ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ The Lanna of Nan Textile
เอกอนันต์ โพธิ์สุยะ
ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ เอกอนันต์ โพธิ์สุยะ
น่านคือจังหวัดเล็กๆ จังหวัดหนึง่ ในจ�ำนวน 8 จังหวัด ภาคเหนือ ตอนบนของ ึ นทีร่ ้ ูจกั กันดีนามของดินแดน “ล้ านนา” ดินแดนทีง่ ดงามด้ วยศิลปประเทศไทยซ่งเป็ วัฒนธรรมอันสัง่ สมมาแต่อดีตอันยาวนาน มีอาณาเขตทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศตะวันตกติดต่อกับ จังหวัดพะเยา ทิศใต้ ตดิ ต่อกับจังหวัดแพร่ และ อุตรดิตถ์ สภาพภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่ เป็ นภูเขา มีดอยภูคาเป็ นภูเขาสูงสุด ที่ราบมีเพียง 1 ใน 3 ส่วนของพื ้นที่ทงหมด ั้ จะเป็ นทีแ่ ถบราบลุม่ แม่น� ้ำน่าน น� ้ำปั ว และน� ้ำแหง น� ้ำสา น� ้ำสมุน น� ้ำลี และห้ วยน� ้ำ ล�ำธารใหญ่น้อยอีกหลายสายตลอดจนที่ราบระหว่างหุบเขาอีกด้ วยปั จจุบนั จังหวัด น่านแบ่งเขตการปกครองออกเป็ น 15 อ�ำเภอ
4 ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้
ได้ แก่ อ.เมืองน่าน อ.เฉลิมพระเกียรติ อ.เชียงกลาง อ.ท่าวังผา อ.ทุง่ ช้ าง อ.นาน้ อย อ.นาหมื่น อ.บ่อเกลือ อ.บ้ านหลวง อ.ปั ว อ.แม่จริ ม อ.เวียงสา อ.สันติสขุ อ.สองแคว และ อ.ภูเพียง อาณาเขตเมืองน่านในอดีตนันกว้ ้ างขวางกว่าปั จจุบนั แต่ เดิม อ.เชียงค�ำ อ.เชียงม่วน และ อ.เชียงของ (ซี่งปั จจุบนั เป็ นเขตการปกครองของ จังหวัดพะเยาและเชียงราย) เคยเป็ นเขตจังหวัดน่านมาก่อน นอกจากนี ้บริ เวณหัว เมืองฝั่ งขวาของแม่น�ำโ้ ขง ซึง่ ปั จจุบนั คือเขตในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ได้ แก่เมืองเงิน (หรื อเมืองกุสาวดี) เมืองเชียงลม เมืองเชียงฮ่อน และ เมืองคอบ เมืองเหล่านี ้ก็เคยเป็ นหัวเมืองที่ขึ ้นกับเมืองน่านแต่ต้องสูญเสียให้ แก่ ฝรั่งเศสไปในปี พ.ศ. 2466 (ร.ศ. 122) สิง่ ที่นา่ สนใจคือ บริ เวณดังกล่าวเหล่านี ้ล้ วน แต่เป็ นที่อยูอ่ าศัยของชุมชนชาวไทลื ้อ ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ 5
ภาพบน วัดหัวข่วงในสมัย เจ้ามหาพรมสุรธาดา ภาพล่าง เหล่านักเรียนโรงเรียนรังษีเกษม ภาพจาก หอจดหมายเหตุ ม.พายัพ
6 ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้
แม้ วา่ ในปั จจุบนั ชาวเมืองน่าน จะเรี ยกตนเองว่า “คนเมือง” และ “อู้ค�ำเมือง” เฉกเช่นเดียวกันกับชาวไทยวนล้ านนาอื่นๆ แต่สงิ่ ที่เป็ นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรม เมืองน่านก็คือการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมของชาวไทยวนและชาวไทลื ้อ จนแทบจะแยกกันไม่ออกกลุม่ ชาวไทลื ้อที่อาศัยอยูใ่ นเมืองน่านในปั จจุบนั จะอาศัย อยูม่ ากในแถบ อ.ท่าวังผา อ.ปั ว อ.เชียงกลาง อ.ทุง่ ช้ าง ชาวไทลื ้อ เหล่านี ้ได้ อพยพ จากสิบสองปั นนาเข้ ามาอยูใ่ นเมืองน่าน เมื่อประมาณ 200 ปี ที่ผา่ นมา ดังตัวอย่าง หลักฐานที่กล่าวถึงในพงศาวดารเมืองน่านว่ามีการกวาดต้ อนผู้คนชาวไทลื ้อเข้ ามา ในสมัย พ.ศ. 2355 สมัยพญาสุมนเทวราชครองเมืองน่าน และใน พ.ศ. 2399 สมัย เจ้ าอนันตววรฤทธิเดช เป็ นต้ น ความเป็ นไทลื ้อเมืองน่าน มิได้ จ�ำกัดอยูแ่ ต่แวดวง 4 อ�ำเภอดังกล่าวเท่านัน้ น่า เชื่อว่าความสัมพันธ์ ระหว่างชาติพนั ธุ์และวัฒนธรรมของชาวไทยวนและไทลื ้อใน เมืองน่านได้ ด�ำเนินมายาวนานกว่า 200 ปี แล้ ว และได้ หล่อหลอมจนเป็ นลักษณะ เฉพาะที่ปรากฏเป็ นรูปแบบของศิลปวัฒนธรรมเมืองน่าน
ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ 7
ฝ้ายแก้ว ไหมคำ� วัฒนธรรมการทอผ้ าและการใช้ สอยผ้ าที่ปรากฏในเมืองน่านมาแต่ อดีตบ่งบอกถึงการผสมผสานทางวัฒนธรรมระหว่างไทลือ้ และไทยวนซึ่ง ท�ำให้ ผ้าทอเมืองน่านมีเอกลักษณ์ ที่ี่น่าสนใจศึกษาไม่น้อยแม้ ว่าการทอผ้ า และการใช้ สอยผ้ าโดยเฉพาะด้ านการแต่งกายจะแปรเปล่ี่ยนได้ ด้วยผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมอื่นๆ แต่ผ้าทอที่เป็ นร่องรอย จากอดีตก็เป็ นสิ่งที่บ่งบอกถึงวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมและความแปรเปลี่ยน ทางด้ านวัฒนธรรมของกลุม่ ชนชันนั ้ นๆได้ ้ นอกจากนี ้ผ้ าทอพื ้นเมืองก็เป็ นผล งานหัตถกรรมที่มีคณ ุ ค่าในเชิงศิลปะ มีความงดงามประณีต ด้ วยวิธีการทอ ที่ละเอียดซับซ้ อน และเป็ นภูมิปัญญาพื ้นบ้ านจากอดีตที่ควรได้ รับการศึกษา
อนุรักษ์ และฟื น้ ฟูตอ่ ไป ชาวไทยวนและชาวไทลื ้อไม่นิยมเลี ้ยงไหม ผ้ าทอ เมืองน่านจึงล้ วนแต่เป็ นผ้ าฝ้ายแต่ก็ได้ มีการน�ำไหมมาทอปนฝ้ายโดยเรี ยกกัน ว่า “ไหมลาว” ซึง่ มีแหล่งผลิตในอดีตอยูใ่ นหมูบ่ ้ านชาวไทลาว เช่นที่ ต�ำบลน� ้ำ ปั ว้ อ.เวียงสา กลุม่ ชาวไทลาวเหล่านี ้ยังไม่มีผ้ ใู ดได้ ท�ำการศึกษาอย่างจริ งจัง สันนิษฐานว่าอาจเป็ นชาวลาวอพยพมาจากหลวงพระบาง และนี่เป็ นตัวอย่าง หนึง่ ที่แสดงให้ เห็นถึงวัฒนธรรมลาวที่ปรากฏในเมืองน่านด้ วย
ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ 9
ผ้ าซิน่ เมืองน่านมีโครงสร้ างของผ้ าซิน่ โดยทัว่ ไป จะประกอบด้ วย 3 ส่วน คือ ส่วนเอว ส่วนกลางตัวซิน่ และส่วนตีน ซึง่ วิธีการเย็บเป็ นถุงจะมี 2 วิธี คือ เย็บ ตะเข็บข้ างเดียว กับเย็บตะเข็บ 2 ข้ างชาวไทยวนในจังหวัดอื่นๆ ในล้ านนาทัว่ ไป จะเย็บด้ วยวิธีแรก ดังนันลายขวางตรงส่ ้ วนส่วนกลางของตัวซิน่ จึงเกิดจากด้ าย เส้ นยืน แต่ชาวไทลื ้อจะใช้ วิธีเย็บแบบที่ 2 ซึง่ ปรากฏว่าผ้ าซิน่ ในเมืองน่านล้ วนแต่ เย็บด้ วยวิธีที่ 2 นี ้ไม่วา่ จะเป็ นซิน่ แบบใด อันแสดงให้ เห็นว่าเป็ นอิทธิพลแบบไทลื ้อ ทังสิ ้ ้น ผ้ าซิน่ น่านในอดีตนิยมทอด้ วยวิธีการ เก็บมุก สลับสีพื ้นเป็ นช่วงๆโดยมักใช้ ดิ ้นเงินดิ ้นทอง (เรี ยกกันว่า ไหมเงินไหมค�ำ) เป็ นเส้ นพุง่ ลักษณะโครงสร้ างของซิน่ ที่ทอด้ วยลวดลายเก็บมุกนี ้มี 2 แบบคือ
ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ 11
1.ซิ่นป้อง ชื่อซิน่ พื ้นบ้ านของเมืองน่านแบบหนึง่ เป็ นผ้ าซิน่ เย็บ 2 ตะเข็บทอด้ วย เทคนิคขิดเป็ นลายขวางสลับริ ว้ สีพื ้น มีชว่ งขนาดของลายที่เท่ากันโดยตลอด ค�ำว่า “ป้อง” อาจมากจากการจัดโครงสร้ างลายขวางเป็ นปล้ องๆ บางทีก็เรี ยกว่า “ซิน่ ตาเหล้ ม” ซึง่ หมายถึงการจัดลายขวางที่มีลกั ษณะเป็ น “ตาๆ” เข้ าเป็ นกลุม่ ลาย สลับสีด้วยช่วงระยะห่างเท่าๆ กันทังผื ้ น ลายขวางนี ้อาจใช้ หลายเทคนิค
12 ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้
ผสมกัน เช่น มีทงทอด้ ั ้ วยเทคนิคขิด จก ล้ วง ปั่ นไก มัดก่าน โดยมีลายขิดเป็ น หลัก วัสดุด้ายเส้ นยืนเป็ นฝ้าย เส้ นพุง่ เป็ นฝ้าย ไหม ดิ ้นเงิน ดิ ้นทอง สลับกัน โดย นิยมดิ ้นเป็ นลักษณะเด่น สีที่นิยมเป็ นพื ้นคือ สีน�ำเ้ งิน หรื อ สีมว่ ง ซิน่ ป้องนี ้ถ้ าใช้ วสั ดุ ดิ ้นเงินดิ ้นทองเป็ นเส้ นพุง่ พิเศษมากก็จะท�ำให้ มีความแวววาว ในภาษาล้ านนา มัก เรี ยกดิ ้นทองว่า “ไหมค�ำ” ลักษณะซิน่ ป้องที่ทอตกแต่งด้ วยดิ ้นเงินดิ ้นทองมากนี ้จึง นิยมเรี ยกกันว่า “ซิน่ ไหมค�ำ”
ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ 13
2.ซิ่นม่าน ค�ำว่าม่านในภาษาล้ านนาทัว่ ไปหมายถึง พม่า แต่ชื่อเรี ยกซิน่ ชนิดนี ้ไม่ เกี่ ย วกับ พม่ า แต่อ ย่ า งใดเป็ นชื่ อ เรี ย กที่ มี ก ารจัด ช่ ว งของลายมุก สลับ สี พื น้ เป็ น โครงสร้ างที่แน่นอน 4 ระดับด้ วยกัน กล่าวคือ ระดับที่ 1 เป็ นลายมุกแถวบนสุดกับ ช่วงสีพื ้น ซึง่ มีชว่ งขนาดใหญ่กว่าช่วงอื่นๆ ระดับที่ 2 และระดับที่ 3 เป็ นลายมุกสลับ สีพื ้นเป็ นช่วงเล็กลงมาขนาดเท่าๆ กัน ช่วงสีพื ้นทัง้ 3 ระดับนี ้นิยมสลับสีเช่น สีคราม สีแดง และสีเขียว เป็ นต้ น ช่วงสุดท้ ายคือ ระดับที่ 4 เป็ นกลุม่ ของช่วงลายมุกหลายๆ แถวแล้ วจึงถึงตีนซิน่ ซึง่ เป็ นสีพื ้น (นิยมสีครามและสีแดงต่อกันไป) เป็ น
14 ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้
กลุม่ ของช่วงลายมุกหลายๆ แถวแล้ วจึงถึงตีนซิน่ ซึง่ เป็ นสีพื ้นนิยมสีคราม และสีแดงต่อกันไปโครงสร้ างและชื่อเรี ยกซิน่ ทัง้ 2 แบบนี ้น่าสนใจมาก เข้ าใจว่า ซิน่ ป้อง จะเป็ นแบบของชาวไทยวน ส่วนซิน่ ม่าน จะเป็ นแบบของชาวไทลื ้อ ซิน่ ทัง้ สองแบบใช้ น่งุ กันทัว่ ไปในเมืองน่านมาแต่อดีตลักษณะโครงสร้ างแบบซิ่นป้องคือ มีลายขวางเท่าๆกันนัน้ ยังมีชื่อเรี ยกอีกอย่างหนึง่ ว่า ซิน่ ตาเหล้ ม ซึง่ น่าจะหมาย ถึงการจัดโครงสร้ างลายขวางเท่าๆ กันเป็ นแถวๆ ชาวบ้ านบางแห่งอธิบายว่า ซิน่ ป้อง กับ ซิน่ ตาเหล้ ม ต่างกันตรงขนาดของลายมุก แต่สว่ นใหญ่จะบอกว่าเหมือน กัน นอกจากนี ้แล้ ว ซิน่ เมืองน่าน ยังมีการเรี ยกชื่อตามลักษณะพิเศษอีก2แบบคือ
ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ 15
16 ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้
1.ซิ่นค�ำเคิบ หมายถึงซิน่ ที่ทอด้ วยดิ ้นทอง (ไหมค�ำ) ตลอดทังตั ้ วซิน่ โดยอาจมีริว้ สีพื ้น สลับ (แบบเดียวกับซิน่ ป้อง) แต่เป็ นช่วงเล็กๆ เมื่อดูรวมๆ จะเป็ นสีทองทังผื ้ น ตรง ตีนซิน่ อาจทอเป็ นผ้ าสีพื ้นธรรมดาต่อจนสุดผืน หรื ออาจต่อด้ วยตีนจกก็ได้ ซงึ่ ถ้ าต่อ ด้ วยตีนจก ก็จะเรี ยกอีกชื่อหนึง่ ว่าซิน่ ตีนจก ลักษณะตีนจกของเมืองน่านมีลวดลาย จกเป็ นลายสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนเหมือนตีนจกของชาวไทยวนเชียงใหม่ นิยมใช้ ผ้ าฝ้ายสีด�ำเป็ นผ้ าพื ้นและจกด้ วยดิ ้นทองลวดลายจกจะอยูช่ ว่ งบนของตีนซิน่ ส่วน ช่วงล่างของตีนซิน่ จะเป็ นผ้ าพื ้นสีแดง ซิน่ ตีนจกหรื อ ค�ำเคิบ นี ้จะใช้ นงุ่ เฉพาะโอกาส พิเศษเช่นเวลาไปท�ำบุญที่วดั เป็ นต้ น
ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ 17
18 ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้
2.ซิ่นเชียงแสน เป็ นซิน่ ลายขวางเป็ นริ ว้ ๆ ทอด้ วยเทคนิคลายขัดธรรมดาตลอดทังผื ้ นไม่มีการจก หรื อขิด การจัดโครงสร้ างของริ ว้ ลายขวางเป็ นระยะที่แน่นอน นิยมทอสีแดงเป็ นพื ้น ส่วน ริ ว้ ลายขวางจะใช้ สีตา่ งๆ กันไป บางผืนอาจมีเส้ นพุง่ เป็ นลายมัดหมี่เป็ นจุดเล็กๆ สลับ เรี ยกว่า ก่านข้ อ และนิยมใช้ ฝ้าย 2 สีปั่นเข้ าด้ วยกันเป็ นเส้ นพุง่ ในช่วงแถวสุดท้ าย (ช่วง บนของตีนซิน่ ) เรี ยกว่า ปั่ นไกซิน่ เชียงแสนนี ้เป็ นซิน่ พื ้นเมืองของชาวเมืองน่านที่ใช้ นงุ่ ใน เวลาปกติทวั่ ไป ชื่อเรี ยกของซิน่ ชนิดนี ้ บ่งบอกถึงก�ำเนิดว่าเป็ นซิน่ แบบเก่าแก่ของชาว ไทยวนมาแต่อดีต
ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ 19
ส�ำหรับซิน่ ในเมืองน่านแม้ จะมีโครงสร้ างเป็ น ซิน่ ป้อง และ ซิน่ ม่าน แบบเดียว กับซิ่นของชาวไทยวนทัว่ ไปแต่ก็มีลกั ษณะเด่นอันแสดงให้ เห็นถึงเอกลักษณ์ ของ กลุม่ ชนและความสามารถในการทอเป็ นพิเศษ กล่าวคือ ลวดลายมุกบนตัวซิน่ นัน้ โดยทัว่ ไปในเมืองน่านจะนิยมทอลายพื ้นฐานเล็กๆ ลายกาบ ลายขอ เป็ นต้ น และ ตรงเชิงก็จะนิยมทอลายสายย้ อย (คล้ ายกับลายตีนจก) นอกจากนี ้ก็จะมีการทอ ลายเก็บมุกสลับมัดก่าน (มัดหมี่) ท�ำให้ มีลกั ษณะเด่นเฉพาะกลุม่ ต่างจากซิน่ ไทยวนทัว่ ไป
20 ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้
ผ้าห่ม คือผ้ าที่ใช้ หม่ ให้ ความอบอุน่ ซึง่ มีทงผ้ ั ้ าที่ใช้ หม่ คลุมในเวลาปกติและใช้ หม่ ใน เวลานอน เนื่องจากฟื มพื ้นเมืองจะมีขนาดหน้ าแคบคือ กว้ างประมาณ 60 ซม. ดัง นัน้ ผ้ าห่มจึงมีลกั ษณะใช้ ผ้า 2 ผืนเย็บเพลาะด้ านข้ างต่อกัน เพื่อให้ มีขนาดกว้ าง ประมาณ 120 ซม. ความยาวประมาณ 200 ซม.พอเหมาะแก่การห่มคลุม ผ้ าห่ม ที่พบใช้ ทวั่ ไปในเมืองน่านมาแต่อดีต คือ ผ้ าห่มตาแสง หรื อ ผ้ าห่มตาโก้ ง เป็ นผ้ า ฝ้ายทอลายยกดอกโดยใช้ เขา 3 - 4 เขา สีที่นิยมคือ สีด�ำ แดง ขาว ซึง่ สลับสีทงเส้ ั้ น พุง่ และเส้ นยืน ท�ำให้ เกิดเป็ นลายตารางสี่เหลี่ยม บางผืนก็มีเฉพาะสีแดงสลับสีขาว ด�ำสลับขาวหรื อเป็ นสีขาวทังผื ้ นมีริว้ สีด�ำเฉพาะเส้ นยืนริ มผ้ าทังสองช้ ้ าง ผ้ าที่ใช้ หม่ นอนมักจะทอให้ มีขนาดความยาวอีกเท่าตัว คือราว 400 ซม. แล้ วพับทบเย็บหัว ท้ ายติดกัน ท�ำให้ มีความหนา 2 ชัน้ ให้ ความอบอุน่ มากขึ ้น ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ 21
ต�่ำหูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้ จัดท�ำโดย นายเอกอนันต์ โพธิ์สุยะ ระหัสประจ�ำตัว 530310150 ภาษาไทย © 2556 ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สงวนลิขสิทธิ์ พิมพ์ครั้งแรก กรกฎาคม 2556 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบโดย นายเอกอนันต์ โพธิ์สุยะ 2556w 22 ต่ำ�หูกงานศิลป์ ถิ่นน่านใต้