เบื้องหลังพระคำภีร์

Page 1


ลูกกุญแจ 27 ดอก ไขพระคริสตธรรมใหม โดย วิลเลียม ดับบลิว. ออร

จัดพิมพ และจําหนาย โดย กองคริสตเตียนบรรณาศาสตร 28/2 ซอยประชาอุทิศ ถนนปฏิพัทธ กรุงเทพมหานคร, 4

2


แปลและเรียบเรียง จาก 27 Keys

To the NEW TESTAMENT By Dr. William W.Orr By the kind permission of SCRIPTURE PRESS

พิมพที่ โรงพิมพเจริญธรรม 93 – 95 ถนนมหรรณพ กรุงเทพฯ นายการุณ สกุลรัตนเจริญ ผูพิมพผูโฆษณา 16 โทร. 229242, 213320 3


คํานํา เปนที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไปวา พระคริสตธรรมคัมภีรเปนหนังสือที่มีขอบเขตกวางขวาง และมี ความหมายลึกซึ้งยากแกการทําความเขาใจไดอยางถองแท ฉะนั้นนอกเหนือจากจะตองทูลขอใหพระ วิญญาณบริสุทธิ์ทรงชวยตีความหมายใหเรา อันเปนหลักที่ปฏิบัติกันอยูโดยทัว่ ไปแลว บรรดาผูทรง ความรูทั้งหลาย ยังไดคิดหาวิธีตาง ๆ เพือ่ ชวยใหคริสเตียนและผูสนใจศึกษาธรรมะทั้งหลายไดเขาใจ งายยิ่งขึ้น อีกโสดหนึ่งดวย ดังจะเห็นไดจากตําราตาง ๆ ซึ่งมีอยูอยางมากมาย สําหรับการเขียนหนังสือ กุญแจไขพระคริสตธรรมคัมภีร ชุดนี้ ก็คงมีเปาหมายเดียวกันนี้ แต มิไดใหรายละเอียดเกีย่ วกับเนื้อหาไวมากนัก เพราะตองการใหเปนคูม ือประกอบการศึกษาที่กระชับ แต ขณะเดียวกันก็ไดบรรจุสาระสําคัญไวอยางเพียงพอ ทีจ่ ะทําใหผูอานรูถึงประวัติความเปนมาของพระ ธรรมแตละเลม พรอมทั้งประวัติของผูเขียน เหตุผลในการเขียน และความมุงหมายซึ่งเพียงพอทีจ่ ะทํา ใหเกิดความเขาใจ และมีทัศนะอันถูกตองตอพระคริสตธรรมคัมภีร ซึ่งหลักเกณฑตา ง ๆ เหลานี้ ออกจะ หายากในวงการตําราคริสเตียน เพราะไมคอยมีผูรวบรวมไวเปนสัดสวนโดยเฉพาะ หรือจะมีบางก็ตอง คนควาจากตําราเลมขนาดใหญ ตองเสียเวลามากและไมสะดวกเทาที่ควร ดวยเหตุผลดังกลาว เราจึงตองซื้อหนังสือชุดนี้วา”ลูกกุญแจไขพระคริสตธรรมคัมภีร” โดยแบง ออกเปนสองเลมคือ “ลูกกุญแจ 39 ดอก ไขพระคัมภีรเดิม” และ “ลูกกุญแจ 27 ดอก ไขพระคริสตธรรม ใหม” ตามความเหมาะสม หนังสือชุดนี้ นอกจากจะทําใหทานผูอาน เขาใจพระคริสตธรรมโดยถองแท รูเห็นถึงความทุกข ยาก และความเด็ดเดี่ยวในการปฏิบัติภาระหนาที่ของคริสเตียนที่ดแี ลว ยังทําใหเห็นถึงลักษณะเดนเปน พิเศษอันบงบอกถึงความเปนเอกภาพของพระคริสตธรรมคัมภีรไดดี และงายยิ่งขึน้ นัน่ คือ:1. แมวาพระคริสตธรรมคัมภีรจะประกอบดวยพระธรรมตาง ๆ ถึง 66 เลม แตทกุ เลมก็ลวน กลาวถึงพระเจาองคเดียวกัน 2. นับตั้งแตเลมแรกถึงเลมสุดทาย มีความตอเนื่องกันโดยไมขาดสาย 3. เหตุการณในพระคริสตธรรมใหม ไดเกิดขึ้นสมจริงตามคําพยากรณในพระคัมภีรเดิม 4. พระคริสตธรรมคัมภีร เปนหนังสือแหงความจริงทั้งปวงที่พระเจาประทานแกมนุษย 5. พระคริสตธรรมคัมภีรแทบทุกตอน ลวนแตกลาวถึง การไถมนุษยใหพนจากโทษทัณฑ ความผิดบาป 6. ผูที่เปนศูนยกลางและเปนหลักชัยในพระคริสตธรรมคัมภีร คือ พระคริสต

4


7. แมวาผูที่บันทึกพระคริสตธรรมจะมีรวม 40 คน เขียนขึ้นตางกาลสมัย ตางการศึกษา วิชาชีพ และฐานะในสังคม แตขอเขียนของทานทั้งหลายนั้นก็สอดคลองประสานกันเปนเรื่องเดียวกัน นอกเหนือจากความเขาใจในลักษณะเฉพาะตัวของพระธรรมแตละเลม และความเปนเอกภาพ ของพระคริสตธรรมคัมภีรทั้งเลม เปนสวนรวมแลว หนังสือชุดนี้ยังไดใหบทตอน ขอคิดและรายงานไว ละเอียดพอที่จะทําใหทานผูอ านเขาใจปญหาตาง ๆ ไดอยางสมประโยชน จงศึกษาพระธรรมแตละเลมอยางจริงจัง พิจารณาประเด็นอันเปนปญหาตาง ๆ อยางถองแท และนําเอาหลักธรรมของพระเจาไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันอยางแทจริง แลวทานจะพบ ทางชีวิตอันสวางไสว สมเจตจํานงทุกประการ กองคริสเตียนบรรณศาสตร

5


สารบัญ กุญแจไขพระธรรมมัทธิว ........................................................................................................................7 กุญแจไขพระธรรมมาระโก...................................................................................................................10 กุญแจไขพระธรรมลูกา .........................................................................................................................13 กุญแจไขพระธรรมยอหน ......................................................................................................................16 กุญแจไขพระธรรมกิจการ .....................................................................................................................19 กุญแจไขพระธรรมโรม .........................................................................................................................22 กุญแจไขพระธรรม 1 โครินธ ................................................................................................................25 กุญแจไขพระธรรม 2 โครินธ ................................................................................................................28 กุญแจไขพระธรรมกาลาเทีย ..................................................................................................................30 กุญแจไขพระธรรมเอเฟซัส ...................................................................................................................33 กุญแจไขพระธรรมฟลิปป .....................................................................................................................36 กุญแจไขพระธรรมโคโลสี ....................................................................................................................39 กุญแจไขพระธรรม 1 เธสะโลนิกา ........................................................................................................42 กุญแจไขพระธรรม 2 เธสะโลนิกา ........................................................................................................45 กุญแจไขพระธรรม 1 ทิโมธี ..................................................................................................................48 กุญแจไขพระธรรม 2 ทิโมธี ..................................................................................................................51 กุญแจไขพระธรรมทิตัส ........................................................................................................................54 กุญแจไขพระธรรมฟเลโมน ..................................................................................................................57 กุญแจไขพระธรรมฮีบรู .........................................................................................................................60 กุญแจไขพระธรรมยากอบ.....................................................................................................................63 กุญแจไขพระธรรม 1 เปโตร..................................................................................................................66 กุญแจไขพระธรรม 2 เปโตร..................................................................................................................69 กุญแจไขพระธรรม 1 ยอหน ..................................................................................................................72 กุญแจไขพระธรรม 2 ยอหน ..................................................................................................................75 กุญแจไขพระธรรม 3 ยอหน ..................................................................................................................77 กุญแจไขพระธรรมยูดา..........................................................................................................................80 กุญแจไขพระธรรมวิวรณ ......................................................................................................................82 6


0

กุญแจไขพระธรรมมัทธิว

1. ความเปนมา ผูเขียนคือมัทธิว (มีอีกชื่อหนึ่งวา เลวี) คนเก็บภาษี เปนคนเฉลียวฉลาด ชํานาญในการเขียน และเปนนักสังเกตอุปนิสัยของมนุษย มีบานอยูในเมืองกัปเรนาอุม มีความรูในวิชาประวัติศาสตร กาพย กลอนหลักธรรม และคําพยากรณของชาติยิวเปนอยางดี ในการเขียนพระธรรมเลมนี้ ทานไดใชภาษาที่ เขาใจงาย ตรงไปตรงมา และเปนระเบียบ พระธรรมเลมนี้คงเขียนขึ้นประมาณใน ค.ศ.60 คือราว 30 ป ภายหลังการสิ้นพระชนมของพระ เยซูคริสต บรรยายถึงพระคริสต ในฐานะเปนกษัตริยเ รียบเรียงขึ้นเพื่อชาวยิวโดยเฉพาะ

2. สาระสําคัญ ขอพระธรรมที่สําคัญไดแก 1: 1 ซึ่งสําแดงใหเห็นถึงเคาโครงเรื่อง และจุดมุงหมายของพระ ธรรมเลมนี้วา พระเยซูนาซาเร็ธ ทรงเปนกษัตริยตามพระสัญญาของพระเจา ทรงเปนเชื้อสายฝายเนื้อ หนังของดาวิด และเปนแบบของอับราฮาม ในดานความเสียสละ พระธรรมเลมนี้ เนนถึงพระเยซู ในฐานะเปนพระมาซีฮา พระคริสตคือ ผูที่ทําใหคําพยากรณใน พระคัมภีรเดิมสัมฤทธิ์ผลครบถวนบริบูรณ อยางไรก็ดี ชาวยิวกลับไมยอมตอนรับพระองค พระองค ทรงยอมถูกตรึงที่ไมกางเขนเพื่อใหคําพยากรณสัมฤทธิ์ผล (เชนเดียวกันที่ อับราฮามถวายอิสอัค)

3. บทตอนทีส่ ําคัญ พระเยซูคริสตกษัตริย ทรงอุทิศพระองคเอง แกชนชาติอิสราเอล (บทที่1-12) พระถูกปฏิเสธ ทรงสิ้นพระชนมไถมนุษยในฐานะพระบุตร ทรงฟนคืนพระชนมและเสด็จขึ้นสูสวรรค (บทที่ 13 -28)

4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมมัทธิว เปนพระธรรมที่เชื่อมโยง ระหวางพระคัมภีรเดิมกับพระคริสตธรรมใหม มี ขออางถึงพระคัมภีรเดิมกวา 60 ขอ และคัดจากพระคัมภีรเดิมอีก 40 ขอ วลีที่ใชมากคือ “เพื่อใหคําของ ศาสดาพยากรณสัมฤทธิ์ผล” พระธรรมมัทธิวไดลําดับวงศจากพระเยซูผูทรงเปนพระมาซีฮา ยอนหลังไปถึงกษัตริยดาวิด

7


คําเทศนาที่สําคัญสองครั้งของพระเยซูคริสตคือ คําเทศนาบนภูเขาบทที่ 5,6,7 และที่ภเู ขา มะกอกเทศ บทที่ 42,25 ทานมัทธิวไดวาดภาพโดยใหเห็นถึงยุคปจจุบัน โดยพยากรณไวในบทที่ 13 ในบทนีไ้ ดกลาวคํา อุปมาไวถึง 7 เรื่อง ซึ่งลวนอธิบายถึงเรื่องเดียวกัน

5. หัวขอโดยสังเขป (ทุกขอลวนแตแสดงวาพระเยซูทรงเปนกษัตริย) การประสูติอยางมหัศจรรย ของพระเยซูคริสต จอมกษัตริย พระผูเปนเจาทรงคุมครองพระองค ทรงรับบัพติศมาจากยอหน ทรงถูกพญามารทดลอง การปาวประกาศถึงพระองค การสําแดงความมหัศจรรยของพระองค การตระเตรียม เพื่อปฏิบัติพระราชกิจของพระองค ทรงยินยอมรับการปฏิเสธจากชนชาติยวิ คําอุปมาเกี่ยวกับแผนดินของพระองค พระเมตตาและพระกรุณาธิคุณ อันมั่นคงของพระองค พระสัญญาเกีย่ วกับคริสตจักรของพระองค ทรงจําแลงพระกาย พระดํารัสอันลึกซึ้งเฉียบแหลมของพระองค การเสด็จเขาสูก รุงเยรูซาเล็มอยางมีชัย การสําแดงพระสติปญญาของพระองค พระองคถูกประณามอยางรายแรง การเสด็จกลับมาครั้งที่สอง ในฐานะเปนพระมหากษัตริย การทํานายถึงการทรยศตอพระองค การสิ้นพระชนมของพระองคเพื่อไถมนุษย การฟนคืนพระชนมอยางมีชยั ของพระองค

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ คําเทศนาบนภูเขากลาวถึง 8


1. สมัยที่พระเยซูประทับอยูใ นโลกนี้ 2. สมัยปจจุบนั 3. การตั้งแผนดินของพระเยซูคริสตในอนาคต ชี้ใหรูจักสังเกตดูพระลักษณะของพระองค การตระเตรียมพระองคเพื่อสั่งสอน การสําแดง ความมหัศจรรยฤทธิ์อํานาจ การยอมทนทุกข หนึ่งในสี่สวนของพระธรรมมัทธิว เปนคําบรรยายถึงการสิ้นพระชนม และการฟน คืนพระชนม ของพระคริสต

7. กุญแจไขความเขาใจ พระคริสตทรงเปนพระมหากษัตริย พระองคทรงถูกชาวยิวปฏิเสธไมยอมตอนรับ ทรงถูกตรึง บนไมกางเขน ทรงฟนคืนพระชนมแตก็ยังเปนกษัตริยอยู สักวันหนึ่งพระองคจะพิสูจนใหเห็นถึงความ จริงขอนี้ โดยการเสด็จกลับมายังโลก พระธรรมมัทธิว เปนหนังสือที่อานแลวเขาใจงายเนื้อเรื่องชัดเจนแจมแจง ขอใหสังเกตถอยคําที่ ระบุถึงกาลเวลา ซึ่งมีอยูหลายครั้ง และจงสังเกตดูเหตุการณที่จะเกิดขึน้ ในอนาคตดวย

9


1

กุญแจไขพระธรรมมาระโก

1. ความเปนมา ผูเขียนคือ ยอหน (มีอกี ชื่อหนึ่งเปนภาษาโรมันวามาระโก) มารดาชื่อ มาเรีย (กจ.12: 12) เปน หลานชายของบาระนาบา (กจ 13: 5) เปนมิตรสนิทของอาจารยเปโตร เปโตรเรียกทานวา “บุตร” (1 ปต. 5: 13) พระกิตติคุณเลมนี้ ทานมาระโกคงบันทึกตามคําบอกเลาของอาจารยเปโตร เมื่อ ครั้งที่ทานอาจารยเปาโล และมาระนาบา ออกไปประกาศพระกิตติคณ ุ เทีย่ วแรกนั้น มาระโกก็ได ติดตามไปดวย แตไปไดเพียงครึ่งทางก็กลับ ดวยเหตุผลนี้อาจารยเปาโลจึงปฏิเสธไมยอมใหไปดวยใน เที่ยวที่สอง (กจ.15: 37-39) แตมาระโกมีประโยชนตอชีวติ บั้นปลายของอาจารยเปาโลมาก (2 ตธ. 4:11) พระธรรมเลมนี้ เขียนขึ้นราว ค.ศ. 60 เขียนขึ้นสําหรับชาวโรมันโดยเฉพาะ บรรยายถึงพระ คริสตในฐานะเปนผูใชของพระจา

2. สาระสําคัญ มาระโกระบุวา พระคริสตทรงปฏิบัติพระราชกิจของพระองคอยางจริงจัง และไดผลอยางนา มหัศจรรย ทรงเปนผูรับใชของพระเจา คําไขที่สําคัญ คือ “อํานาจ” ขอพระธรรมที่สําคัญ คือ10:45 พระ ธรรมเลมนี้กลาวถึงการสําแดงอิทธิฤทธิ์ไวเดนชัดมากกวาคําสั่งสอน คําที่ใชบอยทีส่ ุดไดแก “ในทันใด นั้น” “ครั้น” “เวลานั้น” “คราวนั้น” พระธรรมเลมนี้มิไดบันทึกลําดับวงศของพระองคไวเพราะคงไมมี ใครสนใจในการลําดับวงศ ของผูที่มีฐานะเปนผูรับใช

3. บทตอนทีส่ ําคัญ พระราชกิจอันมหัศจรรย (บทที่1-9) คําสั่งสอนที่ประเสริฐยิ่ง (บทที่10-14) การเสียสละอัน สูงสง การสิ้นพระชนมและการฟนคืนชนม (บทที่15,16)

4. ลักษณะพิเศษ พระกิตติคณ ุ เลมนี้ เขียนที่กรุงโรม และใชถอยคําที่ชาวโรมสามารถเขาใจได พระธรรมเลมนี้มิไดลําดับวงศไว ทั้งนี้เพราะชาวโรมันไมไดจดจอรอคอยพระมาซีฮา และ ไมไดกลาวถึงบทบัญญัติของชาติยิว หรือคําพยากรณของชาวยิวไวดว ย 10


มาระโก อธิบายถึงการถือศีลอดอาหาร ของพวกฟาริสี (2: 18) และบรรยายวาภูเขามะกอกเทศ อยูตรงหนาโบสถ (13:3) และอื่นๆ เพื่อใหผูที่ไมคุนเคยไดเขาใจ ในรพระธรรมมาระโก ไดบนั ทึกถึงการสําแดงอิทธิฤทธิ์ของพระเยซูไว 20 เรื่องแตกลาวถึงคํา อุปมาเพียง 4 เรื่องเทานั้น ทานยังไดหยิบยกถอยคําของนายรอยทหารชาวโรมซึ่งกลาวไว ณ ที่ซึ่งพระ เยซูถูกตรึงมาอางไวเปนหลักฐานวา “แทจริงทานผูนี้เปนพระราชบุตรของพระเจา”

5. หัวขอโดยสังเขป การสําแดงพระองคของพระองค ในฐานะพระบุตรและผูรับใชของพระเจา (1: 1-11) ผูรับใช – พระบุตร ถูกทดลองถึงความจงรักภักดีของพระองค (1ฮ12, 13) ผูรับใช – พระบุตร ระหวางการปฏิบัติพระราชกิจ (1:14-13:37) ผูรับใช – พระบุตร ยอมเชื่อฟง จนกระทั่งวายพระชนม (14:1-15:47) ผูรับใช – พระบุตร ฟนคืนพระชนม และไดรับฤทธานุภาพทั้งสิ้น (16:1-20)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระธรรมมาระโกเนนถึงเรื่องผีสิง (1: 24, 32-34; 3:11, 12) ปญหาที่อาจเกิดแกผูอานคือเรื่องผี สิงมีจริงหรือไม คนที่ถูกกลาวถึง? ในเรื่องนี้ถูกผีสิงหรือเปนโรคจิต? ความจริงพระคริสตธรรมคัมภีร สอนอยางตรงไปตรงมาวา คนเหลานั้นถูกผีสิงจริง ๆ ไมใชเพียง “คนบา” หรือ “เปนโรคจิต” การที่พระ เยซูทรงขับผีสิงออกนั้น เปนการชี้ใหเห็นวาผีมีจริง และเปนการสําแดงถึงฤทธานุภาพของพระองคที่ ทรงมีเหนือกวาอํานาจของปศาจ การสําแดงอิทธิฤทธิ์เปนจุดเดนในพระธรรมมาระโกพระเยซูทรงรักษาโรคฝายรางกายใหหาย 17 คน สําแดงฤทธิ์อํานาจเหนือธรรมชาติ 9 ครั้ง ขับผีออก 6 ครั้ง ชวยคนที่ตายแลวใหฟนคืนชีพ 3 คน ยิ่ง กวานัน้ พระเยซูยังทรงกระทําการอัศจรรยอื่นๆ อีกมาก ซึ่งเราไมรูจํานวน (1: 32-24; 6:54-56) การที่ไดทรงสําแดงฤทธานุภาพของพระเจา ใหปรากฎโดยการกระทําความมหัศจรรยตาง ๆ เหลานี้ เปนเครื่องชี้ใหเห็นถึงฤทธิ์เดชอันแทจริงและพระราชกิจซึ่งพระเยซูคริสตไดรับมอบหมายจาก พระบิดาเจา (ดู ยน.15: 24)

7. กุญแจไขความเขาใจ ขอใหสังเกตดูความกระตือรือรนในการปฏิบัติพระราชกิจของพระองค ในพระธรรมมาระโก พระองคเปนผูท รงฤทธานุภาพใหญยิ่ง พระองคพรอมเสมอที่จะเผชิญกับเหตุการณทุกอยาง ไมวา กรณี 11


ใด ๆ พระองคทรงเปน “หลักชัย” ของผูที่ทํางานดวยความกระตือรือรนอยางจริงจัง ในทุกศตวรรษ โดยเฉพาะยิ่งคนหนุม นักอุตสาหกรรม นักธุรกิจ นักวิทยาศาสตร พระเยซูคริสตสมควรอยางยิง่ ที่จะ ไดรับการเทิดทูน ใหเปนแบบอยางอันประเสริฐของบุคคลเหลานี้

12


2

กุญแจไขพระธรรมลูกา

1. ความเปนมา ผูเขียน คือ นายแพทยลูกา อาจเปนชาวกรีก ทานผูนเี้ ปนมิตรสนิทและเคยรวมเดินทางไป ประกาศพระกิตติคุณกับอัครสาวกเปาโลหลายครั้ง ลูกาเองมิไดเปนหนึ่งในจํานวนอัครสาวกสิบสองคน แตก็เปนที่ประจักษชัดวา มีความสนิทสนมเปนสวนตัวกับทานเหลานั้นทุกคน และลูกาก็ไดรับความรู เกี่ยวกับพระคริสต มาจากพวกอัครสาวก โดยตรง (ลก.1: 1-3) พระกิตติคณ ุ เลมนี้เขียนขึ้น เพื่ออุทิศใหขุนนางชาวกรีก ที่สําคัญคนหนึ่ง ชื่อเธโอฟโล (เชนเดียวกันกับพระธรรมกิจการ) พระธรรมลูกาไดเขียนขึ้นเมือ่ ราว ค.ศ.60 อาจเปนเวลาเดียวกันที่อคั รสาวกเปาโลถูกจําคุกที่ เมืองกายซาไรอา เนื้อหาของเลมนี้ บรรยายถึงพระคริสตในฐานะที่เปนบุตรมนุษย เรียบเรียงขึ้นเพื่อชาวกรีก โดยเฉพาะ

2. สาระสําคัญ ลูกาบรรยายถึงพระคริสตในฐานะมนุษยทสี่ มบูรณแบบ เพียบพรอมไปดวยความสงางาม ปราศจากความดางพรอยแมจะเปนมนุษย แตก็ทรงออนสุภาพ มีความรอบรูมีพระทัยเขมแข็ง ยุตธิ รรม ซื่อสัตย และดีรอบคอบ อุทิศพระองคใหกระทําตามน้ําพระทัยของพระบิดา โดยยินยอมแมกระทั่งความ มรณา ขอพระธรรมที่สําคัญยิ่ง คือ ลก. 19: 10 ขอควรคํานึงก็คือ พระองคทรงเรียกพระองคเองวาบุตร มนุษย ในทามกลางมนุษยทั้งปวง ผูมีวัฒนธรรมและไดรับการศึกษาจะเขาใจ พระคริสตทรงประกอบไปดวยอุดมคติสูงสุดใน มนุษย

3. บทตอนทีส่ ําคัญ คํานํา(1: 1-4) การประสูติและวัยเยาว (1:5-2:52) การรับบัพติศมา การลําดับวงศ และการถูกทดลองของ พระเยซูคริสต (3:1-4:13) การเทศนาสั่งสอนในฐานะศาสดาพยากรณและกษัตริย และในมณฑลฆาลิ ลาย (4: 14-9:50) จากมณฑลฆาลิลาย สูกรุงเยรูซาเล็ม (9:51-19:44) สัปดาหสุดทายในชีวิตของพระเยซู

13


ในโลก (19:45-24:53) การฟนคืนพระชนม การปฏิบัติพระราชกิจภายหลังจากที่ทรงฟนคืนพระชนม แลว และการเสด็จขึ้นสูสวรรค (24:1-5ต)

4. ลักษณะพิเศษ พระกิตติคณ ุ เลมนี้ยาวที่สุด และมีความละเอียดที่สุด ในบรรดากิตติคุณทั้งสี่เลม บรรยายถึง เนื้อหาหลายอยางที่ไมไดบันทึกไวในพระธรรมมัทธิว และมาระโก นายแพทยลูกาพิถีพิถันเกี่ยวกับ รายละเอียดมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเกี่ยวกับลําดับเหตุการณ วันเดือน ป ลูกาไดแสดงถึงความรูในทาง แพทยไวหลายแหง เชนไดระบุไดวา แมยายซีโมนเปนไขหนัก (4: 38) และคนที่มีมอื ลีบ ขางขวา คน หนึ่ง (4:6) และวาลูกสาวของญายโร มีอายุ 12 ป ในการลําดับวงศของพระคริสต ทานไดจัดทําไวอยางชัดเจน ยอนถอยหลังไปจนถึงอาดาม นับวาเปนบัญชีลําดับวงศของบุตรมนุษยผซู ึ่งหาที่ติมิได ความเปนมนุษยของพระคริสตไดสําแดงออกใหเห็นชัด โดยเฉพาะเมื่อพระองคทรงกันแสง สงสารกรุงเยรูซาเล็ม (บทที่ 19 ) ทรงสัมผัสใบหูของมาละโค (บทที่ 22 ) และทรงปลอบประโลมผูราย ที่ถูกตรึงเคียงขางพระองค(บทที่ 23) รากฐานของเพลงของคริสตจักรหลายเพลง อยูในบทที่ 1 และ 2 แหงพระกิตติคณ ุ เลมนี้

5. หัวขอโดยสังเขป การตระเตรียม ยอหนบัพติศมา (บทที่1 ) การประสูติ และวัยเด็ก (บทที่2) การรับศีลบัพติศมา (บทที่3) การถูกทดลอง (บทที่ 4) การเทศนา เลือกสาวก (บทที่ 5) การสําแดงความมหัศจรรย ในการรักษาโรค (บทที่5,7,8) คําเทศนาบนภูเขา (บทที่ 6) ประทานอํานาจหนาทีแ่ กสาวก (บทที่ 9) ทรงเลี้ยงคนหาพันคน (บทที9่ ) 14


ทรงปฏิบัติ พระราชกิจในมณฑลสะมาเรีย (บทที่ 9-18) บอกลวงหนาถึงการทรยศ (9: 22-44) ทรงจําแลงพระวรกาย (บทที่ 9) สัปดาหสดุ ทาย การเสด็จเขากรุงเยรูซาเล็มอยางมีชัย (บทที่19) ทรงโตเถียงกับศัตรู (บทที่ 20) บรรยายถึงการเสด็จกลับมาครั้งที่สอง (บทที่ 21) คืนสุดทาย (บทที่ 22 ) การตรึงที่กางเขน (บทที่23) การฟนคืนพระชนม (บทที่ 24)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ลูกาไดบรรยายถึงการกําเนิดจากผูหญิงพรหมจารีอยางชัดเจน และสุภาพแบบนายแพทย พระคริสต ทรงเปนผูสอนที่ประกอบดวย ความจริง ฤทธานุภาพและอํานาจ

7. กุญแจไขความเขาใจ พระกิตติคณ ุ เลมนี้ กลาวถึงพระเยซู ในฐานะที่ทรงเปนบุตรที่ยิ่งใหญ เปนบรมครู และตัวอยาง ที่ยิ่งใหญที่สุด ในเวลาเดียวกันก็ทรงเปนพระบุตรของพระเจา ผูดํารงอยูเ ปนนิจ

15


3

กุญแจไขพระธรรมยอหน

1. ความเปนมา ผูเขียนคือ ยอหน เปนนองชายของยากอบ บุตรของเซเบดาย เคยเปนชาวประมง และเปนผูเขียน จดหมายฝากยอหนฉบับ 1,2,3, และวิวรณ เขียนขึ้นมาเมื่อประมาณ ค.ศ.95 ยอหนเองก็มีอายุประมาณ 95 ปเชนกัน เขาใจวา พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมที่แพรหลายมากที่สุดในโลก ทัง้ นี้เพราะเปนพระธรรมที่ มีเนื้อหาเหมาะสมแกการพิมพและการเผยแพรอยูในตัวนั่นเอง

2. สาระสําคัญ พระเจาตรัสสั่งใหยอหนสําแดงภาพพจนใหมนุษยรวู า พระเยซูทรงเปนพระบุตรของพระเจา โดยแทจริง พระองคเสด็จลงมารับสภาพมนุษยฝายเนื้อหนังชั่วคราว แมกระนั้นก็ดี พระองคกย็ ังทรง สภาพที่สองแหงตรีเอกานุภาพอยู ไมมีพระธรรมอื่นใดที่รับรองและพิสูจนวา พระเยซูทรงเปนพระบุตร ของพระเจา หนักแนนเทากับพระกิตติคณ ุ เลมนี้ ขอพระธรรมที่สําคัญยิ่ง คือ 20: 30, 31 ทุกตอนของพระธรรมเลมนี้ ไมวาจะเปนคํานํา การสําแดงฤทธานุภาพ คําสั่งสอน คําพยากรณ การสิ้นพระชนม และการฟนคืนพระชนมที่ไมมีใครเหมือนลวนแตเปนการสําแดงออกอยางเดนชัดวา พระคริสตทรงเปนพระเจา

3. บทตอนทีส่ ําคัญ พระคริสตทรงเปนพระเจา และดํารงอยูน ริ ันดร (1: 1-14) ยอหนเปนพยานถึงพระองค (1:1534) การสั่งสอนคนทั่วไป (1:35-12:50) การสั่งสอนอัครสาวก (13:2-17:46) การยอมสิน้ ประชนม (18.119.42) การฟนคืนพระชนม (20:2-12) บทสงทาย พระคริสตผูยอมรับใช (21:1-25)

4. ลักษณะพิเศษ เนื้อเรื่องในพระธรรมยอหน มีความดีเดนเปนเยีย่ มเปนบันทึกเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น รวมทั้ง คําสั่งสอนและการสําแดงความมหัศจรรยตาง ๆ ที่พระกิตติคุณทั้งสามเลมแรก มิไดบันทึกไว ดังนั้นจึง เปนพระกิตติคณ ุ ที่ดีเยี่ยมเปนการเพิ่มเติมที่เต็มไปดวยความถูกตองแนนอน 16


หลักใหญของพระกิตติคณ ุ นี้ คือเราตองเชื่อวาพระเยซูทรงเปนพระเจา เราจึงจะไดรบั ความรอด เพราะพระบุตรผูทรงพระชนมอยูเทานัน้ ที่สามารถชวยใหเรารอดได และเพื่อใหเราทราบถึงจุดมุงหมายของพระกิตติคุณทาน ยอหนจึงไดกลาวถึงความมหัศจรรย เหลานี้ กับ “หมายสําคัญอื่น ๆ อีกมากมาย” เพื่อพิสูจนวาพระองคทรงเปนพระเจา เหตุการณเหลานั้น ลวนแตแสดงใหเห็นวาพระคริสตทรงมีฤทธานุภาพเหนือธรรมชาติ เชนทรงบันดาลใหน้ํากลายเปนน้ํา องุนโดยที่มีไดตรัสแมแตคาํ เดียว ทรงรักษาบุตรชายของขุนนางใหหายโรค ทั้ง ๆ ที่บุตรนั้นอยูห างไกล จากพระองค ทรงรักษาคนซึ่งเปนงอยมา 38 ป ใหหาย และบันดาลใหลาซารัสฟนคืนชีพหลังจากที่ตาย มาแลวถึงสี่วัน ทรงรักษาคนตาบอดมาแตกาํ เนิด ใหสามารถมองเห็น ยอหนย้ําวาการไถมนุษย คือจุดประสงคอนั สําคัญยิ่งแหงการเสด็จมาของพระคริสต เรื่องตาง ๆ ในพระธรรมเลมนี้โดยมากเกิดขึ้น ในเวลาที่พระเยซูเสด็จไปรวมในการเลี้ยงของพวกยิว โดยไดบนั ทึก งานเลี้ยงที่พระเยซูเสด็จไปหาครั้ง ดังปรากฎในบทตอไปนี้ 2: 3-4:3; 5:1-47; 7:2-10:21; 10:22-40; 12:1-20:31 บางที่พระดํารัส ณ หองชั้นบน ในบทที่ 13-17 อาจเปนจุดเดนที่สุดของพระกิตติคณ ุ ยอหนก็ได ตอนสําคัญที่สุดก็คือบทที่ 17 ซึ่งเปนการอธิษฐานแสดงถึงความสนิทสนมระหวางพระเจาพระบิดากับ พระเจาพระบุตร

4. หัวขอโดยสังเขป พระวาทะเปนเนื้อหนัง (บทที่ 1) งานสมรสที่บานนาคา (บทที่ 2) นิโกเดโม (บทที่ 3) หญิงที่บอน้ํา (บทที่ 4) ชายพิการที่สระน้ํา (บทที่ 5) เลี้ยงคน 5,000 คน (บทที่ 6) ที่งานเลี้ยงเทศกาลตั้งทับอาศัย (บทที่ 7) หญิงคนบาป (บทที่ 8) คนตาบอด (บทที่ 9) ผูเลี้ยงแกะที่ดี (บทที่ 10) ลาซารัสฟนขึ้นมาจากความตาย (บทที่ 11) ของถวายของมาเรีย (บทที่ 12) ทรงลางเทาเหลาสาวก (บทที่ 13) 17


คําสอนกอนอําลาเหลาสาวก (บทที่ 14-16) ทรงอธิษฐาน (บทที่ 17) ทรงถูกตรึงที่กางเขน (บทที่18,16) ทรงฟนขึ้นมาจากความตาย (บทที่20,21)

6. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมอันลึกซึ้งและล้ําคานี้ เปนคําสอนขั้นสุดยอดของพระคริสตธรรมคัมภีร เราจะพบ ทางที่นําไปสูน้ําพระทัยพระเจาในพระกิตติคุณเลมนี้คอื ... จงวางใจในพระบุตรของพระองค ไมมีพระ ธรรมอื่นใดที่จะชื่นชูจิตใจของผูอานเทากับพระธรรมทั้ง 21 บทแหงพระกิตติคณ ุ เลมนี้เลย ซึ่งแสดงให เห็นจริงวา พระคริสตเปนพระเจาแหงสวรรค การที่ทรงรับสภาพเปนเนือ้ หนัง ก็เพราะทรงประสงคที่จะ วายพระชนมเพื่อมนุษยทั้งปวงนั่นเอง

18


4

กุญแจไขพระธรรมกิจการ

1. ความเปนมา ผูเขียนคือนายแพทยลูกา แพทยผูรวมงานของอัครสาวกเปาโล คนเดียวกับที่เขียนพระธรรมลูกา (ดู คส. 4:14, ฟม.24; 2 ทธ.4:11) พระธรรมเลมนี้เขียนขึน้ เมื่อประมาณ ค.ศ.63 อาจเปนระยะเดียวกันกับที่อาจารยเปาโล ถูก จําคุกที่เมืองกายซาไรอา (กจ.24: 7, 27) เนื้อหาของพระธรรมเลมนี้ เปนเรื่องราวเกีย่ วกับประวัตขิ องคริสตจักรสมัยเริ่มแรก

2. สาระสําคัญ กลาวไดวาพระธรรมลูกา เปนพระธรรมที่กลาวถึงการปฏิบัติพระราชกิจในระยะตน ๆ ของ พระเยซู สวนในพระธรรมกิจการนี้ เปนการกลาวถึงการปฏิบัติพระราชกิจขั้นตอไปของพระองค ภายใตการบัญชาของพระวิญญาณบริสุทธิ์ โดยใชบรรดาชายหญิงผูถวายตัวแลวเปนเครื่องมือ หัวใจของพระธรรมเลมนี้ก็คงเปน “พระคริสตซึ่งบัดนี้ไดฟนขึ้นสูชีวติ รับฤทธานุภาพทุกอยาง ทรงเรงเรา และหนุนน้ําใจผูท ี่วางใจในพระองค ใหประกาศเรื่องความรักของพระเจาอันหาที่เปรียบมิได “จนสุดปลายแผนดินโลก”

3. บทตอนทีส่ ําคัญ (กจ.1:8) พระเจาพระราชทาน “ฤทธิ์เดช” (บทที่ 1 ) พยานในกรุงเยรูซาเล็ม (บทที่ 3-5) พยาน ในมณฑลยูดาย (บทที่ 6,7) พยานในมณฑลสะมาเรีย (บทที่ 8) พยานแกโลกทั้งมวล (บทที่ 9-28)

4. ลักษณะพิเศษ ในเลมนี้พระเจาทรงใหแบบอยางอันดีสําหรับคริสตจักรของพระองค หลักการอันเปนบรรทัด ฐานสําหรับความเปนอยูของคริสเตียน และกิจการรมของคริสตจักรทั้งมวลตลอดจนระเบียบวิธีการ ปฏิบัติของผูประกาศเผยแพรกระกิตติคณ ุ ของพระเจา เราจะเห็นวามีชอื่ คริสตจักรหลายแหงในเลมนี้ พระธรรมเลมนี้ สอนถึงชีวติ ใหมในพระคริสตโดยมีพระวิญญาณบริสุทธิ์ เปนผูบังคับบัญชา บอกําเนิดแหงพละกําลัง ผูเลาโลม และผูอบรมสั่งสอน บางคนจึงเรียกชื่อพระธรรมเลมนี้วา “กิจการ ของพระวิญญาณบริสุทธิ์” 19


พระธรรมเลมนี้เนนถึงพระเยซูเปนหลัก เฉพาะอยางยิ่งไดแกการฟนคืนพระชนมของพระองค นอกจากนั้นก็ยังไดกลาวถึงหนวยงานและคริสตจักรที่กอตั้งขึ้นในสมัยนั้นและกลาวถึงประเทศและ เมืองตาง ๆ หลายเมือง ตลอดจนบุคคลตาง ๆ รวมทั้งหมดมีถึง 110 ชื่อ กลาวถึงการเปนพยานการ อธิษฐาน การเทศนาสั่งสอน การถูกกดขี่ขมเหงและฤทธิ์เดชที่มาจากพระเจา

5. หัวขอโดยสังเขป คริสตจักร ณ กรุงเยรูซาเล็ม การอธิษฐานและเทศกาลเพนเทคศเต (บทที่ 1,2) การสําแดงความอัศจรรยครั้งแรก (บทที่ 7) ความเจริญ การถูกกดขี่ขมเหง (บทที่ 4,5) มัคนายก (บทที่ 6) สะเตฟาน (บทที่ 7) คริสตจักรในปาเลสไตน ฟลิปในมณฑลสะมาเรีย (บทที่ 8) เซาโลกกลับใจถวายตอตอพระเจา (บทที่ 9) เปโตรกับคนตางชาติ (บทที่ 10,11) เปโตรพนจากคุก (บทที่12) คริสตจักรของคนตางชาติ การเดินทางเผยแพรพระกิตติคุณครั้งแรกของ อัครสาวก (บทที่ 13,14) การประชุม ณ กรุงเยรูซาเล็ม (บทที่ 15) การเดินทางเผยแพรพระกิตติคุณ ครั้งที่สอง (15: 36-18:17) การเดินทางเผยแพรพระกิตติคุณ ครั้งที่สาม (18: 18-21:15) ชีวิตบั้นปลายของเปาโล (21: 16-28)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ วันเพนเทคศเตเปนวันเกิดของคริสตจักร อาจารยเปาโลเปนแบบอยางอันดีแกเรา มติของที่ประชุมคริสตจักรที่สําคัญยิ่ง และถือปฏิบัติตามตลอดกาล ความรอดเปนโดยพระคุณ และดวยความเชื่อมิใชเพราะผลของการปฏิบัติ (ดู บทที่ 15)

20


หนาที่ของคริสตจักรคือการประกาศพระกิตติคุณไปทัว่ โลก แบบอยางที่ดี (ดู 13: 1-4; 14:26-28)

คริสตจักรที่อันติโอเกียเปน

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมอันสําคัญยิ่งเลมนี้เปนพระบัญชาของพระเจาทีช่ ี้แนวทางใหถอื เปนระเบียบปฏิบัติ ตอไปภายหนา มวลคริสเตียน มวลคริสตจักร และองคการเผยแพรคริสตศาสนาทั้งมวลควรเดินตาม หลักนี้ พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมที่สําคัญยิ่งของบรรดาผูเผยแพรทั่วโลก ทั้งสําคัญยิ่งตอองคการ คริสตจักร และแผนการของคริสตจักร คริสตจักรจะอยูเพื่อตนเองไมไดจะตองเผยแพรออกไป

21


5

กุญแจไขพระธรรมโรม

1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล ซึ่งเปนผูเขียนพระธรรมเลมอื่น ๆ ในพระคริสตธรรมใหมอีกอยาง นอย 12 เลม ทานเขียนพระธรรมเลมนี้ที่เมืองโครินธ นําไปสงแกคริสเตียนกรุงโรมโดยนางฟอยเบ (16:1) เขียนเมือ่ ประมาณ ค.ศ. 57 กอนอาจารยเปาโลเดินทางไปมณฑลยูดาย เมื่อจบการเดินทางเทีย่ วที่ สาม เหตุที่เขียน อาจารยเปาโลตั้งใจที่จะไปเยือนกรุงโรมในระยะเวลาอันกระชั้นชิด จึงเขียนพระ ธรรมโรมนี้ขึ้นเพื่อเปนการเตรียมสมาชิกคริสตจักรที่นั่น เปนการลวงหนา อีกนัยหนึ่งอาจารยเปาโลอาจ คาดหมายไววา แมมีเหตุทําใหทานไปไมได คริสตจักร ณ ที่นนั่ ก็จะไดรูพระกิตติคุณอันเปนรากฐาน แหงความจริงนี้

2. สาระสําคัญ พระธรรมโรมเปนพระธรรมที่สําคัญยิ่งเลมหนึ่งที่เปนแกนกลางที่พระเจาทรงสําแดงพระองคตอมนุษย เนื้อแททั้งสิ้นของพระกิตติคุณ เชนเรื่อง ความผิดบาป การชําระใหพนจากความผิดบาป และผลแหงการ สิ้นพระชนมของพระเยซู ไดบรรยายไวในหนังสือนี้โดยละเอียดแลว จุดมุงหมายของการเขียนพระ ธรรมเลมนี้ขึ้น ก็เพื่อแสดงถึงความชอบธรรมของพระเจา ขอพระธรรมที่สําคัญคือ 1: 16 อาจารยเปาโล เขียนถึงการปรับโทษ ถึงการรับสงาราศีอันชอบธรรมของพระเจาตามลําดับ

3. บทตอนทีส่ ําคัญ พระธรรมโรม ขึ้นตนดวยการปรับโทษ แลวกลาวถึงความรอด ความชอบธรรม การชําระให บริสุทธิ์ และจบลงดวยสงาราศี (ในบทที่ 9-11 กลาวถึงพระสัญญาของพระเจาตอชนชาติอิสราเอล ซึ่ง สอดคลองกับพระสัญญาของพระเจาตอคริสตจักร)

4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมโรมเปนจดหมายฝากที่อัครสาวกเปาโลเขียนดวยความระมัดระวัง และอยางเปน ระเบียบที่สุด เสมือนยกเอาหองพิจารณาคดีในศาล อันมีมนุษยเปนจําเลยมาเปนฉาก ใหเห็นการ พิจารณาพิพากษาของพระเจาผูสูงสุด 22


ครั้งแลวครั้งเลาที่อาจารยเปาโลไดชี้ใหเห็นถึงปญหาจําเปนยิ่งแกชีวิต และคลี่คลายปญหานั้น ๆ ดวยคําตอบอันเปนความจริงของพระเจา ความจริงนี้เริม่ ตนดวยคนทีอ่ ยูในสภาพสิ้นหวัง ชวยตัวเองไมได และจบลงดวยการมีสภาพเปน บุตรของพระเจาผูทรงพระชนมอยู ประกอบดวยความชอบธรรมและชีวติ นิรันดรอยางแทจริง คําตอบอันดูถูกตองที่แกปญหาอันสําคัญยิง่ เกี่ยวกับเชื้อสายของชนชาติอิสราเอลและอนาคต ของเขา มีอยูในบทที่ 9 จนถึงบทที่ 11 ซึ่งกลาวไวอยางครบถวนและมีเลิศ

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา คํานํานับ ความสนใจ และความมุงหมาย (บทที่ 1) การปรับโทษแกคนบาป คนตางชาติ (บทที่ 1) ชาติยวิ (บทที่ 2) ความรอดของพระคริสต อับราฮาม (บทที่ 4) ความชอบธรรม (บทที่ 5) การชําระใหบริสุทธิ์ (บทที่ 6,7) การเปนบุตรของพระเจา (บทที่ 8) แผนการของพระเจาเพื่อชนชาติอิสราเอล การเลือก (บทที่ 9) การถูกทอดทิ้ง (บทที่ 10) การคืนดีกบั พระเจา (บทที่ 11) การถวายตอพระเจา ความบริสุทธิ์สวนบุคคล (บทที่ 12) การทําตามขอบังคับของสังคม (บทที่ 13) ความรักฉันพีน่ อง (บทที่ 14) สรุป แผนการสวนบุคคล คําปราศรัย (บทที่ 16) สรรเสริญพระเจา (บทที่ 16)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ บทที่ 1: 18-32 กลาวถึงความชั่วที่เลวรายที่สุดของมนุษยตามที่อชอบประพฤติกัน แทนที่จะ ยอมฟงพระเจา เหตุฉะนั้นพระเจาจึงตองปลอยเขาใหประพฤติชั่วตอไป

23


บทที่ 1 ถึงบท 3: 20 กลาวถึงการปรับโทษ โดย 3:21 เปนบทพิสูจนวา มีความชอบธรรม นอกเหนือจากการประพฤติตามพระบัญญัติ บทที่ 4-7 เปนการประกาศใหทราบถึงความจริงอันใหญยิ่งของพระจา เปนคําสอนที่ลึกซึ้ง หรือ “อาหารแข็ง” (ฮบ.5:14) สวนหนึ่งในพระคัมภีร โรมบทที่ 8 เปนบทที่สําคัญบทหนึ่งในพระคริสตธรรมคัมภีร เปนบทแนะนําวาพระวิญญาณ บริสุทธิ์ทรงเปนพระผูชวย ของบรรดาผูที่เชื่อและวางใจในพระเจาอยูเ สมอ สวนบทที่ 7 ย้ําใหเห็นวา การพึ่งตนเองของคริสเตียนยอมจบลงดวยความลมเหลว ในตอนจบของบทที่ 8 ชี้ใหเห็นวา ผูที่เชื่อและ วางใจในพระเจาจะไดรับการยกขึ้นสูความมีชัย อันประกอบดวยสงาราศี โดยฤทธานุภาพของพระ วิญญาณบริสุทธิ์ บทที่ 9-11 ก็ไดใหคําตอบที่สมบูรณแกปญหาที่สําคัญเกี่ยวกับอนาคตของชนชาติอิสราเอล ซึ่ง เปนพลไพรของพระเจามาแตครั้งโบราณ หาบทสุดทาย บันทึกเกีย่ วกับการประพฤติและการปฏิบัติในชีวติ คริสเตียน ซึ่งแสดงใหเห็น ความจริงแหงพระกิตติคณ ุ

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมโรมมีคําสอนสมบูรณตามหลักตรรกวิทยาทุกประการ ขอใหอานและไตรตรองจาก ตนจนจบสัก 25 เที่ยว ดวยใจออนนอม ยอมรับความจริงของพรเจา แลวสัจธรรมของพระองคในพระ ธรรมเลมนี้ จะใหพลังฝายวิญญาณแกทานอยางอัศจรรย

24


6

กุญแจไขพระธรรม 1 โครินธ

1. ความเปนมา ผูเขียนพระธรรมเลมนี้คืออัครสาวกเปาโล (กจ.18: 1-18) เขียนที่เมืองเอเฟซัสเมื่อประมาณ ค.ศ. 59 ในตอนปลายของระยะเวลาที่ทานยังประกาศอยูท ี่นั่น (กจ.20:17-31) โครินธ เปนเมือง ทางภาคใตของประเทศกรีก เปนเมืองที่มนั่ คั่ง มีพลเมืองอันมาก แตมคี วามเสื่อมทรามในดานศีลธรรม เปนอันมาก อาจารยเปาโลไดแวะเมืองนี้เปนเวลา 18 เดือน และไดตั้งคริสตจักรขนาดใหญขึ้นแหงหนึ่ง ภายหลังจากทีอ่ าจารยเปาโลไดจากเมืองโครินธไปแลว ไดมีปญหาเกีย่ วกับการดําเนินชีวิตคริส เตียนเกิดขึ้นเปนอันมาก อาจารยเปาโลไดทราบขาวนี้ (1 โครินธ 1: 11) และไดรับจดหมายถามปญหา ตาง ๆ (1 โครินธ 7:1) เหตุฉะนั้น จดหมายที่อาจารยเปาโลเขียนไปถึงคริสตจักรในเมืองโครินธฉบับนี้ จึงเปนจดหมายที่วาดวยการประพฤติปฏิบัติตามแนวทางของชีวิตคริสเตียน

2. สาระสําคัญ ประเด็นสําคัญของพระธรรมฉบับนี้คือ เรื่องการดําเนินชีวิตคริสเตียน ทานอัครสาวกเปาโลได เขียนดวยความสุจริตใจและตรงไปตรงมา กลาวถึงความขัดแยงในคริสตจักรการประพฤติผิดประเวณี ของคริสเตียนคนหนึ่ง การเปนความกับคนอื่น การสมรส และการหยา เสรีภาพของคริสเตียนการ แยกตัวออกจากคนบาป การประกอบพิธีศีลมหาสนิทการรับและการปฏิบัติ เกี่ยวกับของประทานฝาย จิตวิญญาณปญหาเกี่ยวกับการพูดภาษาแปลก ๆ และความจริงแหงการฟนคืนพระชนม ผูอานจะรูสึก เศราใจ รอนรน และชิงชังการประพฤติผิดทั้งหลาย ดังที่เชนอาจารยเปาโลรูสึก

3. บทตอนทีส่ ําคัญ การที่จะวิจารณเกีย่ วกับเนื้อหาในพระธรรมโครินธ ฉบับตนนี้ใหแนชัดลงไปนั้นกระทําไมได เนื่องจากทานอัครสาวกไดวางหัวเรื่องไวหลายเรื่อง แลวขยายความตามเรื่องนั้น ๆ

4. ลักษณะพิเศษ แมวาอัครสาวกเปาโล จะเขียนพระธรรมฉบับนี้ถึงคริสตจักรเมืองโครินธ แตคําสั่งสอนอบรม ตาง ๆ อันเปนเนื้อสําคัญ ใชวาจํากัดวงเพียงเพื่อคริสตจักรเทานั้น ๆ ก็หาไม ดังนั้นในบทที่ 1 ขอ 2 ทาน จึงระบุไววาผูท ี่รับจดหมายฝากฉบับนี้ คือคนทั้งปวงในทุกตําบลที่อธิษฐานออกพระนามพระเยซูคริสต 25


เปนความจริงวา อาจารยเปาโลพูดดวยความรักและความคิดถึงอันแทจริง แตทานก็ไมยอมผอน ผันใหกับความผิด ๆ ทั้งสิ้น ทานเปนผูที่เขมงวดกวดขันตอการกระทําผิดทุกอยางเปนอันมาก แมพระธรรม 1 โครินธ จะเปนพระธรรมที่เนนไปในทางตักเตือนเกี่ยวกับความผิดตาง ๆ เปน สวนมาก แตกไ็ ดแทรกคําสอนตาง ๆ ของพระเยซูไวดว ย เชน 1. เกี่ยวกับบําเหน็จของคริสเตียน (3: 11-15) 2. คําสอนเกี่ยวกับการที่พระวิญญาณบริสุทธิ์สถิตอยูในจิตใจของคริสเตียน (6: 19, 20) 3. ความลําลับเกี่ยวกับการทีพ่ ระคริสตรับคริสตจักรขึ้นไปอยูกับพระองค (15: 51, 52)

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1-9) แสดงความเสียใจในการที่สมาชิกคริสตจักรแตกแยกกัน (1: 10-4:21) กําชับในทางวินัย (บทที่ 5,6) ใหคําปรึกษาในปญหาที่ยุงยาก (บทที่ 7-11) ของประทานฝายจิตวิญญาณ (บทที่ 12-14) บทสรุป (บทที่ 16)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ขอที่นาเสียใจและนาอับอายอันเกิดจากการแตกแยกภายในคริสตจักร ซึ่งอาจารยเปาโลได ระบายออกใน 1: 11-17 คือ “พระคริสตแบงออกเปนหลายองคหรือ?” เมืองโครินธเปนศูนยกลางแหงสติปญญาฝายโลกแตชาวเมืองกลับไมเขาใจเรื่องไมกางเขนของ พระคริสตไดอยางแทจริง บทที่ 1 และ 2 ไดอธิบายเรื่องนี้ไวอยางชัดแจง ปญหาเกี่ยวกับอาหารเนื้อที่บชู ารูปเคารพ เปนตัวอยางอธิบายถึงหลักการอันจําเปนอยางยิ่งแก ชีวิตคริสเตียนวาเราจะตองไมกระทําการใด ๆ อันเปนเหตุใหพี่นองทีม่ ีความเชื่อออนแอหลงผิด ไมวา การกระทํานัน้ ๆ จะเปนไปโดยบริสุทธิ์ใจ หรือไมกอใหเกิดผลเสียหายขึ้นก็ตาม ความสําคัญของพิธีศีลมหาสนิทเปนเรื่องหนึ่งพระผูเปนเจาไดทรงเปดเผยแกอาจารยเปาโลเปน พิเศษ ในบทที่ 11 ทานไดหามอยางกวดขันถึงความไมเปนระเบียบเรียบรอย และตกเตือนผูที่มสี วน กระทํานัน้ ดวย บทที่ 12-14 ไดกลาวถึงเรื่อง “ของประทานฝายจิตวิญญาณ” โดยเฉพาะอยางยิ่ง “การพูดภาษา แปลก ๆ” ไวอยางละเอียดถี่ถวน บทที่ 13 เปนบทที่สอนถึงเรื่องความรัก (คริสเตียนหลายคนถือเปนบททองจํา) 26


บทที่ 15 เปนที่สําคัญยิ่งอีกบทหนึ่ง กลาวถึงเรื่องการฟนคืนพระชนม

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมโครินธฉบับตน เปนคําตอบของพระเจาเกี่ยวกับปญหาชีวิตคริสเตียน นอกจากนั้นยัง มีหลักอันเปนรากฐานอื่น ๆ อีก

27


7

กุญแจไขพระธรรม 2 โครินธ

1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล ตามที่ไดระบุนามไวขางตนของจดหมายฝากฉบับนี้ (2 โครินธ 1:1) เขียนที่มณฑลมากะโดเนีย เมื่อประมาณ ค.ศ. 60 เหตุที่เขียน หลังจากที่อาจารยเปาโลไดเขียนพระธรรมโครินธฉบับแรก สงไป ใหคริสตจักรใน เมืองนั้น แลวทานก็ไดออกจากเมืองเอเฟซัส ไปยังมณฑลมากะโดเนีย (ดูกิจการ บทที่ 20:1) ในระหวาง นั้น ทานไดใหทิตัสเดินทางไปยังเมืองโครินธ เพื่อชวยปรับปรุงกิจการของคริสตจักรใหเปนระเบียบ เรียบรอยขึ้น อาจารยเปาโลรอฟงขาวจากทิตัสดวยความกระวนกระวายใจ ครั้นทิตัสกลับมาหาทาน พรอมกับแจงขาวดี วาจดหมายฝากฉบับแรกของทานไดบังเกิดผลเปนอันมาก ทานจึงรีบเขียนจดหมาย ฝากโครินธฉบับที่สองนี้ขึ้น แลวมอบใหทติ ัสนําไปสงแกคริสตจักรในเมืองนั้นอีกครัง้ หนึ่ง

2. สาระสําคัญ เนื้อความของพระธรรมเลมนี้เปนเรื่องเกีย่ วกับปญหาเฉพาะหนา ประการแรก ทานไดให คําแนะนําเพิ่มเติมแกคริสตจักรเมืองโครินธ ประการตอมาก็เนื่องจากมีการวิพากษวิจารณแสดงความ กังขาเกี่ยวกับตัวทานเปนอันมากวา ทานเปนอัครสาวกหรือเปลา ทานจึงไดเขียนแถลงใหทราบถึงฐานะ ของทาน ชี้แจงใหทราบวา ทานคือราชทูตของพระผูเปนเจาอยางแทจริง ยิ่งกวานั้นยังไดเปดเผยให ทราบถึงชีวิตแหงการเสียสละของทานเพื่อคริสตจักรทั้งหลาย และแสดงความชื่นชมยินดี ในการรับใช พระเจา แมวาการนี้จะเปนงานที่หนักและลําบากยากเย็นมากก็ตาม

3. บทตอนทีส่ ําคัญ หลักการปฏิบัติที่อาจารยเปาโลสอน (บทที่ 1-7 ) หลักการถวายเรื่องการสงเคราะหธรรมิกชน (บทที่ 8, 9) อาจารยเปาโลแกคํากลาวหาเกี่ยวกับการรับใชพระเจาในฐานะอัครสาวก (บทที่ 10-13)

4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้มีลักษณะเปนการสวนตัวที่สุดในบรรดาจดหมายของอาจารยเปาโล เพราะให ทราบถึงความปวดราวและระเหีย่ ใจ เนื่องจากการเผยแพรพระกิตติคณ ุ ซึ่งเปนงานหนักมาก ทั้งยังแบก ภาระของคริสตจักรทั้งหลายอีกดวย 28


พระธรรมโครินธฉบับที่ 2 นี้บางสวนเปนชีวประวัติสว นตัวของเปาโล นอกจากนัน้ ยังใหทราบ ถึงสิ่งตาง ๆ ที่มิไดกลาวไวในที่อื่นเลย ดังเชนเสี้ยนหนามในเนื้อหนังของทานเอง พรอมทั้งเหตุผลที่ ตองเปนเชนนัน้ (12: 7) นิมติ อันนาสังเกตของทาน (12:1-4) การกับเผชิญภัยอยางเกินขนาด (11:23-27) เปนตน เนื้อเรื่องในพระธรรมเลมนี้ดูเหมือนจะไมไดจัดเรียงลําดับไว สวนใหญเกิดจากความสะเทือน ในของอาจารยเปาโลไว สวนใหญเกิดจากความสะเทือนในของอาจารยเปาโลเอง เราจะพบการกลาวแก และปอนกันตัว เนื่องจากถูกกลาวหาอยางไมเปนธรรมบอยครั้ง มีคํากลาว ซึ่งบอกใหเราทราบถึงคุณลักษณะของอาจารยเปาโลเหมือนกัน คือใน 10: 9, 10; 11:5, 6

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ใน 1 โครินธบทที่ 5 เปาโลไดตักเตือนคนที่ลวงประเวณี ดูเหมือนวาคนนั้นไดกลับใจใหม และ ไดรับการอภัยโทษซึ่งเปนเรือ่ งที่นายินดีไมนอย (2: 1-13) ในบทที่ 5 ไดชี้แจงเพิ่มเติมวาเมื่อรางกายตายแลว อะไรจะเกิดกับเรา ความสําคัญของการแยกตัวออกจากฝายโลกสอนไวใน 6: 11-18 บทที่ 8, 9 เขียนถึงความยินดีดวยใจศรัทธาในการถวาย เคล็ดลับแหงความยินดีอันสําคัญที่สุดก็คือ การถวายตอองคพระผูเปนเจา กลลวงของมาร สอนไวใน 11: 33-15

7. กุญแจไขความเขาใจ การรูถึงความเปนมาของจดหมายฝากฉบับนี้รวมทั้งเบื้องหลังของเจาของจดหมายเสียกอน นับเปนกุญแจอันสําคัญที่จะทําใหเรามีความเขาใจในเนื้อหาไดเปนอยางดี ตอจากนัน้ ควรอานอยางพินิจ พิเคราะหดวยความเห็นอกเห็นใจและยกยองชมเชยมหาบุรุษของพระเจาคนนี้

29


8

กุญแจไขพระธรรมกาลาเทีย

1. ความเปนมา ผูเขียนพระธรรมเลมนี้คือ อาจารยเปาโล เขียนขึ้นที่เมืองโครินธ เมื่อประมาณ ค.ศ. 57 ชาวกาลา เทีย เปนชนชาติหนึ่งที่อาศัยอยูในแถบเอเซียนอย ใกลทะเลดํา (ดู กจ. บทที่ 13, 14) เหตุที่เขียน เมื่ออาจารยเปาโลไดประกาศพระกิตติคณ ุ แกชาวกาลาเทีย ประชาชนเหลานี้ได ตอนรับพระวจนะของพระเจาดวยความยินดี แตเมื่ออาจารยเปาโลจากไปแลวพวกสอนลัทธิยิวไดเขามา แนะนําสั่งสอนวา ศาสนาคริสตเปนเพียงนิกายหนึ่งของศาสนายิว ที่ไดรับการปรับปรุงแกไขใหม เทานั้น คริสเตียนทุกคนจึงตองปฏิบัติตามพระบัญญัติดั้งเดิม จนชาวกาลาเทียหลงเชื่อคําสอนเหลานั้น และปฏิบัติตนเหินหางไปจากความจริงของพระเจา

2. สาระสําคัญ พระธรรมกาลาเทีย เปนดุจธรรมนูญ หรือคําประกาศอิสรภาพแหงพระกิตติคุณ คําสําคัญที่สุด คือ “เสรีภาพ” ขอพระธรรมที่สําคัญที่สุด คือ 5:11 พระธรรมเลมนี้มีความสัมพันธกับพระธรรมโรม อยางอยางใกลชิด แตก็มีจุดเนนแตกตางกัน พระธรรมกาลาเทีย ย้ําถึงความจริงที่วา คริสเตียนมีชวี ิตอยู โดยความเชื่อ เปนการประกาศความเปนไทแกทุกคน ซึ่งตกเปนทาสแหงพระบัญญัติ

3. บทตอนทีส่ ําคัญ แบงเปนหมวดใหญ ๆ ได 7 หมวด คือ 1. คําคํานับ 2. สาระสําคัญ 3. พระเจาทรงสําแดง พระกิตติคุณของพระองคโดยทางเปาโล 4. การรับความชอบธรรมเปนโดยความเชือ่ มิใชโดยพระบัญญัติ 5. กฎขอบังคับของผูที่เชื่อในพระเยซูคริสต คือ “พระคุณ” ไมใชพระบัญญัติ 6. การรับการชําระใหบริสทุ ธิ์เปนโดยพระวิญญาณบริสทุ ธิ์ มิใชโดยพระบัญญัติ 7. การสั่งสอนตักเตือน

30


4. ลักษณะพิเศษ จดหมายฉบับนี้มีคําพูดที่หนักแนนอยูในตัว สาระสําคัญที่สุดคือความเปนอิสระของคริสเตียน อาจารยเปาโลมิไดกลาวชมเชยชาวกาลาเทียแมเพียงคําเดียว ในทางตรงกันขาม ทานแสดงความไม พอใจตอชาวกาลาเทียเปนอยางมาก อาจารยเปาโลเห็นวา การนําเอาพระคุณกับพระบัญญัติมาปะปนกัน เปนการกระทําทีผ่ ิดพลาด และเปนอันตรายอยางรายแรงยิ่ง ไมผิดอะไรกับโรคติดตอ ทั้งนี้อาจารยเปาโลคิดวา ที่พวกเขามีความ เชื่อที่ผิดเชนนี้ มิใชเพราะความไมรูของพวกเขา แตเปนเพราะพวกเขาไมซื่อสัตยตอพระเจาตางหาก ตามปกติ อาจารยเปาโลใชเลขานุการชวยเขียนจดหมาย ตามคําบอกของทาน แตจดหมายฉบับ นี้ ทานเขียนดวยมือของทานเอง (6: 11) ที่เปนเชนนี้ อาจเนื่องจากเรื่องที่เขียนนั้น เปนปญหาที่ เครงเครียดมาก ไมเหมาะที่จะใชผูอื่นเขียนแทน มูลเหตุสําคัญที่ทําใหคริสเตียนในแควนกาลาเทีย ประสบความยุงยากก็คือ ลัทธินิยมพระ บัญญัติ และความฝงใจในพระบัญญัติของประชาชน ผูสอนผิดพยายามนําศาสนายิว กับศาสนาคริสตมา รวมกัน ซึ่งเปนการกระทําทีผ่ ิดพลาดอยางรายกาจ อาจารยเปาโลเรียกคําสอนผิดนี้วา “กิตติคุณอื่น” และ ทานไดกลาวคําแชงสาปไวอยางรุนแรง (1:7-9) อุปนิสัยของชาวกาลาเทีย คอนขางจะเปนคนเจาอารมณ หุนหันพลันแลน และรักงายหนายเร็ว ดังจะเห็นไดจากการที่พวกเขากราบไหวอาจารยเปาโลในตอนแรก แตแลวก็กลับเปลี่ยนใจ โดยฉับพลัน ถึงกับเอากอนหินขวางทาน (ดู กจ.14: 13-19)

5. หัวขอโดยสังเขป ก. คํานํา ข. สิทธิและอํานาจในดานสวนตัว การเรียกรองของพระเจา (บทที่ 1) ไดรับการรับรอง (บทที่ 2) การขัดแยง (บทที่ 2) ค. อํานาจของพระกิตติคณ ุ ไดรับความชอบธรรมโดยความเชื่อ (บทที่ 3) ความมุงหมายของพระบัญญัติ (บทที่3) คนรับใชกับผูร ับมรดก (บทที่ 4) ง. คําสั่งสอนตักเตือน 31


พระบัญญัติกบั เสรีภาพ (บทที่ 5) ความรับผิดชอบสวนตัว (บทที่ 6) จ. สรุป (บทที่ 6)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ความสําคัญยิ่งแหงคําสั่งสอนของอาจารยเปาโล เปนที่ปรากฎอยางชัดเจน และไดย้ําไวอยาง หนักแนนใน บทที่ 1 ขอ 8,9 ซึ่งสอนวา ถาผูใดจะมาประกาศกิตติคณ ุ อืน่ ๆ ก็ใหพระเจาสาปแชงผูนนั้ ไมมีพระธรรมเลมใด ในพระคริสตธรรมคัมภีรที่เนนถึงพระคุณอันลนเหลือของพระเจาอยาง หนักแนน เทาเทียมพระธรรมกาลาเทีย คําสอนในพระธรรมเลมนี้ เปนคําตอบของพระเจา ที่มีตอผูท ี่เชื่อ ในคําสอนที่ผิด ๆ ในสมัยปจจุบันซึ่งมีความเชื่อแบบพระคริสตธรรมใหม และพระคัมภีรเดิมปนกัน สิ่งที่เราเห็นชัดเจนที่สุด จากพระธรรมเลมนี้ คือลักษณะและความมุงหมายของพระบัญญัติ อาจารยเปาโลไดบรรยายความมุงหมายทีแ่ ทจริงของพระบัญญัติ โดยใชคําวา “ครูสอน” (3:24, 25) เราจะสามารถปองกัน ขอผิดพลาดอื่น ๆ ได หากเราจําไวเสมอวา การออกจากพระคุณ (5: 4) ก็ เทากับการเขาสูความเปนทาสของพระบัญญัติ

7. กุญแจไขความเขาใจ กอนศึกษาพระธรรมกาลาเทีย ทานควรทบทวนประวัตศิ าสตรเกี่ยวกับชาวกาลาเทีย ในพระ ธรรมกิจการ บทที่ 13,14 เสียกอน แลวอานพระธรรมโรมอีกครั้งหนึ่ง หลังจากนัน้ ทานจะสามารถเขาใจ พระธรรมกาลาเทียไดอยางแจมแจง

32


9

กุญแจไขพระธรรมเอเฟซัส

1. ความเปนมา พระธรรมเอเฟซัสเปน “จดหมายฝากที่อัครสาวกเปาโลเขียนขึ้นเมื่อคราวที่ถูกควบคุมตัวอยูใ น กรุงโรม” เมื่อประมาณ ค.ศ. 62 เอเฟซัส เปนเมืองสําคัญเมืองหนึ่งในเอเซียนอยในเมืองนีม้ ีโรงมหรสพโรงหนึ่ง บรรจุผูเขาชม ได 50,000 คน มีวหิ ารไออานา ซึ่งเปนสิง่ มหัศจรรยอยางหนึ่ง ในสิ่งมหัศจรรยทั้งเจ็ดของโลก อาจารย เปาโล ไดประกาศพระกิตติคุณที่เมืองนั้น และอาศัยอยูท ี่นั่นเปนเวลาประมาณ 3 ป (ดูกจิ การ 19:10) ในขณะที่ ประกาศพระกิตติคุณอยูในเมืองเอเฟซัส อาจารยเปาโลถูกตอตานมาก จนทานถึงกับกลาววา ณ ที่นนั้ ทาน “ไดสูกับสัตวราย” ( 1 โครินธ 15:32) ที่เมืองนี้เองอาจารยเปาโลเกือบจะตองเสียชีวิต เพราะการวุนวายที่เกิดขึ้น (กิจการ 20:1) แตทานก็ยังคงรักชาวเมืองนี้เปนอันมาก

2.สาระสําคัญ คําสอนสําคัญในพระธรรมเลมนี้ คือ “คริสตจักรซึ่งมีพระคริสตเปนศีรษะ” คําสําคัญคือ “ความ เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน” “ในพระคริสต” “เตือนสติ” อาจารยเปาโลมิไดกลาวเจาะจงแกผูหนึง่ ผูใด โดยเฉพาะ ดูเหมือนวาทานจะเปนหวงคริสตจักรของพระคริสตทั่วโลก ซึ่งเปนพระกายที่แทจริงของ พระคริสต มากกวาคริสตจักรทองถิ่นแหงใดแหงหนึ่งเทานั้น สัจธรรมที่ลึกซึ้งที่สุด ในพระคริสตธรรมใหมบันทึกไว ในพระธรรมเลมนี้ พระธรรมเลมนี้ กลาววา การทีต่ องจากโลกนีไ้ ป ยอมเปนของธรรมดา แตการมีชีวิตอยูน นั่ ก็คือสวรรค?

3. บทตอนทีส่ ําคัญ ทานอาจแบงพระธรรมเอเฟซัส เปนสองตอนงาย ๆ คือ ก. พระเจาทรงกระทําอะไรเพื่อเราบาง (บทที่ 1-3) ข. เราควรกระทําอะไรเพื่อพระเจาบาง (บทที่ 4-6) หรือจะแบงตอนตามลําดับบทก็ได คือ ก. ความบริบูรณ ซึ่งไมมีที่สิ้นสุด (บทที่ 1) ข. ไมมีขอบเขตจํากัด (บทที2่ ) ค. ไมมีอะไรวัดได (บทที่ 3) 33


ง. สุดที่จะหยั่งถึง (บทที่4) จ. ปราศจากมลทิน (บทที่5) ฉ. ปราศจาก ความเกรงกลัว (บทที่ 6)

4. ลักษณะพิเศษ ตนฉบับเกาแกบางฉบับไมมีคําวา “ซึ่งมีไปถึงคริสตจักรในเมืองเอเฟซัส” ดวยเหตุนี้ บางทาน จึงคิดวาพระธรรมเลมนี้ เปนจดหมายเวียนถึงคริสตจักรตาง ๆ ซึ่งอยูรอบ ๆ เมืองเอเฟซัส สามบทแรกไมมีคําแนะนําตักเตือน แตกลาวถึงพระกรุณาธิคุณอันลนเหลือของพระเจา ซึ่ง พระองคประทานใหแกมนุษย เพื่อเห็นแกวิสุทธิชนทั้งปวง โปรดสังเกตดูถอยคําที่ใช ซึ่งบอกถึงอดีต กาลบอยครั้ง พระธรรมเอเฟซัสมีความสัมพันธอยางใกลชิด กับพระธรรมโยชูวา เรื่องราวในพระธรรมโยชู วา เปนตัวอยาง ซึ่งแสดงใหเห็นความจริงในพระธรรมเอเฟซัสวา ชีวิตคริสเตียนยอมมีการตอสูและ พลาดพลั้งบอยครั้งแตในบัน้ ปลาย เราจะเปนผูมีชัยมีความสงบสุข และไดมรดกในแผนดินสวรรค ในพระธรรมเลมนี้ เราจะเห็นขอลึกลับบางอยางซึ่งไมมใี นพระธรรมเลมอื่น ๆ คือแผนการอัน กวางใหญของพระเจาสําหรับมนุษยทกุ ยุคทุกสมัย (1: 10; 2:7)

5. หัวขอสังเขป ก. คํานํา (บทที่ 1) ข. การเลือกสรรของพระเจาแตดั้งเดิม 1. การเลือกสรร การไถ (บทที่ 1) 2. สําแดงใหเห็นถึงพระคุณของพระเจาและการไรความสามารถ ของมนุษย(บทที่ 2) 3. การสรางสรรควิญญาณจิต (บทที่ 3) ค. การรับพระพรรวมกัน ของชาวตางประเทศ (บทที่ 3) ง. หลักในการดําเนินชีวิต 1. ความรัก ความเปนอันหนึง่ อันเดียวกัน (บทที่ 4) 2. ความบริสุทธิ์ ครอบครัว (4,5) จ. หลักในการตอสู (บทที่ 6) ฉ. สรุป (บทที่ 6)

34


6. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระเจาไดทรงมอบตําแหนงอันมีเกียรติแกผูเชื่อในพระเยซูคริสตเรียบรอยแลวตั้งแตอดีต ดังจะ เห็นไดจากการใชถอยคํา ซึ่งเปนอดีตกาล เชน “ไดทรงโปรดประทานพร” (1:3) “ไดทรงเลือก” (1:4) “ไดทรงแตงตัง้ เราไวกอน” (1:5) คําอธิษฐานจากใจจริงของอัครสาวกเปาโล ทั้งสองตอนตามที่ปรากฎใน 1: 14-23; 3:14-21 นับเปนตัวอยางอันที่ดีคริสเตียนที่ไดรับการสั่งสอนโดยพระวิญญาณในปจจุบันนี้ ควรยึดถือ เปนแบบในการอธิษฐาน บทที่ 2 ขอ 8 และ 9 เปนคําสอนวาดวยการรอดโดยพระคุณ เพราะความเชื่อ คําสอนใน 2: 14 กลาวถึงสันติสุขที่แทจริงวามิใชเปนสภาวะทางจิตใจ แตเปนบุคคล คือองค พระเยซูคริสต บทที่ 2: 11-13 กลาวถึงสภาพที่ไรความหวังของชาวตางประเทศกอนที่พวกเขาจะลงมายังพระ คริสต เคล็ดลับแหงความสําเร็จของคริสเตียน คือ การเปยมลนโดยพระวิญญาณบริสุทธิ์ (5: 18) กลาวถึง ระเบียบการดําเนินชีวิตของคริสเตียน พระเจาไดทรงกระทําสิง่ อัศจรรยใหแกเรา โดย เห็นแกพระคริสต เราจึงควรปรนนิบัติพระองค ดังที่สอนไวใน 4-6

7. กุญแจไขความเขาใจ คําสอนในพระธรรมเลมนี้ เปนคําสอนที่ “บริสุทธิ์ที่สุด” จงอานดวยใจอธิษฐาน อยาอดกลั้น น้ําตาแหงการสํานึกถึงในพระคุณของพระเจาที่อาจไหลออกมา โปรดจําไววาพระคุณอันอุดมสมบูรณ ทุกอยาง มีไวสําหรับทาน แมทานเพิ่งจะเชื่อพระเจา นี่เปนแผนการของพระเจา พระองคจะทรงกระทํา ใหแผนการนี้สําเร็จ ในชีวิตของทานหากทานยอมตอพระองค

35


กุญแจไขพระธรรมฟลิปป

10

1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล เขียนในขณะถูกจับกุมคุมขังอยูในกรุงโรม เมื่อประมาณ ค.ศ. 63 ถึง คริสตจักรในเมืองฟลิปป ฟลิปปเปนเมืองสําคัญเมืองหนึ่งอยูใตบังคับของโรม อาจารยเปาโลไดจดั ตั้ง คริสตจักรนี้ขึ้นเมื่อประมาณสิบปกอน (ดู กจ. บทที่ 16) เหตุที่เขียน เมือ่ ทราบวาอาจารยเปาโลถูกจับกุมคริสตจักรแหงนี้ไดรวบรวมขาวของ สงไปชวย ทานโดยใหชายหนุมคนหนึ่งชื่อเอปาฟะโรตินําไปสงมอบใหทานถึงโรม พระธรรมฟลิปปเปนจดหมาย “ตอบขอบคุณ” ซึ่งอาจารยเปาโลเขียนขึ้นเพื่อแสดงความสํานึก ในบุญตอคริสตจักรดังกลาว

2. สาระสําคัญ พระธรรมฉบับนี้ใชถอยคําที่แสดงออกซึง่ ความรักใครมากที่สุดในบรรดาจดหมายฝากทั้งหมด ขอบงอาจารยเปาโล เปนจดหมายแสดงความปรานี และความรักโดยปราศจากการตําหนิ เนือ้ ความ เปนไปในทํานองแสดงความชื่นชมยินดี ทั้งๆ ที่ทานตองถูกทดลองนานาประการ คําสําคัญคือ “ความ ชื่นชมยินดี” “อิ่มใจ” “สันติสุข” ขอพระธรรมที่สําคัญนาจะเปน 4:4 อาจารยเปาโลไดแทรกคําสอนที่วา พระเจาทรงจัดสรรทุกสิ่งทุกอยางที่จําเปนตอชีวิตไวใหเราอยางพรอมมูล ไวในพระธรรมเลมนี้แทบทุก บทเชน 1:21 วา “การที่มีชีวิตอยูก็ไดพระคริสต และการทีต่ ายก็ไดกําไร” ฯลฯ

3. บทตอนทีส่ ําคัญ พระคริสตทรงเปนบอกําเนิดแหงชีวิต (บทที่ 1) ทรงเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต (บทที่ 2) ธงชัยแหงชีวิต (บทที่ 3) ทรงเปนทุกสิ่งทุกอยางในชีวิต (บทที่ 4) หรืออาจแบงเปนหมวดหมูอกี นัยหนึ่งไดดงั นี้ ยินดีในความเชื่อ(บทที่ 1) ยินดีในความรัก (บทที่ 2) ความยินดีในการรวมสมานฉันท (บทที่ 3) ยินดีในความหวัง (บทที่ 4)

36


4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมเลมนี้ไดกลาวคําตําหนิติเตียน หรือสอนใหคริสตจักรฟลิปปปรับปรุงแกไขตนเองแต อยางใด เพราะสมาชิกคริสตจักรนี้ดําเนินชีวิตในความสวางของพระเจาดีอยูแลว อาจารยเปาโลมิไดวิตก กังวลหรือหวงใยในคริสตจักรแหงนี้ คําวา “ยินดี” เปนคําที่เนนไวมากในจดหมายฝากฉบับนี้ ความยินดีเปนผลสวนหนึ่งของพระ วิญญาณ (กท. 5:22, 23) อาจารยเปาโลสัญญาวาจะสงทิโมธีผูซึ่งทานรักมากไปยังคริสตจักรแหงนี้ (2: 19-23) ทั้งยังแจง ใหทราบดวยวา ทานเองก็อาจจะเดินทางไปหาในไมชาเชนกัน (2:24) ผูที่นําจดหมายฝากฉบับนี้ไปสงใหแกคริสตจักรเมืองฟลิปปคือ เอปาฟะโรดิโต ผูซึ่งครั้งหนึ่ง ลมปวยหนักจนแทบจะเสียชีวิต อาจารยเปาโลยกยองความซื่อสัตยของเขามาก แมจดหมายฉบับนี้มิไดเนนหนักในดาน “หลักคําสอน” ไวโดยเฉพาะ แตกไ็ ดแทรกคําสอนที่ สําคัญๆ ไวพอเปนแนวทางดวย เชน การใหและการรับ (6:10-19) ตัวอยางอันดีงามในการถอมพระองค ของพระเยซูคริสต ซึ่งไดรับการยกยองเทิดทูนในที่สุด (2:5-10)

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (บทที่ 1) การขอบคุณ เมื่อระลึกถึง (บทที่ 1) เมื่อมีประสบการณ (บทที่ 1) เมื่อมีความหวัง (บทที่ 1) คําแนะนําตักเตือน ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน (บทที่ 2) ความสุภาพออนนอม (บทที่ 2) การหนุนน้ําใจ (บทที่ 2) การรับใชพระเจาโดยเปนผูถือจดหมาย (บทที่ 2) ขอเตือนใจ การประพฤติตามกฎหมาย (บทที่ 3) เสรีภาพในทางที่มิชอบ (บทที่ 3) โสมนัสยินดี (บทที่ 4) 37


สรุป (บทที่ 4)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ คําขวัญอันสําคัญสําหรับอาจารยเปาโล ปรากฎอยางชัดเจนใน 1: 21 ชีวิตของอัครสาวกเปาโล เทาที่ทานมีอยูน ั้นมิใชดํารงอยูไดดวยตัวทานเอง หากแตเปนเพราะพระคริสตสถิตอยูภายในทาน พิจารณาตามรูปถอยคําและความหมายแลว การที่อาจารยเปาโลถูกกักกัน ตลอดจนผลงาน ระหวางนั้น (1: 12, 13) ก็อยูในความหมายของคําวา “ทุกสิ่ง” ในพระธรรมโรม 8:28 นั่นเอง และ ระหวางที่อยูในกรุงโรมนับไดวาทานถูกจับกุมเพราะเห็นแกพระเจาโดยแท วิถีชีวิตของพระเยซูคริสตดังปรากฏใน 2:5-11 เปนแบบอยางที่ชัดแจงและแทจริงสําหรับเรา อันไดแกการถอมลงในเบื้องตน และไดรับการยกยองเทิดทูนในเบื้องปลาย “สิ่งใดๆ ที่เปนคุณประโยชนแกขาพเจา...สิ่งเหลานั้นเปนที่ไรประโยชนแลวเพราะเห็นแกพระ คริสต” ใน 3:4-14 ขอพระธรรมนี้ชี้ชัดวา คุณคาหรือความสําเร็จในทางฝายโลก ไมมีความหมายเมื่อเทียบกับสิ่งที่ เราจะไดรับจากพระเยซูคริสต พระสัญญาอันทรงคุณคายิ่งก็คือ 4: 19

7. กุญแจไขความเขาใจ โปรดจําไววาอาจารยเปาโลเปนคนของพระผูเปนเจาที่มีความซื่อสัตยตอพระองคอยางเสมอตน เสมอปลาย แมกระทั่งขณะอยูในคุก จงอานแตละบทสักสิบเที่ยวแลวทานจะเขาใจคําสอนเหลานี้

38


กุญแจไขพระธรรมโคโลสี

11

1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล เขียนจากกรุงโรมใน ค.ศ. 62 เปนจดหมายฝากอีกฉบับหนึ่งที่เขียน ขึ้นในระหวางถูกจับกุมคุมขัง เมืองโคโลสีอยูในแควนเอเซียนอย และอยูไมไกลจากเมืองเอเฟซัสเทาไรนัก ดูเหมือนวา อาจารยเปาโลไมไดจดั ตั้งคริสตจักรแหงนีด้ วยตนเอง (คส 2:1) แตเปนทีแ่ นใจวาคริสตจักรแหงนี้ เกิดขึ้นเพราะผลงานของทาน (กจ. 19:10) คงเปน เอปาฟรัส (คส. 1:7) หรือ อะระคีโป (คส. 4:17) เปนผู เริ่มงาน เหตุที่เขียน เชื่อกันวาเอปาฟรัศมาถึงกรุงโรมพรอมกับแจงขาววา มีความเชื่อนอกรีดนอกรอย อันเปนอันตรายแกคริสตจักรเกิดขึ้น และเอปาฟรัศเองก็ตองถูกจําคุกดวย (ฟม. 23) ดวยเหตุนี้อาจารย เปาโลจึงไดเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้น แลวจัดใหตุคิโกและโอเนซิโม นําไปสง (4:7-9)

2. สาระสําคัญ สาระอันสําคัญยิ่งของพระธรรมเลมนี้คือ พระคริสตทรงเปนศีรษะของคริสตจักรซึ่งเปนพระ กายของพระองค และไดย้ําไวอยางหนักแนนวา พระเยซูทรงเปนเอก เปนใหญเหนือสรรพสิง่ ทัง้ ปวง อีก ทั้งไดสอนถึงการแกไขแนวความคิดเห็นที่ผิดไวดวย ทั้งนี้เพราะไดมีสิทธิคําสอน เกี่ยวกับการถือ สันโดษทรมานกายของผูที่มิไดนับถือพระเจาแทรกซึมเขามาในคริสตจักร พยายามนํามาปะปนเขากับ คําสอนของพระคริสต เปนตนวา มีการชักนําใหเชื่อเรื่องราวอันลึกลับมหัศจรรย สอนใหสักการะทูต สวรรค และใฝฝนในนิมิตทั้งหลาย อาจารยเปาโลจึงไดชี้แจงแกไขปญหาเหลานี้โดยย้ําไวอยางหนัก แนนใหยึดถือเอาพระคริสตเปนที่พึ่ง และดําเนินชีวิตตามพระองคอยางใกลชิด

3. บทตอนทีส่ ําคัญ คํานํา-คําอธิษฐาน-พระคริสตผูทรงสรางสรรพสิ่งองคพระมหาไถผูสถิตอยูภายในเรา-ผูเชื่อและ วางใจยอมไดความครบบริบูรณในพระคริสต-การเขามีสวนรวมกับพระคริสต ในพระสงาราศี ในชีวิตที่ ฟนขึ้นจากความตายความเปนอันหนึ่งอันเดียวของคริสเตียน-มิตรภาพของคริสเตียน

39


4. ลักษณะพิเศษ จุดมุงหมายของพระธรรมฉบับนี้คือ เพื่อวางหลักปฏิบัติใหแกสมาชิกคริสตจักรเมืองโคโลสี เพื่อแกไขลัทธิคําสอนและแนวความคิดเห็นผิดที่กําลังแพรหลาย และทําใหคริสเตียนไขวเขวใน ขณะนัน้ กิจการฝายโลกบางอยางซึ่งถือวาเปนของดีเดน เชน การคาดคะเนในทางปรัชญาก็ดี เรื่อง ประหลาดมหัศจรรยก็ดี การบําเพ็ญทุกขทรมานก็ดี การถือเครงตามบทบัญญัติก็ดี และการสักการะบูชา ทูตสวรรคก็ดี เหลานี้มิใชวิถีทางที่บุตรของพระเจาจะพึงยึดถือ เพราะสิง่ เหลานี้ยอมแสดงใหเห็นถึงเนื้อ แทในตัวเองอยูแลว พระเยซูคริสตและพระราชกิจของพระองคตางหาก ที่สนองความตองการของเรา ไดทุกกรณี พระธรรมเลมนี้ไดเทิดพระเกียรติของพระคริสตไวอยางสูงสง เกินกวาพระธรรมในเลมใดๆ ใน พระคริสตธรรมใหม ไดแสดงใหเห็นถึงสงาราศีทั้งปวงของพระคริสตในการสราง การไถมนุษยใหพน จากความผิดบาป และเอกสิทธิโดยสมบูรณทุกกรณีของพระเจา

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1-8) คําอธิษฐาน (1:9-12) แสดงใหทราบถึงพระคริสต (1: 13-29) เปนพระผูไถ เปนผูทรงใหเราคืนดีกับพระเจา เปนผูที่ทรงไวซึ่งความบริบูรณในทุกๆ ดาน คําวากลาวตักเตือน (บทที่ 2) หลักคําสอนเท็จ การกราบไหวทูตสวรรค คําแนะนําสั่งสอน (3: 1-4:6) ความบริสุทธิ์ ความรัก การยอมเชื่อฟง ความจงรักภักดี การอธิษฐานอยางสม่ําเสมอ หลักในการดําเนินชีวิต สรุป (4: 7-18)

40


6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ดูเหมือนวา ปญหาในพระธรรมเลมนี้ จะเปนเรื่องที่วาดวยการบรรลุถึงความครบบริบูรณ และ ความบริสุทธิ์ในองคพระเยซูคริสตเจา ดังทีท่ านอาจารยเปาโลแสดงไวในบทที่ 2 ขอ 10 วาเราตางไดรับ ฐานะอันสูงสงนี้แลว เมื่อเราดําเนินชีวิตตามคําสอนของพระองคอยางใกลชิด (2: 6) บทที่ 2 ขอ 8 สอนใหรูถึงอันตรายของคําสั่งสอนวาดวยปรัชญา อันเกิดจากความนึกคิดของ มนุษยเอง ซึ่งมิไดมาจากพระเจา เพราะคําสอนเหลานั้นเปนเพียงธรรมเนียมปฏิบัติของมนุษย จึงเปนสิ่ง ที่ไรคา พระธรรมที่เนนถึงความสําคัญของความเปนผูส รางของพระคริสตมีบัญญัติไวหลายแหง สวน พระธรรมฉบับนี้มีใน 1: 15-19 และไดแสดงใหเห็นเหตุผลของการที่พระองคทรงสรางไววา ทรงสราง ไว “สําหรับพระองค” เพื่อ “พระองคจะไดเปนเอกในสรรพสิ่งทั้งปวง” พระธรรมเลมนี้ไดกลาวเจาะจงถึงสิ่งตางๆ ที่คริสเตียนจะตองสละทิ้ง (3: 8, 9) และสิ่งซึ่ง จะตองยึดมั่นไว (3:12-14) หลักสําคัญยิ่งอยางหนึ่งในการประพฤติของคริสเตียนซึ่งครอบงําเหนือพฤติกรรมทั้งหลาย ใน ชีวิตคริสเตียนตามที่บัญญัติไวในบทที่ 3 ขอ 17 คือ ไมวา จะกระทําการใดๆ ก็ดี จงกระทําในนามพระ เยซู และขอบพระคุณพระบิดาเจาในพระนามของพระองค นับวาเปนคําสอนที่สอดคลองตองกันกับ พระธรรม 1 โครินธ 10: 31 อยางใกลชิด จดหมายฝากฉบับนี้ไดประสานหลักคําสอน และการปฏิบัติเขาดวยกันใหเปนทีท่ ราบชัด

7. กุญแจไขความเขาใจ จงอานและขีดเสนใตคําวา “ครบบริบูรณในพระคริสต” ในพระธรรมโคโลสีทุกๆ ขอ แลวจะ ตระหนักวาทานไมตองการสิ่งใดอีกเลย จงดําเนินชีวิตประจําวันของทานใหสําแดงออกซึ่งความครบ บริบูรณนี้ โดยยึดมั่นในพระวจนะของพระคริสต (3:16)

41


กุญแจไขพระธรรม 1 เธสะโลนิกา

12

1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล เขียนขึ้นเมื่อประมาณ ค.ศ. 52 ที่เมืองโครินธ ในระหวางเวลาที่ อาจารยเปาโลไปเยือนทีน่ ั่นครั้งแรก (ดู กจ. บทที่ 18) เมืองเธสะโลนิกา (ปจจุบัน เรียกวาซาโลนิเก) เปนเมืองใหญเมืองหนึง่ และเปนเมืองสําคัญของ มณฑลมากะโนเนีย และมีชาวยิวหลายคนอาศัยอยูในเมืองนี้ อาจารยเปาโล ไดจัดตั้งคริสตจักรในเมืองนี้ขึ้นแหงหนึง่ เมื่อคราวเดินทางมาจากเมืองฟลิปป (กจ. 17: 1-9) เมื่อจัดตั้งคริสตจักรเสร็จแลวไมนาน อาจารยเปาโลก็จากไป แตเนื่องดวยหวงใยถึงความ เปนไปของคริสตจักร จึงตกลงในใหทิโมธีไปดูแลวา กิจการจะเปนไปอยางไร (1 ธส 4:3-5) เมือ่ ทิโมธี ไปดูและกลับมารายงานสภาพความเปนไปของคริสตจักรแลว อาจารยเปาโลจึงไดเขียนจดหมายฉบับนี้ ขึ้น (กจ. 18:5)

2. สาระสําคัญ ใจความสําคัญ คือ การเสด็จกลับมาของพระคริสตโดยอาจารยเปาโลไดรับใชพระเจาในเมืองเธ สะโลกาในระยะเวลาอันสั้น จึงจําเปนตองกําชับยืนยันถึงความจริงที่ทานเคยสอนไว เพื่อชูชวย ผูที่เชื่อ ใหมใหมีความเชื่อมั่นคงยิ่งขึ้น คําแนะนําสั่งสอนนี้กอใหบังเกิดผลดีอีกสองประการ คือ เปนการเชิดชู ความบริสุทธิ์ของชีวิต หนุนน้ําใจใหเกิดความกลาหาญแมยามถูกกดขี่ขมเหง (3: 2-4) และปลอบโยนผู ที่เศราโศกถึงญาติพี่นองที่ถึงแกความตาย (4:1-13)

3. บทตอนทีส่ ําคัญ ชีวิตคริสเตียนทั้งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต (บทที่ 1) รางวัลแกผูที่เปนแบบอยางของผูรับใช (บทที่ 2 ) ความบริสุทธิ์ของผูเชื่อ (บทที่ 3) ความหวังของผูเชื่อ (บทที่ 4) การเสด็จกลับมาของพระผูเปน เจา (บทที่ 5)

4. ลักษณะพิเศษ ตอนจบของทุกบทไดกลาวถึงการเสด็จกลับมาของพระเยซู จดหมายฝากฉบับนี้ เปนจดหมายฝากฉบับแรกที่อาจารยเปาโลเขียนขึ้น 42


ความสําเร็จของอาจารยเปาโลที่เมืองเธสะโลนิกานี้นับวาดีเดนมาก ในบรรดาผูที่กลับใจมาหา พระเจา อันเปนผลงานของทานมี เดมา (2 ตธ. 4:10) คาโย (กจ. 19: 29) เซกุนโด (กจ. 20:4) อาริศตาโค (กจ. 27:2; คส. 4:10) เราไมแนใจนักวาอาจารยเปาโลทําการประกาศอยูใ นเมืองเธสะโลนิกาเพียงหนึ่งเดือนเทานั้น (กจ. 17:2) หรืออาจจะปฏิบตั ิงานอยูที่บานของยาโซน นานกวานั้นก็เปนได (กจ. 17:5) แตไมวาจะเปน เวลานานเทาใดก็ตาม คําสั่งสอนของทานในระยะเวลาดังกลาว พอจะแยกเปนหัวขอยอ ๆ ไดดังตอไปนี้ คือการเลือกสรร พระวิญญาณบริสุทธิ์ ความมั่นใจในความรอด ตรีเอกานุภาพของพระเจา การกลับใจ และถวายตัวตอพระเจา การเสด็จกลับมาครั้งที่สองของพระคริสต การดําเนินชีวิตของผูที่เชื่อ การชําระ ใหเปนผูบริสทุ ธิ์ วันของพระผูเปนเจา การฟนคืนพระชนมธรรมชาติสามประการของมนุษย บทที่ 3: 6-10 เปนที่ยนื ยันไดวา คริสเตียนเมืองเธสะโลนิกา มีความรักและความผูกพันตอ อาจารยเปาโลเปนอันมาก ผลงานของอาจารยเปาโลที่เมืองเธสะโลนิกานับวาดีเดนมา ทั้งนี้เพราะศัตรูไดกลาวหาอาจารย เปาโลวาเปนผู “คว่ําแผนดิน...” (กจ.17:6) ผลงานดังกลาวนี้ไดเลื่องลือไปทั่วประเทศกรีก (1 ธส 1:8, 9)

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (บทที่ 1) การระลึกถึงเวลาที่เคยอยูดว ยกัน การเทศนา การถูกขมเหง การสงทิโมธี การปลอบประโลม คําวิงวอนและเตือนสติ (4: 1-10) เกีย่ วกับ ความบริสุทธิ์ ความรัก การเปดเผยใหทราบถึง (4:13-5:3) การเสด็จมาของพระคริสต ไมรูกําหนดเวลา การปฏิบัติ (5: 4-22) บทหนุนน้ําใจ คํากําชับเกี่ยวกับความประพฤติ สรุป (5: 23-24)

43


6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ความเปลี่ยนแปลงที่สําคัญที่สุดของคริสเตียน คือ การละทิ้งรูปเคารพ แลวหันมาหาพระเจา (1: 9) บทที่ 1 ขอ 8 แสดงใหเห็นถึงอิทธิพลอันยิ่งใหญแหงความเชื่อ ของคริสตจักรเธสะโลนิกาวามี มากสักเพียงใด เพราะแมคริสตจักรนี้เพียงแหงเดียว ก็สามารถสรางชื่อเสียงแผไปทั่วโลกได บทที่ 4 ขอ 1-5 เปนคําเตือนวาดวยการรักษาตนใหเปนผูบริสุทธิ์ มิใหหมองมัวในเรื่องตางๆ โดยเฉพาะทางเพศ ขอพระธรรมอันเปนศูนยรวมแหงความหวัง และความยินดีของคริสเตียน ในพระธรรมเลมนี้ ไดแก 4: 13-18 ซึ่งเปนตอนที่อาจารยเปาโลเปดเผยใหทราบถึงสงาราศีแหงการเสด็จกลับมาของพระ คริสต ขอพระธรรมเหลานี้เปนบทหนุนใจผูเชื่อพระเจาไดเปนอยางดี พระธรรม 5: 12, 13 เปนการตักเตือนใหทกุ คนนับถือศิษยาภิบาล ั ญัติไวใน 5: 16-22 ขอกําชับเจ็ดประการสําหรับการดํารงชีวิตคริสเตียนมีบญ

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรม 1 เธสะโลนิกานี้ สอนใหเขาใจถึงการดํารงชีวิตคริสเตียน เพราะพระเยซูคริสตใกล จะเสด็จกลับมาแลว เราตองดํารงชีวิตใหอยูในสภาพเตรียมพรอมอยูเสมอเปนการตระหนักแน ถึงการ สิ้นพระชนมของพระเยซูบนไมกางเขนประหนึ่งวาเหตุการณเพิ่งผานมาเมื่อวานนี้ และประจักษแกตา แลววา พระองคไดทรงฟนคืนพระชนมขึ้นมาเมื่อเชานี้ และดวยความหวังอันมั่นคงวาพระองคจะเสด็จ มาในวันพรุงนี้

44


กุญแจไขพระธรรม 2 เธสะโลนิกา

13

1. ความเปนมา อาจารยเปาโลเขียนพระธรรมนี้ขึ้น ที่เมืองโครินธเมื่อประมาณ ค.ศ. 52 ปเดียวกับที่เขียนพระ ธรรม 1 เธสะโลนิกา เราไดทราบจากพระธรรม 1 เธสะโลนิกาแลววา อาจารยเปาโลเปนผูก อตั้งคริสตจักรเมืองนี้ขึ้น ในระหวางการเดินทางไปประกาศพระกิตติคุณในตางแดนเปนครั้งทีส่ องแตเพราะสถานการณในเมือง นั้น ไมราบรืน่ พอที่ทานจะอยูไดนานนัก ดังนั้นภายหลังจากที่ไดกอตั้งคริสตจักรขึ้นแลว ทานจึงตอง หลบหนีไปยังเมืองอื่น อยางไรก็ตามอาจารยเปาโลก็มีความหวงใยคริสตจักรนี้มาก เพราะเปรียบเสมือน ลูกออน อาจไมแข็งแรงพอที่จะสูกับความบีบคั้นของบานเมืองได ทานจึงไดสั่งทิโมธีใหไปเยี่ยมเยียน และสืบขาวความเปนไปของพี่นองคริสเตียนเมืองเธสะโลนิกา ฉะนั้น เมื่อทิโมธีกลับมาแจงขาวแกทานวาคริสตจักรที่เมืองนี้กําลังเจริญขึ้น อาจารยเปาโลมี ความปลาบปลื้มมากจึงไดเขียนจดหมายฝาก คือพระธรรม 1 เธสะโลนิกาใหทิโมธีถือไป หลังจากนัน้ ไมนานนักทานก็ไดเขียนจดหมายฝากอีกฉบับหนึ่งคือพระธรรม 2 เธสะโลนิกานี้ ใหทิโมธีถือไปอีกครั้งหนึ่ง

2. สาระสําคัญ ข อ ใหญ ใ จความของพระธรรมฉบั บ นี้ ยั ง คงกล า วถึ ง การเสด็ จ กลั บ มาของพระเยซู ค ริ ส ต เชนเดียวกับฉบับแรก แตเนื่องดวยคริสเตียนชาวเธสะโลนิกา เกิดการหวั่นไหววิตกเปนทุกข เพราะ ขอความในจดหมายปลอมที่อางวา เปนจดหมายของอาจารยเปาโล อางวาวันของพระผูเปนเจามาถึงแลว เพราะมีการขมเหงเบียดเบียน และความยาก และความยากลําบากเกิดขึ้น ซึ่งเปนการขัดแยงกับคําสอนที่ อาจารยเปาโลไดใหไวคราวกอน ซึ่งวาจะนําพวกเขาใหพนจากการทดลอง ดังนั้นพระธรรม 2 เธสะโลนิ กา จึงเปนจดหมายที่ทานเขียนเพื่อย้ําความเขาใจในหลักธรรมดังกลาวใหเขาใจโดยแจมแจง

3. บทตอนทีส่ ําคัญ แบงไดดังนี้ หนุนน้ําใจ (บทที่ 1) คําสั่งสอน (บทที่ 2) คํากําชับตักเตือน (บทที่ 3)

45


4. ลักษณะพิเศษ พระธรรม 1 เธสะโลนิกา เขียนเพื่อ “หนุนน้ําใจ” เปนสวนใหญ สวนฉบับที่สองเขียนเพือ่ “ขจัดความไขวเขว หรือความเขาใจผิด” พระธรรมทั้งสองฉบับนี้ เขียนดวยสํานวนเรียบ ๆ อานเขาใจงาย แสดงออกซึ่งความพอใจ และ ความรักอยางมากมาย ซึ่งไมคอยมีใจในฉบับอื่นๆ ที่นาสังเกตก็คอื พระธรรมเลมนี้ไมมีการอางอิงขอพระธรรมในพระคัมภีรเดิมโดยตรง ทั้งนี้ เปนเพราะอาจารยเปาโลเขียนถึงชาวตางประเทศผูซึ่งไมมีความรูในพระคัมภีรเดิมมากอน

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1-5) คําสั่งสอน (1: 6-2:12) วันแหงการพิพากษา มาร หลักปฏิบัติเกีย่ วกับ (2: 13-3:15) การปลอบประโลม การอธิษฐาน การประกอบการงาน ความเชื่อฟง สรุป (3: 16-18)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระธรรมเลมนี้ไดกลาวถึงเรื่องการเสด็จกลับมาของพระเยซูคริสตอยางผูทรงฤทธานุภาพ และ ทรงสงาราศียิ่งใหญ ไวอยางชัดเจน อันเปนคําสอนที่สําคัญ ซึ่งทานเนนไวเพื่อเสริมน้ําหนักใหแกคํา สอนเรื่องนี้ ในพระธรรมเธสะโลนิกาฉบับตน ในบทที่ 2 ขอ 3-12 สอนใหระมัดระวังตัวมิใหตกเปนเหยื่อแหงการทดลองของมาร ผูไดเชื่อวา “สัตวราย” “ลูกแหงความพินาศ” และ “ผูทรยศพระคริสต” ซึ่งอาจมาในรูปใดๆ ก็ได ดูเหมือนวามีชาวเธสะโลนิกาบางคนเขาใจวา หากพระเยซูคริสตจะเสด็จกลับมาโดยเร็วแลว ไซร ก็ไมมีความจําเปนอันใดที่เขาจะตองทําการงานใหเหนื่อยยาก สูอยูเฉยๆ รอจนถึงเวลานั้นจะดีกวา ดวยเหตุนี้อาจารยเปาโลคงกําชับอยางหนักแนนวา “ใหเขาทําการดวยใจสงบ และกินอาหารของตนเอง” นอกจากนี้ยังไดสั่งไวอยางเขมงวดวา ถาแมคนหนึ่งคนใดไมเชื่อฟงถอยคําของทาน ก็ใหตดั เขาออกเสีย จากสังคมของคริสเตียน

46


แมวาการเสด็จกลับมาครั้งที่สองของพระคริสตเปน “ความหวังใจอันใหมีสุข” (ทต. 2:13) แก อาจารยเปาโลก็ตาม แตทานก็ไมยอมปลอยใหความหวังนั้นทําใหทานขาดความรอนรนในการรับใช พระคริสตเลย

7. กุญแจไขความเขาใจ ควรศึกษา และพิเคราะหพระธรรมเธสะโลนิกาทั้งสองฉบับนี้ใหตอเนื่อง เปนอันหนึ่งอัน เดียวกัน เพราะสวนใหญแลวตางก็เนนในเรื่องการเสด็จกลับมาของพระคริสตเปนประเด็นสําคัญ

47


กุญแจไขพระธรรม 1 ทิโมธี

14

1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปาโล เขียนขึ้นที่มณฑลมากะโดเนีย (ทางตอนเหนือของประเทศกรีก) เมื่อ ค.ศ. 65 พระธรรมฉบับนี้เขียนถึงทิโมธี ผูรวมงานที่อาจารยเปาโลรักใคร และสนิทสนมที่สุด และดํารง ตําแหนงศิษยาภิบาลของคริสตจักร เอเฟซัส อาจารยเปาโลพบทิโมธีที่เมืองลุศตรา (กจ. 16:1-3) และได เลือกชายหนุมคนนี้ไวเปนผูช วย อาจารยเปาโลยกยองทิโมธีดวยใจจริงวา “ขาพเจาไมมีผูใดที่มนี ้ําใจ เหมือนทิโมธีนั้น...”(ฟป. 2:20) ทั้งนี้ก็เพราะทิโมธีเปนคนสนิทที่ทานไวใจที่สุดนั่นเอง เหตุที่เขียน เปนที่แนชดั วาเมือ่ อาจารยเปาโลพนจากการถูกจับกุมขังทีก่ รุงโรมในคราวแรกแลว ทานไดกลับมาเยี่ยมเมืองเอเฟซัส และเดินทางตอไปยังมากะโดเนีย ปลอยใหทิโมธีอยูที่เมืองเอเฟซัส ตามลําพัง ขณะเดินทางตอไปทานไดเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้น ซึ่งวาดวย หนาที่ของศิษยาภิบาลอันเปน งานที่ทิโมธีพึงปฏิบัติ

2. สาระสําคัญ พระธรรม 1 ทิโมธีนี้ เปนพระธรรมฉบับหนึ่งในสามฉบับ (รวมทั้งพระธรรม 2 ทิโมธี และพระ ธรรมทิตัส) ซึ่งจัดเปน “จดหมายฝากสําหรับศิษยาภิบาลโดยเฉพาะ” วาดวยระเบียบการจัดตั้ง การ ปฏิบัติในคริสตจักร แรกเริ่มนั้นกิจการทั้งปวงของคริสตจักรอยูในอํานาจหนาที่โดยตรงของอัครสาวก แตเมื่อกาลสมัยของอัครสาวกจวนจะสิ้นสุดลง ก็เปนการจําเปนที่พระวิญญาณบริสุทธิ์จะไดดลใจให เขียนขอแนะนําอันแจมแจง เพื่อเปนแนวทางแกบรรดาคริสตจักรในอนาคต 3. บทตอนที่สําคัญ กําชับเกีย่ วกับหลักคําสอนที่ไมถูกตอง (บทที่ 1) สอนใหอธิษฐานดวยจิตใจอันบริสุทธิ์ (บทที่ 2) คุณสมบัติของผูปกครองและมัคนายก (บทที่ 3) หนาที่ของศิษยาภิบาลที่ดี (บทที่ 4) การปฏิบัติ ของศิษยาภิบาลที่ดี (บทที่ 5,6)

48


4. ลักษณะพิเศษ ทิโมธีเปนคนหนุมแนนแตเปนผูที่มีความประพฤติที่ดีพรอม หาขอบกพรองมิได เปนตัวอยางที่ ดีงามของคริสเตียนทัว่ ๆ ไป ไดรับการแตงตั้งใหเปนผูประกาศพระกิตติคุณ (4: 14, 2 ทธ 1:6) เปนผูมี สุขภาพไมคอยสมบูรณ (5:23) เปนที่ไววางใจของอาจารยเปาโลมาก หลังจากมรณกรรมของอาจารย เปาโลแลว ดูเหมือนวาทิโมธีไดถูกทรมานจนถึงแกความตายดวย หนาที่หลักของทิโมธี ไดแกการอบรมคริสเตียนใหรูจักหนาที่ของศิษยาภิบาล เนื่องดวยสมัย นั้นไมมีโรงเรียนพระคริสตธรรมที่จะอบรมสั่งสอนศิษยาภิบาล จึงจําเปนตองเพิ่มพูนความรูและ คัดเลือกจากคริสเตียนใหทําหนาที่ศิษยาภิบาล แตงานนี้ก็สําเร็จลุลวงไปดวยดี ทัง้ ๆ ที่ตองประสบกับ อุปสรรคนานาประการ เพราะสมัยนีน้ คริสเตียนถูกขมเหงรังควานมาก พระธรรม 2 ทธ. 1:5,3:14,15 เปนบทอธิบายถึงพื้นฐานของความเปนคริสเตียนที่ดีงามของทิโมธี แมวาบิดาของทิโมธีจะเปนชาวกรีก แตมารดาซึ่งเปนชาวยิวก็ไดอบรมสั่งสอนบุตรใหมีความเชื่อมั่นในพระคริสตอยางมั่นคง หมั่นอธิษฐาน และดํารงตนอยูในกรอบแหงคําสอนของพระองคอยางเครงครัด โดยมีคุณยายคอยชวยเหลืออีกแรงหนึ่ง คงจํากันไดวา ในสมัยนั้นไมมีอาคารที่ทําการของคริสตจักรเปนหลักแหลงเลย การประชุม ของคริสเตียนเมืองเอเฟซัสก็ตองจัดขึ้นในบานพักของคริสเตียน และอาจตองจัดประชุมกันหลายสิบ แหง ดังนั้นทิโมธีจึงตองเปนหัวหนาศิษยาภิบาล มีหนาทีส่ ั่งสอนบรรดาผูนําทองถิ่นเหลานั้นดวย

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1, 2) ผูสอนเท็จ (1: 3-20) หลักการประพฤติที่ถูกตอง การอธิษฐาน (บทที่ 2) เจาหนาที่ของคริสตจักร (บทที่ 3) ผูปกครองคริสตจักร มัคนายก การปกครองคริสตจักร (บทที่ 4-6) ผูรับใช ผูรวมนมัสการ สรุป (6: 20, 21)

49


6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ปญหาที่ใหญที่สุดในพระธรรมทิโมธีฉบับตน ไดแกเรือ่ งผูสอนเท็จ (กจ. 20:29,30) เคาเงื่อน ของคําสอนผิด ๆ เหลานี้มาจากนิยายตางๆ ของชาวยิว และเรื่องวงศตระกูลอันไมรูจบ อาจารยเปาโลไดเขียนถึงฐานะของสตรี ในคริสตจักรไวอยางระมัดระวัง แมวาในสวรรคจะไม มีฐานะแตกตางกันก็ตาม แตในคริสตจักรยังคงมีขอแตกตางกันอยูบางเปนธรรมดา ซึ่งกรณีเชนนี้จะลบ ลางเสียมิได ในพระธรรมเลมนี้ไดมีการกําหนดคุณสมบัติเจาหนาที่ของคริสตจักรไวอยางชัดเจน แนนอนสําหรับคริสตจักรทุกกาลสมัย ตรงขามกับการแตงตั้งเจาหนาที่ โดยเห็นแกเกียรติหรือทรัพย สมบัติเปนสําคัญ คําสั่งสอนเกี่ยวกับทาส คือ ถาทําไดก็ จงเปนไทแกตัว แตถาทําไมไดก็ จงเปนทาสที่ดีที่สุด เทาที่จะทําได เพื่อเห็นแกพระคริสต ความมั่งมีเปนเหตุใหคนเหินหางจากพระเจาและตกลงไปในหลม แหงความชั่ว

7. กุญแจไขความเขาใจ ในพระธรรมฉบับนี้ ไดบญ ั ญัติคําสั่งสอนของพระเจาวาดวยศิษยาภิบาล ผูนําคริสตจักร และ สมาชิกของคริสตจักรไวอยางครบถวน

50


กุญแจไขพระธรรม 2 ทิโมธี

15

1. ความเปนมา อัครสาวกเปาโลเขียนพระธรรมฉบับนี้ ถึงทิโมธีผูซึ่งไดชื่อวา เปนบุตรในความเชื่อของทาน โดยเขียนขึ้นที่กรุงโรมเมื่อประมาณ ค.ศ. 67 พระธรรมเลมนี้มีความสืบเนื่องและสัมพันธกับพระธรรมทิ โมธีฉบับแรกอยางใกลชิดเชื่อกันวาเมื่ออาจารยเปาโลออกจากเมืองเอเฟซัส โดยใหทิโมธีอยูที่นั่นตอไป (1 ทธ. 1:3) และใหทิตัสประจําที่เกาะเกรเต (ทต. 1:5) แลว ทานไดเดินทางไปยังมณฑล มากะโดเนีย ณ ที่มณฑลนี้ทานไดเขียนจดหมายฝากทิโมธีฉบับแรก และก็คงแวะเยี่ยมคริสตจักรตางๆ ตามที่ทานได สัญญาไว ตอมาไมชาอาจารยเปาโลก็ถูกจับ และถูกสงไปจําคุกที่กรุงโรมอีก ในระหวางรอการพิจารณา คดี (5: 16-18) ทานไดสงจดหมายที่เขียนออกมาจากใจจริงฉบับนี้ ไปยังทิโมธีผูเปนมิตรที่รัก เพื่อเรง ใหทิโมธีไปหาทานโดยเร็ว (4:21)

2. สาระสําคัญ พระธรรมเลมนี้เปนฉบับสุดทายที่อาจารยเปาโลเขียนถึงบรรดา “ลูกแหงความเชื่อ” ของทาน ใจความของพระธรรมเลมนี้เปนไปในทํานองการดําเนินชีวิต และการรณรงคของทหารที่ดีแหงพระเยซู คริสต เปนคําพูดของขุนศึกผูชราที่จําเปนตองออกจากสนามรบ ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อหนุนน้ําใจนักรบรุน หลังทั้งหลาย และเปลงเสียงแสดงความมีชยั เปนครั้งสุดทาย

3. บทตอนทีส่ ําคัญ คําปราศรัยของอาจารยเปาโล (บทที่ 1) ทางอันชอบธรรมในยุคที่มนุษยไมยอมรับพระเจา (บทที่ 2) การ ละทิ้งความเชื่อและพระวจนะของพระเจา (บทที่ 3) ผูรับใชที่ซื่อสัตยกับพระเจา และพระเจาผูซื่อสัตย ของเขา (บทที่ 4)

4. ลักษณะพิเศษ แมพระธรรมทิโมธี ฉบับที่สองนี้ จะมิไดบันทึกเหตุการณไว แตตามขอเท็จจริงใน ประวัติศาสตร ปรากฎวาในสมัยนั้นไดเกิดอัคคีภัยครั้งใหญ ขึ้นในกรุงโรม และเพื่อปดความรับผิดชอบ ตลอดจนขอสงสัยตางๆ ใหพนตัว จักรพรรดิผูครองอํานาจในสมัยนั้นจึงไดกลาวหาคริสเตียนวาเปน ตัวการในเรื่องนี้ และทําใหเปนที่เพงเล็งของพวกเจาบานผานเมืองเสมอมา 51


เมื่ออาจารยเปาโลถูกจับครั้งแรก ทานเพียงแตถูกกักบริเวณโดยไดรับอนุญาตใหอยูภ ายในบาน เชา (กจ. 28: 30) แตเพราะอัคคีภัยครั้งนี้ใหญหลวงนัก ฉะนั้นเมื่ออาจารยเปาโลถูกจับครั้งที่สอง จึงถูกจํา ขังไวในเรือนจําชั้นเลวของกรุงโรม เขาใจวาอะเล็กซานโดร ชางทองแดง ชาวเอเฟซัส เปนตัวการสําคัญในการทําใหทานอาจารย เปาโล ถูกจับกุมและสอบสวนครั้งนี้ (ดู 4: 14 และกิจการ 1:9:33) อาจารยเปาโลเรงใหทิโมธีรีบมาหาทาน ถึงสามครั้ง มิหนําซ้ําในคุกก็มแี ตความชื้น เห็นไดจาก การที่ทานขอรองใหนําเอาเสื้อคลุม (4: 13) ที่ทานฝากไว ณ เมืองโตรอาพรอมกับหนังสือตางๆ และ หนังสือที่เขียนบนแผนหนังมาดวย นอกเหนือไปจากมิตรสหาย หรือเพื่อนรวมงานบางคนที่ทานสงไปปฏิบัติภารกิจในตางเมือง แลว คงมีแตนายแพทยลูกา “แพทยผูเปนที่รัก” ของทานคนเดียวเทานั้นที่คอยปฏิบัติทานในยามนั้น เพราะคนอื่น ๆ ตางหวาดหวัน่ ตอการคุกคามขมเหง จึงพากันทอดทิ้งทานไปเสียหมด ทานจึงได ขอรองทิโมธี ใหพามาระโกมาชวยทานอีกแรงหนึ่ง มาระโกผูนี้เคยชวยเหลือในการงานของอาจารยเปา โลมากอน แตครั้งนั้นเขาประสบความลมเหลว แตตอมาภายหลังเขาไดพิสูจนใหเปนที่ประจักษวา เขา ยังมีคุณคาตองานของทานอยู (4:11)

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1:1-5) การประพฤติของคริสเตียน (1:6-2:14) ความกลาหาญ ความมั่นคง ความอดทน คําเทศนาวาดวยคุณธรรมของคริสเตียน (2:15-4:5) การตระเตรียม สภาพของผูเชื่อในเวลานั้น การยึดมั่นในพระคัมภีร ภาระที่พระเจาทรงมอบหมายไวให ถอยคําสุดทายของอาจารยเปาโล (4:6-22)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระธรรมเลมนี้เปนคํากลาวครั้งสุดทายของอาจารยเปาโล เปนการแสดงออกทางวาจาของคริส เตียนผูยิ่งใหญที่สุดเทาที่โลกเคยมีมา ประดุจนักรบผูมีรอยแผลเปนที่รําลึกในการรณรงค มองยอนหลัง ไปถึงชีวิตที่ตรากตรํามานานแลวเปลงวาจาวา “ขาพเจาไดรักษาความเชื่อนั้นไวแลว” 52


พระธรรม 1 ทิโมธีเนนหนักไปในทางสอนใหรูถึงหนาที่การงานของศิษยาภิบาล สวน 2 ทิโมธี กลาวย้ําถึงงานของนักเทศน วาจําเปนที่จะตองมีความกลาหาญ ความทรหดอดทน และความจงรักภักดี เปนพิเศษ ทัง้ นี้เนื่องจากมีหลายคนไดเหินหางไปจากความเชื่อ อาจารยเปาโลมองถึงเหตุการณในอนาคต และหนุนน้ําใจทิโมธีวา “จงเขมแข็ง” ในการเปน พยานแกคนทีซ่ ื่อสัตย ทําตนใหอยูใ นกรอบคําสอนของพระเจา กลียุคจะบังเกิดขึ้น บรรดาผูที่ดํารงตนเปนคนที่ชอบธรรมในพระเยซูคริสตจะถูกกลาวโทษ และขมเหงเบียดเบียน

7. กุญแจไขความเขาใจ จงอานคําสั่งครั้งสุดทายนี้ควบกับชีวประวัติโดยยอของอาจารยเปาโลในพระธรรม 2 โครินธ 11: 16-33 ทานผูนี้เปนคนของพระเจาโดยแท เปนผูปอ งกันพระกิตติคุณที่ใหญยิ่งที่สุดในโลกเคยมีมา ศึกษาประวัติชวี ิตของทานใหถี่ถวน และดําเนินชีวิตตามแบบอยางของทาน

53


กุญแจไขพระธรรมทิตัส

16

1. ความเปนมา ผูเขียน คืออัครสาวกเปาโล เขียน ณ มณฑลมากะโดเนีย เมื่อประมาณ ค.ศ. 65 ทิตัสเปนผูชวยที่ไวใจไดคนหนึ่งของอาจารยเปาโล เขาเปนชาวกรีก และเปนกําลังอันสําคัญ ของทานในการประกาศพระกิตติคุณในเมืองโครินธ (2 คธ. 2:13, 7: 6, 8:23) เปนทีแ่ นชัดวา เมื่อคราวที่ อาจารยเปาโลไดรับการปลดปลอยจากการถูกจับกุมครั้งแรกนั้น ทิตสั รวมอยูกับทานดวย แตหลังจาก นั้นไมนานนักเมื่ออาจารยเปาโลเดินทางตอไปยังมากะโดเนีย ทานใหทิตัสประจําอยูท ี่เกาะเกรเต (ทต. 1:5) ในระหวางที่อาจารยเปาโลอยูในมณฑลมากะโดเนียทานไดเขียนพระธรรมเลมนี้ขึ้น ในแนว เดียวกับพระธรรมทิโมธีทั้งสองฉบับดังกลาวแลว เราทราบขาวเกี่ยวกับทิตัสเปนครั้งสุดทาย เมื่ออาจารยเปาโลสงเขาไปปฏิบัติหนาที่ตาม คริสตจักรตางๆ ในเมืองดัลมาเตีย (2 ทิโมธี 4: 10) อยูทางฝงทะเลตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศกรีก

2. สาระสําคัญ พระธรรมฉบับนี้มีใจความเชนเดียวกันกับ 1 ทิโมธีเปนสวนมาก หัวขอสําคัญก็คือ “การงาน ของศิษยาภิบาล” ทิตัสไดรับมอบหมายใหสถาปนาผูปกครองคริสตจักรและใหการอบรมแกเจาหนาที่ ตางๆ ของคริสตจักร คาดวางานหลักที่ทิตัสตองรับผิดชอบมีสองประการคือ ประการแรก ปรับปรุง คริสตจักรที่ขาดกการปฏิบัติตามทางแหงความจริงของพระเจา ประการที่สองคือ ปรับปรุงระเบียบ ปฏิบัติและการบริหารงานของคริสตจักรใหเรียบรอยใหสมกับเปนพระวิหารของพระเจา พระธรรม ฉบับนี้เปนระเบียบการที่พระเจาไดวางไวสําหรับคริสตจักรทุกยุคทุกสมัย

3. บทตอนทีส่ ําคัญ คุณสมบัติและหนาที่ของผูปกครอง (บทที่ 1) การงานในดานศิษยาภิบาลของผูปกครองที่แท (บทที่ 2,3)

4. ลักษณะพิเศษ อาจเปนไดวา ชาวเกรเตซึ่งไดกลับใจหันมาหาพระเจาในวันเพ็นเทคศเต (ดูกจิ การ 2:11) เปนผู กอตั้งคริสตจักรบนเกาะเกรเตนี้ขึ้น อาจารยเปาโลไดไปเยี่ยมและประกาศพระกิตติคณ ุ ที่เกาะนัน้ ดวย 54


เขาใจวาชาวเกาะเกรเตเปนเชือ้ สายของชาวฟะลิศติม พวกนี้เปนนักเดินเรือที่กลาหาญ มีชื่อเสียง ในการยิงธนู แตมีความเสื่อมทรามในดานศีลธรรมมาก ในสมัยของอาจารยเปาโลมีชาวยิวอาศัยอยูบ น เกาะนี้เปนจํานวนมาก เกาะเกรเตไมสูจะเจริญรุงเรืองนัก เพราะแมกวีชาวเกาะเกรเตเอง ก็ไดคําจํากัดความถึงลักษณะ ของชาวเกาะนีว้ าเปน “คนมุสา สัตวราย พวกเกียจคราน กินเติบ” แตอาจารยเปาโลรูสึกเชื่อมั่นตออํานาจ พระกิตติคณ ุ วา สามารถเปลี่ยนแปลงชีวิตของชาวเกาะนีไ้ ด อาจารยเปาโลมิไดมีความประสงคที่จะใหทิตัสอยูบนเกาะเกรเตเปนการถาวร แตอาจารยเปาโล จะจัดใหอะระเตมา หรือตุคโิ กเปนผูไปแบงเบาภาระ เพราะวาอาจารยเปาโลไดสั่งใหทิตัสไปหาทานที่ เมืองนิโกโปลี (3: 12) ซึ่งทานจะพักอยูใ นที่นั่นในฤดูหนาว

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1-4) เจาหนาที่ของคริสเตียน (1: 5-16) ผูปกครอง คําสั่งสอนอบรมสําหรับคริสเตียน (2: 1-3:11) การปฏิบัติตนภายในครอบครัวของผูสูงอายุ หนุมสาว คนใช-คนทั่วไป การปฏิบัติตอสังคม สรุป (3: 12-15)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ โดยเหตุที่ผูปกครอง เปนผูที่มีความสําคัญยิ่งในคริสตจักร จึงจําเปนตองกําหนดคุณสมบัติไว อยางเขมงวดกวดขัน ปญหาเกี่ยวกับผูสอนเท็จ เปนประเด็นสําคัญอีกเรื่องหนึ่ง ที่ทานตองกลาวย้ําในพระธรรมฉบับ นี้อีก (1:10-16) คําวา “ทั้งครัวเรือน” ในที่นี้หมายถึงคริสตจักรทุกแหง คริสเตียนจึงจําตองปดปากผู หลอกหลวงเหลานั้นโดยประกาศสัจธรรมของพระเจาใหผองชนประจักษแจง อาจารยเปาโลไดย้ําวาอยางหนักแนนวา “คุณงามความดี” มิใชมาตรการที่จะทําใหเราไดรับ ความรอด หากแตเปนผลของการไดรับความรอดตางหาก (ดู 2:7, 14, 3:1,8) ในบทที่ 2 ขอ 11-14 ไดกลาวถึง “ความหวังใจ อันใหมสี ุข” คือคอยทาพระเยซูเสด็จกลับมารับ คริสตจักร แตการที่จะไดรับความสุขเชนนีก้ ็จําตองขึ้นอยูก ับการดําเนินชีวิตคริสเตียนที่ดีเปนมูลฐาน

55


สวนเรื่อง “การลําดับวงศตระกูล” ตามที่อางไวนั้นเปนเรื่องที่พวกผูสอนเท็จหาทางพิสูจนถึง เชื้อสายของกษัตริยดาวิด หรือเพื่อเรียกรองสิทธิในการเปนญาติวงศกับพระคริสต

7. กุญแจไขความเขาใจ จงทํ า ตั ว เสมื อ นหนึ่ ง ท า นรั บ ตํ า แหน ง ของทิ ตั ส ผู เ ป น ศิ ษ ยาภิ บ าล ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ภ ายใต สิ่งแวดลอมอันยุงยากนั้นและถือวา พระธรรมฉบับนี้ เปนคําสอนจากอาจารยของทานโดยตรง

56


กุญแจไขพระธรรมฟเลโมน

17

1.ความเปนมา ผูเขียน คืออัครสาวกเปาโล เขียนจากกรุงโรม เมื่อประมาณ ค.ศ. 64 ฟเลโมนเปนสุภาพบุรุษคริสเตียน และเปนสมาชิกของคริสตจักรเมืองโคโลสี เปนผูที่มีฐานะมั่ง มี คริสตจักรจัดประชุมที่บานของเขา และเขาเองก็เปนมิตรสนิทของอาจารยเปาโลดวย เหตุที่เขียน ปรากฎวาโอเนซิโม ทาสของฟเลโมนไดขโมยเงินของเขาแลวหลบหนีไปยังกรุง โรม และไดพบกับอาจารยเปาโลเขา หลังจากที่โอเนซิโมไดรับพระคริสตเปนพระผูชวยใหรอดของตน แลว อาจารยเปาโลก็ไดสั่งใหเขากลับไปอยูกับฟเลโมนผูเ ปนนายอีก อาจารยเปาโลเขียนพระธรรมฉบับนี้ถึงฟเลโมนเพื่อรองขอใหเขาอภัยโทษใหแกโอเนซิโม และ มอบใหโอเนซิโมนําไปเอง พระธรรมฉบับนี้เปน “จดหมายฝากจากสถานที่กักกัน” อีกฉบับหนึ่ง

2. สาระสําคัญ พระธรรมฉบับนี้จัดวาเปนจดหมายสวนตัวโดยแทเพราะวาดวยความเปนอยูภายในครอบครัว โดยเฉพาะ ในบรรดาจดหมายที่อาจารยเปาโลไดเขียนสงไปเปนจํานวนมากนั้น จดหมายฉบับนี้เปน เพียงฉบับเดียวที่ประเทืองจิตใจและขัดเกลาศีลธรรมของเราใหดีงามโดยเฉพาะ ความสําคัญของพระ ธรรมเลมนี้ มิไดอยูที่เปาหมายในการขอรองให ฟเลโมนรับโอเนซิโมไวอยางเดียวเทานั้น หากยังเปน ตัวอยางอันดีในการปลูกฝงใหเกิดความรัก ความสุภาพออนโยน ความซื่อสัตย อันเปนผลของพระคุณ ของพระเจา ซึ่งเกิดขึ้นในจิตใจของคริสเตียนอีกดวย

3. บทตอนที่สําคัญ คําปราศรัย (ขอ 1-3) คุณลักษณะของฟเลโมน (ขอ 4-7) คําวิงวอนเพื่อโอเนซิโม (ขอ 8-21) กลาวคํานับ (ขอ 22-25)

4. ลักษณะพิเศษ เขาใจวา “อัปเฟย” (ในขอ 2) คงเปนภรรยาของฟเลโมน สวน “อะระคีโป” อาจเปนศิษยาภิบาล ประจําทองถิ่นนั้นก็ได ในขอ 11 มีการเลนสํานวนเล็กนอย เพราะชื่อโอเนซิโมหมายความวา “เปนประโยชน” ที่ใชคําวา “เปนนิตย” ในขอ 15 หมายถึง ความถาวรแหงมิตรภาพทั้งในโลกนี้ และตลอดไป 57


พระธรรมฉบับนี้นับเปนจดหมายฝากที่มคี าอันสูงสงประดุจอัญมณีลา้ํ คา คือมีทั้งความ ละมุนละไม ความสุภาพออนหวานและความเอื้อเฟอเผือ่ แผ ดังที่อาจารยเปาโลกลาววิงวอนตอฟเลโมน ใหยอมรับโอเนซิโมวา “จงรับเขาไวเหมือนรับตัวขาพเจาเอง” พระคัมภีรไมไดกลาววาฟเลโมนรับตัวโอเนซิโมไวหรือไม อยางไรก็ดี เปนเรื่องพูดตอๆ กันมา วา ฟเลโมนไมเพียงแตจะรับโอเนซิโมไวเทานั้น แตยังรับตามขอเสนอแนะของอาจารยเปาโล โดยยอม ใหโอเนซิโมมีอิสระเสรีอีกดวย เขาใจวากาลตอมาโอเนซิโมคงไดเปนผูปกครองคนหนึ่งในเมืองเบรอยะ ในประเทศกรีก ทั้งนี้ เพราะหลายปตอมา มีนักเขียนคนหนึ่งกลาวถึงผูมีนามวา โอเนซิโมเปนผูปกครองคริสตจักรที่นั่น

5. หัวขอโดยสังเขป คําปราศรัย (ขอ 1-3) คําขอบพระคุณ (ขอ 4-7) วัตถุประสงค (ขอ 8-21) สรุป (ขอ22-25)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ อาจารยเปาโลขนานนามตนเองวา “ผูถูกจองจําอยู เพราะเห็นแกพระเยซูคริสต” มิใชเปน นักโทษของรัฐบาลโรม หรือจักรพรรดิเนโรแตประการใดเลย นี่เปนการยึดมัน่ ในความเชื่อวา การที่ พระเจาไดจดั ใหอาจารยเปาโลอยูในกรุงโรมก็เพื่อปรนนิบัติพระองคเปนกรณีพเิ ศษ (ฟลิปป 1:12) ฟเลโมนนั้นไมเพียงแตจะเปนพี่นองคริสเตียนคนหนึ่งเทานั้น หากแตยังเปนคนที่รกั ดีพรอม เอื้ออารี มีเมตตาจิตอีกดวย ทั้งยังเปนกําลังอันสําคัญในการเผยแพรพระกิตติคุณของพระเจา และอบรม ศีลธรรมในเมืองโคโลสีโดยแท อาจารยเปาโลไดสอนใหเราเห็นถึงความสัมพันธอันแนบแนนของความเปนพี่นองคริสเตียน ดวยกัน โดยการไมรังเกียจเดียดฉันทโอเนซิโม นอกจากนั้นยังแสดงออกถึงน้ําใจอันสูงสงเปยมดวย ความเมตตา โดยเรียกโอเนซิโมวา “บุตร” ของทาน (ดู ขอ 10 และขอ 12) แมวาโอเนซิโมจะเปนอิสระอยางแทจริง เพราะเปนคริสเตียนแลวก็ตาม แตอาจารยเปาโลก็ยัง สงเขากลับไปอยูกับฟเลโมนอยางเดิมอีก ความอัศจรรยแหงความรอด มิใชเปนการเปลี่ยนแปลงแต ภายนอก หากแตเปนการปรับปรุงอันสมบูรณทางดานจิตใจตางหาก การที่อาจารยเปาโลใหคํามั่นวา ทานยอมชดใชสิ่งที่โอเนซิโมไดขโมยไปนั้นคืนใหแกฟเลโมน นับเปนการแสดงออกซึ่งน้ําใจอันนาชื่นชมยินดีอยางหนึ่งในพระคริสตธรรมใหม (ขอ 18) 58


คาดวาอาจารยเปาโลคงได ไปเยี่ยมฟเลโมนตามคํามั่นสัญญาในขอ 22 แลว ระหวางที่ทาน ไดรับการปลดปลอยจากการกักกันตัวในกรุงโรม ครั้งแรก

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมอันออนหวานฉบับนี้แสดงใหเห็นวาพระกิตติคุณทํางานในจิตใจคริสเตียน กอใหเกิดผลดีเพียงใด

และ

59


กุญแจไขพระธรรมฮีบรู

18

1. ความเปนมา ไมเปนที่แนชดั วา ใครเปนผูเขียนพระธรรมเลมนี้ แตนักปราชญทางพระคริสตธรรมคัมภีร หลายทานเชื่อกันวาคงเปนอาจารยเปาโล และคงเขียนขึ้นที่กรุงโรม (ดู 13: 24) เมื่อประมาณ ค.ศ. 65 เหตุที่เขียน ผลของการประกาศพระกิตติคุณทําใหมีผูละทิ้งศาสนายิวเขามาเปนคริสเตียนเปน อันมาก อยางไรก็ตาม แมลุเขาสู ค.ศ. 70 ศาสนายิวก็ยงั คงเปนที่เชื่อถือของชนชาติยิวสวนใหญอยู (ดู 10: 11) ไมผิดอะไรกับกอนสมัยที่พระเยซูถูกตรึงบนไมกางเขน ฉะนั้นคริสเตียนใหมในสมัยนั้นจึงถูก กดขี่ขมเหง และถูกตัดขาดจากสังคม จึงทําใหมีหลายคนทอแทคิดที่จะหวนกลับไปเชื่อถือตามศาสนา ยิวดัง้ เดิม พระวิญญาณบริสุทธิ์จึงดลใจใหเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้น เพื่อหนุนน้ําใจใหคริสเตียน เหลานั้นใหมนั่ คงในความเชื่อ มิใหหวั่นไหว หรือโนมเอียงไปตามอิทธิพลดังกลาว

2. สาระสําคัญ พระคริสตทรงมีความสําคัญอยางยิ่งยวดตอชีวิตของมนุษย และไมมีใครหลบลี้หนีพระองคพน เพราะพระองคทรงเปนสัพพัญู ทรงอยูในทุกหนทุกแหง และทรงมีฤทธานุภาพทั้งสิ้น พระองคทรง เปน ผูเยี่ยมกวา ประเสริฐกวา ดีกวา (คําเหลานี้มีใชถึง 13 ครั้ง) สิ่งใดและบุคคลใดๆ ทั้งสิ้น พระองค ทรงเปนผูกระทําใหพระสัญญาตางๆ ในพระคัมภีรเดิมสัมฤทธิ์ผล หากปราศจากพระองคแลวบุคคล และสถาบันตาง ๆ ในพระคัมภีรยอมไมมีคาและไมมีจุดหมาย การหันหนีไปจากพระองคจึงเทากับละ ทิ้งชีวิต ดังนั้นอยางปลอยตัวใหยอทอตอการกดขี่ขมเหง ทานจะตองบากบั่นไปสูความบริบูรณของ พระองคใหจงได และพระมหาปุโรหิตของเราคือพระเยซูคริสต ซึ่งขณะนี้ประทับ ณ เบื้องขวาพระหัตถ ของพระเจาจะชวยทาน อาวุธที่มีประสิทธิภาพเพียงพอแกความตองการของทานก็คือ “ความเชื่อ”

3. บทตอนทีส่ ําคัญ พระธรรมฉบับนี้มีหกหมวด รวมทั้งขอความในวงเล็บซึ่งแนะนําไวเปนพิเศษหาครั้งดวย ความ รอดอันใหญยิ่ง (บทที่ 1,2) ที่สงบสุขของพระเจา (บทที่ 3,4) มหาปุโรหิตของเรา (บทที่ 5,8) พระสัญญา ใหม (บทที่ 9,10) ทางแหงความเชื่อ (บทที่ 11) ปุโรหิตแบบคริสเตียน (บทที่ 12,13)

60


4. ลักษณะพิเศษ ความกดดันทีม่ ีตอคริสเตียนชาวฮีบรูสมัยเริ่มแรกนั้นรายแรงมาก บรรดาธรรมาจารยของ ชาติยิวผูอิจฉาริษยาไดกระทําทุกวิถีทาง เพื่อใหคริสเตียนผูกลับใจถวายตัวตอพระเจากลับไปนับถือ ศาสนายิวดั้งเดิม ทั้งนี้รวมตลอดไปถึงการถกเถียงในหลักศาสนา การคัดคาน การรองขอ วิงวอน โดยใช อิทธิพลของศาสนายิวเปนเครื่องสนับสนุน ในพระคริสตธรรมใหม ไมมีพระธรรมเลมใดกําชับตักเตือนเทาเลมนี้ คําวา “มิฉะนั้น เพื่อวา เกรงวา” เพื่อใหสังวรถึงอันตราย มีใชถึงเจ็ดครั้ง (2:1, 3:12, 13, 4:11, 12:3, 13, 15, 16) การละทิ้งหรือ หันไปจากพระเจาถือวาเปนการกระทําบาปหนักที่สุด

5. หัวขอโดยสังเขป ความเปนใหญของพระคริสต (บทที่ 1-7) ทรงเปนใหญเหนือผูพยากรณ ทูตสวรรค โมเซ ปุโรหิต ความสูงสงของคริสตศาสนา (บทที่ 8-10) พระสัญญา การถวายสักการะบูชา มิตรภาพ พยาน (บทที่ 11) วีรบุรุษแหงความเชื่อ ผูสมบูรณพรอมในความเชื่อ คําแนะนําตักเตือน (บทที่ 12, 13: 1-7) การปฏิบัติตอพระเจา และตอมนุษย สรุป (บทที่ 13: 8-25)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ สี่ขอแรกของพระธรรมเลมนี้นับวาเปนขอความที่มีความสําคัญยิ่งยวดตอนหนึ่งในพระคริสต ธรรมคัมภีร บางทานเห็นวา บทที่ 11 เปนบทที่สําคัญที่สุดในพระคริสตธรรมคัมภีร พระธรรมฮีบรูจัดวาเปนพระธรรมที่สําคัญที่สุดในการหนุนน้ําใจบรรดาผูเลื่อมใสศรัทธาใน พระเจา และกระตุนใหพัฒนาชีวิตคริสเตียน ใหเจริญกาวหนาไปสูความครบบริบูรณ พระกิตติคณ ุ ทัง้ สี่เลมและพระธรรมกิจการกลาวย้ําถึงพระราชกิจของพระคริสตไปสวนที่ พระองคไดทรงกระทําสําเร็จลุลวงไปแลว สวนพระธรรมเลมนี้ย้ําถึงพระราชกิจในสวนที่ “ยังไมสาํ เร็จ” และจะตองยังทรงกระทําตอไปทุก ๆ วัน ณ เบื้องขวาพระหัตถของพระเจา (7:25) 61


7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมฮีบรูเปนพระธรรมที่เขียนถึงคริสเตียนผูอยูในระหวางการถูกบีบบังคับ ตกอยูใน ความยากลํ า บากและถู ก ชั ก นํ า ให กั น ไปสู ค วามเชื่ อ เดิ ม พระธรรมเล ม นี้ เ ป น แรงดลใจซึ่ ง พระเจ า พระราชทานให เปนการหนุนน้ําใจใหเกิดความกลาหาญ

62


กุญแจไขพระธรรมยากอบ

19

1. ความเปนมา ผูเขียนพระธรรมเลมนี้คือยากอบ นองชายฝายเนื้อหนังรวมมารดากับพระเยซู (มก. 6:3) ทานได กลับใจถวายตัวทํางานของพระเจาเมื่อครั้งที่พระเยซูทรงสําแดงพระองคแกทาน หลังจากที่พระองคได ฟนคืนพระชนมแลว (1 คธ. 15:7) ยากอบเปนผูรวมประชุมอธิษฐานดวยผูห นึ่ง (กจ. 1:14) ตอมาได เปนศิษยาภิบาลและศาสนจารยประจําคริสตจักร ณ กรุงเยรูซาเล็ม (กท. 2:9) และเปนประธานของที่ ประชุม ณ กรุงเยรูซาเล็มนั่นเอง (กจ. 15:13) และในที่สดุ ทานถูกฆาตายเพราะความเชื่อในพระคริสต เชนเดียวกับสาวกคนอืน่ ของพระคริสตในสมัยนั้น พระธรรมเลมนี้เขียนขึน้ ที่กรุงเยรูซาเล็ม เมื่อประมาณ ค.ศ. 45 เหตุที่เขียน แมยากอบจะใชคําขึ้นตนพระธรรมฉบับนี้วา “ถึงคนสิบสองเผาที่กระจัดกระจายอยู นั้น” ก็ตาม แตทั้งนี้หาไดมคี วามหมายวาทานเขียนถึงชาวยิวทั้งสิบสองเผาดับกลาวนั้นเปนสวนรวมแต อยางใดไม หากหมายถึงคริสเตียนหรือคริสตจักรยิวที่กระจัดกระจายอยูใ นชนเผาตาง ๆ ทั้งสิบสองเผานี้ โดยเฉพาะเทานั้น เขาใจวาคริสเตียนเหลานั้นคงเขียนจดหมายสอบถามปญหาตางๆ มายังคริสตจักรอัน เปนภูมิลําเนาเดิมของตน พระธรรมฉบับนี้จึงเปนจดหมายตอบปญหาเหลานัน้ ซึ่งทานไดเขียนดวย ภาษางาย ๆ แตมีคุณคามาก

2. สาระสําคัญ ย้ําถึง “การประพฤติ” และใหดําเนินชีวิตอยูใน “วิถีทางอันบริสุทธิ์” หรืออีกนัยหนึง่ ก็คือ ชีวิต อันบริสุทธิ์และความประพฤติที่ดีงามเปนผลแหงความเชือ่

3. บทตอนทีส่ ําคัญ แบงตามบทไดดังนี้ การทดลองเกี่ยวกับความเชื่อ (บทที่ 1,2) ตัวอยางแหงความเชือ่ อันแทจริง (บทที่ 3) ขอหามมิใหประพฤติเยี่ยงชาวโลก (บทที่ 4) เตือนสติคนมั่งมี (บทที่ 5)

4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมฉบับนี้อุดมไปดวยมโนภาพอันแจมชัด มีชีวิตชีวา ดวยคําพูดงายๆ และสัน้ ๆ ยกยอง การรูจักรับผิดชอบในภาระหนาที่ ติเตียนการกระทําที่ผดิ และชมเชยการทําความดี 63


ขอเขียนของอาจารยเปาโลกับยากอบแตกตางกันมาก เพราะวิธีเขียนของยากอบมีแบบแผนแน ชัดและเปนระบบ มีลักษณะเปนตํารา มากกวาทีจ่ ะเปนจดหมายฝาก พระธรรมเลมนี้ไมกลาวถึงความ รอด หรือปญหาสวนบุคคลแตไดระบุถึงประเด็นอันเปนเปาหมายไวโดยตรง แลวสรุปจุดสําคัญให ทราบ พระธรรมฉบับนี้เขียนทํานองแยกหัวขอ และไมเชื่อมโยงตอกัน คือ การทดลอง ความอดทน สติปญญา การอธิษฐาน ความยากจน ความมั่งมี ราคะตัณหา บาป ความเชื่อ การประพฤติชอบ การนับ ถือบุคคล การใชวาจา ความพอใจในสภาพของตน วิธีการเขียนและเนื้อความของพระธรรมฉบับนี้คลายกับจะมีความสัมพันธกับพระธรรม สุภาษิตในพระคัมภีรเดิม

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1) การทดลองความเชื่อ (1: 2-27) เหตุแหงการทดลอง หลักปฏิบัติ ความตั้งใจ การกระทํา ความซื่อสัตย การสําแดงออกของความเชือ่ (บทที่ 2) การใหความเคารพตอบุคคล ความเชื่อและการประพฤติ สติปญญาอันเนื่องมาจากความเชื่อ (บทที่ 3) ลิ้นเปนตนเหตุแหงความลําบาก สติปญญาอันแทจริง ลักษณะของความเชื่อ (บทที่ 4) ความบริสุทธิ์ ความรัก การถอมตัว ชัยชนะแหงความเชื่อ (5: 1-18) ความอยุติธรรมที่ถูกแกแคน ความอดทนทีค่ วรแกบําเหน็จรางวัล คําอธิษฐานทีพ่ ระเจาทรงตอบ สรุป (5: 19, 20)

64


6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ในขอเขียนของอาจารยเปาโล เราจะพบคําสอนวาดวยหลักการแหงความรอดและความเชือ่ สวนขอเขียนของยากอบเนนในแงการประพฤติตามหลักการเหลานั้น “เรื่องลิ้น” ในบทที่ 3 เปนเรื่องที่เขาใจไดงาย จะเห็นไดวาในคริสตจักรสมัยเริ่มแรกนั้นมีคน อวดดี คนมีจติ ใจฝกใฝการฝายโลก อยากเปนผูนํา บทที่ 2 ขอ 8 กลาวชมเชยผูที่สามารถประพฤติตาม พระบัญญัติที่วา “จงรักเพื่อนบานเหมือนรักตนเอง” แตขณะเดียวกันในขอ 9 ก็ไดตําหนิไวดว ยวา แตถา กระทําการใดๆ โดยเลือกที่รักมักที่ชังก็ยอมเปนการทําบาป ยากอบไดจัดแบงสติปญญาของมนุษยออกเปนสองพวกคือ สติปญญาอยางโลกหรือ “อยาง ปศาจ” (3:15) กับสติปญญา “จากเบื้องบน” (3:17) สวนบทที่ 5 ขอ 13 เปนการหนุนน้ําใจผูมีความชื่น ชมยินดีใหรองเพลงสรรเสริญพระเจา

7. กุญแจไขความเขาใจ ความรอดเปนสิ่งมหัศจรรยอนั เที่ยงแทแนนอนของพระเจา ไดผลลัพธ ก็คือชีวิตใหม ในพระ ธรรมเลมนี้ไดกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงชีวติ ใหมไวพอสมควร

65


กุญแจไขพระธรรม 1 เปโตร

20

1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปโตร (มธ. 10:2) พี่ชายของอันดรูว หัวหนาในอัครสาวกสิบสองคน และ ทําหนาที่เปนผูดําเนินงานในคริสตจักรสมัยเริ่มแรก ทานอัครสาวกเปโตรเขียนพระธรรมเลมนี้ขึ้นเมื่อประมาณ ค.ศ. 65 ที่บาบิโลนซึ่งเปนเมืองที่ ตั้งอยูริมฝงแมน้ํายูเฟรติส (5: 13) เหตุที่เขียน ทานเปโตรเขียนถึงคริสเตียนชาวยิวที่กระจัดกระจายกันอยู (1:1) รวมทั้งคริสตจักร ของชาวตางชาติดวย (2:10) คริสเตียนสมัยเริ่มแรกถูกคุกคามขมเหงอยางรายแรง อีกทั้งคริสเตียน ดังกลาวก็เปนผูที่ยากจนคนแคนเปนอันมากอีกดวย ดังนั้นอาจารยเปโตรจึงไดเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้น เพื่อปลอบโยนและหนุนน้ําใจคนเหลานั้น

2. สาระสําคัญ ความสํ า คั ญ ของพระธรรมฉบั บ นี้ ก็ คื อ เน น ให มี ค วามอดกลั้ น เพื่ อ เอาชนะความทุ ก ข ย าก ทั้งหลาย ลําดับในชีวิตคริสเตียน คือ การสูทนกับความทุกขในขั้นตน และรับสงาราศีในบั้นปลาย (4: 13) ในพระธรรมเลมนี้ มีคําวา “ทนทุกขทรมาน” 15 ครั้ง วัตถุประสงคนอกเหนือจากนั้นก็คือเพื่อกําชับ ใหคริสเตียนดํารงอยูภายใตกรอบกฎหมายของบานเมืองตามนโยบายที่ฝายปกครองวางไว เพื่อขจัดขอ ครหาและปองกันมิใหผูที่เปนศัตรูกลาวหาวาเปนกบฏตอบานเมืองทั้งยังไดเสนอแนะตอไปวา คําสอน ของอาจารยเปาโล (2 ปต. 3:15, 16) เปนสัจธรรมแหงพระคริสตธรรมคัมภีรโดยแท ถอยคําที่สําคัญยิ่ง คือ “ความหวัง”

3. บทตอนทีส่ ําคัญ ความสัมพันธระหวางความทุกขยากลําบากของคริสเตียนกับความรอด (1: 1-2:8) หลักเจ็ด ประการในการดํารงชีวิตคริสเตียน (2:9-4:19) การปฏิบัติรับใชของคริสเตียนในการคอยทาการเสด็จ กลับมาของพระคริสต (5:1-24)

4. ลักษณะพิเศษ ชื่อ “เปโตร” เปนชื่อที่สําคัญยิ่งชื่อหนึ่งในพระคัมภีร ชื่อของอาจารยเปาโลปรากฎ 162 ครั้ง ชื่อ ของอัครสาวกคนอื่นๆ เทาที่ระบุไวรวมกันมี 142 ครั้ง สวนชื่ออาจารยเปโตรปรากฎวามีถึง 210 ครั้ง 66


จดหมายของอัครสาวกเปโตรมีสวนคลายคลึงกับจดหมายของอัครสาวกเปาโลมาก เพราะเขียน คํานับในทํานองเดียวกัน กลาวขอบคุณ และสรุปดวยความเกี่ยวของในสวนบุคคลเชนเดียวกัน ขอเขียนของอัครสาวกเปโตรกลาวย้ํา ถึงหลักเกณฑใหญๆ ของศาสนาคริสตไวทั้งหมด เชน การทนทุกขทรมานและการสิ้นพระชนมของพระคริสต (2: 24) การเกิดใหม (1:23) การไถดวยพระ โลหิต (1:18,19) การฟนคืนพระชนมของพระคริสต (3:20,21) และการเสด็จกลับมาของพระคริสต (1:7, 13, 5:4) ในพระธรรมกิจการ หลังจากบทที่ 15 ไปแลวไมปรากฎวามีการกลาวถึงอัครสาวกเปโตรอี จึง เขาใจวาในชวงระยะเวลาดังกลาว ทานคงไปยังเมืองอันติโอเกียตามที่ปรากฎในพระธรรมกาลาเทีย 2: 11 (เกฟากับเปโตรคือคน ๆ เดียวกัน) และงานสวนใหญของทานคงไดแกการประกาศพระกิตติคุณแก ชนชาติยวิ (ดู กท. 2:8) บางคนคิดวา ในปสุดทายแหงชีวิตของทานเปโตรทานไดพํานักอยูใ นกรุงโรม อันเปนที่ซึ่ง กลาวกันวา ทานถูกทรมานจนถึงแกความตายแตไมมหี ลักฐานที่จะพิสจู นได กลาวกันวาอาจารยเปโตรไดเขียนจดหมายฉบับนี้ในทันทีที่อาจารยเปาโลถึงแกกรรม และซีลา (ซีละวาโน) เปนผูนําไปสงแกคริสตจักรตางๆ ซึ่งอาจารยเปาโลเปนผูจัดตั้งขึ้นเพื่อเปนการหนุนน้าํ ใจให ทนสูกับความยากลําบาก (5: 12)

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1-12) การปฏิบัติตนเฉพาะพระพักตรพระเจา (1: 13-2:10) ดําเนินชีวิตในความบริสุทธิ์ กอปรดวยความรักสรางสรรคความเจริญฝายจิตวิญญาณ การยก ยองสรรเสริญ การปฏิบัติตอมนุษย (2: 11-4:19) ยอมเชื่อฟงเจาหนาที่ผูมีอํานาจ การยอมทนทุกขตอการกดขีข่ มเหง ความสัมพันธในครอบครัว ความสัมพันธในสังคม แบบอยางของคริสเตียน การปฏิบัติตอคริสตจักร (5: 1-10) หนาที่ของศิษยาภิบาล และสมาชิก สรุป (5: 12-14) 67


6. คําสั่งสอนที่สําคัญ พระธรรมเลมนี้เปนคําไขปญหาที่วา เหตุใด คริสเตียนจึงตองทนทุกขทรมาน อาจารยเปโต รเตือนสติพวกคริสเตียนวา พวกเขาจําตองเขาสวนรวมกับพระคริสตในการถูกหมูศตั รูปฏิเสธไมยอมรับ และถูกเกลียดชัง (4:12-16) การเสด็จกลับมาของพระองคคือ ความหวัง ของเขาเหลานั้น (4:7) ภรรยาตองออนนอมตอสามี ทั้งนี้เปนการยืนยันถึงพระกรุณาของพระเจา คนรับใชตองฟงคํา ของนาย แมจะถูกขมเหงหรือไมไดรับความยุติธรรมก็ตาม (2: 18-20) บทที่ 1 ขอ 10-12 แสดงวา บรรดาผูพยากรณไดพยายามศึกษาคําพยากรณ ที่ตนบันทึกไวอยาง ระมัดระวัง เพือ่ ใหทราบถึงความจริงของพระเจา จากบทที่ 5 ขอ 13 ทําใหทราบวา ภายหลังจากที่อัครสาวกเปโตรเขียนพระธรรมฉบับนี้เสร็จ แลว มาระโก(ผูเขียนพระกิตติคุณเลมที่ 2) ไดอยูกบั ทานดวย

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมเลมนี้เผยใหเห็นถึงสัจธรรมอันนิรันดรบางประการของพระเจา เคาโครงวางไวอยาง กวางๆ เนนถึงการยอมทุกขทรมานเปนเบื้องแรก เพื่อรับสงาราศีในบั้นปลาย

68


กุญแจไขพระธรรม 2 เปโตร

21

1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกเปโตร (1:1) บางทีเขียนจากกรุงโรมแตไมทราบแน หากวาทานเขียนพระ ธรรม 1 เปโตร ในระยะเวลาที่จักรพรรดิเนโรขมเหงพวกคริสเตียน (ค.ศ. 67) และหากวาทานถูก ฆาตกรรมเนื่องจากการเบียดเบียนดังกลาวแลว พระธรรมเลมนี้คงเขียนขึ้นในราว ค.ศ. 67 เหตุที่เขียน พระธรรมฉบับนี้ไมไดระบุเจาะจงไววาเขียนถึงผูรับคนใด แตเนื่องจากเปน “จดหมายฝากฉบับที่สอง” (3:1) จึงเปนที่คาดหมายวาคงจะเขียนถึงผูรับพวกเดียวกันกับที่ระบุไวใน ฉบับแรก

2. สาระสําคัญ กอนหนานี้คริสตจักรตางๆ ในแถบอาเซียนนอยกําลังถูกศัตรูกดขี่ขมเหงอยางรุนแรง อันเปน ภัยจากภายนอก อาจารยเปโตรจึงไดเขียนพระธรรม 1 เปโตรขึ้นเพื่อหนุนน้ําใจคริสเตียนเหลานั้น ใหมี ความมั่งคงในความเชื่อ ครั้นตอมาไดมีการสอนเท็จ และการปฏิเสธพระเจาเกิดขึ้นภายในคริสตจักร เหตุฉะนั้นอาจารยเปโตรจึงไดเขียนจดหมายฉบับที่สอง คือ พระธรรมฉบับนี้ขึ้นเพื่อตักเตือนและ กําชับคริสเตียนเหลานั้น (3: 17, 18) ถอยคําสําคัญคือ “ความรู” และ “รูจัก” (1:2, 3,5,6,8, 2:20, 21, 3:18)

3. บทตอนทีส่ ําคัญ คุณธรรมอันสูงสงของคริสเตียน (1: 1-14) การยกยองเทิดทูนพระคัมภีร (1:15-21) อันตรายจาก ผูสอนมิจฉาลัทธิ (2:1-22) การเสด็จกลับมาของพระคริสตและวันขององคพระผูเปนเจา (3:1-18)

4. ลักษณะพิเศษ พระธรรม 1 เปโตรกับ 2 ทิโมธี ลักษณะคลายคลึงกันมาก กลาวคือมีการคาดลวงหนาถึงมิจฉา ลัทธิซึ่งจะมีมาในอนาคต อาจารยเปาโลมองเห็นวาฆราวาสติดเชื้ออันรายแรงนี้ และอาจารยเปโตรก็ กําชับใหระวังผูสอนเท็จ นอกจากนั้นทานยูดาหก็มองเห็นอันตรายอยางเดียวกันนี้ ดังจะเห็นไดจาก ขอเขียนของทานซึ่งไดกลาวตักเตือนไวทุก ๆ ดานตั้งแตตนจนจบ อยางไรก็ตามพระธรรมทั้งสามฉบับ นี้ ก็หาไดมีขอ ความตอนหนึ่งตอนใดที่สอไปในลักษณะมองเหตุการณในแงราย หรือกอใหเกิดความ สลดหดหู และทําลายความหวังของคริสเตียนแตอยางใดไม พระสัญญาของพระเจายังคงมี ประสิทธิภาพในการเอื้ออํานวยความสมบูรณพูนสุข ใหแกชวี ิตคริสเตียนทุก ๆ ดานเสมอ 69


ที่เปนปญหาก็คือ ทานอัครสาวกเปโตรพํานักอยูใ นกรุงโรม จนถึงวาระที่ทานอัครสาวกเปาโล สิ้นชีวิตหรือไม เพราะในจดหมายฝากตางๆ ที่อาจารยเปาโลเขียนขึ้นในกรุงโรมระหวางที่ถูกจับกุมคุม ขังอยูที่นั่น ไมไดกลาวถึงทานไวเลย อาจเปนไปไดวาอัครสาวกเปโตรคงไปถึงที่นั่น ภายหลังจากที่อัคร สาวกเปาโลสิ้นชีวิตเพียงเล็กนอยและตอมาจึงไดเขียนพระธรรมฉบับนี้ขึ้น พระธรรม 2 เปโตรนี้ มีบางตอนคลายคลึงกับพระธรรมยูดามาก แตเรื่องนี้มิใชของนาแปลกเลย เพระสมัยนัน้ บรรดาอัครสาวกทั้งหลายมักเดินทางไปเผยแพรพระกิตติคุณของพระเจาดวยกัน และมี โอกาสฟงคําเทศนาของกันและกันเสมอ จึงอาจรับแนวความเห็นของกันและกันไวก็ได อัครสาวกเปโตรสํานึกถึงวาระสุดทายของทานวาไดใกลเขามาแลว (ดู 1:15) และรําลึกถึงพระ ดํารัสของพระเยซูที่ทํานายถึงการตายของทานวาจะเปนอยางไร (ดู ยอหน 21:18,19) อยูเสมอ ในพระธรรมเลมนี้ ทานอัครสาวกเปโตรไดประณามพวกผูสอนเท็จดวยถอยคําที่รุนแรงอยางยิ่ง (ดู 2: 12, 17, 18, 22)

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1,2) การปกปกรักษา (1: 3-21) พระสัญญา-ความกาวหนา พยาน-พระวจนะ ภัยจากผูสอนเท็จ (บทที่ 2) การแทรกซึมของผูสอนเท็จ-การลงโทษ แนวความคิดเกี่ยวกับคนเหลานี้ มุงมั่นบากบั่นตอไป (บทที่ 3) การเยาะเยย-ความเมตตาของพระเจา พระพิโรธ-การเฝาระวัง

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ คุณสมบัติเจ็ดประการของผูที่อยูฝายพระเจา (1:5-11) อันเปนผลแหงความเชื่อ ซึ่งเปรียบ เหมือนบันไดที่จะนํามนุษยจากโลกขึ้นสูส วรรค บทที่ 1 ขอ 20,21 ไดใหหลักเกณฑขั้นมูลฐานที่สําคัญยิง่ ประการหนึ่ง ในการศึกษาพระคริสต ธรรมคัมภีรคือจะตองรูวา พระคัมภีรนนั้ มาจากพระเจา พระองคทรงดลใจใหเขียน ดังนั้นพระธรรมทุก เลมจึงมีความสัมพันธตอเนือ่ งและสอดคลองเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน 70


และการที่จะตีความหมายในพระคริสตธรรมคัมภีรนั้น จะนึกตีความเอาเองไมได ตองอธิษฐาน ของใหพระวิญญาณบริสุทธิ์ชวยตีความให ตอนตนบทที่ 3 แจงใหทราบถึงทาทีของโลกที่มีตอหลักธรรมเกี่ยวกับการเสด็จกลับมาของพระ คริสต ในตอนเดียวกันนี้ ไดสอนใหเราทราบถึงเหตุผลที่วา ทําไมพระคริสตจึงยังไมเสด็จกลับมา (3:9) อาจายเปโตรกลาวยกยองอาจารยเปาโลอยางสูงวา “เปาโลนองรักของเรา” (3:15) ในตอนจบบทที่ 3 บรรยายใหทราบถึงความนาสะพรึงกลัว ในวาระสุดทายของโลกไวอยาง แจมแจง

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมฉบับนี้ เปนคําเตือนใหระวังคําสอนของบรรดาผูสอนเท็จ ดวยความมั่นใจอยางแนว แนวาพระเจาจะตองกระทําทุกสิ่งทุกอยางใหลุลวงไปตามพระประสงคของพระองค

71


กุญแจไขพระธรรม 1 ยอหน

22

1. ความเปนมา ผูเขียนพระธรรมเลมนี้คือ อัครสาวกยอหนผูเปนนองชายของอัครสาวกยากอบ และเปนบุตร ของเซเบดายชาวประมง ทานเปนอัครสาวกที่พระเยซูทรงรักมาก และมีโอกาสตามเสด็จพระองคอยาง ใกลชิดเสมอ ทานยอหนเขียนพระธรรมเลมนี้ขึ้นที่เมืองเอเฟซัส ยอหนคนเดียวกันนี้เองที่เปนผูเขียนกิตติคณ ุ เลมที่สี่คือพระธรรมยอหน รวมทั้งเปนผูเขียนพระ ธรรมยอหนฉบับที่สอง-สาม และพระธรรมวิวรณอนั เปนเลมสุดทายของพระคริสตธรรมคัมภีรอีกดวย ทานอัครสาวกยอหนเขียนพระธรรมเลมนี้เมื่อประมาณ ค.ศ. 95 ประมาณ 60 ปภายหลังการฟน คืนพระชนมของพระคริสต อันเปนระยะบัน้ ปลายชีวิตของทาน พระธรรมฉบับนี้ รวมทั้งฉบับอื่น ๆ อันเปนงานของทานอัครสาวกยอหน ลวนแตเขียนขึ้น ภายหลังพระธรรมเลมอื่นๆ ในพระคริสตธรรมใหมถึง 30 ป เหตุที่เขียน พระธรรมกิตติคุณยอหนเขียนขึ้นเพื่อชี้แจงใหทราบวา พระเยซูคริสตเปนพระบุตร ของพระเจาหากใครเชื่อในพระองค เขาก็จะไดชวี ิตนิรันดร (ยน. 20: 30, 31) สวนจดหมายฉบับนี้ เขียนขึ้นเพื่อเปนหลักฐานยืนยันแกคริสเตียนทัว่ ไป เปนการย้ําถึงความ มั่นใจใหรูวาผูท ี่เชื่อมีชีวิตนิรนั ดร (5:13) ถอยคําสําคัญคือ “รู” และ “รวมสามัคคีธรรม”

2. สาระสําคัญ พระธรรมเลมนี้เปนจดหมายที่พระบิดาเจาผูสถิตอยูในสวรรคมีมายังบุตรทั้งหลายของพระองค หรือ “ผูบังเกิด” แตพระองคโดยเฉพาะ กลาวอีกนัยหนึง่ คือเปนจดหมายภายใน “ครอบครัว” ของพระ เจาโดยเฉพาะ ไมรวมถึงชาวโลกดวย เปนเรื่องที่วาดวยพระเจาทรงเอาพระทัยใสตอความประพฤติของ บุตรของพระองคเปนสําคัญ พระธรรมกิตติคุณยอหนนําทางใหเรากาวเขาสูปราสาทของพระบิดาและ จดหมายฝากของทานยอหนกระทําใหเราอยูในปราสาทนัน้ อยางเปนสุข ขอเขียนของอาจารยเปาโล เนนหนักไปในดานความสัมพันธ และในฐานะบุตรของพระเจาที่พึงมีตอกัน สวนงานของทานยอหนวา ดวยความสัมพันธอยางใกลชิดระหวางบุตรกับพระบิดา ในบรรดาขอเขียนตางๆ ในพระคริสตธรรม คัมภีร จดหมายฉบับนี้มีสวนคลายคลึงกับบทเพลงไพเราะของกษัตริยซาโลมอนในพระคัมภีรเดิมที่สดุ

72


3. บทตอนทีส่ ําคัญ ความสัมพันธในฐานะเปนบุตรของพระเจา (1:3-24) ครอบครัวและชาวโลก (4:1-5:21)

4. ลักษณะพิเศษ ผูเขียนเปนบุคคลที่มีความแนใจ ทานเขียนในฐานะทีเ่ ปนผูหนึ่งที่ไดยนิ ไดเห็น และไดจับตอง รางกายพระบุตรของพระเจา พระธรรมเลมนี้ใชคําวา “รู” หรือ “รูจัก” ถึง 40 ครั้ง จดหมายฝากฉบับนี้มี ความจําเปนแกคริสตจักรอยางใหญหลวง การหลงผิดกําลังคืบคลานเขามาซึ่งเปนการปฏิเสธความ ศรัทธาในพระเจา พวก อีเบียน สอนวาพระคริสตเปนเพียงมนุษยเทานั้น พวก เซอรินเทียนสสอนวา พระคริสตเปนเพียงฤทธิ์อยางหนึ่งของพระเจาซึ่งลงมาสิ่งอยูในรางของมนุษยผูมีนามวาเยซู และจากไป กอนที่พระเยซูตรึงบนกางเขน พวกโตซีท อางวา พระคริสตไมมีรางกายที่แทจริง เหตุฉะนั้นจึงจะรับ ความทุกขทรมานและความตายไมได ตามปกติทานยอหนเขียนดวยความรักเสมอ แตในจดหมายฉบับนี้ทานเขียนอยางตรงไปตรงมา ที่สุด มุงชี้ใหเห็นคําสอนอันลอลวงและผูสอนเท็จ ทานประกาศใหทราบวา ผูสอนเหลานี้เปนผูที่ทรยศ ตอพระคริสต ตามที่กลาวสืบเนื่องกันมานัน้ ทานยอหนใหความเลี้ยงดูมารดาของพระเยซูจนนางถึงแก มรณกรรม หลังจากกรุงเยรูซาเล็มถูกทําลาย ดูเหมือนวาทานยอหนไดตงั้ บานเรือนอยูท ี่เมืองเอเฟซัส

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (1: 1-4) ความสวาง (1: 5-2:29) ความรัก (บทที่ 3,4) ชีวิตแหงความมีชัย (บทที่ 5)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ เขียนถึงบรรดา ลูก คือลูกทั้งหลายของพระเจาหรือคริสเตียนเทานัน้ ถอยคําที่เดนชัดคือ “ความสวาง” “ความรัก” “ชีวิต” ขอพระธรรมที่สําคัญมาก คือ 1:9 ซึ่งขอนี้ บอกใหคริสเตียนไดทราบวา เมื่อประพฤติผิดบาปจะตองทําอยางไร บทที่ 4 ใชคําวา “รัก” มากกวาบทอื่นใดในพระคริสตธรรมคัมภีร บทที่ 4 ขอ 8 ประกาศให ทราบวาพระเจาเปนความรัก สวนการสําแดงออกซึ่งความรักอันแทจริงของพระองค กลาวไวใน 4:9

73


7. กุญแจไขความเขาใจ จําไววาจดหมายของทาน 1 ยอหน มาจากพระเจา ถึงลูกทั้งหลายของพระองคเทานั้น

74


กุญแจไขพระธรรม 2 ยอหน

23

1. ความเปนมา ผูเขียนคือ ยอหน อัครสาวกสนิทของพระคริสตซึ่งตอมาเปนศิษยาภิบาลคริสตจักรแหงเมือง เอเฟซัส ทานเปนผูที่มีชีวิตเปนคนสุดทาย ในบรรดาอัครสาวกสิบสองคน เขียนจากเมืองเอเฟซัส เมื่อประมาณ ค.ศ. 97 พระธรรมเลมนี้เปนจดหมายสวนตัวของทานยอหนอีกฉบับหนึ่งทํานองเดียวกับพระธรรม ยอหนฉบับทีส่ าม

2. สาระสําคัญ จดหมายฉบับนี้เขียนถึง “สุภาพสตรีที่พระเจาทรงเลือกสรรไดและบุตรของนาง” ซึ่งอาจ หมายถึงหญิงคนหนึ่งที่มีความดีเดน และมีอิทธิพลมาก แตเราไมทราบชื่อ ยอหนไดเตือนสุภาพสตรีผูนี้วา อยาตอนรับแขกที่เปนผูส อนเท็จ เพราะเปนอันตรายตอความ เชื่อของนางเอง (คําวา สุภาพสตรี และบุตรของนาง นี้ตําราบางเลมใหคําอธิบายวาหมายถึง คริสตจักร กับ สมาชิกคริสตจักรมากกวาทีจ่ ะหมายถึงบุคคลใด หรือครอบครัวใดโดยเฉพาะ)

3. บทตอนทีส่ ําคัญ วิถีทางแหงความจริงและชีวติ (ขอ 1-6) อันตรายที่เกิดจากวิถีทางอันไมชอบดวยพระคริสต ธรรมคัมภีร (ขอ 1-11) คําลงทาย(ขอ 12,13)

4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมฉบับนี้เปนพระธรรมสั้นที่สุดในพระคัมภีรแ ตมีขอความสําคัญมาก คําที่สําคัญคือ “ความจริง” ซึ่งหมายถึงความจริงของพระคัมภีร ทานยอหนใชสรรพนามแทนชื่อของทานในคําขึ้นตนของพระธรรมฉบับนี้วา “ผูปกครอง” ชาง เปนสรรพนามที่เหมาะสมเสียจริงๆ ทั้งนี้เพราะทานยอหนเปนอัครสาวกที่เหลืออยูเปนคนสุดทาย และ ขณะที่เขียนจดหมายดังกลาวก็มีอายุอยูในวัย 90 แลว

75


5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (ขอ 1-4) คําคํานับ คําขอบพระคุณ พระบัญญัติ (ขอ 5-6) ขอควรระมัดระวัง (ขอ 7-9) คํากําชับ (ขอ 10,11) สรุป (ขอ 12,13)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ตองระลึกอยูเสมอวา ความจริงที่ปรากฏในจดหมายสั้น ๆ ฉบับนี้มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว ซึ่ง แตกตางจากใจความในหนาอื่นๆ แหงพระคริสตธรรมคัมภีร คําวา “บุตรของทาน” ในขอ 4 นั้น อาจหมายความถึงทั้งบุตรตามธรรมชาติ หรือหมายถึง บรรดาสมาชิกของคริสตจักรในเมืองนัน้ ดวยก็ได มีการย้ําใหระมัดระวังผูสอนเท็จและผูลอลวง เชนเดียวกับที่ไดกําชับไวในพระธรรมยอหน ฉบับที่ 1 คนเหลานั้นไมยอมรับวาพระเยซูคริสตไดเสด็จมารับชาติเปนมนุษย ขอ 9 สอนไววาผูใดประสงคจะเขาไปหาพระเจาแลว ก็มีความจําเปนอยางยิ่งทีจ่ ะตองยอมรับ พระคริสต ผูใดพยายามเขาไปหาพระเจาโดยทางอื่น ยอมเปนขโมยหรือโจร (ยน. 10:7-9) ขอ 10,11 กําชับไวอยางเด็ดขาดวาหามตอนรับผูลอลวงเชนนั้นเปนอันขาด หาไมแลวจะเปน การสงเสริมความชั่วรายของเขาไป หลักคําสอนที่อางอิงไวเปนความจริง อันสมบูรณวาดวย การ ประสูติ การดําเนินชีวิต การสิ้นพระชนม การฟนคืนพระชนม และการเสด็จกลับมาของพระคริสต การแสดงความชื่นชมยินดี สนิทสนม ฉันมิตรมีเขียนเพิม่ ไวในขอ 12

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมฉบับนี้นับเปนจดหมาย “ที่แท” ซึ่งเขียนจากยอหนผูเปนศิษยาภิบาลที่รัก ถึงมารดาค ริสเตียนคนหนึ่ง

76


กุญแจไขพระธรรม 3 ยอหน

24

1. ความเปนมา ผูเขียนคือยอหน อัครสาวกของพระเยซู ขณะที่เขียนพระธรรมฉบับนี้ทานดํารงตําแหนงศิษยาภิ บาลคริสตจักรเมืองเอเฟซัส เขียนจากเมืองเอเฟซัส เมื่อประมาณ ค.ศ. 97 เปนจดหมายฉบับสุดทายกอนที่ทา นจะถึงแก กรรม ตามขอพระคัมภีรเห็นไดวา จดหมายฉบับนี้เขียนถึงผูมั่งคั่งคนหนึ่งมีนามวา คาโย (1:1) เพื่อเรา ใจใหตอนรับทูตผูประกาศพระกิตติคณ ุ อันแทจริง พระคริสตธรรมใหมกลาวถึงนามคาโยไวหลายครั้ง (ดู กจ 19:29, 20: 4, รม. 16:23, 1 กธ. 1:14) แตไมแนใจนักวาจะเปนบุคคลคนเดียวกันหรือไม

2. สาระสําคัญ มีปญหาเกิดขึน้ ในคริสตจักรทองถิ่นแหงหนึ่ง ดูเหมือนวาชายคนหนึ่งชื่อดิโอเตรเฟ เปนผูใฝ อํานาจ ไมยอมรับรูในอํานาจหนาทีแ่ ละไมเชื่อฟงจดหมายของอัครสาวกปรากฎชัดวา ทานยอหนเคยได เขียนไปถึงคริสตจักรนั้นบางแลว (ขอ 9) สําหรับจดหมายฉบับนี้เขียนถึงคาโยดังระบุไวในตอนตนของ จดหมาย ซึ่งเปนสมาชิกในคริสตจักรแหงนั้น เพื่อซอมความเขาใจ ใหแกไขขอบกพรองตอระเบียบนั้น เสีย อาจเปนไดวาจดหมายฉบับนี้เปนฉบับหนึ่งในหลาย ๆ ฉบับ ที่อัครสาวกทั้งหลายเขียนไปถึง คริสตจักรแหงนี้ อยางไรก็ดจี ดหมายฉบับนี้พระวิญญาณของพระเจาไดทรงสงวนไวเพื่อเปนคําสั่งสอน แกพวกเราในทุกวันนี้ดว ย

3. บทตอนทีส่ ําคัญ คําทักทานปราศรัยสวนตัว (ขอ 1-4) คําสั่งสอน (ขอ 5-8 )เปรียบเทียบผูนําสองคน(ขอ 9-14 )

4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมฉบับนี้ กับพระธรรม 2 ยอหนเผยใหทราบถึงชีวิต และคุณลักษณะของบรรดาสมาชิก แหงคริสตจักรสมัยเริ่มแรก ซึ่งแมในปจจุบันนี้ ความบกพรองของบรรดาผูเชื่อก็ยังคงมีอยู การกําชับ ผูรับผิดชอบตอคริสตจักร เพื่อกําจัดขอยุงยากตางๆ ใหหมดไป

77


บางทานคิดวาดิโอเตรเฟ เปนผูสอนเท็จคนหนึ่งดังไดกลาวไวแลวในจดหมายของทานยอหน ฉบับตน เขาไมอนุญาตใหผสู อนหรือผูแทนคนอื่นๆ ของทานยอหนเขาไปเทศนาในคริสตจักรของเขา เลย อาจารยเปาโลไดเคยประกาศพระกิตติคณ ุ ในแถบนี้มาราว 40 ปกอน หลังจากนัน้ ทานยอหนจึง ไดมาเปนผูปกครอง ทานไดรวบรวมบรรดานักเทศนและผูสอน และจัดสงไปยังทองถิ่นใกลเคียง ปรากฎวาในตําบลที่ดิโดเรเฟอาศัยอยูน ั้นผูประกาศของทานยอหนไมไดรับการตอนรับ ดังนั้นเมื่อเขา กลับผูประกาศเหลานั้นจึงไดรายงานเรื่องราวใหทราบ ณ คริสตจักรของทานยอหน (ขอ 6) และได กลับไปเยีย่ มอีก คราวนี้ไดนาํ จดหมายฉบับนี้ไปมอบใหคาโยดวย

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (ขอ 1-4) คําคํานับ และคําขอบพระคุณ ชมเชยในการตอนรับ (คาโย) (ขอ 5-8) ติเตียนความเห็นแกตัว (ดิโอเตรเฟ ) (ขอ 9,10) พยานที่ดี (เดเมเตรียว) (ขอ 11,12) สรุป (ขอ 13,14)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ ตนเหตุของความยุงยากเกีย่ วกับดิโอเตรเฟก็คือ เขาเปนคนแสวงหาประโยชนสวนตัว และไม ยอมรับรูอํานาจหนาที่ของอัครสาวก ดวยอาการอยางนี้ เขากลายเปนผูเผด็จการในคริสตจักร ดังนั้นจึง เปนการทําลายมิตรภาพของคริสเตียน และความสัมพันธที่ดีตอพระเจา แมดิโอเตรเฟ จะเปนคนทีค่ ริสเตียนแทจริงไมพึงปรารถนา แตในคริสตจักรแหงนั้นยังมีคนดี อยูดวย เชน คาโยผูดําเนินชีวิตตามความจริง (ขอ 3) และเดเมเตรียว ผูรักความจริง ผูที่รูจักคุนเคยกับ ทานตางก็เปนพยานยืนยันในคํากลาวนี้ (ขอ 12) ยอหนไดชักชวนคนเหลานี้ใหจดั ระเบียบของ คริสตจักรใหถูกตอง

78


ทานยอหนมุงหวังที่จะมาเยือนคริสตจักรแหงนีด้ วยตนเอง (ขอ 14) ทานหวังใจวา เมื่อมาถึง ความยุงยากตาง ๆ ก็คงจะผานพนไป

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมฉบับนี้ กลาวถึงปญหาที่เกิดขึ้นในคริสตจักรแหงหนึ่งในสมัยแรกเริ่ม และคําตอบของพระเจา ที่มีตอคริสตจักรแหงนั้น

79


กุญแจไขพระธรรมยูดา

25

1.ความเปนมา ผูเขียนคือยูดา นองชายรวมมารดาฝายเนื้อหนังของพระเยซู (มก. 6:3) และนองชายของยากอบ ซึ่งเปนผูเขียนพระธรรมยากอบ และเปนผูน ําคนหนึ่งในคริสตจักรสมัยแรกเริ่ม เขียนเมื่อประมาณ ค.ศ. 67 จดหมายของทานยูดามีใจความทํานองเดียวกันกับพระธรรม 2 ทิ โมธีและพระธรรม 2 เปโตร ซึ่งพระธรรมทั้งสองเลมนี้วา ดวยเรื่องมีผูละทิ้งพระเจาเกิดขึ้นในคริสตจักร และกําลังระบาดมากขึ้นทุกขณะ เหตุที่เขียน ดูเหมือนวาทานยูดาไดวางแผนที่จะเขียนบทความวาดวย “ความรอดสําหรับคนทั้ง ปวง” (ขอ 3) แตไดเปลีย่ นความตั้งใจ และไดเขียนเตือนสติใหพยายามรักษาความเชือ่ ใหมั่นคง จดหมายฉบับนี้เขียนถึงคริสตจักรทั่วไป

2. สาระสําคัญ เราตอง “พยายามรักษาความเชื่อใหมั่นคง” ในตอนปลายของยุคอัครสาวก มีผูสอนเท็จเกิดขึ้นมากมาย พวกนี้ไดแทรกซึมเขาไปใน คริสตจักรตางๆ และชักจูงสมาชิกของคริสตจักร ใหหันเหไปในทางทีผ่ ิดตามเขาไปดวย คําสอนของคน พวกนี้ซึ่งไดชอื่ วา “ผูแอบแฝงเขามา” นั้น ยึดถือตามแนวทางแหงความคาดคะเน และปรัชญา กับ ยินยอมใหบรรดาศิษยของเขาดํารงชีวิตดวยการกระทําอันชั่วชาลามก คําสอนอันผิดๆ ของคนเหลานี้ขอ หนึ่งมีความวา พระเจาทรงกอปรไปดวยความเมตตาเกินกวาทีจ่ ะลงโทษคนบาปได ทานยูดาจึงเขียน จดหมายฉบับนี้ขึ้น เพื่อแจงใหเห็นถึงโทษของความผิดบาปทั้งหลาย

3. บทตอนทีส่ ําคัญ คํานําและเหตุที่เขียน (ขอ 1-4) ชี้ถึงโทษของการกระทําผิดฐานะทิ้งพระเจา (ขอ 5-7) อธิบายถึง ลักษณะของผูสอนเท็จ (ขอ 8-19) การปลอบโยนและใหความมั่นใจ (ขอ 20-25)

4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมยูดาฉบับนี้คลายคลึงกับพระธรรมบทที่ 2 ในพระธรรม 2 เปโตรมาก แตก็มีขอ แตกตางกันอยูบ างประการ คือ ทานเปโตรกลาววา จะมีผูสอนเท็จในอนาคต สวนทานยูดายืนยันวา ผูสอนเท็จไดเกิดขึ้นแลวในปจจุบัน 80


ผลประการแรกจากการอานจดหมายของทานยูดาก็คือ ทําใหรูวาบาปเปนสิ่งที่นาขยะแขยงมาก เขาใจวาคงไมมีบทใดในพระคริสตธรรมใหมที่กลาวถึงโทษของความผิดบาปไวหนักแนนเทากับเลมนี้ การที่ทานยูดา อางถึงความสัมพันธระหวางทานเองกับทานยากอบดังที่อางไวในขอ 1 เห็นจะ เปนเพราะตองการใหจดหมายฝากฉบับนี้ มีน้ําหนักนาเชือ่ ถือมากขึ้นนัน่ เอง เพราะในสมัยนั้นยากอบ เปนผูที่มีชื่อเสียง และมีผูเคารพยกยองมาก ยูดาอาจจะรูเรือ่ งราวของพระเยซูตั้งแตพระองคยังทรงอยูในวัยเยาว จนถึงวาระที่พระองคตั้งตน ทําการสั่งสอน อันเปนเรื่องที่เราทุกคนอยากทราบก็ได แตพระวิญญาณของพระเจาคงหามมิใหกลาวถึง ระยะเวลานัน้ แตใหกลาวเนนถึงพระเยซูคริสตในเวลาทีพ่ ระองคทําการสั่งสอน จนถึงเวลาสิ้นพระชนม และฟนคืนพระชนม

5.หัวขอโดยสังเขป คํานํา (ขอ 1-4) การละทิ้งพระเจาของสังคมสวนรวม (ขอ 5-10) การละทิ้งพระเจาในสวนบุคคล (ขอ 11-16) คํากําชับตักเตือน (ขอ 17-23) สรุป (ขอ24,25)

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ คําที่นาสะพรึงกลัวตางๆ ที่ทา นยูดาใชนั้น มุงหมายเฉพาะผูสอนเท็จในคริสตจักรเทานั้น ในจดหมายนีม้ ีคําพยากรณแรกเริ่มที่สุดซึ่งวาดวยการเสด็จกลับมาครั้งที่สองของพระคริสต และแจงวาเปนคําพยากรณของฮะโนค (14,15) ผูซึ่งมีชีวิตอยูเมื่อประมาณ 3,800 ปกอนคริสตกาล อีกเรื่องหนึ่งทีไ่ มมีในพระคัมภีรเดิม คือเรื่องที่อัครทูตาธิบดีมิคาเอล โตเถียงกับมารเรื่องศพ ของโมเซ

7. กุญแจไขความเขาใจ พระธรรมฉบับนี้เปนจดหมายหนุนน้ําใจใหตอสูผูสอนเท็จ และชักชวนคริสเตียนรักษาความ เชื่อใหมั่นคง

81


กุญแจไขพระธรรมวิวรณ

26

1. ความเปนมา ผูเขียนคืออัครสาวกยอหน ศิษยาภิบาลแหงเมืองเอเฟซัส ขณะที่เขียนพระธรรมเลมนี้ทานตก เปนนักโทษของจักรพรรดิซีซารและถูกเนรเทศไปยังเกาะปตโม นอกมณฑลอาเซียนอย เขียนที่เกาะปตโม เมื่อประมาณ ค.ศ. 96 เหตุที่เขียน พระเจาทรงยอมใหยอหนถูกเนรเทศไปยังเกาะปตโม เพือ่ ประทานวิวรณอันเปน พระวาทะที่ยอดเยีย่ มปดทายพระคัมภีรนี้ ตอมาภายหลังทานยอหนก็ไดรับการปลดปลอย และกลับสูที่ อาศัย ณ เมืองเอเฟซัส อันเปนสถานที่ซึ่งทานถึงแกมรณภาพ

2. สาระสําคัญ พระธรรมวิวรณเปดเผย ใหทราบถึงพระเยซูคริสตในทุกสภาวะอันนาชื่นชมแหงบุคลานุภาพ และพระราชกิจอันมหัศจรรยของพระองค พระธรรมเลมนี้เปนจุดรวมอันสุดยอด แหงความจริงอัน มหัศจรรยทั้งปวงของพระคัมภีร หากปราศจากพระธรรมวิวรณนี้แลว พระคัมภีรก็จะขาดความสมบูรณ จากพระธรรมเลมนี้เราสามารถรวบรวมความจริงไดทั้งหมด

3. บทตอนทีส่ ําคัญ นิมิตเหตุการณซึ่งทานไดเห็น (1: 19ก.) เหตุการณทเี่ ปนอยูในปจจุบนั (ยุคคริสตจักร) (1: 19 ข.) เหตุการณซึ่งจะมีมาภายหนา (1: 19ค.)

4. ลักษณะพิเศษ พระธรรมวิวรณ มีขอความที่อางจากพระคัมภีรเดิมมากมาย เทียบกับพระธรรมมัทธิว ซึ่งยกมา เพียง 92 ครั้ง และฮีบรู 201 สวนวิวรณยกมาอางถึง 285 ครั้ง พระธรรมเลมนี้เปนพระธรรมที่วาดวยคําพยากรณเพียงเลมเดียวในพระคริสตธรรมใหม ที่ แสดงใหเห็นวาพระคริสตทรงเปนศูนยกลางแหงคําพยากรณทั้งหมด ทุกสิ่งที่จะมีภายหนาลวนแตเล็งถึง พระองค “วิวรณ” เปนการเปดเผยใหทราบถึงบุคลิกภาพอันแทจริงของพระบุตรของพระเจา เนื้อหาในพระธรรมเลมนี้เต็มไปดวยนิมิตหมายสัญลักษณ ขอลึกลับตางๆ โดยทัว่ ไปแลวเรา ตองตีความหมายตามตัวอักษร เวนแตถอยคําที่เปนภาพพจนแสดงความเปนนัยตางๆ เทานั้น 82


ขอความทั้งสิ้นในพระคัมภีรมีเพียงแหงเดียวเทานั้นที่พระเจาทรงสัญญาไวเปนพิเศษวา ผูอาน และผูที่ฟงที่ไดรักษาขอความที่เขียนนี้ จะไดรับพระพรแหงความผาสุก (1: 3)

5. หัวขอโดยสังเขป คํานํา (บทที่ 1) จดหมายทั้งเจ็ดฉบับ (บทที่ 2,3) พูดถึง “สิ่งทั้งเจ็ด” หกครั้ง (บทที่ 4-22) ดวงตราทั้ง 7 ผูมีตําแหนงสูงทั้ง 7 วันวิบัติทั้ง 7 แตรทั้ง 7 ขันทองคําทั้ง 7 สิ่งใหม ๆ ทั้ง 7

6. คําสั่งสอนที่สําคัญ จดหมาย 7 ฉบับดังกลาวไวบทที่ 2 และ 3 นั้น มีจุดประสงคใหใชบงั คับสี่ประการคือ (1) เพื่อ แกไขขอบกพรองอันเลวราย ในเจ็ดคริสตจักร ที่มีนามดังกลาว (2) เล็งถึงคริสตจักรทุกยุค (3) ใชบังคับ แกคริสเตียนเปนสวนบุคคล (4) ใชเปนโครงรางประวัติศาสตรแหงคริสตจักรของพระเยซู ตัง้ แต พระองคเสด็จมาบังเกิดจนถึงการเสด็จมาครั้งที่สองของพระองค สวนใหญในพระธรรมวิวรณ กลาวถึงยุคแหงความลําบากยากเข็ญซึ่งรวมอยูใ นบทที่ 4-19 ใน บทดังกลาวนีแ้ บงออกเปน 6 สวนๆ ละเจ็ดเรื่อง (โปรดดูหัวขอขางบน) พระธรรมวิวรณมีความสัมพันธปฐมกาลเปนพิเศษ พระธรรมปฐมกาลกลาวถึงกําเนิดของสรร สิ่งรวมทั้งมนุษย ชีวิต การสมรส ความผิดบาป ฯลฯ สวนพระธรรมวิวรณนกี้ ลาวถึงชีวิตบั้นปลายของ มนุษย ความจริงอันนาชื่นชมยินดีทสี่ ุด ปรากฎอยูในบทสุดทาย ซึ่งบรรยายถึงสวรรคสถานและสงา ราศีไวอยางนาตื่นเตน ขอสุดทายเปนคําเชื้อเชิญ เพื่อใหเขาเฝาพระคริสต

83


7. กุญแจไขความเขาใจ จงอานพระธรรมเลมนี้ดวยความตั้งใจ ดวยความกระตือรือรนและความแนวแนในอันทีจ่ ะ แสวงหาพระคริสต แมพระธรรมเลมนี้จะยากแกการศึกษา แตพระวิญญาณบริสุทธิ์ซึ่งทรงดลใจใหเขียน พระธรรมเลมนี้ จะทรงสอนทุกคนที่ใครรใู หเขาใจ

84


ลูกกุญแจ 39 ดอก ไข พระคัมภีรเดิม เปนหนังสือทีก่ ลาวถึงประวัติความเปนมา สาระสําคัญ ลักษณะพิเศษ หัวขอโดยสังเขป คําสั่ง สอนที่สําคัญ ซึ่งจะไขไปสูความเขาใจ ในพระธรรมแตละเลมใน พระคัมภีรเดิม ขอความกะทัดรัด เหมาะสําหรับใชเปนคูมือ ในการศึกษาพระคัมภีรเดิมเปนอยางยิ่ง

สนใจโปรดสั่งซื้อไดที่ กองคริสเตียนบรรณาศาสตร 28/2 ซอยประชาอุทิศ ถนนปฏิพัทธ กรุงเทพมหานคร , 4

85


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.