ฉบับที่ 543 วันอาทิตย์ที่ 7 กันยายน ค.ศ. 2014
ฉบับที่ 543 วันอาทิตย์ที่ 7 กันยายน ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลปัสกา (ปี A)
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลปัสกา (ปี A)
ทีใ่ ดมีสองหรือสามคนชุ มนุมกันในนามของเรา เราอยู่ทนี่ ั่นท่ ามกลางพวกเขา
ทีใ่ ดมีสองหรือสามคนชุ มนุมกันในนามของเรา เราอยู่ทนี่ ั่นท่ ามกลางพวกเขา
มธ 18:20
มธ 18:20
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา มธ 18:15-20
1. การคืนดีกนั จากเนื้ อหาและนํ้ าเสียงของมัทธิวบทที่ 18 ข้อ 15-18 ทําให้เชื่อกันว่าไม่ น่าจะเป็ นคําสอนของพระเยซูเจ้าเอง เหตุผลประการแรกคือ เป็ นไปไม่ได้ทพ่ี ระองค์จะสอนศิษย์ว่า “ถ้าเขาไม่ยอม ฟงั พยาน จงแจ้งให้หมูค่ ณะทราบ” (มธ 18:17) เพราะคํากรีกทีม่ ทั ธิวใช้คอื ekklesia (เอคเคลซีอา) นัน้ ไม่ได้หมายถึง “หมู่คณะ” แต่หมายถึง “พระศาสนจักร” ซึ่งขณะที่ พระองค์ยงั ทรงพระชนมชีพอยู่ยงั ไม่เกิดขึน้ ยิง่ ไปกว่านัน้ ดูเหมือนว่า “พระศาสน จักร” ทีพ่ ดู ถึงน่ าจะผ่านการพัฒนามาระยะหนึ่งแล้ว จนเป็ นองค์กรทีม่ รี ะบบ ระเบียบ และอํานาจหน้าทีช่ ดั เจนว่าจะ “ผูก” หรือจะ “แก้” สิง่ ใดได้บา้ ง (มธ 18:18) ประการที่สอง เป็ นไปได้อย่างไรที่พระองค์จะสอนว่า “ถ้าเขาไม่ยอมฟงั หมู่ คณะอีก จงปฏิบตั ิต่ อเขาเหมือนเขาเป็ นคนต่ างศาสนาหรือคนเก็บภาษีเถิด” (มธ 18:17) ซึ่งบ่งบอกว่าพวกเขา “หมดหวังทีจ่ ะรอด” ทัง้ ๆ ทีต่ ลอดชีวติ ของพระองค์ ทรงตามหาและคลุกคลีอยู่กบั คนเหล่านี้จนพวกฟารีสกี ล่าวหาพระองค์ว่าเป็ นเพื่อน กับคนเก็บภาษีและคนบาป (มธ 11:19; ลก 7:34) และนอกจากจะไม่ทรงเห็นว่าคน เก็บ ภาษีแ ละคนบาปสิ้น หวัง แล้ว พระองค์ย งั ตรัส ว่ า “เราบอกความจริง แก่ ท่ า น ทัง้ หลายว่า คนเก็บภาษีและหญิงโสเภณีจะเข้าสูพ่ ระอาณาจักรของพระเจ้าก่อนท่าน” (มธ 21:31) 2
อา. 7 ก.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว และครอบครัวเตียวเจริ ญ ราฟาแอล ชัยพฤกษ์, มีคาแอล ธันวา ประคีนวินชา คุณโชคชัย ประคีนวินชา และครอบครัว คุณสัณหพล เหลืองอร่ าม และครอบครัว เปาโล ตุย้ นักพรรษา และครอบครัว ครอบครัวสาธร, ครอบครัวสุ นพิชยั ครอบครัวศิริวรรณ, ครอบครัวพานิชเกษม มารี อา รําทยา สกุลอ่อน, Aston Asoke’s sale team อุทศิ แด่ ภคินี ปริ สซิ ลลา อ่อน กัญญาพงศ์ มารี อา มักดาเลนา วิระวัลย์ ดวงรัตน์ มารี อา โรซา สมใจ กิจเจริ ญ ยอแซฟ สุ นทร ถวิลญาติ เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ และบรรพบุรุษ มารี อา ซุ่ยจู แซ่ลิ้ม คุณณัฐวุฒิ ศรี กตัญญู, คุณอัศวเทพ เทพานนท์ คุณกร, คุณแก้ว สาธร, คุณสิ ทธิประการ สายศรี คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา ฟิ ลิป มุ่ยซิ ม, คุณเช้ง แซ่จึง, เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม คุณเส่ ง แซ่ล้ ี, คุณก้านทอง แสงปั ญหา ผูล้ ่วงลับครอบครัวพานิชเกษม วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง จ. 8 ก.ย. อุทศิ แด่ คุณอัศวเทพ เทพานนท์, วิญญาณในไฟชําระ อ. 9 ก.ย. สุ ขสํ าราญ ครอบครัวเตียวเจริ ญ พ. 10 ก.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ พฤ. 11 ก.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ ศ. 12 ก.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ
ตุย้ ปัทมา ครอบครัว เกรี ยงศักดิ์ เกรี ยง / วิสาขา รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ ปัทมา วิสาขา / ทวิพล วิไลวรรณ 11
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 7 กันยายน ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี ส. 6 ก.ย. 18.00 น.
รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา มัทนา บุญครอง อุทศิ แด่ ภคินี ปริ สซิ ลลา อ่อน กัญญาพงศ์ คุณทองสุ ข เชื้อคําลือ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 7 ก.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ ครอบครัวศรี เจริ ญ เปาโล วิชชา, พ.ต.อ.วิฑูร และครอบครัวโพธิมชั ชา ด.ญ.สุ ดฤทัย ณ ระนอง โยเซฟ สมหมาย, คุณสัมฤทธิ์ แซ่คู โยเซฟ สมศักดิ์ คุณนิธิกลุ , หลุยส์ มารี ปภพ อักแนส สุ ภาพร, คุณปภาวริ นทร์, คุณปพิชญา คุณหาญ, คุณปรี ชา, ครอบครัวชุณหชัชวาล อาแบร์โต จะก๊ะ, อาซูกะ อายีต่ ี๋ และครอบครัว อุทศิ แด่ เทเรซา อํานวย โพธิมชั ชา คุณพัสฬัสน์ วราเปล่งสิ นทวี ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั คุณจะปา, คุณเฉี ยวปิ ง, คุณตูเอ๋ อ มารี อา ฮุย้ ลั้ง, เซี่ ยมลั้ง, เซี่ ยมเช็ง, เซี่ ยงเตียง แซ่โง้ว ยวง ฮุย้ เช็ง แซ่โง้ว, โยเซฟ สําราวย, คุณซุกคิน แซ่คู ฟี เดส จิตรา ดารุ ทยาน บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง
10
ผู้ขอมิสซา วิสาขา คค.ธนาพานิชย์ วิชชา อลิสา สําราญ สําราญ สําราญ สําราญ ลูซีอา วิชชา อัญชลี วิภาวินี คค.ธนาพานิชย์ ลูซีอา สําราญ สําราญ ลูซีอา
ประการสุดท้าย จากนํ้ าเสียงของพระวรสารตอนนี้ ดูเหมือนจะมีขอ้ จํากัดใน การให้อภัย กล่าวคือ หลังจากได้พยายามดําเนินการตามขัน้ ตอนต่าง ๆ แล้ว ทีส่ ุดจะ มาถึงขัน้ ตอนหนึ่งที่มบี างคนถูกตัดขาดจากพระศาสนจักรและถูกทอดทิ้งให้ส้นิ หวัง ซึง่ ไม่มที างเป็ นไปได้เลยทีพ่ ระเยซูเจ้าจะทรงสอนเช่นนี้ ทัง้ หมดนี้นํามาสู่ขอ้ สรุปที่ว่า พระวรสารตอนนี้มไิ ด้บนั ทึกคําพูดโดยตรงของ พระเยซูเจ้า แต่เป็ นการประยุกต์คาํ สอนของพระองค์โดยพระศาสนจักร เพือ่ ให้สมาชิก ถือเป็ นหลักปฏิบตั ิ อาจกล่าวได้ว่าสิง่ ทีพ่ ระองค์ตรัสสอนไว้โดยตรงคือ “ถ้าใครทําผิดต่อท่าน จง พยายามทําทุ ก วิถีท างให้เ ขาสํา นึ ก ผิด เพือ่ ความสัมพันธ์ร ะหว่า งเขากับ ท่า นจะดี ดังเดิม” หรือพูดง่าย ๆ ก็คอื “เราจะยอมให้ มีความแตกแยกระหว่างคริ สตชน ไม่ได้เด็ดขาด” ! แต่ถา้ เกิดความแตกแยกขึน้ พระศาสนจักรให้หลักปฏิบตั ไิ ว้ดงั นี้ 1. เมื่อรูส้ กึ ว่ามีคนทําผิดต่อเรา สิง่ แรกสุดทีเ่ ราต้องกระทําคือ “พบเขา ตัวต่อตัว” และ “พูดออกมา” ไม่ใช่เก็บเงียบไว้ในใจซึง่ มีแต่จะส่งผลร้ายต่อชีวติ และ จิตใจของเราเอง บางคนถึงกับเสียผูเ้ สียคนเพราะจมอยู่กบั ความเจ็บปวดรวดร้าวจน ไม่อาจคิดถึงสิง่ อื่นหรือบุคคลอื่นได้อกี เราจึงต้องนํ าความรู้สกึ นัน้ ออกมาภายนอกด้วยการพูด ซึ่งเมื่อพูด ออกไปแล้ว หลายครัง้ เราจะพบว่าปญั หานัน้ มันช่างเล็กน้อยและไร้สาระจริง ๆ สาเหตุทต่ี อ้ ง “พบเขาตัวต่อตัว” ไม่ใช่เขียนจดหมาย โทรศัพท์ หรือ พูดผ่านคนอื่น เป็ นเพราะหากใช้ตวั กลาง ผูฟ้ งั จะไม่สามารถรับรูอ้ ารมณ์ ความรูส้ กึ หรือ สีห น้ า ท่ า ทางของผู้พูด อัน อาจนํ า ไปสู่ค วามเข้า ใจผิด และทํ า ให้ส ถานการณ์ เลวร้ายลงได้ 2. หากการพบกันตัวต่อตัวยังไม่ประสบความสําเร็จอีก ให้ นําผู้ร้หู รือ ผู้ใหญ่ไปด้วย เพราะปกติคนที่ทําผิดต่อเรามักไม่ชอบหน้าเราและไม่อยากฟงั เรา เป็ น ทุ น เดิ ม อยู่ แ ล้ ว การนํ า ผู้ รู้ห รือ ผู้ ใ หญ่ ท่ีทุ ก ฝ่ า ยเกรงใจไปด้ ว ยย่ อ มช่ ว ยให้ บรรยากาศการสนทนาดีขน้ึ และเป็ นไปได้ว่าแต่ละฝ่ายจะมองเห็นตัวตนของตนเอง เหมือนทีผ่ รู้ หู้ รือผูใ้ หญ่มองเห็น 3
คําพูดทีว่ ่า “ถ้าเขาไม่เชือ่ ฟงั จงพาอีกคนหนึง่ หรือสองคนไปด้วย” (มธ 18:16) คงได้รบั อิทธิพลจากคําสอนในพระธรรมเก่าทีว่ ่า “พยานปากเดียวไม่เพียงพอ เพือ่ ตัดสินลงโทษผูก้ ระทําผิดทางอาญาหรือกระทําความผิดอืน่ ๆ จะต้องมีพยานสอง หรือสามปากเพือ่ พิสูจน์ ขอ้ กล่าวหาไม่ว่าในความผิดใด ๆ” (ฉธบ 19:15) ต่างกัน เพียงแต่ว่าเป้าหมายในการนํ าผูอ้ ่นื ไปด้วยก็เพื่อช่วยให้คนื ดีกนั ไม่ใช่เพื่อปรักปรําคน ผิด 3. หากปญั หายังไม่ยุติ ให้ นําเรือ่ งเสนอหมู่คณะคริ สตชน ซึ่งได้แก่ พระศาสนจักร เพราะหากนํ าเรื่องสู่ศาลเราอาจยุตปิ ญั หาทางแพ่งหรือทางอาญาได้ก็ จริง แต่ความสัมพันธ์นอกจากจะไม่ดขี น้ึ แล้ว ยังมีแต่จะทําให้ปญั หายืดเยือ้ ยาวนานไม่ มีทส่ี น้ิ สุด ตรงกัน ข้า มกับ ศาล บรรยากาศในหมู่ ค ณะคริส ตชนซึ่ง มีก ารสวด ั หาได้ดีก ว่ า ตัว บท ภาวนาและมี “ความรัก แบบคริส ตชน” ย่ อ มเอื้อ ต่ อ การแก้ป ญ กฎหมายและระเบียบขัน้ ตอนของศาลมากมายนัก 4. หากยังไม่สําเร็จอีก ขัน้ ตอนสุดท้ายคือ “จงปฏิบตั ิต่อเขาเหมือนเขา เป็ นคนต่างศาสนาหรือคนเก็บภาษีเถิด” (มธ 18:17) ขัน้ ตอนนี้อธิบายยาก แต่เราต้องเข้าใจไว้ก่อนว่า ในเมื่อพระเยซูเจ้ายัง ไม่ทรงละทิง้ “แกะ” ทีพ่ ลัดหลงแม้แต่ตวั เดียว มีหรือทีพ่ ระองค์จะทรงยินยอมให้ “คน” หนึ่ง “คน” ใดถูกทอดทิง้ ด้วยความสิน้ หวัง ?! จึงดูเหมือนพระองค์กําลังสอนว่า “เมือ่ ท่านได้ให้โอกาสแก่คนบาปและ พยายามทุกวิถที างแล้ว หากเขายังดึงดันอยูใ่ นบาป พวกท่านอาจถือว่าเขาเป็ นคนเก็บ ภาษีผทู้ รยศต่อประเทศชาติ หรือเป็ นคนต่างศาสนาทีไ่ ม่มพี ระเจ้าก็ได้ แต่เราไม่เห็น ว่าคนเก็บภาษี หรือคนต่างศาสนาจะสิ้ นหวังตรงไหน พวกเขาก็มหี วั ใจเหมือนกัน ดู อย่างมัทธิวและศักเคียสสิ พวกเขากลายเป็ นเพือ่ นรักของเรา เพราะฉะนัน้ พวกท่าน ต้องพยายามชนะใจพวกเขาให้ได้เหมือนทีเ่ ราได้ทาํ มาแล้ว” ขัน้ ตอนนี้จงึ มิใช่คําสังให้ ่ เราทอดทิง้ คนบาป แต่เป็ นการท้าทายเราให้ ชนะใจคนบาปด้วยความรักตามแบบอย่างของพระองค์ 4
ความผิดพลาด 14 ประการในการด ูแลล ูก
9
หนึ่งครั้ งวันอาทิตย์ คุณพ่ อฉลองรั ฐ สั งขรั ตน์ www.facebook/charlongrath Sang Karat 7 กันยายน 2014
บุญทิง้ กับบุญหนับ สองศรี สามีภรรยาตังใจมาวั ้ ด มาร่วมงานพลมารี ย์ของวัด จัดงานฉลองวันเกิดแม่พระ ฉลองเปรสิเดียม ด้ วยความศรัทธาแรงกล้ าของบุญ หนับ ฝ่ ายหญิง ทําให้ “บุญทิ ้ง” ฝ่ ายชายรู้สกึ กระสับกระส่าย หาเรื่ องออกนอกทาง เพราะ กิจกรรมฉลองแม่พระ สวดเยอะหน่อย ทําให้ ซาตานในร่าง ไม่คอ่ ยสบายตัว คิดหาวิธีออกจากวัด เลยหาเรื่ อง “ถามเยอะ” “สงสัยเยอะ” “โง่ เยอะ” เพื่อให้ บุญหนับรํ าคาญใจ ต้ องออกจากวัด “ นีเ่ ธอว่า แม่พระเป็ นคนอย่างไร?” บุญทิ ้งตังคํ ้ าถาม “ อ้าว! แกบ้าแน่เลย แม่ พระก็เป็ นคนดี สะอาดหมดจด” บุญหนับตอบ เบาๆ “ ดูจากอะไร ฉันมี วิธีพิสูจน์” บุญทิ ้งทําท่าขันอาสา “ ดูจากอะไรหละ” บุญหนับอยากรู้ “ บทสวดเก่าๆ เขาบอกว่า พระนางพรหมจารี บ่ มิปาน” “ บ่ มิ ปาน ไม่มีปาน แสดงว่ าสะอาดไม่ มีรอย ไฝ ฝ้า ปาน” บุญทิ ้งหัวหมอ “ แต่แกรู้ไหม? แม่พระดีอย่างงี ้ พลมารีย์ ยังไม่ ร้ ูจักแม่ พระ” บุญทิ ้งต่อ “ ทําไมแกรู้อะไรมา?” บุญหนับชักมึนในความหัวหมอ “ ก็ เ วลาสวดไง ชอบบอกว่ า “พระนางนั่ น คื อ ใครหนอ?.... ถามอยู่ นั่ น แหละ” ลก.1: 43-44 “ทําไมหนอ พระมารดาขององค์ พระผู้เป็ นเจ้ า จึงเสด็จมาเยี่ยม ข้ าพเจ้ า เมื่อฉันได้ ยนิ คําทักทายของเธอ ลูกในครรภ์ ของฉันก็ดนิ้ ด้ วยความยินดี” 8
ความรักทีส่ ามารถแทรกซึมเข้าไปในหัวใจไม่ว่าจะแข็งกระด้างปานใดก็ ตาม ! เหตุผลของพระองค์ก็คอื “ทุกสิง่ ทีท่ ่านจะผูกในโลก จะผูกไว้ในสวรรค์ และทุ ก สิง่ ทีท่ ่ า นจะแก้ ใ นโลก ก็ จ ะแก้ ใ นสวรรค์ ด้ ว ย” (มธ 18:18) ซึ่ ง บ่ ง บอกว่ า “ความสัมพันธ์ระหว่างเพือ่ นพีน่ ้องทีถ่ ูกผูกหรือถูกแก้ในโลกนี้ล้วนมีความสําคัญอย่าง ยิง่ ยวดเพราะต่างก็สง่ ผลถึงชีวติ นิรนั ดรในสวรรค์ดว้ ย” เพราะฉะนัน้ เรา “ต้อง” เยียวยาแก้ไขความแตกแยกให้ได้ !
2. คําภาวนาที่บงั เกิดผล พระเยซูเจ้าตรัสว่า “ถ้าท่านสองคนในโลกนี้พร้อมใจกันอ้อนวอนขอสิง่ หนึง่ สิง่ ใด พระบิดาของเราผูส้ ถิตในสวรรค์จะประทานให้” (มธ 18:19) ก่อนอื่นใดหมด เราจําเป็ นต้องศึกษาพระวาจานี้ให้เข้าใจอย่างถ่ องแท้ หาก ตีความง่าย ๆ ตามตัว อักษร เราคงต้องผิดหวังกับการรอคอยสิง่ ที่ไม่มีว นั จะเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น กี่ครัง้ กี่หนแล้วที่เรารวมตัวกันทัง้ วัดหรือแม้แต่ทงั ้ สังฆมณฑลเพื่อวอนขอ สันติภาพ แต่สนั ติภาพในโลกและทางภาคใต้ของไทยก็ยงั ไม่เกิดสักที สิง่ ทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงปรารถนาจะสอนเราเมือ่ สวดภาวนาและวอนขอก็คอื 1. คํา ภาวนาต้ อ งไม่เ ห็น แก่ ต ัว คําว่า “สองคนในโลกนี้ พ ร้อ มใจกัน ” หมายความว่าเราต้องไม่คดิ ถึงแต่ตวั เองและวอนขอเฉพาะสิง่ ทีต่ วั เองต้องการ แต่ต้อง วอนขอในฐานะสมาชิกคนหนึ่งของสังคมซึง่ ต้องคิดคํานึงถึงความต้องการของสมาชิกคน อื่นด้วย คําภาวนาที่เห็นแก่ตวั ย่อมส่งผลร้ายต่อสังคมส่วนใหญ่ จึงยากที่พระ บิดาจะประทานให้ ตรงกันข้าม หากทุกคนหรืออย่างน้อยส่วนใหญ่ของสังคมเห็นพ้อง ต้องกันวอนขอโดยไม่มคี วามปรารถนาทีเ่ ห็นแก่ตวั เจือปนอยู่ คําภาวนานัน้ ย่อมบังเกิด ผลอย่างแน่นอน 2. พระเจ้าทรงสดับฟงั คําภาวนาทีไ่ ม่เห็นแก่ตวั เสมอ แต่ตอ้ งระลึกอยูเ่ สมอ ว่า “พระองค์ไม่ได้ประทานให้ตามความต้องการของเรา แต่ตามทีพ่ ระองค์ผ้ทู รง เปี ่ ยมด้วยปรีชาญาณและความรักทรงเห็นว่าดีทีส่ ดุ ” 5
เหตุผลของพระองค์คอื เรามักวอนขอ “การหนี” เช่น ขอให้รอดพ้น จากความยากลําบาก ความเสียใจ ความผิดหวัง และภยันตรายต่าง ๆ แต่จะมีบดิ า คนใดทีย่ อมให้ลกู รักของตนต้องหนีหวั ซุกหัวซุนอย่างผูแ้ พ้ตลอดชีวติ พระเจ้าก็ไม่ทรงประสงค์ให้เราหนี แต่ตอ้ งการให้เราสูแ้ ละเอา “ชนะ” ปญั หาและความทุกข์ยากลําบากต่าง ๆ ให้ได้ พระองค์จะประทานความช่วยเหลือให้ เราเข้าใจในสิง่ ทีไ่ ม่อาจเข้าใจได้ ให้เราอดทนในสิง่ ที่ไม่เคยคิดว่าจะทนได้ และให้ เรากล้าเผชิญหน้ากับปญั หาทีเ่ ราเองไม่เคยคิดแม้แต่จะเข้าใกล้ ตัว อย่ า งชัด เจนที่ สุ ด คื อ พระเยซู เ จ้ า ขณะอยู่ ใ นสวนเกทเสมนี พระองค์ทรงวอนขอให้รอดพ้นจากกางเขนอันน่ าสะพรึงกลัวว่า “พระบิดาเจ้าข้า ถ้า เป็ นไปได้ ขอให้ถ้วยนี้พ้นข้าพเจ้าไปเถิด” (มธ 26:39) แต่สงิ่ ที่พระบิดาทรงโปรด ประทานแก่พระองค์กค็ อื พลังที่จะเผชิญหน้า ที่จะอดทน และที่จะเอาชนะความน่ า สะพรึงกลัวนัน้ ให้ได้ บทสรุปคือ พระเจ้าทรงสดับฟั งคําภาวนาที ไ่ ม่เห็นแก่ตวั เสมอ แต่คาํ ตอบนัน้ เป็ นของพระองค์และไม่จาํ เป็ นต้องเหมือนเรา !
2. ระดับครอบครัว มีผอู้ ธิบายว่า “สองสามคน” นัน้ ได้แก่ บิดา มารดา และบุตร ซึง่ รวมกันเป็ นครอบครัว หมายความว่า พระเยซูเจ้าทรงประทับอยู่ท่ามกลางครอบครัวทุก ครอบครัว แม้จะทรงเป็ นแขกทีม่ องไม่เห็นก็ตาม
หลายคนเลือกทําดีเฉพาะโอกาสสําคัญจริง ๆ แต่ สํ า หรับ พระเยซู เ จ้ า ทุ ก โอกาสที ม่ ี ส องสามคนร่ ว มกัน ในพระนามของพระองค์ ล้วนสําคัญเสมอ !
อนึ่ง พระเยซูเจ้าทรงเสริมว่า “ทีใ่ ดมีสองหรือสามคนชุมนุ มกันในนามของเรา เราอยูท่ นี ่ นท่ ั ่ ามกลางพวกเขา” (มธ 18:20) เราอาจเข้าใจพระวาจานี้ได้ 2 ระดับด้วยกัน 1. ระดับ วัด วัด ประกอบด้ว ยกลุ่ ม กิจ กรรมต่ า ง ๆ ทัง้ เล็ก และใหญ่ พระองค์ท รงประทับ อยู่ก ับ กลุ่ ม เล็ก ๆ เพีย งสองสามคนเท่า กับ ที่ท รงประทับ อยู่ ท่ามกลางสัตบุรษุ เต็มวัด เพราะฉะนัน้ เมื่อเราประชุมกลุ่ม เช่น กลุ่มวิถชี ุมชนวัด กลุ่มแบ่งปนั พระคัมภีร์ กลุ่มพลมารี กลุ่มเยาวชน ฯลฯ พระเยซูเจ้าทรงประทับอยู่ท่ามกลางเรา เท่า ๆ กับขณะสัตบุรษุ ร่วมพิธบี ชู ามิสซาเต็มวัด พระองค์ไม่ทรงสนพระทัยตัวเลขหรือจํานวน ขอเพียงที่ใดมีหวั ใจ เต็มเปี่ยมด้วยความเชื่อร่วมกัน พระองค์ทรงประทับอยูท่ า่ มกลางพวกเขาเสมอ 6
7
เหตุผลของพระองค์คอื เรามักวอนขอ “การหนี” เช่น ขอให้รอดพ้น จากความยากลําบาก ความเสียใจ ความผิดหวัง และภยันตรายต่าง ๆ แต่จะมีบดิ า คนใดทีย่ อมให้ลกู รักของตนต้องหนีหวั ซุกหัวซุนอย่างผูแ้ พ้ตลอดชีวติ พระเจ้าก็ไม่ทรงประสงค์ให้เราหนี แต่ตอ้ งการให้เราสูแ้ ละเอา “ชนะ” ปญั หาและความทุกข์ยากลําบากต่าง ๆ ให้ได้ พระองค์จะประทานความช่วยเหลือให้ เราเข้าใจในสิง่ ทีไ่ ม่อาจเข้าใจได้ ให้เราอดทนในสิง่ ที่ไม่เคยคิดว่าจะทนได้ และให้ เรากล้าเผชิญหน้ากับปญั หาทีเ่ ราเองไม่เคยคิดแม้แต่จะเข้าใกล้ ตัว อย่ า งชัด เจนที่ สุ ด คื อ พระเยซู เ จ้ า ขณะอยู่ ใ นสวนเกทเสมนี พระองค์ทรงวอนขอให้รอดพ้นจากกางเขนอันน่ าสะพรึงกลัวว่า “พระบิดาเจ้าข้า ถ้า เป็ นไปได้ ขอให้ถ้วยนี้พ้นข้าพเจ้าไปเถิด” (มธ 26:39) แต่สงิ่ ที่พระบิดาทรงโปรด ประทานแก่พระองค์กค็ อื พลังที่จะเผชิญหน้า ที่จะอดทน และที่จะเอาชนะความน่ า สะพรึงกลัวนัน้ ให้ได้ บทสรุปคือ พระเจ้าทรงสดับฟั งคําภาวนาที ไ่ ม่เห็นแก่ตวั เสมอ แต่คาํ ตอบนัน้ เป็ นของพระองค์และไม่จาํ เป็ นต้องเหมือนเรา !
2. ระดับครอบครัว มีผอู้ ธิบายว่า “สองสามคน” นัน้ ได้แก่ บิดา มารดา และบุตร ซึง่ รวมกันเป็ นครอบครัว หมายความว่า พระเยซูเจ้าทรงประทับอยู่ท่ามกลางครอบครัวทุก ครอบครัว แม้จะทรงเป็ นแขกทีม่ องไม่เห็นก็ตาม
หลายคนเลือกทําดีเฉพาะโอกาสสําคัญจริง ๆ แต่ สํ า หรับ พระเยซู เ จ้ า ทุ ก โอกาสที ม่ ี ส องสามคนร่ ว มกัน ในพระนามของพระองค์ ล้วนสําคัญเสมอ !
อนึ่ง พระเยซูเจ้าทรงเสริมว่า “ทีใ่ ดมีสองหรือสามคนชุมนุ มกันในนามของเรา เราอยูท่ นี ่ นท่ ั ่ ามกลางพวกเขา” (มธ 18:20) เราอาจเข้าใจพระวาจานี้ได้ 2 ระดับด้วยกัน 1. ระดับ วัด วัด ประกอบด้ว ยกลุ่ ม กิจ กรรมต่ า ง ๆ ทัง้ เล็ก และใหญ่ พระองค์ท รงประทับ อยู่ก ับ กลุ่ ม เล็ก ๆ เพีย งสองสามคนเท่า กับ ที่ท รงประทับ อยู่ ท่ามกลางสัตบุรษุ เต็มวัด เพราะฉะนัน้ เมื่อเราประชุมกลุ่ม เช่น กลุ่มวิถชี ุมชนวัด กลุ่มแบ่งปนั พระคัมภีร์ กลุ่มพลมารี กลุ่มเยาวชน ฯลฯ พระเยซูเจ้าทรงประทับอยู่ท่ามกลางเรา เท่า ๆ กับขณะสัตบุรษุ ร่วมพิธบี ชู ามิสซาเต็มวัด พระองค์ไม่ทรงสนพระทัยตัวเลขหรือจํานวน ขอเพียงที่ใดมีหวั ใจ เต็มเปี่ยมด้วยความเชื่อร่วมกัน พระองค์ทรงประทับอยูท่ า่ มกลางพวกเขาเสมอ 6
7
หนึ่งครั้ งวันอาทิตย์ คุณพ่ อฉลองรั ฐ สั งขรั ตน์ www.facebook/charlongrath Sang Karat 7 กันยายน 2014
บุญทิง้ กับบุญหนับ สองศรี สามีภรรยาตังใจมาวั ้ ด มาร่วมงานพลมารี ย์ของวัด จัดงานฉลองวันเกิดแม่พระ ฉลองเปรสิเดียม ด้ วยความศรัทธาแรงกล้ าของบุญ หนับ ฝ่ ายหญิง ทําให้ “บุญทิ ้ง” ฝ่ ายชายรู้สกึ กระสับกระส่าย หาเรื่ องออกนอกทาง เพราะ กิจกรรมฉลองแม่พระ สวดเยอะหน่อย ทําให้ ซาตานในร่าง ไม่คอ่ ยสบายตัว คิดหาวิธีออกจากวัด เลยหาเรื่ อง “ถามเยอะ” “สงสัยเยอะ” “โง่ เยอะ” เพื่อให้ บุญหนับรํ าคาญใจ ต้ องออกจากวัด “ นีเ่ ธอว่า แม่พระเป็ นคนอย่างไร?” บุญทิ ้งตังคํ ้ าถาม “ อ้าว! แกบ้าแน่เลย แม่ พระก็เป็ นคนดี สะอาดหมดจด” บุญหนับตอบ เบาๆ “ ดูจากอะไร ฉันมี วิธีพิสูจน์” บุญทิ ้งทําท่าขันอาสา “ ดูจากอะไรหละ” บุญหนับอยากรู้ “ บทสวดเก่าๆ เขาบอกว่า พระนางพรหมจารี บ่ มิปาน” “ บ่ มิ ปาน ไม่มีปาน แสดงว่ าสะอาดไม่ มีรอย ไฝ ฝ้า ปาน” บุญทิ ้งหัวหมอ “ แต่แกรู้ไหม? แม่พระดีอย่างงี ้ พลมารีย์ ยังไม่ ร้ ูจักแม่ พระ” บุญทิ ้งต่อ “ ทําไมแกรู้อะไรมา?” บุญหนับชักมึนในความหัวหมอ “ ก็ เ วลาสวดไง ชอบบอกว่ า “พระนางนั่ น คื อ ใครหนอ?.... ถามอยู่ นั่ น แหละ” ลก.1: 43-44 “ทําไมหนอ พระมารดาขององค์ พระผู้เป็ นเจ้ า จึงเสด็จมาเยี่ยม ข้ าพเจ้ า เมื่อฉันได้ ยนิ คําทักทายของเธอ ลูกในครรภ์ ของฉันก็ดนิ้ ด้ วยความยินดี” 8
ความรักทีส่ ามารถแทรกซึมเข้าไปในหัวใจไม่ว่าจะแข็งกระด้างปานใดก็ ตาม ! เหตุผลของพระองค์ก็คอื “ทุกสิง่ ทีท่ ่านจะผูกในโลก จะผูกไว้ในสวรรค์ และทุ ก สิง่ ทีท่ ่ า นจะแก้ ใ นโลก ก็ จ ะแก้ ใ นสวรรค์ ด้ ว ย” (มธ 18:18) ซึ่ ง บ่ ง บอกว่ า “ความสัมพันธ์ระหว่างเพือ่ นพีน่ ้องทีถ่ ูกผูกหรือถูกแก้ในโลกนี้ล้วนมีความสําคัญอย่าง ยิง่ ยวดเพราะต่างก็สง่ ผลถึงชีวติ นิรนั ดรในสวรรค์ดว้ ย” เพราะฉะนัน้ เรา “ต้อง” เยียวยาแก้ไขความแตกแยกให้ได้ !
2. คําภาวนาที่บงั เกิดผล พระเยซูเจ้าตรัสว่า “ถ้าท่านสองคนในโลกนี้พร้อมใจกันอ้อนวอนขอสิง่ หนึง่ สิง่ ใด พระบิดาของเราผูส้ ถิตในสวรรค์จะประทานให้” (มธ 18:19) ก่อนอื่นใดหมด เราจําเป็ นต้องศึกษาพระวาจานี้ให้เข้าใจอย่างถ่ องแท้ หาก ตีความง่าย ๆ ตามตัว อักษร เราคงต้องผิดหวังกับการรอคอยสิง่ ที่ไม่มีว นั จะเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น กี่ครัง้ กี่หนแล้วที่เรารวมตัวกันทัง้ วัดหรือแม้แต่ทงั ้ สังฆมณฑลเพื่อวอนขอ สันติภาพ แต่สนั ติภาพในโลกและทางภาคใต้ของไทยก็ยงั ไม่เกิดสักที สิง่ ทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงปรารถนาจะสอนเราเมือ่ สวดภาวนาและวอนขอก็คอื 1. คํา ภาวนาต้ อ งไม่เ ห็น แก่ ต ัว คําว่า “สองคนในโลกนี้ พ ร้อ มใจกัน ” หมายความว่าเราต้องไม่คดิ ถึงแต่ตวั เองและวอนขอเฉพาะสิง่ ทีต่ วั เองต้องการ แต่ต้อง วอนขอในฐานะสมาชิกคนหนึ่งของสังคมซึง่ ต้องคิดคํานึงถึงความต้องการของสมาชิกคน อื่นด้วย คําภาวนาที่เห็นแก่ตวั ย่อมส่งผลร้ายต่อสังคมส่วนใหญ่ จึงยากที่พระ บิดาจะประทานให้ ตรงกันข้าม หากทุกคนหรืออย่างน้อยส่วนใหญ่ของสังคมเห็นพ้อง ต้องกันวอนขอโดยไม่มคี วามปรารถนาทีเ่ ห็นแก่ตวั เจือปนอยู่ คําภาวนานัน้ ย่อมบังเกิด ผลอย่างแน่นอน 2. พระเจ้าทรงสดับฟงั คําภาวนาทีไ่ ม่เห็นแก่ตวั เสมอ แต่ตอ้ งระลึกอยูเ่ สมอ ว่า “พระองค์ไม่ได้ประทานให้ตามความต้องการของเรา แต่ตามทีพ่ ระองค์ผ้ทู รง เปี ่ ยมด้วยปรีชาญาณและความรักทรงเห็นว่าดีทีส่ ดุ ” 5
คําพูดทีว่ ่า “ถ้าเขาไม่เชือ่ ฟงั จงพาอีกคนหนึง่ หรือสองคนไปด้วย” (มธ 18:16) คงได้รบั อิทธิพลจากคําสอนในพระธรรมเก่าทีว่ ่า “พยานปากเดียวไม่เพียงพอ เพือ่ ตัดสินลงโทษผูก้ ระทําผิดทางอาญาหรือกระทําความผิดอืน่ ๆ จะต้องมีพยานสอง หรือสามปากเพือ่ พิสูจน์ ขอ้ กล่าวหาไม่ว่าในความผิดใด ๆ” (ฉธบ 19:15) ต่างกัน เพียงแต่ว่าเป้าหมายในการนํ าผูอ้ ่นื ไปด้วยก็เพื่อช่วยให้คนื ดีกนั ไม่ใช่เพื่อปรักปรําคน ผิด 3. หากปญั หายังไม่ยุติ ให้ นําเรือ่ งเสนอหมู่คณะคริ สตชน ซึ่งได้แก่ พระศาสนจักร เพราะหากนํ าเรื่องสู่ศาลเราอาจยุตปิ ญั หาทางแพ่งหรือทางอาญาได้ก็ จริง แต่ความสัมพันธ์นอกจากจะไม่ดขี น้ึ แล้ว ยังมีแต่จะทําให้ปญั หายืดเยือ้ ยาวนานไม่ มีทส่ี น้ิ สุด ตรงกัน ข้า มกับ ศาล บรรยากาศในหมู่ ค ณะคริส ตชนซึ่ง มีก ารสวด ั หาได้ดีก ว่ า ตัว บท ภาวนาและมี “ความรัก แบบคริส ตชน” ย่ อ มเอื้อ ต่ อ การแก้ป ญ กฎหมายและระเบียบขัน้ ตอนของศาลมากมายนัก 4. หากยังไม่สําเร็จอีก ขัน้ ตอนสุดท้ายคือ “จงปฏิบตั ิต่อเขาเหมือนเขา เป็ นคนต่างศาสนาหรือคนเก็บภาษีเถิด” (มธ 18:17) ขัน้ ตอนนี้อธิบายยาก แต่เราต้องเข้าใจไว้ก่อนว่า ในเมื่อพระเยซูเจ้ายัง ไม่ทรงละทิง้ “แกะ” ทีพ่ ลัดหลงแม้แต่ตวั เดียว มีหรือทีพ่ ระองค์จะทรงยินยอมให้ “คน” หนึ่ง “คน” ใดถูกทอดทิง้ ด้วยความสิน้ หวัง ?! จึงดูเหมือนพระองค์กําลังสอนว่า “เมือ่ ท่านได้ให้โอกาสแก่คนบาปและ พยายามทุกวิถที างแล้ว หากเขายังดึงดันอยูใ่ นบาป พวกท่านอาจถือว่าเขาเป็ นคนเก็บ ภาษีผทู้ รยศต่อประเทศชาติ หรือเป็ นคนต่างศาสนาทีไ่ ม่มพี ระเจ้าก็ได้ แต่เราไม่เห็น ว่าคนเก็บภาษี หรือคนต่างศาสนาจะสิ้ นหวังตรงไหน พวกเขาก็มหี วั ใจเหมือนกัน ดู อย่างมัทธิวและศักเคียสสิ พวกเขากลายเป็ นเพือ่ นรักของเรา เพราะฉะนัน้ พวกท่าน ต้องพยายามชนะใจพวกเขาให้ได้เหมือนทีเ่ ราได้ทาํ มาแล้ว” ขัน้ ตอนนี้จงึ มิใช่คําสังให้ ่ เราทอดทิง้ คนบาป แต่เป็ นการท้าทายเราให้ ชนะใจคนบาปด้วยความรักตามแบบอย่างของพระองค์ 4
ความผิดพลาด 14 ประการในการด ูแลล ูก
9
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 7 กันยายน ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี ส. 6 ก.ย. 18.00 น.
รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา มัทนา บุญครอง อุทศิ แด่ ภคินี ปริ สซิ ลลา อ่อน กัญญาพงศ์ คุณทองสุ ข เชื้อคําลือ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 7 ก.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ ครอบครัวศรี เจริ ญ เปาโล วิชชา, พ.ต.อ.วิฑูร และครอบครัวโพธิมชั ชา ด.ญ.สุ ดฤทัย ณ ระนอง โยเซฟ สมหมาย, คุณสัมฤทธิ์ แซ่คู โยเซฟ สมศักดิ์ คุณนิธิกลุ , หลุยส์ มารี ปภพ อักแนส สุ ภาพร, คุณปภาวริ นทร์, คุณปพิชญา คุณหาญ, คุณปรี ชา, ครอบครัวชุณหชัชวาล อาแบร์โต จะก๊ะ, อาซูกะ อายีต่ ี๋ และครอบครัว อุทศิ แด่ เทเรซา อํานวย โพธิมชั ชา คุณพัสฬัสน์ วราเปล่งสิ นทวี ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั คุณจะปา, คุณเฉี ยวปิ ง, คุณตูเอ๋ อ มารี อา ฮุย้ ลั้ง, เซี่ ยมลั้ง, เซี่ ยมเช็ง, เซี่ ยงเตียง แซ่โง้ว ยวง ฮุย้ เช็ง แซ่โง้ว, โยเซฟ สําราวย, คุณซุกคิน แซ่คู ฟี เดส จิตรา ดารุ ทยาน บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง
10
ผู้ขอมิสซา วิสาขา คค.ธนาพานิชย์ วิชชา อลิสา สําราญ สําราญ สําราญ สําราญ ลูซีอา วิชชา อัญชลี วิภาวินี คค.ธนาพานิชย์ ลูซีอา สําราญ สําราญ ลูซีอา
ประการสุดท้าย จากนํ้ าเสียงของพระวรสารตอนนี้ ดูเหมือนจะมีขอ้ จํากัดใน การให้อภัย กล่าวคือ หลังจากได้พยายามดําเนินการตามขัน้ ตอนต่าง ๆ แล้ว ทีส่ ุดจะ มาถึงขัน้ ตอนหนึ่งที่มบี างคนถูกตัดขาดจากพระศาสนจักรและถูกทอดทิ้งให้ส้นิ หวัง ซึง่ ไม่มที างเป็ นไปได้เลยทีพ่ ระเยซูเจ้าจะทรงสอนเช่นนี้ ทัง้ หมดนี้นํามาสู่ขอ้ สรุปที่ว่า พระวรสารตอนนี้มไิ ด้บนั ทึกคําพูดโดยตรงของ พระเยซูเจ้า แต่เป็ นการประยุกต์คาํ สอนของพระองค์โดยพระศาสนจักร เพือ่ ให้สมาชิก ถือเป็ นหลักปฏิบตั ิ อาจกล่าวได้ว่าสิง่ ทีพ่ ระองค์ตรัสสอนไว้โดยตรงคือ “ถ้าใครทําผิดต่อท่าน จง พยายามทําทุ ก วิถีท างให้เ ขาสํา นึ ก ผิด เพือ่ ความสัมพันธ์ร ะหว่า งเขากับ ท่า นจะดี ดังเดิม” หรือพูดง่าย ๆ ก็คอื “เราจะยอมให้ มีความแตกแยกระหว่างคริ สตชน ไม่ได้เด็ดขาด” ! แต่ถา้ เกิดความแตกแยกขึน้ พระศาสนจักรให้หลักปฏิบตั ไิ ว้ดงั นี้ 1. เมื่อรูส้ กึ ว่ามีคนทําผิดต่อเรา สิง่ แรกสุดทีเ่ ราต้องกระทําคือ “พบเขา ตัวต่อตัว” และ “พูดออกมา” ไม่ใช่เก็บเงียบไว้ในใจซึง่ มีแต่จะส่งผลร้ายต่อชีวติ และ จิตใจของเราเอง บางคนถึงกับเสียผูเ้ สียคนเพราะจมอยู่กบั ความเจ็บปวดรวดร้าวจน ไม่อาจคิดถึงสิง่ อื่นหรือบุคคลอื่นได้อกี เราจึงต้องนํ าความรู้สกึ นัน้ ออกมาภายนอกด้วยการพูด ซึ่งเมื่อพูด ออกไปแล้ว หลายครัง้ เราจะพบว่าปญั หานัน้ มันช่างเล็กน้อยและไร้สาระจริง ๆ สาเหตุทต่ี อ้ ง “พบเขาตัวต่อตัว” ไม่ใช่เขียนจดหมาย โทรศัพท์ หรือ พูดผ่านคนอื่น เป็ นเพราะหากใช้ตวั กลาง ผูฟ้ งั จะไม่สามารถรับรูอ้ ารมณ์ ความรูส้ กึ หรือ สีห น้ า ท่ า ทางของผู้พูด อัน อาจนํ า ไปสู่ค วามเข้า ใจผิด และทํ า ให้ส ถานการณ์ เลวร้ายลงได้ 2. หากการพบกันตัวต่อตัวยังไม่ประสบความสําเร็จอีก ให้ นําผู้ร้หู รือ ผู้ใหญ่ไปด้วย เพราะปกติคนที่ทําผิดต่อเรามักไม่ชอบหน้าเราและไม่อยากฟงั เรา เป็ น ทุ น เดิ ม อยู่ แ ล้ ว การนํ า ผู้ รู้ห รือ ผู้ ใ หญ่ ท่ีทุ ก ฝ่ า ยเกรงใจไปด้ ว ยย่ อ มช่ ว ยให้ บรรยากาศการสนทนาดีขน้ึ และเป็ นไปได้ว่าแต่ละฝ่ายจะมองเห็นตัวตนของตนเอง เหมือนทีผ่ รู้ หู้ รือผูใ้ หญ่มองเห็น 3
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา มธ 18:15-20
1. การคืนดีกนั จากเนื้ อหาและนํ้ าเสียงของมัทธิวบทที่ 18 ข้อ 15-18 ทําให้เชื่อกันว่าไม่ น่าจะเป็ นคําสอนของพระเยซูเจ้าเอง เหตุผลประการแรกคือ เป็ นไปไม่ได้ทพ่ี ระองค์จะสอนศิษย์ว่า “ถ้าเขาไม่ยอม ฟงั พยาน จงแจ้งให้หมูค่ ณะทราบ” (มธ 18:17) เพราะคํากรีกทีม่ ทั ธิวใช้คอื ekklesia (เอคเคลซีอา) นัน้ ไม่ได้หมายถึง “หมู่คณะ” แต่หมายถึง “พระศาสนจักร” ซึ่งขณะที่ พระองค์ยงั ทรงพระชนมชีพอยู่ยงั ไม่เกิดขึน้ ยิง่ ไปกว่านัน้ ดูเหมือนว่า “พระศาสน จักร” ทีพ่ ดู ถึงน่ าจะผ่านการพัฒนามาระยะหนึ่งแล้ว จนเป็ นองค์กรทีม่ รี ะบบ ระเบียบ และอํานาจหน้าทีช่ ดั เจนว่าจะ “ผูก” หรือจะ “แก้” สิง่ ใดได้บา้ ง (มธ 18:18) ประการที่สอง เป็ นไปได้อย่างไรที่พระองค์จะสอนว่า “ถ้าเขาไม่ยอมฟงั หมู่ คณะอีก จงปฏิบตั ิต่ อเขาเหมือนเขาเป็ นคนต่ างศาสนาหรือคนเก็บภาษีเถิด” (มธ 18:17) ซึ่งบ่งบอกว่าพวกเขา “หมดหวังทีจ่ ะรอด” ทัง้ ๆ ทีต่ ลอดชีวติ ของพระองค์ ทรงตามหาและคลุกคลีอยู่กบั คนเหล่านี้จนพวกฟารีสกี ล่าวหาพระองค์ว่าเป็ นเพื่อน กับคนเก็บภาษีและคนบาป (มธ 11:19; ลก 7:34) และนอกจากจะไม่ทรงเห็นว่าคน เก็บ ภาษีแ ละคนบาปสิ้น หวัง แล้ว พระองค์ย งั ตรัส ว่ า “เราบอกความจริง แก่ ท่ า น ทัง้ หลายว่า คนเก็บภาษีและหญิงโสเภณีจะเข้าสูพ่ ระอาณาจักรของพระเจ้าก่อนท่าน” (มธ 21:31) 2
อา. 7 ก.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว และครอบครัวเตียวเจริ ญ ราฟาแอล ชัยพฤกษ์, มีคาแอล ธันวา ประคีนวินชา คุณโชคชัย ประคีนวินชา และครอบครัว คุณสัณหพล เหลืองอร่ าม และครอบครัว เปาโล ตุย้ นักพรรษา และครอบครัว ครอบครัวสาธร, ครอบครัวสุ นพิชยั ครอบครัวศิริวรรณ, ครอบครัวพานิชเกษม มารี อา รําทยา สกุลอ่อน, Aston Asoke’s sale team อุทศิ แด่ ภคินี ปริ สซิ ลลา อ่อน กัญญาพงศ์ มารี อา มักดาเลนา วิระวัลย์ ดวงรัตน์ มารี อา โรซา สมใจ กิจเจริ ญ ยอแซฟ สุ นทร ถวิลญาติ เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ และบรรพบุรุษ มารี อา ซุ่ยจู แซ่ลิ้ม คุณณัฐวุฒิ ศรี กตัญญู, คุณอัศวเทพ เทพานนท์ คุณกร, คุณแก้ว สาธร, คุณสิ ทธิประการ สายศรี คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา ฟิ ลิป มุ่ยซิ ม, คุณเช้ง แซ่จึง, เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม คุณเส่ ง แซ่ล้ ี, คุณก้านทอง แสงปั ญหา ผูล้ ่วงลับครอบครัวพานิชเกษม วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง จ. 8 ก.ย. อุทศิ แด่ คุณอัศวเทพ เทพานนท์, วิญญาณในไฟชําระ อ. 9 ก.ย. สุ ขสํ าราญ ครอบครัวเตียวเจริ ญ พ. 10 ก.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ พฤ. 11 ก.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ ศ. 12 ก.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ
ตุย้ ปัทมา ครอบครัว เกรี ยงศักดิ์ เกรี ยง / วิสาขา รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ ปัทมา วิสาขา / ทวิพล วิไลวรรณ 11
วันอาทิตย์น้ ี (7 กันยายน ศกนี้ ) เวลา 12.30 น. หลังอาหารเที่ยงทิพย์ กลุ่มพลมารี ยข์ อ เชิญสมาชิกและผูส้ นใจทุกท่านร่ วมฉลองเปรสิ เดียมวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ณ ศาลาปี ติ การุ ณย์ วันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน ศกนี้ เป็ นวันฉลองแม่พระเปนญาฟรานช่า ขอเชิญพี่นอ้ งร่ วม ฉลอง ณ วัดแม่พระกุหลาบทิพย์ กําหนดการดังนี้ ตรีวาร : วันพฤหัสบดีที่ 18 และวันศุกร์ ที่ 19 กันยายน 2014 ณ วัดน้ อย 18.00 น. สวดสายประคําและบทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า (ภาษาอังกฤษ) 18.30 น. สวดสายประคํา (ภาษาไทย) โดยคณะพลมารี ย ์ 19.00 น. มิสซา โดยคุณพ่อ ชัยยะ กิจสวัสดิ์ ตรีวาร : วันเสาร์ ที่ 20 กันยายน 2014 ณ วัดใหญ่ 17.00 น. สวดสายประคําและบทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า (ภาษาอังกฤษ) 17.30 น. สวดสายประคํา (ภาษาไทย) โดยคณะพลมารี ย ์ 18.00 น. มิสซา โดยคุณพ่อ ฉลองรัฐ สังขรัตน์ (งดนพวารพระมารดานิจจานุเคราะห์ ) วันฉลอง : วันอาทิตย์ ที่ 21 กันยายน 2014 ณ วัดน้ อย 08.00 น. สวดสายประคํา/บทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า/พระพักตร์ ศกั ดิ์สิ ทธิ์ 08.30 น. ตั้งศีลมหาสนิท / รําพึงพระวาจา 09.30 น. อวยพรศีลมหาสนิท ณ วัดใหญ่ 08.00 น. มิสซาเช้า 10.00 น. มิสซาฉลองแม่พระเปนญาฟรานช่า แห่รอบวัดและถวายช่อดอกไม้แด่แม่พระเปนญาฟรานช่า
12
ฉบับที่ 543 วันอาทิตย์ที่ 7 กันยายน ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
ทีใ่ ดมีสองหรือสามคนชุ มนุมกันในนามของเรา เราอยู่ทนี่ ั่นท่ ามกลางพวกเขา มธ 18:20