คุณน่ะ ого และ его พยัญชนะ г ออกเสียงเป็น в кого́ [กาโ́ว] ничего́ [นิชิโ́ว] сего́дня [สิโวด́เนีย] его́ [ยิโ́ว]

หน้า 26

หน้า 27


การเรียงลําดับคําในภาษารัสเซีย สามารถสลับตําแหน่งได้ โดยท่ีความ หมายหลักไม่เปล่ียนแปลง เช่น Я вас люблю́ . ฉันคุณรัก Я люблю́ вас. ฉันรักคุณ Вас я люблю́ . คุณฉันรัก สถานีอวกาศมีร (MIR Space Station) สถานีอวกาศของรัสเซียใน สมัยโซเวียต

พูดคล่อง ต้องรู้ Скажи́те, пожа́луйста โปรดบอกด้วยว่า... [สกาฉือ́เทีย ปะฉ́าลสตะ] Покажи́те, пожа́луйста กรุณาแสดง... [ปะกาฉือ́เทีย ปะฉ́าลสตะ] Дайте, пожа́луйста ขอ( ให้)... [ดัย́เทีย ปะฉ́าลสตะ] Где? [กเดีย] ที่ไหน...

мир ในภาษารัสเซียหมายถึง โลกและสันติภาพ

Кра́сная пло́щадь จัตุรัสแดง ในภาษารัสเซีย คําว่าสีแดง มีความหมายว่า สวยงาม ที่ชาวรัสเซียเชื่อว่า สีแดงเป็นสีแห่งโชคลาภ ความมั่นคง ร่ํารวย และชัยชนะ

หน้า28

вход (ทางเข้า) вы́ход (ทางออก) метро́ (รถไฟใต้ดิน) рестора́н (ร้านอาหาร) апте́ка (ร้านขายยา) такси́ (รถแทกซ่ี) аэропо́рт (สนามบิน) кафе́ (ร้านกาแฟ)

หน้า 29


ЯЦSSIДИ пожа́луйста กรุณา ได้โปรด ยินดี [ปะฉ́าลสตะ] там ที่นั่น ตรงนั้น [ตัม] здесь ท่ีนี่ ตรงนี้ [ซเดียส] приве́т สวัสดี (กันเอง) [ปรีเวีย́ท] здра́вствуйте สวัสดี (ทางการ) [ซดร́าสทวุยเทีย] меня́ зову́ т. .. ฉันชื่อ... [มินย́า ซะวูท́]

извини́те ขอโทษ [อิซวินี́เทีย] спаси́бо ขอบคุณ [สปาซี́บ่ะ] Э́тоя. นี่คือฉัน [แอ́ต่ะ ยา] Э́то вы. น่ีคือคุณ [แอ́ต่ะ วือ] Я вас люблю́ . ฉันรักคุณ [ยา วาส ลูบลิอู́]

เลขภาษารัสเซีย

1 оди́н [อะดีน́] 2 два [ดวา] 3 три [ตรี] 4 четы́ре [ชิตือ́ริ] 5 пять [ปิอ́าท] 6 шесть [ชือแอ́สทิ] 7 семь [สิเอ́ม] 8 во́семь [โ́วซิม] 9 де́вять [ดิเอ́วิท] 10 де́сять [ดิเอ́สิท] หน้า 30

ตัวอย่างการประสมเสียงพยัญชนะและสระ

รู้ ไว้ พูดได้ทันที

фа фо фу фи фы фэ ฟา โฟ ฟู ฟี ฟือ แฟ аф оф уф иф ыф эф อัฟ โอฟ อูฟ อิฟ อึฟ แอฟ ма มา ам อัม

мо โม ом โอม

му มู ум อูม

ми มี им อิม

ай อัย

ой โอย

уй อูย

мой [โมย]

моя́ моё мои́ [มะย́า] [มะโย́] [มะอี́]

ый อึย

мы มือ ым อึม

мэ แม эм แอม


Вели́кий и Могу́чий – Ру́сский язы́к!

เรียบเรียง: ณัฐพล เจนรชต ภาพวาด: ไท พรมชาติ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.