สารวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ประจำวันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม ค.ศ.2015

Page 1

ฉบับที่ 563 วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม ค.ศ. 2015

ฉบับที่ 563 วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม ค.ศ. 2015

สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี B)

สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี B)

จงตามเรามาเถิด

จงตามเรามาเถิด มก 1:17

มก 1:17


สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี B) มก 1:14-20

อา.25 ม.ค. 08.00 น.

อุทศิ แด่

จ. 26 ม.ค. อ. 27 ม.ค. พ. 28 ม.ค. พฤ. 29 ม.ค. ศ. 30 ม.ค.

อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่

พระเยซูเจ้ าเสด็จไปยังแคว้ นกาลิลี ทรงประกาศเทศนาข่าวดีของพระเจ้ าตรัส ว่า “เวลาทีก่ าํ หนดไว้มาถึงแล้ว พระอาณาจักรของพระเจ้าอยู่ใกล้แล้ว จงกลับใจ และ เชือ่ ข่าวดีเถิด” (มก 1:14-15) จะเห็นว่ าเนื้อหาของ “คําเทศนา” ของพระเยซูเจ้ า อันเป็ นความเชื่อสําคัญ ของคริสตชน มีอยู่ 3 เรื่องด้ วยกัน กล่าวคือ 1.

ข่าวดี เนื้อหาของ “ข่าวดี” ในพระธรรมใหม่พอจะสรุปได้ ดังนี้ 1.1 ข่ าวดีแห่ งความจริง ดังที่นักบุญเปาโลกล่าวว่า “พระวาจา แห่งความจริงคือข่าวดี” (คส 1:5) ก่อนพระเยซูเจ้ าประสูติ มนุษย์ได้ แต่คาดเดาไปต่างๆ นานา เกี่ยวกับพระเจ้ า และพยายามคลําทางไปหาพระองค์อย่างสิ้นหวัง แม้ โยบเองยังต้ อง ร้ องว่ า “ข้าพเจ้าอยากรูว้ ่าจะพบพระองค์ได้ทีใ่ ด จะได้เข้าถึงพระทีน่ ่ังของพระองค์” (โยบ 23:3) แต่ เมื่อพระองค์เสด็จมาประกาศข่าวดีแห่ งความจริง เราไม่ ต้ อ งคาดเดาอีก ต่ อ ไป เพราะเรา “รู จ้ ริ ง” ว่ าพระเจ้ าทรงรั ก เราและอยู่ ใกล้ เรามาก เพียงใด ! 1.2 ข่าวดีแห่งความหวัง นักบุญเปาโลเตือนชาวโคโลสีว่า “ท่าน จงยืนหยัดมัน่ คงในความเชือ่ ไม่หวัน่ ไหวจากความหวังตามข่าวดีทีท่ ่านได้รบั ฟัง” (คส 1:23) 2

มารี อา เตียว แซ่ โง้ว ธีรยุทธ์ อากาทา สมสุ ข แซ่ลิ้ม มณี รัตน์ ยวง กิมเลี้ยง แซ่ล้ ี สมชาย ยอแซฟ อิว เมธีพิทกั ษ์กลุ เปโตร โสภณ, โรซา แหวน ทองไสว คค.ทองไสว ฟรังซิ สซิ สโก สวง, มารี อา สมร ทองไสว คค.ทองไสว เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ อุชชิน, ดร.โทมัส อาดัมส์ นงเยาว์ ยอแซฟ สมบัติ, มารี อา นิตยา, หลุยส์ บัญญัติ อุชชิน นงเยาว์ มารี อา มยุรี ผลาวงศ์, แมทธิว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต นงเยาว์ คุณใบ, คุณบานเย็น สิ งห์ชาลี ชวนี คุณธวัช ใจภักดี มารี อา กิมลี้, คุณซี ฮวง, แบร์นาแด๊ต นิภา รุ่ งโรจน์ ฟิ ลิป มุ่ยชิม, คุณเช้ง แซ่จึง รุ่ งโรจน์ เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี รุ่ งโรจน์ คุณก้านทอง แสงปัญหา รุ่ งโรจน์ ฟรังซิ สโก ถนอม, คุณเปลี่ยว ผิวเกลี้ยง สุ นีย ์ ฟรังซิ สโก บุญเกียรติ, เปโตร ดนตรี ไชยเผือก สุ นีย ์ วิญญาณทารกผูว้ มิ ล สุ นีย ์ วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง นงเยาว์ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ -

11


มิสซาสั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี B) วันอาทิตย์ ที่ 25 มกราคม ค.ศ. 2015 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 24 ม.ค. โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 18.00 น. สุ ขสํ าราญ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ อุทศิ แด่ มารี อา เตียว แซ่โง้ว ธีรยุทธ์ เบเนดิกต์ บักฮวย นงลักษณ์ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เริ งจิต วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 25 ม.ค. โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. สุ ขสํ าราญ บรรดาพระสงฆ์ นักบวชชาย-หญิง อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ มารี อา ประทุม ใช้สมบุญ และครอบครัว คุณกาญจนวรรณ ตั้งสัจจธรรม ครอบครัวธนาพานิชย์, พูนประชาสิ น, ลิ้มเจริ ญ อุทศิ แด่ สติเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช คุณสมนึก ใช้สมบุญ, ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั คค.ธนาพานิชย์ ยอแซฟ เกียจัว๊ แซ่คู บุตร อันนา เย็น เอี้ยพิน บุตร มารี อา เตียว แซ่โง้ว ธีรยุทธ์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง รณชัย โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ อา. 25 ม.ค. 10.00 น. สุ ขสํ าราญ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน นงเยาว์ คัธริ น โชษิตา เกียรติชยั วัฒน์ ครอบครัวอุชชิน นงเยาว์ ครอบครัวสุ วรรณจิต นงเยาว์ ครอบครัวอาดัมส์ นงเยาว์ 10

มนุษย์ก่อนหน้ านี้ค่อนข้ างจะมองโลกในแง่ร้าย เซเนกาถึงกับ กล่าวว่า “ในสิ่งทีจ่ าํ เป็ น มนุษย์ชว่ ยเหลือตัวเองไม่ได้” ตัวอย่างเช่น เมื่อใดก็ตามที่เรา ดิ้นรนต่อสู้เพื่อทําความดี เรามักลงเอยด้ วยความพ่ายแพ้ อย่างสิ้นหวังอยู่เสมอ แต่พระเยซูเจ้ าทรงนําข่าวดีแห่ ง “ความหวัง” มาสู่หัวใจที่ส้ นิ หวัง ! 1.3 ข่ าวดี แ ห่ งสั น ติ นั ก บุ ญ เปาโลสอนว่ า “จงสวมความ กระตือรือร้นทีจ่ ะประกาศพระวรสารแห่งสันติ” (อฟ 6:15) ธรรมชาติมนุ ษย์ประกอบด้ วยสัญ ชาติญ าณของสัตว์ป่าและ เทวดาผสมปนเปกัน อยู่ ในแต่ ละคน เราจึงมีบุ คลิกภาพแบบแตกแยกอยู่ ภ ายในตัว ด้ วยกัน ทุ กคน บางครั้งเราก็ดีใจหาย แต่ บ างครั้งเราก็กระวนกระวายใจอย่ างหนั ก เพราะถูกบาปหรือความผิดพลาดในอดีตตามมาหลอกหลอน พระเยซู เจ้ า เสด็ จ มาเพื่ อช่ ว ยให้ เราประสบชั ย ชนะเหนื อ สงครามกับตัวเราเอง พระองค์สามารถประสานบุคลิกภาพของเราให้ กลับมาเป็ นหนึ่ง เดียวกันได้ และมี “สันติ” 1.4 ข่ า วดี แ ห่ ง พระสั ญ ญา ดั ง ที่ นั ก บุ ญ เปาโลกล่ า วว่ า “คน ต่างชาติเข้ามามีสว่ นร่วมในกองมรดกเดียวกัน ร่วมเป็ นกายเดียวกัน ร่วมรับพระสัญญา เดียวกันในพระคริสตเยซู อาศัยข่าวดี” (อฟ 3:6) คนต่ า งศาสนามั ก คิ ด ถึ ง พระเจ้ า ในทํา นองชอบข่ ม ขู่ แ ละ เรียกร้ องสิ่งต่าง ๆ มากมายจากมนุษย์ แต่พระเยซูเจ้ าตรัสสอนว่าพระเจ้ าทรงพระทัย ดีและพร้ อมจะประทานทุกสิ่งทุกอย่าง ตามพระสัญญา แก่เรามนุษย์มากกว่าที่เราจะคิด ขอเสียอีก 1.5 ข่ าวดีแห่งความไม่รูจ้ ักตาย ดังที่นักบุญเปาโลสอนทิโมธีไว้ ว่ า “บัด นี้ ท รงเปิ ดเผยโดยการแสดงพระองค์ ของพระผูไ้ ถ่ คื อพระคริ สตเยซู ผูท้ รง ทําลายความตาย และทรงนําชีวติ และความไม่รูจ้ กั ตายให้ปรากฏอย่างชัดแจ้งโดยทาง ข่าวดี” (2 ทธ 1:10) คนต่ า งศาสนาสอนว่ า ชี วิ ต คื อ การเดิ น ทางสู่ ค วามตาย ธรรมชาติของมนุ ษ ย์เป็ นอนิจจัง นั่นคือเป็ นคนที่กาํ ลั งตาย แต่ พระเยซูเจ้ าเสด็จมา ประกาศข่าวดีว่าเรากําลังมุ่งหน้ าไปสู่ชีวิต ไม่ใช่ความตาย 3


1.6 ข่ าวดีแห่ งความรอด ดังคําของนักบุญเปาโลที่ว่า “ในองค์ พระคริสตเจ้านี้ ท่านทัง้ หลายก็เช่นเดียวกันได้ฟังพระวาจาแห่งความจริง คื อข่าวดีอัน นําความรอดพ้นมาให้” (อฟ 1:13) ความรอดที่พระเยซูเจ้ าทรงนํามาประทานแก่เรานั้น ไม่ ได้ มี ความหมายเชิง “ปฏิเสธ” เช่น ให้ รอดพ้ นจากโทษบาปหรือแคล้ วคลาดจากบ่วงกรรมที่ ทําไว้ ในอดีตเท่านั้น แต่ยังมีความหมายเชิง “บวก” คือพระองค์ทรงทําให้ เรามีพลังที่ จะดําเนินชีวิตอย่างผู้มีชัยเหนือบาปและปัญหาอุปสรรคต่างๆ ในชีวิตของเราอีกด้ วย จะเห็นว่าสิ่งที่พระเยซูเจ้ าทรงประกาศและเทศน์สอนเป็ น “ข่าวดี” จริง ๆ ! 2. กลับใจ เราเรียนรู้มาว่า เพื่อจะกลับใจจําเป็ นต้ องเป็ นทุกข์ถงึ บาป แต่ ในทางปฏิบัติเรามักสับสนระหว่างการเป็ นทุกข์ถึง “บาป” และการเป็ นทุกข์ถึง “ผล ของบาป” มี ค นเป็ นจํา นวนมากที่ เป็ นทุ ก ข์ เสีย ใจอย่ า งจริ ง จั ง ถึ ง ผลร้ า ยที่สื บ เนื่องมาจากความผิดบาปที่ตนเองได้ กระทําลงไป แต่ หากเขาแน่ ใจว่ าสามารถหลบ หลีกหรือรอดพ้ นจากผลร้ ายที่น่าจะติดตามมาได้ เป็ นไปได้ มากว่าเขาจะกลับไปทําผิด เช่นเดิมอีก ที่เป็ นเช่นนี้เพราะสิ่งที่เขาเกลียดคือผลของบาป ไม่ใช่ตัวบาปเอง แต่การกลับใจที่แท้ จริงอยู่ท่กี ารเกลียด “บาป” ไม่ใช่ “ผลของบาป” ! การกลับใจตรงกับภาษากรีก metanoia (เมตานอยอา) ซึ่งหมายถึง “การเปลีย่ นจิตใจ” นั่ น คื อ ผู้ ท่ี เคย “รัก บาป” ต้ องเปลี่ ย นเป็ น “เกลี ย ดบาป” จึ ง จะ เรียกว่ากลับใจจริง 3.

เชื่อ พระเยซูเจ้ าตรัสสั่งให้ เรา “เชือ่ ข่าวดีเถิด” นั่นคือ เชื่อคําพูดของพระองค์ เชื่อว่าพระเจ้ าทรงเป็ นดังที่พระองค์ เทศน์ สอน เชื่อว่ าพระองค์ทรงรักมนุ ษ ย์และพร้ อมจะยอมเสียสละทุ กอย่ างเพื่ อนํา มนุษย์กลับมาหาพระองค์ และที่สาํ คัญ เชื่อว่าสิ่งต่างๆ ที่ดูเหมือนจะดีเกินกว่าเป็ นจริงนี้ เป็ นจริง !!! 4

พระศาสนจักรคาทอลิกให้ความเคารพท ุกศาสนา บทสอนที่สองเกิดในงานศาสนสัมพันธ์ เหตุการณ์นปี้ ระทับใจมากๆ ช่วงเริ่ม พิธี พระสงฆ์ของพุทธศาสนาได้นาํ สวดภาวนา ตามด้วย ผูน้ าํ ศาสนาฮินดูได้ขึ้นมา ทักทายพระสันตะปาปา พร้อมนําอาภรณ์สีสม้ มาคลุมไหล่ให้พระสันตะปาปา จากนัน้ เป็ นผูน้ าํ ชาวมุสลิมขึน้ กล่าว โดยผูน้ าํ มุสลิมได้กล่าวประณามการก่อการร้ายโดยนํา พระนามของพระเจ้ามาเป็ นข้ออ้าง เฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่กรุงปารีส ประเทศ ฝรัง่ เศส และเป็ นพระสันตะปาปาที่ตรัสเป็ นคนสุดท้าย พระสัน ตะปาปากล่าวว่า “สังคายนาวาติกัน ที่ 2 ประกาศชัด เจนว่า พระ ศาสนจักรคาทอลิกให้ความเคารพอย่างถึงที่สดุ ต่อศาสนาอื่นๆ ในส่วนตัวข้าพเจ้า เอง ข้าพเจ้าปรารถนาที่จะกล่าวยํา้ ว่า พระศาสนจักรคาทอลิกให้ความเคารพต่อพวก ท่าน เคารพขนบธรรมเนียมประเพณีของพวกท่าน และเคารพความเชือ่ ของพวกท่าน “ความเชื่ อ ทางศาสนาต้อ งไม่ ถ ูก นํา ไปใช้ในทางที่ ผิ ด ที่ จ ะก่ อ ให้เกิ ด ความ รุนแรงและสงคราม พวกเราต้องชัดเจนและทําให้ชดั ไปเลยที่จะดําเนินชีวิตในสันติ เรา ต้องประณามการกระทําที่กอ่ ให้เกิดความรุนแรง” เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ต้องมี “ขอบเขต” บทสอนที่สามที่ดังไปทัว่ โลกก็คือการให้สัมภาษณ์นกั ข่าวบนเครื่องบินจาก ศรีลงั กาไปฟิ ลิปปิ นส์ (เที่ยวบินนี้ พระสันตะปาปาบินผ่านเมืองไทยด้วย) นักข่าวถาม พระสั น ตะปาปาเกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ร ะหว่ า งศาสนากั บ เสรี ภ าพในการแสดง ความเห็ น พร้อมอ้างอิงถึงเหตุการณ์คนร้ายบุกยิงที่ทําการหนังสือพิมพ์ “ชาร์กลี เอ๊บโด” กลางกรุงปารีส พระสัน ตะปาปาตรั ส ตอบว่ า “ทั้ ง ศาสนาและเสรี ภ าพในการแสดงความ คิดเห็นคือสิทธิขนั้ พื้นฐานของมนุษย์ แต่การฆ่ากันด้วยพระนามของพระเจ้า ถือเป็ น ความวิ ปริต มันต้องมีขอบเขตที่จะแสดงออกทางความคิดเห็ น พ่อขอยกตัวอย่าง ดร.อัลแบร์โต้ กาสปาร์รี่ ซึ่งเป็ นผูด้ แู ลประสานงานการเดินทางของพระสันตะปาปา ทุกทริป และเขาก็ยืนข้างๆ พ่อในตอนนี้ ถ้าหากเพื่อนที่แสนดีอย่าง ดร.กาสปาร์รี่ มา ด่าคุณแม่ของตัวพ่อเอง(พระสันตะปาปา) ดร.กาสปาร์รี่จะต้องถูกพ่อจัดให้สกั ป้าปอ ย่างแน่นอน! มันเป็ นเรื่องปกติที่ว่า คุณไม่สามารถยัว่ ยุ คุณไม่สามารถกล่าวหาให้ ร้ายความเชื่อของคนอื่น คุณไม่สามารถเล่นตลกกับความเชื่อของคนอื่น ถ้าหากเกิด เรื่องแบบนี้ คุณเตรียมพบกับความรุนแรงได้เลย” โปรดติดตามต่ อฉบับหน้ า..

9


ขอขอบคุณ Pope Report

เชื่อว่ า หลายท่านได้ติดตามข่าวพระสันตะปาปาเยื อนเอเชีย (ศรี ลังกาและ ฟิ ลิ ป ปิ นส์) จากสถานี โทรทั ศ น์แ ละสื่ อ มวลชนสายต่า งๆ กั น ไปแล้ว ถื อ เป็ นเรื่ อ ง น่า ยิ น ดี อ ย่ า งมากที่ สื่ อ มวลชนไทยให้ค วามสนใจกับ พระสัน ตะปาปามากขนาดนี้ อย่างไรก็ตาม ข่าวที่ทกุ ท่านติดตามจากสํานักข่าวทัว่ ไป อาจจะไม่ “เจาะลึก” เท่าไหร่ ดังนั้น ผมขอสรุปทุกอย่างแบบละเอียด เพื่อให้สมกับการเป็ น POPE REPORT ตาม รายละเอียดนีเ้ ลย… การเยือนเอเชียของพระสันตะปาปา มีวตั ถุประสงค์แต่ละประเทศไม่เหมือนกัน พระสั น ตะปาปามาศรี ลั ง กา เพื่ อ สถาปนานั ก บุ ญ โจเซฟ วาซ และให้ กํ า ลั ง ใจ กระบวนการคื น ดี กัน ของคนในชาติ หลัง จากต้อ งเผชิญ ปั ญ หาความขัด แย้ง และ สงครามในประเทศมาหลายสิบปี ส่วนฟิ ลิปปิ นส์ จุดประสงค์หลักของการมาเยือนคือ การไปเยี่ ย มผูป้ ระสบภัย จากพายุไต้ฝุ่ นไห่ เยี่ ย น ซึ่ งพั ด ถล่ ม ฟิ ลิ ป ปิ นส์เมื่ อ ปี ที่ แล้ว ดังนัน้ เราน่าจะเห็นวัตถุประสงค์ของการมาเยือนเอเชียครัง้ นี้ ได้ชดั ขึน้ จากการสรุปนี้ เราต้องชนะความชัว่ ด้วยความดี – ต้องปล ูกฝังค ุณธรรมในการให้อภัยกัน

นี่คือบทสอนแรกในการมาเยือนศรีลังกา พระสันตะปาปาตรัสเรื่องนี้ในพิธี ต้อนรับ ณ ทําเนียบประธานาธิบดีว่า “มันเป็ นโศกนาฏกรรมในโลกของเราที่สังคม จํานวนมากต้องทําสงครามกันเอง การขาดความสามารถที่จะประนีประนอมความ แตกต่างและความไม่ลงรอยกัน ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องเก่าหรือเรื่องใหม่ ก็ได้ทาํ ให้เกิดความ ตึงเครียดต่อชาติพนั ธุแ์ ละศาสนา บ่อยครัง้ มันตามมาด้วยการปะทุของความรุนแรง “เป็ นเวลานานหลายปี ที่ศรีลังกาเป็ นที่รจู้ ักเกี่ยวกับความน่ากลัวของความ ขัดแย้ง และตอนนี้ ประเทศแห่งนี้กาํ ลังแสวงหาการรวบรวมความสงบและการรักษา บาดแผลที่เกิดขึน้ มันไม่ใช่งานที่งา่ ยเลยที่จะเอาชนะมรดกแห่งความขมขืน่ ของความ อยุตธิ รรม ความเป็ นศัตรูกนั และความไม่ไว้ใจกันที่ถกู ทิ้งไว้จากความขัดแย้ง “สิ่ ง นี้ สามารถบรรลุได้ด ้ว ยการชนะความชัว่ ด้ว ยความดี เท่ า นั้ น (โรม 12:21) และโดยการปลูกฝั งคุณธรรมที่สง่ เสริมให้เกิดการคืนดีกนั ความเป็ นนํา้ หนึง่ ใจเดียวกัน และสันติภ าพ กระบวนการของการเยียวยารักษายังจําเป็ นต้องมีการ แสวงหาความจริ ง การแสวงหานี้ไม่ได้ทําเพื่ อ ผลประโยชน์จากการเปิ ดแผลเก่าที่ เกิดขึ้น แต่มันเป็ นวิธีการที่จาํ เป็ นต่อการส่งเสริมความยุติธรรม การเยียวยารักษา และความสามัคคีกนั ” 8

พระเยซู เจ้ า ทรงประกาศข่ า วดี เรื่ อ งพระอาณาจั ก รของพระเจ้ า และทรง วางรากฐานพระอาณาจักรของพระองค์ด้วยการเรียกศิษย์ร่นุ แรก โยเซฟุสนักประวัติศาสตร์ชาวยิวและเคยเป็ นผู้ว่าราชการแคว้ นกาลิลีมาก่อน ได้ บันทึกไว้ ว่า มีเรือประมงมากถึง 330 ลําในทะเลสาบกาลิลี ที่เป็ นเช่ นนี้เพราะชาว ปาเลสไตน์ส่วนใหญ่ ยากจน ไม่ ค่อยมีโอกาสกินเนื้อสัตว์ อาหารหลักของพวกเขาจึง ได้ แก่ปลาหมักเกลือซึ่งเก็บไว้ ได้ นาน และสามารถส่งออกไปยังกรุงเยรูซาเล็มและโรม ได้ ชื่ อ เมื อ งที่ต้ั งอยู่ รอบๆ ทะเลสาบบ่ งบอกถึ งความสําคั ญ ของอุ ต สาหกรรม ประมงในแคว้ นกาลิลีได้ เป็ นอย่างดี อย่างเช่น “เบธไซดา” หมายถึง “บ้านแห่งปลา” และ “ตารีเคอา” หมายถึง “แหล่งปลาเค็ม” เป็ นต้ น จึงไม่น่าแปลกใจที่ศิษย์ของพระเยซูเจ้ าส่วนใหญ่จะเป็ น “ชาวประมง” อนึ่ง มีข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับบุคคลที่พระองค์ทรงเลือกให้ เป็ นศิษย์ ติดตามพระองค์ 1. พวกเขาเป็ นอะไร ? พวกเขาเป็ นชาวประมงพื้ นบ้ า นธรรมดาๆ ไม่ได้ มีการศึกษาหรือชาติตระกูลสูงส่ง ไม่มีฐานะหรือชื่อเสียงใดๆ ในสังคม น่ าเสียดายที่ผ้ ู นํายุ ค ใหม่ บ างคนไม่ เคยสนใจคนยากจนหรื อชนชั้ น กรรมาชีพอย่างจริงจังเลย ความคิดของพวกเขาคือกําจัดคนเหล่านี้ให้ หมดสิ้นไป แล้ ว แทนที่ด้วยคนที่ฉลาดกว่า มีประสิทธิภาพมากกว่า หรือมั่งคั่งมากกว่า ฮิตเลอร์กเ็ ป็ น หนึ่งในผู้นาํ ประเภทนี้ท่ตี ้ องการแทนที่ชาวโลกด้ วยชนเผ่าอารยันอันสูงส่งของเขา แต่ พ ระเยซู เจ้ ากลั บ คิ ด ตรงกัน ข้ าม พระองค์ ท รงพอพระทัยใช้ ค น ธรรมดาๆ แบบเรานี้เองเพื่อทําให้ งานอันยิ่งใหญ่ของพระเจ้ าสัมฤทธิผล ขอเพียงเราเปิ ดใจติดตามพระองค์เท่านั้น ! 2. พวกเขากําลังทําอะไร ? ซีโมนกับอันดรูว์กาํ ลังทอดแห ส่วนยากอบ และยอห์นกําลังซ่อมแหอยู่ในเรือ ทุกคนกําลังทําหน้ าที่ประจําวันของพวกเขา จึงกล่าวได้ ว่า พระเยซูเจ้ ามิได้ ตรัสเรียกเราเฉพาะเวลาอยู่ในวัด อยู่ใน อาราม หรืออยู่ในบ้ านเข้ าเงียบซึ่งตัดขาดจากโลกภายนอกโดยสิ้นเชิงเท่านั้น แต่ ทรง ตรัสเรียกและสนทนากับเราทุกแห่ งและทุกเวลา แม้ ขณะกําลังปฏิบัติหน้ าที่ประจําวัน ของเราเองก็ตาม 5


3. พระองค์เรียกพวกเขาอย่างไร ? พระองค์ตรัสสั่งว่า “จงตามเรามา เถิ ด ” คํา พู ด นี้ ไม่ ได้ ห มายความว่ า พวกศิ ษ ย์ พ่ึ ง จะพบพระองค์ เป็ นครั้ ง แรก แต่ แน่นอนว่าพวกเขาเคยอยู่ท่ามกลางฝูงชนที่ติดตามฟั งพระองค์เทศน์สอนมาก่อน และ เป็ นไปได้ มากว่าพวกเขาเคยสนทนากับพระองค์หลังจากฝูงชนแยกย้ ายกลับไปแล้ วด้ วย เมื่อพระองค์ตรัสว่า “จงตามเรามาเถิด” จึงเท่ากับว่ าพระองค์กาํ ลัง เชิญชวนศิษย์ให้ มีปฏิกริ ิยาตอบสนองต่อพระองค์ “หลังจากได้รูจ้ กั พระองค์แล้ว” เป็ นปฏิกริ ิยาที่เชื่อมโยงหัวใจของเราเข้ ากับพระเยซูเจ้ า และก่อให้ เกิด ความศรัทธาภักดีชนิดไม่มีวันสั่นคลอน เป็ นปฏิกริ ิยาที่เรียกได้ ว่า “ตกหลุมรัก” พระองค์ ปฏิกิริยาของพวกศิษย์คือตอบรับรัก และศรัทธาภักดีชนิดยอมตาย ถวายหัว แล้ วปฏิกริ ิยาของพวกเราล่ะ ? 4. พระองค์เสนออะไรแก่พวกเขา ? พระองค์ตรัสว่า “เราจะทําให้ท่าน เป็ นชาวประมงหามนุษย์” จะเห็ น ว่ า พระองค์ ไ ม่ ไ ด้ เรี ย กศิ ษ ย์ ม าเพื่ อให้ เสวยสุ ข มี ชี วิ ต ที่ สะดวกสบาย หรือนั่งโต๊ะเฉยๆ ด้ วยความเกียจคร้ าน แต่ ตรงกันข้ าม พระองค์ทรง เรียกเรามาเพื่อรับใช้ พระองค์และรับใช้ เพื่อนมนุษย์

ศิษย์ทแี่ ท้จริงคือศิษย์ทพี่ ร้อมดําเนินชีวติ และตายเพือ่ พระองค์ !

หนึ่งครั้ งวันอาทิตย์

คุณพ่ อฉลองรั ฐ สั งขรั ตน์ www.facebook/charlongrath Sang Karat 25 มกราคม 2015

บุญทิง้ กับบุญหนับ กําลังรํ าคาญใจกับ “แท็กซี่เมืองไทย” ขึ ้นราคามิเตอร์ ก็ แล้ ว ปรับปรุ งก็แล้ ว ก็ยงั อดไม่ได้ ที่จะข่าวร้ ายรายวัน แถมขึ ้นไป ก็ยงั พบกับคนขับ ขี ้บ่น นินทาชาวบ้ าน ด่านักการเมือง เอาเรื่ องผู้โดยสาร แต่ก็ทําใจต้ องใช้ บริการ ที่หงุดหงิดและสุดทนก็คือ เวลาเร่งด่วน ฝนตก รถติด ตกเย็นเรี ยกเท่าไรก็ไม่รับ ไปส่ง เป็ นที่หวั เสียรํ าคาญ เป็ นสิบคัน เรี ยกไปในเส้ นทาง ไม่ไปสักคน “ แกมี วิธีไหม? ที่จะแก้ ลํา แก้ เผ็ด แท็กซี ่ที่ปฎิ เสธผู้โดยสาร” บุญ หนับถาม ไอเดียสามี ที่มกั จะมีอะไรเด็ดๆ เหนือความคาดหมายเสมอ “ มีสิ เรื ่องนีข้ อให้บอก” บุญทิ ้งยิ ้มย่อง “ ก็เวลาแกเรี ยกแท็กซี ่ คนขับมักจะถามเราว่า ไปไหน? ใช่ไหม?” “ แกก็ตอบทันทีว่า ไปส่ งรถ” บุญทิ ้งตอบจริงจัง “ หรื อไม่ ถามว่าไปไหนครับ เราชิ งตอบว่า ไม่ ไปครั บ” “ แล้วจะเป็ นยังไง” บุญหนับยังสงสัย “ เวลาเขาถาม เราตอบไปส่ งรถ หรื อ ไปไหน ไม่ ไปครั บ มั นจะเจ็บ ชํ้า นํ้าใจแทนเราไง เพราะเขาเคยทํ าแบบนี ้ เราเคยเจ็ บชํ้ านํ้ าใจมาแล้ว คราวนี ้ จะดู นํ้าหน้าคนเจ็บใจ เป็ นอย่างไง” บุญทิ ้งตอบแบบร่าเริ ง กจ.4:19 “ลูกๆ ที่รัก ข้าพเจ้ามีความเจ็บปวดประหนึ่งว่า กําลังคลอด ท่านทั้งหลายอีกครั้งหนึ่งจนกว่าพระคริ สตเจ้าจะปรากฎอยูใ่ นท่านอย่างชัดเจน”

6

7


3. พระองค์เรียกพวกเขาอย่างไร ? พระองค์ตรัสสั่งว่า “จงตามเรามา เถิ ด ” คํา พู ด นี้ ไม่ ได้ ห มายความว่ า พวกศิ ษ ย์ พ่ึ ง จะพบพระองค์ เป็ นครั้ ง แรก แต่ แน่นอนว่าพวกเขาเคยอยู่ท่ามกลางฝูงชนที่ติดตามฟั งพระองค์เทศน์สอนมาก่อน และ เป็ นไปได้ มากว่าพวกเขาเคยสนทนากับพระองค์หลังจากฝูงชนแยกย้ ายกลับไปแล้ วด้ วย เมื่อพระองค์ตรัสว่า “จงตามเรามาเถิด” จึงเท่ากับว่ าพระองค์กาํ ลัง เชิญชวนศิษย์ให้ มีปฏิกริ ิยาตอบสนองต่อพระองค์ “หลังจากได้รูจ้ กั พระองค์แล้ว” เป็ นปฏิกริ ิยาที่เชื่อมโยงหัวใจของเราเข้ ากับพระเยซูเจ้ า และก่อให้ เกิด ความศรัทธาภักดีชนิดไม่มีวันสั่นคลอน เป็ นปฏิกริ ิยาที่เรียกได้ ว่า “ตกหลุมรัก” พระองค์ ปฏิกิริยาของพวกศิษย์คือตอบรับรัก และศรัทธาภักดีชนิดยอมตาย ถวายหัว แล้ วปฏิกริ ิยาของพวกเราล่ะ ? 4. พระองค์เสนออะไรแก่พวกเขา ? พระองค์ตรัสว่า “เราจะทําให้ท่าน เป็ นชาวประมงหามนุษย์” จะเห็ น ว่ า พระองค์ ไ ม่ ไ ด้ เรี ย กศิ ษ ย์ ม าเพื่ อให้ เสวยสุ ข มี ชี วิ ต ที่ สะดวกสบาย หรือนั่งโต๊ะเฉยๆ ด้ วยความเกียจคร้ าน แต่ ตรงกันข้ าม พระองค์ทรง เรียกเรามาเพื่อรับใช้ พระองค์และรับใช้ เพื่อนมนุษย์

ศิษย์ทแี่ ท้จริงคือศิษย์ทพี่ ร้อมดําเนินชีวติ และตายเพือ่ พระองค์ !

หนึ่งครั้ งวันอาทิตย์

คุณพ่ อฉลองรั ฐ สั งขรั ตน์ www.facebook/charlongrath Sang Karat 25 มกราคม 2015

บุญทิง้ กับบุญหนับ กําลังรํ าคาญใจกับ “แท็กซี่เมืองไทย” ขึ ้นราคามิเตอร์ ก็ แล้ ว ปรับปรุ งก็แล้ ว ก็ยงั อดไม่ได้ ที่จะข่าวร้ ายรายวัน แถมขึ ้นไป ก็ยงั พบกับคนขับ ขี ้บ่น นินทาชาวบ้ าน ด่านักการเมือง เอาเรื่ องผู้โดยสาร แต่ก็ทําใจต้ องใช้ บริการ ที่หงุดหงิดและสุดทนก็คือ เวลาเร่งด่วน ฝนตก รถติด ตกเย็นเรี ยกเท่าไรก็ไม่รับ ไปส่ง เป็ นที่หวั เสียรํ าคาญ เป็ นสิบคัน เรี ยกไปในเส้ นทาง ไม่ไปสักคน “ แกมี วิธีไหม? ที่จะแก้ ลํา แก้ เผ็ด แท็กซี ่ที่ปฎิ เสธผู้โดยสาร” บุญ หนับถาม ไอเดียสามี ที่มกั จะมีอะไรเด็ดๆ เหนือความคาดหมายเสมอ “ มีสิ เรื ่องนีข้ อให้บอก” บุญทิ ้งยิ ้มย่อง “ ก็เวลาแกเรี ยกแท็กซี ่ คนขับมักจะถามเราว่า ไปไหน? ใช่ไหม?” “ แกก็ตอบทันทีว่า ไปส่ งรถ” บุญทิ ้งตอบจริงจัง “ หรื อไม่ ถามว่าไปไหนครับ เราชิ งตอบว่า ไม่ ไปครั บ” “ แล้วจะเป็ นยังไง” บุญหนับยังสงสัย “ เวลาเขาถาม เราตอบไปส่ งรถ หรื อ ไปไหน ไม่ ไปครั บ มั นจะเจ็บ ชํ้า นํ้าใจแทนเราไง เพราะเขาเคยทํ าแบบนี ้ เราเคยเจ็ บชํ้ านํ้ าใจมาแล้ว คราวนี ้ จะดู นํ้าหน้าคนเจ็บใจ เป็ นอย่างไง” บุญทิ ้งตอบแบบร่าเริ ง กจ.4:19 “ลูกๆ ที่รัก ข้าพเจ้ามีความเจ็บปวดประหนึ่งว่า กําลังคลอด ท่านทั้งหลายอีกครั้งหนึ่งจนกว่าพระคริ สตเจ้าจะปรากฎอยูใ่ นท่านอย่างชัดเจน”

6

7


ขอขอบคุณ Pope Report

เชื่อว่ า หลายท่านได้ติดตามข่าวพระสันตะปาปาเยื อนเอเชีย (ศรี ลังกาและ ฟิ ลิ ป ปิ นส์) จากสถานี โทรทั ศ น์แ ละสื่ อ มวลชนสายต่า งๆ กั น ไปแล้ว ถื อ เป็ นเรื่ อ ง น่า ยิ น ดี อ ย่ า งมากที่ สื่ อ มวลชนไทยให้ค วามสนใจกับ พระสัน ตะปาปามากขนาดนี้ อย่างไรก็ตาม ข่าวที่ทกุ ท่านติดตามจากสํานักข่าวทัว่ ไป อาจจะไม่ “เจาะลึก” เท่าไหร่ ดังนั้น ผมขอสรุปทุกอย่างแบบละเอียด เพื่อให้สมกับการเป็ น POPE REPORT ตาม รายละเอียดนีเ้ ลย… การเยือนเอเชียของพระสันตะปาปา มีวตั ถุประสงค์แต่ละประเทศไม่เหมือนกัน พระสั น ตะปาปามาศรี ลั ง กา เพื่ อ สถาปนานั ก บุ ญ โจเซฟ วาซ และให้ กํ า ลั ง ใจ กระบวนการคื น ดี กัน ของคนในชาติ หลัง จากต้อ งเผชิญ ปั ญ หาความขัด แย้ง และ สงครามในประเทศมาหลายสิบปี ส่วนฟิ ลิปปิ นส์ จุดประสงค์หลักของการมาเยือนคือ การไปเยี่ ย มผูป้ ระสบภัย จากพายุไต้ฝุ่ นไห่ เยี่ ย น ซึ่ งพั ด ถล่ ม ฟิ ลิ ป ปิ นส์เมื่ อ ปี ที่ แล้ว ดังนัน้ เราน่าจะเห็นวัตถุประสงค์ของการมาเยือนเอเชียครัง้ นี้ ได้ชดั ขึน้ จากการสรุปนี้ เราต้องชนะความชัว่ ด้วยความดี – ต้องปล ูกฝังค ุณธรรมในการให้อภัยกัน

นี่คือบทสอนแรกในการมาเยือนศรีลังกา พระสันตะปาปาตรัสเรื่องนี้ในพิธี ต้อนรับ ณ ทําเนียบประธานาธิบดีว่า “มันเป็ นโศกนาฏกรรมในโลกของเราที่สังคม จํานวนมากต้องทําสงครามกันเอง การขาดความสามารถที่จะประนีประนอมความ แตกต่างและความไม่ลงรอยกัน ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องเก่าหรือเรื่องใหม่ ก็ได้ทาํ ให้เกิดความ ตึงเครียดต่อชาติพนั ธุแ์ ละศาสนา บ่อยครัง้ มันตามมาด้วยการปะทุของความรุนแรง “เป็ นเวลานานหลายปี ที่ศรีลังกาเป็ นที่รจู้ ักเกี่ยวกับความน่ากลัวของความ ขัดแย้ง และตอนนี้ ประเทศแห่งนี้กาํ ลังแสวงหาการรวบรวมความสงบและการรักษา บาดแผลที่เกิดขึน้ มันไม่ใช่งานที่งา่ ยเลยที่จะเอาชนะมรดกแห่งความขมขืน่ ของความ อยุตธิ รรม ความเป็ นศัตรูกนั และความไม่ไว้ใจกันที่ถกู ทิ้งไว้จากความขัดแย้ง “สิ่ ง นี้ สามารถบรรลุได้ด ้ว ยการชนะความชัว่ ด้ว ยความดี เท่ า นั้ น (โรม 12:21) และโดยการปลูกฝั งคุณธรรมที่สง่ เสริมให้เกิดการคืนดีกนั ความเป็ นนํา้ หนึง่ ใจเดียวกัน และสันติภ าพ กระบวนการของการเยียวยารักษายังจําเป็ นต้องมีการ แสวงหาความจริ ง การแสวงหานี้ไม่ได้ทําเพื่ อ ผลประโยชน์จากการเปิ ดแผลเก่าที่ เกิดขึ้น แต่มันเป็ นวิธีการที่จาํ เป็ นต่อการส่งเสริมความยุติธรรม การเยียวยารักษา และความสามัคคีกนั ” 8

พระเยซู เจ้ า ทรงประกาศข่ า วดี เรื่ อ งพระอาณาจั ก รของพระเจ้ า และทรง วางรากฐานพระอาณาจักรของพระองค์ด้วยการเรียกศิษย์ร่นุ แรก โยเซฟุสนักประวัติศาสตร์ชาวยิวและเคยเป็ นผู้ว่าราชการแคว้ นกาลิลีมาก่อน ได้ บันทึกไว้ ว่า มีเรือประมงมากถึง 330 ลําในทะเลสาบกาลิลี ที่เป็ นเช่ นนี้เพราะชาว ปาเลสไตน์ส่วนใหญ่ ยากจน ไม่ ค่อยมีโอกาสกินเนื้อสัตว์ อาหารหลักของพวกเขาจึง ได้ แก่ปลาหมักเกลือซึ่งเก็บไว้ ได้ นาน และสามารถส่งออกไปยังกรุงเยรูซาเล็มและโรม ได้ ชื่ อ เมื อ งที่ต้ั งอยู่ รอบๆ ทะเลสาบบ่ งบอกถึ งความสําคั ญ ของอุ ต สาหกรรม ประมงในแคว้ นกาลิลีได้ เป็ นอย่างดี อย่างเช่น “เบธไซดา” หมายถึง “บ้านแห่งปลา” และ “ตารีเคอา” หมายถึง “แหล่งปลาเค็ม” เป็ นต้ น จึงไม่น่าแปลกใจที่ศิษย์ของพระเยซูเจ้ าส่วนใหญ่จะเป็ น “ชาวประมง” อนึ่ง มีข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับบุคคลที่พระองค์ทรงเลือกให้ เป็ นศิษย์ ติดตามพระองค์ 1. พวกเขาเป็ นอะไร ? พวกเขาเป็ นชาวประมงพื้ นบ้ า นธรรมดาๆ ไม่ได้ มีการศึกษาหรือชาติตระกูลสูงส่ง ไม่มีฐานะหรือชื่อเสียงใดๆ ในสังคม น่ าเสียดายที่ผ้ ู นํายุ ค ใหม่ บ างคนไม่ เคยสนใจคนยากจนหรื อชนชั้ น กรรมาชีพอย่างจริงจังเลย ความคิดของพวกเขาคือกําจัดคนเหล่านี้ให้ หมดสิ้นไป แล้ ว แทนที่ด้วยคนที่ฉลาดกว่า มีประสิทธิภาพมากกว่า หรือมั่งคั่งมากกว่า ฮิตเลอร์กเ็ ป็ น หนึ่งในผู้นาํ ประเภทนี้ท่ตี ้ องการแทนที่ชาวโลกด้ วยชนเผ่าอารยันอันสูงส่งของเขา แต่ พ ระเยซู เจ้ ากลั บ คิ ด ตรงกัน ข้ าม พระองค์ ท รงพอพระทัยใช้ ค น ธรรมดาๆ แบบเรานี้เองเพื่อทําให้ งานอันยิ่งใหญ่ของพระเจ้ าสัมฤทธิผล ขอเพียงเราเปิ ดใจติดตามพระองค์เท่านั้น ! 2. พวกเขากําลังทําอะไร ? ซีโมนกับอันดรูว์กาํ ลังทอดแห ส่วนยากอบ และยอห์นกําลังซ่อมแหอยู่ในเรือ ทุกคนกําลังทําหน้ าที่ประจําวันของพวกเขา จึงกล่าวได้ ว่า พระเยซูเจ้ ามิได้ ตรัสเรียกเราเฉพาะเวลาอยู่ในวัด อยู่ใน อาราม หรืออยู่ในบ้ านเข้ าเงียบซึ่งตัดขาดจากโลกภายนอกโดยสิ้นเชิงเท่านั้น แต่ ทรง ตรัสเรียกและสนทนากับเราทุกแห่ งและทุกเวลา แม้ ขณะกําลังปฏิบัติหน้ าที่ประจําวัน ของเราเองก็ตาม 5


1.6 ข่ าวดีแห่ งความรอด ดังคําของนักบุญเปาโลที่ว่า “ในองค์ พระคริสตเจ้านี้ ท่านทัง้ หลายก็เช่นเดียวกันได้ฟังพระวาจาแห่งความจริง คื อข่าวดีอัน นําความรอดพ้นมาให้” (อฟ 1:13) ความรอดที่พระเยซูเจ้ าทรงนํามาประทานแก่เรานั้น ไม่ ได้ มี ความหมายเชิง “ปฏิเสธ” เช่น ให้ รอดพ้ นจากโทษบาปหรือแคล้ วคลาดจากบ่วงกรรมที่ ทําไว้ ในอดีตเท่านั้น แต่ยังมีความหมายเชิง “บวก” คือพระองค์ทรงทําให้ เรามีพลังที่ จะดําเนินชีวิตอย่างผู้มีชัยเหนือบาปและปัญหาอุปสรรคต่างๆ ในชีวิตของเราอีกด้ วย จะเห็นว่าสิ่งที่พระเยซูเจ้ าทรงประกาศและเทศน์สอนเป็ น “ข่าวดี” จริง ๆ ! 2. กลับใจ เราเรียนรู้มาว่า เพื่อจะกลับใจจําเป็ นต้ องเป็ นทุกข์ถงึ บาป แต่ ในทางปฏิบัติเรามักสับสนระหว่างการเป็ นทุกข์ถึง “บาป” และการเป็ นทุกข์ถึง “ผล ของบาป” มี ค นเป็ นจํา นวนมากที่ เป็ นทุ ก ข์ เสีย ใจอย่ า งจริ ง จั ง ถึ ง ผลร้ า ยที่สื บ เนื่องมาจากความผิดบาปที่ตนเองได้ กระทําลงไป แต่ หากเขาแน่ ใจว่ าสามารถหลบ หลีกหรือรอดพ้ นจากผลร้ ายที่น่าจะติดตามมาได้ เป็ นไปได้ มากว่าเขาจะกลับไปทําผิด เช่นเดิมอีก ที่เป็ นเช่นนี้เพราะสิ่งที่เขาเกลียดคือผลของบาป ไม่ใช่ตัวบาปเอง แต่การกลับใจที่แท้ จริงอยู่ท่กี ารเกลียด “บาป” ไม่ใช่ “ผลของบาป” ! การกลับใจตรงกับภาษากรีก metanoia (เมตานอยอา) ซึ่งหมายถึง “การเปลีย่ นจิตใจ” นั่ น คื อ ผู้ ท่ี เคย “รัก บาป” ต้ องเปลี่ ย นเป็ น “เกลี ย ดบาป” จึ ง จะ เรียกว่ากลับใจจริง 3.

เชื่อ พระเยซูเจ้ าตรัสสั่งให้ เรา “เชือ่ ข่าวดีเถิด” นั่นคือ เชื่อคําพูดของพระองค์ เชื่อว่าพระเจ้ าทรงเป็ นดังที่พระองค์ เทศน์ สอน เชื่อว่ าพระองค์ทรงรักมนุ ษ ย์และพร้ อมจะยอมเสียสละทุ กอย่ างเพื่ อนํา มนุษย์กลับมาหาพระองค์ และที่สาํ คัญ เชื่อว่าสิ่งต่างๆ ที่ดูเหมือนจะดีเกินกว่าเป็ นจริงนี้ เป็ นจริง !!! 4

พระศาสนจักรคาทอลิกให้ความเคารพท ุกศาสนา บทสอนที่สองเกิดในงานศาสนสัมพันธ์ เหตุการณ์นปี้ ระทับใจมากๆ ช่วงเริ่ม พิธี พระสงฆ์ของพุทธศาสนาได้นาํ สวดภาวนา ตามด้วย ผูน้ าํ ศาสนาฮินดูได้ขึ้นมา ทักทายพระสันตะปาปา พร้อมนําอาภรณ์สีสม้ มาคลุมไหล่ให้พระสันตะปาปา จากนัน้ เป็ นผูน้ าํ ชาวมุสลิมขึน้ กล่าว โดยผูน้ าํ มุสลิมได้กล่าวประณามการก่อการร้ายโดยนํา พระนามของพระเจ้ามาเป็ นข้ออ้าง เฉพาะอย่างยิ่งเหตุการณ์ที่กรุงปารีส ประเทศ ฝรัง่ เศส และเป็ นพระสันตะปาปาที่ตรัสเป็ นคนสุดท้าย พระสัน ตะปาปากล่าวว่า “สังคายนาวาติกัน ที่ 2 ประกาศชัด เจนว่า พระ ศาสนจักรคาทอลิกให้ความเคารพอย่างถึงที่สดุ ต่อศาสนาอื่นๆ ในส่วนตัวข้าพเจ้า เอง ข้าพเจ้าปรารถนาที่จะกล่าวยํา้ ว่า พระศาสนจักรคาทอลิกให้ความเคารพต่อพวก ท่าน เคารพขนบธรรมเนียมประเพณีของพวกท่าน และเคารพความเชือ่ ของพวกท่าน “ความเชื่ อ ทางศาสนาต้อ งไม่ ถ ูก นํา ไปใช้ในทางที่ ผิ ด ที่ จ ะก่ อ ให้เกิ ด ความ รุนแรงและสงคราม พวกเราต้องชัดเจนและทําให้ชดั ไปเลยที่จะดําเนินชีวิตในสันติ เรา ต้องประณามการกระทําที่กอ่ ให้เกิดความรุนแรง” เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ต้องมี “ขอบเขต” บทสอนที่สามที่ดังไปทัว่ โลกก็คือการให้สัมภาษณ์นกั ข่าวบนเครื่องบินจาก ศรีลงั กาไปฟิ ลิปปิ นส์ (เที่ยวบินนี้ พระสันตะปาปาบินผ่านเมืองไทยด้วย) นักข่าวถาม พระสั น ตะปาปาเกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ร ะหว่ า งศาสนากั บ เสรี ภ าพในการแสดง ความเห็ น พร้อมอ้างอิงถึงเหตุการณ์คนร้ายบุกยิงที่ทําการหนังสือพิมพ์ “ชาร์กลี เอ๊บโด” กลางกรุงปารีส พระสัน ตะปาปาตรั ส ตอบว่ า “ทั้ ง ศาสนาและเสรี ภ าพในการแสดงความ คิดเห็นคือสิทธิขนั้ พื้นฐานของมนุษย์ แต่การฆ่ากันด้วยพระนามของพระเจ้า ถือเป็ น ความวิ ปริต มันต้องมีขอบเขตที่จะแสดงออกทางความคิดเห็ น พ่อขอยกตัวอย่าง ดร.อัลแบร์โต้ กาสปาร์รี่ ซึ่งเป็ นผูด้ แู ลประสานงานการเดินทางของพระสันตะปาปา ทุกทริป และเขาก็ยืนข้างๆ พ่อในตอนนี้ ถ้าหากเพื่อนที่แสนดีอย่าง ดร.กาสปาร์รี่ มา ด่าคุณแม่ของตัวพ่อเอง(พระสันตะปาปา) ดร.กาสปาร์รี่จะต้องถูกพ่อจัดให้สกั ป้าปอ ย่างแน่นอน! มันเป็ นเรื่องปกติที่ว่า คุณไม่สามารถยัว่ ยุ คุณไม่สามารถกล่าวหาให้ ร้ายความเชื่อของคนอื่น คุณไม่สามารถเล่นตลกกับความเชื่อของคนอื่น ถ้าหากเกิด เรื่องแบบนี้ คุณเตรียมพบกับความรุนแรงได้เลย” โปรดติดตามต่ อฉบับหน้ า..

9


มิสซาสั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี B) วันอาทิตย์ ที่ 25 มกราคม ค.ศ. 2015 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 24 ม.ค. โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 18.00 น. สุ ขสํ าราญ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ อุทศิ แด่ มารี อา เตียว แซ่โง้ว ธีรยุทธ์ เบเนดิกต์ บักฮวย นงลักษณ์ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เริ งจิต วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 25 ม.ค. โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. สุ ขสํ าราญ บรรดาพระสงฆ์ นักบวชชาย-หญิง อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ มารี อา ประทุม ใช้สมบุญ และครอบครัว คุณกาญจนวรรณ ตั้งสัจจธรรม ครอบครัวธนาพานิชย์, พูนประชาสิ น, ลิ้มเจริ ญ อุทศิ แด่ สติเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช คุณสมนึก ใช้สมบุญ, ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั คค.ธนาพานิชย์ ยอแซฟ เกียจัว๊ แซ่คู บุตร อันนา เย็น เอี้ยพิน บุตร มารี อา เตียว แซ่โง้ว ธีรยุทธ์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง รณชัย โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ อา. 25 ม.ค. 10.00 น. สุ ขสํ าราญ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน นงเยาว์ คัธริ น โชษิตา เกียรติชยั วัฒน์ ครอบครัวอุชชิน นงเยาว์ ครอบครัวสุ วรรณจิต นงเยาว์ ครอบครัวอาดัมส์ นงเยาว์ 10

มนุษย์ก่อนหน้ านี้ค่อนข้ างจะมองโลกในแง่ร้าย เซเนกาถึงกับ กล่าวว่า “ในสิ่งทีจ่ าํ เป็ น มนุษย์ชว่ ยเหลือตัวเองไม่ได้” ตัวอย่างเช่น เมื่อใดก็ตามที่เรา ดิ้นรนต่อสู้เพื่อทําความดี เรามักลงเอยด้ วยความพ่ายแพ้ อย่างสิ้นหวังอยู่เสมอ แต่พระเยซูเจ้ าทรงนําข่าวดีแห่ ง “ความหวัง” มาสู่หัวใจที่ส้ นิ หวัง ! 1.3 ข่ าวดี แ ห่ งสั น ติ นั ก บุ ญ เปาโลสอนว่ า “จงสวมความ กระตือรือร้นทีจ่ ะประกาศพระวรสารแห่งสันติ” (อฟ 6:15) ธรรมชาติมนุ ษย์ประกอบด้ วยสัญ ชาติญ าณของสัตว์ป่าและ เทวดาผสมปนเปกัน อยู่ ในแต่ ละคน เราจึงมีบุ คลิกภาพแบบแตกแยกอยู่ ภ ายในตัว ด้ วยกัน ทุ กคน บางครั้งเราก็ดีใจหาย แต่ บ างครั้งเราก็กระวนกระวายใจอย่ างหนั ก เพราะถูกบาปหรือความผิดพลาดในอดีตตามมาหลอกหลอน พระเยซู เจ้ า เสด็ จ มาเพื่ อช่ ว ยให้ เราประสบชั ย ชนะเหนื อ สงครามกับตัวเราเอง พระองค์สามารถประสานบุคลิกภาพของเราให้ กลับมาเป็ นหนึ่ง เดียวกันได้ และมี “สันติ” 1.4 ข่ า วดี แ ห่ ง พระสั ญ ญา ดั ง ที่ นั ก บุ ญ เปาโลกล่ า วว่ า “คน ต่างชาติเข้ามามีสว่ นร่วมในกองมรดกเดียวกัน ร่วมเป็ นกายเดียวกัน ร่วมรับพระสัญญา เดียวกันในพระคริสตเยซู อาศัยข่าวดี” (อฟ 3:6) คนต่ า งศาสนามั ก คิ ด ถึ ง พระเจ้ า ในทํา นองชอบข่ ม ขู่ แ ละ เรียกร้ องสิ่งต่าง ๆ มากมายจากมนุษย์ แต่พระเยซูเจ้ าตรัสสอนว่าพระเจ้ าทรงพระทัย ดีและพร้ อมจะประทานทุกสิ่งทุกอย่าง ตามพระสัญญา แก่เรามนุษย์มากกว่าที่เราจะคิด ขอเสียอีก 1.5 ข่ าวดีแห่งความไม่รูจ้ ักตาย ดังที่นักบุญเปาโลสอนทิโมธีไว้ ว่ า “บัด นี้ ท รงเปิ ดเผยโดยการแสดงพระองค์ ของพระผูไ้ ถ่ คื อพระคริ สตเยซู ผูท้ รง ทําลายความตาย และทรงนําชีวติ และความไม่รูจ้ กั ตายให้ปรากฏอย่างชัดแจ้งโดยทาง ข่าวดี” (2 ทธ 1:10) คนต่ า งศาสนาสอนว่ า ชี วิ ต คื อ การเดิ น ทางสู่ ค วามตาย ธรรมชาติของมนุ ษ ย์เป็ นอนิจจัง นั่นคือเป็ นคนที่กาํ ลั งตาย แต่ พระเยซูเจ้ าเสด็จมา ประกาศข่าวดีว่าเรากําลังมุ่งหน้ าไปสู่ชีวิต ไม่ใช่ความตาย 3


สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี B) มก 1:14-20

อา.25 ม.ค. 08.00 น.

อุทศิ แด่

จ. 26 ม.ค. อ. 27 ม.ค. พ. 28 ม.ค. พฤ. 29 ม.ค. ศ. 30 ม.ค.

อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่

พระเยซูเจ้ าเสด็จไปยังแคว้ นกาลิลี ทรงประกาศเทศนาข่าวดีของพระเจ้ าตรัส ว่า “เวลาทีก่ าํ หนดไว้มาถึงแล้ว พระอาณาจักรของพระเจ้าอยู่ใกล้แล้ว จงกลับใจ และ เชือ่ ข่าวดีเถิด” (มก 1:14-15) จะเห็นว่ าเนื้อหาของ “คําเทศนา” ของพระเยซูเจ้ า อันเป็ นความเชื่อสําคัญ ของคริสตชน มีอยู่ 3 เรื่องด้ วยกัน กล่าวคือ 1.

ข่าวดี เนื้อหาของ “ข่าวดี” ในพระธรรมใหม่พอจะสรุปได้ ดังนี้ 1.1 ข่ าวดีแห่ งความจริง ดังที่นักบุญเปาโลกล่าวว่า “พระวาจา แห่งความจริงคือข่าวดี” (คส 1:5) ก่อนพระเยซูเจ้ าประสูติ มนุษย์ได้ แต่คาดเดาไปต่างๆ นานา เกี่ยวกับพระเจ้ า และพยายามคลําทางไปหาพระองค์อย่างสิ้นหวัง แม้ โยบเองยังต้ อง ร้ องว่ า “ข้าพเจ้าอยากรูว้ ่าจะพบพระองค์ได้ทีใ่ ด จะได้เข้าถึงพระทีน่ ่ังของพระองค์” (โยบ 23:3) แต่ เมื่อพระองค์เสด็จมาประกาศข่าวดีแห่ งความจริง เราไม่ ต้ อ งคาดเดาอีก ต่ อ ไป เพราะเรา “รู จ้ ริ ง” ว่ าพระเจ้ าทรงรั ก เราและอยู่ ใกล้ เรามาก เพียงใด ! 1.2 ข่าวดีแห่งความหวัง นักบุญเปาโลเตือนชาวโคโลสีว่า “ท่าน จงยืนหยัดมัน่ คงในความเชือ่ ไม่หวัน่ ไหวจากความหวังตามข่าวดีทีท่ ่านได้รบั ฟัง” (คส 1:23) 2

มารี อา เตียว แซ่ โง้ว ธีรยุทธ์ อากาทา สมสุ ข แซ่ลิ้ม มณี รัตน์ ยวง กิมเลี้ยง แซ่ล้ ี สมชาย ยอแซฟ อิว เมธีพิทกั ษ์กลุ เปโตร โสภณ, โรซา แหวน ทองไสว คค.ทองไสว ฟรังซิ สซิ สโก สวง, มารี อา สมร ทองไสว คค.ทองไสว เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ อุชชิน, ดร.โทมัส อาดัมส์ นงเยาว์ ยอแซฟ สมบัติ, มารี อา นิตยา, หลุยส์ บัญญัติ อุชชิน นงเยาว์ มารี อา มยุรี ผลาวงศ์, แมทธิว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต นงเยาว์ คุณใบ, คุณบานเย็น สิ งห์ชาลี ชวนี คุณธวัช ใจภักดี มารี อา กิมลี้, คุณซี ฮวง, แบร์นาแด๊ต นิภา รุ่ งโรจน์ ฟิ ลิป มุ่ยชิม, คุณเช้ง แซ่จึง รุ่ งโรจน์ เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี รุ่ งโรจน์ คุณก้านทอง แสงปัญหา รุ่ งโรจน์ ฟรังซิ สโก ถนอม, คุณเปลี่ยว ผิวเกลี้ยง สุ นีย ์ ฟรังซิ สโก บุญเกียรติ, เปโตร ดนตรี ไชยเผือก สุ นีย ์ วิญญาณทารกผูว้ มิ ล สุ นีย ์ วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง นงเยาว์ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ -

11


 พี่ น้ อ งครอบครั ว ใดประสงค์นําบุ ต รหลานเด็ ก เล็ก มารั บ ศี ล ล้า งบาปวัน อาทิตย์ที่ 1 กุมภาพันธ์ ศกนี้ โปรดติดต่อสํานักงานวัด  กลุ่มพิธีกรรม วัดแม่พระกุหลาบทิพย์ รับสมัครพี่น้องมาร่ วมกันสรรเสริ ญ พระเจ้ากับฝ่ ายต่าง ๆดังนี้ o ผูอ้ ่านพระวาจา ติดต่อ คุณนภาพร (พร) 08 9485 0620 หรื อคุณสุ ชาดา (แอน) 08 7828 2624 o ผูช้ ่วยพิธีกรรม ติดต่อ คุณนิภาภรณ์ (นก) โทร 08 488 5994 o นักดนตรี เล่นอิเลคโทน / เปี ยโน ติดต่อ คุณฐิติกาญจน์ (ฝน) 08 1828 9869

ฉบับที่ 563 วันอาทิตย์ท่ี 25 มกราคม ค.ศ. 2015

สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี B)

ประกาศครัง้ ที่ 2 การแต่งงาน ณ วัดแม่พระก ุหลาบทิพย์ ราฟาแอล รังสฤษฏ์ กฤษบ ุญชู บุตร ยอแซฟ วินจิ กฤษบุญชู และมารีอา บํารุง กฤษบุญชู จะเข้าพิธีสมรสกับ นางสาวพรทิพย์ วงษ์ดว้ ง บุตรี นายจันทร์ วงษ์ดว้ ง และนางสะอิ้ง วงษ์ดว้ ง วันเสาร์ที่ 14 ก ุมภาพันธ์ ค.ศ.2015 เวลา 14.00 น.

**ผูใ้ ดพบข้อขัดขวาง โปรดแจ้งคุณพ่อเจ้าอาวาสทราบ** 12

จงตามเรามาเถิด มก 1:17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.