ฉบับที่ 485 วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 2013
ฉบับที่ 485 วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 2013
สั ปดาห์ ที่ 17 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
สั ปดาห์ ที่ 17 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
จงขอเถิด แล้ วท่ านจะได้ รับ
จงขอเถิด แล้ วท่ านจะได้ รับ ลก 11:9
ลก 11:9
สั ปดาห์ ที่ 17 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
ลก 11:1-13
ถือเป็ นธรรมเนียมของบรรดารับบีทจ่ี ะสอนบทภาวนาเพื่อพวกศิษย์จะได้ใช้ สวดเป็ นประจํา ยอห์นผูท้ ําพิธลี ้างได้สอนศิษย์ของท่านสวดภาวนาแล้ว ศิษย์ของ พระเยซูเจ้าจึงเข้ามาทูลขอพระองค์ให้สอนพวกเขาสวดภาวนาบ้าง พระองค์จงึ ทรงสอนบท “ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทัง้ หลาย” ซึ่งเรายังใช้ สวดต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้ แม้บท “ข้าแต่พระบิดา” ตามสํานวนของลูกาจะสัน้ กว่าของมัทธิว (มธ 6:915) แต่ก็เพียงพอที่จะสอนเราว่าต้อง “สวดภาวนาอย่ างไร” และต้อง “วอนขอ อะไร” บ้าง ประการแรกสุด เราต้องสวดภาวนาโดยเรียกพระเจ้าเป็ น “บิ ดา” ของ เรา การได้เรียกพระเจ้าเป็ น “บิดา” ถือเป็ นพระพรและเป็ นสิทธิพเิ ศษยิง่ ใหญ่ สูงสุดของคริสตชน ดังทีน่ ักบุญเปาโลกล่าวไว้ว่า “ท่านทัง้ หลายไม่ได้รบั จิตการเป็ น ทาสซึง่ มีแต่ความหวาดกลัวอีก แต่ได้รบั จิตการเป็ นบุตรบุญธรรม ซึง่ ทําให้เราร้อง ออกมาว่า ‘อับบา พ่อจ๋า’” (รม 8:15) เมื่อ เรีย กพระองค์เ ป็ น “พ่ อ จ๋ า ” ย่อ มแสดงว่า เรากํ า ลัง ภาวนาวอนขอต่ อ “บิ ดา” ผูท้ รงปี ตยิ นิ ดีและเต็มพระทัยอย่างยิง่ ทีจ่ ะประทานทุกสิง่ ทีล่ ูกต้องการ ไม่ใช่ ต้องรอให้ลกู คะยัน้ คะยอหรือเคีย่ วเข็ญจนต้องจํายอมให้ในทีส่ ดุ ประการทีส่ อง เราต้องสวดภาวนาด้วยความ “วางใจ” 2
วัน เดือน ปี อา 28 ก.ค. 08.00 น.
รายการมิสซา ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ เปโตร อุทยั ดารุ ทยาน ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั อันตน ศิริ, มารี อา มักดาเลนา เกษร ไชยเจริ ญ ผูล้ ่วงลับครอบครัวตันติโกสิ ชฌน์ บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง อา 28 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน เทเรซา หนึ่ งฤทัย บัญญัติวงศ์ และครอบครัว เปโตร มานพ เลาหบุตร และครอบครัว มารี อา อารี รักษ์ โรจนประดิษฐ์ เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว, คุณสัณหพล เหลืองอร่ าม คุณทัศนีย ์ สว่าง ครอบครัวกาฬแก้ว, ผูส้ ูงอายุที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อุทศิ แด่ หลุยส์ พิชยั เจริ ญสุ ข มอนิกา ทองแดง หาญจําปา คุณชื้น ผ่องพุฒิ อันนา สังเวียน, เปโตร ถนอม สุ วรรณราช คุณพัฒนา ทองธิ ว, คุณสอ ชูสอน คุณวิชยั สายแสง, คุณราตรี ลี้ยาง คุณยีส่ ุ่ น พานิช, ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑล คุณนุชนาถ พุม่ พวง, แบนาแด๊ต กรรจภรณ์ ทําจันทา คุณจิโรจน์ ฮิมา ยอแซฟ ชลิต, ยอแซฟ ชัยรัตน์ แซ่แต้ ยอแซฟ มกจอว แซ่แต้ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง
ผู้ขอมิสซา วิภาวินี อมรา คค.ธนาพานิชย์ พิทกั ษ์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ สุ นทรี วิไลวรรณ คริ สโตเฟอร์ สิ ริมา ธมนธรณ์ จินตนาถ กานดา สิ ริมา ลลิตา ลลิตา รุ จิเรข รุ จิเรข นาราภัทรพิมพ์กลุ 11
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 17 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 27 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 18.00 น. มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว เยโนเวฟา วิภาวินี โอวาทนุพฒั น์ คุณเกียรติศกั ดิ์ ไตรตรึ งส์ทศั นา อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เริ งจิต คุณชื้น ผ่องพุฒิ, คุณรัตนา บัวบาน บุญชัย/สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง ณัฐวรรณ อา. 28 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ ยอแซฟ สุ ชารี ย ์ แสงหาญ, มารี อา ธันยพร ศศิสุวรรณ ธันยพร ยอแซฟ ปัณณธร, ยอแซฟ ภัทรกร แสงหาญ ธันยพร มารี อา กอแรตตี พีรดา แพทย์กลุ มาลินี คุณณัฐชนน หนูมนั่ , คุณลัดดาวัลย์ ธนากรณ์เมธา มาลินี ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ ณัฐวรรณ ครอบครัวสุ ทธิโอภาส, ครอบครัวบรรณสกุล ณัฐวรรณ ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวเพียรช่างคิด ณัฐวรรณ ครอบครัวลิ้มจิตรกร, ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์ ณัฐวรรณ ทุกครอบครัวในโลก ณัฐวรรณ อุทศิ แด่ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว ณัฐวรรณ คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ณัฐวรรณ ยวง บัปติสต์ เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ณัฐวรรณ ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสารและสาธรกิจ ณัฐวรรณ อันนา สังเวียน, เปโตร ถนอม สุ วรรณราช นาราภัทรพิมพ์กุล เปโตร รัฐพล สุ วรรณราช นาราภัทรพิมพ์กุล 10
หนึ่ งในคําวอนขอที่พระเยซูเจ้าทรงสอนเราคือ “พระนามพระองค์จงเป็ นที ่ สักการะ” ในภาษาฮีบรู คําว่า “นาม” ไม่ได้หมายถึงเพียง “ชือ่ ” ทีใ่ ช้เรียกผูห้ นึ่งผูใ้ ด เท่านัน้ แต่หมายรวมถึงอุปนิสยั ใจคอ หน้าตา ท่าทาง ตลอดจนบุคลิกลักษณะทัง้ หมด ทีท่ าํ ให้ผนู้ นั ้ เป็ นบุคคลนัน้ ดังตัวอย่างจากเพลงสดุดที ก่ี ล่าวว่า “บรรดาผูท้ รี ่ จู้ กั พระนามของพระองค์ ก็ วางใจในพระองค์” (สดด 9:10) ย่อมมิได้หมายความว่าคนทีร่ วู้ ่าพระเจ้าชื่อ “ยาห์เวห์” แล้วจะวางใจในพระองค์ แต่หมายความว่า คนทีร่ ูจ้ กั หัวจิตหัวใจของพระเจ้าว่าทรง เป็ นเช่นใดแล้วเท่านัน้ จึงยินดีมอบความวางใจทัง้ หมดไว้ในพระองค์ พูดโดยย่อก็คอื เมื่อเราภาวนาว่า “พระนามพระองค์จงเป็ นทีส่ กั การะ” ย่อม แสดงว่าเรารูแ้ ล้วว่าพระเจ้าทรงมีความคิดและจิตใจอย่างไร ?! พระองค์ท รงเปี่ ย มด้ว ยฤทธิอ์ ํา นาจ ทรงเป็ น “บิด า” ผู้เ ปี่ ย มด้ว ยความรัก ความเมตตา และทรงห่วงใยเรามากสักเพียงใด ! เราจึงต้องทูลขอพระองค์ดว้ ยความ “วางใจ” อย่างยิง่ ! ประการทีส่ าม เราต้องจัดลําดับการวอนขอให้ถกู ต้อง พระเยซูเจ้ามิได้ทรงสอนให้เราเริม่ สวดภาวนาด้วยการเสนอ “ความต้องการ” ของเราแต่ละคน แต่ทรงสอนให้เราเริม่ ต้นด้วยการสักการะ ยกย่อง ให้เกียรติ และ เคารพยําเกรงพระเจ้าผูท้ รงครองราชย์ในพระอาณาจักรสวรรค์ ต่อเมื่อเรายอมรับพระเจ้าและพระประสงค์ของพระองค์ให้อยู่เหนือ “ความ ต้องการ” ส่วนตัวของเราแล้วเท่านัน้ คําวอนขออื่นๆ จึงเกิดขึน้ และเป็ นไปได้ ประเด็นสุดท้ายคือ เราต้องวอนขออะไร ? คําตอบคือ “ทุกสิ ง่ ” 1. ทุกสิง่ ทีจ่ ําเป็ นสําหรับ “ปัจจุบนั ” ไม่ว่าจะเป็ นอาหารประจําวัน ทีอ่ ยู่ อาศัย เครือ่ งนุ่งห่ม ยารักษาโรค ฯลฯ เมื่อสวด “โปรดประทานอาหารประจําวันแก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลายในวันนี้” ขอยํ้าเตือนว่า ให้เราวอนขอเฉพาะสิง่ ที่จําเป็ นสําหรับ “วันนี้” เท่านัน้ ทัง้ นี้เพื่อจะได้ รอดพ้นจากความวิตกกังวลถึง “วันพรุง่ นี้” ซึง่ ไม่มผี ใู้ ดล่วงรูเ้ ลยว่าจะมีหรือไม่ และ3
หากมี “วันพรุง่ นี้” จริง อะไรจะเกิดขึน้ บ้างเราก็ไม่รู้ ขอให้ระลึกถึงอุทาหรณ์เรื่องนกคุ่มและมานนาทีพ่ ระเจ้าทรงใช้เลีย้ ง ชาวอิสราเอลในถิน่ ทุรกันดาร “คนทีเ่ ก็บมากก็ไม่ได้มมี ากกว่าผูอ้ นื ่ และคนทีเ่ ก็บมา น้อยก็ไม่ได้มนี ้อยกว่าผูอ้ นื ่ ” (อพย 16:18) และเมื่อบางคนพยายามเก็บอาหารส่วน หนึ่งไว้จนถึงวันรุง่ ขึน้ “อาหารนัน้ ก็เกิดมีหนอนและเน่าเสีย” (อพย 16:20) 2. การอภัยสําหรับความผิดพลาดใน “อดีต” ซึง่ จําเป็ นสําหรับเราทุก คนโดยไม่เว้นผูใ้ ดเลย เพราะแม้แต่ผศู้ กั ดิ ์สิทธิ ์ทีส่ ุดในท่ามกลางพวกเรา ก็ยงั เป็ นคน บาปเมือ่ อยูต่ ่อหน้าพระพักตร์ของพระเจ้า 3. การปกป้องคุ้มครองสําหรับ “อนาคต” โดยไม่จํากัดเฉพาะเรื่อง การประจญหรือเมื่อถูกล่อลวงให้ทําบาปเท่านัน้ แต่รวมถึงทุกสิง่ ทุกกิจกรรม และ ทุกเวลาตลอดชีวติ ของเรา แน่ นอนว่าพระเจ้าจะไม่ทรงช่วยเราให้รอดพ้นจากปญั หา อุปสรรค และความทุกข์ยากลําบากต่างๆ ในชีวติ แต่เรามันใจได้ ่ วา่ พระองค์จะทรงประทับอยู่ เคียงข้างเราและจะทรงคุ้มครองเราให้สามารถเผชิญหน้ าและเอาชนะปญั หาและ ความทุกข์ยากเหล่านัน้ ได้ดว้ ยดี
เพื่อหลีก เลี่ยงความร้อนจากแสงอาทิต ย์ในเวลากลางวัน ชาวยิว จึงนิ ยม เดินทางเวลาเย็น เพราะฉะนัน้ นักเดินทางที่พระเยซูเจ้าทรงกล่าวถึงคงมาถึงบ้าน ของเพือ่ นดึกมาก การต้อนรับแขกถือเป็ นหน้าทีศ่ กั ดิ ์สิทธิ ์ นอกจากให้ทพ่ี กั อาศัยแล้วยังต้อง เลีย้ งดูปเู สือ่ อย่างเต็มที่ จะกระทําตามมีตามเกิดหรือแบบขอไปทีไม่ได้ ปกติชาวยิวแต่ละครอบครัวจะทําขนมปงั ไว้กนิ เองแบบวันต่อวัน เพื่อขนม ปงั จะได้ใหม่และสดน่ากินอยูเ่ สมอ 4
เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้น อารมณ์เป็ นสิ่งสําคัญที่มองข้ามมิได้ มันอยู่ เบื้องหลังคําพูดและเหตุผลต่างๆ ที่พรัง่ พรูออกมา ผูค้ นส่วนใหญ่มักสนใจแต่ คําพูดและเหตุผลที่อีกฝ่ ายเอ่ยอ้าง แต่การรับรูเ้ พียงเท่านัน้ ก็ไม่ต่างจากการเห็ น แค่ยอดของภูเขานํา้ แข็ง ซึ่งนับว่าเล็กน้อยมากเมื่อเทียบกับก้อนมหึมาที่อยู่ใต้นาํ้ เมือ่ รับรูค้ วามจริงไม่ครบถ้วนก็ยากที่จะแก้ไขความขัดแย้งให้ถกู จุดได้ ความคิดหรือ “สมอง” นัน้ รับรูไ้ ด้แต่ส่วนที่เป็ นเหตุผลหรือข้อเท็จจริง แต่ ไม่ส ามารถรับรูอ้ ารมณ์ของอี กฝ่ ายได้ เราจะรับรูค้ วามจริ งอย่างครบถ้ว นได้ จําต้องใช้ “หัวใจ” ด้วยเพื่อรับรูอ้ ารมณ์ของคู่กรณี อารมณ์ที่ว่าไม่ได้มีแค่ความ โกรธ ความไม่พอใจเท่านัน้ ที่สาํ คัญกว่านัน้ ก็คือความทุกข์ ความเจ็บปวด เพียง รับรูว้ ่าเขาโกรธเท่านัน้ ยังไม่พอ หลายคนพอรูว้ ่าอีกฝ่ ายโกรธ ความรูส้ ึกไม่พอใจก็ เกิดขึ้นเป็ นปฏิกิริยาตอบโต้ แต่เราควรรับรูใ้ ห้ลึกไปกว่านั้น คือรับรูค้ วามทุกข์ หรือความเจ็บปวดของเขา การรับรูด้ งั กล่าวจะช่วยให้เราเห็ นใจเขาและปรารถนา จะช่วยบรรเทาความทุกข์ของเขา แต่การรับรูค้ วามทุกข์ของอีกฝ่ ายเป็ นเรื่องยาก หากเราว้าวุ่นขุน่ มัวหรือ คิดแต่จะหาเหตุผลมาชีแ้ จง สาละวนอยู่กบั การสรรหาคําพูดมาตอบโต้เขา ต่อเมื่อ เราทําใจให้ว่างเท่านัน้ จึงจะสัมผัสรับรูค้ วามเจ็บปวดของเขาได้ชดั เจน เวลาขัดแย้งกันถึงขัน้ มีปากมีเสียงกัน เราไม่ควรคํานึงแต่เหตุผลหรือยึด ติดกับความถูก-ผิดมากนัก เพราะถึงแม้เราจะเอาเหตุผลหรือหลักฐานมายืนยัน ว่าเราเป็ นฝ่ ายถูก ก็ใช่ว่าความขัดแย้งจะคลี่คลายไปได้ จะมีประโยชน์อะไรหากเรา เป็ นฝ่ ายถูก แต่อีกฝ่ ายยังรูส้ ึกเจ็บปวดและแค้นเคือง ถ้าอีกฝ่ ายไม่ใช่ใครที่ไหน แต่ เป็ นคนที่เรารักหรือใกล้ชดิ เรา ผลเสียย่อมตามมาอีกมากมาย ทัง้ นี้ ยังไม่ตอ้ งพูด ถึงการใช้เหตุผลในการกล่าวหาโจมตีอีกฝ่ ายว่าเป็ นผูผ้ ิด ซึ่งยิ่งเท่ากับสร้างความ เจ็บแค้นแก่กนั และกันให้มากขึน้ น.พ.ประเสริ ฐ ผลิ ตผลการพิ ม พ์ เคยให้ข อ้ คิด ไว้ว่ า “เวลาสามีภ รรยา ทะเลาะกัน อย่าใช้เหตุผลเป็ นอันขาด ให้ใช้อารมณ์ วางเหตุผลลงให้ได้ ปล่อยให้ อารมณ์ลอยขึน้ มา อารมณ์รกั ที่เคยมีตอ่ กันในอดีตจะเข้ามาแก้ปัญหาให้เอง” มิใ ช่แ ต่ส ามีภ รรยาเท่า นั้น กับ เพื่ อ นร่ ว มงานหรื อ มิ ต รสหาย ก็ ค วรทํา เช่นเดียวกัน แต่หากว่ายังไม่ถึงขัน้ ทะเลาะกัน แม้จะใช้เหตุผล ก็อย่าลืมใช้อารมณ์ ด้วย กล่าวอีกนัยหนึง่ คือ ใช้ทงั้ สมองและหัวใจควบคูก่ นั 9
นิตยสาร IMAGE กรกฎาคม 2556
“กุง้ ” เป็ นกรรมการมูลนิธิแห่งหนึง่ ซึ่งก่อตัง้ ได้ไม่นาน จึงต้องการความ สนับสนุนและกําลังความคิดจากผูค้ นเป็ นอันมาก คราวหนึง่ มีการประชุมในหมู่ ผูส้ นับ สนุน มูล นิธิ ผูใ้ หญ่ ท่ า นหนึ่ง ได้ก ล่า ววิ พ ากษ์วิ จ ารณ์ก รรมการมูล นิธิ อย่างยืดยาว เพราะไม่พอใจที่ขอ้ เสนอหลายอย่างของเขาไม่มีใครนําไปปฏิบัติ ทัง้ ๆ ที่เขาใช้เวลาครุ่นคิดกับมันอย่างมาก กุง้ เห็ น ว่ า เขามี ค วามเข้า ใจคลาดเคลื่ อ นหลายประการ จึ ง ขอชี้ แ จง ข้อเท็จจริง รวมทัง้ บอกเล่าถึงข้อจํากัดหลายอย่างที่ทาํ ให้ไม่สามารถนําข้อเสนอ ของเขาไปปฏิบัติได้ แต่คาํ ชี้แจงของเธอ กลับทําให้เขาขุน่ เคืองมากขึน้ และตอบ โต้หนักกว่าเดิม กุง้ ได้ยินเช่นนัน้ ก็อยากอธิบายเพิ่มเติม แต่ “การุญ” ซึ่งเป็ นกรรมการ อาวุโส สะกิดเธอให้นิ่งเงียบ แล้วพูดกับบุคคลผูน้ ั้นว่า “ผมรับทราบและรูส้ ึก ขอบคุณที่คณ ุ มีความปรารถนาดีตอ่ มูลนิธิ ขณะเดียวกันก็เข้าใจความรูส้ ึกของ คุณด้วย คุณรูส้ ึกเสียใจที่ความตัง้ ใจดีของคุณไม่ถกู นําไปปฏิบัติ แต่ก็อยากให้ เข้าใจว่าเรามีขอ้ จํากัด ทําให้ไม่สามารถทําตามข้อเสนอของคุณได้ อันนี้เป็ น ความผิดพลาดของพวกเราเอง ผมต้องขออภัยกับสิ่งที่เกิดขึน้ ด้วย” การุญ พูด จบ อาสาสมั ค รผู้นั้ น ก็ มี อ าการสงบลงอย่ า งเห็ น ได้ชั ด บรรยากาศที่มนึ ตึงผ่อนคลายไปทันที เหตุการณ์ดังกล่า วทํา ให้กงุ้ รูว้ ่ า สิ่ งที่ อ าสาสมัครผูน้ ั้นต้อ งการไม่ใ ช่ เหตุผลหรือคําชี้แจง เขาเพียงแต่ตอ้ งการให้กรรมการมูลนิธิรับรูว้ ่าเขารูส้ ึก อย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้น ตราบใดที่กรรมการยังไม่รับรูค้ วามทุกข์ของเขา เขาก็ ยังไม่เลิกรา แม้ว่าคําชีแ้ จงของเธอจะมีเหตุผลหรือถูกต้องเพียงใดก็ตาม เธอได้บ ทเรี ย นว่ า กรณี แ บบนี้ สิ่ ง สํา คัญ มิไ ด้อ ยู่ที่ เ หตุผ ลหรื อ ความ ถูกต้อง แต่อยู่ที่การเปิ ดใจรับรูอ้ ารมณ์ความรูส้ ึกของเขา ความขัดแย้งจะไม่ คลี่คลายเลยหากเธอได้ยินแต่คาํ พูดของเขา แต่ไม่รบั รูค้ วามรูส้ ึกของเขา 8
การมาเยือนของเพื่อนผูเ้ ดินทางยามวิกาลโดยมิได้บอกกล่าวล่วงหน้า คงทํา ให้เจ้าของบ้านกระอักกระอ่วนใจมากทีเดียว เพราะขนมปงั หมดแล้ว ในตูก้ บั ข้าวก็ไม่ มีอะไรเหลือ แล้วเขาจะทําหน้าทีศ่ กั ดิ ์สิทธิ ์นี้ให้ครบถ้วนได้อย่างไรกัน ? ทางออกคือ “บากหน้ า” ไปขอยืมขนมปงั จากเพือ่ นอีกต่อหนึ่ง เผื่อว่าเขาอาจ มีเหลือติดตูก้ บั ข้าวอยูบ่ า้ ง ! ทีต่ อ้ งบากหน้าก็เพราะเป็ นธรรมเนียมของชาวยิวทีจ่ ะเปิ ดประตูบา้ นตลอดวัน แต่เมือ่ ตกเย็นและประตูบา้ นปิดแล้ว ความเป็ นส่วนตัวต้องได้รบั การเคารพสูงสุด… หากไม่ใช่เรือ่ งคอขาดบาดตายจริงๆ แล้ว ห้ามรบกวนกันเด็ดขาด ! เหตุผลคือ บ้านของชาวชนบทผูย้ ากจนมักมีเพียงห้องเดียวและหน้าต่างเล็กๆ อีกบานเดียว พืน้ บ้านเป็ นดินอัด ปูดว้ ยต้นอ้อหรือต้นกก ภายในบ้านแบ่งออกเป็ น สองส่วนต่างระดับกัน ส่วนแรกอยูร่ ะดับเดียวกับพืน้ ดิน มีเนื้อทีป่ ระมาณเศษสองส่วน สามของบ้าน ส่วนทีส่ องคือเนื้อทีท่ เ่ี หลือทัง้ หมดซึ่งถูกยกพืน้ ให้สูงขึน้ เล็กน้อย ใช้ สําหรับปูเสื่อนอนแบบเบียดกันเพื่อความอบอุ่นของสมาชิกในบ้าน โดยมีเตาถ่านติด ไฟไว้ตลอดคืนเพือ่ เพิม่ ความอบอุน่ อีกทางหนึ่ง เพราะต้องนอนเบียดกัน หากผูใ้ ดตื่นและลุกขึน้ ก็แปลว่าทุกคนในบ้านต้องตื่น ตามไปด้วย จึงไม่แปลกเลยทีเ่ พื่อนบ้านจะตอบว่า “อย่ารบกวนฉันเลย ประตูปิดแล้ว ลูกๆ กับฉันก็เข้านอนแล้ว ฉันลุกขึน้ ให้สงิ ่ ใดท่านไม่ได้หรอก” (ลก 11:7) แต่เมื่อถูกตื๊อแบบไม่รูจ้ กั อายและถูกรบเร้าแบบไม่มคี ําว่า “เกรงใจ” จนคน ทัง้ บ้านตื่นหมดแล้ว เพือ่ นบ้านคนนัน้ ก็จาํ ใจต้องลุกขึน้ มาหยิบขนมปงั ให้ ! ปกติพระเยซูเจ้าจะเล่านิทานเปรียบเทียบเพื่อสอนให้เราเจริญรอยตาม แต่ใน กรณีน้ีพระองค์ทรงยกเรือ่ ง “เพือ่ นบ้านจอมตือ๊ ” ขึน้ มาเพือ่ สอนเรามิให้เอาเยีย่ งอย่าง ! นัน่ คือ อย่า “เคี ย่ วเข็ญพระเจ้า” เพราะพระองค์ไม่ใช่พระเจ้าที่ “ใส่เกียร์ ว่าง” โดยไม่สนใจช่วยเหลือเรามนุ ษย์ แต่ให้เราคิดอีกมุมหนึง่ ว่า เพือ่ นบ้านทีห่ น้างอและไม่เต็มใจลุกจากทีน่ อน ยัง ยอมให้เพือ่ นยืมขนมปงั ได้ ไฉนเลย พระเจ้าผูท้ รงเป็ น “บิ ดา” ทีเ่ ปี ย่ มล้นด้วยความ รัก จะไม่ประทานทุกสิง่ ทีล่ กู ต้องการด้วยความเต็มพระทัยอย่างยิง่ ดอกหรือ ?!? 5
กระนัน้ ก็ตาม เราจะเอา “นํ้าพระทัยดี” จากฝา่ ยพระเจ้า มาเป็ นข้ออ้างสําหรับ ฝา่ ยเราทีจ่ ะละเว้นการสวดภาวนาอย่าง “เข้มข้น” ไม่ได้ เพราะความเข้มข้นนี้บ่งบอก ถึงความมุง่ มันและความปรารถนาอั ่ นแท้จริงของเรา เพราะฉะนัน้ พระองค์จงึ ตรัสว่า “จงขอเถิ ด แล้วท่านจะได้รบั ” (ลก 11:9) ไม่มคี าํ ภาวนาใดทีพ่ ระเจ้าไม่ทรงตอบรับ !!! หากเราไม่ได้รบั สิง่ ทีว่ อนขอ นันไม่ ่ ใช่เพราะพระเจ้าทรงปฏิเสธคําวอนขอของ เรา แต่เป็ นเพราะคําตอบของพระองค์ไม่ตรงกับความคาดหวังของเรา เพราะพระองค์ทรงประทาน “สิ ง่ ทีด่ ีกว่า” แก่เรา !!! พระองค์ผทู้ รงเปี ย่ มด้วยปรีชาญาณและความรัก ทรงล่วงรูค้ วามต้องการของ เรามากกว่าตัวเราเองเสียอีก !
ฉะนัน้ “จงขอเถิด แล้วท่านจะได้รบั ”
ผูฝ้ ึ กปฏิบตั ิธรรมหนุ่ มคนหนึ่ งไปหาพระอาวุโสและบ่น ว่า แม้ชีวิตของเขาจะได้มอบจนหมดสิ้ นให้กบั การทําความดี เขา ยังคงไม่สามารถบรรลุถึงสันติสุข พระอาวุโสบอกผูฝ้ ึ กปฏิบตั ิธรรมหนุ่มคนนั้นให้นาํ นํ้ามา จากบ่ อ นํ้า นํ้า ที่ นํา มาจากบ่ อ เป็ นนํ้า ขุ่น พระอาวุ โ สจึ ง สั่ ง ผูฝ้ ึ ก ปฏิบตั ิธรรมหนุ่มว่า “ปล่ อยนํา้ นี ไ้ ว้ สักพัก” หลังจากนั้นโคลน และทรายก็ตกตะกอนอยูท่ ี่กน้ ของภาชนะที่ใส่ น้ าํ และนํ้าก็ใส หลังจากนั้นพระอาวุโสกล่าวว่า “จงพิจารณาดู ชีวิตของ คุณเหมือนกับนํ้าขุ่น และกิจกรรมมากมายที่คุณกระทํา ยิ่งรบกวน และทําให้จิตใจของคุณไม่ได้รับการพักผ่อน แต่ถา้ คุณให้ชีวิตของ คุณอยู่ในความเงี ยบสักพักด้วยการสวดภาวนา หัวใจของคุ ณจะ สะอาดและบริ สุทธิ์เหมือนนํ้านี้” ข้ อคิด
เพือ่ ที่จะได้ รับสั นติสุขในจิตใจ สิ่งที่สําคัญคือ ให้ จิตใจของคุณ อยู่ในความเงียบและสวดภาวนา จิตใจที่สงบและเงียบคือจิตใจ ทีม่ ีพระเจ้ า เรื่ องเล่ าโดย คุณพ่ อเชษฐา ไชยเดช
6
7
กระนัน้ ก็ตาม เราจะเอา “นํ้าพระทัยดี” จากฝา่ ยพระเจ้า มาเป็ นข้ออ้างสําหรับ ฝา่ ยเราทีจ่ ะละเว้นการสวดภาวนาอย่าง “เข้มข้น” ไม่ได้ เพราะความเข้มข้นนี้บ่งบอก ถึงความมุง่ มันและความปรารถนาอั ่ นแท้จริงของเรา เพราะฉะนัน้ พระองค์จงึ ตรัสว่า “จงขอเถิ ด แล้วท่านจะได้รบั ” (ลก 11:9) ไม่มคี าํ ภาวนาใดทีพ่ ระเจ้าไม่ทรงตอบรับ !!! หากเราไม่ได้รบั สิง่ ทีว่ อนขอ นันไม่ ่ ใช่เพราะพระเจ้าทรงปฏิเสธคําวอนขอของ เรา แต่เป็ นเพราะคําตอบของพระองค์ไม่ตรงกับความคาดหวังของเรา เพราะพระองค์ทรงประทาน “สิ ง่ ทีด่ ีกว่า” แก่เรา !!! พระองค์ผทู้ รงเปี ย่ มด้วยปรีชาญาณและความรัก ทรงล่วงรูค้ วามต้องการของ เรามากกว่าตัวเราเองเสียอีก !
ฉะนัน้ “จงขอเถิด แล้วท่านจะได้รบั ”
ผูฝ้ ึ กปฏิบตั ิธรรมหนุ่ มคนหนึ่ งไปหาพระอาวุโสและบ่น ว่า แม้ชีวิตของเขาจะได้มอบจนหมดสิ้ นให้กบั การทําความดี เขา ยังคงไม่สามารถบรรลุถึงสันติสุข พระอาวุโสบอกผูฝ้ ึ กปฏิบตั ิธรรมหนุ่มคนนั้นให้นาํ นํ้ามา จากบ่ อ นํ้า นํ้า ที่ นํา มาจากบ่ อ เป็ นนํ้า ขุ่น พระอาวุ โ สจึ ง สั่ ง ผูฝ้ ึ ก ปฏิบตั ิธรรมหนุ่มว่า “ปล่ อยนํา้ นี ไ้ ว้ สักพัก” หลังจากนั้นโคลน และทรายก็ตกตะกอนอยูท่ ี่กน้ ของภาชนะที่ใส่ น้ าํ และนํ้าก็ใส หลังจากนั้นพระอาวุโสกล่าวว่า “จงพิจารณาดู ชีวิตของ คุณเหมือนกับนํ้าขุ่น และกิจกรรมมากมายที่คุณกระทํา ยิ่งรบกวน และทําให้จิตใจของคุณไม่ได้รับการพักผ่อน แต่ถา้ คุณให้ชีวิตของ คุณอยู่ในความเงี ยบสักพักด้วยการสวดภาวนา หัวใจของคุ ณจะ สะอาดและบริ สุทธิ์เหมือนนํ้านี้” ข้ อคิด
เพือ่ ที่จะได้ รับสั นติสุขในจิตใจ สิ่งที่สําคัญคือ ให้ จิตใจของคุณ อยู่ในความเงียบและสวดภาวนา จิตใจที่สงบและเงียบคือจิตใจ ทีม่ ีพระเจ้ า เรื่ องเล่ าโดย คุณพ่ อเชษฐา ไชยเดช
6
7
นิตยสาร IMAGE กรกฎาคม 2556
“กุง้ ” เป็ นกรรมการมูลนิธิแห่งหนึง่ ซึ่งก่อตัง้ ได้ไม่นาน จึงต้องการความ สนับสนุนและกําลังความคิดจากผูค้ นเป็ นอันมาก คราวหนึง่ มีการประชุมในหมู่ ผูส้ นับ สนุน มูล นิธิ ผูใ้ หญ่ ท่ า นหนึ่ง ได้ก ล่า ววิ พ ากษ์วิ จ ารณ์ก รรมการมูล นิธิ อย่างยืดยาว เพราะไม่พอใจที่ขอ้ เสนอหลายอย่างของเขาไม่มีใครนําไปปฏิบัติ ทัง้ ๆ ที่เขาใช้เวลาครุ่นคิดกับมันอย่างมาก กุง้ เห็ น ว่ า เขามี ค วามเข้า ใจคลาดเคลื่ อ นหลายประการ จึ ง ขอชี้ แ จง ข้อเท็จจริง รวมทัง้ บอกเล่าถึงข้อจํากัดหลายอย่างที่ทาํ ให้ไม่สามารถนําข้อเสนอ ของเขาไปปฏิบัติได้ แต่คาํ ชี้แจงของเธอ กลับทําให้เขาขุน่ เคืองมากขึน้ และตอบ โต้หนักกว่าเดิม กุง้ ได้ยินเช่นนัน้ ก็อยากอธิบายเพิ่มเติม แต่ “การุญ” ซึ่งเป็ นกรรมการ อาวุโส สะกิดเธอให้นิ่งเงียบ แล้วพูดกับบุคคลผูน้ ั้นว่า “ผมรับทราบและรูส้ ึก ขอบคุณที่คณ ุ มีความปรารถนาดีตอ่ มูลนิธิ ขณะเดียวกันก็เข้าใจความรูส้ ึกของ คุณด้วย คุณรูส้ ึกเสียใจที่ความตัง้ ใจดีของคุณไม่ถกู นําไปปฏิบัติ แต่ก็อยากให้ เข้าใจว่าเรามีขอ้ จํากัด ทําให้ไม่สามารถทําตามข้อเสนอของคุณได้ อันนี้เป็ น ความผิดพลาดของพวกเราเอง ผมต้องขออภัยกับสิ่งที่เกิดขึน้ ด้วย” การุญ พูด จบ อาสาสมั ค รผู้นั้ น ก็ มี อ าการสงบลงอย่ า งเห็ น ได้ชั ด บรรยากาศที่มนึ ตึงผ่อนคลายไปทันที เหตุการณ์ดังกล่า วทํา ให้กงุ้ รูว้ ่ า สิ่ งที่ อ าสาสมัครผูน้ ั้นต้อ งการไม่ใ ช่ เหตุผลหรือคําชี้แจง เขาเพียงแต่ตอ้ งการให้กรรมการมูลนิธิรับรูว้ ่าเขารูส้ ึก อย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้น ตราบใดที่กรรมการยังไม่รับรูค้ วามทุกข์ของเขา เขาก็ ยังไม่เลิกรา แม้ว่าคําชีแ้ จงของเธอจะมีเหตุผลหรือถูกต้องเพียงใดก็ตาม เธอได้บ ทเรี ย นว่ า กรณี แ บบนี้ สิ่ ง สํา คัญ มิไ ด้อ ยู่ที่ เ หตุผ ลหรื อ ความ ถูกต้อง แต่อยู่ที่การเปิ ดใจรับรูอ้ ารมณ์ความรูส้ ึกของเขา ความขัดแย้งจะไม่ คลี่คลายเลยหากเธอได้ยินแต่คาํ พูดของเขา แต่ไม่รบั รูค้ วามรูส้ ึกของเขา 8
การมาเยือนของเพื่อนผูเ้ ดินทางยามวิกาลโดยมิได้บอกกล่าวล่วงหน้า คงทํา ให้เจ้าของบ้านกระอักกระอ่วนใจมากทีเดียว เพราะขนมปงั หมดแล้ว ในตูก้ บั ข้าวก็ไม่ มีอะไรเหลือ แล้วเขาจะทําหน้าทีศ่ กั ดิ ์สิทธิ ์นี้ให้ครบถ้วนได้อย่างไรกัน ? ทางออกคือ “บากหน้ า” ไปขอยืมขนมปงั จากเพือ่ นอีกต่อหนึ่ง เผื่อว่าเขาอาจ มีเหลือติดตูก้ บั ข้าวอยูบ่ า้ ง ! ทีต่ อ้ งบากหน้าก็เพราะเป็ นธรรมเนียมของชาวยิวทีจ่ ะเปิ ดประตูบา้ นตลอดวัน แต่เมือ่ ตกเย็นและประตูบา้ นปิดแล้ว ความเป็ นส่วนตัวต้องได้รบั การเคารพสูงสุด… หากไม่ใช่เรือ่ งคอขาดบาดตายจริงๆ แล้ว ห้ามรบกวนกันเด็ดขาด ! เหตุผลคือ บ้านของชาวชนบทผูย้ ากจนมักมีเพียงห้องเดียวและหน้าต่างเล็กๆ อีกบานเดียว พืน้ บ้านเป็ นดินอัด ปูดว้ ยต้นอ้อหรือต้นกก ภายในบ้านแบ่งออกเป็ น สองส่วนต่างระดับกัน ส่วนแรกอยูร่ ะดับเดียวกับพืน้ ดิน มีเนื้อทีป่ ระมาณเศษสองส่วน สามของบ้าน ส่วนทีส่ องคือเนื้อทีท่ เ่ี หลือทัง้ หมดซึ่งถูกยกพืน้ ให้สูงขึน้ เล็กน้อย ใช้ สําหรับปูเสื่อนอนแบบเบียดกันเพื่อความอบอุ่นของสมาชิกในบ้าน โดยมีเตาถ่านติด ไฟไว้ตลอดคืนเพือ่ เพิม่ ความอบอุน่ อีกทางหนึ่ง เพราะต้องนอนเบียดกัน หากผูใ้ ดตื่นและลุกขึน้ ก็แปลว่าทุกคนในบ้านต้องตื่น ตามไปด้วย จึงไม่แปลกเลยทีเ่ พื่อนบ้านจะตอบว่า “อย่ารบกวนฉันเลย ประตูปิดแล้ว ลูกๆ กับฉันก็เข้านอนแล้ว ฉันลุกขึน้ ให้สงิ ่ ใดท่านไม่ได้หรอก” (ลก 11:7) แต่เมื่อถูกตื๊อแบบไม่รูจ้ กั อายและถูกรบเร้าแบบไม่มคี ําว่า “เกรงใจ” จนคน ทัง้ บ้านตื่นหมดแล้ว เพือ่ นบ้านคนนัน้ ก็จาํ ใจต้องลุกขึน้ มาหยิบขนมปงั ให้ ! ปกติพระเยซูเจ้าจะเล่านิทานเปรียบเทียบเพื่อสอนให้เราเจริญรอยตาม แต่ใน กรณีน้ีพระองค์ทรงยกเรือ่ ง “เพือ่ นบ้านจอมตือ๊ ” ขึน้ มาเพือ่ สอนเรามิให้เอาเยีย่ งอย่าง ! นัน่ คือ อย่า “เคี ย่ วเข็ญพระเจ้า” เพราะพระองค์ไม่ใช่พระเจ้าที่ “ใส่เกียร์ ว่าง” โดยไม่สนใจช่วยเหลือเรามนุ ษย์ แต่ให้เราคิดอีกมุมหนึง่ ว่า เพือ่ นบ้านทีห่ น้างอและไม่เต็มใจลุกจากทีน่ อน ยัง ยอมให้เพือ่ นยืมขนมปงั ได้ ไฉนเลย พระเจ้าผูท้ รงเป็ น “บิ ดา” ทีเ่ ปี ย่ มล้นด้วยความ รัก จะไม่ประทานทุกสิง่ ทีล่ กู ต้องการด้วยความเต็มพระทัยอย่างยิง่ ดอกหรือ ?!? 5
หากมี “วันพรุง่ นี้” จริง อะไรจะเกิดขึน้ บ้างเราก็ไม่รู้ ขอให้ระลึกถึงอุทาหรณ์เรื่องนกคุ่มและมานนาทีพ่ ระเจ้าทรงใช้เลีย้ ง ชาวอิสราเอลในถิน่ ทุรกันดาร “คนทีเ่ ก็บมากก็ไม่ได้มมี ากกว่าผูอ้ นื ่ และคนทีเ่ ก็บมา น้อยก็ไม่ได้มนี ้อยกว่าผูอ้ นื ่ ” (อพย 16:18) และเมื่อบางคนพยายามเก็บอาหารส่วน หนึ่งไว้จนถึงวันรุง่ ขึน้ “อาหารนัน้ ก็เกิดมีหนอนและเน่าเสีย” (อพย 16:20) 2. การอภัยสําหรับความผิดพลาดใน “อดีต” ซึง่ จําเป็ นสําหรับเราทุก คนโดยไม่เว้นผูใ้ ดเลย เพราะแม้แต่ผศู้ กั ดิ ์สิทธิ ์ทีส่ ุดในท่ามกลางพวกเรา ก็ยงั เป็ นคน บาปเมือ่ อยูต่ ่อหน้าพระพักตร์ของพระเจ้า 3. การปกป้องคุ้มครองสําหรับ “อนาคต” โดยไม่จํากัดเฉพาะเรื่อง การประจญหรือเมื่อถูกล่อลวงให้ทําบาปเท่านัน้ แต่รวมถึงทุกสิง่ ทุกกิจกรรม และ ทุกเวลาตลอดชีวติ ของเรา แน่ นอนว่าพระเจ้าจะไม่ทรงช่วยเราให้รอดพ้นจากปญั หา อุปสรรค และความทุกข์ยากลําบากต่างๆ ในชีวติ แต่เรามันใจได้ ่ วา่ พระองค์จะทรงประทับอยู่ เคียงข้างเราและจะทรงคุ้มครองเราให้สามารถเผชิญหน้ าและเอาชนะปญั หาและ ความทุกข์ยากเหล่านัน้ ได้ดว้ ยดี
เพื่อหลีก เลี่ยงความร้อนจากแสงอาทิต ย์ในเวลากลางวัน ชาวยิว จึงนิ ยม เดินทางเวลาเย็น เพราะฉะนัน้ นักเดินทางที่พระเยซูเจ้าทรงกล่าวถึงคงมาถึงบ้าน ของเพือ่ นดึกมาก การต้อนรับแขกถือเป็ นหน้าทีศ่ กั ดิ ์สิทธิ ์ นอกจากให้ทพ่ี กั อาศัยแล้วยังต้อง เลีย้ งดูปเู สือ่ อย่างเต็มที่ จะกระทําตามมีตามเกิดหรือแบบขอไปทีไม่ได้ ปกติชาวยิวแต่ละครอบครัวจะทําขนมปงั ไว้กนิ เองแบบวันต่อวัน เพื่อขนม ปงั จะได้ใหม่และสดน่ากินอยูเ่ สมอ 4
เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้น อารมณ์เป็ นสิ่งสําคัญที่มองข้ามมิได้ มันอยู่ เบื้องหลังคําพูดและเหตุผลต่างๆ ที่พรัง่ พรูออกมา ผูค้ นส่วนใหญ่มักสนใจแต่ คําพูดและเหตุผลที่อีกฝ่ ายเอ่ยอ้าง แต่การรับรูเ้ พียงเท่านัน้ ก็ไม่ต่างจากการเห็ น แค่ยอดของภูเขานํา้ แข็ง ซึ่งนับว่าเล็กน้อยมากเมื่อเทียบกับก้อนมหึมาที่อยู่ใต้นาํ้ เมือ่ รับรูค้ วามจริงไม่ครบถ้วนก็ยากที่จะแก้ไขความขัดแย้งให้ถกู จุดได้ ความคิดหรือ “สมอง” นัน้ รับรูไ้ ด้แต่ส่วนที่เป็ นเหตุผลหรือข้อเท็จจริง แต่ ไม่ส ามารถรับรูอ้ ารมณ์ของอี กฝ่ ายได้ เราจะรับรูค้ วามจริ งอย่างครบถ้ว นได้ จําต้องใช้ “หัวใจ” ด้วยเพื่อรับรูอ้ ารมณ์ของคู่กรณี อารมณ์ที่ว่าไม่ได้มีแค่ความ โกรธ ความไม่พอใจเท่านัน้ ที่สาํ คัญกว่านัน้ ก็คือความทุกข์ ความเจ็บปวด เพียง รับรูว้ ่าเขาโกรธเท่านัน้ ยังไม่พอ หลายคนพอรูว้ ่าอีกฝ่ ายโกรธ ความรูส้ ึกไม่พอใจก็ เกิดขึ้นเป็ นปฏิกิริยาตอบโต้ แต่เราควรรับรูใ้ ห้ลึกไปกว่านั้น คือรับรูค้ วามทุกข์ หรือความเจ็บปวดของเขา การรับรูด้ งั กล่าวจะช่วยให้เราเห็ นใจเขาและปรารถนา จะช่วยบรรเทาความทุกข์ของเขา แต่การรับรูค้ วามทุกข์ของอีกฝ่ ายเป็ นเรื่องยาก หากเราว้าวุ่นขุน่ มัวหรือ คิดแต่จะหาเหตุผลมาชีแ้ จง สาละวนอยู่กบั การสรรหาคําพูดมาตอบโต้เขา ต่อเมื่อ เราทําใจให้ว่างเท่านัน้ จึงจะสัมผัสรับรูค้ วามเจ็บปวดของเขาได้ชดั เจน เวลาขัดแย้งกันถึงขัน้ มีปากมีเสียงกัน เราไม่ควรคํานึงแต่เหตุผลหรือยึด ติดกับความถูก-ผิดมากนัก เพราะถึงแม้เราจะเอาเหตุผลหรือหลักฐานมายืนยัน ว่าเราเป็ นฝ่ ายถูก ก็ใช่ว่าความขัดแย้งจะคลี่คลายไปได้ จะมีประโยชน์อะไรหากเรา เป็ นฝ่ ายถูก แต่อีกฝ่ ายยังรูส้ ึกเจ็บปวดและแค้นเคือง ถ้าอีกฝ่ ายไม่ใช่ใครที่ไหน แต่ เป็ นคนที่เรารักหรือใกล้ชดิ เรา ผลเสียย่อมตามมาอีกมากมาย ทัง้ นี้ ยังไม่ตอ้ งพูด ถึงการใช้เหตุผลในการกล่าวหาโจมตีอีกฝ่ ายว่าเป็ นผูผ้ ิด ซึ่งยิ่งเท่ากับสร้างความ เจ็บแค้นแก่กนั และกันให้มากขึน้ น.พ.ประเสริ ฐ ผลิ ตผลการพิ ม พ์ เคยให้ข อ้ คิด ไว้ว่ า “เวลาสามีภ รรยา ทะเลาะกัน อย่าใช้เหตุผลเป็ นอันขาด ให้ใช้อารมณ์ วางเหตุผลลงให้ได้ ปล่อยให้ อารมณ์ลอยขึน้ มา อารมณ์รกั ที่เคยมีตอ่ กันในอดีตจะเข้ามาแก้ปัญหาให้เอง” มิใ ช่แ ต่ส ามีภ รรยาเท่า นั้น กับ เพื่ อ นร่ ว มงานหรื อ มิ ต รสหาย ก็ ค วรทํา เช่นเดียวกัน แต่หากว่ายังไม่ถึงขัน้ ทะเลาะกัน แม้จะใช้เหตุผล ก็อย่าลืมใช้อารมณ์ ด้วย กล่าวอีกนัยหนึง่ คือ ใช้ทงั้ สมองและหัวใจควบคูก่ นั 9
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 17 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 27 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 18.00 น. มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว เยโนเวฟา วิภาวินี โอวาทนุพฒั น์ คุณเกียรติศกั ดิ์ ไตรตรึ งส์ทศั นา อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เริ งจิต คุณชื้น ผ่องพุฒิ, คุณรัตนา บัวบาน บุญชัย/สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง ณัฐวรรณ อา. 28 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ ยอแซฟ สุ ชารี ย ์ แสงหาญ, มารี อา ธันยพร ศศิสุวรรณ ธันยพร ยอแซฟ ปัณณธร, ยอแซฟ ภัทรกร แสงหาญ ธันยพร มารี อา กอแรตตี พีรดา แพทย์กลุ มาลินี คุณณัฐชนน หนูมนั่ , คุณลัดดาวัลย์ ธนากรณ์เมธา มาลินี ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ ณัฐวรรณ ครอบครัวสุ ทธิโอภาส, ครอบครัวบรรณสกุล ณัฐวรรณ ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวเพียรช่างคิด ณัฐวรรณ ครอบครัวลิ้มจิตรกร, ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์ ณัฐวรรณ ทุกครอบครัวในโลก ณัฐวรรณ อุทศิ แด่ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว ณัฐวรรณ คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ณัฐวรรณ ยวง บัปติสต์ เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ณัฐวรรณ ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสารและสาธรกิจ ณัฐวรรณ อันนา สังเวียน, เปโตร ถนอม สุ วรรณราช นาราภัทรพิมพ์กุล เปโตร รัฐพล สุ วรรณราช นาราภัทรพิมพ์กุล 10
หนึ่ งในคําวอนขอที่พระเยซูเจ้าทรงสอนเราคือ “พระนามพระองค์จงเป็ นที ่ สักการะ” ในภาษาฮีบรู คําว่า “นาม” ไม่ได้หมายถึงเพียง “ชือ่ ” ทีใ่ ช้เรียกผูห้ นึ่งผูใ้ ด เท่านัน้ แต่หมายรวมถึงอุปนิสยั ใจคอ หน้าตา ท่าทาง ตลอดจนบุคลิกลักษณะทัง้ หมด ทีท่ าํ ให้ผนู้ นั ้ เป็ นบุคคลนัน้ ดังตัวอย่างจากเพลงสดุดที ก่ี ล่าวว่า “บรรดาผูท้ รี ่ จู้ กั พระนามของพระองค์ ก็ วางใจในพระองค์” (สดด 9:10) ย่อมมิได้หมายความว่าคนทีร่ วู้ ่าพระเจ้าชื่อ “ยาห์เวห์” แล้วจะวางใจในพระองค์ แต่หมายความว่า คนทีร่ ูจ้ กั หัวจิตหัวใจของพระเจ้าว่าทรง เป็ นเช่นใดแล้วเท่านัน้ จึงยินดีมอบความวางใจทัง้ หมดไว้ในพระองค์ พูดโดยย่อก็คอื เมื่อเราภาวนาว่า “พระนามพระองค์จงเป็ นทีส่ กั การะ” ย่อม แสดงว่าเรารูแ้ ล้วว่าพระเจ้าทรงมีความคิดและจิตใจอย่างไร ?! พระองค์ท รงเปี่ ย มด้ว ยฤทธิอ์ ํา นาจ ทรงเป็ น “บิด า” ผู้เ ปี่ ย มด้ว ยความรัก ความเมตตา และทรงห่วงใยเรามากสักเพียงใด ! เราจึงต้องทูลขอพระองค์ดว้ ยความ “วางใจ” อย่างยิง่ ! ประการทีส่ าม เราต้องจัดลําดับการวอนขอให้ถกู ต้อง พระเยซูเจ้ามิได้ทรงสอนให้เราเริม่ สวดภาวนาด้วยการเสนอ “ความต้องการ” ของเราแต่ละคน แต่ทรงสอนให้เราเริม่ ต้นด้วยการสักการะ ยกย่อง ให้เกียรติ และ เคารพยําเกรงพระเจ้าผูท้ รงครองราชย์ในพระอาณาจักรสวรรค์ ต่อเมื่อเรายอมรับพระเจ้าและพระประสงค์ของพระองค์ให้อยู่เหนือ “ความ ต้องการ” ส่วนตัวของเราแล้วเท่านัน้ คําวอนขออื่นๆ จึงเกิดขึน้ และเป็ นไปได้ ประเด็นสุดท้ายคือ เราต้องวอนขออะไร ? คําตอบคือ “ทุกสิ ง่ ” 1. ทุกสิง่ ทีจ่ ําเป็ นสําหรับ “ปัจจุบนั ” ไม่ว่าจะเป็ นอาหารประจําวัน ทีอ่ ยู่ อาศัย เครือ่ งนุ่งห่ม ยารักษาโรค ฯลฯ เมื่อสวด “โปรดประทานอาหารประจําวันแก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลายในวันนี้” ขอยํ้าเตือนว่า ให้เราวอนขอเฉพาะสิง่ ที่จําเป็ นสําหรับ “วันนี้” เท่านัน้ ทัง้ นี้เพื่อจะได้ รอดพ้นจากความวิตกกังวลถึง “วันพรุง่ นี้” ซึง่ ไม่มผี ใู้ ดล่วงรูเ้ ลยว่าจะมีหรือไม่ และ3
สั ปดาห์ ที่ 17 เทศกาลธรรมดา (ปี C)
ลก 11:1-13
ถือเป็ นธรรมเนียมของบรรดารับบีทจ่ี ะสอนบทภาวนาเพื่อพวกศิษย์จะได้ใช้ สวดเป็ นประจํา ยอห์นผูท้ ําพิธลี ้างได้สอนศิษย์ของท่านสวดภาวนาแล้ว ศิษย์ของ พระเยซูเจ้าจึงเข้ามาทูลขอพระองค์ให้สอนพวกเขาสวดภาวนาบ้าง พระองค์จงึ ทรงสอนบท “ข้าแต่พระบิดาของข้าพเจ้าทัง้ หลาย” ซึ่งเรายังใช้ สวดต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้ แม้บท “ข้าแต่พระบิดา” ตามสํานวนของลูกาจะสัน้ กว่าของมัทธิว (มธ 6:915) แต่ก็เพียงพอที่จะสอนเราว่าต้อง “สวดภาวนาอย่ างไร” และต้อง “วอนขอ อะไร” บ้าง ประการแรกสุด เราต้องสวดภาวนาโดยเรียกพระเจ้าเป็ น “บิ ดา” ของ เรา การได้เรียกพระเจ้าเป็ น “บิดา” ถือเป็ นพระพรและเป็ นสิทธิพเิ ศษยิง่ ใหญ่ สูงสุดของคริสตชน ดังทีน่ ักบุญเปาโลกล่าวไว้ว่า “ท่านทัง้ หลายไม่ได้รบั จิตการเป็ น ทาสซึง่ มีแต่ความหวาดกลัวอีก แต่ได้รบั จิตการเป็ นบุตรบุญธรรม ซึง่ ทําให้เราร้อง ออกมาว่า ‘อับบา พ่อจ๋า’” (รม 8:15) เมื่อ เรีย กพระองค์เ ป็ น “พ่ อ จ๋ า ” ย่อ มแสดงว่า เรากํ า ลัง ภาวนาวอนขอต่ อ “บิ ดา” ผูท้ รงปี ตยิ นิ ดีและเต็มพระทัยอย่างยิง่ ทีจ่ ะประทานทุกสิง่ ทีล่ ูกต้องการ ไม่ใช่ ต้องรอให้ลกู คะยัน้ คะยอหรือเคีย่ วเข็ญจนต้องจํายอมให้ในทีส่ ดุ ประการทีส่ อง เราต้องสวดภาวนาด้วยความ “วางใจ” 2
วัน เดือน ปี อา 28 ก.ค. 08.00 น.
รายการมิสซา ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ เปโตร อุทยั ดารุ ทยาน ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั อันตน ศิริ, มารี อา มักดาเลนา เกษร ไชยเจริ ญ ผูล้ ่วงลับครอบครัวตันติโกสิ ชฌน์ บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง อา 28 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน เทเรซา หนึ่ งฤทัย บัญญัติวงศ์ และครอบครัว เปโตร มานพ เลาหบุตร และครอบครัว มารี อา อารี รักษ์ โรจนประดิษฐ์ เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว, คุณสัณหพล เหลืองอร่ าม คุณทัศนีย ์ สว่าง ครอบครัวกาฬแก้ว, ผูส้ ูงอายุที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อุทศิ แด่ หลุยส์ พิชยั เจริ ญสุ ข มอนิกา ทองแดง หาญจําปา คุณชื้น ผ่องพุฒิ อันนา สังเวียน, เปโตร ถนอม สุ วรรณราช คุณพัฒนา ทองธิ ว, คุณสอ ชูสอน คุณวิชยั สายแสง, คุณราตรี ลี้ยาง คุณยีส่ ุ่ น พานิช, ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑล คุณนุชนาถ พุม่ พวง, แบนาแด๊ต กรรจภรณ์ ทําจันทา คุณจิโรจน์ ฮิมา ยอแซฟ ชลิต, ยอแซฟ ชัยรัตน์ แซ่แต้ ยอแซฟ มกจอว แซ่แต้ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง
ผู้ขอมิสซา วิภาวินี อมรา คค.ธนาพานิชย์ พิทกั ษ์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ สุ นทรี วิไลวรรณ คริ สโตเฟอร์ สิ ริมา ธมนธรณ์ จินตนาถ กานดา สิ ริมา ลลิตา ลลิตา รุ จิเรข รุ จิเรข นาราภัทรพิมพ์กลุ 11
จ. 29 ก.ค. อุทศิ แด่ อ. 30 ก.ค. สุ ขสํ าราญ พ. 31 ก.ค. อุทศิ แด่ พฤ.1 ส.ค. อุทศิ แด่ ศ. 2 ส.ค. อุทศิ แด่
ยอแซฟ ชลิต, ยอแซฟ ชัยรัตน์, ยอแซฟ มกจิว แซ่แต้ มารี อา รุ จิเรข ณรงค์ศิริกลุ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ
รุ จิเรข -
ฉบับที่ 485 วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 2013
สั ปดาห์ ที่ 17 เทศกาลธรรมดา (ปี C) วันอาทิตย์หน้า เป็ นวันอาทิตย์ตน้ เดือน พี่นอ้ งท่านใดประสงค์นาํ บุตรหลานเด็ก
เล็กมารับศีลล้างบาป โปรดติดต่อสํานักงานวัด วันอาทิตย์ที่ 11 สิ งหาคม ศกนี้ เป็ นวันแม่ของวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ขอเชิ ญพี่ น้องร่ วมแสดงกตัญญุตาต่อ “คุณแม่ ” ระหว่างมิสซา 10.00 น. และหลังมิสซา ร่ วม กิจกรรมสานสัมพันธ์ แม่-ลูก ณ ศาลาปี ติการุ ณย์
ประกาศครั้งที่ 3 พิธีสมรส ณ วัดแม่ พระกุหลาบทิพย์ ยอแซฟ สุ รศักดิ์ กุลมาโนชวงศ์ บุตร ยอแซฟ เซี้ ยกุย แซ่หวม - มารี อา กิมง้อ แซ่ลิ้ม จะเข้ าพิธีสมรสกับ มารีอา สมใจ จิระธนานันท์ บุตรี เปโตร เอี้ยวฉัน - อากาทา ล้วน จิระธนานันท์ วันเสาร์ ที่ 3 สิ งหาคม ค.ศ. 2013 เวลา 15.00 น. ** ผู้ใดพบข้ อขัดขวาง โปรดแจ้ งคุณพ่ อเจ้ าวัดทราบ ** 12
จงขอเถิด แล้ วท่ านจะได้ รับ ลก 11:9