สารวัดแม่พระกุหลาบทิพย์​์​์

Page 1

ฉบับที่ 447 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012

ฉบับที่ 447 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012

สมโภชนักบุญทั้งหลาย

สมโภชนักบุญทั้งหลาย

ผู้หิวกระหายความชอบธรรม ย่ อมเป็ นสุ ข

ผู้หิวกระหายความชอบธรรม ย่ อมเป็ นสุ ข

มธ 5:6

มธ 5:6


สมโภชนักบุญทั้งหลาย (ปี B) มธ 5:1-12

ผู้หิวกระหายความชอบธรรมย่อมเป็ นสุข เพราะเขาจะอิม่ ความหมายของคาใดคาหนึ่งจะลึกซึ้งหรือหนักแน่ นเพียงใด ย่อมขึน้ อยู่กบั ประสบการณ์ทงั ้ ของผูพ้ ดู และผูฟ้ งั ด้วย เรายังไม่เคยมีประสบการณ์เลยว่า คนหิวอาหารหรือกระหายน้ าถึงขัน้ อด ตายมีอาการอย่างไร ? ทรมานมากน้อยเพียงใด ? แต่สงิ่ ที่พระเยซูเจ้าทรงประสบพบเห็นเป็ นประจาคือคนใกล้อดตาย เพราะ ลาพังค่าแรงแต่ละวันของคนงานสมัยนัน้ ก็แทบไม่พอประทังชีวติ อยู่แล้ว หากวันใด ปว่ ยหรือไม่มงี านทา วันนัน้ สมาชิกในครอบครัวย่อมหมิน่ เหม่ต่อการอดตายเป็ นอย่าง ยิง่ ด้วยเหตุน้ีในอุปมาเรื่องคนงานในสวนองุ่น จึงมีผรู้ อคอยคนจ้างงานแม้เป็ นเวลา เย็นมากแล้วก็ตาม (มธ 20:1-16) นอกจากนัน้ เมื่อพบพายุทรายระหว่างเดินทาง สิง่ ทีช่ าวยิวสมัยนัน้ ทาได้คอื เอาเสือ้ คลุมมาคลุมตัวเองไว้ หันหลังให้พายุ แล้วรอจนกว่าพายุจะสงบ ขณะทีพ่ ายุ ก็ จะพัดทรายเข้าจมูก และคอจนแสบและหายใจแทบไม่อ อก จะกินน้ าก็ไม่ได้เพราะ ทรายเต็มปากไปหมด ตอนนี้แหละทีพ่ วกเขาตระหนักดีว่าการอดน้าตายเป็ นอย่างไร ความหิวและกระหายที่พระเยซูเจ้าตรัสถึงจึงมิใช่แค่ความ “อยากกิน” หรือ “อยากดืม่ ” แต่เป็ นความหิวชนิดทีห่ ากไม่มอี าหารตกถึงท้องเป็ นต้องอดตายแน่ และ เป็นความกระหายชนิดทีห่ ากไม่ได้ด่มื น้ าสักแก้วเป็นต้องอดน้าตายแน่ 2

วัน เดือน ปี รายการมิสซา อา 4 พ.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. บุญราศี ยอห์น ปอล ที่ 2 พระสันตะปาปา สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน คณะนักขับร้อง กลุ่มพิธีกรรมวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ฮีลารี ทอฝัน ดิลกวิทยรัตน์ เซซีลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว และร้านต้อย ไทยฟู้ ด ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว ครอบครัวกาฬแก้ว อุทศิ แด่ ยอห์น บัปติสต์ มณี , มารี อา เทเรซา สุมาลี กิจนิตย์ชีว ์ เปโตร ถนอม, อันนา สังเวียน สุวรรณราช เปโตร มโน ศรี วรกุล คุณอัศวเทพ เทพานนท์, คุณก้านทอง แสงปั ญหา ฟรังซิสโก ประเสริ ฐ, มารี อา ธาดา สุขสาราญ ยออันนา ผัน คิ้มแหน, เปาโล พิชยั เจริ ญเสรี มารี อา มาริ นทร์ เจริ ญเสรี , ซูซานนา สุนา พจน์ปฏิญญา มารี อา กิมลี้, คุณซี ฮวง, แบร์นาแด๊ต นิภา, ฟิ ลิป มุ่ยชิม คุณเช้ง แซ่จึง, เรนาโต ผดุง สุขสยาม, คุณเส่ง แซ่ล้ ี มารธา สมาน, เปโตร ประจวบ ทองทัว่ เปโตร สุบรรณ, เปโตร กั้น, อันนา ประยงค์ ทองทัว่ มารธา ซี , อันนา ทอน, เปโตร ยันต์ มาย มารธา เวียน, เปโตร วันถ้วน มาย เปโตร กอน, มารี อา ไกรวัลย์ เจริ ญเลิศสกุล เปโตร ดี, มารี อา ฮี จันทร์อ่อน อันโตนิโอ พงษ์สนั ต์, อันนา ไพรชล อุดรเสถียร มารี อา เลี่ยว มายสกุล เปโตร เฮี้ยน, มารธา เมี้ยน แซ่ห่วง วิญญาณในไฟชาระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง

ผู้ขอมิสซา มาลินี เจริ ญเลิศสกุล มาลินี มาลินี จริ ยา วิไลวรรณ ศันสนีย ์ คค.กิจนิตย์ชีว ์ ศันสนีย ์ สุดารัตน์ วิสาขา/รุ่ งโรจน์ กาธร บุตรหลาน รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ คค.ทองทัว่ คค.ทองทัว่ คค.มาย คค.มาย เจริ ญเลิศสกุล คค.จันทร์อ่อน คค.อุดรเสถียร คค.มายสกุล คค.แซ่ห่วง เจริ ญเลิศสกุล 11


มิสซาสมโภชนักบุญทั้งหลาย (ปี B) วันอาทิตย์ ที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 3 พ.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 18.00 น. คุณปรี ชา, คุณอรนารถ ประกอบกิจ และครอบครัว คุณบุญมี พันวิลยั และครอบครัว มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อุทศิ แด่ ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ วราภรณ์ สตีเฟน จารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช อันตน สาเริ ง โกญจนาท, ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช เริ งจิต วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อรนารถ อา. 4 พ.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ วิชชุลดา 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ และครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ มารี อา ธันยพร ศศิสุวรรณ, ยอแซฟ สุชารี ย ์ แสงหาญ ยอแซฟ ปั ณณธร, ยอแซฟ ภัทรกร แสงหาญ ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ ครอบครัวสุทธิโอภาส, ครอบครัวเพียรช่างคิด ครอบครัวรัตนบรรณสกุล, ครอบครัวเขม้นงาน ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, ครอบครัวลิม้ จิตรกร ครอบครัวแสงแพ และทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ เทเรซา วัลลีย ์ ตันติโกสิ ชฌน์ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ วิภาวิณี ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ต้ งั คค. ธนาพานิชย์ คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร, คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ยว ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ บรรพบุรุษและผูล้ ่วงลับครอบครัวธนาพานิชย์ คค. ธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง คค. ธนาพานิชย์ 10

ความหมายของความสุขประการนี้จงึ ขึน้ อยูก่ บั “ความเข้มข้น” ของความหิว และกระหาย ดังนัน้ เราควรถามตัวเองว่า “เราต้องการความชอบธรรมมากเพียงใด มากเท่าคนทีก่ าลังหิวตายต้องการอาหาร หรือมากเท่าคนทีก่ าลังอดน้ าตายต้องการ น้ าหรือไม่ ?” แม้พ ระองค์จะทรงเรีย กร้อ งให้เ ราใฝ่ ห าความดีแ ละความชอบธรรมอย่ า ง เข้มข้นจนหลายคนเกรงว่าจะทาไม่ได้ แต่อย่าพึ่งท้อใจเพราะพระองค์ตรัสว่า “เป็ น บุญของผู้ทหี ่ วิ กระหาย” ไม่ใช่ “เป็ นบุญของผู้ทอี ่ มิ ่ หนาแล้ว ” ความหมายคือ “ผู้ที ่ ใฝ่ หาความชอบธรรมอย่างเข้มข้นโดยยังไม่บรรลุถงึ ความชอบธรรม ก็เป็นบุญแล้ว” ดังนัน้ แม้เราจะทาผิดพลาดซ้าซากจนบางครัง้ รู้สกึ ท้อ แท้ แต่ หากยังใฝ่ห า ความดีอยูก่ เ็ ป็นบุญของเราแล้ว ดุจเดียวกับกษัตริยด์ าวิดทีแ่ ม้จะสังหารข้าศึกจานวน มากในการรบ แต่พระองค์ไม่เคยหยุดใฝ่หาความชอบธรรมด้วยการสร้างพระวิหาร ถวายพระเจ้าเลย ด้วยเหตุน้พี ระองค์จงึ เป็นทีโ่ ปรดปรานของพระเจ้ามาก อีกสิง่ หนึ่งทีน่ ่ าสังเกตคือ คากริยาจาพวก “หิว” และ “กระหาย” ในภาษากรีก มักตามด้วย genitive case ซึง่ บ่งบอกความเป็ นเจ้าของ เวลาแปลเป็ นไทยมักมีคาว่า “ของ” นาหน้า ในทางภาษาศาสตร์เรียกว่า partitive genitive ซึ่งหมายถึงการเป็ น เจ้าของเพียงบางส่วน เมือ่ ชาวกรีกต้องการพูดว่า “ฉันกระหายน้ า” เขาจะพูดว่า “ฉัน กระหายบางส่วนของน้ า” เพราะเขาอยากได้น้าส่วนเดียว ไม่ใช่ทงั ้ ตุ่มหรือทัง้ บ่อ แต่ในกรณีน้ี “ความชอบธรรม” (dikaiosunēn – ดีคยั ออซูเนน) ไม่ได้อยู่ในรูป genitive case แต่ อยู่ในรูป accusative case ซึง่ เทียบได้กบ ั “กรรมตรง” (direct object) ในภาษาไทย หมายความว่า ความสุขประการนี้นอกจากจะเรียกร้องให้เราใฝ่หาความชอบ ธรรมอย่างเข้มข้นทีส่ ุดแล้ว ยังเรียกร้องให้เราใฝห่ าความชอบธรรมทัง้ ครบอีกด้วย ตัวอย่างของผูใ้ ฝ่หาความชอบธรรมหรือทาดีแต่เพียงบางส่วนเช่น บรรดาผู้ท่ี มีคุณธรรมสูงส่ง ซื่อสัตย์ น่ ายกย่อง แต่ไม่มผี ใู้ ดอยากเข้าหาเพราะนิสยั เย็นเฉย ขาด มนุษยสัมพันธ์ ไม่รจู้ กั เห็นอกเห็นใจผูอ้ ่นื เป็นต้น

3


หรือคนขีเ้ หล้าเมายา ชอบเล่นการพนัน แต่ใจกว้างพร้อมจะหยิบเหรียญบาท สุดท้ายในกระเป๋าของตนออกมาทําบุญแก่ผตู้ กทุกข์ได้ยาก ก็เป็ นผูช้ อบธรรมเพียง บางส่วนเช่นกัน เราอาจสรุปความหมายของความสุขประการนี้ได้วา่

ผูส้ ร้างสันติย่อมเป็ นสุข เพราะเขาจะได้ชือ่ ว่าเป็ นบุตรของพระเจ้า

นักท่องเที่ยวคนหนึ่งเดินทางอยู่ในทะเลทรายเขาเดินวนเวียนอยู่ หลายวัน จนกระทัง่ นํา้ และอาหารที่นาํ ติดตัวมาหมดลง เขาเหน็ด เหนื่อยและหิวกระหายมาก ริมฝี ปากแห้งผาก เท้าแตกระบมเป็ น แผล ผิวหนังถูกแดดเผาไหม้เกรียมเจ็บปวดมาก บังเอิญมาถึงบ่อนํา้ แห่งหนึ่ง ซึ่งใช้ระบบคันโยกดึงนํา้ ขึ้นมา เขาพยายามรวบรวม กําลังเท่าที่เหลืออยู่โยกเครื่องสูบนํา้ แต่ปรากฏว่าไม่มีนาํ้ ไหลออกมาเลย เขามองซ้ายแลขวา ก็เหลือบไปเห็ นกระดาษแผ่นหนึ่งเสียบไม้ปักอยู่ใกล้ๆบ่อ มีขอ้ ความเขียนว่า “จงมองไปทาง ทิศตะวันออก จะพบต้นตะบองเพชร และที่ใต้ตน้ ตะบองเพชรจะมีนาํ้ อยูข่ วดหนึง่ แต่หา้ มดื่มนํา้ ในขวดนัน้ อย่างเด็ดขาด จงเทนํา้ นัน้ ลงไปในเครื่องสูบนํา้ และรีบโยกอย่างรวดเร็ว จะมีนาํ้ ไหล ออกมาอย่างมากมาย” ชายคนนัน้ จะทําอย่างไรดี ขณะที่คอแห้งเป็ นผง และหิวกระหายนํา้ จน ใจจะขาด เขาควรจะเชือ่ ฟั งคําสัง่ นัน้ หรือผ่าฝื น ในที่สดุ เขาตัดสินใจเทนํา้ ขวดนัน้ ลงในเครื่องสูบและโยกอย่างรวดเร็ วนํา้ ไหลทะลัก ออกมาอย่างมากมายเขาได้ดื่ม และชโลมกายจนชื่นใจแล้วเติมนํา้ ใส่ไว้ในขวดตามเดิมเพื่อคน อื่นจะได้มาใช้ตอ่ ไป ถ้าเขาไม่ยอมให้นาํ้ แก่เครื่องสูบแน่นอนนํา้ ก็จะไม่ไหลออกมาให้เขาดื่มและ คนอื่นก็จะไม่มดี มื่ ด้วย

เพื่อจะเข้าใจความหมายของความสุขประการนี้ มี 3 ประเด็นทีค่ วรคํานึงถึง

นิทานเรื่ องนี้สอนให้รูว้ า่ ..

“โอ้ ช่างสุขจริงหนอ ผูท้ ใี ่ ฝห่ าความชอบธรรมทัง้ ครบดุจเดียวกับคน ใกล้อดตายอยากได้อาหาร หรือคนกระหายนํ้าใกล้ตายอยากได้น้ ํา เหตุว่า เขาจะอิม่ หนําจริง ๆ”

คือ 1. คํา “สันติ” หรือ shalōm (ชาโลม) ในภาษาฮีบรู ไม่ได้หมายถึงเพียง “ขอให้พน้ ทุกข์” แต่หมายรวมถึง “ขอให้บรรลุความดีและความสมบูรณ์สงู สุด” ด้วย การไม่มโี รคภัยเบียดเบียนถือว่า “พ้นทุกข์” ไปเปลาะหนึ่งซึง่ ก็นบั ว่า ดีมากแล้ว แต่ยงั ไม่อาจรับประกันว่าเราจะบรรลุความดีและความสมบูรณ์สูงสุดได้ จําเป็ นทีจ่ ติ ใจ ร่างกาย สติปญั ญา โอกาส สภาพแวดล้อม และสิง่ อื่นๆ ต้องได้รบั การ พัฒนาควบคูก่ นั ไปอย่างดีทส่ี ดุ ด้วย สําหรับพระเยซูเจ้า “ไม่” อย่างเดียวจึงยังไม่พอ จําต้อง “ดีทีส่ ุด” ด้วย 2. พระองค์ทรงเรียกร้องให้เรา “สร้างสันติ ” ไม่ใช่แค่ “รักสันติ ” หลายคนชอบอ้างว่าตนรักสันติ ต้องการสมานฉันท์ จึงไม่เผชิญหน้า กับปญั หาใด ๆ เลย อย่างนี้จะเรียกว่าเป็ นผูส้ ร้างสันติไม่ได้ เพราะปญั หาถูกซุกไว้ใต้ พรมโดยยังไม่ได้รบั การแก้ไข มีแต่รอวันและเวลาทีจ่ ะระเบิดออกมาเท่านัน้ ผูส้ ร้างสันติทแ่ี ท้จริงจักต้องพร้อมเผชิญหน้ากับปญั หา จัดการกับปญั หา และ เอาชนะปญั หาให้ได้ แม้วา่ ตัวเองจะต้องดิน้ รนและเจ็บปวดสักเพียงใดก็ตาม 4

ถ้าไม่มีการให้ ก็จะไม่มีการรับ จงให้แก่ผอ้ ู ื่นและท่านจะได้รบั ด้วย

นายชัยวัฒน์ มณีนุษย์ บุตร นายเชื่อม และนางจิตอนงค์ มณี นุษย์ จะเข้ าพิธีสมรสกับ เทเรซา มาณวิกา นวลมณี บุตรี ยวง บัปติสตา มุนินทร์ และมารี อา มักดาเลนา เยาวลักษณ์ นวลมณี วันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ.2012 เวลา 15.00 น. ยอแซฟ ฐปนศรณ์ ภาณุรัตน์ พชิ ิต บุตร ยอแซฟ ลี และมารี อา จําลอง ผ่องใส จะเข้ าพิธีสมรสกับ นางสาววาสนา วงศ์ อนิ ทร์ บุตรี นายชาญ และนางไพเราะ วงศ์อินทร์ วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ.2012 เวลา 15.30 น.

** ผู้ใดพบข้ อขวาง โปรดแจ้ งคุณพ่ อเจ้ าวัดทราบ ** 9


ชี วิ ตที่ สนใจแต่ มิ ติด้า นกายภาพ มุ่ งตัก ตวงความสุ ข ทางกาย หรื อ ความพรั่ ง พร้ อ มทางวัต ถุ โดยไม่ ค าํ นึ ง ถึ ง มิ ติ ด้า นจิ ต ใจ เอาแต่ ปรนเปรอร่ างกาย โดยละเลยการบํารุ งเลี้ยงจิตใจ ชีวิตดังกล่าวย่อมเป็ น ชีวิตที่ยากจะพบกับความสงบสุ ข มีแต่จะรุ่ มร้อนเพราะความอยากที่ไม่ รู ้จกั พอ ขณะเดี ยวกันจิ ตใจก็ทุรนทุรายเนื่ องจากขาด “ความสุ ขที่แท้ ” จึงต้องดิ้นรนแสวงหาโดยนึ กว่าทรัพย์สมบัติจะนําความสุ ขที่แท้มาให้ แต่สุดท้ายก็ตอ้ งผิดหวัง จึงต้องดิ้นรนแสวงหาต่อไปไม่รู้จบ ชีวิตเช่นนี้ เป็ นชีวิตที่ติดลบ แม้จะมีทรัพย์สมบัติท่วมหัวก็ตาม มนุษย์ทุกคนย่อมปรารถนาความสงบเย็นภายใน ความสงบเย็น แบบนี้ หาซื้ อไม่ได้ จะได้มาก็จากชี วิตด้านในที่เจริ ญงอกงาม หรื อจาก จิตใจที่ได้รับการบํารุ งเลี้ยงอย่างสมํ่าเสมอเท่านั้น ผูท้ ี่เห็นคุณค่าของชีวิต ด้านในย่อมแสวงหาสิ่ งดีงามมาบํารุ งเลี้ยงจิตใจอยูเ่ ป็ นนิตย์

3. ภาษาฮีบรูไม่ค่อยมีคาํ คุณศัพท์ จึงต้องเลีย่ งไปใช้คาํ ว่า “บุตร ของ” หรือ “บุตรแห่ง” (son of…) แล้วตามด้วยคํานามแทน สําหรับชาวฮีบรู “บุตร แห่งความสว่าง” จึงหมายถึง “คนดี” และ “บุตรของพระเจ้า” หมายถึง “เหมือนพระ เจ้า” เป็ นต้น พระเจ้า คือ ผู้ส ร้า งสัน ติ ดัง ที่นั ก บุ ญ เปาโลกล่ า วว่ า “ขอพระเจ้า ผู้ ประทานสันติ สถิตอยูก่ บั ท่านทัง้ หลายเทอญ” (รม 15:33) และ “จงดําเนินชีวติ อย่าง สันติ แล้วพระเจ้าแห่งความรักและสันติจะสถิตอยูก่ บั ท่าน” (2 คร 13:11) ผูส้ ร้างสันติจงึ ทําเหมือนพระเจ้า และดังนี้จงึ ได้ช่อื ว่า “บุตรของพระเจ้า” ในทางปฏิบตั ิ ผูส้ ร้างสันติหมายถึง 1. ทุกคนทีม่ สี ่วนทําให้โลกนี้ดขี น้ึ น่ าอยู่ขน้ึ เพื่อผูท้ อ่ี าศัยอยู่ในโลกนี้จะ สามารถบรรลุถงึ ความดีและความสมบูรณ์สงู สุดได้ 2. ทุกคนที่มีสนั ติใ นจิต ใจ ไม่มีความขัดแย้งหรือการต่ อสู้กนั ระหว่าง ความดีและความชัวในจิ ่ ตใจอีกต่อไป 3. ทุกคนทีส่ ร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างเพื่อนมนุ ษย์ดว้ ยกันเอง ไม่ใช่ เข้าทีไ่ หนวงแตกทีน่ นั ่ หรือชอบสร้างความขัดแย้งและทะเลาะเบาะแว้งกับคนอื่นอยูร่ ่าํ ไป ความหมายของความสุขประการนี้คอื

“โอ้ ช่างสุขจริงหนอ ผูท้ สี ่ ร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างมนุ ษย์ด้วย กันเอง เหตุวา่ เขากําลังทําแบบพระเจ้า”

สิ่ ง ดี ง ามนั้น ได้แ ก่ ค วามปรารถนาดี การเผื่อแผ่แ ละเสี ย สละ ความตั้งมัน่ และความสงบใจ ความรู ้และไม่หลงลืม ความรู ้ความเข้าใจ ในเรื่ องชีวิตจิตใจ เป็ นต้น

เพียงแค่หยุดคิดแล้วหันมามองดูตน เราย่อมเห็ นได้ไม่ ยากว่า อะไรคือสิ่ งที่เรี ยกว่า “ความสุ ขแท้ ” ที่ชีวิตจิตใจของเรา ปรารถนาอย่างแท้จริ ง จาก www.carefor.org 8

5


3. วิถีชุมชนวัด คือ วัดซึ่งประกอบด้ วยชุ มชนคริสตชนย่ อย ๆ ที่ดำเนินชีวิตโดยมีจิตใจสั มพันธ์ เป็ นหนึ่งเดียวกัน เหมือนดังคริสตชนในยุคของอัครสำวก ดังที่บนั ทึกไว้ในหนังสื อกิจการอัครสาวก “กลุ่มผู้มีความเชื่ อดาเนินชี วิตเป็ นนา้ หนึ่งใจเดียวกัน... ประชุมกันอย่ างสมา่ เสมอเพื่อฟั งคาสั่ง สอนของบรรดาอัครสาวก ดาเนินชี วิตร่ วมกันฉั นพี่น้อง ร่ วมพิธีบิขนมปั ง และอธิ ษฐานภาวนา... ทุกๆ วัน เขาพร้ อมใจกันไปที่ พระวิหารและไปตามบ้ านเพื่อทาพิ ธีบิขนมปั ง ร่ วมกินอาหารด้ วยความยินดี และเข้ าใจกัน สรรเสริ ญพระเจ้ า และได้ รับความนิ ยมจากประชาชนทุกคน องค์ พระผู้เป็ นเจ้ าทรงทา ให้ จานวนผู้ที่ได้ รับความรอดพ้ นเพิ่มขึน้ ทุกวัน... ในกลุ่มของเขาไม่ มีใครขัดสน ผู้ใดมีที่ดินหรื อบ้ านก็ ขายและมอบเงินที่ ได้ ให้ บรรดาอัครสาวก เพื่อแจกจ่ ายให้ ผ้ ูมีความเชื่ อแต่ ละคนตามความต้ องการ” (กจ 4:32; 2:42,46-47; 4:34-35) ชุมชนคริ สตชนย่อย ๆ ที่มีวถิ ีดาเนินชีวติ สัมพันธ์เป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกันเหมือนในยุคของอัคร สาวกและเป็ นองค์ประกอบสาคัญของวิถีชุมชนวัดนี้ เราเรี ยกว่า “กลุ่มคริ สตชนพื้นฐาน” (Basic Ecclesial Communities) หรื อ BEC กลุ่มคริสตชนพืน้ ฐำน (BEC) มีองค์ ประกอบสำคัญ 4 ประกำรที่ทาให้แตกต่างจากกลุ่มหรื อ องค์กรอื่น ๆ คือ 1. สมำชิกของกลุ่มเป็ นเพือ่ นบ้ ำนละแวกเดียวกัน โดยไม่แยกแยะภาษา เชื้อชาติ ฐานะ เพศ วัย สถานภาพสมรส แม้แต่คู่สมรสที่มิใช่คาทอลิกก็ได้รับเชิญให้เข้าร่ วมการ ชุ มนุ มซึ่ งจัดขึ้ นสัปดาห์ ละ 1-2 ครั้ ง โดยหมุนเวียนเปลี่ ยนสถานที่ ไปตามความ เหมาะสม ข้อดี ของการรวมกลุ่มเช่ น นี้ คือ มี โ อกาสสู ง ในการเชื่ อมความสัม พัน ธ์ ระหว่างชนเชื้ อชาติต่าง ๆ สร้ างความเป็ นหนึ่ งเดี ยวกันระหว่างผูค้ นต่างชนชั้น และทาให้ชุมชนเป็ นบ้านสาหรับทุก ๆ คน 2. ใช้ กำรแบ่ งปันพระวำจำเป็ นพืน้ ฐำนของกำรชุมนุม เพื่อทาให้พระเยซูเจ้าประทับอยู่ ท่ามกลางสมาชิกและเป็ นศูนย์กลางของชุมชน ทาให้ชุมชนเป็ นครอบครัวใหม่ตาม พระดารัสที่วา่ “มารดาและพี่น้องของเราคื อผู้ที่ฟังพระวาจาของพระเจ้ าและนาไป ปฏิ บัติ” (ลก 8:21) และยังทาให้สมาชิกแต่ละคนเป็ นศิษย์ของพระองค์อย่างแท้จริ ง 6

4.

“ถ้ า ท่ านทั้ ง หลายยึ ด มั่ น ในวาจาของเรา ท่ านก็เ ป็ นศิ ษ ย์ ข องเราอย่ า งแท้ จริ ง” (ยน 8:31) มีกำรแสดงออกซึ่งควำมเชื่อของกลุ่มอย่ ำงเป็ นรู ปธรรม เช่น สรรเสริ ญและขอบคุณ พระเจ้าร่ วมกัน ให้อภัยกัน ช่วยเหลือกัน พึ่งพาอาศัยซึ่ งกันและกัน แบ่งปั นความเชื่อ แก่กนั แก่ผูเ้ รี ยนคาสอน เตรี ยมพิธีกรรมวันอาทิ ตย์ เตรี ยมเด็กรับศี ลมหาสนิ ทครั้ ง แรกและศี ลกาลัง ติดตามคริ สตชนห่ างวัด ต้อนรับคนต่างถิ่น พัฒนาชุมชนร่ วมกัน ร่ วมกันต่อต้านความอยุติธรรมและการฉ้อราษฎร์ บังหลวง สร้างความสัมพันธ์กับ ศาสนิกต่างศาสนาและต่างนิกาย เป็ นต้น เชื่อมโยงกับพระศำสนจักรสำกล พระสงฆ์เชื่อมโยงกลุ่มต่าง ๆ เข้ากับชุมชนวัดโดย อาศัย เครื่ อ งมื อ ที่ ส าคัญ ที่ สุ ด คื อ พิ ธี บู ช ามิ ส ซา และท าให้ ชุ ม ชนวัด เชื่ อ มโยงกับ พระสังฆราชของตน และกับพระสันตะปาปาซึ่งเป็ นผูน้ าของพระศาสนจักรสากล

ผลดีของวิถีชุมชนวัด ชุ ม ช น ค ริ ส ต ช น ย่ อ ย กระทาสิ่ งที่พระศาสนจักร ควรกระทาในละแวกบ้าน แห่ ง นี้ เช่ น การแบ่ ง ปั น ความเชื่อ การสอนคาสอน การช่ ว ยเหลื อ ผู ้ย ากจน การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ผู ้ สิ้ นเนื้ อประดาตั ว การ เฉลิ ม ฉลองด้ว ยกัน การ ป รั บ ป รุ ง ภ า ว ะ ค ว า ม เป็ นอยู่ใ ห้ดี ข้ ึ น พวกเขา กลายเป็ นสัญ ลักษณ์ ข อง สั ง ค ม ใ ห ม่ ที่ ซึ่ ง ผู ้ ค น ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ชี วิ ต ร่ วมกันในสันติสุข

ชุมชนคริ สตชนย่อยหยิบยืน่ “ความเป็ นบ้านสาหรับทุกคน” ชุมชนคริ สตชนย่ อยใช้ การแบ่ งปั นพระวรสารเป็ นพืน้ ฐานของการ ชุ มนุ ม เพื่ อ ท าให้ มี ป ระสบการ์​์ ส่ วนตั ว กับพระคริ สตเจ้ า และ ปั ญหาชี วิตได้ รับการคลี่คลายในแสงสว่ างแห่ งพระวรสาร สามารถนาการมีส่วนร่ วมของทุกคนลงสู่การปฏิบตั ิ เกิ ด การรั บ ผิ ดชอบร่ วมกัน กิ จ กรรมหลั่ง ไหลออกมาจากความ มั่น ใจใหม่ ว่า “นี่ เ ป็ นธุ ร ะและความรั บ ผิ ด ชอบร่ วมกั น ที่ นี่ ใน ละแวกบ้ านของเรา” 7


3. วิถีชุมชนวัด คือ วัดซึ่งประกอบด้ วยชุ มชนคริสตชนย่ อย ๆ ที่ดำเนินชีวิตโดยมีจิตใจสั มพันธ์ เป็ นหนึ่งเดียวกัน เหมือนดังคริสตชนในยุคของอัครสำวก ดังที่บนั ทึกไว้ในหนังสื อกิจการอัครสาวก “กลุ่มผู้มีความเชื่ อดาเนินชี วิตเป็ นนา้ หนึ่งใจเดียวกัน... ประชุมกันอย่ างสมา่ เสมอเพื่อฟั งคาสั่ง สอนของบรรดาอัครสาวก ดาเนินชี วิตร่ วมกันฉั นพี่น้อง ร่ วมพิธีบิขนมปั ง และอธิ ษฐานภาวนา... ทุกๆ วัน เขาพร้ อมใจกันไปที่ พระวิหารและไปตามบ้ านเพื่อทาพิ ธีบิขนมปั ง ร่ วมกินอาหารด้ วยความยินดี และเข้ าใจกัน สรรเสริ ญพระเจ้ า และได้ รับความนิ ยมจากประชาชนทุกคน องค์ พระผู้เป็ นเจ้ าทรงทา ให้ จานวนผู้ที่ได้ รับความรอดพ้ นเพิ่มขึน้ ทุกวัน... ในกลุ่มของเขาไม่ มีใครขัดสน ผู้ใดมีที่ดินหรื อบ้ านก็ ขายและมอบเงินที่ ได้ ให้ บรรดาอัครสาวก เพื่อแจกจ่ ายให้ ผ้ ูมีความเชื่ อแต่ ละคนตามความต้ องการ” (กจ 4:32; 2:42,46-47; 4:34-35) ชุมชนคริ สตชนย่อย ๆ ที่มีวถิ ีดาเนินชีวติ สัมพันธ์เป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกันเหมือนในยุคของอัคร สาวกและเป็ นองค์ประกอบสาคัญของวิถีชุมชนวัดนี้ เราเรี ยกว่า “กลุ่มคริ สตชนพื้นฐาน” (Basic Ecclesial Communities) หรื อ BEC กลุ่มคริสตชนพืน้ ฐำน (BEC) มีองค์ ประกอบสำคัญ 4 ประกำรที่ทาให้แตกต่างจากกลุ่มหรื อ องค์กรอื่น ๆ คือ 1. สมำชิกของกลุ่มเป็ นเพือ่ นบ้ ำนละแวกเดียวกัน โดยไม่แยกแยะภาษา เชื้อชาติ ฐานะ เพศ วัย สถานภาพสมรส แม้แต่คู่สมรสที่มิใช่คาทอลิกก็ได้รับเชิญให้เข้าร่ วมการ ชุ มนุ มซึ่ งจัดขึ้ นสัปดาห์ ละ 1-2 ครั้ ง โดยหมุนเวียนเปลี่ ยนสถานที่ ไปตามความ เหมาะสม ข้อดี ของการรวมกลุ่มเช่ น นี้ คือ มี โ อกาสสู ง ในการเชื่ อมความสัม พัน ธ์ ระหว่างชนเชื้ อชาติต่าง ๆ สร้ างความเป็ นหนึ่ งเดี ยวกันระหว่างผูค้ นต่างชนชั้น และทาให้ชุมชนเป็ นบ้านสาหรับทุก ๆ คน 2. ใช้ กำรแบ่ งปันพระวำจำเป็ นพืน้ ฐำนของกำรชุมนุม เพื่อทาให้พระเยซูเจ้าประทับอยู่ ท่ามกลางสมาชิกและเป็ นศูนย์กลางของชุมชน ทาให้ชุมชนเป็ นครอบครัวใหม่ตาม พระดารัสที่วา่ “มารดาและพี่น้องของเราคื อผู้ที่ฟังพระวาจาของพระเจ้ าและนาไป ปฏิ บัติ” (ลก 8:21) และยังทาให้สมาชิกแต่ละคนเป็ นศิษย์ของพระองค์อย่างแท้จริ ง 6

4.

“ถ้ า ท่ านทั้ ง หลายยึ ด มั่ น ในวาจาของเรา ท่ านก็เ ป็ นศิ ษ ย์ ข องเราอย่ า งแท้ จริ ง” (ยน 8:31) มีกำรแสดงออกซึ่งควำมเชื่อของกลุ่มอย่ ำงเป็ นรู ปธรรม เช่น สรรเสริ ญและขอบคุณ พระเจ้าร่ วมกัน ให้อภัยกัน ช่วยเหลือกัน พึ่งพาอาศัยซึ่ งกันและกัน แบ่งปั นความเชื่อ แก่กนั แก่ผูเ้ รี ยนคาสอน เตรี ยมพิธีกรรมวันอาทิ ตย์ เตรี ยมเด็กรับศี ลมหาสนิ ทครั้ ง แรกและศี ลกาลัง ติดตามคริ สตชนห่ างวัด ต้อนรับคนต่างถิ่น พัฒนาชุมชนร่ วมกัน ร่ วมกันต่อต้านความอยุติธรรมและการฉ้อราษฎร์ บังหลวง สร้างความสัมพันธ์กับ ศาสนิกต่างศาสนาและต่างนิกาย เป็ นต้น เชื่อมโยงกับพระศำสนจักรสำกล พระสงฆ์เชื่อมโยงกลุ่มต่าง ๆ เข้ากับชุมชนวัดโดย อาศัย เครื่ อ งมื อ ที่ ส าคัญ ที่ สุ ด คื อ พิ ธี บู ช ามิ ส ซา และท าให้ ชุ ม ชนวัด เชื่ อ มโยงกับ พระสังฆราชของตน และกับพระสันตะปาปาซึ่งเป็ นผูน้ าของพระศาสนจักรสากล

ผลดีของวิถีชุมชนวัด ชุ ม ช น ค ริ ส ต ช น ย่ อ ย กระทาสิ่ งที่พระศาสนจักร ควรกระทาในละแวกบ้าน แห่ ง นี้ เช่ น การแบ่ ง ปั น ความเชื่อ การสอนคาสอน การช่ ว ยเหลื อ ผู ้ย ากจน การให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ผู ้ สิ้ นเนื้ อประดาตั ว การ เฉลิ ม ฉลองด้ว ยกัน การ ป รั บ ป รุ ง ภ า ว ะ ค ว า ม เป็ นอยู่ใ ห้ดี ข้ ึ น พวกเขา กลายเป็ นสัญ ลักษณ์ ข อง สั ง ค ม ใ ห ม่ ที่ ซึ่ ง ผู ้ ค น ส า ม า ร ถ ด า เ นิ น ชี วิ ต ร่ วมกันในสันติสุข

ชุมชนคริ สตชนย่อยหยิบยืน่ “ความเป็ นบ้านสาหรับทุกคน” ชุมชนคริ สตชนย่ อยใช้ การแบ่ งปั นพระวรสารเป็ นพืน้ ฐานของการ ชุ มนุ ม เพื่ อ ท าให้ มี ป ระสบการ์​์ ส่ วนตั ว กับพระคริ สตเจ้ า และ ปั ญหาชี วิตได้ รับการคลี่คลายในแสงสว่ างแห่ งพระวรสาร สามารถนาการมีส่วนร่ วมของทุกคนลงสู่การปฏิบตั ิ เกิ ด การรั บ ผิ ดชอบร่ วมกัน กิ จ กรรมหลั่ง ไหลออกมาจากความ มั่น ใจใหม่ ว่า “นี่ เ ป็ นธุ ร ะและความรั บ ผิ ด ชอบร่ วมกั น ที่ นี่ ใน ละแวกบ้ านของเรา” 7


ชี วิ ตที่ สนใจแต่ มิ ติด้า นกายภาพ มุ่ งตัก ตวงความสุ ข ทางกาย หรื อ ความพรั่ ง พร้ อ มทางวัต ถุ โดยไม่ ค าํ นึ ง ถึ ง มิ ติ ด้า นจิ ต ใจ เอาแต่ ปรนเปรอร่ างกาย โดยละเลยการบํารุ งเลี้ยงจิตใจ ชีวิตดังกล่าวย่อมเป็ น ชีวิตที่ยากจะพบกับความสงบสุ ข มีแต่จะรุ่ มร้อนเพราะความอยากที่ไม่ รู ้จกั พอ ขณะเดี ยวกันจิ ตใจก็ทุรนทุรายเนื่ องจากขาด “ความสุ ขที่แท้ ” จึงต้องดิ้นรนแสวงหาโดยนึ กว่าทรัพย์สมบัติจะนําความสุ ขที่แท้มาให้ แต่สุดท้ายก็ตอ้ งผิดหวัง จึงต้องดิ้นรนแสวงหาต่อไปไม่รู้จบ ชีวิตเช่นนี้ เป็ นชีวิตที่ติดลบ แม้จะมีทรัพย์สมบัติท่วมหัวก็ตาม มนุษย์ทุกคนย่อมปรารถนาความสงบเย็นภายใน ความสงบเย็น แบบนี้ หาซื้ อไม่ได้ จะได้มาก็จากชี วิตด้านในที่เจริ ญงอกงาม หรื อจาก จิตใจที่ได้รับการบํารุ งเลี้ยงอย่างสมํ่าเสมอเท่านั้น ผูท้ ี่เห็นคุณค่าของชีวิต ด้านในย่อมแสวงหาสิ่ งดีงามมาบํารุ งเลี้ยงจิตใจอยูเ่ ป็ นนิตย์

3. ภาษาฮีบรูไม่ค่อยมีคาํ คุณศัพท์ จึงต้องเลีย่ งไปใช้คาํ ว่า “บุตร ของ” หรือ “บุตรแห่ง” (son of…) แล้วตามด้วยคํานามแทน สําหรับชาวฮีบรู “บุตร แห่งความสว่าง” จึงหมายถึง “คนดี” และ “บุตรของพระเจ้า” หมายถึง “เหมือนพระ เจ้า” เป็ นต้น พระเจ้า คือ ผู้ส ร้า งสัน ติ ดัง ที่นั ก บุ ญ เปาโลกล่ า วว่ า “ขอพระเจ้า ผู้ ประทานสันติ สถิตอยูก่ บั ท่านทัง้ หลายเทอญ” (รม 15:33) และ “จงดําเนินชีวติ อย่าง สันติ แล้วพระเจ้าแห่งความรักและสันติจะสถิตอยูก่ บั ท่าน” (2 คร 13:11) ผูส้ ร้างสันติจงึ ทําเหมือนพระเจ้า และดังนี้จงึ ได้ช่อื ว่า “บุตรของพระเจ้า” ในทางปฏิบตั ิ ผูส้ ร้างสันติหมายถึง 1. ทุกคนทีม่ สี ่วนทําให้โลกนี้ดขี น้ึ น่ าอยู่ขน้ึ เพื่อผูท้ อ่ี าศัยอยู่ในโลกนี้จะ สามารถบรรลุถงึ ความดีและความสมบูรณ์สงู สุดได้ 2. ทุกคนที่มีสนั ติใ นจิต ใจ ไม่มีความขัดแย้งหรือการต่ อสู้กนั ระหว่าง ความดีและความชัวในจิ ่ ตใจอีกต่อไป 3. ทุกคนทีส่ ร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างเพื่อนมนุ ษย์ดว้ ยกันเอง ไม่ใช่ เข้าทีไ่ หนวงแตกทีน่ นั ่ หรือชอบสร้างความขัดแย้งและทะเลาะเบาะแว้งกับคนอื่นอยูร่ ่าํ ไป ความหมายของความสุขประการนี้คอื

“โอ้ ช่างสุขจริงหนอ ผูท้ สี ่ ร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างมนุ ษย์ด้วย กันเอง เหตุวา่ เขากําลังทําแบบพระเจ้า”

สิ่ ง ดี ง ามนั้น ได้แ ก่ ค วามปรารถนาดี การเผื่อแผ่แ ละเสี ย สละ ความตั้งมัน่ และความสงบใจ ความรู ้และไม่หลงลืม ความรู ้ความเข้าใจ ในเรื่ องชีวิตจิตใจ เป็ นต้น

เพียงแค่หยุดคิดแล้วหันมามองดูตน เราย่อมเห็ นได้ไม่ ยากว่า อะไรคือสิ่ งที่เรี ยกว่า “ความสุ ขแท้ ” ที่ชีวิตจิตใจของเรา ปรารถนาอย่างแท้จริ ง จาก www.carefor.org 8

5


หรือคนขีเ้ หล้าเมายา ชอบเล่นการพนัน แต่ใจกว้างพร้อมจะหยิบเหรียญบาท สุดท้ายในกระเป๋าของตนออกมาทําบุญแก่ผตู้ กทุกข์ได้ยาก ก็เป็ นผูช้ อบธรรมเพียง บางส่วนเช่นกัน เราอาจสรุปความหมายของความสุขประการนี้ได้วา่

ผูส้ ร้างสันติย่อมเป็ นสุข เพราะเขาจะได้ชือ่ ว่าเป็ นบุตรของพระเจ้า

นักท่องเที่ยวคนหนึ่งเดินทางอยู่ในทะเลทรายเขาเดินวนเวียนอยู่ หลายวัน จนกระทัง่ นํา้ และอาหารที่นาํ ติดตัวมาหมดลง เขาเหน็ด เหนื่อยและหิวกระหายมาก ริมฝี ปากแห้งผาก เท้าแตกระบมเป็ น แผล ผิวหนังถูกแดดเผาไหม้เกรียมเจ็บปวดมาก บังเอิญมาถึงบ่อนํา้ แห่งหนึ่ง ซึ่งใช้ระบบคันโยกดึงนํา้ ขึ้นมา เขาพยายามรวบรวม กําลังเท่าที่เหลืออยู่โยกเครื่องสูบนํา้ แต่ปรากฏว่าไม่มีนาํ้ ไหลออกมาเลย เขามองซ้ายแลขวา ก็เหลือบไปเห็ นกระดาษแผ่นหนึ่งเสียบไม้ปักอยู่ใกล้ๆบ่อ มีขอ้ ความเขียนว่า “จงมองไปทาง ทิศตะวันออก จะพบต้นตะบองเพชร และที่ใต้ตน้ ตะบองเพชรจะมีนาํ้ อยูข่ วดหนึง่ แต่หา้ มดื่มนํา้ ในขวดนัน้ อย่างเด็ดขาด จงเทนํา้ นัน้ ลงไปในเครื่องสูบนํา้ และรีบโยกอย่างรวดเร็ว จะมีนาํ้ ไหล ออกมาอย่างมากมาย” ชายคนนัน้ จะทําอย่างไรดี ขณะที่คอแห้งเป็ นผง และหิวกระหายนํา้ จน ใจจะขาด เขาควรจะเชือ่ ฟั งคําสัง่ นัน้ หรือผ่าฝื น ในที่สดุ เขาตัดสินใจเทนํา้ ขวดนัน้ ลงในเครื่องสูบและโยกอย่างรวดเร็ วนํา้ ไหลทะลัก ออกมาอย่างมากมายเขาได้ดื่ม และชโลมกายจนชื่นใจแล้วเติมนํา้ ใส่ไว้ในขวดตามเดิมเพื่อคน อื่นจะได้มาใช้ตอ่ ไป ถ้าเขาไม่ยอมให้นาํ้ แก่เครื่องสูบแน่นอนนํา้ ก็จะไม่ไหลออกมาให้เขาดื่มและ คนอื่นก็จะไม่มดี มื่ ด้วย

เพื่อจะเข้าใจความหมายของความสุขประการนี้ มี 3 ประเด็นทีค่ วรคํานึงถึง

นิทานเรื่ องนี้สอนให้รูว้ า่ ..

“โอ้ ช่างสุขจริงหนอ ผูท้ ใี ่ ฝห่ าความชอบธรรมทัง้ ครบดุจเดียวกับคน ใกล้อดตายอยากได้อาหาร หรือคนกระหายนํ้าใกล้ตายอยากได้น้ ํา เหตุว่า เขาจะอิม่ หนําจริง ๆ”

คือ 1. คํา “สันติ” หรือ shalōm (ชาโลม) ในภาษาฮีบรู ไม่ได้หมายถึงเพียง “ขอให้พน้ ทุกข์” แต่หมายรวมถึง “ขอให้บรรลุความดีและความสมบูรณ์สงู สุด” ด้วย การไม่มโี รคภัยเบียดเบียนถือว่า “พ้นทุกข์” ไปเปลาะหนึ่งซึง่ ก็นบั ว่า ดีมากแล้ว แต่ยงั ไม่อาจรับประกันว่าเราจะบรรลุความดีและความสมบูรณ์สูงสุดได้ จําเป็ นทีจ่ ติ ใจ ร่างกาย สติปญั ญา โอกาส สภาพแวดล้อม และสิง่ อื่นๆ ต้องได้รบั การ พัฒนาควบคูก่ นั ไปอย่างดีทส่ี ดุ ด้วย สําหรับพระเยซูเจ้า “ไม่” อย่างเดียวจึงยังไม่พอ จําต้อง “ดีทีส่ ุด” ด้วย 2. พระองค์ทรงเรียกร้องให้เรา “สร้างสันติ ” ไม่ใช่แค่ “รักสันติ ” หลายคนชอบอ้างว่าตนรักสันติ ต้องการสมานฉันท์ จึงไม่เผชิญหน้า กับปญั หาใด ๆ เลย อย่างนี้จะเรียกว่าเป็ นผูส้ ร้างสันติไม่ได้ เพราะปญั หาถูกซุกไว้ใต้ พรมโดยยังไม่ได้รบั การแก้ไข มีแต่รอวันและเวลาทีจ่ ะระเบิดออกมาเท่านัน้ ผูส้ ร้างสันติทแ่ี ท้จริงจักต้องพร้อมเผชิญหน้ากับปญั หา จัดการกับปญั หา และ เอาชนะปญั หาให้ได้ แม้วา่ ตัวเองจะต้องดิน้ รนและเจ็บปวดสักเพียงใดก็ตาม 4

ถ้าไม่มีการให้ ก็จะไม่มีการรับ จงให้แก่ผอ้ ู ื่นและท่านจะได้รบั ด้วย

นายชัยวัฒน์ มณีนุษย์ บุตร นายเชื่อม และนางจิตอนงค์ มณี นุษย์ จะเข้ าพิธีสมรสกับ เทเรซา มาณวิกา นวลมณี บุตรี ยวง บัปติสตา มุนินทร์ และมารี อา มักดาเลนา เยาวลักษณ์ นวลมณี วันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ.2012 เวลา 15.00 น. ยอแซฟ ฐปนศรณ์ ภาณุรัตน์ พชิ ิต บุตร ยอแซฟ ลี และมารี อา จําลอง ผ่องใส จะเข้ าพิธีสมรสกับ นางสาววาสนา วงศ์ อนิ ทร์ บุตรี นายชาญ และนางไพเราะ วงศ์อินทร์ วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ.2012 เวลา 15.30 น.

** ผู้ใดพบข้ อขวาง โปรดแจ้ งคุณพ่ อเจ้ าวัดทราบ ** 9


มิสซาสมโภชนักบุญทั้งหลาย (ปี B) วันอาทิตย์ ที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 3 พ.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 18.00 น. คุณปรี ชา, คุณอรนารถ ประกอบกิจ และครอบครัว คุณบุญมี พันวิลยั และครอบครัว มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อุทศิ แด่ ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ วราภรณ์ สตีเฟน จารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช อันตน สาเริ ง โกญจนาท, ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช เริ งจิต วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อรนารถ อา. 4 พ.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ วิชชุลดา 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ และครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ มารี อา ธันยพร ศศิสุวรรณ, ยอแซฟ สุชารี ย ์ แสงหาญ ยอแซฟ ปั ณณธร, ยอแซฟ ภัทรกร แสงหาญ ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ ครอบครัวสุทธิโอภาส, ครอบครัวเพียรช่างคิด ครอบครัวรัตนบรรณสกุล, ครอบครัวเขม้นงาน ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, ครอบครัวลิม้ จิตรกร ครอบครัวแสงแพ และทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ เทเรซา วัลลีย ์ ตันติโกสิ ชฌน์ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ วิภาวิณี ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ต้ งั คค. ธนาพานิชย์ คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร, คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ยว ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ บรรพบุรุษและผูล้ ่วงลับครอบครัวธนาพานิชย์ คค. ธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง คค. ธนาพานิชย์ 10

ความหมายของความสุขประการนี้จงึ ขึน้ อยูก่ บั “ความเข้มข้น” ของความหิว และกระหาย ดังนัน้ เราควรถามตัวเองว่า “เราต้องการความชอบธรรมมากเพียงใด มากเท่าคนทีก่ าลังหิวตายต้องการอาหาร หรือมากเท่าคนทีก่ าลังอดน้ าตายต้องการ น้ าหรือไม่ ?” แม้พ ระองค์จะทรงเรีย กร้อ งให้เ ราใฝ่ ห าความดีแ ละความชอบธรรมอย่ า ง เข้มข้นจนหลายคนเกรงว่าจะทาไม่ได้ แต่อย่าพึ่งท้อใจเพราะพระองค์ตรัสว่า “เป็ น บุญของผู้ทหี ่ วิ กระหาย” ไม่ใช่ “เป็ นบุญของผู้ทอี ่ มิ ่ หนาแล้ว ” ความหมายคือ “ผู้ที ่ ใฝ่ หาความชอบธรรมอย่างเข้มข้นโดยยังไม่บรรลุถงึ ความชอบธรรม ก็เป็นบุญแล้ว” ดังนัน้ แม้เราจะทาผิดพลาดซ้าซากจนบางครัง้ รู้สกึ ท้อ แท้ แต่ หากยังใฝ่ห า ความดีอยูก่ เ็ ป็นบุญของเราแล้ว ดุจเดียวกับกษัตริยด์ าวิดทีแ่ ม้จะสังหารข้าศึกจานวน มากในการรบ แต่พระองค์ไม่เคยหยุดใฝ่หาความชอบธรรมด้วยการสร้างพระวิหาร ถวายพระเจ้าเลย ด้วยเหตุน้พี ระองค์จงึ เป็นทีโ่ ปรดปรานของพระเจ้ามาก อีกสิง่ หนึ่งทีน่ ่ าสังเกตคือ คากริยาจาพวก “หิว” และ “กระหาย” ในภาษากรีก มักตามด้วย genitive case ซึง่ บ่งบอกความเป็ นเจ้าของ เวลาแปลเป็ นไทยมักมีคาว่า “ของ” นาหน้า ในทางภาษาศาสตร์เรียกว่า partitive genitive ซึ่งหมายถึงการเป็ น เจ้าของเพียงบางส่วน เมือ่ ชาวกรีกต้องการพูดว่า “ฉันกระหายน้ า” เขาจะพูดว่า “ฉัน กระหายบางส่วนของน้ า” เพราะเขาอยากได้น้าส่วนเดียว ไม่ใช่ทงั ้ ตุ่มหรือทัง้ บ่อ แต่ในกรณีน้ี “ความชอบธรรม” (dikaiosunēn – ดีคยั ออซูเนน) ไม่ได้อยู่ในรูป genitive case แต่ อยู่ในรูป accusative case ซึง่ เทียบได้กบ ั “กรรมตรง” (direct object) ในภาษาไทย หมายความว่า ความสุขประการนี้นอกจากจะเรียกร้องให้เราใฝ่หาความชอบ ธรรมอย่างเข้มข้นทีส่ ุดแล้ว ยังเรียกร้องให้เราใฝห่ าความชอบธรรมทัง้ ครบอีกด้วย ตัวอย่างของผูใ้ ฝ่หาความชอบธรรมหรือทาดีแต่เพียงบางส่วนเช่น บรรดาผู้ท่ี มีคุณธรรมสูงส่ง ซื่อสัตย์ น่ ายกย่อง แต่ไม่มผี ใู้ ดอยากเข้าหาเพราะนิสยั เย็นเฉย ขาด มนุษยสัมพันธ์ ไม่รจู้ กั เห็นอกเห็นใจผูอ้ ่นื เป็นต้น

3


สมโภชนักบุญทั้งหลาย (ปี B) มธ 5:1-12

ผู้หิวกระหายความชอบธรรมย่อมเป็ นสุข เพราะเขาจะอิม่ ความหมายของคาใดคาหนึ่งจะลึกซึ้งหรือหนักแน่ นเพียงใด ย่อมขึน้ อยู่กบั ประสบการณ์ทงั ้ ของผูพ้ ดู และผูฟ้ งั ด้วย เรายังไม่เคยมีประสบการณ์เลยว่า คนหิวอาหารหรือกระหายน้ าถึงขัน้ อด ตายมีอาการอย่างไร ? ทรมานมากน้อยเพียงใด ? แต่สงิ่ ที่พระเยซูเจ้าทรงประสบพบเห็นเป็ นประจาคือคนใกล้อดตาย เพราะ ลาพังค่าแรงแต่ละวันของคนงานสมัยนัน้ ก็แทบไม่พอประทังชีวติ อยู่แล้ว หากวันใด ปว่ ยหรือไม่มงี านทา วันนัน้ สมาชิกในครอบครัวย่อมหมิน่ เหม่ต่อการอดตายเป็ นอย่าง ยิง่ ด้วยเหตุน้ีในอุปมาเรื่องคนงานในสวนองุ่น จึงมีผรู้ อคอยคนจ้างงานแม้เป็ นเวลา เย็นมากแล้วก็ตาม (มธ 20:1-16) นอกจากนัน้ เมื่อพบพายุทรายระหว่างเดินทาง สิง่ ทีช่ าวยิวสมัยนัน้ ทาได้คอื เอาเสือ้ คลุมมาคลุมตัวเองไว้ หันหลังให้พายุ แล้วรอจนกว่าพายุจะสงบ ขณะทีพ่ ายุ ก็ จะพัดทรายเข้าจมูก และคอจนแสบและหายใจแทบไม่อ อก จะกินน้ าก็ไม่ได้เพราะ ทรายเต็มปากไปหมด ตอนนี้แหละทีพ่ วกเขาตระหนักดีว่าการอดน้าตายเป็ นอย่างไร ความหิวและกระหายที่พระเยซูเจ้าตรัสถึงจึงมิใช่แค่ความ “อยากกิน” หรือ “อยากดืม่ ” แต่เป็ นความหิวชนิดทีห่ ากไม่มอี าหารตกถึงท้องเป็ นต้องอดตายแน่ และ เป็นความกระหายชนิดทีห่ ากไม่ได้ด่มื น้ าสักแก้วเป็นต้องอดน้าตายแน่ 2

วัน เดือน ปี รายการมิสซา อา 4 พ.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. บุญราศี ยอห์น ปอล ที่ 2 พระสันตะปาปา สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน คณะนักขับร้อง กลุ่มพิธีกรรมวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ฮีลารี ทอฝัน ดิลกวิทยรัตน์ เซซีลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว และร้านต้อย ไทยฟู้ ด ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว ครอบครัวกาฬแก้ว อุทศิ แด่ ยอห์น บัปติสต์ มณี , มารี อา เทเรซา สุมาลี กิจนิตย์ชีว ์ เปโตร ถนอม, อันนา สังเวียน สุวรรณราช เปโตร มโน ศรี วรกุล คุณอัศวเทพ เทพานนท์, คุณก้านทอง แสงปั ญหา ฟรังซิสโก ประเสริ ฐ, มารี อา ธาดา สุขสาราญ ยออันนา ผัน คิ้มแหน, เปาโล พิชยั เจริ ญเสรี มารี อา มาริ นทร์ เจริ ญเสรี , ซูซานนา สุนา พจน์ปฏิญญา มารี อา กิมลี้, คุณซี ฮวง, แบร์นาแด๊ต นิภา, ฟิ ลิป มุ่ยชิม คุณเช้ง แซ่จึง, เรนาโต ผดุง สุขสยาม, คุณเส่ง แซ่ล้ ี มารธา สมาน, เปโตร ประจวบ ทองทัว่ เปโตร สุบรรณ, เปโตร กั้น, อันนา ประยงค์ ทองทัว่ มารธา ซี , อันนา ทอน, เปโตร ยันต์ มาย มารธา เวียน, เปโตร วันถ้วน มาย เปโตร กอน, มารี อา ไกรวัลย์ เจริ ญเลิศสกุล เปโตร ดี, มารี อา ฮี จันทร์อ่อน อันโตนิโอ พงษ์สนั ต์, อันนา ไพรชล อุดรเสถียร มารี อา เลี่ยว มายสกุล เปโตร เฮี้ยน, มารธา เมี้ยน แซ่ห่วง วิญญาณในไฟชาระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง

ผู้ขอมิสซา มาลินี เจริ ญเลิศสกุล มาลินี มาลินี จริ ยา วิไลวรรณ ศันสนีย ์ คค.กิจนิตย์ชีว ์ ศันสนีย ์ สุดารัตน์ วิสาขา/รุ่ งโรจน์ กาธร บุตรหลาน รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ คค.ทองทัว่ คค.ทองทัว่ คค.มาย คค.มาย เจริ ญเลิศสกุล คค.จันทร์อ่อน คค.อุดรเสถียร คค.มายสกุล คค.แซ่ห่วง เจริ ญเลิศสกุล 11


จ. 5 พ.ย. อ. 6 พ.ย. พ. 7 พ.ย. พฤ. 8 พ.ย. ศ. 9 พ.ย.

อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่

คาทาลีนา ริ รินทร์ จิระดารง คราลา พันธ์วไิ ล มาริ นนา ลิลลี่ รุ่ งเรื อง, แฟรงค์ ดัฟ เรี ยน พันธ์วไิ ล ฟี เดส จิตรา ดารุ ทยาน

อมรา หลาน อมรา/พลมารี ย ์ หลาน อมรา

ฉบับที่ 447 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2012

สมโภชนักบุญทั้งหลาย  พี่นอ้ งที่ร่วมสวดสายประคาในโครงการ “สวดสายประคา 500,000 สาย” โปรดส่ ง บันทึ ก จานวนสายที่ ส วดได้ที่ ก ล่ องด้า นหน้า วัด หรื อ ที่ ส านัก งานวัด ภายในวัน อาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน ศกนี้ วัดจะรวบรวมจานวนเพื่อแจ้งคณะกรรมการฯต่อไป  วันอาทิ ตย์ที่ 18 พฤศจิ ก ายน ศกนี้ ขอเชิ ญผูส้ นใจร่ วมรั บ ฟั งเพื่อเสริ มสร้ างความ เข้าใจเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์และบริ หารความเสี่ ยงผ่านกรรมธรรม์ประกันภัยและ ประกันชี วิต ในหัวข้อ “ความเสี่ ยงที่ จัดการได้ ” โดย คุ ณภาวนา วัณโณภาศ เวลา 13.00-15.00 น. ณ วัดน้อย  ขอเชิญพี่นอ้ งที่เข้ารับการอบรม “ผูน้ าวิถีชุมชนวัด” ไม่วา่ จะกี่ครั้งก็ตาม และมีความ ประสงค์จะร่ วมเป็ นทีมงานอภิบาลของวัด รับหนังสื อแสดงความจานงได้ที่คุณพ่อ เจ้าอาวาส โดยจะมีพิธีลงนามแสดงเจตจานงระหว่างมิสซา 10.00 น. วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน ศกนี้  เทศกาลคริ สตมาสใกล้เข้ามาแล้ว.. ขอเชิ ญผูม้ ีจิตศรัทธาร่ วมบริ จาคปั จจัยหรื อของ รางวัลสาหรับกิจกรรมเกมสอยดาวและกิจกรรมด้านอื่นๆ โปรดแจ้งความจานงได้ที่ สานักงานวัด หรื อกรอกแบบฟอร์ มด้านหน้าวัดตั้งแต่บดั นี้เป็ นต้นไป

12

ผู้หิวกระหายความชอบธรรม ย่ อมเป็ นสุ ข มธ 5:6


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.