ฉบับที่ 486 วันอาทิตย์ที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 2013
ฉบับที่ 486 วันอาทิตย์ที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 2013
สั ปดาห์ ที่ 18 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
สั ปดาห์ ที่ 18 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
จงระวังและรักษาตัวไว้ ให้ พ้นจากความโลภทุกชนิด
จงระวังและรักษาตัวไว้ ให้ พ้นจากความโลภทุกชนิด
ลก 12:15
ลก 12:15
สั ปดาห์ ที่ 18 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
ลก 12:13-21
วัน เดือน ปี อา 4 ส.ค. 08.00 น.
อา 4 ส.ค. 10.00 น.
เป็ นประเพณีของชาวยิวทีจ่ ะนํ าปญั หาหรือข้อขัดแย้งไปให้รบั บีเป็ นผูต้ ดั สิน น้องผูข้ ดั แย้งกับพีช่ ายเรื่องมรดกจึงนํ าปญั หาของตนมาให้พระเยซูเจ้าตัดสินชี้ขาด แต่พระองค์ทรงปฏิเสธทีจ่ ะเข้าไปยุง่ เกีย่ วกับความขัดแย้งเรื่องทรัพย์สมบัติ ทรงตรัส ว่า “มนุ ษย์เอ๋ย ใครตัง้ เราเป็ นผูพ้ พิ ากษาหรือเป็ นผูแ้ บ่งมรดกของท่าน” (ลก 12:14) เพราะ “ชีวติ ของคนเราไม่ขน้ึ กับทรัพย์สมบัต”ิ (ลก 12:15) พร้อมกันนัน้ ทรงยกอุปมาเรือ่ ง “เศรษฐีโง่” ขึน้ มาเพือ่ ชีใ้ ห้เห็นทัศนคติทค่ี ริสต ชนพึงมีต่อ “ทรัพย์สมบัตแิ ละสิง่ ของของโลกนี้” จะเห็นว่าไม่มตี อนใดเลยในอุปมาที่พระองค์ทรงตําหนิติเตียนที่ดนิ พืชผล ข้าว ยุ้งฉาง หรือทรัพย์ส มบัติมากมายของเศรษฐี แต่ เป็ น “ตัว เศรษฐี” นัน่ เองที่ พระองค์ทรงตําหนิวา่ “คนโง่เอ๋ย” (ลก 12:20) เท่ากับว่าตามทัศนะของพระเยซูเจ้า ทรัพย์สมบัติไม่ใช่สิง่ ชัวร้ ่ าย แต่สงิ่ ที่ ชัวร้ ่ ายคือ ผูท้ ีใ่ ช้ทรัพย์สมบัติเยีย่ ง “เศรษฐีโง่” ผูน้ นั ้ ! คําถามคือ เศรษฐีใช้ทรัพย์สมบัตอิ ย่างไรจึงถูกตําหนิวา่ โง่ ??? ประการแรก เศรษฐีโง่ใช้ทรัพย์สมบัติของตนโดยมองไม่เห็นหัวคนอืน่ ไม่มอี ุปมาเรือ่ งใดจะมีคาํ ว่า “ฉัน” หรือ “ของฉัน” มากเท่าอุปมาเรื่องเศรษฐีโง่ นี้ เมือ่ ทีด่ นิ ของเขาให้ผลผลิตดีมาก เขาจึงคิดว่า - “ฉันจะทําอย่างไรดี ฉันไม่มที พี ่ อจะเก็บพืชผลของฉัน” (ลก12:17) - “ฉันจะทําอย่างนี้ จะรื้อยุง้ ฉางเก่าแล้วสร้างใหม่ให้ใหญ่โตกว่าเดิม จะได้เก็บข้าวและสมบัตทิ งั ้ หมดไว้” (ลก 12:18) 2
รายการมิสซา ยอแซฟ เกียจัว๊ แซ่คู, อันนา เย็น เอี้ยพิน ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน ยอแซฟ สุ ชารี ย ์ แสงหาญ, มารี อา ธันยพร ศศิสุวรรณ ยอแซฟ ปัณณธร, ยอแซฟ ภัทรกร แสงหาญ อนัสตาซี อา ประนอม กาญจนธานินทร์ มีคาแอล ชวลิต ไมตรี ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว เปโตร ธนกร กวีมานนท์ คุณต่อศักดิ์, คุณทนงศักดิ์ คุณวรณัน รักอารมณ์, คุณลาวรรณ ลิขิตทรัพย์ อุทศิ แด่ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน, มารี อา มยุรี ผลาวงศ์ มัทธิ ว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต, Thomas Adams เรนาโต ประพาฬ รักอารมณ์ ฟิ ลิป ประกาย, อันนา จิ๋ม รักอารมณ์ ยอแซฟ ไล้, เทเรซา สงวน แซ่ล้ ี ยอแซฟ ธวัชชัย ตรี สินธุรส และญาติผลู้ ่วงลับ เปโตร เหลี่ยน ฮว่าง วัน, มารธา เฮียน ฮว่าง ถิ เทเรซา เทรัตน์ ประกอบกิจ คุณทองคํา ดิโพ ฟรังซิ สโก วิจิตร กาญจนธานินทร์ คาทารี อา วงศ์ประยูร เทวารุ ทธ, คุณเส่ ง วชิรจุติพงศ์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง
ผู้ขอมิสซา คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ วิไลวรรณ ธันยพร ธันยพร วิษณุ อัญชลี ธนกร ลาวรรณ ลาวรรณ คค.อุชชิน คค.อุชชิน คค.อุชชิน ลาวรรณ ลาวรรณ ลาวรรณ รสสุ คนธ์ ธนกร ครอบครัว วิษณุ วิษณุ 11
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 18 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 4 สิ งหาคม ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี ส. 3 ส.ค. 18.00 น.
รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว ร็ อค มาโนชย์ สุ นพิชยั , ครอบครัวนิลกําแหง อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เปโตร จือเซี ย แซ่อ้ ึง, อันนา เซี ยน แซ่เจา มารี อา กิมง้อ แซ่ลิ้ม, ยอแซฟ เซี้ ยะกุย แซ่หวม สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช เทเรซา เทรัตน์ ประกอบกิจ คุณสนิท ศตัษฐเสถียร วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 4 ส.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ คุณวราพร เจนใจ และครอบครัว ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ ครอบครัวสุ ทธิโอภาส, ครอบครัวรัตนบรรณสกุล ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวเพียรช่างคิด ครอบครัวลิ้มจิตรกร, ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์ ทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, ผูล้ ่วงลับสกุลสาธรกิจและธนะสาร คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสต์ เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสารและสาธรกิจ ดอมินิโก สวัสดิ์ อู๋สวัสดิ์, โรซา สมจิตร อู๋สวัสดิ์ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ คุณพัสฬัสษ์ วราเปล่งสิ นทวี
10
ผู้ขอมิสซา มาลินี เริ งจิต สมใจ สุ รศักดิ์ อมรา ณัฐวรรณ คค.ศรี เจริ ญ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ วราพร วิภาวินี อัญชลี
- แล้วฉั นจะพูดกับตนเองว่า “ดีแล้ว เจ้า(ฉั น)มีทรัพย์สมบัตมิ ากมายเก็บไว้ ใช้ได้หลายปี (ฉัน)จงพักผ่อน กินดืม่ และสนุกสนานเถิด” (ลก 12:19) ไม่มคี ําอธิบายอื่นนอกจากว่าในหัวของเศรษฐีผนู้ ้ีมแี ต่ “ตัวเอง” เต็มไปหมด เขาไม่มี “คนอืน่ ” อยูใ่ นความรูส้ กึ นึกคิดหรือจิตใจของเขาเลย โลกของเขาแคบนิดเดียว ทิศเหนือของเขาติดต่อกับ “ตัวเอง” ทิศใต้กต็ ดิ กับ “ตัวเอง” ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกก็ตดิ กับ “ตัวเอง” อีกเช่นกัน ด้วยเหตุน้ี พระเยซูเจ้าจึงตรัสเตือนทุกคนว่า “จงระวังและรักษาตัวไว้ให้พ้น จากความโลภทุกชนิ ด” (ลก 12:15) ซึง่ นักบุญเปาโลได้นํามาขยายความเพิม่ เติมว่า “การรักเงินทองเป็ นรากเหง้าของความชัวทั ่ ง้ หมด ความโลภเงินทองทําให้บางคนหลง ไปจากความเชือ่ และตรอมตรมด้วยความทุกข์มากมาย” (1 ทธ 6:10) ชาวโรมันจึงมีภาษิตสอนใจบทหนึ่งว่า “เงินทองเปรียบเหมือนนํ้าทะเล ยิง่ ดืม่ มากก็ยงิ ่ กระหายมาก” เพื่อดับความกระหาย พระเยซูเจ้าทรงสอนว่า “ถ้าผูใ้ ดอยากตามเรา ก็จงเลิก คิดถึงตนเอง” (มธ 16:24) และ “ท่านทําสิง่ ใดต่อพีน่ ้องผูต้ ํา่ ต้อยทีส่ ุดของเราคนหนึง่ ท่านก็ทาํ สิง่ นัน้ ต่อเรา” (มธ 25:40) นันคื ่ อ จงคิ ดถึงตนเองให้น้อยลง แล้วคิ ดถึงคนอืน่ ให้มากขึ้น ! มีนกั เทววิทยาชาวอังกฤษผูห้ นึ่งนามว่า John Wesley (28 มิถุนายน 1703 – 2 มีนาคม 1791) เขามุ่งมันดํ ่ าเนินชีวติ ตามหนทางของพระเยซูเจ้าด้วยการประหยัด อย่างสุดความสามารถเพื่อจะได้เหลือเงินไว้ “ให้” ผูอ้ ่นื มากเท่าที่จะเป็ นไปได้ เมื่อ เริม่ ต้นทํางานใหม่ ๆ เขามีรายได้ 30 ปอนด์ต่อปีจงึ เก็บไว้ใช้ 28 ปอนด์และเหลือไว้ให้ ผู้อ่ืน 2 ปอนด์ ต่ อ มารายได้ข องเขาเพิ่ม ขึ้น เป็ น 60, 90 และ 120 ปอนด์ต่ อ ปี ตามลําดับ แต่ เขายังคงเก็บเงินไว้ใช้จ่ายส่ว นตัว ปี ล ะ 28 ปอนด์เ ท่าเดิมเพื่อจะได้ ช่วยเหลือผูข้ ดั สนมากขึน้ ช่างแตกต่างกันเหลือเกินกับเศรษฐีโง่ ซึ่งแทนที่จะดําเนินชีวติ ด้วยการสละ ตนเอง แล้วช่วยเหลือเกือ้ กูลเพือ่ นมนุษย์ทข่ี ดั สน เขากลับเดินสวนทางกับคําสอนของ พระเยซู เ จ้า ด้ว ยการยืน ยัน ความเป็ น “ตัว ตน” หรือ “อัต ตา” ของตนเองอย่า ง ก้าวร้าวและน่าเกลียดทีส่ ดุ 3
นี่จงึ เป็ นเหตุ ผลประการแรกที่ทําให้พระเยซูเจ้าไม่ทรงตําหนิการมีทรัพย์ สมบัติ แต่ทรงตําหนิ “ผูใ้ ช้” ทรัพย์สมบัตดิ ว้ ย “ความโลภ” เพราะมันเป็ นรากเหง้า ของความชัว่ จนทําให้มองไม่เห็นหัวของเพือ่ นมนุ ษย์ดว้ ยกันเอง !! ประการที่สอง เศรษฐี โง่ใช้ ทรัพย์สมบัติของตนโดยไม่คาํ นึ งถึงอนาคต ในโลกหน้ า แผนการของเขาคือ “รื้อยุง้ ฉางเก่าแล้วสร้างใหม่ให้ใหญ่โตกว่าเดิม จะได้เก็บ ข้าวและสมบัตทิ งั ้ หมดไว้ใช้ได้หลายปี เพือ่ จะได้พกั ผ่อน กินดืม่ และสนุ กสนาน” (ลก 12:18-19) เขาไม่ได้คดิ หรือมองอะไรเกินเลยไปจากโลกนี้เลย ทัง้ การพักผ่อน การกิน ดื่ม และการสนุกสนานไปวัน ๆ ล้วนแล้วแต่เป็ นเป้าหมายเฉพาะในโลกนี้เท่านัน้ มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับการสนทนาระหว่างเด็กหนุ่ มผูก้ ระตือรือร้นคนหนึ่ง กับ ชายชราผูผ้ า่ นชีวติ มาอย่างโชกโชน ดังนี้ เด็กหนุ่ม “ผมจะเรียนวิชาชีพ” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่ม “ผมจะทําธุรกิจ” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่ม “ผมจะเสีย่ งโชค” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่ม “ผมจะเก็บ เงิน เยอะ ๆ ไว้ใ ช้ย ามเกษีย ณและแก่ ชรา” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่ม “สักวัน ผมคงต้องตาย” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่มไม่มคี าํ ตอบ....!! ความคิดของเด็กหนุ่ มสะท้อนให้เห็นความคิดของเศรษฐีโง่ได้เป็ นอย่างดี เขาวางแผนและเตรียมการทุกอย่างสําหรับโลกนี้ แต่ลมื คิดไปว่ายังมีอกี โลกหนึ่งรอ คอยเขาอยู่ 4
การกินอยูอ่ ย่างฟุ่มเฟือยเป็ นอุปสรรคในการติดตามพระเจ้า “พ่ออยากจะเน้นเรื่องวัฒนธรรมแห่งความรํา่ รวย 2 อย่าง 1) วัฒนธรรมแห่ง การกินอยู่อย่างฟุ่ มเฟื อยสุขอุรา เป็ นต้นเหตุทาํ ให้เราขาดความกล้าหาญ มันทําให้ เราขีเ้ กียจ และทําให้เราเห็นแก่ตวั การกินอยู่อย่างสุขอุราทําให้เราตายด้าน มันคือ ยาชาที่ทาํ ให้เราไร้ความรูส้ ึกรูส้ า 2) ความรํา่ รวยอีกประการในยุคนีท้ ี่กีดกันเรา จากการเข้าใกล้พระเยซู ก็คือ ความลุ่มหลงในสิ่งที่ไม่ยัง่ ยืนซึ่งก็คือความรํา่ รวย ทางเงินตรา พวกเราต่างต้องการจะเป็ นนายของกาลเวลา เราต้องการมีชีวิตอยู่ แค่โลกนี้ ความรํา่ รวยแบบนีท้ าํ ให้เราไม่ได้กา้ วไปข้างหน้า”
ความมัง่ คัง่ ในทรัพย์สินและการสนใจสิ่งของทางโลกทําให้พระวาจาของ พระเจ้าไม่เติบโต ในกรณีที่เรารับใช้แต่ความรํา่ รวยหรือรับใช้แต่สิ่งของฝ่ ายโลก พระวาจาของพระเจ้าจะสูญสลายเพราะไม่ได้รบั การเอาใจใส่มากพอจากเรา - ชีวิตคนเราตัง้ อยู่บน 3 เสาหลัก ได้แก่ อดีต ปั จจุบนั และอนาคต - เสาแรกคือ "อดีต" นีค่ ือการเลือกสรรของพระเจ้า เราทุกคนสามารถพูดออกมา ได้เลยว่า "พระเจ้าทรงเลือกเรา พระองค์ทรงรักเรา พระองค์ทรงกล่าวกับเราว่า 'มาเถิด' พร้อมให้เรารับศีลล้างบาป พระองค์ทรงเลือกเราให้เดินร่วมทางไปบน ถนนคริสตชน" ในทางกลับกัน "อนาคต" เป็ นเรื่องเกี่ยวกับการก้าวไปด้วยคํามัน่ สัญญา พระเจ้าทรงสัญญากับเรา ส่วน "ปั จจุบนั " คือการตอบสนองต่อพระเจ้าผู้ ทรงความดีและทรงเลือกสรรเรา - นีค่ ือ 3 เสาหลักของเรื่องราวของความรอด แต่เมื่อจิตใจของเราได้ยินสิ่งที่พระ เยซูอธิบายเรื่องไม่มีใครรับใช้นาย 2 คนได้ เราคิดอะไร อันดับแรก เราทิ้งอดีต ตามด้วย การทิ้งอนาคต เราอยู่กบั ปั จจุบนั แบบสับสน - การเป็ นคริสตชนที่ดตี อ้ งรูเ้ รื่องทัง้ 3 เสาหลัก เราต้องรูเ้ รื่องในอดีต การรับศีล ล้างบาปคือการที่เราได้รับเลือกด้วยความรักจากพระเจ้า ส่วนปั จจุบัน เรามีพระ บิดาที่สง่ เราให้กา้ วไปบนถนนสายคริสตชนที่ดแู ลเรา ส่วนอนาคตคือช่วงเวลาแห่ง ความชืน่ ชมยินดี เพราะเรากําลังก้าวไปสูพ่ นั ธสัญญา ขอบคุณข้ อมูลจาก Pope Report 9
ความโลภอันเป็ นรากเหง้าของความชัว่ ทําให้คนเราขาดสติ หันไปยึดติดกับ สิง่ ของทีไ่ ม่จรี งั ซึง่ ไม่มผี ใู้ ดสามารถนําติดตัวไปได้เมือ่ ความตายมาพรากเราไปจากมัน ชาวสเปนจึงมีภาษิตเตือนใจบทหนึ่งว่า “ไม่มกี ระเป๋าทีผ่ า้ ตราสัง” ! ผูท้ ส่ี ะสมทรัพย์สมบัตริ าวกับว่าจะขนไปใช้ได้ชวนิ ั ่ รนั ดรในโลกหน้า จึง “โง่” จริงๆ ! พระเยซูทรงสอนบรรดาอัครสาวกว่า "จงแสวงหาแต่ทรัพย์สมบัตทิ ่ีเรา จะนําติดตัวไปยังชีวิตหน้าได้ เพราะทรัพย์สมบัติของท่านอยู่ที่ใด ใจของท่านก็ อยู่ที่นนั ่ ด้วย (มธ. 6:21)" - พระวาจาตอนนี้ เราต้องไตร่ตรองให้รอบคอบนะ อย่าไปสับสนเกี่ยวกับ ความหมายของความรํา่ รวยเที่ยงแท้ เพราะมันมี "ทรัพย์สมบัตทิ ี่เป็ นอันตราย" ที่คอยคุกคามและยัว่ ยวนเราตลอดเวลา กระนัน้ เราต้องมองไปยังทรัพย์สมบัติ ในชีวิตหน้า ไม่ใช่มองทรัพย์สมบัตใิ นชีวิตนีท้ ี่จะถูกทําลายด้วยความตาย - มีทรัพย์สมบัตเิ ดียวที่เราจะนําติดตัวไปได้ มันเป็ นทรัพย์สมบัตทิ ี่ไม่มีใครพราก ไปจากเราได้ มันคือคุณงามความดี นีค่ ือคุณงามความดีของพระเยซูคริสต์ที่มี อยู่ในตัวเรา เราต้องนําติดตัวไปด้วย - สิ่งเดียวที่พระเจ้าจะให้เรานําติดตัวไปคือความรัก, ความเมตตา, การรับใช้, ความอดทน, ความดี และความสุภาพถ่อมตน สิ่งเหล่านี้คือทรัพย์สมบัติที่ งดงามเลอค่า ทั้งหมดคือสิ่งที่เราต้องติดตัวไปเมื่อตาย สิ่งอื่น เราจะเอาไปไม่ได้ เลย - แต่กระนัน้ ทําไมเรายังคงไม่ยอมฟั งสิ่งที่พระเยซูสอนเกี่ยวกับทรัพย์สมบัติ เพราะอะไร ... ก็ เพราะ เรายังมี "ใจที่ไม่สงบ" เรายังแสวงหาสิ่งต่างๆอย่างไม่ เคยพอใจ ทัง้ ที่พระเจ้าสอนว่า ให้เราแสวงหาพระองค์ - ดังนัน้ ขอให้เราลองคิดดูว่า จิตใจของเรายังเหนือ่ ยล้าและวุ่นวายอยู่ไหม หรือ เรายังอยากแสวงหาสิ่งอื่นๆ นอกจากพระเจ้าอีก เรายังต้องการสิ่งที่สอง สาม สี่ ไปเรื่อยๆ หรือเปล่า เรายังต้องการเงินมากๆ ในบัญชีธนาคารใช่ไหม? - ถ้าใช่ หัวใจของเราก็ยังเป็ น "ใจหิน" พ่อจึงอยากเชิญเราวอนขอพระเจ้า ประทานพละกําลังให้เราไม่ย่อท้อเหน็ดเหนื่อยในการแสวงหาพระองค์ ขอพระ เจ้าเปลี่ยนจิตใจของเราด้วยเถิด! 8
ทีส่ ุด พระองค์ทรงสรุปว่า “คนทีส่ ะสมทรัพย์สมบัตไิ ว้สาํ หรับตนเองแต่ไม่เป็ น คนมังมี ่ สาํ หรับพระเจ้า ก็จะเป็ นเช่นนี้” (ลก 12:21) เศรษฐีโง่สะสมทรัพย์สมบัติไว้เพื่อใช้เอง และใช้อย่างเห็นแก่ตวั ด้วย นัน่ คือ “พักผ่อน กินดืม่ และสนุกสนาน” ทุกวันนี้ ผู้คนจํานวนมากก็ประพฤติไม่ต่างไปจากเศรษฐีโง่คนนี้ พวกเขา พยายามทํางานหนักเพือ่ จะมีรายได้เพิม่ ขึน้ จะได้มชี วี ติ ความเป็ นอยูฟ่ ุม่ เฟือยขึน้ มีมอื ถือรุน่ ใหม่ รถยนต์คนั ใหม่ บ้านหลังใหม่ ฯลฯ แต่น่าเสียดายทีค่ นเหล่านี้ “ไม่เป็ นคนมังมี ่ สาํ หรับพระเจ้า” !! ตรงกันข้าม หากเราใช้เงินทองหรือทรัพย์สมบัตอิ ย่าง “พอเพียง” คือไม่ตอ้ ง ไปพึง่ พาผูอ้ ่นื แล้ว “ให้” ส่วนทีเ่ หลือแก่ผทู้ ม่ี คี วามจําเป็ นและขัดสนมากกว่าเรา… การ “ใช้ ” ทรัพ ย์ส มบัติอ ย่า งนี้ คือ การ “สะสม” ทรัพ ย์ส มบัติเ ที่ย งแท้ใ น สวรรค์ และทําให้เราเป็ น “ผูม้ งมี ั ่ ” ในสายพระเนตรของพระเจ้า และเพือ่ จะเป็ นผูม้ งมี ั ่ ในสวรรค์ ไม่จาํ เป็ นต้องลงทุนมากมายเลย แค่น้ําเย็นสัก แก้ว หรือไปเยีย่ มเยียนผูส้ ูงอายุ คนตาบอด เด็กกําพร้า เท่านี้เราก็ได้ทําต่อพระเยซู เจ้าเองแล้ว นักบุญเปาโลระลึกถึงคําสอนประการนี้อยูเ่ สมอ ท่านจึงกล่าวว่า “การให้ย่อม เป็ นสุขมากกว่าการรับ” (กจ 20:35)
เราอยากจะมังมี ่ ในโลกนี้ แล้วยากจนในโลกหน้ า หรืออยากจะสุขทัง้ ในโลกนี้ และโลกหน้ า ก็เลือกเอาเอง !! 5
สะดวกสบายมากกว่าเมื่อ 50 ปี ที่แล้วหลายเท่าตัว แต่นา่ สังเกตว่าอัตราส่วนของคน ที่บอกว่า “มีความสุขมาก” ไม่ได้เพิ่มขึน้ เลย
คุณทราบหรือไม่ว่า คน 3 กลุ่มต่อไปนี้ ได้แก่ เศรษฐีที่รํ่ารวย ที่ ส ดุ ในอเมริ ก า ชาวอามิ ช ในรั ฐ เพนซิ ล วาเนี ย ชาวอิ น ุย ต์ใ นเกาะกรี น แลนด์ มี อะไรบ้างที่เหมือนกันหรือเท่ากัน ? ก. อายุคาดเฉลี่ยเมือ่ แรกเกิด ข. สัดส่วนการมีโทรศัพท์มอื ถือต่อประชากร 1,000 คน ค. อัตราการตายด้วยอุบตั เิ หตุบนท้องถนน ง. ความสุข
ทําไมมีเงินมากขึน้ จึงไม่ทาํ ให้มคี วามสุขเพิ่มขึน้ ? เหตุผลข้อหนึง่ ก็คือ เราชินชา กับความรํา่ รวยหรือสะดวกสบายที่เพิ่มขึน้ ได้รวดเร็วมาก วันแรกที่คณ ุ ได้รถคันใหม่ ที่ขับนิ่มกว่ าเดิม หรูหรากว่ าเดิม แน่นอนคุณย่อมมีความสุข แต่เมื่อ ผ่านไปสัก 3 เดือนหรือครึ่งปี คุณก็จะรูส้ ึกเฉยๆ กับรถคันนัน้ แล้ว พูดอีกอย่างหนึง่ ความสุขที่เคย เพิ่มขึน้ ได้ลดมาสูร่ ะดับเดิมก่อนที่จะได้รถคันนัน้ คําพูดที่ว่า “เงินซื้อความสุขได้” จึงมีส่วนถูกเพียงครึ่งเดียว ถ้าให้ถกู จริงๆ น่าจะพูดว่า “เงินเช่าความสุขได้” อะไรที่เราเช่าหรือยืมมา เรามีสิทธิครอบครองได้ เพียงชัว่ คราว ไม่ชา้ ไม่นานก็ตอ้ งคืนเขาไป ความสุขที่ได้จากเงินก็เช่นกัน มันมาอยู่กบั เราเพียงชัว่ ครู่ชวั ่ ยามเท่านัน้
ถ้าคุณตอบข้อ ก.-ค. คุณก็ตอบผิดแล้ว คําตอบที่ถกู ต้องคือ ข้อ ง. จากการสอบถามความเห็ นของประชาชนทัว่ โลกเมื่อปี ที่แล้ว พบว่าคนทั้ง 3 กลุ่ม ข้างต้นมีความสุขกับชีวิตคิดเป็ นคะแนนเท่ากัน คือ 5.8 (จากคะแนนเต็ม 7.0) โดยมี ชนเผ่ามาไซในแอฟริกาตามมาติดๆ คือ 5.7
มีความสุขอีกมากมายที่ไม่ตอ้ งใช้เงินเลย และสามารถอยู่ได้ยัง่ ยืนกว่า เช่น ความสุข ท่ า มกลางครอบครั ว อั น อบอุ่น ความสุข จากการสั ง สรรค์ใ นหมู่มิ ต ร ความสุขจากการชืน่ ชมธรรมชาติ ความสุขจากการเอื้อเฟื้ อผูอ้ ื่น รวมถึงความสุขจาก การทําสมาธิภาวนา
ผลการศึ กษาดังกล่าวคงทําให้หลายคนอดแปลกใจไม่ได้ เพราะคนทั้ง 3 กลุ่มนีม้ ีมาตรฐานความเป็ นอยู่และรายได้แตกต่างกันอย่างมาก แต่กลับมีความสุข เท่า ๆ กัน ที่น่าแปลกใจยิ่ งกว่ านั้นคือ เศรษฐีอเมริกันซึ่ งมีเงินมากมายมหาศาล กลับมีความสุขมากกว่าชนเผ่ามาไซเพียงแค่ 0.1 คะแนนเท่านั้น ทั้งๆ ที่ฝ่ายหลัง แทบไม่มสี มบัตอิ ะไรเลย นอกจากกระท่อม ธนู และสัตว์เลี้ยงไม่กตี่ วั
ชาวอามิช ชาวอินยุ ต์ และชาวมาไซ อาจไม่มีโอกาสเสพสุขจากวัตถุได้มากเท่า เศรษฐีอ เมริ กัน แต่สิ่ งที่ ให้ความสุขแก่พวกเขาอย่างมากมายคื อ สัม พันธภาพอัน งดงามทัง้ กับผูอ้ ื่นและกับธรรมชาติ รวมทัง้ ความสุขจากใจที่สงบเย็น
การค้นพบดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยหลายชิ้นที่ชี้ว่า ความรํา่ รวยมิใช่ ปั จจัยหลักของความสุข จริงอยู่คนเราจะมีความสุขก็ ตอ้ งมีเงินหรือทรัพย์สมบัติ อย่ า งน้อ ยก็ ต อ้ งเกิ น ระดั บ ความยากจน ถ้า ยั ง กิ น ไม่ อิ่ ม นอนไม่ อ่ นุ ก็ ย ากจะมี ความสุขได้ ด้วยเหตุนคี้ นเร่ร่อนไร้บา้ นในแคลิฟอร์เนียกับคนเร่ร่อนในกัลกัตตาจึงมี ความสุขแค่ 2.9 นัน่ คือมีความสุขเพียงครึ่งเดียวของเศรษฐีอเมริกนั มองในแง่นี้ก็ เห็นได้ไม่ยากว่าคนรวยมีความสุขมากกว่าคนจน
ความสุขจากเงินนัน้ มีเสน่หต์ รงที่เข้าถึงได้งา่ ย แต่อะไรที่ได้มาง่ายนัน้ ไม่ค่อย ยัง่ ยืน (ลองนึกถึงความสุขจากเซ็ กส์และยาเสพติดเป็ นตัวอย่าง) แต่ความสุขจาก สัมพันธภาพและความสุขจากจิตใจอันสงบนัน้ แม้จะเข้าถึงยาก แต่อยู่ได้ยงั ่ ยืนกว่า อย่างไรก็ ต าม มีวิธีหนึ่งที่เงินสามารถให้ความสุขอย่างรวดเร็ วและยัง่ ยื น (อย่างน้อยก็ นานกว่าการเที่ยวห้าง) นัน่ คือ บริ จาคเงิ นให้แก่คนจนหรื อผู ท้ ุ กข์ยาก รอยยิ้มของเขาสามารถทําให้คณ ุ อิ่มเอิบไปได้นานทีเดียว จากนิตยสาร Image มีนาคม 2552
แต่เมื่อมีเงินหรือทรัพย์สมบัตถิ ึงระดับหนึง่ แล้ว แม้จะมีเงินมากขึน้ ก็ไม่ได้ทาํ ให้มี ค วามสุข เพิ่ ม ขึ้ น เลย คนอเมริ กั น และคนญี่ ปุ่ นมี ร ายได้ส ูง ขึ้ น และมี ค วาม 6
7
สะดวกสบายมากกว่าเมื่อ 50 ปี ที่แล้วหลายเท่าตัว แต่นา่ สังเกตว่าอัตราส่วนของคน ที่บอกว่า “มีความสุขมาก” ไม่ได้เพิ่มขึน้ เลย
คุณทราบหรือไม่ว่า คน 3 กลุ่มต่อไปนี้ ได้แก่ เศรษฐีที่รํ่ารวย ที่ ส ดุ ในอเมริ ก า ชาวอามิ ช ในรั ฐ เพนซิ ล วาเนี ย ชาวอิ น ุย ต์ใ นเกาะกรี น แลนด์ มี อะไรบ้างที่เหมือนกันหรือเท่ากัน ? ก. อายุคาดเฉลี่ยเมือ่ แรกเกิด ข. สัดส่วนการมีโทรศัพท์มอื ถือต่อประชากร 1,000 คน ค. อัตราการตายด้วยอุบตั เิ หตุบนท้องถนน ง. ความสุข
ทําไมมีเงินมากขึน้ จึงไม่ทาํ ให้มคี วามสุขเพิ่มขึน้ ? เหตุผลข้อหนึง่ ก็คือ เราชินชา กับความรํา่ รวยหรือสะดวกสบายที่เพิ่มขึน้ ได้รวดเร็วมาก วันแรกที่คณ ุ ได้รถคันใหม่ ที่ขับนิ่มกว่ าเดิม หรูหรากว่ าเดิม แน่นอนคุณย่อมมีความสุข แต่เมื่อ ผ่านไปสัก 3 เดือนหรือครึ่งปี คุณก็จะรูส้ ึกเฉยๆ กับรถคันนัน้ แล้ว พูดอีกอย่างหนึง่ ความสุขที่เคย เพิ่มขึน้ ได้ลดมาสูร่ ะดับเดิมก่อนที่จะได้รถคันนัน้ คําพูดที่ว่า “เงินซื้อความสุขได้” จึงมีส่วนถูกเพียงครึ่งเดียว ถ้าให้ถกู จริงๆ น่าจะพูดว่า “เงินเช่าความสุขได้” อะไรที่เราเช่าหรือยืมมา เรามีสิทธิครอบครองได้ เพียงชัว่ คราว ไม่ชา้ ไม่นานก็ตอ้ งคืนเขาไป ความสุขที่ได้จากเงินก็เช่นกัน มันมาอยู่กบั เราเพียงชัว่ ครู่ชวั ่ ยามเท่านัน้
ถ้าคุณตอบข้อ ก.-ค. คุณก็ตอบผิดแล้ว คําตอบที่ถกู ต้องคือ ข้อ ง. จากการสอบถามความเห็ นของประชาชนทัว่ โลกเมื่อปี ที่แล้ว พบว่าคนทั้ง 3 กลุ่ม ข้างต้นมีความสุขกับชีวิตคิดเป็ นคะแนนเท่ากัน คือ 5.8 (จากคะแนนเต็ม 7.0) โดยมี ชนเผ่ามาไซในแอฟริกาตามมาติดๆ คือ 5.7
มีความสุขอีกมากมายที่ไม่ตอ้ งใช้เงินเลย และสามารถอยู่ได้ยัง่ ยืนกว่า เช่น ความสุข ท่ า มกลางครอบครั ว อั น อบอุ่น ความสุข จากการสั ง สรรค์ใ นหมู่มิ ต ร ความสุขจากการชืน่ ชมธรรมชาติ ความสุขจากการเอื้อเฟื้ อผูอ้ ื่น รวมถึงความสุขจาก การทําสมาธิภาวนา
ผลการศึ กษาดังกล่าวคงทําให้หลายคนอดแปลกใจไม่ได้ เพราะคนทั้ง 3 กลุ่มนีม้ ีมาตรฐานความเป็ นอยู่และรายได้แตกต่างกันอย่างมาก แต่กลับมีความสุข เท่า ๆ กัน ที่น่าแปลกใจยิ่ งกว่ านั้นคือ เศรษฐีอเมริกันซึ่ งมีเงินมากมายมหาศาล กลับมีความสุขมากกว่าชนเผ่ามาไซเพียงแค่ 0.1 คะแนนเท่านั้น ทั้งๆ ที่ฝ่ายหลัง แทบไม่มสี มบัตอิ ะไรเลย นอกจากกระท่อม ธนู และสัตว์เลี้ยงไม่กตี่ วั
ชาวอามิช ชาวอินยุ ต์ และชาวมาไซ อาจไม่มีโอกาสเสพสุขจากวัตถุได้มากเท่า เศรษฐีอ เมริ กัน แต่สิ่ งที่ ให้ความสุขแก่พวกเขาอย่างมากมายคื อ สัม พันธภาพอัน งดงามทัง้ กับผูอ้ ื่นและกับธรรมชาติ รวมทัง้ ความสุขจากใจที่สงบเย็น
การค้นพบดังกล่าวสอดคล้องกับงานวิจัยหลายชิ้นที่ชี้ว่า ความรํา่ รวยมิใช่ ปั จจัยหลักของความสุข จริงอยู่คนเราจะมีความสุขก็ ตอ้ งมีเงินหรือทรัพย์สมบัติ อย่ า งน้อ ยก็ ต อ้ งเกิ น ระดั บ ความยากจน ถ้า ยั ง กิ น ไม่ อิ่ ม นอนไม่ อ่ นุ ก็ ย ากจะมี ความสุขได้ ด้วยเหตุนคี้ นเร่ร่อนไร้บา้ นในแคลิฟอร์เนียกับคนเร่ร่อนในกัลกัตตาจึงมี ความสุขแค่ 2.9 นัน่ คือมีความสุขเพียงครึ่งเดียวของเศรษฐีอเมริกนั มองในแง่นี้ก็ เห็นได้ไม่ยากว่าคนรวยมีความสุขมากกว่าคนจน
ความสุขจากเงินนัน้ มีเสน่หต์ รงที่เข้าถึงได้งา่ ย แต่อะไรที่ได้มาง่ายนัน้ ไม่ค่อย ยัง่ ยืน (ลองนึกถึงความสุขจากเซ็ กส์และยาเสพติดเป็ นตัวอย่าง) แต่ความสุขจาก สัมพันธภาพและความสุขจากจิตใจอันสงบนัน้ แม้จะเข้าถึงยาก แต่อยู่ได้ยงั ่ ยืนกว่า อย่างไรก็ ต าม มีวิธีหนึ่งที่เงินสามารถให้ความสุขอย่างรวดเร็ วและยัง่ ยื น (อย่างน้อยก็ นานกว่าการเที่ยวห้าง) นัน่ คือ บริ จาคเงิ นให้แก่คนจนหรื อผู ท้ ุ กข์ยาก รอยยิ้มของเขาสามารถทําให้คณ ุ อิ่มเอิบไปได้นานทีเดียว จากนิตยสาร Image มีนาคม 2552
แต่เมื่อมีเงินหรือทรัพย์สมบัตถิ ึงระดับหนึง่ แล้ว แม้จะมีเงินมากขึน้ ก็ไม่ได้ทาํ ให้มี ค วามสุข เพิ่ ม ขึ้ น เลย คนอเมริ กั น และคนญี่ ปุ่ นมี ร ายได้ส ูง ขึ้ น และมี ค วาม 6
7
ความโลภอันเป็ นรากเหง้าของความชัว่ ทําให้คนเราขาดสติ หันไปยึดติดกับ สิง่ ของทีไ่ ม่จรี งั ซึง่ ไม่มผี ใู้ ดสามารถนําติดตัวไปได้เมือ่ ความตายมาพรากเราไปจากมัน ชาวสเปนจึงมีภาษิตเตือนใจบทหนึ่งว่า “ไม่มกี ระเป๋าทีผ่ า้ ตราสัง” ! ผูท้ ส่ี ะสมทรัพย์สมบัตริ าวกับว่าจะขนไปใช้ได้ชวนิ ั ่ รนั ดรในโลกหน้า จึง “โง่” จริงๆ ! พระเยซูทรงสอนบรรดาอัครสาวกว่า "จงแสวงหาแต่ทรัพย์สมบัตทิ ่ีเรา จะนําติดตัวไปยังชีวิตหน้าได้ เพราะทรัพย์สมบัติของท่านอยู่ที่ใด ใจของท่านก็ อยู่ที่นนั ่ ด้วย (มธ. 6:21)" - พระวาจาตอนนี้ เราต้องไตร่ตรองให้รอบคอบนะ อย่าไปสับสนเกี่ยวกับ ความหมายของความรํา่ รวยเที่ยงแท้ เพราะมันมี "ทรัพย์สมบัตทิ ี่เป็ นอันตราย" ที่คอยคุกคามและยัว่ ยวนเราตลอดเวลา กระนัน้ เราต้องมองไปยังทรัพย์สมบัติ ในชีวิตหน้า ไม่ใช่มองทรัพย์สมบัตใิ นชีวิตนีท้ ี่จะถูกทําลายด้วยความตาย - มีทรัพย์สมบัตเิ ดียวที่เราจะนําติดตัวไปได้ มันเป็ นทรัพย์สมบัตทิ ี่ไม่มีใครพราก ไปจากเราได้ มันคือคุณงามความดี นีค่ ือคุณงามความดีของพระเยซูคริสต์ที่มี อยู่ในตัวเรา เราต้องนําติดตัวไปด้วย - สิ่งเดียวที่พระเจ้าจะให้เรานําติดตัวไปคือความรัก, ความเมตตา, การรับใช้, ความอดทน, ความดี และความสุภาพถ่อมตน สิ่งเหล่านี้คือทรัพย์สมบัติที่ งดงามเลอค่า ทั้งหมดคือสิ่งที่เราต้องติดตัวไปเมื่อตาย สิ่งอื่น เราจะเอาไปไม่ได้ เลย - แต่กระนัน้ ทําไมเรายังคงไม่ยอมฟั งสิ่งที่พระเยซูสอนเกี่ยวกับทรัพย์สมบัติ เพราะอะไร ... ก็ เพราะ เรายังมี "ใจที่ไม่สงบ" เรายังแสวงหาสิ่งต่างๆอย่างไม่ เคยพอใจ ทัง้ ที่พระเจ้าสอนว่า ให้เราแสวงหาพระองค์ - ดังนัน้ ขอให้เราลองคิดดูว่า จิตใจของเรายังเหนือ่ ยล้าและวุ่นวายอยู่ไหม หรือ เรายังอยากแสวงหาสิ่งอื่นๆ นอกจากพระเจ้าอีก เรายังต้องการสิ่งที่สอง สาม สี่ ไปเรื่อยๆ หรือเปล่า เรายังต้องการเงินมากๆ ในบัญชีธนาคารใช่ไหม? - ถ้าใช่ หัวใจของเราก็ยังเป็ น "ใจหิน" พ่อจึงอยากเชิญเราวอนขอพระเจ้า ประทานพละกําลังให้เราไม่ย่อท้อเหน็ดเหนื่อยในการแสวงหาพระองค์ ขอพระ เจ้าเปลี่ยนจิตใจของเราด้วยเถิด! 8
ทีส่ ุด พระองค์ทรงสรุปว่า “คนทีส่ ะสมทรัพย์สมบัตไิ ว้สาํ หรับตนเองแต่ไม่เป็ น คนมังมี ่ สาํ หรับพระเจ้า ก็จะเป็ นเช่นนี้” (ลก 12:21) เศรษฐีโง่สะสมทรัพย์สมบัติไว้เพื่อใช้เอง และใช้อย่างเห็นแก่ตวั ด้วย นัน่ คือ “พักผ่อน กินดืม่ และสนุกสนาน” ทุกวันนี้ ผู้คนจํานวนมากก็ประพฤติไม่ต่างไปจากเศรษฐีโง่คนนี้ พวกเขา พยายามทํางานหนักเพือ่ จะมีรายได้เพิม่ ขึน้ จะได้มชี วี ติ ความเป็ นอยูฟ่ ุม่ เฟือยขึน้ มีมอื ถือรุน่ ใหม่ รถยนต์คนั ใหม่ บ้านหลังใหม่ ฯลฯ แต่น่าเสียดายทีค่ นเหล่านี้ “ไม่เป็ นคนมังมี ่ สาํ หรับพระเจ้า” !! ตรงกันข้าม หากเราใช้เงินทองหรือทรัพย์สมบัตอิ ย่าง “พอเพียง” คือไม่ตอ้ ง ไปพึง่ พาผูอ้ ่นื แล้ว “ให้” ส่วนทีเ่ หลือแก่ผทู้ ม่ี คี วามจําเป็ นและขัดสนมากกว่าเรา… การ “ใช้ ” ทรัพ ย์ส มบัติอ ย่า งนี้ คือ การ “สะสม” ทรัพ ย์ส มบัติเ ที่ย งแท้ใ น สวรรค์ และทําให้เราเป็ น “ผูม้ งมี ั ่ ” ในสายพระเนตรของพระเจ้า และเพือ่ จะเป็ นผูม้ งมี ั ่ ในสวรรค์ ไม่จาํ เป็ นต้องลงทุนมากมายเลย แค่น้ําเย็นสัก แก้ว หรือไปเยีย่ มเยียนผูส้ ูงอายุ คนตาบอด เด็กกําพร้า เท่านี้เราก็ได้ทําต่อพระเยซู เจ้าเองแล้ว นักบุญเปาโลระลึกถึงคําสอนประการนี้อยูเ่ สมอ ท่านจึงกล่าวว่า “การให้ย่อม เป็ นสุขมากกว่าการรับ” (กจ 20:35)
เราอยากจะมังมี ่ ในโลกนี้ แล้วยากจนในโลกหน้ า หรืออยากจะสุขทัง้ ในโลกนี้ และโลกหน้ า ก็เลือกเอาเอง !! 5
นี่จงึ เป็ นเหตุ ผลประการแรกที่ทําให้พระเยซูเจ้าไม่ทรงตําหนิการมีทรัพย์ สมบัติ แต่ทรงตําหนิ “ผูใ้ ช้” ทรัพย์สมบัตดิ ว้ ย “ความโลภ” เพราะมันเป็ นรากเหง้า ของความชัว่ จนทําให้มองไม่เห็นหัวของเพือ่ นมนุ ษย์ดว้ ยกันเอง !! ประการที่สอง เศรษฐี โง่ใช้ ทรัพย์สมบัติของตนโดยไม่คาํ นึ งถึงอนาคต ในโลกหน้ า แผนการของเขาคือ “รื้อยุง้ ฉางเก่าแล้วสร้างใหม่ให้ใหญ่โตกว่าเดิม จะได้เก็บ ข้าวและสมบัตทิ งั ้ หมดไว้ใช้ได้หลายปี เพือ่ จะได้พกั ผ่อน กินดืม่ และสนุ กสนาน” (ลก 12:18-19) เขาไม่ได้คดิ หรือมองอะไรเกินเลยไปจากโลกนี้เลย ทัง้ การพักผ่อน การกิน ดื่ม และการสนุกสนานไปวัน ๆ ล้วนแล้วแต่เป็ นเป้าหมายเฉพาะในโลกนี้เท่านัน้ มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับการสนทนาระหว่างเด็กหนุ่ มผูก้ ระตือรือร้นคนหนึ่ง กับ ชายชราผูผ้ า่ นชีวติ มาอย่างโชกโชน ดังนี้ เด็กหนุ่ม “ผมจะเรียนวิชาชีพ” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่ม “ผมจะทําธุรกิจ” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่ม “ผมจะเสีย่ งโชค” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่ม “ผมจะเก็บ เงิน เยอะ ๆ ไว้ใ ช้ย ามเกษีย ณและแก่ ชรา” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่ม “สักวัน ผมคงต้องตาย” ชายชรา “แล้วงัย ?” เด็กหนุ่มไม่มคี าํ ตอบ....!! ความคิดของเด็กหนุ่ มสะท้อนให้เห็นความคิดของเศรษฐีโง่ได้เป็ นอย่างดี เขาวางแผนและเตรียมการทุกอย่างสําหรับโลกนี้ แต่ลมื คิดไปว่ายังมีอกี โลกหนึ่งรอ คอยเขาอยู่ 4
การกินอยูอ่ ย่างฟุ่มเฟือยเป็ นอุปสรรคในการติดตามพระเจ้า “พ่ออยากจะเน้นเรื่องวัฒนธรรมแห่งความรํา่ รวย 2 อย่าง 1) วัฒนธรรมแห่ง การกินอยู่อย่างฟุ่ มเฟื อยสุขอุรา เป็ นต้นเหตุทาํ ให้เราขาดความกล้าหาญ มันทําให้ เราขีเ้ กียจ และทําให้เราเห็นแก่ตวั การกินอยู่อย่างสุขอุราทําให้เราตายด้าน มันคือ ยาชาที่ทาํ ให้เราไร้ความรูส้ ึกรูส้ า 2) ความรํา่ รวยอีกประการในยุคนีท้ ี่กีดกันเรา จากการเข้าใกล้พระเยซู ก็คือ ความลุ่มหลงในสิ่งที่ไม่ยัง่ ยืนซึ่งก็คือความรํา่ รวย ทางเงินตรา พวกเราต่างต้องการจะเป็ นนายของกาลเวลา เราต้องการมีชีวิตอยู่ แค่โลกนี้ ความรํา่ รวยแบบนีท้ าํ ให้เราไม่ได้กา้ วไปข้างหน้า”
ความมัง่ คัง่ ในทรัพย์สินและการสนใจสิ่งของทางโลกทําให้พระวาจาของ พระเจ้าไม่เติบโต ในกรณีที่เรารับใช้แต่ความรํา่ รวยหรือรับใช้แต่สิ่งของฝ่ ายโลก พระวาจาของพระเจ้าจะสูญสลายเพราะไม่ได้รบั การเอาใจใส่มากพอจากเรา - ชีวิตคนเราตัง้ อยู่บน 3 เสาหลัก ได้แก่ อดีต ปั จจุบนั และอนาคต - เสาแรกคือ "อดีต" นีค่ ือการเลือกสรรของพระเจ้า เราทุกคนสามารถพูดออกมา ได้เลยว่า "พระเจ้าทรงเลือกเรา พระองค์ทรงรักเรา พระองค์ทรงกล่าวกับเราว่า 'มาเถิด' พร้อมให้เรารับศีลล้างบาป พระองค์ทรงเลือกเราให้เดินร่วมทางไปบน ถนนคริสตชน" ในทางกลับกัน "อนาคต" เป็ นเรื่องเกี่ยวกับการก้าวไปด้วยคํามัน่ สัญญา พระเจ้าทรงสัญญากับเรา ส่วน "ปั จจุบนั " คือการตอบสนองต่อพระเจ้าผู้ ทรงความดีและทรงเลือกสรรเรา - นีค่ ือ 3 เสาหลักของเรื่องราวของความรอด แต่เมื่อจิตใจของเราได้ยินสิ่งที่พระ เยซูอธิบายเรื่องไม่มีใครรับใช้นาย 2 คนได้ เราคิดอะไร อันดับแรก เราทิ้งอดีต ตามด้วย การทิ้งอนาคต เราอยู่กบั ปั จจุบนั แบบสับสน - การเป็ นคริสตชนที่ดตี อ้ งรูเ้ รื่องทัง้ 3 เสาหลัก เราต้องรูเ้ รื่องในอดีต การรับศีล ล้างบาปคือการที่เราได้รับเลือกด้วยความรักจากพระเจ้า ส่วนปั จจุบัน เรามีพระ บิดาที่สง่ เราให้กา้ วไปบนถนนสายคริสตชนที่ดแู ลเรา ส่วนอนาคตคือช่วงเวลาแห่ง ความชืน่ ชมยินดี เพราะเรากําลังก้าวไปสูพ่ นั ธสัญญา ขอบคุณข้ อมูลจาก Pope Report 9
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 18 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 4 สิ งหาคม ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี ส. 3 ส.ค. 18.00 น.
รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว ร็ อค มาโนชย์ สุ นพิชยั , ครอบครัวนิลกําแหง อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เปโตร จือเซี ย แซ่อ้ ึง, อันนา เซี ยน แซ่เจา มารี อา กิมง้อ แซ่ลิ้ม, ยอแซฟ เซี้ ยะกุย แซ่หวม สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช เทเรซา เทรัตน์ ประกอบกิจ คุณสนิท ศตัษฐเสถียร วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 4 ส.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ คุณวราพร เจนใจ และครอบครัว ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ ครอบครัวสุ ทธิโอภาส, ครอบครัวรัตนบรรณสกุล ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวเพียรช่างคิด ครอบครัวลิ้มจิตรกร, ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์ ทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, ผูล้ ่วงลับสกุลสาธรกิจและธนะสาร คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสต์ เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสารและสาธรกิจ ดอมินิโก สวัสดิ์ อู๋สวัสดิ์, โรซา สมจิตร อู๋สวัสดิ์ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ คุณพัสฬัสษ์ วราเปล่งสิ นทวี
10
ผู้ขอมิสซา มาลินี เริ งจิต สมใจ สุ รศักดิ์ อมรา ณัฐวรรณ คค.ศรี เจริ ญ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ วราพร วิภาวินี อัญชลี
- แล้วฉั นจะพูดกับตนเองว่า “ดีแล้ว เจ้า(ฉั น)มีทรัพย์สมบัตมิ ากมายเก็บไว้ ใช้ได้หลายปี (ฉัน)จงพักผ่อน กินดืม่ และสนุกสนานเถิด” (ลก 12:19) ไม่มคี ําอธิบายอื่นนอกจากว่าในหัวของเศรษฐีผนู้ ้ีมแี ต่ “ตัวเอง” เต็มไปหมด เขาไม่มี “คนอืน่ ” อยูใ่ นความรูส้ กึ นึกคิดหรือจิตใจของเขาเลย โลกของเขาแคบนิดเดียว ทิศเหนือของเขาติดต่อกับ “ตัวเอง” ทิศใต้กต็ ดิ กับ “ตัวเอง” ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกก็ตดิ กับ “ตัวเอง” อีกเช่นกัน ด้วยเหตุน้ี พระเยซูเจ้าจึงตรัสเตือนทุกคนว่า “จงระวังและรักษาตัวไว้ให้พ้น จากความโลภทุกชนิ ด” (ลก 12:15) ซึง่ นักบุญเปาโลได้นํามาขยายความเพิม่ เติมว่า “การรักเงินทองเป็ นรากเหง้าของความชัวทั ่ ง้ หมด ความโลภเงินทองทําให้บางคนหลง ไปจากความเชือ่ และตรอมตรมด้วยความทุกข์มากมาย” (1 ทธ 6:10) ชาวโรมันจึงมีภาษิตสอนใจบทหนึ่งว่า “เงินทองเปรียบเหมือนนํ้าทะเล ยิง่ ดืม่ มากก็ยงิ ่ กระหายมาก” เพื่อดับความกระหาย พระเยซูเจ้าทรงสอนว่า “ถ้าผูใ้ ดอยากตามเรา ก็จงเลิก คิดถึงตนเอง” (มธ 16:24) และ “ท่านทําสิง่ ใดต่อพีน่ ้องผูต้ ํา่ ต้อยทีส่ ุดของเราคนหนึง่ ท่านก็ทาํ สิง่ นัน้ ต่อเรา” (มธ 25:40) นันคื ่ อ จงคิ ดถึงตนเองให้น้อยลง แล้วคิ ดถึงคนอืน่ ให้มากขึ้น ! มีนกั เทววิทยาชาวอังกฤษผูห้ นึ่งนามว่า John Wesley (28 มิถุนายน 1703 – 2 มีนาคม 1791) เขามุ่งมันดํ ่ าเนินชีวติ ตามหนทางของพระเยซูเจ้าด้วยการประหยัด อย่างสุดความสามารถเพื่อจะได้เหลือเงินไว้ “ให้” ผูอ้ ่นื มากเท่าที่จะเป็ นไปได้ เมื่อ เริม่ ต้นทํางานใหม่ ๆ เขามีรายได้ 30 ปอนด์ต่อปีจงึ เก็บไว้ใช้ 28 ปอนด์และเหลือไว้ให้ ผู้อ่ืน 2 ปอนด์ ต่ อ มารายได้ข องเขาเพิ่ม ขึ้น เป็ น 60, 90 และ 120 ปอนด์ต่ อ ปี ตามลําดับ แต่ เขายังคงเก็บเงินไว้ใช้จ่ายส่ว นตัว ปี ล ะ 28 ปอนด์เ ท่าเดิมเพื่อจะได้ ช่วยเหลือผูข้ ดั สนมากขึน้ ช่างแตกต่างกันเหลือเกินกับเศรษฐีโง่ ซึ่งแทนที่จะดําเนินชีวติ ด้วยการสละ ตนเอง แล้วช่วยเหลือเกือ้ กูลเพือ่ นมนุษย์ทข่ี ดั สน เขากลับเดินสวนทางกับคําสอนของ พระเยซู เ จ้า ด้ว ยการยืน ยัน ความเป็ น “ตัว ตน” หรือ “อัต ตา” ของตนเองอย่า ง ก้าวร้าวและน่าเกลียดทีส่ ดุ 3
สั ปดาห์ ที่ 18 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
ลก 12:13-21
วัน เดือน ปี อา 4 ส.ค. 08.00 น.
อา 4 ส.ค. 10.00 น.
เป็ นประเพณีของชาวยิวทีจ่ ะนํ าปญั หาหรือข้อขัดแย้งไปให้รบั บีเป็ นผูต้ ดั สิน น้องผูข้ ดั แย้งกับพีช่ ายเรื่องมรดกจึงนํ าปญั หาของตนมาให้พระเยซูเจ้าตัดสินชี้ขาด แต่พระองค์ทรงปฏิเสธทีจ่ ะเข้าไปยุง่ เกีย่ วกับความขัดแย้งเรื่องทรัพย์สมบัติ ทรงตรัส ว่า “มนุ ษย์เอ๋ย ใครตัง้ เราเป็ นผูพ้ พิ ากษาหรือเป็ นผูแ้ บ่งมรดกของท่าน” (ลก 12:14) เพราะ “ชีวติ ของคนเราไม่ขน้ึ กับทรัพย์สมบัต”ิ (ลก 12:15) พร้อมกันนัน้ ทรงยกอุปมาเรือ่ ง “เศรษฐีโง่” ขึน้ มาเพือ่ ชีใ้ ห้เห็นทัศนคติทค่ี ริสต ชนพึงมีต่อ “ทรัพย์สมบัตแิ ละสิง่ ของของโลกนี้” จะเห็นว่าไม่มตี อนใดเลยในอุปมาที่พระองค์ทรงตําหนิติเตียนที่ดนิ พืชผล ข้าว ยุ้งฉาง หรือทรัพย์ส มบัติมากมายของเศรษฐี แต่ เป็ น “ตัว เศรษฐี” นัน่ เองที่ พระองค์ทรงตําหนิวา่ “คนโง่เอ๋ย” (ลก 12:20) เท่ากับว่าตามทัศนะของพระเยซูเจ้า ทรัพย์สมบัติไม่ใช่สิง่ ชัวร้ ่ าย แต่สงิ่ ที่ ชัวร้ ่ ายคือ ผูท้ ีใ่ ช้ทรัพย์สมบัติเยีย่ ง “เศรษฐีโง่” ผูน้ นั ้ ! คําถามคือ เศรษฐีใช้ทรัพย์สมบัตอิ ย่างไรจึงถูกตําหนิวา่ โง่ ??? ประการแรก เศรษฐีโง่ใช้ทรัพย์สมบัติของตนโดยมองไม่เห็นหัวคนอืน่ ไม่มอี ุปมาเรือ่ งใดจะมีคาํ ว่า “ฉัน” หรือ “ของฉัน” มากเท่าอุปมาเรื่องเศรษฐีโง่ นี้ เมือ่ ทีด่ นิ ของเขาให้ผลผลิตดีมาก เขาจึงคิดว่า - “ฉันจะทําอย่างไรดี ฉันไม่มที พี ่ อจะเก็บพืชผลของฉัน” (ลก12:17) - “ฉันจะทําอย่างนี้ จะรื้อยุง้ ฉางเก่าแล้วสร้างใหม่ให้ใหญ่โตกว่าเดิม จะได้เก็บข้าวและสมบัตทิ งั ้ หมดไว้” (ลก 12:18) 2
รายการมิสซา ยอแซฟ เกียจัว๊ แซ่คู, อันนา เย็น เอี้ยพิน ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน ยอแซฟ สุ ชารี ย ์ แสงหาญ, มารี อา ธันยพร ศศิสุวรรณ ยอแซฟ ปัณณธร, ยอแซฟ ภัทรกร แสงหาญ อนัสตาซี อา ประนอม กาญจนธานินทร์ มีคาแอล ชวลิต ไมตรี ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว เปโตร ธนกร กวีมานนท์ คุณต่อศักดิ์, คุณทนงศักดิ์ คุณวรณัน รักอารมณ์, คุณลาวรรณ ลิขิตทรัพย์ อุทศิ แด่ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน, มารี อา มยุรี ผลาวงศ์ มัทธิ ว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต, Thomas Adams เรนาโต ประพาฬ รักอารมณ์ ฟิ ลิป ประกาย, อันนา จิ๋ม รักอารมณ์ ยอแซฟ ไล้, เทเรซา สงวน แซ่ล้ ี ยอแซฟ ธวัชชัย ตรี สินธุรส และญาติผลู้ ่วงลับ เปโตร เหลี่ยน ฮว่าง วัน, มารธา เฮียน ฮว่าง ถิ เทเรซา เทรัตน์ ประกอบกิจ คุณทองคํา ดิโพ ฟรังซิ สโก วิจิตร กาญจนธานินทร์ คาทารี อา วงศ์ประยูร เทวารุ ทธ, คุณเส่ ง วชิรจุติพงศ์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง
ผู้ขอมิสซา คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ วิไลวรรณ ธันยพร ธันยพร วิษณุ อัญชลี ธนกร ลาวรรณ ลาวรรณ คค.อุชชิน คค.อุชชิน คค.อุชชิน ลาวรรณ ลาวรรณ ลาวรรณ รสสุ คนธ์ ธนกร ครอบครัว วิษณุ วิษณุ 11
จ. 5 ส.ค. อุทศิ แด่ อ. 6 ส.ค. สุ ขสํ าราญ พ. 7 ส.ค. อุทศิ แด่ พฤ.8 ส.ค. อุทศิ แด่ ศ. 9 ส.ค. อุทศิ แด่
คาทารี นา ริ รินทร์ จิระดํารง ครอบครัวง้วน ศรี สุข คุณง้วน ศรี สุข วิญญาณในไฟชําระ ฟี เดส จิตรา ดารุ ทยาน
อมรา สุ พร สุ พร อมรา
ฉบับที่ 486 วันอาทิตย์ที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 2013
สั ปดาห์ ที่ 18 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์หน้า (11 สิ งหาคม ศกนี้ ) เป็ นวันแม่ของวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ขอเชิ ญพี่
น้องร่ วมแสดงกตัญญุตาต่อ “คุณแม่ ” ระหว่างมิสซา 10.00 น. และขอเชิญร่ วมกิจกรรมวันแม่ o หลังมิสซา ณ ศาลาปี ติการุ ณย์ พบกับกิจกรรมเที่ยงทิพย์ เกมสานสัมพันธ์ แม่-ลูก และรับประทานอาหารร่ วมกัน o เวลา 12.30 น. ณ วัดน้อย ขอเชิ ญ “คุณแม่” และพี่น้องผูร้ ักสุ ขภาพทุกท่าน ร่ วมเสวนาด้านสุ ขภาพเรื่ อง “เราวัดความดันไปทําไม” โดยวิทยากรรับเชิญ นายแพทย์ ณั ฐ วุ ฒิ โตวนํา ชัย แพทย์ผู ้เ ชี่ ย วชาญประจํา หน่ ว ยโรคไต โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และเรื่ อง “ผูห้ ญิงกับมะเร็ ง.. ทําอย่างไรให้ไกลกัน” โดย แพทย์หญิง กนกพิศ โตวนําชัย แพทย์ผเู ้ ชี่ ยวชาญจากหน่ วยรังสี วิทยา และมะเร็ งวิทยา โรงพยาบาลภูมิพล อดุลยเดช อนึ่ ง “คุณแม่ ” ท่ านใดประสงค์ สมัครเป็ นผู้ช่วยมิ สซาในพิ ธีมิสซา 10.00 น. โปรด ติดต่ อกลุ่มพิธีกรรมภายในวันอาทิตย์ นี้ วันอาทิตย์ที่ 18 สิ งหาคม ศกนี้ เป็ นวันสมโภชพระนางมารี ยร์ ับเกียรติยกขึ้นสวรรค์ ทั้งกายและวิญญาณ ขอเชิ ญพี่นอ้ งร่ วมแห่ เทิดเกียรติแม่พระหลังมิสซา 10.00 น. และรับ สมัครหญิงสาวที่มีความสู ง 155-165 ซ.ม. จํานวน 6 ท่านเพื่อแบกบุษบกแม่พระ ผูส้ นใจ โปรดติดต่อกลุ่มพิธีกรรม หรื อที่สาํ นักงานวัด 12
จงระวังและรักษาตัวไว้ ให้ พ้นจากความโลภทุกชนิด ลก 12:15