ฉบับที่ 500 วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013
ฉบับที่ 500 วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013
สั ปดาห์ ที่ 32 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
สั ปดาห์ ที่ 32 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
พระองค์ มิใช่ พระเจ้ าของผู้ตาย แต่ เป็ นพระเจ้ าของผู้เป็ น
พระองค์ มิใช่ พระเจ้ าของผู้ตาย แต่ เป็ นพระเจ้ าของผู้เป็ น
เพราะทุกคนมีชีวติ อยู่เพือ่ พระองค์
เพราะทุกคนมีชีวติ อยู่เพือ่ พระองค์
ลก 20:38
ลก 20:38
สั ปดาห์ ที่ 32 เทศกาลธรรมดา (ปี C) ลูกา 20:27-38
เราได้ยนิ ชื่อฟาริสแี ละสะดูสคี วบคู่กนั บ่อยๆ จนอดคิดไม่ได้ว่าเป็ น พวกเดีย วกัน แต่ อ นั ที่จริงพวกเขาเชื่อ และดําเนิ น ชีวิต ต่ างกัน ชนิ ด คนละขัว้ เลย ทีเดียว 1. ฟาริสเี ป็ นกลุ่มองค์กรทางศาสนาที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมืองและไม่ สนใจว่าใครจะเป็ นผูป้ กครอง ขอเพียงอนุ ญาตให้พวกเขาปฏิบตั ติ ามบทบัญญัตเิ ป็ น ใช้ได้ ส่วนสะดูสเี ป็ นชนชัน้ ปกครองทีร่ ่วมมือกับโรมอย่างแนบแน่ นเพราะ กลัวสูญ เสียตําแหน่ ง อํานาจ และความรํ่ารวยมังคั ่ ง่ พระสงฆ์และชนชัน้ สูงเกือบ ทัง้ หมดล้วนเป็ นพวกสะดูส ี 2. ฟาริสยี อมรับทัง้ พระธรรมเก่าทีเ่ ขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรและธรรม ประเพณี ท่ีเล่ า สืบ ต่ อ กัน มา เช่ น กฎเกณฑ์ ว่ า ด้ ว ยวัน สับ บาโต พิธีล้ า งมือ ก่ อ น รับประทานอาหาร ฯลฯ ส่วนสะดูสยี อมรับเฉพาะพระธรรมเก่าที่เขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เท่านัน้ และสนใจเฉพาะกฎหมายของโมเสสในหนังสือ 5 เล่มแรก (ปญั จบรรพ) จน แทบไม่ให้ความสําคัญกับหนังสือของบรรดาประกาศกเลย 3. พวกฟาริสเี ชื่อเรื่องเทวดา วิญญาณ และการกลับคืนชีพ ส่วนพวก สะดูสไี ม่เชื่อเรือ่ งดังกล่าว 4. พวกฟาริสเี ชื่อเรือ่ งดวงชะตา และยอมรับว่าพระเจ้าทรงวางแผนและ จัดระเบียบชีวติ ให้แก่มนุษย์แต่ละคน ส่วนสะดูสเี ป็ นพวกเสรีนิยมสุดโต่ง 2
วัน เดือน ปี อา. 10 พ.ย. 10.00 น.
จ. 11 พ.ย. อ. 12 พ.ย. พ. 13 พ.ย. พฤ.14 พ.ย. ศ. 15 พ.ย.
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา อุทศิ แด่ สเตฟานัส เช็งมัง่ แซ่อ้ ึง, อันนา ชูศรี เอื้ออุณหะกิจ ชาคร ยอแซฟ สมบัติ ทรัพย์อาภารัตน์, คุณธาดา สระบัว ชาคร มารี อา มลิดา วงศ์รักศักดิ์ บัญญัติ คุณเมธิสา กิ่งแก้ว พนิดา มารี อา มุ่ยเกียว แซ่แต้, ยวง บัปติสตา จิวช้วง แซ่โง้ว ปราณี เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ คุณเซ่งกี, คุณคิ้ม แซ่ลิ้ม เซซี ลีอา อรนุช, คุณจารุ วรรณ สวีรวงศ์ เปาโล มงคล, อักแนส ลดาวัลย์ สวีรวงศ์ เฟนันโด ซาเวียร์, ปังซิ โก ซาเวียร์, คุณอรุ ณี เนตรวิจิต โรซา บุญยิง่ , ซิ ลเวสเตอร์ สุ รพงษ์ กิจเจริ ญ ลัดดา คุณสอาง ชุ่มชื่น, คุณกรรณิ การ์ สวีรวงศ์ ลัดดา ยอแซฟ ประเสริ ฐ กุศลส่ ง ยอแซฟ มานิตย์ วีระวัฒนะ คุณชลินทร์ จิระดํารง อมรา ฟรังซิ สโก วิจิตร์ กาญจนธานินทร์ , คุณเส่ ง วชิรจุติพงศ์ วิษณุ คุณเล็ก รอดวินิจ, คุณก้านทอง แสงปัญหา รุ่ งโรจน์ คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา, ฟิ ลิป มุ่ยชิม รุ่ งโรจน์ คุณเช้ง แซ่จึง, เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี รุ่ งโรจน์ บรรพบุรุษและญาติมิตรผูล้ ่วงลับของครอบครัวเวโรจน์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง อิสอัคร/สุ กญั ญา อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ สุ กญั ญา อุทศิ แด่ คาทาลีนา ริ รินทร์ จิระดํารง อมรา สุ ขสํ าราญ คุณพรสิ น สิ นสมบูรณ์ และครอบครัว มาลินี อุทศิ แด่ คุณชลินทร์ จิระดํารง อมรา สุ ขสํ าราญ มารี อา พนิดา แซ่จงั มาลินี มาลินี สุ ขสํ าราญ คุณชนัตถา พจนพรพันธุ์ 11
วัน เดือน ปี อา. 10 พ.ย. 08.00 น.
รายการมิสซา อุทศิ แด่ ยอแซฟ ฮวงไล้ แซ่เซี ยว, มารี อา กรุ ณา แซ่เซี ยว อันนา มาลี ตรี ฉลอง ยอแซฟ บรรจง ศิริยงค์ โรซา ราตรี ลี้ยาง, อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช คุณพัฒนา ทองธิ ว, คุณสอ ชูสอน, คุณวิชยั สายแสง ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑล, ครอบครัวลี้ยาง ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 10 พ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน คริ สโตเฟอร์ สิ ทธิโชค สกุลเจริ ญสุ ข คุณมาริ สา ศิริเศวตวิทย์ ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว คุณลลิตา ติรณะประกิจ, คุณเวธิสา กิ่งจันทร์ มารี อา สุ กญั ญา ชูประเสริ ฐ คุณเลี่ยมเกียว แซ่อ้ ึง, คุณชาคร ทรัพย์อาภารัตน์ คุณสมเกียรติ, คุณกนกวรรณ สระบัว ยอแซฟ มานพ อดุลศิริสวัสดิ์ และครอบครัว เปโตร มนัศ อดุลศิริสวัสดิ์ และครอบครัว มารี อา มาลี อดุลศิริสวัสดิ์ คาทารี อา ประนอม กาญจนธานินทร์ ครอบครัวเจริ ญเดชปรี ชา, ครอบครัวสุ ภาสื บ อุทศิ แด่ Rosita Canon, Justo Jr. Canon Aireen Penaranda มารี อา เหรี ยญ, ฟรังซิ สโก ตั้งย้ง คาเบรี ยล สุ ชาติ คูหามงคลไพศาล และผูล้ ่วงลับ
10
ผู้ขอมิสซา อรทัย คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ เจริ ญเดชปรี ชา มาลินี/พัฒน์ กนกวรรณ กนกวรรณ วิษณุ -
5. พวกฟาริสเี ชื่อและรอคอยการเสด็จมาของพระเมสสิยาห์ ส่วนพวก สะดูสนี อกจากไม่เชื่อแล้ว ยังเห็นว่าหากพระองค์เสด็จมาก็มแี ต่จะทําให้ชวี ติ ของพวก เขายุง่ ยาก กฎหมายของโมเสสกําหนดไว้ว่า “ถ้าพีน่ ้องทีเ่ ป็ นชายอาศัยอยู่ด้วยกัน แล้ว คนหนึง่ สิ้นชีวติ ลงโดยไม่มบี ุตรชาย ภรรยาม่ายของเขาจะต้องไม่แต่งงานกับคนนอก สกุล พีช่ ายหรือน้ องชายคนหนึง่ ของสามีจะต้องแต่งงานกับนาง บุตรชายคนแรกที ่ นางคลอดจะต้องนับว่าเป็ นบุตรของผูต้ าย เพือ่ จะสืบสกุลให้ชอื ่ ของผูต้ ายไม่ถูกลบไป จากอิสราเอล” (ฉธบ 25:5-6) สะดูสบี างคนจึงมาพบพระเยซูเจ้าพร้อมกับคําถามว่าในโลกหน้ าใครจะเป็ น สามีของหญิงที่เคยแต่งงานกับพี่น้องทัง้ เจ็ดคน ทัง้ นี้ก็เพื่อจะฉีกหน้ าพระองค์ว่าคํา สอนเรือ่ งการกลับคืนชีพเป็ นเรือ่ งน่าขําและเหลวไหลทัง้ เพ แต่คาํ ตอบของพระองค์คอื “โลกนี้ กับโลกหน้ าไม่เหมือนกัน” เพราะฉะนัน้ จะเอาความคิดของโลกนี้ไปใช้กบั โลกหน้าในสวรรค์ไม่ได้ โลกนี้มกี ารแต่งงาน แต่โลกหน้าไม่มี (ลก 20:35) โลกนี้ มีค วามตาย แต่ โลกหน้ า มีก ารกลับ คืน ชีพ ทุ ก คนจะเป็ น เหมือ นทู ต สวรรค์และเป็ นบุตรของพระเจ้า (ลก 20:36) ทูตสวรรค์เป็ นจิตล้วน ไม่มรี ่างกาย ไม่มอี วัยวะใดๆ แล้วจะแต่งงานเป็ นสามี ภรรยากันเหมือนอย่างมนุษย์ในโลกนี้ได้อย่างไรกัน ! อนึ่ง พวกสะดูสไี ม่เชื่อเรื่องการกลับคืนชีพโดยอ้างว่าโมเสสไม่เคยกล่าวถึง เรื่องนี้มาก่อน อีกทัง้ ในหนังสือปญั จบรรพก็ไม่มที งั ้ ข้อมูลหรือข้อพิสูจน์ ใดๆ ว่าการ กลับคืนชีพมีจริง และทีผ่ ่านมาก็ไม่เคยมีคมั ภีราจารย์ท่านใดสามารถลบล้างคํากล่าว อ้างของพวกเขาได้ แต่พระเยซูเจ้าทรงชีใ้ ห้เห็นว่า โมเสสได้พดู ถึงการกลับคืนชีพแล้วเมือ่ เล่าเรือ่ ง ทีพ่ ระเจ้าตรัสกับท่านจากพุ่มไม้ท่ไี ม่ไหม้ไฟให้ฟงั ว่า “เราเป็ นพระเจ้าของบรรพบุรุษ ของท่าน เป็ นพระเจ้าของอับราฮัม พระเจ้าของอิสอัค และพระเจ้าของยาโคบ” (อพย 3:6) 3
ในเมื่อ “พระเจ้ามิใช่พระเจ้าของผูต้ าย แต่เป็ นพระเจ้าของผูเ้ ป็ น” (ลก 20:38) ย่อมแสดงว่าอับราฮัม อิสอัค และยาโคบเป็ น “ผูเ้ ป็ น” เพราะได้กลับคืนชีพแล้ว การกลับคืนชีพจึงมีอยูจ่ ริง ! พวกสะดูสีไม่เชื อ่ เรือ่ งการกลับคื นชี พโดยอ้ างโมเสส แต่ พระเยซูเจ้า ทรงอ้างโมเสสเช่นกันเพือ่ ยืนยันว่าการกลับคืนชีพมีจริ ง ทัง้ คัมภีราจารย์และสะดูสตี ่างพอใจและจํานนต่อคําตอบของพระองค์ ทุกวันนี้ เราอาจคิดว่าคําถามของพวกสะดูสเี ป็ นเรื่องเหลวไหลไร้สาระโดย สิน้ เชิง แต่ในสมัยพระเยซูเจ้า นี่เป็ นหนึ่งในคําถามร้อนแรงทีจ่ ะต้องโต้เถียงหาข้อยุติ ให้จงได้ อย่างไรก็ดี จากเรื่องที่เราคิดว่าไร้สาระนี่เอง พระเยซูเจ้าทรงเผยแสดง “วิธี คิดและวิธปี ฏิบตั ”ิ ของพระองค์ให้เราทราบ พวกสะดูสยี อมรับ “โมเสส” พระองค์ก็ทรงอ้าง “โมเสส” เพื่อยืนยันคําสอน ของพระองค์ พระองค์ท รง “อ้ างเหตุ ผ ลบนพื้ นฐานเดี ย วกัน เพื อ่ ให้ ผ้ฟ ู ั งเข้ า ใจและ ยอมรับ” ! นี่คอื สิง่ ที่เราทุกคนต้องเลียนแบบและสืบสานงานของพระองค์ เราต้องใช้ เหตุผลและข้ออ้างทีผ่ ฟู้ งั เข้าใจได้ เราต้องยืนอยูบ่ นพืน้ ฐานเดียวกันกับผูฟ้ งั เราต้อง คิดแบบเดียวกันและใช้ภาษาระดับเดียวกันกับผูฟ้ งั เราต้องสอนและเป็ นพยานยืนยันถึงพระเยซูเจ้าและการกลับคืนชีพแก่ผูฟ้ งั ร่วมสมัยของเรา ด้วยความคิดและภาษาร่วมสมัย ดังทีพ่ ระองค์ทรงให้แบบอย่างแก่ เราในวันนี้......!! เราต้องทําให้ข่าวดีของพระองค์ทนั สมัยเสมอ !!
4
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 32 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี ส. 9 พ.ย. 18.00 น.
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว คริ สโตเฟอร์ สิ ทธิโชค สกุลเจริ ญสุ ข ครอบครัววิรเทพ, ครอบครัววงศ์ภกั ดี อุทศิ แด่ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ฟี เดส จิตรา ดารุ ทยาน อมรา ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อรทัย อา. 10 พ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ บุญรัตน์ เทเรซา กุลปรี ยา ศิริจรรยากุล 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ เทเรซา รัตนา ชินธรรมมิตร์ และครอบครัว Martha Jirada Chiradamrong และครอบครัว มารี อา ภาณุมาศ พงศ์พนั ธุ์พฒั น์ มารี อา ปนัดดา ลี้ยาง, มารี อา กรรณิ กา ลี้ยาง พลเอก พิจิตร, คุณหญิง วิมล กุลละวณิ ชย์ ครอบครัววิรเทพ, ครอบครัววงศ์ภกั ดี ครอบครัวธนะสาร, สาธรกิจ, รัตนบรรณสกุล ครอบครัวลิ้มจิตรกร, เตรี ยมวิชานนท์, เพียรช่างคิด ครอบครัวเขม้นงาน, สุ ทธิโอภาส, ทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ มารี อา ยุพิน ชื่นวิจิตร คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว คุณโถ เพียรช่างคิด ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสารและสาธรกิจ 9
ค ุณสมบัติผส้ ู มัคร อายุ 7 ปี ขึน ้ ไป ไม่จาํ กัดเพศ
เชือ้ ชาติ ศาสนา มีความสามารถด้านขับร้อง
ภาษาใดก็ ได้ หรื อทั้งร้องและเล่น ดนตรีประกอบด้วยก็ได้ ชี วิตที่ สนใจแต่มิติดา้ นกายภาพ มุ่งตักตวงความสุ ขทางกาย หรื อ ความพรั่ งพร้ อ มทางวัต ถุ โดยไม่ ค าํ นึ งถึ งมิ ติ ด้านจิ ต ใจ เอาแต่ ป รนเปรอ ร่ างกาย โดยละเลยการบํารุ งเลี้ยงจิตใจ ชีวติ ดังกล่าวย่อมเป็ นชีวติ ที่ยากจะพบ กับความสงบสุ ข มีแต่จะรุ่ มร้อนเพราะความอยากที่ไม่รู้จกั พอ
ตารางการประกวด รอบแรก : 24 พฤศจิกายน ศกนี้ เวลา 13.00 น. ณ ศาลาปี ติการุณย์ ร้องเพลงที่เลือกระบุมาในใบสมัคร
ขณะเดี ยวกันจิ ตใจก็ทุรนทุรายเนื่ องจากขาด “ความสุ ขที่แท้ ” จึ ง ต้อ งดิ้ น รนแสวงหาโดยนึ ก ว่าทรั พ ย์ส มบัติ จ ะนําความสุ ข ที่ แ ท้ม าให้ แต่ สุ ดท้ายก็ตอ้ งผิดหวัง จึงต้องดิ้นรนแสวงหาต่อไปไม่รู้จบ ชีวิตเช่นนี้ เป็ นชีวิต ที่ติดลบ แม้จะมีทรัพย์สมบัติท่วมหัวก็ตาม
รอบที่สอง : 8 ธันวาคม ศกนี้ เวลา 13.00 น. ณ ศาลาปี ติการุณย์ ผูผ้ ่านรอบแรก ร้องอี ก 1 เพลงที่ ไม่ ซํ้า กั บ รอบแรก เพื่ อ คั ด เลื อ กผูผ้ ่ า น เข้ารอบชิงชนะเลิศเพียง 6 ท่าน
มนุ ษ ย์ทุ กคนย่อมปรารถนาความสงบเย็นภายใน ความสงบเย็น แบบนี้หาซื้ อไม่ได้ จะได้มาก็จากชีวิตด้านในที่เจริ ญงอกงาม หรื อจากจิตใจที่ ได้รับการบํารุ งเลี้ ยงอย่างสมํ่าเสมอเท่ านั้น ผูท้ ี่ เห็ นคุ ณ ค่าของชี วิตด้านใน ย่อมแสวงหาสิ่ งดีงามมาบํารุ งเลี้ยงจิตใจอยูเ่ ป็ นนิตย์
รอบซ้อมใหญ่: 22 ธันวาคม ศกนี้ เวลา 13.00 น. ณ เวทีแห่งดาว **ผู ้ผ่ า นเข้า รอบชิ ง ชนะเลิ ศ 6 ท่ า น จะต้องขั บร้อ งบทเพลงที่ เลื อกเอง 1 เพลง และบทเพลงคริสต์มาส 1 เพลง (โดยการจับฉลาก) คือ Silent Night / Joy to the World / The King is coming to town / When the child is born / White Christmas / Jingle Bells
สิ่ งดีงามนั้นได้แก่ความปรารถนาดี การเผื่อแผ่และเสี ยสละ ความ ตั้งมัน่ และความสงบใจ ความรู้ และไม่ห ลงลื ม ความรู้ ความเข้าใจในเรื่ อง ชีวติ จิตใจ เป็ นต้น เพียงแค่หยุดคิดแล้วหันมามองดูตน เราย่อมเห็นได้ไม่ยากว่า อะไร คือสิ่ งที่เรี ยกว่า “ความสุขแท้ ” ที่ชีวติ จิตใจของเราปรารถนาอย่างแท้จริ ง www.carefor.org
8
ผูส้ นใจโปรดสอบถามรายละเอียด และสมัครได้ที่ สํานักงานวัด โทร.0 2539 4211 ตัง้ แต่บดั นี้ จนถึง 17 พฤศจิกายน ศกนี้
รอบชิงชนะเลิศ : คํ่าคืน 24 ธันวาคม ศกนี้ เวลา 19.00-21.00 น. ณ เวทีแห่งดาว (หน้าวัดน้อย) 5
กฎของบ้านเมือง ในขณะเดียวกันก็ ตอ้ งประพฤติปฏิบัติตนในฐานะที่เป็ นคริสตชน และการเป็ น คริ ส ตชนที่ ดีนั้น มิใช่เฉพาะการเอาตัวรอดเฉพาะตนเองตามบทบัญ ญั ติของศาสนาเท่านั้น แต่ จําเป็ นอย่างยิ่งที่จะใช้มโนธรรมในฐานะผูม้ ีความเชื่อ เข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ไขปั ญ หาสังคม รอบข้าง หรือ เหตุการณ์ร่วมสมัยที่เกิดขึน้ ในชุมชนของตน ก่อนอื่ นคงต้องทําความเข้าใจว่า เรื่องศาสนาและการเมืองมิใช่เรื่องที่อยู่กันคนละขัว้ และโดยความเป็ นจริงแล้ว ในสังคมทุกๆ สังคม การเคลื่อนไปของสังคมต้องขึน้ อยู่กบั การเมือง อันเป็ นปั จจัยที่สาํ คัญ ทัง้ นี้ การเมือง มิใช่เรื่องของปรากฏการณ์ท่ีเรารับทราบกันอยู่ในปั จจุบนั จากการเลือกตั้ง การประชุมสภาผูแ้ ทนราษฎร หรือการสาดโคลนใส่กันระหว่างนักการเมือง โดยที่สื่อต่างๆ เป็ นตัวกลางนําเสนอภาพความขัดแย้งนัน้ ซึ่งหลายๆ ครั้งทําให้ภาพลักษณ์ของ การเมืองเป็ นเรื่องที่สกปรกและไม่นา่ เข้าไปเกี่ยวข้อง แท้ที่จริงแล้ว การเมืองเป็ นสายสัมพันธ์ตามธรรมชาติที่จาํ เป็ นเพื่อประสานส่วนต่างๆ ของสั ง คมเข้า ด้ว ยกั น และมี เป้ าหมายเพื่ อ การสรรค์ส ร้า งและส่ ง เสริ ม ให้เกิ ด ประโยชน์แ ก่ ส่วนรวม การเมืองที่แท้จริงต้องนําไปสู่การเคารพอิสรภาพของปั จเจกบุคคล ครอบครัว และ กลุ่มต่างๆ เพื่อให้เกิดความผาสุก และเป็ นเงื่อนไขที่จะช่วยให้บคุ คลมนุษย์ไปสู่การเป็ นคนดีที่ แท้จริง การเมืองเป็ นการแสดงออกอย่างหนึ่งที่ชาวคริสต์จะใช้เพื่อชี้ให้เห็ นพันธะของตนในการ รับใช้เพื่อนมนุษย์ ซึ่งพันธะดังกล่าวนี้คือ นัยแห่งคุณค่าทางศาสนาหรือศีลธรรมที่ทกุ คนพึงมี และนีค่ ือความสัมพันธ์ที่แยกกันออกไม่ได้ระหว่างศาสนาหรือจริยธรรมและการเมือง
พระเยซ ูเจ้ากับการเมือง เราสามารถเรียนรูค้ วามรับผิดชอบซึ่งกันและกันระหว่างศาสนจักร (คริสตชน) กับ การเมือง จากพระวรสารของนักบุญ มัทธิว (มธ) และนักบุญ ลูกา (ลก) ซึ่ งถื อได้ว่าท่านเป็ น นักการเมืองนิยม และพระวรสารของท่านถือได้ว่าเป็ นพระวรสารทางสังคม จากงานเขียนของ นักบุญ ทั้งสอง แสดงให้เห็ นว่าพระเยซูเจ้าทรงสนับสนุนคริ สตชนให้ยึดถื อจริ ยธรรมในการ ดําเนินกิจกรรมทางการเมือง เรื่องแรก พระเยซูเจ้า เป็ นประจักษ์พยานว่า ในสังคมของชาวยิวนัน้ อํานาจทางโลกและ ทางธรรมต้องสอดคล้องและหนุนเสริมกัน กล่าวอีกนัยหนึ่ง จริยธรรมทางศาสนาต้องเป็ นตัว ถ่ ว งดุล ความถูก ต้อ งชอบธรรม ให้เกิ ด ขึ้ น ในมิ ติ ด า้ นการเมื อ ง (รวมไปถึ ง ด้า นสัง คมและ เศรษฐกิจด้วย) ดังบทพระวรสาร ที่กล่าวถึงการเสียภาษีของชาวยิว ในสมัยที่ตกอยู่ภายใต้การ ปกครองของชาวโรมัน พระเยซูเจ้าทรงกล่าวว่า "หากเป็ นของของซีซาร์ จงคืนให้กบั ซีซาร์ และ ของของพระเจ้า จงคืนให้กับพระเจ้า" (ลก 20: 19-26) นัน่ หมายความว่า พระเยซูเจ้า ทรง ต้องการบอกแก่ชาวยิวว่า เมื่อเราอยู่ในสังคม จําเป็ นต้องมีการกําหนดกฎระเบียบ หรือกติกา และประชาชนต้องยึดถือปฏิบตั ิตาม เพื่อให้สงั คมโดยรวมมีความสงบ ต้องเคารพและปฏิบตั ติ าม 6
เรื่องที่สอง การเป็ นคริสตชนที่ดี ไม่เพียงแต่ประพฤติปฏิบัติตนไปตามกฎระเบียบของ บ้านเมืองอย่างเดียวเท่านั้น แต่เราต้องทําหน้าที่เป็ นประกาศก ประกาศออกไปถึงสิ่งไม่ถกู ต้อง เรื่องไม่ชอบมาพากลที่เกิดขึ้นในชุมชนของเรา อาทิ การปฏิบัติงานขององค์กรการเมืองระดับ ท้องถิ่น หรือโครงการพัฒนาของรัฐบาลที่ทาํ ให้ชมุ ชนต้องสูญเสียผลประโยชน์ของชุมชน ไปเป็ น ผลประโยชน์ส่วนตนของนักการเมือง กองทุนช่วยเหลือหมู่บา้ นในเรื่องต่างๆ ที่ค่อยๆ กัดเซาะ คุณธรรมที่ยึดความเป็ นชุมชนคาทอลิกไป สิ่งที่นา่ เสียดายที่สดุ คือ ปั จจุบนั ศาสนจักรหรือวัด ไม่ สามารถติดตามคริสตชนที่ตอ้ งถูกกีดกันออกไปอยูท่ ี่อื่น ได้เหมือนกับอดีตที่วดั เป็ นศูนย์กลางของ ชุมชนคริสตชน ด้วยเหตุนี้ การที่คริสตชนไม่ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองที่จะต้องช่วยกัน ตรวจสอบความถูก ต้อ งชอบธรรมในโครงสร้างทางบ้านเมืองแล้ว คริ ส ตชนกําลังละเลยที่ จะ ยืนยันความเป็ นคริสตชนของตนเอง ในการทําหน้าที่บอกกล่าวร้องเรียนถึงสิ่งที่ไม่ชอบมาพากล ที่แฝงมากับภารกิจการเมืองต่อเรื่ องนี้ ในพระวรสารของนักบุญ มัทธิว ได้แสดงถึ งความกล้า หาญของท่านยอห์น บัปติสต์ ที่ได้เตือนประชาชนผูก้ ระทําในสิ่งที่ฉอ้ ฉล ผิดศีลธรรมด้วยวิธีตา่ งๆ นานา โดยเฉพาะในกรณี ที่กษัตริยเ์ ฮโรด ได้กระทําผิดประเพณี โดยไปแต่งงานกับนางเฮโรเดียส ซึ่งเป็ นภรรยาของน้องชายของพระองค์เอง ท่านยอห์น ได้ตาํ หนิการกระทําของเฮโรดว่าเป็ นเรื่อง ที่ชวั ่ ช้า ซึ่งต่อมาเฮโรดก็สัง่ ขังคุกท่านยอห์น และที่สดุ ท่านยอห์นก็ ถกู ตัดศีรษะ โดยภรรยาของ เฮโรดคนนี้ (มธ 14: 1-12) เรื่องที่สาม พระเยซูเจ้าทรงยืนยันว่า อํานาจทางศาสนาคือ อํานาจทางการเมืองด้วย (ลก 20:1-8) โดยนัยนี้ คงต้องทําความเข้าใจว่า ทัง้ ศาสนาและการเมืองเป็ นเรื่องที่ชาวยิวในสมัย นั้น ถื อเป็ นเรื่ องที่ สําคัญ ที่สดุ ศาสนามีบทบาทเอกที่ จะชี้นาํ ให้ระบอบการปกครองเป็ นไปตาม ครรลองของสังคม และเมื่อสังคมมีสันติจากโครงสร้างการเมืองที่ยตุ ิธรรมและชอบธรรมแล้ว ศาสนาก็ดาํ เนินบทบาทในการดูแลด้านชีวิตฝ่ ายวิญญาณของคริสตชน ในที่นี้ หากอ่านพระคัมภีร์ ตอนนี้จากสถานการณ์ปัจจุบัน อํานาจทางศาสนา จําเป็ นอย่างยิ่ งที่ จะกล่าวถึ งบุคคลที่ อยู่ใน สถานะที่ ช อบธรรมต่อ การใช้อํานาจนี้ให้เป็ นประโยชน์ อาทิ บรรดาพระสงฆ์ นัก บวช เป็ นต้น บุค คลเหล่านี้ ต อ้ งทําหน้าที่ เป็ นผูส้ ่ง เสริ ม ให้คํา แนะนําต่อ คริ ส ตชนในการเข้าไปมี ส่ว นร่ ว มใน กระบวนการทางการเมือง หรือทําหน้าที่เตือน หากมีปรากฏการณ์บางอย่างที่กาํ ลังบิดเบือนการ ใช้อาํ นาจทางการเมือง นัน่ คือ ผูท้ ี่อยู่ในสถานะของผูน้ าํ จะนิ่งเฉยไม่ได้กับสถานการณ์ความเป็ น จริงทางสังคม เพราะเราไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่า การดํารงอยู่ของสังคมต้องมาจากกระบวนการ ทางการเมือง เพื่อการเข้าใจง่ายที่สดุ คือ ทุกๆ เรื่องที่เกิดขึน้ ในสังคมต้องมาจากการตัดสินใจ ซึ่ง เป็ นพื้นฐานที่สาํ คัญที่สดุ ของการเมือง ที่ มา : คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อความยุติธรรมและสั นติ (ยส.) 7
กฎของบ้านเมือง ในขณะเดียวกันก็ ตอ้ งประพฤติปฏิบัติตนในฐานะที่เป็ นคริสตชน และการเป็ น คริ ส ตชนที่ ดีนั้น มิใช่เฉพาะการเอาตัวรอดเฉพาะตนเองตามบทบัญ ญั ติของศาสนาเท่านั้น แต่ จําเป็ นอย่างยิ่งที่จะใช้มโนธรรมในฐานะผูม้ ีความเชื่อ เข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ไขปั ญ หาสังคม รอบข้าง หรือ เหตุการณ์ร่วมสมัยที่เกิดขึน้ ในชุมชนของตน ก่อนอื่ นคงต้องทําความเข้าใจว่า เรื่องศาสนาและการเมืองมิใช่เรื่องที่อยู่กันคนละขัว้ และโดยความเป็ นจริงแล้ว ในสังคมทุกๆ สังคม การเคลื่อนไปของสังคมต้องขึน้ อยู่กบั การเมือง อันเป็ นปั จจัยที่สาํ คัญ ทัง้ นี้ การเมือง มิใช่เรื่องของปรากฏการณ์ท่ีเรารับทราบกันอยู่ในปั จจุบนั จากการเลือกตั้ง การประชุมสภาผูแ้ ทนราษฎร หรือการสาดโคลนใส่กันระหว่างนักการเมือง โดยที่สื่อต่างๆ เป็ นตัวกลางนําเสนอภาพความขัดแย้งนัน้ ซึ่งหลายๆ ครั้งทําให้ภาพลักษณ์ของ การเมืองเป็ นเรื่องที่สกปรกและไม่นา่ เข้าไปเกี่ยวข้อง แท้ที่จริงแล้ว การเมืองเป็ นสายสัมพันธ์ตามธรรมชาติที่จาํ เป็ นเพื่อประสานส่วนต่างๆ ของสั ง คมเข้า ด้ว ยกั น และมี เป้ าหมายเพื่ อ การสรรค์ส ร้า งและส่ ง เสริ ม ให้เกิ ด ประโยชน์แ ก่ ส่วนรวม การเมืองที่แท้จริงต้องนําไปสู่การเคารพอิสรภาพของปั จเจกบุคคล ครอบครัว และ กลุ่มต่างๆ เพื่อให้เกิดความผาสุก และเป็ นเงื่อนไขที่จะช่วยให้บคุ คลมนุษย์ไปสู่การเป็ นคนดีที่ แท้จริง การเมืองเป็ นการแสดงออกอย่างหนึ่งที่ชาวคริสต์จะใช้เพื่อชี้ให้เห็ นพันธะของตนในการ รับใช้เพื่อนมนุษย์ ซึ่งพันธะดังกล่าวนี้คือ นัยแห่งคุณค่าทางศาสนาหรือศีลธรรมที่ทกุ คนพึงมี และนีค่ ือความสัมพันธ์ที่แยกกันออกไม่ได้ระหว่างศาสนาหรือจริยธรรมและการเมือง
พระเยซ ูเจ้ากับการเมือง เราสามารถเรียนรูค้ วามรับผิดชอบซึ่งกันและกันระหว่างศาสนจักร (คริสตชน) กับ การเมือง จากพระวรสารของนักบุญ มัทธิว (มธ) และนักบุญ ลูกา (ลก) ซึ่ งถื อได้ว่าท่านเป็ น นักการเมืองนิยม และพระวรสารของท่านถือได้ว่าเป็ นพระวรสารทางสังคม จากงานเขียนของ นักบุญ ทั้งสอง แสดงให้เห็ นว่าพระเยซูเจ้าทรงสนับสนุนคริ สตชนให้ยึดถื อจริ ยธรรมในการ ดําเนินกิจกรรมทางการเมือง เรื่องแรก พระเยซูเจ้า เป็ นประจักษ์พยานว่า ในสังคมของชาวยิวนัน้ อํานาจทางโลกและ ทางธรรมต้องสอดคล้องและหนุนเสริมกัน กล่าวอีกนัยหนึ่ง จริยธรรมทางศาสนาต้องเป็ นตัว ถ่ ว งดุล ความถูก ต้อ งชอบธรรม ให้เกิ ด ขึ้ น ในมิ ติ ด า้ นการเมื อ ง (รวมไปถึ ง ด้า นสัง คมและ เศรษฐกิจด้วย) ดังบทพระวรสาร ที่กล่าวถึงการเสียภาษีของชาวยิว ในสมัยที่ตกอยู่ภายใต้การ ปกครองของชาวโรมัน พระเยซูเจ้าทรงกล่าวว่า "หากเป็ นของของซีซาร์ จงคืนให้กบั ซีซาร์ และ ของของพระเจ้า จงคืนให้กับพระเจ้า" (ลก 20: 19-26) นัน่ หมายความว่า พระเยซูเจ้า ทรง ต้องการบอกแก่ชาวยิวว่า เมื่อเราอยู่ในสังคม จําเป็ นต้องมีการกําหนดกฎระเบียบ หรือกติกา และประชาชนต้องยึดถือปฏิบตั ิตาม เพื่อให้สงั คมโดยรวมมีความสงบ ต้องเคารพและปฏิบตั ติ าม 6
เรื่องที่สอง การเป็ นคริสตชนที่ดี ไม่เพียงแต่ประพฤติปฏิบัติตนไปตามกฎระเบียบของ บ้านเมืองอย่างเดียวเท่านั้น แต่เราต้องทําหน้าที่เป็ นประกาศก ประกาศออกไปถึงสิ่งไม่ถกู ต้อง เรื่องไม่ชอบมาพากลที่เกิดขึ้นในชุมชนของเรา อาทิ การปฏิบัติงานขององค์กรการเมืองระดับ ท้องถิ่น หรือโครงการพัฒนาของรัฐบาลที่ทาํ ให้ชมุ ชนต้องสูญเสียผลประโยชน์ของชุมชน ไปเป็ น ผลประโยชน์ส่วนตนของนักการเมือง กองทุนช่วยเหลือหมู่บา้ นในเรื่องต่างๆ ที่ค่อยๆ กัดเซาะ คุณธรรมที่ยึดความเป็ นชุมชนคาทอลิกไป สิ่งที่นา่ เสียดายที่สดุ คือ ปั จจุบนั ศาสนจักรหรือวัด ไม่ สามารถติดตามคริสตชนที่ตอ้ งถูกกีดกันออกไปอยูท่ ี่อื่น ได้เหมือนกับอดีตที่วดั เป็ นศูนย์กลางของ ชุมชนคริสตชน ด้วยเหตุนี้ การที่คริสตชนไม่ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองที่จะต้องช่วยกัน ตรวจสอบความถูก ต้อ งชอบธรรมในโครงสร้างทางบ้านเมืองแล้ว คริ ส ตชนกําลังละเลยที่ จะ ยืนยันความเป็ นคริสตชนของตนเอง ในการทําหน้าที่บอกกล่าวร้องเรียนถึงสิ่งที่ไม่ชอบมาพากล ที่แฝงมากับภารกิจการเมืองต่อเรื่ องนี้ ในพระวรสารของนักบุญ มัทธิว ได้แสดงถึ งความกล้า หาญของท่านยอห์น บัปติสต์ ที่ได้เตือนประชาชนผูก้ ระทําในสิ่งที่ฉอ้ ฉล ผิดศีลธรรมด้วยวิธีตา่ งๆ นานา โดยเฉพาะในกรณี ที่กษัตริยเ์ ฮโรด ได้กระทําผิดประเพณี โดยไปแต่งงานกับนางเฮโรเดียส ซึ่งเป็ นภรรยาของน้องชายของพระองค์เอง ท่านยอห์น ได้ตาํ หนิการกระทําของเฮโรดว่าเป็ นเรื่อง ที่ชวั ่ ช้า ซึ่งต่อมาเฮโรดก็สัง่ ขังคุกท่านยอห์น และที่สดุ ท่านยอห์นก็ ถกู ตัดศีรษะ โดยภรรยาของ เฮโรดคนนี้ (มธ 14: 1-12) เรื่องที่สาม พระเยซูเจ้าทรงยืนยันว่า อํานาจทางศาสนาคือ อํานาจทางการเมืองด้วย (ลก 20:1-8) โดยนัยนี้ คงต้องทําความเข้าใจว่า ทัง้ ศาสนาและการเมืองเป็ นเรื่องที่ชาวยิวในสมัย นั้น ถื อเป็ นเรื่ องที่ สําคัญ ที่สดุ ศาสนามีบทบาทเอกที่ จะชี้นาํ ให้ระบอบการปกครองเป็ นไปตาม ครรลองของสังคม และเมื่อสังคมมีสันติจากโครงสร้างการเมืองที่ยตุ ิธรรมและชอบธรรมแล้ว ศาสนาก็ดาํ เนินบทบาทในการดูแลด้านชีวิตฝ่ ายวิญญาณของคริสตชน ในที่นี้ หากอ่านพระคัมภีร์ ตอนนี้จากสถานการณ์ปัจจุบัน อํานาจทางศาสนา จําเป็ นอย่างยิ่ งที่ จะกล่าวถึ งบุคคลที่ อยู่ใน สถานะที่ ช อบธรรมต่อ การใช้อํานาจนี้ให้เป็ นประโยชน์ อาทิ บรรดาพระสงฆ์ นัก บวช เป็ นต้น บุค คลเหล่านี้ ต อ้ งทําหน้าที่ เป็ นผูส้ ่ง เสริ ม ให้คํา แนะนําต่อ คริ ส ตชนในการเข้าไปมี ส่ว นร่ ว มใน กระบวนการทางการเมือง หรือทําหน้าที่เตือน หากมีปรากฏการณ์บางอย่างที่กาํ ลังบิดเบือนการ ใช้อาํ นาจทางการเมือง นัน่ คือ ผูท้ ี่อยู่ในสถานะของผูน้ าํ จะนิ่งเฉยไม่ได้กับสถานการณ์ความเป็ น จริงทางสังคม เพราะเราไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่า การดํารงอยู่ของสังคมต้องมาจากกระบวนการ ทางการเมือง เพื่อการเข้าใจง่ายที่สดุ คือ ทุกๆ เรื่องที่เกิดขึน้ ในสังคมต้องมาจากการตัดสินใจ ซึ่ง เป็ นพื้นฐานที่สาํ คัญที่สดุ ของการเมือง ที่ มา : คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อความยุติธรรมและสั นติ (ยส.) 7
ค ุณสมบัติผส้ ู มัคร อายุ 7 ปี ขึน ้ ไป ไม่จาํ กัดเพศ
เชือ้ ชาติ ศาสนา มีความสามารถด้านขับร้อง
ภาษาใดก็ ได้ หรื อทั้งร้องและเล่น ดนตรีประกอบด้วยก็ได้ ชี วิตที่ สนใจแต่มิติดา้ นกายภาพ มุ่งตักตวงความสุ ขทางกาย หรื อ ความพรั่ งพร้ อ มทางวัต ถุ โดยไม่ ค าํ นึ งถึ งมิ ติ ด้านจิ ต ใจ เอาแต่ ป รนเปรอ ร่ างกาย โดยละเลยการบํารุ งเลี้ยงจิตใจ ชีวติ ดังกล่าวย่อมเป็ นชีวติ ที่ยากจะพบ กับความสงบสุ ข มีแต่จะรุ่ มร้อนเพราะความอยากที่ไม่รู้จกั พอ
ตารางการประกวด รอบแรก : 24 พฤศจิกายน ศกนี้ เวลา 13.00 น. ณ ศาลาปี ติการุณย์ ร้องเพลงที่เลือกระบุมาในใบสมัคร
ขณะเดี ยวกันจิ ตใจก็ทุรนทุรายเนื่ องจากขาด “ความสุ ขที่แท้ ” จึ ง ต้อ งดิ้ น รนแสวงหาโดยนึ ก ว่าทรั พ ย์ส มบัติ จ ะนําความสุ ข ที่ แ ท้ม าให้ แต่ สุ ดท้ายก็ตอ้ งผิดหวัง จึงต้องดิ้นรนแสวงหาต่อไปไม่รู้จบ ชีวิตเช่นนี้ เป็ นชีวิต ที่ติดลบ แม้จะมีทรัพย์สมบัติท่วมหัวก็ตาม
รอบที่สอง : 8 ธันวาคม ศกนี้ เวลา 13.00 น. ณ ศาลาปี ติการุณย์ ผูผ้ ่านรอบแรก ร้องอี ก 1 เพลงที่ ไม่ ซํ้า กั บ รอบแรก เพื่ อ คั ด เลื อ กผูผ้ ่ า น เข้ารอบชิงชนะเลิศเพียง 6 ท่าน
มนุ ษ ย์ทุ กคนย่อมปรารถนาความสงบเย็นภายใน ความสงบเย็น แบบนี้หาซื้ อไม่ได้ จะได้มาก็จากชีวิตด้านในที่เจริ ญงอกงาม หรื อจากจิตใจที่ ได้รับการบํารุ งเลี้ ยงอย่างสมํ่าเสมอเท่ านั้น ผูท้ ี่ เห็ นคุ ณ ค่าของชี วิตด้านใน ย่อมแสวงหาสิ่ งดีงามมาบํารุ งเลี้ยงจิตใจอยูเ่ ป็ นนิตย์
รอบซ้อมใหญ่: 22 ธันวาคม ศกนี้ เวลา 13.00 น. ณ เวทีแห่งดาว **ผู ้ผ่ า นเข้า รอบชิ ง ชนะเลิ ศ 6 ท่ า น จะต้องขั บร้อ งบทเพลงที่ เลื อกเอง 1 เพลง และบทเพลงคริสต์มาส 1 เพลง (โดยการจับฉลาก) คือ Silent Night / Joy to the World / The King is coming to town / When the child is born / White Christmas / Jingle Bells
สิ่ งดีงามนั้นได้แก่ความปรารถนาดี การเผื่อแผ่และเสี ยสละ ความ ตั้งมัน่ และความสงบใจ ความรู้ และไม่ห ลงลื ม ความรู้ ความเข้าใจในเรื่ อง ชีวติ จิตใจ เป็ นต้น เพียงแค่หยุดคิดแล้วหันมามองดูตน เราย่อมเห็นได้ไม่ยากว่า อะไร คือสิ่ งที่เรี ยกว่า “ความสุขแท้ ” ที่ชีวติ จิตใจของเราปรารถนาอย่างแท้จริ ง www.carefor.org
8
ผูส้ นใจโปรดสอบถามรายละเอียด และสมัครได้ที่ สํานักงานวัด โทร.0 2539 4211 ตัง้ แต่บดั นี้ จนถึง 17 พฤศจิกายน ศกนี้
รอบชิงชนะเลิศ : คํ่าคืน 24 ธันวาคม ศกนี้ เวลา 19.00-21.00 น. ณ เวทีแห่งดาว (หน้าวัดน้อย) 5
ในเมื่อ “พระเจ้ามิใช่พระเจ้าของผูต้ าย แต่เป็ นพระเจ้าของผูเ้ ป็ น” (ลก 20:38) ย่อมแสดงว่าอับราฮัม อิสอัค และยาโคบเป็ น “ผูเ้ ป็ น” เพราะได้กลับคืนชีพแล้ว การกลับคืนชีพจึงมีอยูจ่ ริง ! พวกสะดูสีไม่เชื อ่ เรือ่ งการกลับคื นชี พโดยอ้ างโมเสส แต่ พระเยซูเจ้า ทรงอ้างโมเสสเช่นกันเพือ่ ยืนยันว่าการกลับคืนชีพมีจริ ง ทัง้ คัมภีราจารย์และสะดูสตี ่างพอใจและจํานนต่อคําตอบของพระองค์ ทุกวันนี้ เราอาจคิดว่าคําถามของพวกสะดูสเี ป็ นเรื่องเหลวไหลไร้สาระโดย สิน้ เชิง แต่ในสมัยพระเยซูเจ้า นี่เป็ นหนึ่งในคําถามร้อนแรงทีจ่ ะต้องโต้เถียงหาข้อยุติ ให้จงได้ อย่างไรก็ดี จากเรื่องที่เราคิดว่าไร้สาระนี่เอง พระเยซูเจ้าทรงเผยแสดง “วิธี คิดและวิธปี ฏิบตั ”ิ ของพระองค์ให้เราทราบ พวกสะดูสยี อมรับ “โมเสส” พระองค์ก็ทรงอ้าง “โมเสส” เพื่อยืนยันคําสอน ของพระองค์ พระองค์ท รง “อ้ างเหตุ ผ ลบนพื้ นฐานเดี ย วกัน เพื อ่ ให้ ผ้ฟ ู ั งเข้ า ใจและ ยอมรับ” ! นี่คอื สิง่ ที่เราทุกคนต้องเลียนแบบและสืบสานงานของพระองค์ เราต้องใช้ เหตุผลและข้ออ้างทีผ่ ฟู้ งั เข้าใจได้ เราต้องยืนอยูบ่ นพืน้ ฐานเดียวกันกับผูฟ้ งั เราต้อง คิดแบบเดียวกันและใช้ภาษาระดับเดียวกันกับผูฟ้ งั เราต้องสอนและเป็ นพยานยืนยันถึงพระเยซูเจ้าและการกลับคืนชีพแก่ผูฟ้ งั ร่วมสมัยของเรา ด้วยความคิดและภาษาร่วมสมัย ดังทีพ่ ระองค์ทรงให้แบบอย่างแก่ เราในวันนี้......!! เราต้องทําให้ข่าวดีของพระองค์ทนั สมัยเสมอ !!
4
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 32 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี ส. 9 พ.ย. 18.00 น.
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว คริ สโตเฟอร์ สิ ทธิโชค สกุลเจริ ญสุ ข ครอบครัววิรเทพ, ครอบครัววงศ์ภกั ดี อุทศิ แด่ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ฟี เดส จิตรา ดารุ ทยาน อมรา ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อรทัย อา. 10 พ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ บุญรัตน์ เทเรซา กุลปรี ยา ศิริจรรยากุล 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ เทเรซา รัตนา ชินธรรมมิตร์ และครอบครัว Martha Jirada Chiradamrong และครอบครัว มารี อา ภาณุมาศ พงศ์พนั ธุ์พฒั น์ มารี อา ปนัดดา ลี้ยาง, มารี อา กรรณิ กา ลี้ยาง พลเอก พิจิตร, คุณหญิง วิมล กุลละวณิ ชย์ ครอบครัววิรเทพ, ครอบครัววงศ์ภกั ดี ครอบครัวธนะสาร, สาธรกิจ, รัตนบรรณสกุล ครอบครัวลิ้มจิตรกร, เตรี ยมวิชานนท์, เพียรช่างคิด ครอบครัวเขม้นงาน, สุ ทธิโอภาส, ทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ มารี อา ยุพิน ชื่นวิจิตร คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว คุณโถ เพียรช่างคิด ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสารและสาธรกิจ 9
วัน เดือน ปี อา. 10 พ.ย. 08.00 น.
รายการมิสซา อุทศิ แด่ ยอแซฟ ฮวงไล้ แซ่เซี ยว, มารี อา กรุ ณา แซ่เซี ยว อันนา มาลี ตรี ฉลอง ยอแซฟ บรรจง ศิริยงค์ โรซา ราตรี ลี้ยาง, อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช คุณพัฒนา ทองธิ ว, คุณสอ ชูสอน, คุณวิชยั สายแสง ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑล, ครอบครัวลี้ยาง ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 10 พ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน คริ สโตเฟอร์ สิ ทธิโชค สกุลเจริ ญสุ ข คุณมาริ สา ศิริเศวตวิทย์ ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว คุณลลิตา ติรณะประกิจ, คุณเวธิสา กิ่งจันทร์ มารี อา สุ กญั ญา ชูประเสริ ฐ คุณเลี่ยมเกียว แซ่อ้ ึง, คุณชาคร ทรัพย์อาภารัตน์ คุณสมเกียรติ, คุณกนกวรรณ สระบัว ยอแซฟ มานพ อดุลศิริสวัสดิ์ และครอบครัว เปโตร มนัศ อดุลศิริสวัสดิ์ และครอบครัว มารี อา มาลี อดุลศิริสวัสดิ์ คาทารี อา ประนอม กาญจนธานินทร์ ครอบครัวเจริ ญเดชปรี ชา, ครอบครัวสุ ภาสื บ อุทศิ แด่ Rosita Canon, Justo Jr. Canon Aireen Penaranda มารี อา เหรี ยญ, ฟรังซิ สโก ตั้งย้ง คาเบรี ยล สุ ชาติ คูหามงคลไพศาล และผูล้ ่วงลับ
10
ผู้ขอมิสซา อรทัย คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ เจริ ญเดชปรี ชา มาลินี/พัฒน์ กนกวรรณ กนกวรรณ วิษณุ -
5. พวกฟาริสเี ชื่อและรอคอยการเสด็จมาของพระเมสสิยาห์ ส่วนพวก สะดูสนี อกจากไม่เชื่อแล้ว ยังเห็นว่าหากพระองค์เสด็จมาก็มแี ต่จะทําให้ชวี ติ ของพวก เขายุง่ ยาก กฎหมายของโมเสสกําหนดไว้ว่า “ถ้าพีน่ ้องทีเ่ ป็ นชายอาศัยอยู่ด้วยกัน แล้ว คนหนึง่ สิ้นชีวติ ลงโดยไม่มบี ุตรชาย ภรรยาม่ายของเขาจะต้องไม่แต่งงานกับคนนอก สกุล พีช่ ายหรือน้ องชายคนหนึง่ ของสามีจะต้องแต่งงานกับนาง บุตรชายคนแรกที ่ นางคลอดจะต้องนับว่าเป็ นบุตรของผูต้ าย เพือ่ จะสืบสกุลให้ชอื ่ ของผูต้ ายไม่ถูกลบไป จากอิสราเอล” (ฉธบ 25:5-6) สะดูสบี างคนจึงมาพบพระเยซูเจ้าพร้อมกับคําถามว่าในโลกหน้ าใครจะเป็ น สามีของหญิงที่เคยแต่งงานกับพี่น้องทัง้ เจ็ดคน ทัง้ นี้ก็เพื่อจะฉีกหน้ าพระองค์ว่าคํา สอนเรือ่ งการกลับคืนชีพเป็ นเรือ่ งน่าขําและเหลวไหลทัง้ เพ แต่คาํ ตอบของพระองค์คอื “โลกนี้ กับโลกหน้ าไม่เหมือนกัน” เพราะฉะนัน้ จะเอาความคิดของโลกนี้ไปใช้กบั โลกหน้าในสวรรค์ไม่ได้ โลกนี้มกี ารแต่งงาน แต่โลกหน้าไม่มี (ลก 20:35) โลกนี้ มีค วามตาย แต่ โลกหน้ า มีก ารกลับ คืน ชีพ ทุ ก คนจะเป็ น เหมือ นทู ต สวรรค์และเป็ นบุตรของพระเจ้า (ลก 20:36) ทูตสวรรค์เป็ นจิตล้วน ไม่มรี ่างกาย ไม่มอี วัยวะใดๆ แล้วจะแต่งงานเป็ นสามี ภรรยากันเหมือนอย่างมนุษย์ในโลกนี้ได้อย่างไรกัน ! อนึ่ง พวกสะดูสไี ม่เชื่อเรื่องการกลับคืนชีพโดยอ้างว่าโมเสสไม่เคยกล่าวถึง เรื่องนี้มาก่อน อีกทัง้ ในหนังสือปญั จบรรพก็ไม่มที งั ้ ข้อมูลหรือข้อพิสูจน์ ใดๆ ว่าการ กลับคืนชีพมีจริง และทีผ่ ่านมาก็ไม่เคยมีคมั ภีราจารย์ท่านใดสามารถลบล้างคํากล่าว อ้างของพวกเขาได้ แต่พระเยซูเจ้าทรงชีใ้ ห้เห็นว่า โมเสสได้พดู ถึงการกลับคืนชีพแล้วเมือ่ เล่าเรือ่ ง ทีพ่ ระเจ้าตรัสกับท่านจากพุ่มไม้ท่ไี ม่ไหม้ไฟให้ฟงั ว่า “เราเป็ นพระเจ้าของบรรพบุรุษ ของท่าน เป็ นพระเจ้าของอับราฮัม พระเจ้าของอิสอัค และพระเจ้าของยาโคบ” (อพย 3:6) 3
สั ปดาห์ ที่ 32 เทศกาลธรรมดา (ปี C) ลูกา 20:27-38
เราได้ยนิ ชื่อฟาริสแี ละสะดูสคี วบคู่กนั บ่อยๆ จนอดคิดไม่ได้ว่าเป็ น พวกเดีย วกัน แต่ อ นั ที่จริงพวกเขาเชื่อ และดําเนิ น ชีวิต ต่ างกัน ชนิ ด คนละขัว้ เลย ทีเดียว 1. ฟาริสเี ป็ นกลุ่มองค์กรทางศาสนาที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมืองและไม่ สนใจว่าใครจะเป็ นผูป้ กครอง ขอเพียงอนุ ญาตให้พวกเขาปฏิบตั ติ ามบทบัญญัตเิ ป็ น ใช้ได้ ส่วนสะดูสเี ป็ นชนชัน้ ปกครองทีร่ ่วมมือกับโรมอย่างแนบแน่ นเพราะ กลัวสูญ เสียตําแหน่ ง อํานาจ และความรํ่ารวยมังคั ่ ง่ พระสงฆ์และชนชัน้ สูงเกือบ ทัง้ หมดล้วนเป็ นพวกสะดูส ี 2. ฟาริสยี อมรับทัง้ พระธรรมเก่าทีเ่ ขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรและธรรม ประเพณี ท่ีเล่ า สืบ ต่ อ กัน มา เช่ น กฎเกณฑ์ ว่ า ด้ ว ยวัน สับ บาโต พิธีล้ า งมือ ก่ อ น รับประทานอาหาร ฯลฯ ส่วนสะดูสยี อมรับเฉพาะพระธรรมเก่าที่เขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เท่านัน้ และสนใจเฉพาะกฎหมายของโมเสสในหนังสือ 5 เล่มแรก (ปญั จบรรพ) จน แทบไม่ให้ความสําคัญกับหนังสือของบรรดาประกาศกเลย 3. พวกฟาริสเี ชื่อเรื่องเทวดา วิญญาณ และการกลับคืนชีพ ส่วนพวก สะดูสไี ม่เชื่อเรือ่ งดังกล่าว 4. พวกฟาริสเี ชื่อเรือ่ งดวงชะตา และยอมรับว่าพระเจ้าทรงวางแผนและ จัดระเบียบชีวติ ให้แก่มนุษย์แต่ละคน ส่วนสะดูสเี ป็ นพวกเสรีนิยมสุดโต่ง 2
วัน เดือน ปี อา. 10 พ.ย. 10.00 น.
จ. 11 พ.ย. อ. 12 พ.ย. พ. 13 พ.ย. พฤ.14 พ.ย. ศ. 15 พ.ย.
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา อุทศิ แด่ สเตฟานัส เช็งมัง่ แซ่อ้ ึง, อันนา ชูศรี เอื้ออุณหะกิจ ชาคร ยอแซฟ สมบัติ ทรัพย์อาภารัตน์, คุณธาดา สระบัว ชาคร มารี อา มลิดา วงศ์รักศักดิ์ บัญญัติ คุณเมธิสา กิ่งแก้ว พนิดา มารี อา มุ่ยเกียว แซ่แต้, ยวง บัปติสตา จิวช้วง แซ่โง้ว ปราณี เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ คุณเซ่งกี, คุณคิ้ม แซ่ลิ้ม เซซี ลีอา อรนุช, คุณจารุ วรรณ สวีรวงศ์ เปาโล มงคล, อักแนส ลดาวัลย์ สวีรวงศ์ เฟนันโด ซาเวียร์, ปังซิ โก ซาเวียร์, คุณอรุ ณี เนตรวิจิต โรซา บุญยิง่ , ซิ ลเวสเตอร์ สุ รพงษ์ กิจเจริ ญ ลัดดา คุณสอาง ชุ่มชื่น, คุณกรรณิ การ์ สวีรวงศ์ ลัดดา ยอแซฟ ประเสริ ฐ กุศลส่ ง ยอแซฟ มานิตย์ วีระวัฒนะ คุณชลินทร์ จิระดํารง อมรา ฟรังซิ สโก วิจิตร์ กาญจนธานินทร์ , คุณเส่ ง วชิรจุติพงศ์ วิษณุ คุณเล็ก รอดวินิจ, คุณก้านทอง แสงปัญหา รุ่ งโรจน์ คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา, ฟิ ลิป มุ่ยชิม รุ่ งโรจน์ คุณเช้ง แซ่จึง, เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี รุ่ งโรจน์ บรรพบุรุษและญาติมิตรผูล้ ่วงลับของครอบครัวเวโรจน์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง อิสอัคร/สุ กญั ญา อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ สุ กญั ญา อุทศิ แด่ คาทาลีนา ริ รินทร์ จิระดํารง อมรา สุ ขสํ าราญ คุณพรสิ น สิ นสมบูรณ์ และครอบครัว มาลินี อุทศิ แด่ คุณชลินทร์ จิระดํารง อมรา สุ ขสํ าราญ มารี อา พนิดา แซ่จงั มาลินี มาลินี สุ ขสํ าราญ คุณชนัตถา พจนพรพันธุ์ 11
พี่ น้ อ งที่ ส วดสายประคําเพื่ อ ร่ ว มรณรงค์ส วดสายประคํา 400,000 สาย ใน โครงการ “คาทอลิกไทยพร้อมเพรี ยง ไม่สิ้นเสี ยงสายประคํา” โปรดส่ งใบบันทึก จํานวนสายที่ กล่องรับด้านหน้าวัด หรื อที่สํานักงานวัด ภายในวันอาทิ ตย์ที่ 17 พฤศจิกายน ศกนี้ คริ สต์มาสปี นี้ วัดเน้นการส่ งมอบความสุ ขและการประกาศข่าวดีแก่ชุมชน o พี่นอ้ งท่านใดประสงค์จะอัญเชิญพระกุมารไปอวยพรที่บา้ นโอกาสพระ คริ สตสมภพ ระหว่างวัน อาทิ ตย์ที่ 1 ธันวาคม 2013 - วัน อาทิ ตย์ที่ 5 มกราคม 2014 โปรดสอบถามรายละเอียดและลงชื่อได้ที่สาํ นักงานวัด o ขอเชิ ญพี่น้องที่มีอายุต้ งั แต่ 7 ปี ขึ้นไป และมีความสามารถด้านขับร้อง ไม่ว่าจะเป็ นเพลงสากลทั้งไทยและเทศ ลูกทุ่ง ลูกกรุ ง หรื อทั้งร้องทั้ง เล่นกีตาร์ เข้าร่ วมประกวดร้องเพลงในโครงการ “KLT Award” ชิงเงิน รางวัล พร้ อ มโล่ เกี ย รติ ย ศ มู ล ค่ า รวม 20,000 บาท ผู ้ส นใจโปรด สอบถามรายละเอียดและสมัครได้ที่เจ้าหน้าที่สาํ นักงานวัด ตั้งแต่บดั นี้ ถึง 17 พฤศจิกายน ศกนี้ o กลุ่มพิธีกรรมรับสมัครนักแสดงทั้งผูใ้ หญ่และเด็ก เพื่อร่ วมแสดงละคร เพลง “การบัง เกิ ด ของพระเยซู เจ้า” ในคํ่าคื น คริ ส ต์ม าสโดยจะเริ่ ม ฝึ กซ้อมวันอาทิตย์ที่ 1 ธันวาคม ศกนี้ ผูส้ นใจโปรดติดต่อกลุ่มพิธีกรรม หรื อลงชื่อที่สาํ นักงานวัด o ขอเชิญผูม้ ีจิตศรัทธาทุกท่านร่ วมบริ จาคเงิน อาหาร หรื อของรางวัลเพื่อ สนับสนุนการจัดงานรื่ นเริ งคํ่าคืนคริ สต์มาส โปรดแจ้งความจํานงได้ที่ สํานักงานวัด 12
ฉบับที่ 500 วันอาทิตย์ที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 2013
สั ปดาห์ ที่ 32 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
พระองค์ มิใช่ พระเจ้ าของผู้ตาย แต่ เป็ นพระเจ้ าของผู้เป็ น
เพราะทุกคนมีชีวติ อยู่เพือ่ พระองค์ ลก 20:38