ฉบับที่ 422 วันอาทิตย์ที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2012
ฉบับที่ 422 วันอาทิตย์ที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2012
สั ปดาห์ ที่ 6 เทศกาลปัสกา (ปี B)
สั ปดาห์ ที่ 6 เทศกาลปัสกา (ปี B)
มิใช่ ท่านทั้งหลายได้ เลือกเรา แต่ เราได้ เลือกท่ าน
มิใช่ ท่านทั้งหลายได้ เลือกเรา แต่ เราได้ เลือกท่ าน
ยน 15:16
ยน 15:16
สั ปดาห์ ที่ 6 เทศกาลปัสกา (ปี B)
ยน 15:9-17
การดํารงอยู่ใน “ความรัก” ของพระเยซูเจ้า นอกจากจะทําให้ชวี ติ ของเรา เจริญงอกงามและบังเกิดผลอย่างอุดมสมบูรณ์ เสมือนกิง่ องุน่ ทีต่ ดิ อยูก่ บั เถาแล้ว ยัง ทําให้พระบิดาเจ้าได้รบั พระสิรริ งุ่ โรจน์จากผลแห่งกิจการดีของเราอีกด้วย (ยน 15:7-8) โดยมี “ความรัก” เดียวกันนี้เองเป็ นแรงจูงใจ พระเยซูเจ้าทรงเปิ ดประเด็น ใหม่ซง่ึ เป็ นศูนย์กลางของข่าวดีตอนนี้ “มิ ใช่ท่านทัง้ หลายได้เลือกเรา แต่เราได้เลือกท่าน” ! (ยน 15:16) ด้วยความรัก พระเยซูเจ้าทรงเลือกเราเพือ่ 1. “ให้ ความยิ นดี ของเราอยู่กบั ท่ าน และความยิ นดี ของท่ านจะ สมบูรณ์ ” (ยน 15:11) การดําเนินชีวติ เยี่ยงคริสตชนแม้จะเต็มไปด้วยความ ยากลําบากก็จริง แต่เราไม่ยนิ ดีดอกหรือทีไ่ ด้ทาํ สิง่ ทีถ่ ูกต้องและควรทํา ? เราไม่ยนิ ดีทไ่ี ด้ “รักและให้” ซึ่งเท่ากับว่า “เราพอแล้ว เราสุข แล้ว” ดอกหรือ ? และถึงแม้จะรูอ้ ยู่เต็มอกว่าเราเป็ นคนบาป แต่เราไม่ยนิ ดีดอกหรือที่ ได้รบั การไถ่กใู้ ห้รอดโดยพระเยซูเจ้าแล้ว ? ยิง่ ไปกว่านัน้ เราไม่ยนิ ดีมากขึ้นไปอีกหรือในเมื่อพระองค์ตรัสว่า ความยินดีในโลกหน้าของเราจะสมบูรณ์ยงิ่ กว่านี้อกี ? เพราะฉะนัน้ ผูท้ ด่ี ําเนินชีวติ จมอยู่ในความทุกข์โศกเศร้าหรือชอบตี หน้าเศร้าอยูเ่ สมอ จึงต้องถือว่าสวนทางกับการเป็ นคริสตชนโดยสิน้ เชิง 2
วัน เดือน ปี รายการมิสซา อา 13 พ.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน คุณสุ นีย ์ ไชยเผือก (วันคล้ ายวันเกิด) ชมรมผูส้ ูงอายุ และผูท้ ี่เกิดในเดือนพฤษภาคมทุกท่าน เปโตร มนัศ, คุณรัญจนา อดุลศิริสวัสดิ์ ดอมินิก ซาวีโอ พิชชานนท์ หอวิจิตร และครอบครัว เทเรซา น้อย กังศิริกลุ , มารี อา อัญชลี พูลขาว มารี อา วรรณา เมธีพิทกั ษ์กลุ และครอบครัว คุณโกมุท ตัณสังวร, ครอบครัวสุ นทรเวชพงษ์ อุทศิ แด่ เปาโล อํานาจ อุตสากิจ, คุณวิรัช มณี นุช โรซา บุญยิง่ , ซิ ลเวสเตอร์ สุ รพงษ์ กิจเจริ ญ เปโตร ฟรอ เหงี่ยนวัน, มารี อา มยุรีย ์ สายพรหม ยอแซฟ ประสาน, อักแนส อําไพ นิโครธานนท์ อันนา สละ, อันนา จุไรลักษณ์ เจริ ญทรัพย์ อันนา เกลี้ยน, ยอแซฟ อดิศกั ดิ์ อานามนารถ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ลออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน, มารี อา มยุรี ผลาวงศ์ เปาโล มงคล, อักแนส ลดาวัลย์, คุณกรรณิ การ์ สวีรวงศ์ เซซี ลีอา อรนุช, คุณจารุ วรรณ สวีรวงศ์ คุณอรุ ณี เนตรวิจิตร, คุณอ๊อด, คุณสอางค์ ชุ่มชื่น คุณเซ่งกี, คุณคิ้ม แซ่ลิ้ม ซูซานนา สุ นา พจน์ปฏิญญา, ยออันนา ผัน คิ้มแหน ยอแซฟ มนู, ยออากิม มาโนช บุศยเพศ ฟรังซิ สโก วิจิตร์ กาญจนธานินทร์, คุณเส่ ง วชิรจุติพงศ์ อลิซาเบธ ธานี เศรษฐเสรี , คาทารี นา วงศ์ประยูร เทวารุ ทธ มารี อา กรุ ณา, ยอแซฟ ฮวงไล้ แซ่เซี ยว วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง
ผู้ขอมิสซา พรทิพา มาลินี จิตรา ชมรมผูส้ ู งอายุ มาลี เจริ ญ ธี ระ/ณัฐวิศว์ กัณฐมณี /เอก รัศมี/อรุ ณ จินดา 11
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 6 เทศกาลปัสกา (ปี B) วันอาทิตย์ ที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2012 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ส. 12 พ.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ อันนา ประนอม แมนผดุง, ราฟาแอล สุ นทร ชาวนาแก้ว 18.00 น. มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว ครอบครัวเจริ ญทรัพย์, ครอบครัวรุ่ งฐานีย ์ อุทศิ แด่ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช อันตน สําเริ ง โกญจนาท, คุณวิรัช มณี นุช ฟี โรมีนา บุญธรรม กัลยางกูร, คุณสุ ภทั ร แมนผดุง ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ เปโตร น้อย, อลิซาเบท ชุน้ ยัง่ ยืน วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา. 13 พ.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า, พระแม่มารี ย ์ และนักบุญทั้งหลาย 08.00 น. โมทนาคุณนักบุญแอนโทนี,นักบุญเทเรซา, นักบุญทั้งหลาย มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ ครอบครัวธนะสาร, สาธรกิจ, รัตนบรรณสกุล ครอบครัวสุ ทธิโอภาส, เขม้นงาน, ลิ้มจิตรกร, เพียรช่างคิด ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, และทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ มาการิ ตา้ ทิพากร เรี ยวนาร์, กาทาริ นา วาริ นนา บุศยเพศ เปาโลพิชยั , มารี อา มาริ นทร์ เจริ ญศรี คุณกมลรัตน์ หุ่นดี, อังเยลา วัชริ นทร์ แสงเทียน คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, คุณนวลจันทร์ ธนะสาร ด.ช.ธงชัย, ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสาร, สาธรกิจ, แซ่เซี้ ยว ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ต้ งั บรรพบุรุษและผูล้ ่วงลับครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง 10
ผู้ขอมิสซา ภานี/เริ งจิต/-/ภานี ปภาวิชญ์ คค.รุ ขพันธ์เมธี อัญริ นทร์ คค. ธนาพานิชย์ คค. ธนาพานิชย์ คค. ธนาพานิชย์
2. “ให้ท่านทัง้ หลายรักกัน เหมือนดังที เ่ รารักท่าน” (ยน 15:12) พระองค์ทรงเลือกสรรเราเพื่อให้เรา “รักกันและกัน” ไม่ใช่แก่งแย่งชิงดีชงิ เด่นกัน ถกเถียงกัน หรือทะเลาะเบาะแว้งกัน และเมื่อพระองค์ตรัสว่า “ไม่มคี วามรักใดยิง่ ใหญ่กว่าการสละชีวติ ของ ตนเพือ่ มิตรสหาย” พระองค์ไม่เพียงแต่พดู เท่านัน้ แต่ทรงกระทําเป็ นแบบอย่างแก่เรา โดยทรงยอมสิน้ พระชนม์บนไม้กางเขนเพือ่ เราทุกคน ในเมื่อพระองค์ทรงแสดงความรักอันยิง่ ใหญ่ต่อเราก่อน พระองค์จงึ มี สิทธิเต็มทีท่ จ่ี ะเรียกร้องให้เราทุกคนรักกันและกัน หลายครัง้ การเทศน์สอนหรือการประกาศข่าวดีของเราไม่บงั เกิดผล เพราะเราเรียกร้องให้ผูอ้ ่นื รักกัน ในขณะที่ตวั เราเองดําเนินชีวติ ราวกับว่าการแสดง ความรักต่อผูอ้ ่นื เป็ นสิง่ สุดท้ายทีเ่ ราจะทํา ! 3. “เราเรียกท่ านเป็ นมิ ตรสหาย” (ยน 15:14) นัน่ คือพระองค์ทรง เลือกเรามาเพือ่ เป็ น “เพือ่ น” ของพระองค์ พระองค์ตรัสว่า “เราไม่เรียกท่านเป็ นผูร้ บั ใช้อกี ต่อไป” คํา “ผูร้ บั ใช้” ตรงกับภาษากรีก Doulos (ดูลอส) ซึง่ แปลว่า “ทาส” คําว่า “ผูร้ บั ใช้ของพระเจ้า” หรือ “ทาสของพระเจ้า” เป็ นคําที่บรรดา มหาบุรษุ ผูย้ งิ่ ใหญ่ใช้เรียกตนเองด้วยความภาคภูมใิ จ เช่น โมเสส (ฉธบ 34:5), โยชูวา (ยชว 24:29), ดาวิด (สดด 89:20), เปาโล (ทต 1:1), และ ยากอบ (ยก 1:1) เป็ นต้น ขนาดบุคคลระดับนี้ยงั ภูมใิ จที่ได้เป็ น “ทาสของพระเจ้า” แล้วเราจะ ไม่ภมู ใิ จได้อย่างไรในเมือ่ พระองค์ทรงเรียกเราเป็ น “สหาย” ไม่ใช่ “ทาส” โอ้ ช่างเป็ นสิทธิพเิ ศษยิง่ ใหญ่เหนือคําบรรยายใด ๆ ! สมัยก่อน ในราชสํานักของจักรพรรดิโรมันและกษัตริยท์ างตะวันออก จะมีบุคคลกลุ่มหนึ่งได้รบั คัดเลือกให้เป็ น “พระสหาย” บุคคลเหล่านี้ใกล้ชดิ และสนิท สนมกับจักรพรรดิหรือกษัตริย์มากที่สุด สามารถเข้านอกออกในได้ทุกแห่งและทุก เวลาแม้ในห้องบรรทม ทุก ๆ เช้าจักรพรรดิหรือกษัตริย์จะสนทนากับ “พระสหาย” ก่อนออกพบปะกับบรรดาแม่ทพั นายกองเสียอีก 3
เมื่อ พระเยซู เ จ้ า ทรงเลือ กเราเป็ น “สหายของพระเจ้ า ” จึง เป็ น ข้อเสนอยิง่ ใหญ่ทส่ี ุดสําหรับเรามนุ ษย์ เพราะนับจากนี้ไป เราไม่ตอ้ งชะเง้อมองพระ เจ้าจากไกล ๆ อีกต่อไป เราไม่เหมือนทาสซึง่ ไม่มสี ทิ ธิปรากฏกายต่อหน้านาย และ เราไม่เหมือนฝูงชนทีม่ โี อกาสพบเห็นกษัตริยข์ องตนเพียงชัวครู ่ ่ชวยามเฉพาะเมื ั่ ่อมี พิธกี ารสําคัญเท่านัน้ ตรงกันข้าม เราเป็ นพระสหายที่ สนิ ทและใกล้ ชิดพระเจ้ามาก ที่สดุ ! หรือเรายังจะมัวทําตัวเป็ น “ทาส” ของปี ศาจอยูอ่ กี ? 4. นอกจากเป็ น “เพือ่ น” แล้ว พระองค์ยงั เลือกเรามาเป็ น “หุ้นส่วน” ของพระองค์อกี ด้วย เพราะพระองค์ทรงตรัสว่า “เราแจ้งให้ท่านรู้ทุกสิ ง่ ทีเ่ ราได้ยิน มาจากพระบิ ดาของเรา” (ยน 15:15) ตามกฎหมายกรีก “ทาส” เป็ น เพีย ง “เครือ่ งมือ ทีม่ ีชีวิต ” เท่ า นัน้ หน้ าที่ของทาสคือปฏิบตั ิตามคําสังโดยที ่ ่ผูเ้ ป็ นนายไม่จําเป็ นต้องชี้แจงหรืออธิบาย เหตุผลใด ๆ ทัง้ สิน้ นับเป็ นเกียรติยงิ่ ใหญ่สงู สุดทีพ่ ระองค์ทรงเลือกสรรเรา มิใช่เพื่อเป็ น “ทาส” แต่เพื่อเป็ น “หุน้ ส่วน” ของพระองค์ เพราะพระองค์ทรงบอกแผนการทุกอย่าง ทีพ่ ระองค์กาํ ลังจะทํา และทรงอธิบายด้วยว่าทําไมจึงทําเช่นนัน้ เรียกว่าทุกอย่างที่ทรงทราบจากพระบิดา พระองค์บอกเราผู้เป็ น “หุน้ ส่วน” จนหมด ! จึง ขึ้น กับ เราแต่ ล ะคนว่ า จะ “ตอบรับ ” หรือ “ปฏิเ สธ” การเป็ น “หุน้ ส่วน” กับพระองค์ในอันทีจ่ ะทําให้โลกรูจ้ กั และหันกลับมาหาพระเจ้า 5. พระองค์ทรงเลือกเรามาเพื่อ “มอบภารกิ จให้ ไปทํา” (ยน 15:16) นันคื ่ อให้เราเป็ น “ทูต” หรือเป็ น “ผูแ้ ทนพระองค์” เพื่อนําพระองค์ไปสูป่ ระชาชนที่ ยังไม่รจู้ กั พระองค์ วงจรชีวติ ของคริสตชนจึงได้แก่การเข้ามาหาพระเยซูเจ้า เพื่อวอน ขอพระองค์โปรดส่งเราไปทําภารกิจ และวนเวียนอยูเ่ ช่นนี้ทุกวัน 4
ผลก็ คือ ต่า งฝ่ ายต่า งโกรธเคือ งหนัก ขึ้ น และสรรหาเหตุ ผ ลมาโจมตีใ ห้เ จ็บ ปวดยิ่ง กว่าเดิม ทัง้ หมดนี้แม้จะทําในนามของความถูกต้อง แต่แท้จริงก็คือสาดอารมณ์รอ้ นเข้าใส่กนั เพื่อเอาชนะอีกฝ่ าย ตราบใดที่ทุกฝ่ ายคิดแต่จะใช้เหตุผล มุ่งเอาถูกเอาผิด จนมองข้ามอารมณ์ ทัง้ ของตนเองและของผูอ้ ื่น ก็ยากที่จะลงเอยอย่างสันติได้ แม้กระทัง่ ในระหว่างคู่รกั หรือมิตร สหาย ก็อาจวิวาทบาดหมางจนกลายเป็ นศัตรูกนั แทนที่จะมุ่งกล่าวโทษผูอ้ ื่น เราควรหันกลับมามองตนและรูเ้ ท่าทันอารมณ์ความรูส้ กึ ที่ เกิดขึ้นในใจตน หากปล่อยให้อตั ตาครอบงํา มันก็สามารถสรรหาเหตุผลเพื่อทิ่มแทงคนอื่นได้ ตลอดเวลา หรือไม่ก็ผลักไสให้เราทําทุกอย่างเพื่อสนองความยิ่งใหญ่ของมัน เช่นเดียวกับกิเลส ที่ชกั ใยให้เราทําอะไรก็ได้เพื่อปรนเปรอมัน การรูเ้ ท่าทันอัตตาและกิเลส ทําให้เราไม่หลงเชื่อ เหตุผลทีม่ นั เสกสรรปั้ นแต่งขึ้นมาจนกลายเป็ นเครือ่ งมือของมัน เคยสังเกตหรือไม่วา่ คําพูดประโยคเดียวกัน หากเอ่ยโดยคนที่เราศรัทธานับถือหรือ สนิทสนมคุน้ เคย เราจะเปิ ดใจรับหรือคล้อยตามได้อย่างง่ายดาย แต่หากมาจากปากของคนที่ เราไม่ชอบหรือโกรธเกลียด เรากลับต่อต้าน เห็นแย้ง หรือหาเหตุผลโต้เถียงทันที อะไรทําให้เรา มีปฏิกิรยิ าแตกต่างกัน คําตอบก็คอื ความรูส้ กึ ของเราต่อสองคนนัน้ ไม่เหมือนกัน คนหนึ่งนัน้ เรา ชอบ อีกคนหนึ่งเราชัง พูดง่าย ๆ คือ มีอคตินนั่ เอง ดังนัน้ ปั ญหาจึงไม่ได้อยู่ทวี่ า่ คําพูดของเขา มีเหตุผลมากน้อยเพี ยงใด แต่อยู่ที่อคติของเราต่อเขามากกว่า ไม่ว่าจะเป็ นฉันทาคติ หรือ โทสาคติก็ตาม นอกจากการรูเ้ ท่าทันอารมณ์และอคติของตัวเองแล้ว การเข้าใจอารมณ์และอคติของ อีกฝ่ ายก็สาํ คัญ เมื่อมีความขัดแย้งกัน แทนที่จะใช้แต่เหตุผลอย่างเดียว การใส่ใจกับอารมณ์ ของอีกฝ่ าย ก็เป็ นสิง่ ทีพ่ ึงกระทํา คนสองคนหากเป็ นปฏิปักษ์ต่อกัน ใช้เหตุผลเท่าใดก็ไม่ช่วยให้ เลิกทะเลาะกัน แต่หากหยิบยืน่ นํา้ ใจไมตรีให้แก่กนั ก็ง่ายที่จะหันหน้าเข้าหากัน คนที่มีรวั้ บ้าน อยู่ติดกันนัน้ สามารถทะเลาะกันได้ทุกเรื่อง ไม่เว้นแม้กระทัง่ เรื่องเล็ก ๆ เช่นหมาเห่าเสียงดัง หรือใบไม้ปลิวไปตกอีกบ้านหนึ่ง แต่พออีกฝ่ ายแสดงความเป็ นมิตร มีของไปฝาก ไต่ถามทุกข์ สุข เรือ่ งใหญ่ก็กลายเป็ นเรือ่ งเล็ก
เหตุผลสําคัญก็จริง แต่บางครัง้ อารมณ์ความรูส้ กึ สําคัญกว่า จึงอย่ามัวหาความถูกผิดจนลืมดูแลอารมณ์ของตนและใส่ใจอารมณ์ของผูอ้ นื่
9
จากนิตยสาร Image เดือนเมษายน 2012
ลูกชายเป็ นห่วงแม่วยั 90 จึงพยายามควบคุมอาหารของแม่ แม่จงึ บอกลูกด้วยเสียงอ่อย ๆ ว่า แม่ชอบข้าวขาหมู มันเชือ่ มใส่กะทิแม่ก็ชอบ แม่อยูไ่ ด้อกี ไม่นาน ให้แม่กินเถอะ ต่อมาลูกชวนแม่ เข้าวัดเพื่อเตรียมตัวเตรียมใจในวาระสุดท้าย แต่แม่ปฏิเสธ โดยให้เหตุผลว่าเอาไว้วนั หลังเถอะ แม่ยงั อยูไ่ ด้อกี หลายปี คนเราดูเหมือนมีเหตุผลในการทําหรือไม่ทาํ อะไรสักอย่าง แต่บ่อยครัง้ เหตุผลนัน้ เป็ นเพียงแค่ สิง่ ทีอ่ ารมณ์หรือความรูส้ กึ เสกสรรปั้ นแต่งขึ้นมา จึงไม่น่าแปลกใจทีเ่ หตุผลของคน ๆ หนึ่ง แม้ จะดูน่าฟั ง แต่บางทีก็ขดั กันเอง ดังเช่นเหตุผลของแม่วยั 90 ผูน้ ้ ี แต่ถา้ พิจารณาให้ดีก็จะพบว่า เหตุผลทัง้ สองประการนัน้ ล้วนมีเป้ าหมายเดียวกัน คือเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ (หรือ" กิเลส")ของผูพ้ ูด คุณแม่วยั 90 อาจไม่ได้เชื่อเหตุผลที่ตนยกขึ้นมา เพราะรูอ้ ยู่แก่ใจว่ามันเป็ นข้ออ้าง แต่คน จํานวนไม่นอ้ ยเชือ่ เหตุผลที่ตนคิดขึ้นมาจริง ๆ โดยไม่ได้ตระหนักว่ามันเป็ นแค่สิ่งทีถ่ ูกปรุงแต่ง ขึ้นมาเพื่อสนองความต้องการของกิเลส หลายคนให้เหตุผลว่า จําเป็ นต้องคอร์รปั ชัน่ เพื่อความ อยู่รอด และที่สาํ คัญก็ คือ"ถึงฉันไม่ทาํ คนอื่นก็ ทาํ อยู่ดี" แต่เวลาเจอคนเป็ นลมอยู่ต่อหน้า ท่ามกลางผูค้ นที่พลุกพล่าน กลับเดินผ่านอย่างไม่ไยดี เหตุผลที่ไม่ช่วยเขาก็คือ "ถึงฉันไม่ทาํ คนอื่นก็ทาํ อยู่ดี" ประโยคเดียวกันสามารถเป็ นได้ทงั้ เหตุผลในการทําชัว่ และไม่ทาํ ความดีใน เวลาไล่ ๆ กัน แม้เหตุผลนัน้ จะดูดี แต่โดยเนื้อแท้มนั ก็เป็ นเพียงแค่อุบายที่ชกั จูงให้เราทําตาม อํานาจของกิเลสอย่างไม่รูต้ วั เหตุผลยังเป็ นเครือ่ งมือในการกล่าวโทษผูอ้ นื่ และปกป้ องตนเอง เวลาลูกเดินสะดุดหนังสือทีพ่ ่อ วางทิ้งไว้บนพื้น พ่อต่อว่าลูกทันทีวา่ "ซุ่มซ่าม" แต่เวลาที่พ่อเดินสะดุดของเล่นของลูก แทนที่ พ่อจะยอมรับว่าตนซุ่มซ่าม กลับตําหนิลูกว่าวางของเล่นไม่เป็ นที่ ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น พ่อมี เหตุผลที่จะยืนยันว่าฉันถูก คนอื่นต่างหากที่ผิด เหตุผลนัน้ ทําให้พ่อรูส้ ึกว่าตัวเองถูกอยู่เสมอ และนัน่ คือสิ่งที่อตั ตาต้องการ วิสยั ของอัตตานัน้ ยอมรับได้ยากว่ามันทําผิด จึงต้องสรรหา เหตุผลเพื่อโยนความผิดให้ผอู ้ นื่ อยูเ่ สมอ เป็ นเพราะไม่รูเ้ ท่าทันอุบายของกิเลสหรืออัตตา ผูค้ นจึงใช้เหตุผลในการกล่าวหาและโจมตีกนั แม้บางครัง้ จะไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องเลย แต่เพียงแค่ตอ้ งการยืนยันว่าฉันถูก แกผิด เท่านี้ก็ มากพอทีจ่ ะทําให้อกี ฝ่ ายลุกขึ้นมาตอบโต้เพื่อยืนยันความถูกต้องของตนเช่นเดียวกัน 8
คนที่คิดจะตัดขาดตัวเองจากโลก ก็คือคนที่คิดจะปฏิเสธภารกิจที่ พระองค์ทรงมอบหมายให้ 6. พระองค์ทรงเลือกเรามาเพื่อให้ “เกิ ดผล” (ยน 15:16) และเป็ นผลที่ คงอยูช่ วนิ ั ่ รนั ดร ทุกวันนี้ เราจะเห็นว่าบริษทั ทีป่ ระสบความสําเร็จ คือบริษทั ทีส่ ามารถ ทําโฆษณาจนสามารถดึงดูดผูอ้ า่ น ผูฟ้ งั หรือผูช้ มให้สนใจ “ผลผลิต” ของตนได้ เช่ น เดี ย วกั น เพื่ อ จะกระทํ า ภารกิ จ ของพระเยซู เ จ้ า ให้ ป ระสบ ความสําเร็จ เราก็ตอ้ งโฆษณาด้วยการดําเนินชีวติ คริสตชนให้เกิด “ผลผลิต” ทีด่ ี เพื่อ ว่าผลผลิตนัน้ จะ “ดึงดูด” และทําให้ผอู้ ่นื ปรารถนาเป็ นคริสตชนเช่นเดียวกับเรา การเอาชนะกันด้วยการถกเถียงทางปญั ญา ด้วยสิง่ ก่อสร้างใหญ่โต ด้วยการติดสินบน หรือด้วยการข่มขูใ่ ด ๆ ก็ตาม ล้วนไม่ใช่หนทางของพระเยซูเจ้า 7. พระองค์ทรงเลือกเรามาเพื่อให้ “มีสิทธิ พิเศษในฐานะสมาชิ กของ ครอบครัวพระเจ้า” จนพระองค์กล้าตรัสว่า “เพือ่ ว่าท่ านจะขอสิ ง่ ใดจากพระบิ ดา ในนามของเรา พระบิดาจะประทานแก่ท่าน” (ยน 15:16) พระธรรมใหม่ได้วางเงือ่ นไขในการ “วอนขอ” ไว้ดงั นี้คอื 7.1 ต้องวอนขอด้วยความเชือ่ (ยก 5:15) ถ้าเราวอนขอพระเจ้า โปรดให้เราเป็ นคนดีโดยที่ตวั เราเองไม่เชื่อว่าจะเป็ นคนดีได้ คําวอนขอนัน้ ย่อมไม่ เกิดผล เราจึงต้องพยายามหลีกเลี่ยงการท่องบทสวดแบบซํ้าซาก หรือด้วยความเคยชิน แล้วหันมาภาวนาวอนขอด้วยความเชื่อและความวางใจใน ความรักของพระเจ้าอย่างเต็มเปี่ยม 7.2 ต้ อ งวอนขอในนามของพระเยซู เ จ้า นั น่ คือ ต้ อ งมัน่ ใจว่ า พระองค์จะเห็นชอบหรืออนุ มตั ใิ ห้เราทูลขอจากพระบิดาได้ หากเราวอนขอสิ่ง ที่ผิด กฎหมาย หรือ วอนขอด้ว ยความ ทะเยอทะยานส่วนตัวที่ต้องแลกมาด้วยความเดือดร้อนของผูอ้ ่นื หรือวอนขอให้ศตั รู ของเราพินาศไป แน่นอนว่าพระองค์ยอ่ มไม่อนุ มตั ใิ ห้เราส่งคําวอนขอเหล่านี้ไปยังพระ บิดา และดังนัน้ คําวอนขอของเราย่อมไม่เกิดผล 5
7.3 ต้อ งวอนขอให้น้ ํ า พระทัย จงสํา เร็จ ไป เพราะไม่มีใ ครมี ปรีชาญาณเทียบเท่าพระเจ้า การวอนขอให้ เราพร้อมน้ อมรับนํ้ าพระทัยของ พระเจ้าจึงเป็ นคําวอนขอทีด่ ีทีส่ ดุ สําหรับเราทุกคน 7.4 ต้องวอนขออย่างไม่เห็นแก่ตวั เมื่อพระเยซูเจ้าตรัสว่า “ถ้า ท่านสองคนในโลกนี้พร้อมใจกันอ้อนวอนขอสิง่ หนึง่ สิง่ ใด พระบิดาของเราผูส้ ถิตใน สวรรค์จะประทานให้” (มธ 18:19) พระองค์ไม่ได้หมายความว่าหากเราเกณฑ์คนมา มาก ๆ แล้วจะทรงฟงั คําวอนขอของเรา แต่ทรงหมายความว่าเราต้องรูจ้ กั คํานึงถึง ความต้องการของคนอื่นด้วย คําภาวนาของเราจึงจะเกิดผล ลองคิดดูสวิ ่าอะไรจะเกิดขึน้ หากวันนี้เราตัง้ ใจจะออกไป ทําธุระนอกบ้านจึงอธิษฐานขอให้ฝนไม่ตก ในขณะทีช่ าวนาข้างบ้านต้องการฝนใจ จะขาด ? ทางออกคือ เราแต่ละคนต้องเชื่อและวางใจในพระปรีชา ญาณและความรักของพระเจ้า และพร้อมน้อมรับทุกสิง่ ทุกอย่างทีพ่ ระองค์ทรงโปรด ประทานแก่เรา
ปรัชญาที่ 1 มดไม่เคยละความพยายาม หากมันมุง่ หน้าไปทางทิศใด แล้วเกิดอุปสรรค ถูกปิ ดกัน้ หนทางมันจะพยายามหาทางเดินทางอื่น มันจะได้ขนึ้ ไต่ลงไต่ไปรอบๆ มันจะมองหาหนทาง อื่นเสมอ
ข้อคิด : จงอย่าละความพยายามในการหาหนทางไปสูส่ ิ่งที่หมาย
ปรัชญาที่ 2 มดคิดถึงฤดูหนาวตลอดฤดูรอ้ น มันไม่เคยรักสบายจนคิดเพียงว่าฤดูรอ้ นจะคงอยู่ตลอดเวลา ดัง นั้น มัน จึ ง พยายามเก็ บ สะสมเสบี ย งไว้สํา หรั บ ฤดูห นาวตลอดฤดูร อ้ นที่ หรรษา
ข้อคิด : จงตะหนักถึงความเป็ นจริง และเตรียมรับกับเหตุการณ์ในอนาคต ปรัชญาที่ 3 มดคิดถึงฤดูรอ้ นตลอดฤดูหนาว
ยิ่งรักพระเจ้ามากเท่าใด เรายิ่งพร้อมน้ อมรับนํ้าพระทัยของพระองค์มากเท่านัน้ !
ท่ามกลางความหนาวเหน็บแห่งเหมันต์ มันจะเตือนตัวเองว่า “ความลําบากจะ อยู่เพียงไม่นาน แล้วเราก็จะพ้นจากสภาวะเช่นนี”้ เมื่อวันที่แสงแห่งความอบอุ่น แรกสาดส่อง มันจะออกมาเริงร่า หากอากาศกลับกลายเป็ นหนาวอีกครัง้ มันจะ เข้าไปในโพรงอีกครัง้ และออกมารับความอบอุ่นในวันอากาศดีโดยทันใด
ข้อคิด : จงมองทุกสิ่งในเชิงบวกตลอดเวลา
-สรุปปรัชญาที่ 4 ทุม่ เททุกสิ่งเท่าที่สามารถ มดสามารถเก็บเกีย่ วเสบียงตลอดฤดูรอ้ น เพื่อเตรียมพร้อมฤดูหนาวให้มากเท่าที่มนั จะทําได้
1) อย่ายอมแพ้ 2) มองไปข้างหน้า 3) มองโลกในแง่ดี 4) ทําเต็มความสามารถ
ข้อคิด : จงพยายามทําทุกสิ่งทุกอย่างเต็มกําลัง 6
จากเวบไซต์ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 7
7.3 ต้อ งวอนขอให้น้ ํ า พระทัย จงสํา เร็จ ไป เพราะไม่มีใ ครมี ปรีชาญาณเทียบเท่าพระเจ้า การวอนขอให้ เราพร้อมน้ อมรับนํ้ าพระทัยของ พระเจ้าจึงเป็ นคําวอนขอทีด่ ีทีส่ ดุ สําหรับเราทุกคน 7.4 ต้องวอนขออย่างไม่เห็นแก่ตวั เมื่อพระเยซูเจ้าตรัสว่า “ถ้า ท่านสองคนในโลกนี้พร้อมใจกันอ้อนวอนขอสิง่ หนึง่ สิง่ ใด พระบิดาของเราผูส้ ถิตใน สวรรค์จะประทานให้” (มธ 18:19) พระองค์ไม่ได้หมายความว่าหากเราเกณฑ์คนมา มาก ๆ แล้วจะทรงฟงั คําวอนขอของเรา แต่ทรงหมายความว่าเราต้องรูจ้ กั คํานึงถึง ความต้องการของคนอื่นด้วย คําภาวนาของเราจึงจะเกิดผล ลองคิดดูสวิ ่าอะไรจะเกิดขึน้ หากวันนี้เราตัง้ ใจจะออกไป ทําธุระนอกบ้านจึงอธิษฐานขอให้ฝนไม่ตก ในขณะทีช่ าวนาข้างบ้านต้องการฝนใจ จะขาด ? ทางออกคือ เราแต่ละคนต้องเชื่อและวางใจในพระปรีชา ญาณและความรักของพระเจ้า และพร้อมน้อมรับทุกสิง่ ทุกอย่างทีพ่ ระองค์ทรงโปรด ประทานแก่เรา
ปรัชญาที่ 1 มดไม่เคยละความพยายาม หากมันมุง่ หน้าไปทางทิศใด แล้วเกิดอุปสรรค ถูกปิ ดกัน้ หนทางมันจะพยายามหาทางเดินทางอื่น มันจะได้ขนึ้ ไต่ลงไต่ไปรอบๆ มันจะมองหาหนทาง อื่นเสมอ
ข้อคิด : จงอย่าละความพยายามในการหาหนทางไปสูส่ ิ่งที่หมาย
ปรัชญาที่ 2 มดคิดถึงฤดูหนาวตลอดฤดูรอ้ น มันไม่เคยรักสบายจนคิดเพียงว่าฤดูรอ้ นจะคงอยู่ตลอดเวลา ดัง นั้น มัน จึ ง พยายามเก็ บ สะสมเสบี ย งไว้สํา หรั บ ฤดูห นาวตลอดฤดูร อ้ นที่ หรรษา
ข้อคิด : จงตะหนักถึงความเป็ นจริง และเตรียมรับกับเหตุการณ์ในอนาคต ปรัชญาที่ 3 มดคิดถึงฤดูรอ้ นตลอดฤดูหนาว
ยิ่งรักพระเจ้ามากเท่าใด เรายิ่งพร้อมน้ อมรับนํ้าพระทัยของพระองค์มากเท่านัน้ !
ท่ามกลางความหนาวเหน็บแห่งเหมันต์ มันจะเตือนตัวเองว่า “ความลําบากจะ อยู่เพียงไม่นาน แล้วเราก็จะพ้นจากสภาวะเช่นนี”้ เมื่อวันที่แสงแห่งความอบอุ่น แรกสาดส่อง มันจะออกมาเริงร่า หากอากาศกลับกลายเป็ นหนาวอีกครัง้ มันจะ เข้าไปในโพรงอีกครัง้ และออกมารับความอบอุ่นในวันอากาศดีโดยทันใด
ข้อคิด : จงมองทุกสิ่งในเชิงบวกตลอดเวลา
-สรุปปรัชญาที่ 4 ทุม่ เททุกสิ่งเท่าที่สามารถ มดสามารถเก็บเกีย่ วเสบียงตลอดฤดูรอ้ น เพื่อเตรียมพร้อมฤดูหนาวให้มากเท่าที่มนั จะทําได้
1) อย่ายอมแพ้ 2) มองไปข้างหน้า 3) มองโลกในแง่ดี 4) ทําเต็มความสามารถ
ข้อคิด : จงพยายามทําทุกสิ่งทุกอย่างเต็มกําลัง 6
จากเวบไซต์ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 7
จากนิตยสาร Image เดือนเมษายน 2012
ลูกชายเป็ นห่วงแม่วยั 90 จึงพยายามควบคุมอาหารของแม่ แม่จงึ บอกลูกด้วยเสียงอ่อย ๆ ว่า แม่ชอบข้าวขาหมู มันเชือ่ มใส่กะทิแม่ก็ชอบ แม่อยูไ่ ด้อกี ไม่นาน ให้แม่กินเถอะ ต่อมาลูกชวนแม่ เข้าวัดเพื่อเตรียมตัวเตรียมใจในวาระสุดท้าย แต่แม่ปฏิเสธ โดยให้เหตุผลว่าเอาไว้วนั หลังเถอะ แม่ยงั อยูไ่ ด้อกี หลายปี คนเราดูเหมือนมีเหตุผลในการทําหรือไม่ทาํ อะไรสักอย่าง แต่บ่อยครัง้ เหตุผลนัน้ เป็ นเพียงแค่ สิง่ ทีอ่ ารมณ์หรือความรูส้ กึ เสกสรรปั้ นแต่งขึ้นมา จึงไม่น่าแปลกใจทีเ่ หตุผลของคน ๆ หนึ่ง แม้ จะดูน่าฟั ง แต่บางทีก็ขดั กันเอง ดังเช่นเหตุผลของแม่วยั 90 ผูน้ ้ ี แต่ถา้ พิจารณาให้ดีก็จะพบว่า เหตุผลทัง้ สองประการนัน้ ล้วนมีเป้ าหมายเดียวกัน คือเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ (หรือ" กิเลส")ของผูพ้ ูด คุณแม่วยั 90 อาจไม่ได้เชื่อเหตุผลที่ตนยกขึ้นมา เพราะรูอ้ ยู่แก่ใจว่ามันเป็ นข้ออ้าง แต่คน จํานวนไม่นอ้ ยเชือ่ เหตุผลที่ตนคิดขึ้นมาจริง ๆ โดยไม่ได้ตระหนักว่ามันเป็ นแค่สิ่งทีถ่ ูกปรุงแต่ง ขึ้นมาเพื่อสนองความต้องการของกิเลส หลายคนให้เหตุผลว่า จําเป็ นต้องคอร์รปั ชัน่ เพื่อความ อยู่รอด และที่สาํ คัญก็ คือ"ถึงฉันไม่ทาํ คนอื่นก็ ทาํ อยู่ดี" แต่เวลาเจอคนเป็ นลมอยู่ต่อหน้า ท่ามกลางผูค้ นที่พลุกพล่าน กลับเดินผ่านอย่างไม่ไยดี เหตุผลที่ไม่ช่วยเขาก็คือ "ถึงฉันไม่ทาํ คนอื่นก็ทาํ อยู่ดี" ประโยคเดียวกันสามารถเป็ นได้ทงั้ เหตุผลในการทําชัว่ และไม่ทาํ ความดีใน เวลาไล่ ๆ กัน แม้เหตุผลนัน้ จะดูดี แต่โดยเนื้อแท้มนั ก็เป็ นเพียงแค่อุบายที่ชกั จูงให้เราทําตาม อํานาจของกิเลสอย่างไม่รูต้ วั เหตุผลยังเป็ นเครือ่ งมือในการกล่าวโทษผูอ้ นื่ และปกป้ องตนเอง เวลาลูกเดินสะดุดหนังสือทีพ่ ่อ วางทิ้งไว้บนพื้น พ่อต่อว่าลูกทันทีวา่ "ซุ่มซ่าม" แต่เวลาที่พ่อเดินสะดุดของเล่นของลูก แทนที่ พ่อจะยอมรับว่าตนซุ่มซ่าม กลับตําหนิลูกว่าวางของเล่นไม่เป็ นที่ ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น พ่อมี เหตุผลที่จะยืนยันว่าฉันถูก คนอื่นต่างหากที่ผิด เหตุผลนัน้ ทําให้พ่อรูส้ ึกว่าตัวเองถูกอยู่เสมอ และนัน่ คือสิ่งที่อตั ตาต้องการ วิสยั ของอัตตานัน้ ยอมรับได้ยากว่ามันทําผิด จึงต้องสรรหา เหตุผลเพื่อโยนความผิดให้ผอู ้ นื่ อยูเ่ สมอ เป็ นเพราะไม่รูเ้ ท่าทันอุบายของกิเลสหรืออัตตา ผูค้ นจึงใช้เหตุผลในการกล่าวหาและโจมตีกนั แม้บางครัง้ จะไม่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องเลย แต่เพียงแค่ตอ้ งการยืนยันว่าฉันถูก แกผิด เท่านี้ก็ มากพอทีจ่ ะทําให้อกี ฝ่ ายลุกขึ้นมาตอบโต้เพื่อยืนยันความถูกต้องของตนเช่นเดียวกัน 8
คนที่คิดจะตัดขาดตัวเองจากโลก ก็คือคนที่คิดจะปฏิเสธภารกิจที่ พระองค์ทรงมอบหมายให้ 6. พระองค์ทรงเลือกเรามาเพื่อให้ “เกิ ดผล” (ยน 15:16) และเป็ นผลที่ คงอยูช่ วนิ ั ่ รนั ดร ทุกวันนี้ เราจะเห็นว่าบริษทั ทีป่ ระสบความสําเร็จ คือบริษทั ทีส่ ามารถ ทําโฆษณาจนสามารถดึงดูดผูอ้ า่ น ผูฟ้ งั หรือผูช้ มให้สนใจ “ผลผลิต” ของตนได้ เช่ น เดี ย วกั น เพื่ อ จะกระทํ า ภารกิ จ ของพระเยซู เ จ้ า ให้ ป ระสบ ความสําเร็จ เราก็ตอ้ งโฆษณาด้วยการดําเนินชีวติ คริสตชนให้เกิด “ผลผลิต” ทีด่ ี เพื่อ ว่าผลผลิตนัน้ จะ “ดึงดูด” และทําให้ผอู้ ่นื ปรารถนาเป็ นคริสตชนเช่นเดียวกับเรา การเอาชนะกันด้วยการถกเถียงทางปญั ญา ด้วยสิง่ ก่อสร้างใหญ่โต ด้วยการติดสินบน หรือด้วยการข่มขูใ่ ด ๆ ก็ตาม ล้วนไม่ใช่หนทางของพระเยซูเจ้า 7. พระองค์ทรงเลือกเรามาเพื่อให้ “มีสิทธิ พิเศษในฐานะสมาชิ กของ ครอบครัวพระเจ้า” จนพระองค์กล้าตรัสว่า “เพือ่ ว่าท่ านจะขอสิ ง่ ใดจากพระบิ ดา ในนามของเรา พระบิดาจะประทานแก่ท่าน” (ยน 15:16) พระธรรมใหม่ได้วางเงือ่ นไขในการ “วอนขอ” ไว้ดงั นี้คอื 7.1 ต้องวอนขอด้วยความเชือ่ (ยก 5:15) ถ้าเราวอนขอพระเจ้า โปรดให้เราเป็ นคนดีโดยที่ตวั เราเองไม่เชื่อว่าจะเป็ นคนดีได้ คําวอนขอนัน้ ย่อมไม่ เกิดผล เราจึงต้องพยายามหลีกเลี่ยงการท่องบทสวดแบบซํ้าซาก หรือด้วยความเคยชิน แล้วหันมาภาวนาวอนขอด้วยความเชื่อและความวางใจใน ความรักของพระเจ้าอย่างเต็มเปี่ยม 7.2 ต้ อ งวอนขอในนามของพระเยซู เ จ้า นั น่ คือ ต้ อ งมัน่ ใจว่ า พระองค์จะเห็นชอบหรืออนุ มตั ใิ ห้เราทูลขอจากพระบิดาได้ หากเราวอนขอสิ่ง ที่ผิด กฎหมาย หรือ วอนขอด้ว ยความ ทะเยอทะยานส่วนตัวที่ต้องแลกมาด้วยความเดือดร้อนของผูอ้ ่นื หรือวอนขอให้ศตั รู ของเราพินาศไป แน่นอนว่าพระองค์ยอ่ มไม่อนุ มตั ใิ ห้เราส่งคําวอนขอเหล่านี้ไปยังพระ บิดา และดังนัน้ คําวอนขอของเราย่อมไม่เกิดผล 5
เมื่อ พระเยซู เ จ้ า ทรงเลือ กเราเป็ น “สหายของพระเจ้ า ” จึง เป็ น ข้อเสนอยิง่ ใหญ่ทส่ี ุดสําหรับเรามนุ ษย์ เพราะนับจากนี้ไป เราไม่ตอ้ งชะเง้อมองพระ เจ้าจากไกล ๆ อีกต่อไป เราไม่เหมือนทาสซึง่ ไม่มสี ทิ ธิปรากฏกายต่อหน้านาย และ เราไม่เหมือนฝูงชนทีม่ โี อกาสพบเห็นกษัตริยข์ องตนเพียงชัวครู ่ ่ชวยามเฉพาะเมื ั่ ่อมี พิธกี ารสําคัญเท่านัน้ ตรงกันข้าม เราเป็ นพระสหายที่ สนิ ทและใกล้ ชิดพระเจ้ามาก ที่สดุ ! หรือเรายังจะมัวทําตัวเป็ น “ทาส” ของปี ศาจอยูอ่ กี ? 4. นอกจากเป็ น “เพือ่ น” แล้ว พระองค์ยงั เลือกเรามาเป็ น “หุ้นส่วน” ของพระองค์อกี ด้วย เพราะพระองค์ทรงตรัสว่า “เราแจ้งให้ท่านรู้ทุกสิ ง่ ทีเ่ ราได้ยิน มาจากพระบิ ดาของเรา” (ยน 15:15) ตามกฎหมายกรีก “ทาส” เป็ น เพีย ง “เครือ่ งมือ ทีม่ ีชีวิต ” เท่ า นัน้ หน้ าที่ของทาสคือปฏิบตั ิตามคําสังโดยที ่ ่ผูเ้ ป็ นนายไม่จําเป็ นต้องชี้แจงหรืออธิบาย เหตุผลใด ๆ ทัง้ สิน้ นับเป็ นเกียรติยงิ่ ใหญ่สงู สุดทีพ่ ระองค์ทรงเลือกสรรเรา มิใช่เพื่อเป็ น “ทาส” แต่เพื่อเป็ น “หุน้ ส่วน” ของพระองค์ เพราะพระองค์ทรงบอกแผนการทุกอย่าง ทีพ่ ระองค์กาํ ลังจะทํา และทรงอธิบายด้วยว่าทําไมจึงทําเช่นนัน้ เรียกว่าทุกอย่างที่ทรงทราบจากพระบิดา พระองค์บอกเราผู้เป็ น “หุน้ ส่วน” จนหมด ! จึง ขึ้น กับ เราแต่ ล ะคนว่ า จะ “ตอบรับ ” หรือ “ปฏิเ สธ” การเป็ น “หุน้ ส่วน” กับพระองค์ในอันทีจ่ ะทําให้โลกรูจ้ กั และหันกลับมาหาพระเจ้า 5. พระองค์ทรงเลือกเรามาเพื่อ “มอบภารกิ จให้ ไปทํา” (ยน 15:16) นันคื ่ อให้เราเป็ น “ทูต” หรือเป็ น “ผูแ้ ทนพระองค์” เพื่อนําพระองค์ไปสูป่ ระชาชนที่ ยังไม่รจู้ กั พระองค์ วงจรชีวติ ของคริสตชนจึงได้แก่การเข้ามาหาพระเยซูเจ้า เพื่อวอน ขอพระองค์โปรดส่งเราไปทําภารกิจ และวนเวียนอยูเ่ ช่นนี้ทุกวัน 4
ผลก็ คือ ต่า งฝ่ ายต่า งโกรธเคือ งหนัก ขึ้ น และสรรหาเหตุ ผ ลมาโจมตีใ ห้เ จ็บ ปวดยิ่ง กว่าเดิม ทัง้ หมดนี้แม้จะทําในนามของความถูกต้อง แต่แท้จริงก็คือสาดอารมณ์รอ้ นเข้าใส่กนั เพื่อเอาชนะอีกฝ่ าย ตราบใดที่ทุกฝ่ ายคิดแต่จะใช้เหตุผล มุ่งเอาถูกเอาผิด จนมองข้ามอารมณ์ ทัง้ ของตนเองและของผูอ้ ื่น ก็ยากที่จะลงเอยอย่างสันติได้ แม้กระทัง่ ในระหว่างคู่รกั หรือมิตร สหาย ก็อาจวิวาทบาดหมางจนกลายเป็ นศัตรูกนั แทนที่จะมุ่งกล่าวโทษผูอ้ ื่น เราควรหันกลับมามองตนและรูเ้ ท่าทันอารมณ์ความรูส้ กึ ที่ เกิดขึ้นในใจตน หากปล่อยให้อตั ตาครอบงํา มันก็สามารถสรรหาเหตุผลเพื่อทิ่มแทงคนอื่นได้ ตลอดเวลา หรือไม่ก็ผลักไสให้เราทําทุกอย่างเพื่อสนองความยิ่งใหญ่ของมัน เช่นเดียวกับกิเลส ที่ชกั ใยให้เราทําอะไรก็ได้เพื่อปรนเปรอมัน การรูเ้ ท่าทันอัตตาและกิเลส ทําให้เราไม่หลงเชื่อ เหตุผลทีม่ นั เสกสรรปั้ นแต่งขึ้นมาจนกลายเป็ นเครือ่ งมือของมัน เคยสังเกตหรือไม่วา่ คําพูดประโยคเดียวกัน หากเอ่ยโดยคนที่เราศรัทธานับถือหรือ สนิทสนมคุน้ เคย เราจะเปิ ดใจรับหรือคล้อยตามได้อย่างง่ายดาย แต่หากมาจากปากของคนที่ เราไม่ชอบหรือโกรธเกลียด เรากลับต่อต้าน เห็นแย้ง หรือหาเหตุผลโต้เถียงทันที อะไรทําให้เรา มีปฏิกิรยิ าแตกต่างกัน คําตอบก็คอื ความรูส้ กึ ของเราต่อสองคนนัน้ ไม่เหมือนกัน คนหนึ่งนัน้ เรา ชอบ อีกคนหนึ่งเราชัง พูดง่าย ๆ คือ มีอคตินนั่ เอง ดังนัน้ ปั ญหาจึงไม่ได้อยู่ทวี่ า่ คําพูดของเขา มีเหตุผลมากน้อยเพี ยงใด แต่อยู่ที่อคติของเราต่อเขามากกว่า ไม่ว่าจะเป็ นฉันทาคติ หรือ โทสาคติก็ตาม นอกจากการรูเ้ ท่าทันอารมณ์และอคติของตัวเองแล้ว การเข้าใจอารมณ์และอคติของ อีกฝ่ ายก็สาํ คัญ เมื่อมีความขัดแย้งกัน แทนที่จะใช้แต่เหตุผลอย่างเดียว การใส่ใจกับอารมณ์ ของอีกฝ่ าย ก็เป็ นสิง่ ทีพ่ ึงกระทํา คนสองคนหากเป็ นปฏิปักษ์ต่อกัน ใช้เหตุผลเท่าใดก็ไม่ช่วยให้ เลิกทะเลาะกัน แต่หากหยิบยืน่ นํา้ ใจไมตรีให้แก่กนั ก็ง่ายที่จะหันหน้าเข้าหากัน คนที่มีรวั้ บ้าน อยู่ติดกันนัน้ สามารถทะเลาะกันได้ทุกเรื่อง ไม่เว้นแม้กระทัง่ เรื่องเล็ก ๆ เช่นหมาเห่าเสียงดัง หรือใบไม้ปลิวไปตกอีกบ้านหนึ่ง แต่พออีกฝ่ ายแสดงความเป็ นมิตร มีของไปฝาก ไต่ถามทุกข์ สุข เรือ่ งใหญ่ก็กลายเป็ นเรือ่ งเล็ก
เหตุผลสําคัญก็จริง แต่บางครัง้ อารมณ์ความรูส้ กึ สําคัญกว่า จึงอย่ามัวหาความถูกผิดจนลืมดูแลอารมณ์ของตนและใส่ใจอารมณ์ของผูอ้ นื่
9
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 6 เทศกาลปัสกา (ปี B) วันอาทิตย์ ที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2012 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ส. 12 พ.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ อันนา ประนอม แมนผดุง, ราฟาแอล สุ นทร ชาวนาแก้ว 18.00 น. มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว ครอบครัวเจริ ญทรัพย์, ครอบครัวรุ่ งฐานีย ์ อุทศิ แด่ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช อันตน สําเริ ง โกญจนาท, คุณวิรัช มณี นุช ฟี โรมีนา บุญธรรม กัลยางกูร, คุณสุ ภทั ร แมนผดุง ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ เปโตร น้อย, อลิซาเบท ชุน้ ยัง่ ยืน วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา. 13 พ.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า, พระแม่มารี ย ์ และนักบุญทั้งหลาย 08.00 น. โมทนาคุณนักบุญแอนโทนี,นักบุญเทเรซา, นักบุญทั้งหลาย มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ ครอบครัวธนะสาร, สาธรกิจ, รัตนบรรณสกุล ครอบครัวสุ ทธิโอภาส, เขม้นงาน, ลิ้มจิตรกร, เพียรช่างคิด ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, และทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ มาการิ ตา้ ทิพากร เรี ยวนาร์, กาทาริ นา วาริ นนา บุศยเพศ เปาโลพิชยั , มารี อา มาริ นทร์ เจริ ญศรี คุณกมลรัตน์ หุ่นดี, อังเยลา วัชริ นทร์ แสงเทียน คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, คุณนวลจันทร์ ธนะสาร ด.ช.ธงชัย, ผูล้ ่วงลับครอบครัวธนะสาร, สาธรกิจ, แซ่เซี้ ยว ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ต้ งั บรรพบุรุษและผูล้ ่วงลับครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง 10
ผู้ขอมิสซา ภานี/เริ งจิต/-/ภานี ปภาวิชญ์ คค.รุ ขพันธ์เมธี อัญริ นทร์ คค. ธนาพานิชย์ คค. ธนาพานิชย์ คค. ธนาพานิชย์
2. “ให้ท่านทัง้ หลายรักกัน เหมือนดังที เ่ รารักท่าน” (ยน 15:12) พระองค์ทรงเลือกสรรเราเพื่อให้เรา “รักกันและกัน” ไม่ใช่แก่งแย่งชิงดีชงิ เด่นกัน ถกเถียงกัน หรือทะเลาะเบาะแว้งกัน และเมื่อพระองค์ตรัสว่า “ไม่มคี วามรักใดยิง่ ใหญ่กว่าการสละชีวติ ของ ตนเพือ่ มิตรสหาย” พระองค์ไม่เพียงแต่พดู เท่านัน้ แต่ทรงกระทําเป็ นแบบอย่างแก่เรา โดยทรงยอมสิน้ พระชนม์บนไม้กางเขนเพือ่ เราทุกคน ในเมื่อพระองค์ทรงแสดงความรักอันยิง่ ใหญ่ต่อเราก่อน พระองค์จงึ มี สิทธิเต็มทีท่ จ่ี ะเรียกร้องให้เราทุกคนรักกันและกัน หลายครัง้ การเทศน์สอนหรือการประกาศข่าวดีของเราไม่บงั เกิดผล เพราะเราเรียกร้องให้ผูอ้ ่นื รักกัน ในขณะที่ตวั เราเองดําเนินชีวติ ราวกับว่าการแสดง ความรักต่อผูอ้ ่นื เป็ นสิง่ สุดท้ายทีเ่ ราจะทํา ! 3. “เราเรียกท่ านเป็ นมิ ตรสหาย” (ยน 15:14) นัน่ คือพระองค์ทรง เลือกเรามาเพือ่ เป็ น “เพือ่ น” ของพระองค์ พระองค์ตรัสว่า “เราไม่เรียกท่านเป็ นผูร้ บั ใช้อกี ต่อไป” คํา “ผูร้ บั ใช้” ตรงกับภาษากรีก Doulos (ดูลอส) ซึง่ แปลว่า “ทาส” คําว่า “ผูร้ บั ใช้ของพระเจ้า” หรือ “ทาสของพระเจ้า” เป็ นคําที่บรรดา มหาบุรษุ ผูย้ งิ่ ใหญ่ใช้เรียกตนเองด้วยความภาคภูมใิ จ เช่น โมเสส (ฉธบ 34:5), โยชูวา (ยชว 24:29), ดาวิด (สดด 89:20), เปาโล (ทต 1:1), และ ยากอบ (ยก 1:1) เป็ นต้น ขนาดบุคคลระดับนี้ยงั ภูมใิ จที่ได้เป็ น “ทาสของพระเจ้า” แล้วเราจะ ไม่ภมู ใิ จได้อย่างไรในเมือ่ พระองค์ทรงเรียกเราเป็ น “สหาย” ไม่ใช่ “ทาส” โอ้ ช่างเป็ นสิทธิพเิ ศษยิง่ ใหญ่เหนือคําบรรยายใด ๆ ! สมัยก่อน ในราชสํานักของจักรพรรดิโรมันและกษัตริยท์ างตะวันออก จะมีบุคคลกลุ่มหนึ่งได้รบั คัดเลือกให้เป็ น “พระสหาย” บุคคลเหล่านี้ใกล้ชดิ และสนิท สนมกับจักรพรรดิหรือกษัตริย์มากที่สุด สามารถเข้านอกออกในได้ทุกแห่งและทุก เวลาแม้ในห้องบรรทม ทุก ๆ เช้าจักรพรรดิหรือกษัตริย์จะสนทนากับ “พระสหาย” ก่อนออกพบปะกับบรรดาแม่ทพั นายกองเสียอีก 3
สั ปดาห์ ที่ 6 เทศกาลปัสกา (ปี B)
ยน 15:9-17
การดํารงอยู่ใน “ความรัก” ของพระเยซูเจ้า นอกจากจะทําให้ชวี ติ ของเรา เจริญงอกงามและบังเกิดผลอย่างอุดมสมบูรณ์ เสมือนกิง่ องุน่ ทีต่ ดิ อยูก่ บั เถาแล้ว ยัง ทําให้พระบิดาเจ้าได้รบั พระสิรริ งุ่ โรจน์จากผลแห่งกิจการดีของเราอีกด้วย (ยน 15:7-8) โดยมี “ความรัก” เดียวกันนี้เองเป็ นแรงจูงใจ พระเยซูเจ้าทรงเปิ ดประเด็น ใหม่ซง่ึ เป็ นศูนย์กลางของข่าวดีตอนนี้ “มิ ใช่ท่านทัง้ หลายได้เลือกเรา แต่เราได้เลือกท่าน” ! (ยน 15:16) ด้วยความรัก พระเยซูเจ้าทรงเลือกเราเพือ่ 1. “ให้ ความยิ นดี ของเราอยู่กบั ท่ าน และความยิ นดี ของท่ านจะ สมบูรณ์ ” (ยน 15:11) การดําเนินชีวติ เยี่ยงคริสตชนแม้จะเต็มไปด้วยความ ยากลําบากก็จริง แต่เราไม่ยนิ ดีดอกหรือทีไ่ ด้ทาํ สิง่ ทีถ่ ูกต้องและควรทํา ? เราไม่ยนิ ดีทไ่ี ด้ “รักและให้” ซึ่งเท่ากับว่า “เราพอแล้ว เราสุข แล้ว” ดอกหรือ ? และถึงแม้จะรูอ้ ยู่เต็มอกว่าเราเป็ นคนบาป แต่เราไม่ยนิ ดีดอกหรือที่ ได้รบั การไถ่กใู้ ห้รอดโดยพระเยซูเจ้าแล้ว ? ยิง่ ไปกว่านัน้ เราไม่ยนิ ดีมากขึ้นไปอีกหรือในเมื่อพระองค์ตรัสว่า ความยินดีในโลกหน้าของเราจะสมบูรณ์ยงิ่ กว่านี้อกี ? เพราะฉะนัน้ ผูท้ ด่ี ําเนินชีวติ จมอยู่ในความทุกข์โศกเศร้าหรือชอบตี หน้าเศร้าอยูเ่ สมอ จึงต้องถือว่าสวนทางกับการเป็ นคริสตชนโดยสิน้ เชิง 2
วัน เดือน ปี รายการมิสซา อา 13 พ.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน คุณสุ นีย ์ ไชยเผือก (วันคล้ ายวันเกิด) ชมรมผูส้ ูงอายุ และผูท้ ี่เกิดในเดือนพฤษภาคมทุกท่าน เปโตร มนัศ, คุณรัญจนา อดุลศิริสวัสดิ์ ดอมินิก ซาวีโอ พิชชานนท์ หอวิจิตร และครอบครัว เทเรซา น้อย กังศิริกลุ , มารี อา อัญชลี พูลขาว มารี อา วรรณา เมธีพิทกั ษ์กลุ และครอบครัว คุณโกมุท ตัณสังวร, ครอบครัวสุ นทรเวชพงษ์ อุทศิ แด่ เปาโล อํานาจ อุตสากิจ, คุณวิรัช มณี นุช โรซา บุญยิง่ , ซิ ลเวสเตอร์ สุ รพงษ์ กิจเจริ ญ เปโตร ฟรอ เหงี่ยนวัน, มารี อา มยุรีย ์ สายพรหม ยอแซฟ ประสาน, อักแนส อําไพ นิโครธานนท์ อันนา สละ, อันนา จุไรลักษณ์ เจริ ญทรัพย์ อันนา เกลี้ยน, ยอแซฟ อดิศกั ดิ์ อานามนารถ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ลออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน, มารี อา มยุรี ผลาวงศ์ เปาโล มงคล, อักแนส ลดาวัลย์, คุณกรรณิ การ์ สวีรวงศ์ เซซี ลีอา อรนุช, คุณจารุ วรรณ สวีรวงศ์ คุณอรุ ณี เนตรวิจิตร, คุณอ๊อด, คุณสอางค์ ชุ่มชื่น คุณเซ่งกี, คุณคิ้ม แซ่ลิ้ม ซูซานนา สุ นา พจน์ปฏิญญา, ยออันนา ผัน คิ้มแหน ยอแซฟ มนู, ยออากิม มาโนช บุศยเพศ ฟรังซิ สโก วิจิตร์ กาญจนธานินทร์, คุณเส่ ง วชิรจุติพงศ์ อลิซาเบธ ธานี เศรษฐเสรี , คาทารี นา วงศ์ประยูร เทวารุ ทธ มารี อา กรุ ณา, ยอแซฟ ฮวงไล้ แซ่เซี ยว วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง
ผู้ขอมิสซา พรทิพา มาลินี จิตรา ชมรมผูส้ ู งอายุ มาลี เจริ ญ ธี ระ/ณัฐวิศว์ กัณฐมณี /เอก รัศมี/อรุ ณ จินดา 11
จ. 14 พ.ค. อุทศิ แด่ อ. 15 พ.ค. อุทศิ แด่ พ. 16 พ.ค. สุ ขสํ าราญ พฤ.17 พ.ค. สุ ขสํ าราญ ศ. 18 พ.ค. สุ ขสํ าราญ
คุณวิรัช มณี นุช คุณวิรัช มณี นุช มีเรี ยม กรวีร์ สุ ดเนตร (วันคล้ายวันเกิด) คุณทวีศกั ดิ์, เทเรซา รัตนา ชินธรรมมิตร์ ยอแซฟ มานพ, คุณจินดา, คุณณัฐพร อดุลศิริสวัสดิ์
เอก เอก
มาลินี มาลี มาลี
ฉบับที่ 422 วันอาทิตย์ที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2012 ขอเชิ ญชวนสัตบุ รุ ษผูม้ ี ภู มิล าํ เนาอยู่ในเขตวัด หรื อ มาวัด แม่ พระกุห ลาบทิ พย์เป็ น ประจํา และมีอายุไม่ ตํ่ากว่ า 25 ปี บริบูรณ์ ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิ กสภาภิบาล ผูส้ นใจ สามารถติ ดต่อขอรั บใบสมัครได้ที่สํานักงานวัด และยื่นใบสมัครพร้ อมรู ปถ่ ายขนาด 2 นิ้ ว จํานวน 3 รู ป ได้ที่สาํ นักงานวัดตั้งแต่บดั นี้ จนถึงวันอาทิตย์ที่ 20 พฤษภาคม ศกนี้ และขอเชิ ญ สัต บุ รุ ษ ผูม้ ี ภู มิ ลาํ เนาอยู่ใ นเขตวัด หรื อ มาวัด แม่ พ ระกุห ลาบทิ พ ย์เ ป็ น ประจํา และมีอายุไม่ ตํ่ากว่ า 18 ปี บริ บูรณ์ ลงทะเบียนเป็ นผูม้ ีสิทธิ เลือกตั้งสมาชิ กสภาภิบาล โดยกรอกแบบฟอร์ มแล้วหย่อนในกล่องด้านหน้าวัด ตั้งแต่บดั นี้ ถึงวันอาทิตย์ที่ 3 มิถุนายน ศกนี้ รับสมัครเด็กชาย-หญิงที่มีอายุระหว่าง 5-12 ปี เพื่อโปรยดอกไม้ถวายเกี ยรติแด่ ศีล มหาสนิทในวันสมโภชพระคริ สตกายา 10 มิถุนายน ศกนี้ ผูส้ นใจโปรดสมัครที่สาํ นักงานวัด จะเริ่ มซ้อมวันอาทิตย์ที่ 20, 27 พฤษภาคม และซ้อมใหญ่วนั อาทิตย์ที่ 3 มิถุนายน ศกนี้ ขอเชิ ญผูส้ นใจเรี ยนคําสอนเพื่อรู ้ จกั ศาสนาคริ สต์หรื อเพื่อรับศีลล้างบาปเป็ นคริ สต ชน หรื อเพื่อรื้ อฟื้ นความรู ้ดา้ นคําสอน เรี ยนคําสอนผูใ้ หญ่ทุกวันอาทิตย์ เวลา 13.00-15.00 น. สอบถามรายละเอี ยดและสมัครได้ที่สํานักงานวัดตั้งแต่บดั นี้ เป็ นต้นไป เปิ ดเรี ยนวันแรก 3 มิถุนายน ศกนี้ เชิ ญ สมาชิ ก กลุ่ ม พิ ธี ก รรม และผูส้ นใจร่ ว มงานกลุ่ ม พิ ธี ก รรม (อ่ า นบทอ่ า น/ช่ ว ย มิสซา/ขับร้อง/ถือของถวาย/ต้อนรับสัตบุรุษ) เข้าร่ วมสัมมนาฟื้ นฟูจิตใจ ในวันที่ 3-4 มิถุนายน ค.ศ. 2012 ณ เดอะธารารี สอร์ท พัทยา 12
สั ปดาห์ ที่ 6 เทศกาลปัสกา (ปี B)
มิใช่ ท่านทั้งหลายได้ เลือกเรา แต่ เราได้ เลือกท่ าน ยน 15:16