ฉบับที่ 491 วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2013
ฉบับที่ 491 วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2013
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
ทุกท่ านทีไ่ ม่ ยอมสละทุกสิ่ งทีต่ นมีอยู่กเ็ ป็ นศิษย์ ของเราไม่ ได้
ทุกท่ านทีไ่ ม่ ยอมสละทุกสิ่ งทีต่ นมีอยู่กเ็ ป็ นศิษย์ ของเราไม่ ได้
ลก 14:33
ลก 14:33
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
ลก 14:25-33
วัน เดือน ปี อา 8 ก.ย. 08.00 น.
อา 8 ก.ย. 10.00 น.
“ประชาชนจํานวนมากกําลังเดินไปกับพระเยซูเจ้า” โดยมีจุดหมายปลายทาง อยูท่ ก่ี รุงเยรูซาเล็ม (ลก 14:25) พระองค์ทรงตระหนักดีวา่ ไปกรุงเยรูซาเล็มก็คือไปตายบนไม้กางเขน ! แต่ประชาชนทีต่ ดิ ตามพระองค์ไม่ได้คดิ เช่นนัน้ พวกเขาคิดว่าพระองค์กําลัง เสด็จไปกรุงเยรูซาเล็มเพื่อรวบรวมกําลังพลสําหรับกอบกูเ้ อกราชจากโรม และทําให้ ชนชาติยวิ กลับมายิง่ ใหญ่เกรียงไกรเหมือนในยุคสมัยของกษัตริยด์ าวิด บรรพบุรุษ ของพระองค์ พระองค์จงึ ต้องเปลีย่ นความคิดของพวกเขาด้วยการตรัสว่า “ถ้าผูใ้ ดติดตาม เราโดยไม่รกั เรามากกว่าบิดามารดา ภรรยา บุตร พีน่ ้องชายหญิง และแม้กระทังชี ่ วติ ของตนเอง ผูน้ นั ้ เป็ นศิษย์ของเราไม่ได้ ผูใ้ ดไม่แบกกางเขนของตนและติดตามเรา ผู้ นัน้ เป็ นศิษย์ของเราไม่ได้เช่นเดียวกัน” (ลก 14:26-27) หลายคนอาจบ่นว่าพระวาจานี้ “กระด้าง” จัง ใครจะฟงั ได้ ?! ซํ้ า ร้า ยไปกว่ า นั น้ ต้ น ฉบับ ภาษากรีก ใช้คํ า miséō (มีแ ซโอ) ซึ่ง แปลว่ า “เกลียด” ดังนัน้ หากแปลตามต้นฉบับเราจะได้ความว่า “ถ้าผู้ใดติดตามเราโดยไม่ เกลียดบิดามารดา ภรรยา บุตร พีน่ ้องชายหญิง และแม้กระทังชี ่ วติ ของตนเอง ผูน้ ัน้ เป็ นศิษย์ของเราไม่ได้” และเพราะมีบางคนตีความตามตัวอักษรเช่นนี้เอง ศาสนาคริสต์จงึ ตกเป็ น จําเลยของสังคมในข้อหาสอนให้เกลียดชังบิดามารดาของตน 2
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา อุทศิ แด่ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บุญเลิศ บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ บุญเลิศ ยอแซฟ ภิรมย์, โยเซฟิ น รัตนา, ยวง พิสิษฐ์ พันธุมจินดา คุณวิรัช พุทธโกษา วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง บุญเลิศ สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ หมื่นโยธา/อัญชลี สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน มาลินี ผูส้ ูงอายุและผูเ้ กิดเดือนกันยายนทุกท่าน ชมรมผูส้ ูงอายุ มารี อา อุมาศิริ, คุณชุลี จันทรานุวฒั น์ เทเรซา วรกานต์ พร้อมเจริ ญวัฒนา มารี อา คุณจิณห์จุฑา กิตติศิลป์ ภาณุฉตั ร ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้วและครอบครัว มารี อา จิตรา ประภาพร, เทเรซา สุ พตั รา เพื่อน/เทปุระ มารี อา ชัชวลี, มีคาแอล ชวลิต ไมตรี ครอบครัว อันนา หวล คีรีโชติ ครอบครัวรักอารมณ์, ครอบครัวลิขิตทรัพย์ ลาวรรณ อุทศิ แด่ เปาโล ฟื้ น, อันนา เสถียร, ลูซีอา ไพเศียร วรรณสาย มารี อา ต้ายไถ่ แซ่โฮ่ ภวิกา, พิสิษฏ์ คุณประเสริ ฐ, คุณณรงค์, คุณกิมจัว๊ มรุ ตกรกุล (นพรัตน์) นพรัตน์ เปโตร ฟรอ เหงี่ยน วัน, มารธา ประไพร บุญเลิศ สมชัย เรนาโตประพาฬ, ฟิ ลิป ประกาย, อันนา จิ๋ม รักอารมณ์ ลาวรรณ ยอแซฟ ไล้, เทเรซา สงวน แซ่ล้ ี เปโตร อัครวุฒิ เลาหบุตร, หลุยส์ พิชยั เจริ ญสุ ข เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ วิไลวรรณ ผูล้ ่วงลับครอบครัวโรจนอําไพ และจิระวันชัยกุล สมาชิกชมรมผูส้ ูงอายุที่ล่วงลับไปแล้ว ชมรมผูส้ ู งอายุ นาธาน/อิสอัคร วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง 11
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี ส. 7 ก.ย. 18.00 น.
รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อันโตนีโอ จํารู ญ พรสัจจา เทเรซา วรกานต์ และครอบครัวพร้อมเจริ ญวัฒนา อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช เทเรซา กัญญา สิ นติโยธิน, คุณจริ ต เกษมสุ ข คุณพณพล ยุววัฒน์, คุณทองดี ดิโพ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 8 ก.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ เปาโล ปริ ญญา ธนาพานิชย์ มารี อา พีรวัลย์ วีระวัฒนาเดช อันโตนีโอ จํารู ญ พรสัจจา, ครอบครัวพันธุมจินดา ครอบครัวคุณวราพร เจนใจ, ครอบครัวคุณเสรี อู๋สวัสดิ์ ครอบครัวโกวงศ์ และครอบครัวตันติโกสิ ชฌน์ ครอบครัวธนะสาร, สาธรกิจ, รัตนบรรณสกุล ครอบครัวลิ้มจิตรกร, เตรี ยมวิชานนท์, เพียรช่างคิด ครอบครัวเขม้นงาน, สุ ทธิโอภาส, ทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสต์ เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสารและสาธรกิจ Maria Vanna Xavier, Marcellina Marasri Xavier ดอมินิกโก สวัสดิ์, โรซา สมจิตร อู๋สวัสดิ์
10
ผู้ขอมิสซา วิชชุลดา มารี อา เริ งจิต ชุมพล วรรณสาย คค.ศรี เจริ ญ บุญเลิศ วราพร ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ วิภาวินี ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ วราพร
อัน ที่จริง นี่ คือ เสน่ ห์ข องภาษาฮีบ รู และภาษาทางตะวัน ออกอื่น ๆ ที่นิ ย ม พูดจาให้ “เห็นจริ งเห็นจัง” มากทีส่ ดุ เท่าทีส่ ติปญั ญาของมนุษย์จะจินตนาการได้ คํา “เกลียด” จึงถูกนํ ามาใช้เพื่อให้ผฟู้ งั เกิดจินตนาการชนิดเห็นจริงเห็นจังว่า “หากผูใ้ ดไม่พร้อมสละทุกสิง่ ทีต่ นรัก รวมถึงหนทางสูอ่ าํ นาจและความยิง่ ใหญ่ทางโลก เพือ่ มาร่วมชะตากรรมแบบเดียวกับทีพ่ ระเยซูเจ้ากําลังจะได้รบั ในกรุงเยรูซาเล็ม ผูน้ นั ้ ย่อมเป็ นศิษย์ของพระองค์ไม่ได้” คํา “เกลียด” ในทีน่ ้ีบ่งบอกถึง “การไม่มีพนั ธะผูกพัน” เพื่อเราจะเป็ นอิสระ ั่ ในการร่วมชะตากรรม “แบกกางเขน” กับพระเยซูเจ้า หาได้มเี จตนายุยงปลุกปนให้ ผูห้ นึ่งผูใ้ ดเกลียดชังบิดามารดา ภรรยา บุตร หรือพีน่ ้องชายหญิงของตนแต่ประการใด ไม่ !!! นอกจากจะเป็ นวิธพี ูดเพื่อให้เห็นจริงเห็นจังแล้ว เหตุผลอีกประการหนึ่งก็คอื พระคัมภีรใ์ ช้คาํ “เกลียด” เพือ่ หมายถึง “รักน้อยกว่า” เท่านัน้ เอง ตัวอย่างเห็นได้จากการใช้คาํ sanē’ (ซาเน) ในภาษาฮีบรู และ miséō (มีแซโอ) ในภาษากรีก ซึง่ ต่างก็แปลว่า “เกลียด” เหมือนกัน กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิของบุตรคนแรกกําหนดไว้ว่า “ถ้าชายผูห้ นึง่ มีภรรยา สองคน รัก คนหนึ ่ง มากกว่ า อีก คนหนึ ง่ และทัง้ สองคนคลอดบุ ต รชายให้เ ขา แต่ บุตรชายคนแรกเป็ นบุตรของภรรยาทีเ่ ขารักน้อยกว่า (sanē’ - miséō) เมือ่ ชายนัน้ จะ แบ่งทรัพย์สมบัตใิ ห้บุตร เขาต้องไม่คดิ ว่าบุตรของภรรยาทีเ่ ขารักมีสทิ ธิเป็ นบุตรคน แรกแทนบุตรคนแรกแท้จริงทีเ่ ป็ นบุตรของภรรยาทีเ่ ขารักน้อยกว่า (sanē’ - miséō) แต่เขาต้องรับว่าบุตรของภรรยาทีเ่ ขารักน้ อยกว่า (sanē’ - miséō) เป็ นบุ ตรคนแรก และต้องแบ่งทรัพย์สิน ให้บุ ต รคนแรกนี้ เ ป็ น สองเท่า ของทรัพย์สินทีใ่ ห้แก่บุ ต รจาก ภรรยาทีเ่ ขารัก เพราะบุตรคนนี้เป็ นผลแรกจากความหนุ่มของเขา และมีสทิ ธิของบุตร คนแรก” (ฉธบ 21:15-17) หากเราแปล sanē’ (ซาเน) หรือ miséō (มีแซโอ) ตามตัวอักษรคือ “เกลียด” แทนคําว่า “รักน้อยกว่า” ย่อมเท่ากับว่าชาวยิวถูกบังคับให้ยกทรัพย์สมบัตถิ งึ สองเท่า ให้แก่ลกู ของคนทีต่ นเกลียดชัง ซึง่ ถือว่าผิดธรรมชาติอย่างยิง่ 3
เพราะฉะนัน้ เมื่อพระเยซูเจ้าตรัสว่า “ถ้าผูใ้ ดติดตามเราโดยไม่รกั เรามากกว่า บิดามารดา ภรรยา บุตร พีน่ ้องชายหญิง และแม้กระทังชี ่ วติ ของตนเอง ผูน้ นั ้ เป็ นศิษย์ ของเราไม่ได้” จึงบ่งบอกวัตถุประสงค์ 2 ประการด้วยกัน กล่าวคือ หนึ่ง ให้เรา “รักผูอ้ นื ่ น้ อยกว่าพระองค์” เพื่อจะเป็ นอิสระจากพันธะทัง้ ปวง และสามารถดําเนินชีวติ เหมือนพระองค์ได้ สอง ให้เรา “รักพระองค์มากกว่าผูอ้ นื ่ ” ซึง่ หากฟงั ผ่าน ๆ ดูเหมือนพระองค์จะ เห็นแก่ตวั อย่างยิง่ ! แต่พระองค์ตรัสเช่นนี้กเ็ พราะทรงปรารถนาดีและทรงรักเราจริง เพราะความ รักตามประสามนุ ษย์ย่อมมี “ความเห็นแก่ตวั ” เจือปนอยู่ดว้ ยไม่มากก็น้อย คงไม่มี ใครกล้าปฏิเสธว่า ชายหญิงที่บอกว่ารักกันปานจะกลืนกินนัน้ จริง ๆ แล้วต่างฝ่าย ต่างก็คดิ ถึงความสุขและความมันคงของตนเองเป็ ่ นทีต่ งั ้ ด้วยกันทัง้ นัน้ ต่อเมื่อเรารักพระเยซูเจ้าเหนืออื่นใด ความรักแบบ agapē (อากาเป) ของ พระองค์จะเปลีย่ นความรักทีเ่ จือปนด้วยความเห็นแก่ตวั ของเราให้เป็ นความรักทีม่ แี ต่ “ให้” และคิดคํานึงถึงความดีและความสุขสูงสุดของผูอ้ ่นื เป็ นทีต่ งั ้ เมือ่ ต่ า งคนต่ า งคิด ถึง ผู้อืน่ ก่ อ นเช่ น นี้ ครอบครัว ที ม่ ี พ ระเยซู เ จ้ า เป็ น ศูนย์กลางจึงมีความมันคง ่ และดํารงอยู่ในความรักเป็ นนิ ตย์ ! นอกจากทรงปรารถนาให้เรารักพระองค์มากกว่าผูอ้ ่นื แล้ว พระองค์ยงั ตรัส ต่อไปอีกว่า “ผูใ้ ดไม่แบกกางเขนของตนและติดตามเรา ผูน้ ัน้ เป็ นศิษย์ของเราไม่ได้” ซึง่ บ่งบอกว่า ไม่ใช่ทุกคนทีเ่ ดิ นตามพระองค์จะเป็ นศิ ษย์ของพระองค์ !! ดุจเดียวกับชาวยิวจํานวนมากที่เดินตามพระองค์ไปกรุงเยรูซาเล็มโดยไม่รู้ วัตถุประสงค์ของพระองค์ และไม่พร้อมจะแบกกางเขนร่วมกับพระองค์ พวกเขาเป็ นได้เพียงผูต้ ดิ ตาม แต่หาได้เป็ นศิษย์ของพระองค์ไม่ น่ าเสียดายที่ปญั หาของชาวยิวเมื่อสองพันปี ก่อน ยังคงเป็ นปญั หาของเรา ตราบจนทุกวันนี้ นัน่ คือมีผรู้ บั ศีลล้างบาปเข้าเป็ นสมาชิกของพระศาสนจักรคาทอลิก มากมายทัวโลก ่ แต่มสี กั กีค่ นทีเ่ ป็ นศิษย์ของพระเยซูเจ้าจริง ๆ ? 4
ตรีวาร วันพฤหัสบดีที่ 12 และวันศุกร์ ที่ 13 กันยายน 2013 ณ วัดน้ อย 18.00 น. สวดสายประคําและบทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า (ภาษาอังกฤษ) 18.30 น. สวดสายประคํา (ภาษาไทย) 19.00 น. มิสซา วันเสาร์ ที่ 15 กันยายน 2013 ณ วัดใหญ่ 17.00 น. สวดสายประคําและบทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า (ภาษาอังกฤษ) 17.30 น. สวดสายประคํา (ภาษาไทย) 18.00 น. มิสซา
วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน 2013 วันฉลองแม่ พระเปนญาฟรานช่ า ณ วัดน้ อย 08.00 น. สวดสายประคํา บทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า และบทภาวนาต่อพระพักตร์ศกั ดิ์สิทธิ์ 08.30 น. ตั้งศีลมหาสนิท และรําพึงพระวาจา 09.30 น. อวยพรศีลมหาสนิท 09.55 น. อัญเชิญพระรู ปแม่พระเปนญาฟรานช่าไปยังประตูวดั ใหญ่ ณ วัดใหญ่ 08.00 น. มิสซาเช้า 10.00 น. มิสซาฉลองแม่พระเปนญาฟรานช่า แห่และถวายช่อดอกไม้แด่แม่พระเปนญาฟรานช่า หลังมิสซา ขอเชิญรับประทานอาหารเที่ยงร่ วมกัน
9
ความรักของพระเจ้านัน้ ไม่มขี อบเขตจํากัด ความรักของพระเจ้าไม่อาจวัดและไม่อาจหยัง่ ความลึกได้ ความรักนีแ้ สดงให้เห็นโดยการทีพ่ ระองค์เจริญชีวิตและสิ้นพระชนม์ทา่ มกลางเรา บัดนี้ ให้เราหมุนภาพนัน้ กลับข้าง จะต้องไม่มขี อบเขตจํากัดสําหรับความรักของเรา ให้เราเป็ นผูร้ บั เอาความรักของพระองค์ที่ไม่เป็ นที่ตอ้ งการของใคร กล่าวคือ ความรักของพระเจ้าที่มนุษย์ทงั้ หลายไม่ยอมรับนัน้ เวลานี้ ให้เราคิดถึงความรักของพระเจ้าที่ทรงมีตอ่ ท่านและต่อดิฉนั ความรักของพระองค์นนั้ อ่อนโยนยิ่งใหญ่เป็ นจริง มีชวี ิตชีวาจนพระเยซูเสด็จมาสอนเราถึงความรักนัน้ สอนถึงวิธีที่จะ “รัก” ความรักนัน้ มิใช่เกาะแข็งเป็ นก้อน แต่ความรักนัน้ มีชวี ิตชีวา กิจการแห่งความรักและการประกาศความรักเป็ นหนทางสูส่ นั ติสขุ ความรักนีเ้ ริ่มต้นที่ไหน ? ก็จากกลางใจของเรานัน่ แหละ เราต้องรูว้ ่าเราถูกสร้างมาเพื่อสิ่งที่ยิ่งใหญ่กว่า มิใช่เพียงเพื่อเป็ นสมาชิกจํานวนหนึง่ ในโลกนี้ มิใช่เพื่อมารับประกาศนียบัตรหรือปริญญาใด ๆ มิใช่มาเพื่อทํางานนีห้ รืองานนัน้ เราถูกสร้างมาก็เพื่อรักและได้รบั ความรักเท่านัน้
อย่างไรก็ตาม ก่อนทีจ่ ะหันไปดูคนรอบข้างว่าเป็ นศิษย์ของพระเยซูเจ้า หรือ เป็ นเพียงผู้ผ่านการรับศีลล้างบาปเท่านัน้ เราต้องตรวจสอบตัวเราเองก่อนว่า “ได้ มาตรฐานหรือไม่ ?” มาตรฐานในการเป็ น “ศิ ษ ย์ข องพระเยซู เ จ้ า ” มี 2 ประการคือ “แบก กางเขน” และ “ติ ดตามพระองค์” (ลก 14:27) กางเขนเป็ นสิง่ ทีช่ าวยิวซาบซึง้ ถึงความร้ายกาจของมันเป็ นอย่างดี เมื่อยูดาส ชาวกาลิลกี ่อการกบฏ แม่ทพั โรมันชื่อวารูสได้ตรึงกางเขนชาวยิวสองพันคนเรียงราย สองข้างทางสูแ่ คว้นกาลิลี “กางเขน” คือฝนั ร้ายและความอัปยศอดสูอย่างยิง่ สําหรับชาวยิว แต่พระเยซูเจ้าทรงเลือก “กางเขน” ทีช่ าวยิวถือว่าร้ายกาจและน่ าอัปยศอดสู อย่างยิง่ นี้ เพื่อจะบอกว่าความรักและความปรารถนาของพระองค์ทจ่ี ะทําให้เรามนุ ษย์ เป็ น “วีรบุรษุ ” และได้รบั “พระสิรริ งุ่ โรจน์” นัน้ ยิง่ ใหญ่ไพศาลเพียงใด !!! ไม่มผี ูใ้ ดเป็ น “วีรบุรุษ” หากไม่ผ่าน “สงคราม” ฉันใด ก็ไม่มผี ูใ้ ดได้รบั “พระ สิ ริร่งุ โรจน์ ” หากไม่ผา่ น “กางเขน” ฉันนัน้ สงครามยิง่ รุนแรง ความเป็ นวีรบุรษุ ยิง่ มีความหมายมากขึน้ ฉันใด กางเขนยิง่ หนักและยิง่ อัปยศอดสู พระสิรริ งุ่ โรจน์กย็ งิ่ เพิม่ มากขึน้ ฉันนัน้ ! “กางเขน” คือ ความทุ กข์ย ากลํา บากต่ าง ๆ ซึ่ง ยิ่งต่ อ สู้แ ละฟนั ฝ่า ได้ม าก เท่าใด ก็ยงิ่ ทําให้เราแข็งแกร่งและพร้อมรับมือกับความทุกข์ยากแสนสาหัสได้มากและ หนักขึน้ เท่านัน้ จนว่าจะมีสกั วันหนึ่งทีเ่ ราไม่เกรงกลัวความทุกข์ยากใด ๆ อีกต่อไป แม้แต่ความตายเองก็ตาม ่ สูงสุดในชีวติ ของผูเ้ ป็ น เมื่อไม่กลัวก็มคี วามมันคง ่ และนี่คอื “ความมันคง” “ศิ ษย์พระเยซูเจ้า” !! อีกมาตรฐานหนึ่งคือการ “ติ ดตามพระองค์” ด้วยการเลิกนึกถึงตนเอง ละทิง้ ตนเอง และควบคุม “อัตตา” ของตนเองให้ได้ เพราะหาไม่แล้วเราคงตกเป็ น “ทาส” ของตัวเองและหมดหนทางทีจ่ ะเป็ นอิสระเพือ่ ติดตามพระองค์
จากข้ อคิดข้ อรําพึงตลอดปี คุณแม่ เทเรซา แห่ งกัลกัตตา
8
5
มีบางคนคิดว่าการติดตามพระเยซูเจ้าเป็ นเรื่องของผู้ท่มี กี ระแสเรียกเป็ น พระสงฆ์และนักบวชเท่านัน้ แต่จริง ๆ แล้วการติดตามพระองค์เป็ นเรื่องของเรา คริสตชนทุกคน เพราะการติดตามพระเยซูเจ้าคือการ “คิ ดเหมือนพระเยซูเจ้า ปรารถนา เหมือนพระเยซูเจ้า และดําเนิ นชีวิตเหมือนพระเยซูเจ้า” ! ยิง่ ดําเนินชีวติ เหมือนพระองค์มากเท่าใด อัตตาของเราก็จะยิง่ ลดน้อยลงและ พระองค์จะยิง่ ครองราชย์ในตัวเราได้มากขึน้ เท่านัน้ หากพระองค์ทรงครองราชย์ในตัวเราก็เท่ากับว่าพระอาณาจักรของพระเจ้า ได้รบั การสถาปนาขึน้ ในตัวเราแล้ว เราเป็ นสมาชิกของพระอาณาจักรสวรรค์ตงั ้ แต่ใน โลกนี้แล้ว !!!
พระองค์ไม่ประสงค์ใช้ “คําหวาน ๆ” หลอกล่อให้เราหลวมตัวมาเป็ นศิษย์ของ พระองค์ แต่ทรงจริงใจทีจ่ ะบอกเราว่า “ยากนะทีจ่ ะเป็ นศิษย์ของพระองค์ เพราะต้อง สละทุกสิง่ ทีเ่ รารัก ไม่เว้นแม้กระทังชี ่ วติ ของตนเอง ดังนัน้ จงคิ ดให้รอบคอบ” แต่ “รอบคอบ” ไม่ใช่ “ท้อแท้”… เราต้องไม่ทอ้ แท้เพราะพระองค์ตรัสสังให้ ่ เรา “แบกกางเขนติดตามพระองค์” ไม่ใช่ให้เรา “แบกกางเขนตามลําพัง” ความหมายของพระองค์ช ดั เจนคือ พระองค์จ ะไม่ท รงทอดทิ้ง เราให้แ บก กางเขนหรือเผชิญหน้ากับชะตากรรมตามลําพัง แต่จะทรงก้าวไปพร้อมกับเราทุก ก้าว
ขอเพียงเรารับคํา “ท้าทาย” และกล้าทุม่ เท “เกหมดหน้ าตัก” เท่านัน้ ... !!! นอกจากทรงเรียกร้อ งให้เ ราเป็ น “ศิษ ย์ข องพระองค์” ไม่ใ ช่แ ค่ “เดิน ตาม พระองค์” แล้ว พระองค์ยงั ทรงเตือนเราให้ “คิ ดอย่างรอบคอบ” ก่อนตัดสินใจเป็ น ศิษย์ของพระองค์อกี ด้วย พระองค์ตรัสว่า “ท่านทีต่ อ้ งการสร้างหอคอย จะไม่คาํ นวณค่าใช้จา่ ยก่อนหรือ ว่ามีเงินพอสร้างให้เสร็จหรือไม่ มิฉะนัน้ เมือ่ วางรากฐานไปแล้ว แต่สร้างไม่สาํ เร็จ ทุก คนทีเ่ ห็นจะหัวเราะเยาะเขา พูดว่า ‘คนนี้ เริม่ ก่อสร้าง แต่ ทํา ให้สําเร็จไม่ได้’” (ลก 14:28-30) หอคอยทีพ่ ระองค์ตรัสถึงคือหอคอยในสวนองุน่ ซึง่ เจ้าของสวนนิยมสร้างไว้ สําหรับเฝ้าระวังมิให้ขโมยเข้ามาขโมยผลผลิตได้ ถ้าเริม่ ต้นก่อสร้างแล้วทําไม่สําเร็จเพราะเงินหมด นอกจากจะอับอายขาย ขีห้ น้าชาวบ้านแล้ว พวกขโมยคงขํากลิง้ ให้เจ้าของสวนต้องชํ้าใจยกกําลังสองเป็ นแน่ ปญั หาคือพระองค์ทรงยกอุปมาเรือ่ งนี้ขน้ึ มาทําไม พระองค์ไม่เต็มพระทัยให้ เราเป็ นศิษย์ของพระองค์กระนัน้ หรือ ? หามิได้ พระองค์ทรงกล่าวเช่นนี้เพราะทรง “จริ งใจ” กับเราต่างหาก ! 6
สืบเนื่องจากสถานการณ์ความรุนแรงในประเทศซีเรีย ส่งผลให้เกิดความ สูญ เสี ย และความทุก ข์ย ากต่อ ประชาชนจํา นวนมาก สมเด็ จ พระสัน ตะปาปาทรง ประกาศให้วนั เสาร์ที่ 7 กันยายน 2013 เป็ น “วันภาวนาเพื่อวอนขอสันติภาพใน ประเทศซีเรีย รวมทัง้ ประเทศอื่นในตะวันออกกลางและทุกแห่งทั่วโลก”
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ขอเชิญชวนพี่นอ้ ง ร่วมใจทําพลีกรรมอดอาหารวันใดวันหนึง่ ระหว่างวันที่ 7-14 กันยายน 2013 (วันฉลองเทิดทูนกางเขน) ร่วมสวดภาวนาเพื่อสันติภาพพร้อมกัน ณ วัดเซนต์หลุยส์ สาทร ในวันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน ศกนี้ เวลา 18.30 – 19.30 น. 7
มีบางคนคิดว่าการติดตามพระเยซูเจ้าเป็ นเรื่องของผู้ท่มี กี ระแสเรียกเป็ น พระสงฆ์และนักบวชเท่านัน้ แต่จริง ๆ แล้วการติดตามพระองค์เป็ นเรื่องของเรา คริสตชนทุกคน เพราะการติดตามพระเยซูเจ้าคือการ “คิ ดเหมือนพระเยซูเจ้า ปรารถนา เหมือนพระเยซูเจ้า และดําเนิ นชีวิตเหมือนพระเยซูเจ้า” ! ยิง่ ดําเนินชีวติ เหมือนพระองค์มากเท่าใด อัตตาของเราก็จะยิง่ ลดน้อยลงและ พระองค์จะยิง่ ครองราชย์ในตัวเราได้มากขึน้ เท่านัน้ หากพระองค์ทรงครองราชย์ในตัวเราก็เท่ากับว่าพระอาณาจักรของพระเจ้า ได้รบั การสถาปนาขึน้ ในตัวเราแล้ว เราเป็ นสมาชิกของพระอาณาจักรสวรรค์ตงั ้ แต่ใน โลกนี้แล้ว !!!
พระองค์ไม่ประสงค์ใช้ “คําหวาน ๆ” หลอกล่อให้เราหลวมตัวมาเป็ นศิษย์ของ พระองค์ แต่ทรงจริงใจทีจ่ ะบอกเราว่า “ยากนะทีจ่ ะเป็ นศิษย์ของพระองค์ เพราะต้อง สละทุกสิง่ ทีเ่ รารัก ไม่เว้นแม้กระทังชี ่ วติ ของตนเอง ดังนัน้ จงคิ ดให้รอบคอบ” แต่ “รอบคอบ” ไม่ใช่ “ท้อแท้”… เราต้องไม่ทอ้ แท้เพราะพระองค์ตรัสสังให้ ่ เรา “แบกกางเขนติดตามพระองค์” ไม่ใช่ให้เรา “แบกกางเขนตามลําพัง” ความหมายของพระองค์ช ดั เจนคือ พระองค์จ ะไม่ท รงทอดทิ้ง เราให้แ บก กางเขนหรือเผชิญหน้ากับชะตากรรมตามลําพัง แต่จะทรงก้าวไปพร้อมกับเราทุก ก้าว
ขอเพียงเรารับคํา “ท้าทาย” และกล้าทุม่ เท “เกหมดหน้ าตัก” เท่านัน้ ... !!! นอกจากทรงเรียกร้อ งให้เ ราเป็ น “ศิษ ย์ข องพระองค์” ไม่ใ ช่แ ค่ “เดิน ตาม พระองค์” แล้ว พระองค์ยงั ทรงเตือนเราให้ “คิ ดอย่างรอบคอบ” ก่อนตัดสินใจเป็ น ศิษย์ของพระองค์อกี ด้วย พระองค์ตรัสว่า “ท่านทีต่ อ้ งการสร้างหอคอย จะไม่คาํ นวณค่าใช้จา่ ยก่อนหรือ ว่ามีเงินพอสร้างให้เสร็จหรือไม่ มิฉะนัน้ เมือ่ วางรากฐานไปแล้ว แต่สร้างไม่สาํ เร็จ ทุก คนทีเ่ ห็นจะหัวเราะเยาะเขา พูดว่า ‘คนนี้ เริม่ ก่อสร้าง แต่ ทํา ให้สําเร็จไม่ได้’” (ลก 14:28-30) หอคอยทีพ่ ระองค์ตรัสถึงคือหอคอยในสวนองุน่ ซึง่ เจ้าของสวนนิยมสร้างไว้ สําหรับเฝ้าระวังมิให้ขโมยเข้ามาขโมยผลผลิตได้ ถ้าเริม่ ต้นก่อสร้างแล้วทําไม่สําเร็จเพราะเงินหมด นอกจากจะอับอายขาย ขีห้ น้าชาวบ้านแล้ว พวกขโมยคงขํากลิง้ ให้เจ้าของสวนต้องชํ้าใจยกกําลังสองเป็ นแน่ ปญั หาคือพระองค์ทรงยกอุปมาเรือ่ งนี้ขน้ึ มาทําไม พระองค์ไม่เต็มพระทัยให้ เราเป็ นศิษย์ของพระองค์กระนัน้ หรือ ? หามิได้ พระองค์ทรงกล่าวเช่นนี้เพราะทรง “จริ งใจ” กับเราต่างหาก ! 6
สืบเนื่องจากสถานการณ์ความรุนแรงในประเทศซีเรีย ส่งผลให้เกิดความ สูญ เสี ย และความทุก ข์ย ากต่อ ประชาชนจํา นวนมาก สมเด็ จ พระสัน ตะปาปาทรง ประกาศให้วนั เสาร์ที่ 7 กันยายน 2013 เป็ น “วันภาวนาเพื่อวอนขอสันติภาพใน ประเทศซีเรีย รวมทัง้ ประเทศอื่นในตะวันออกกลางและทุกแห่งทั่วโลก”
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ขอเชิญชวนพี่นอ้ ง ร่วมใจทําพลีกรรมอดอาหารวันใดวันหนึง่ ระหว่างวันที่ 7-14 กันยายน 2013 (วันฉลองเทิดทูนกางเขน) ร่วมสวดภาวนาเพื่อสันติภาพพร้อมกัน ณ วัดเซนต์หลุยส์ สาทร ในวันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน ศกนี้ เวลา 18.30 – 19.30 น. 7
ความรักของพระเจ้านัน้ ไม่มขี อบเขตจํากัด ความรักของพระเจ้าไม่อาจวัดและไม่อาจหยัง่ ความลึกได้ ความรักนีแ้ สดงให้เห็นโดยการทีพ่ ระองค์เจริญชีวิตและสิ้นพระชนม์ทา่ มกลางเรา บัดนี้ ให้เราหมุนภาพนัน้ กลับข้าง จะต้องไม่มขี อบเขตจํากัดสําหรับความรักของเรา ให้เราเป็ นผูร้ บั เอาความรักของพระองค์ที่ไม่เป็ นที่ตอ้ งการของใคร กล่าวคือ ความรักของพระเจ้าที่มนุษย์ทงั้ หลายไม่ยอมรับนัน้ เวลานี้ ให้เราคิดถึงความรักของพระเจ้าที่ทรงมีตอ่ ท่านและต่อดิฉนั ความรักของพระองค์นนั้ อ่อนโยนยิ่งใหญ่เป็ นจริง มีชวี ิตชีวาจนพระเยซูเสด็จมาสอนเราถึงความรักนัน้ สอนถึงวิธีที่จะ “รัก” ความรักนัน้ มิใช่เกาะแข็งเป็ นก้อน แต่ความรักนัน้ มีชวี ิตชีวา กิจการแห่งความรักและการประกาศความรักเป็ นหนทางสูส่ นั ติสขุ ความรักนีเ้ ริ่มต้นที่ไหน ? ก็จากกลางใจของเรานัน่ แหละ เราต้องรูว้ ่าเราถูกสร้างมาเพื่อสิ่งที่ยิ่งใหญ่กว่า มิใช่เพียงเพื่อเป็ นสมาชิกจํานวนหนึง่ ในโลกนี้ มิใช่เพื่อมารับประกาศนียบัตรหรือปริญญาใด ๆ มิใช่มาเพื่อทํางานนีห้ รืองานนัน้ เราถูกสร้างมาก็เพื่อรักและได้รบั ความรักเท่านัน้
อย่างไรก็ตาม ก่อนทีจ่ ะหันไปดูคนรอบข้างว่าเป็ นศิษย์ของพระเยซูเจ้า หรือ เป็ นเพียงผู้ผ่านการรับศีลล้างบาปเท่านัน้ เราต้องตรวจสอบตัวเราเองก่อนว่า “ได้ มาตรฐานหรือไม่ ?” มาตรฐานในการเป็ น “ศิ ษ ย์ข องพระเยซู เ จ้ า ” มี 2 ประการคือ “แบก กางเขน” และ “ติ ดตามพระองค์” (ลก 14:27) กางเขนเป็ นสิง่ ทีช่ าวยิวซาบซึง้ ถึงความร้ายกาจของมันเป็ นอย่างดี เมื่อยูดาส ชาวกาลิลกี ่อการกบฏ แม่ทพั โรมันชื่อวารูสได้ตรึงกางเขนชาวยิวสองพันคนเรียงราย สองข้างทางสูแ่ คว้นกาลิลี “กางเขน” คือฝนั ร้ายและความอัปยศอดสูอย่างยิง่ สําหรับชาวยิว แต่พระเยซูเจ้าทรงเลือก “กางเขน” ทีช่ าวยิวถือว่าร้ายกาจและน่ าอัปยศอดสู อย่างยิง่ นี้ เพื่อจะบอกว่าความรักและความปรารถนาของพระองค์ทจ่ี ะทําให้เรามนุ ษย์ เป็ น “วีรบุรษุ ” และได้รบั “พระสิรริ งุ่ โรจน์” นัน้ ยิง่ ใหญ่ไพศาลเพียงใด !!! ไม่มผี ูใ้ ดเป็ น “วีรบุรุษ” หากไม่ผ่าน “สงคราม” ฉันใด ก็ไม่มผี ูใ้ ดได้รบั “พระ สิ ริร่งุ โรจน์ ” หากไม่ผา่ น “กางเขน” ฉันนัน้ สงครามยิง่ รุนแรง ความเป็ นวีรบุรษุ ยิง่ มีความหมายมากขึน้ ฉันใด กางเขนยิง่ หนักและยิง่ อัปยศอดสู พระสิรริ งุ่ โรจน์กย็ งิ่ เพิม่ มากขึน้ ฉันนัน้ ! “กางเขน” คือ ความทุ กข์ย ากลํา บากต่ าง ๆ ซึ่ง ยิ่งต่ อ สู้แ ละฟนั ฝ่า ได้ม าก เท่าใด ก็ยงิ่ ทําให้เราแข็งแกร่งและพร้อมรับมือกับความทุกข์ยากแสนสาหัสได้มากและ หนักขึน้ เท่านัน้ จนว่าจะมีสกั วันหนึ่งทีเ่ ราไม่เกรงกลัวความทุกข์ยากใด ๆ อีกต่อไป แม้แต่ความตายเองก็ตาม ่ สูงสุดในชีวติ ของผูเ้ ป็ น เมื่อไม่กลัวก็มคี วามมันคง ่ และนี่คอื “ความมันคง” “ศิ ษย์พระเยซูเจ้า” !! อีกมาตรฐานหนึ่งคือการ “ติ ดตามพระองค์” ด้วยการเลิกนึกถึงตนเอง ละทิง้ ตนเอง และควบคุม “อัตตา” ของตนเองให้ได้ เพราะหาไม่แล้วเราคงตกเป็ น “ทาส” ของตัวเองและหมดหนทางทีจ่ ะเป็ นอิสระเพือ่ ติดตามพระองค์
จากข้ อคิดข้ อรําพึงตลอดปี คุณแม่ เทเรซา แห่ งกัลกัตตา
8
5
เพราะฉะนัน้ เมื่อพระเยซูเจ้าตรัสว่า “ถ้าผูใ้ ดติดตามเราโดยไม่รกั เรามากกว่า บิดามารดา ภรรยา บุตร พีน่ ้องชายหญิง และแม้กระทังชี ่ วติ ของตนเอง ผูน้ นั ้ เป็ นศิษย์ ของเราไม่ได้” จึงบ่งบอกวัตถุประสงค์ 2 ประการด้วยกัน กล่าวคือ หนึ่ง ให้เรา “รักผูอ้ นื ่ น้ อยกว่าพระองค์” เพื่อจะเป็ นอิสระจากพันธะทัง้ ปวง และสามารถดําเนินชีวติ เหมือนพระองค์ได้ สอง ให้เรา “รักพระองค์มากกว่าผูอ้ นื ่ ” ซึง่ หากฟงั ผ่าน ๆ ดูเหมือนพระองค์จะ เห็นแก่ตวั อย่างยิง่ ! แต่พระองค์ตรัสเช่นนี้กเ็ พราะทรงปรารถนาดีและทรงรักเราจริง เพราะความ รักตามประสามนุ ษย์ย่อมมี “ความเห็นแก่ตวั ” เจือปนอยู่ดว้ ยไม่มากก็น้อย คงไม่มี ใครกล้าปฏิเสธว่า ชายหญิงที่บอกว่ารักกันปานจะกลืนกินนัน้ จริง ๆ แล้วต่างฝ่าย ต่างก็คดิ ถึงความสุขและความมันคงของตนเองเป็ ่ นทีต่ งั ้ ด้วยกันทัง้ นัน้ ต่อเมื่อเรารักพระเยซูเจ้าเหนืออื่นใด ความรักแบบ agapē (อากาเป) ของ พระองค์จะเปลีย่ นความรักทีเ่ จือปนด้วยความเห็นแก่ตวั ของเราให้เป็ นความรักทีม่ แี ต่ “ให้” และคิดคํานึงถึงความดีและความสุขสูงสุดของผูอ้ ่นื เป็ นทีต่ งั ้ เมือ่ ต่ า งคนต่ า งคิด ถึง ผู้อืน่ ก่ อ นเช่ น นี้ ครอบครัว ที ม่ ี พ ระเยซู เ จ้ า เป็ น ศูนย์กลางจึงมีความมันคง ่ และดํารงอยู่ในความรักเป็ นนิ ตย์ ! นอกจากทรงปรารถนาให้เรารักพระองค์มากกว่าผูอ้ ่นื แล้ว พระองค์ยงั ตรัส ต่อไปอีกว่า “ผูใ้ ดไม่แบกกางเขนของตนและติดตามเรา ผูน้ ัน้ เป็ นศิษย์ของเราไม่ได้” ซึง่ บ่งบอกว่า ไม่ใช่ทุกคนทีเ่ ดิ นตามพระองค์จะเป็ นศิ ษย์ของพระองค์ !! ดุจเดียวกับชาวยิวจํานวนมากที่เดินตามพระองค์ไปกรุงเยรูซาเล็มโดยไม่รู้ วัตถุประสงค์ของพระองค์ และไม่พร้อมจะแบกกางเขนร่วมกับพระองค์ พวกเขาเป็ นได้เพียงผูต้ ดิ ตาม แต่หาได้เป็ นศิษย์ของพระองค์ไม่ น่ าเสียดายที่ปญั หาของชาวยิวเมื่อสองพันปี ก่อน ยังคงเป็ นปญั หาของเรา ตราบจนทุกวันนี้ นัน่ คือมีผรู้ บั ศีลล้างบาปเข้าเป็ นสมาชิกของพระศาสนจักรคาทอลิก มากมายทัวโลก ่ แต่มสี กั กีค่ นทีเ่ ป็ นศิษย์ของพระเยซูเจ้าจริง ๆ ? 4
ตรีวาร วันพฤหัสบดีที่ 12 และวันศุกร์ ที่ 13 กันยายน 2013 ณ วัดน้ อย 18.00 น. สวดสายประคําและบทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า (ภาษาอังกฤษ) 18.30 น. สวดสายประคํา (ภาษาไทย) 19.00 น. มิสซา วันเสาร์ ที่ 15 กันยายน 2013 ณ วัดใหญ่ 17.00 น. สวดสายประคําและบทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า (ภาษาอังกฤษ) 17.30 น. สวดสายประคํา (ภาษาไทย) 18.00 น. มิสซา
วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน 2013 วันฉลองแม่ พระเปนญาฟรานช่ า ณ วัดน้ อย 08.00 น. สวดสายประคํา บทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า และบทภาวนาต่อพระพักตร์ศกั ดิ์สิทธิ์ 08.30 น. ตั้งศีลมหาสนิท และรําพึงพระวาจา 09.30 น. อวยพรศีลมหาสนิท 09.55 น. อัญเชิญพระรู ปแม่พระเปนญาฟรานช่าไปยังประตูวดั ใหญ่ ณ วัดใหญ่ 08.00 น. มิสซาเช้า 10.00 น. มิสซาฉลองแม่พระเปนญาฟรานช่า แห่และถวายช่อดอกไม้แด่แม่พระเปนญาฟรานช่า หลังมิสซา ขอเชิญรับประทานอาหารเที่ยงร่ วมกัน
9
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี ส. 7 ก.ย. 18.00 น.
รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อันโตนีโอ จํารู ญ พรสัจจา เทเรซา วรกานต์ และครอบครัวพร้อมเจริ ญวัฒนา อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช เทเรซา กัญญา สิ นติโยธิน, คุณจริ ต เกษมสุ ข คุณพณพล ยุววัฒน์, คุณทองดี ดิโพ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 8 ก.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ เปาโล ปริ ญญา ธนาพานิชย์ มารี อา พีรวัลย์ วีระวัฒนาเดช อันโตนีโอ จํารู ญ พรสัจจา, ครอบครัวพันธุมจินดา ครอบครัวคุณวราพร เจนใจ, ครอบครัวคุณเสรี อู๋สวัสดิ์ ครอบครัวโกวงศ์ และครอบครัวตันติโกสิ ชฌน์ ครอบครัวธนะสาร, สาธรกิจ, รัตนบรรณสกุล ครอบครัวลิ้มจิตรกร, เตรี ยมวิชานนท์, เพียรช่างคิด ครอบครัวเขม้นงาน, สุ ทธิโอภาส, ทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสต์ เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสารและสาธรกิจ Maria Vanna Xavier, Marcellina Marasri Xavier ดอมินิกโก สวัสดิ์, โรซา สมจิตร อู๋สวัสดิ์
10
ผู้ขอมิสซา วิชชุลดา มารี อา เริ งจิต ชุมพล วรรณสาย คค.ศรี เจริ ญ บุญเลิศ วราพร ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ วิภาวินี ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ วราพร
อัน ที่จริง นี่ คือ เสน่ ห์ข องภาษาฮีบ รู และภาษาทางตะวัน ออกอื่น ๆ ที่นิ ย ม พูดจาให้ “เห็นจริ งเห็นจัง” มากทีส่ ดุ เท่าทีส่ ติปญั ญาของมนุษย์จะจินตนาการได้ คํา “เกลียด” จึงถูกนํ ามาใช้เพื่อให้ผฟู้ งั เกิดจินตนาการชนิดเห็นจริงเห็นจังว่า “หากผูใ้ ดไม่พร้อมสละทุกสิง่ ทีต่ นรัก รวมถึงหนทางสูอ่ าํ นาจและความยิง่ ใหญ่ทางโลก เพือ่ มาร่วมชะตากรรมแบบเดียวกับทีพ่ ระเยซูเจ้ากําลังจะได้รบั ในกรุงเยรูซาเล็ม ผูน้ นั ้ ย่อมเป็ นศิษย์ของพระองค์ไม่ได้” คํา “เกลียด” ในทีน่ ้ีบ่งบอกถึง “การไม่มีพนั ธะผูกพัน” เพื่อเราจะเป็ นอิสระ ั่ ในการร่วมชะตากรรม “แบกกางเขน” กับพระเยซูเจ้า หาได้มเี จตนายุยงปลุกปนให้ ผูห้ นึ่งผูใ้ ดเกลียดชังบิดามารดา ภรรยา บุตร หรือพีน่ ้องชายหญิงของตนแต่ประการใด ไม่ !!! นอกจากจะเป็ นวิธพี ูดเพื่อให้เห็นจริงเห็นจังแล้ว เหตุผลอีกประการหนึ่งก็คอื พระคัมภีรใ์ ช้คาํ “เกลียด” เพือ่ หมายถึง “รักน้อยกว่า” เท่านัน้ เอง ตัวอย่างเห็นได้จากการใช้คาํ sanē’ (ซาเน) ในภาษาฮีบรู และ miséō (มีแซโอ) ในภาษากรีก ซึง่ ต่างก็แปลว่า “เกลียด” เหมือนกัน กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิของบุตรคนแรกกําหนดไว้ว่า “ถ้าชายผูห้ นึง่ มีภรรยา สองคน รัก คนหนึ ่ง มากกว่ า อีก คนหนึ ง่ และทัง้ สองคนคลอดบุ ต รชายให้เ ขา แต่ บุตรชายคนแรกเป็ นบุตรของภรรยาทีเ่ ขารักน้อยกว่า (sanē’ - miséō) เมือ่ ชายนัน้ จะ แบ่งทรัพย์สมบัตใิ ห้บุตร เขาต้องไม่คดิ ว่าบุตรของภรรยาทีเ่ ขารักมีสทิ ธิเป็ นบุตรคน แรกแทนบุตรคนแรกแท้จริงทีเ่ ป็ นบุตรของภรรยาทีเ่ ขารักน้อยกว่า (sanē’ - miséō) แต่เขาต้องรับว่าบุตรของภรรยาทีเ่ ขารักน้ อยกว่า (sanē’ - miséō) เป็ นบุ ตรคนแรก และต้องแบ่งทรัพย์สิน ให้บุ ต รคนแรกนี้ เ ป็ น สองเท่า ของทรัพย์สินทีใ่ ห้แก่บุ ต รจาก ภรรยาทีเ่ ขารัก เพราะบุตรคนนี้เป็ นผลแรกจากความหนุ่มของเขา และมีสทิ ธิของบุตร คนแรก” (ฉธบ 21:15-17) หากเราแปล sanē’ (ซาเน) หรือ miséō (มีแซโอ) ตามตัวอักษรคือ “เกลียด” แทนคําว่า “รักน้อยกว่า” ย่อมเท่ากับว่าชาวยิวถูกบังคับให้ยกทรัพย์สมบัตถิ งึ สองเท่า ให้แก่ลกู ของคนทีต่ นเกลียดชัง ซึง่ ถือว่าผิดธรรมชาติอย่างยิง่ 3
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
ลก 14:25-33
วัน เดือน ปี อา 8 ก.ย. 08.00 น.
อา 8 ก.ย. 10.00 น.
“ประชาชนจํานวนมากกําลังเดินไปกับพระเยซูเจ้า” โดยมีจุดหมายปลายทาง อยูท่ ก่ี รุงเยรูซาเล็ม (ลก 14:25) พระองค์ทรงตระหนักดีวา่ ไปกรุงเยรูซาเล็มก็คือไปตายบนไม้กางเขน ! แต่ประชาชนทีต่ ดิ ตามพระองค์ไม่ได้คดิ เช่นนัน้ พวกเขาคิดว่าพระองค์กําลัง เสด็จไปกรุงเยรูซาเล็มเพื่อรวบรวมกําลังพลสําหรับกอบกูเ้ อกราชจากโรม และทําให้ ชนชาติยวิ กลับมายิง่ ใหญ่เกรียงไกรเหมือนในยุคสมัยของกษัตริยด์ าวิด บรรพบุรุษ ของพระองค์ พระองค์จงึ ต้องเปลีย่ นความคิดของพวกเขาด้วยการตรัสว่า “ถ้าผูใ้ ดติดตาม เราโดยไม่รกั เรามากกว่าบิดามารดา ภรรยา บุตร พีน่ ้องชายหญิง และแม้กระทังชี ่ วติ ของตนเอง ผูน้ นั ้ เป็ นศิษย์ของเราไม่ได้ ผูใ้ ดไม่แบกกางเขนของตนและติดตามเรา ผู้ นัน้ เป็ นศิษย์ของเราไม่ได้เช่นเดียวกัน” (ลก 14:26-27) หลายคนอาจบ่นว่าพระวาจานี้ “กระด้าง” จัง ใครจะฟงั ได้ ?! ซํ้ า ร้า ยไปกว่ า นั น้ ต้ น ฉบับ ภาษากรีก ใช้คํ า miséō (มีแ ซโอ) ซึ่ง แปลว่ า “เกลียด” ดังนัน้ หากแปลตามต้นฉบับเราจะได้ความว่า “ถ้าผู้ใดติดตามเราโดยไม่ เกลียดบิดามารดา ภรรยา บุตร พีน่ ้องชายหญิง และแม้กระทังชี ่ วติ ของตนเอง ผูน้ ัน้ เป็ นศิษย์ของเราไม่ได้” และเพราะมีบางคนตีความตามตัวอักษรเช่นนี้เอง ศาสนาคริสต์จงึ ตกเป็ น จําเลยของสังคมในข้อหาสอนให้เกลียดชังบิดามารดาของตน 2
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา อุทศิ แด่ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บุญเลิศ บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ บุญเลิศ ยอแซฟ ภิรมย์, โยเซฟิ น รัตนา, ยวง พิสิษฐ์ พันธุมจินดา คุณวิรัช พุทธโกษา วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง บุญเลิศ สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ หมื่นโยธา/อัญชลี สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน มาลินี ผูส้ ูงอายุและผูเ้ กิดเดือนกันยายนทุกท่าน ชมรมผูส้ ูงอายุ มารี อา อุมาศิริ, คุณชุลี จันทรานุวฒั น์ เทเรซา วรกานต์ พร้อมเจริ ญวัฒนา มารี อา คุณจิณห์จุฑา กิตติศิลป์ ภาณุฉตั ร ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้วและครอบครัว มารี อา จิตรา ประภาพร, เทเรซา สุ พตั รา เพื่อน/เทปุระ มารี อา ชัชวลี, มีคาแอล ชวลิต ไมตรี ครอบครัว อันนา หวล คีรีโชติ ครอบครัวรักอารมณ์, ครอบครัวลิขิตทรัพย์ ลาวรรณ อุทศิ แด่ เปาโล ฟื้ น, อันนา เสถียร, ลูซีอา ไพเศียร วรรณสาย มารี อา ต้ายไถ่ แซ่โฮ่ ภวิกา, พิสิษฏ์ คุณประเสริ ฐ, คุณณรงค์, คุณกิมจัว๊ มรุ ตกรกุล (นพรัตน์) นพรัตน์ เปโตร ฟรอ เหงี่ยน วัน, มารธา ประไพร บุญเลิศ สมชัย เรนาโตประพาฬ, ฟิ ลิป ประกาย, อันนา จิ๋ม รักอารมณ์ ลาวรรณ ยอแซฟ ไล้, เทเรซา สงวน แซ่ล้ ี เปโตร อัครวุฒิ เลาหบุตร, หลุยส์ พิชยั เจริ ญสุ ข เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ วิไลวรรณ ผูล้ ่วงลับครอบครัวโรจนอําไพ และจิระวันชัยกุล สมาชิกชมรมผูส้ ูงอายุที่ล่วงลับไปแล้ว ชมรมผูส้ ู งอายุ นาธาน/อิสอัคร วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง 11
จ. 9 ก.ย. อ. 10 ก.ย. พ. 11 ก.ย. พฤ.12 ก.ย. ศ. 13 ก.ย.
อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่
ฟี เดส จิตรา ดารุ ทยาน วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ โยเซฟ อดิสัย ดารุ ทยาน ชลินทร์ จิระดํารง
อมรา วิไลวรรณ อมรา
อมรา
ฉบับที่ 491 วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2013 วันอาทิตย์น้ ี (8 กันยายน) o เวลา 12.30-14.00 น. กลุ่มพลมารี ยข์ อเชิ ญสมาชิ กและพี่น้องทุกท่าน ร่ วมฉลองเปรสิ เดียมวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ณ ศาลาปี ติการุ ณย์ o เวลา 13.30-17.00 น. แผนกดนตรี ศกั ดิ์สิทธิ์ ฯ ร่ วมกับกลุ่มพิธีกรรมขอ เชิญผูส้ นใจเข้าร่ วม “โครงการอบรมดนตรี สญ ั จร 999” ณ วัดน้อย o เวลา 14.00 น. ขอเชิญพี่นอ้ งชาวเวียดนามและผูส้ นใจทุกท่านร่ วมมิสซา ภาษาเวียดนาม ณ วัดใหญ่ วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน ศกนี้ เป็ นวันฉลองแม่พระเปนญาฟรานช่า ขอเชิญพี่ น้องร่ วมเทิดเกียรติแม่พระ มิสซา 10.00 น. หลังมิสซามีแห่ เทิดเกียรติแม่พระ และถวายช่อดอกไม้ (โปรดอ่ านรายละเอียดกําหนดการในสารวัดหน้ า 9) ชมรมฆราวาสอัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ เขต 2 ขอเชิ ญชวนพี่น้องร่ วมจาริ ก แสวงบุ ญ ณ สั ก การสถานบุ ญ ราศี คุ ณ พ่อ นิ โ คลาส บุ ญ เกิ ด กฤษบํา รุ ง ที่ ว ดั นักบุญยอแซฟ บ้านหัน จ.นครราชสี มา และร่ วมพิธีมิสซา โดย พระสังฆราช ยอ แซฟ ชูศกั ดิ์ สิ ริสุทธิ์ เป็ นประธาน วันพุธที่ 23 ตุลาคม ศกนี้ (วันหยุดราชการ) ค่าใช้จ่ายเพียงท่านละ 500 บาท รับเพียง 50 ท่านเท่านั้น ผูส้ นใจโปรดสอบถาม รายละเอียดและสํารองที่นงั่ ได้ที่สาํ นักงานวัด ณ ศาลาปี ติการุ ณย์ ตั้งแต่บดั นี้เป็ น ต้นไป 12
สั ปดาห์ ที่ 23 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
ทุกท่ านทีไ่ ม่ ยอมสละทุกสิ่ งทีต่ นมีอยู่กเ็ ป็ นศิษย์ ของเราไม่ ได้ ลก 14:33