ฉบับที่ 477 วันอาทิตย์ที่ 2 มิถนุ ายน ค.ศ. 2013
ฉบับที่ 477 วันอาทิตย์ที่ 2 มิถนุ ายน ค.ศ. 2013
สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้ า (ปี C)
สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้ า (ปี C)
ทรงกล่ าวถวายพระพร ทรงบิขนมปัง ส่ งให้ บรรดาศิษย์ นําไปแจกจ่ ายแก่ ประชาชน
ทรงกล่ าวถวายพระพร ทรงบิขนมปัง ส่ งให้ บรรดาศิษย์ นําไปแจกจ่ ายแก่ ประชาชน
ลก 9:16
ลก 9:16
สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้ า (ปี C)
ลก 9:11ข-17
การทวีขนมปงั เพือ่ เลีย้ งประชาชนจํานวนมากเป็ นเพียงอัศจรรย์เดียวทีม่ ี บันทึกไว้ในพระวรสารทุกฉบับ (มธ 14:13; มก 6:30; ลก 9:11; ยน 6:1) แต่ละ ฉบับกล่าวถึงการทวีขนมปงั ของพระเยซูเจ้าไว้ดงั นี้ มัทธิว - “ทรงรับขนมปงั ห้าก้อนกับปลาสองตัวขึ้นมา ทรงแหงนพระ พักตร์ข้นึ มองท้องฟ้า ทรงกล่าวถวายพระพร ทรงบิขนมปงั ส่งให้บรรดาศิษย์ไป แจกแก่ประชาชน” มาระโก - “พระองค์ทรงรับขนมปงั ห้าก้อนกับปลาสองตัวขึ้นมา ทรง แหงนพระพักตร์ข้นึ มองท้องฟ้า แล้วทรงกล่าวถวายพระพร ทรงบิขนมปงั ส่งให้ บรรดาศิษย์ไปแจกจ่ายให้กบั ประชาชน” ลูกา - “พระเยซูเจ้าทรงรับขนมปงั ห้าก้อนกับปลาสองตัวนัน้ มา ทรง แหงนพระพัก ตร์ข้นึ มองท้อ งฟ้า ทรงกล่าวถวายพระพร ทรงบิขนมป งั ส่งให้ บรรดาศิษย์นําไปแจกจ่ายแก่ประชาชน” ยอห์น - “พระเยซูเจ้าทรงหยิบขนมปงั ขึน้ ทรงขอบพระคุณพระเจ้า แล้ว ทรงแจกจ่ายให้แก่ผทู้ นี ่ งอยู ั ่ ต่ ามทีเ่ ขาต้องการ” จะเห็นว่าสาระสําคัญทีม่ เี หมือนกันทุกฉบับคือ พระเยซูเจ้าทรง “กล่าว ถวายพระพร” ก่อน “แจกจ่าย” ขนมปงั แก่ประชาชน 2
วัน เดือน ปี อา 2 มิ.ย. 08.00 น.
รายการมิสซา อุทศิ แด่ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณโถ เพียรช่างคิด คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสต์ เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา 2 มิ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน หลุยส์ พีรดนย์ พลินบดินทร์ ชยั โซเฟี ย ธิดาภรณ์ กิจเจริ ญ ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว คุณวรพจน์ ตันตะกุล นายแพทย์วทิ ิต อรรถเวชกุล และครอบครัว แมรี่ มิเชล ณัฏฐา ประดิษฐ์ศิลป์ อุทศิ แด่ เซซี ลีอา สุ รัตน์ ชาตรี โยเซฟ พยนต์, มารี อา โรซา โพธิ์ ทอง เทเรซา ศุภภรณ์ ฉวีนิรมล เปาโล พิชยั , มารี อา มาริ นทร์ เจริ ญเสรี ซูซานนา สุ นา พจน์ปฏิญญา ยออันนา ผัน คิ้มแหน ยอแซฟ มนู บุศยเพศ, คุณมาโนช บุศยเพศ หลุยส์ พิชยั เจริ ญสุ ข ยอห์น บัปติสต์ มณี , มารี อา เทเรซา สุ มาลี กิจนิตย์ชีว์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง จ. 3 มิ.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ อ. 4 มิ.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ พ. 5 มิ.ย. อุทศิ แด่ คาทารี นา ริ รินทร์ จิระดํารง พฤ.6 มิ.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ ศ. 7 มิ.ย. อุทศิ แด่ มาริ นนา ลิลลี่ รุ่ งเรื อง
ผู้ขอมิสซา ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ คค.ธนาพานิชย์ อดิสยั สุ นนั ท์ อัญชลี สุ ดา ศิริพร ประสบ อดิสัย ณัฐวรรณ อมรา อมรา 11
มิสซาสมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้ า (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี ส. 1 มิ.ย. 18.00 น.
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เริ งจิต ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ ปภาวิชญ์ อลิซาเบธ อารี ย ์ สังขพงษ์ อมรา สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง วรัญญ์นิช อา. 2 มิ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ และครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ ครอบครัวพันธุมจินดา, ครอบครัวสิ งหฬ สุ ดารัตน์/บุญญรัตน์ ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ ณัฐวรรณ ครอบครัวสุ ทธิโอภาส, ครอบครัวบรรณสกุล ณัฐวรรณ ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวเพียรช่างคิด ณัฐวรรณ ครอบครัวลิ้มจิตรกร, ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์ ณัฐวรรณ อุทศิ แด่ ยอแซฟ ภิรมย์, มารี อา โยเซฟิ น รัตนา พันธุมจินดา สุ ดารัตน์ ยวง พิสิษฐ์ พันธุมจินดา, คุณสมถวิล, คุณขจรเกียรติ สุ ดารัตน์ คุณวิรัช, คุณลําดวน พุทธโกษา สุ ดารัตน์ เซบัสติโน การุ ณย์ วงศ์ธานี สุ ดารัตน์ ยวง บัปติสตา สิ น, มารี อา เลียบ สิ งห์สา บุญญรัตน์ อันนา บุญมา ซื่ อตรง บุญญรัตน์ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั คค.ธนาพานิชย์ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน คค.อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน, มารี อา มยุรี ผลาวงศ์ คค.อุชชิน มัทธิว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต, Thomas Adams คค.อุชชิน บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์
10
แปลว่า ไม่มที างทีพ่ ระองค์จะยอมรับประทานอาหารโดยไม่ขอบพระคุณ พระเจ้าผูท้ รงประทานทุกสิง่ ทีด่ แี ก่เราเสียก่อน ! บรรดารับ บีถึง กับ สอนว่า “ผู้ทีย่ ิน ดีก บั สิง่ หนึ ง่ สิง่ ใดโดยปราศจากการ ขอบพระคุณ เขากําลังขโมยสิง่ นัน้ จากพระเจ้า” ข้อสังเกตอีกประการหนึ่งคือ หลังจากกล่าวถวายพระพรแล้ว พระเยซูเจ้า ทรงบิขนมปงั (ยกเว้นยอห์นทีไ่ ม่กล่าวถึง) และแจกจ่ายให้แก่ประชาชนทันที โดยไม่มฉี บับใดเลยทีอ่ ธิบายว่าพระองค์ทรงทวีขนมปงั อย่างไร เมื่อเป็ นเช่นนี้ เราจึงอาจอธิบายการทวีขนมปงั ของพระองค์ได้อย่างน้อย 2 แนวทางด้วยกัน คือ 1. พระองค์ ท รงทํ า “อัศ จรรย์ ” ตามตัว อัก ษร คือ ทรงทํ า สิ่ง ที่อ ยู่ นอกเหนือธรรมชาติ ซึง่ มนุ ษย์ทวไปไม่ ั่ อาจกระทําหรือเข้าใจได้ เว้นแต่จะได้รบั พระพรพิเศษจากพระเจ้า ดังเช่นในกรณีน้ีทพ่ี ระองค์ทรงเพิม่ ขนมปงั และปลา จํานวนน้อยนิดเพือ่ เลีย้ งประชาชนจํานวนมากมาย 2. เบธไซดาเป็ นเมืองที่ปลอดผู้คนจนพระเยซูเจ้าทรงเลือกใช้เป็ น สถานที่สําหรับปลีกพระองค์เพื่ออยู่ตามลําพังกับบรรดาอัครสาวก (ลก 9:10) แน่ นอนว่าประชาชนทีต่ ดิ ตามพระองค์ย่อมต้องนํ าอาหารติดตัวไปด้วยยามต้อง เดินทางไปในสถานทีเ่ ปลีย่ วเช่นนี้ (ลก 9:12) แต่สาเหตุทพ่ี วกเขายังคงหิวอาจเป็ นเพราะ “ความเห็นแก่ตวั ” ไม่ ยอมนําอาหารของตนออกมากินด้วยเกรงว่าจะต้องแบ่งปนั ให้คนรอบข้าง และทํา ให้สดั ส่วนของตนลดน้อยลง เมื่อประชาชนเห็นอัครสาวกนําขนมปงั ห้าก้อนและปลาสองตัวมา มอบให้พระเยซูเจ้าและพระองค์ทรงเริม่ แจกจ่ายแก่ผูอ้ ่นื จิตใจของพวกเขาเริม่ เปลีย่ นไป พวกเขานํ าสิง่ ทีต่ นมีออกมาแบ่งปนั กันจนกระทัง่ “ทุกคนได้กนิ จนอิม่ แล้วยังเก็บเศษทีเ่ หลือได้สบิ สองกระบุง” (ลก 9:17) เท่ากับว่าพระเยซูเจ้าทรงทํา “อัศจรรย์” เปลีย่ น “ความเห็นแก่ตวั ” ของคนให้เป็ น “ความรักต่อเพือ่ นมนุษย์” 3
ไม่ ว่า เราจะอธิบ ายแบบใดก็ต าม สิง่ ทีเ่ กิด ขึ้น คือ “อัศ จรรย์” อย่ า ง แน่นอน ! ทีส่ ดุ เมือ่ ทรงทําอัศจรรย์ทวีขนมปงั เลีย้ งประชาชนจํานวนมากแล้ว พระ เยซูเจ้าตรัสว่า “เราเป็ นปงั ทรงชีวติ ทีล่ งมาจากสวรรค์ ใครทีก่ นิ ปงั นี้จะมีชวี ติ อยู่ ตลอดไป และปงั ทีเ่ ราจะให้น้ ีคอื เนื้อของเราเพือ่ ให้โลกมีชวี ติ ... ผูท้ กี ่ นิ เนื้อของ เรา และดืม่ โลหิต ของเรา ก็ม ีช ีว ิต นิ ร นั ดร เราจะทํา ให้เ ขากลับ คืน ชีพ ในวัน สุดท้าย” (ยน 6:51,54) แสดงว่าพระเยซูเจ้าทรงปรารถนาให้อศั จรรย์ทวีขนมปงั เลีย้ งประชาชน เป็ นรูปแบบถึง “ปังทรงชี วิต” ทีพ่ ระองค์ทรงมอบ “เนื้ อ” และ “โลหิ ต” ของ พระองค์เองเพือ่ ทําให้เรามีชวี ติ นิรนั ดร การสมโภชวัน นี้ จึงเป็ นการเฉลิม ฉลองอัศจรรย์ทพี ่ ระองค์ท่า นทรง ประทานป งั ทรงชีว ิต นัน่ คือ พระวรกายและพระโลหิต ของพระองค์เ อง เพือ่ บันดาลชีวติ นิรนั ดรแก่เรา ทุกวันนี้ เรารับพระวรกายและพระโลหิตของพระเยซูเจ้าใน ศี ล มหา สนิ ท เนื่องจาก “พระวรกาย” และ “พระโลหิ ต” คือองค์ประกอบสําคัญทีท่ าํ ให้พระเยซูเจ้าเป็ นพระเยซูเจ้า การรับศีลมหาสนิทจึงต้องเป็ นการรับพระเยซู เจ้าทัง้ ครบ นันคื ่ อ เราไม่เพียงรับพระวรกายและพระโลหิตของพระองค์เข้ามาในตัว เราเท่านัน้ แต่เรายังต้องรับ “ความรู้สึกนึ กคิ ด ความปรารถนา แนวทาง ดําเนิ นชีวิต และทุกสิ ง่ ทุกอย่างทีท่ าํ ให้พระองค์เป็ นพระเยซูเจ้า” เข้ามาใน ชีวติ ของเราด้วย ดังนัน้ การรับศี ลมหาสนิ ทจึงต้ องทําให้ เราละม้ายคล้ายพระองค์ มากขึ้นทุกวัน เพือ่ เราจะได้มีชีวิตนิ รนั ดรเหมือนพระองค์
4
เป็ นอะไรก็ตามขอให้เป็ นอย่างดีที่สดุ แต่จะเป็ นอะไรก็แล้วแต่ตอ้ งไม่ลืมเป็ นตัว ของตัวเองให้ดีที่สดุ ด้วย เราไม่อาจเป็ นช่างทําผมหรือผูจ้ ัดการอย่างที่สดุ ได้เลยหาก เราไม่ร จู้ ักเป็ นตัวของตัวเองเป็ นเบื้ อ งต้น เป็ นตัวของตัวเองมิได้หมายถึ ง ทําอะไร ตามใจตนเอง โดยไม่ตอ้ งสนใจคนอื่น แต่หมายถึ งการค้นพบศักยภาพของตนเอง แล้วพัฒนาให้เต็มที่ พร้อมๆ กับนําออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด เมล็ ด พันธุ์ท กุ เมล็ ดมีศั กยภาพที่ จ ะงอกงามเป็ นต้น ไม้ซึ่ งเพี ยบพร้อ มด้ว ย คุณสมบัติตามแบบฉบับของตนฉันใด มนุษย์ทกุ คนก็ มีศักยภาพที่จะพัฒนาสู่ความ เป็ นเลิศตามแบบฉบับของตนฉันนัน้ ดังนัน้ แทนที่จะคิดอยากเป็ นเหมือนคนอื่น เราหัน มาเป็ นตัวเราเองให้ดที ี่สดุ จะดีกว่า ของที่กอ๊ ปปี้ มานัน้ ทําให้ดอี ย่างไรก็สตู้ น้ แบบไม่ได้ เป็ นตัวของตัวเองไม่ได้มีความหมายแค่ทาํ งานที่ตนรักหรือมีอาชีพที่ตนถนัด เท่านัน้ หากหมายถึงการทําด้วยหัวใจ จากส่วนที่ดีที่สดุ ภายใน โดยไม่พะวงกับกรอบ ที่ สัง คมกํา หนดขึ้น รวมทั้ ง ไม่ ส นใจรางวั ล หรื อ บทลงโทษที่ จ ะตามมา ไอน์ส ไตน์ และปิ กัสโซ่สามารถบรรลุถึงความเป็ นเลิศแห่งศาสตร์และศิลป์ ของตนได้เพราะกล้า แหวกกรอบความคิดที่แวดวงของตนสร้างขึ้น เขาทําสําเร็ จได้เพราะทําด้วยหัวใจ ด้วยศักยภาพภายในที่เบ่งบานอย่างเต็มที่ เมื่อความคิด คําพูด และการกระทํากลัน่ จากหัวใจ ทุกอย่างก็ลื่นไหล ชีวิตก็ ลงตัว แต่ถา้ ไปพะวงกับกรอบเกณฑ์ ก็อาจสะดุดหรือเกิดขลุกขลักขึน้ มา ชายคนหนึ่ง บ่นว่า “ผมเป็ นลุงที่หลานๆ ชื่นชม แต่รสู้ ึกผิดหวังมากเมื่อมาเป็ นพ่อ” เขาเป็ นลุงที่ วิเศษก็เพราะเขาสัมพันธ์กบั หลานๆ ด้วยหัวใจ ไม่พะวงกับอะไร แต่พอมาเป็ นพ่อคน เขารูส้ ึกว่ามี “หน้าที่” และ “บทบาท” บางอย่างที่ตอ้ งทํา แต่หน้าที่และบทบาท ดังกล่าวไม่สอดคล้องกับสิ่งที่เขาเป็ น การพยายามทําตัวให้เข้ากับกรอบดังกล่าว ทําให้เขาไม่สามารถเป็ นตัวของ ตัวเองเมื่ออยู่กบั ลูก ปฏิสมั พันธ์ที่เขามีกบั ลูกนัน้ ไม่ใช่ “ตัวเขา” มันไม่ได้ออกมาจาก หัวใจหรือธรรมชาติภายในของเขา ผลก็คือเกิดความขัดแย้งขึน้ มาทัง้ ในตัวเขาและกับ ลูก
เราเห็นตัวเองในกระจกทุกเช้าเย็น แต่สว่ นที่ลึกลงไปภายในใจนัน้ เราเห็ นบ้างหรื อเปล่า และสิ่งที่ดีที่สดุ ในตัวเราล่ะ พบหรื อยัง? คนที่ ตอบได้ดที ี่สดุ ไม่ใช่ใคร แต่คือคนที่อยูห่ น้ากระจกนัน่ เอง !! 9
จากนิตยสาร Kids&Family มีนาคม 2548
วันนี้ก็เหมือนกับวันอื่นๆ ช่างทําผมได้รับโทรศัพท์จากลูกค้าประจํา เธอแจ้ง ว่าจะมาทําผมเพราะมีงานสําคัญตอนเย็น เมื่อเธอมาตามนัด ช่างได้ทาํ ผมให้เธอด้วย ความใส่ใจเช่นเคย เขาสนทนากับกับเธออย่างเป็ นกันเอง หัวเราะและสัมผัสเธออย่าง นุ่มนวล เขายังชมเธอด้วยว่ าวันนี้เธอสวยมาก หลังจากทําผมเสร็ จ เธอก็ ยิ้มและ ขอบคุณเขา เขาตกใจเมื่อได้รับจดหมายจากหญิงผูน้ ั้นไม่กี่วันต่อมา เธอเขียนมาเล่าว่า งานสําคัญที่เธออยากให้ตนเองดูสวยเป็ นพิเศษที่แท้ก็คืองานศพของเธอเอง เธอตัง้ ใจ ว่าจะฆ่าตัวตายเย็ นวันนัน้ แต่หลังจากได้นงั ่ ทําผมกับเขาเธอก็ เปลี่ยนใจ เมตตาและ ุ ค่าน่า ความอ่อนโยนของเขาทําให้เธออยากมีชีวิตอยู่ต่อไป เธอรูส้ ึกว่าชีวิตยังมีคณ รักษาเอาไว้ ช่างทําผมผูน้ นั้ ไม่ได้ทาํ อะไรเป็ นพิเศษเลย เขาทําอย่างนี้กับลูกค้าทุกคน แต่ ประสบการณ์ครัง้ นัน้ ทําให้เขาตระหนักว่า งานของเขาไม่ใช่แค่การตกแต่งผมให้สวยดู ดีเท่านัน้ หากเป็ นงานที่ช่วยให้ผคู้ นมีความสุขมากขึน้ มันไม่ได้เป็ นแค่อาชีพเพื่อสร้าง รายได้ให้ตนเองเท่านัน้ หากยังสามารถทําให้แต่ละวันเป็ นวันพิเศษสดใสของคนหลาย คน ยิ่งกว่านัน้ มันยังสามารถเปลี่ยนชีวิตของคนบางคน มีพลังใจที่จะอยู่ตอ่ ไปในโลกนี้ อย่างมีความหมาย เคล็ดลับนัน้ ไม่ได้อยู่ที่เทคนิคการทําผมหรือศิลปะการพูด แต่อยู่ที่ความใส่ใจ และความเอื้ออาทรของเขา และที่มองข้ามไม่ได้ก็คือความสุขเมื่อได้ทาํ งานที่ตนเองรัก เมื่อมีความสุขเต็มเปี่ ยมอยู่ภายใน คําพูดและสัมผัสอันอ่อนโยนก็ เกิดขึ้นตามมาดุจ ดอกไม้ที่ผลิบานจากลําต้นและรากที่มนี าํ้ หล่อเลี้ยง แม้เป็ นแค่ช่างทําผมแต่เขาก็สามารถเปลี่ยนชีวิตของคนบางคน และสร้างวัน ใหม่ให้แก่หลายคนได้โดยไม่ได้ทาํ อะไรพิเศษเลยนอกจากการทํางานตามปกติ นัน่ เป็ น เพราะเขาทํางานของตนเองอย่างดีที่สดุ เพียงแค่เป็ นช่างทําผมให้ดที ี่สดุ ก็สามารถเติม แต่งโลกและสร้างสรรค์ชวี ิตให้งดงามได้ 8
หลังรับศีลมหาสนิท ชีวติ ของเราจึงต้องสะท้อนความเป็ นพระเยซูเจ้า ทุก แห่ง ทุกเวลา และกับทุกคน ไม่ใช่ปล่อยให้ชวี ติ เหมือนเดิมเมือ่ จบพิธบี ชู ามิสซา... ตัวอย่าง “ความรู้สึกนึ กคิ ดและจิ ตใจ” ของพระเยซูเจ้าที่พระวรสาร วันนี้กล่าวถึงคือ 1. พระองค์ทรงมีเวลาให้ผ้อู ื่นเสมอ ลูกาเล่าว่า “เมือ่ บรรดาอัคร สาวกกลับ มา (จากการประกาศข่า วดีแ ละรัก ษาโรค) แล้ว เขาทูล ทุ ก สิง่ ทีไ่ ด้ กระทําแด่พระเยซูเจ้า พระองค์จงึ ทรงพาเขาไปด้วย ทรงปลีกพระองค์ไปยังเมือง ทีม่ ชี อื ่ ว่าเบธไซดา” (ลก 9:10) สิง่ ที่พระองค์ต้องการและพยายามปลีกตัวไปแสวงหาคือความ สงบ และความเป็ นส่วนตัวตามลําพังกับบรรดาอัครสาวก เราจะรูส้ กึ อย่างไร หากกําลังอยู่ตามลําพังกับเพื่อนสนิท แล้วถูก เจ้านายตามตัว หรือกําลังง่วนอยูก่ บั งานเพราะกลัวว่าจะเสร็จไม่ทนั กําหนด แล้ว มีคนมารบกวน มาขอความช่วยเหลือ ฯลฯ ? แน่นอนเราย่อมรูส้ กึ หงุดหงิด และไม่พอใจเป็ นอย่างยิง่ แต่พระเยซูเจ้า เมื่อถูกประชาชนติดตามไปรบกวนความสงบถึง เมืองเบธไซดา แทนทีจ่ ะแสดงอาการหงุดหงิด พระองค์กลับ “ต้อนรับเขาและตรัส สอนเขาเรือ่ งพระอาณาจักรของพระเจ้า ทรงรักษาคนทีต่ อ้ งการการบําบัดรักษา” (ลก 9:11) อีกทัง้ ทรงห่วงใยปากท้องของพวกเขาจนต้องตรัสสังบรรดาศิ ่ ษย์ว่า “ท่านทัง้ หลายจงหาอาหารให้เขากินเถิด” (ลก 9:13) นี่คอื พระเยซูเจ้า !! เมื่อมีผู้เดือดร้อนและต้องการความช่วยเหลือ ไม่มคี ําว่า “ไม่มี เวลา” สําหรับพระองค์ 2. พระองค์ทรงเอาพระทัยใส่ร่างกายของมนุษย์ นับเป็ นเรื่อง น่าพิศวงอย่างยิง่ ทีพ่ ระองค์ทรงใช้เวลามากมาย ไม่ใช่เพือ่ “พูด” แต่เพือ่ เยียวยา ความเจ็บปว่ ยและบรรเทาความหิวโหยของเรามนุษย์ 5
ทุ ก วัน นี้ พระองค์ย ัง ต้อ งการเราทุ ก คนให้เ ป็ น ดัง่ “มื อ ” ของ พระองค์เ พื่อ ให้บ ริก ารและรับ ใช้เ พื่อ นมนุ ษ ย์ เพื่อ เยีย วยาความเจ็บ ป่ว ยและ บรรเทาความหิวโหยของพวกเขา เพราะฉะนัน้ มารดาซึง่ ใช้เวลาตลอดชีวติ ปรุงอาหารให้แก่ลูกผูห้ วิ โหย หรือแพทย์ พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ นักวิทยาศาสตร์ ศิลปิ น ตลอดจน ทุกคนที่มสี ่วนในการบรรเทาความเจ็บป่วย ความทุกข์ทรมาน และช่วยให้ชวี ติ ความเป็ นอยู่ของมนุ ษย์ดขี น้ึ พวกเขาเหล่านี้กําลังประกาศพระเยซูเจ้าอย่างมี ประสิทธิภาพ ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าพระสงฆ์หรือนักบวชเลย 3. พระองค์ทรงมี พระทัยกว้างขวาง เมื่อทรงคิดจะเลี้ยงอาหาร ประชาชน พระองค์ไม่ได้ทาํ แบบสุกเอาเผากิน แต่ทรงเลีย้ งพวกเขาทุกคนจน “อิม่ หนํา” แถมยังมีเหลืออีกตัง้ สิบสองกระบุง “ความรัก” ทําให้การคํานวณว่า แค่ไหนมาก ? แค่ไหนน้ อย ? แค่ไหนพอเพียง ? เป็ นสิง่ เกินจําเป็ น หรือมีใครในพวกเราที่ซ้อื ดอกกุหลาบให้คนรักในวันวาเลนไทน์ แล้วมานังเสี ่ ยใจหลังจากคํานวณแล้วว่า ดอกกุหลาบของตนแพงกว่าดอกกุหลาบ ทีค่ นรักซือ้ ให้ตงั ้ หลายเท่า ? เมือ่ คิดจะรัก ใครจะมานังคิ ่ ดคํานวณ ?!? การรับศีลมหาสนิทเป็ นประจําจึงต้องทําให้เราเลิกคิดคํานวณว่า เดือนนี้ตอ้ งช่วยคนจนเท่าไร ? ยังเหลืองบประมาณอีกเท่าใด ? หรือคนคนนี้เรา ได้ให้ความช่วยเหลือมามากแล้ว คงพอได้แล้วกระมัง ! เพราะ ถ้ารักพระเยซูเจ้า ก็ต้อง “ใจกว้าง” เหมือนพระองค์ ! หาไม่แล้ว การสมโภชพระวรกายและพระโลหิ ตพระคริ สตเจ้า วันนี้ ผ่านมา… แล้วก็จะ ผ่านไป... เหมือนเราไม่ใช่คริ สตชน !!! 6
เช้าวันที่ 28 พฤษภาคม ที่ผา่ นมา สมเด็จพระสันตะปาปา ฟรังซิส ทรงถวายมิสซาเช้า ส่วนพระองค์ภายในวัดน้อยหอพักซางตา มาร์ธา ในมิสซานี้ พระสันตะปาปาเทศน์สอนว่า: - พระเยซูตรัสสอนเสมอว่า ใครที่ติดตามเราจะพบสิ่งดีๆ แต่ตอ้ งก้าวไปพร้อมกับการ ถูกเบียดเบียน บนหนทางของพระเจ้าคือถนนของความสุภาพถ่อมตน นี่คือถนนที่สิ้นสุด ด้วยทางแห่งกางเขน เส้นทางของคริสตชนจะเป็ นแบบนี้เสมอ เพราะพระเยซูทรงนําหน้าไป ก่อนเรา - ฉะนัน้ หากคริสตชนไม่เคยมีความยุ่งยากในชีวิต ถ้าทุกสิ่งดูราบรื่น ทุกสิ่งดูสวยงาม ไปหมด มันก็มีบางสิ่งผิดปกติ (กับชีวิตคริสตชน) แล้วล่ะ ถ้าชีวิตเป็ นแบบนี้จริงๆ มันชวน ให้เราคิดว่า เราเป็ นเพื่อนที่ดีของจิตวิญญาณฝ่ ายโลกใช่ไหม ถ้าใช่ มันก็ เป็ นการประจญ ล่อลวงเราคริสตชนนัน่ เอง - การติดตามพระเยซูไม่ใช่การแสวงหาอํานาจที่สงู ขึ้น การติดตามพระเยซูไม่ใช่ "อาชีพ" แต่การติดตามพระเยซูคือการแบกกางเขน - ประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรเต็มไปด้วยเรื่องเหล่านี้ (การแสวงหาอํานาจใน พระศาสนจักร) เริ่มตัง้ แต่จกั รพรรดิบางคนและผูค้ มุ กฎมากหน้าหลายตาใช่หรือไม่? พ่อจะ ไม่กล่าวถึงมากนะ แต่ก็อย่างว่า มันมีพระสังฆราช พระสงฆ์ บางองค์ดว้ ยใช่หรือไม่ (ที่ทาํ แบบนัน้ ) ? บางคนบอกว่าคนแบบนี้มีเยอะ แต่มนั ก็เป็ นพวกที่คิดว่าการติดตามพระเยซูคือ อาชีพนัน่ แหละ -ในอดีต มีบางคนต้องการให้ลกู หลานมีตาํ แหน่งสูงๆ ในพระศาสนจักร คริสตชนที่คิด แบบนี้คือคนที่ถกู ล่อลวงด้วยจิตทางโลก พวกเขาคิดว่าการติดตามพระเยซูเป็ นสิ่งดี เพราะ มัน สามารถเป็ นอาชี พ ให้พ วกเขาได้ พวกเขาจึ ง ทํา มัน ต่อ ไป แต่ก ารทํา แบบนี้ ไม่ใ ช่จิ ต วิญญาณแท้จริง คริสตชนต้องติดตามพระเยซูดว้ ยความรักหมดใจ - ตัวอย่างชัดเจนของแบบอย่างที่ดีคือ "คุณแม่เทเรซาแห่งกัลกัตตา" ท่านเป็ นสตรีที่ งดงาม ทํา สิ่ ง ดี ม ากมายให้กับ ผูอ้ ื่ น ... เอาล่ะ จํา ไว้น ะว่ า การติ ด ตามพระเยซ ู ต้อ ง ติดตามด้วยรักหมดใจ เดินตามพระองค์ตลอดเส้นทาง ขอบคุณข้ อมูลจาก Pope Report 7
ทุ ก วัน นี้ พระองค์ย ัง ต้อ งการเราทุ ก คนให้เ ป็ น ดัง่ “มื อ ” ของ พระองค์เ พื่อ ให้บ ริก ารและรับ ใช้เ พื่อ นมนุ ษ ย์ เพื่อ เยีย วยาความเจ็บ ป่ว ยและ บรรเทาความหิวโหยของพวกเขา เพราะฉะนัน้ มารดาซึง่ ใช้เวลาตลอดชีวติ ปรุงอาหารให้แก่ลูกผูห้ วิ โหย หรือแพทย์ พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ นักวิทยาศาสตร์ ศิลปิ น ตลอดจน ทุกคนที่มสี ่วนในการบรรเทาความเจ็บป่วย ความทุกข์ทรมาน และช่วยให้ชวี ติ ความเป็ นอยู่ของมนุ ษย์ดขี น้ึ พวกเขาเหล่านี้กําลังประกาศพระเยซูเจ้าอย่างมี ประสิทธิภาพ ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าพระสงฆ์หรือนักบวชเลย 3. พระองค์ทรงมี พระทัยกว้างขวาง เมื่อทรงคิดจะเลี้ยงอาหาร ประชาชน พระองค์ไม่ได้ทาํ แบบสุกเอาเผากิน แต่ทรงเลีย้ งพวกเขาทุกคนจน “อิม่ หนํา” แถมยังมีเหลืออีกตัง้ สิบสองกระบุง “ความรัก” ทําให้การคํานวณว่า แค่ไหนมาก ? แค่ไหนน้ อย ? แค่ไหนพอเพียง ? เป็ นสิง่ เกินจําเป็ น หรือมีใครในพวกเราที่ซ้อื ดอกกุหลาบให้คนรักในวันวาเลนไทน์ แล้วมานังเสี ่ ยใจหลังจากคํานวณแล้วว่า ดอกกุหลาบของตนแพงกว่าดอกกุหลาบ ทีค่ นรักซือ้ ให้ตงั ้ หลายเท่า ? เมือ่ คิดจะรัก ใครจะมานังคิ ่ ดคํานวณ ?!? การรับศีลมหาสนิทเป็ นประจําจึงต้องทําให้เราเลิกคิดคํานวณว่า เดือนนี้ตอ้ งช่วยคนจนเท่าไร ? ยังเหลืองบประมาณอีกเท่าใด ? หรือคนคนนี้เรา ได้ให้ความช่วยเหลือมามากแล้ว คงพอได้แล้วกระมัง ! เพราะ ถ้ารักพระเยซูเจ้า ก็ต้อง “ใจกว้าง” เหมือนพระองค์ ! หาไม่แล้ว การสมโภชพระวรกายและพระโลหิ ตพระคริ สตเจ้า วันนี้ ผ่านมา… แล้วก็จะ ผ่านไป... เหมือนเราไม่ใช่คริ สตชน !!! 6
เช้าวันที่ 28 พฤษภาคม ที่ผา่ นมา สมเด็จพระสันตะปาปา ฟรังซิส ทรงถวายมิสซาเช้า ส่วนพระองค์ภายในวัดน้อยหอพักซางตา มาร์ธา ในมิสซานี้ พระสันตะปาปาเทศน์สอนว่า: - พระเยซูตรัสสอนเสมอว่า ใครที่ติดตามเราจะพบสิ่งดีๆ แต่ตอ้ งก้าวไปพร้อมกับการ ถูกเบียดเบียน บนหนทางของพระเจ้าคือถนนของความสุภาพถ่อมตน นี่คือถนนที่สิ้นสุด ด้วยทางแห่งกางเขน เส้นทางของคริสตชนจะเป็ นแบบนี้เสมอ เพราะพระเยซูทรงนําหน้าไป ก่อนเรา - ฉะนัน้ หากคริสตชนไม่เคยมีความยุ่งยากในชีวิต ถ้าทุกสิ่งดูราบรื่น ทุกสิ่งดูสวยงาม ไปหมด มันก็มีบางสิ่งผิดปกติ (กับชีวิตคริสตชน) แล้วล่ะ ถ้าชีวิตเป็ นแบบนี้จริงๆ มันชวน ให้เราคิดว่า เราเป็ นเพื่อนที่ดีของจิตวิญญาณฝ่ ายโลกใช่ไหม ถ้าใช่ มันก็ เป็ นการประจญ ล่อลวงเราคริสตชนนัน่ เอง - การติดตามพระเยซูไม่ใช่การแสวงหาอํานาจที่สงู ขึ้น การติดตามพระเยซูไม่ใช่ "อาชีพ" แต่การติดตามพระเยซูคือการแบกกางเขน - ประวัติศาสตร์ของพระศาสนจักรเต็มไปด้วยเรื่องเหล่านี้ (การแสวงหาอํานาจใน พระศาสนจักร) เริ่มตัง้ แต่จกั รพรรดิบางคนและผูค้ มุ กฎมากหน้าหลายตาใช่หรือไม่? พ่อจะ ไม่กล่าวถึงมากนะ แต่ก็อย่างว่า มันมีพระสังฆราช พระสงฆ์ บางองค์ดว้ ยใช่หรือไม่ (ที่ทาํ แบบนัน้ ) ? บางคนบอกว่าคนแบบนี้มีเยอะ แต่มนั ก็เป็ นพวกที่คิดว่าการติดตามพระเยซูคือ อาชีพนัน่ แหละ -ในอดีต มีบางคนต้องการให้ลกู หลานมีตาํ แหน่งสูงๆ ในพระศาสนจักร คริสตชนที่คิด แบบนี้คือคนที่ถกู ล่อลวงด้วยจิตทางโลก พวกเขาคิดว่าการติดตามพระเยซูเป็ นสิ่งดี เพราะ มัน สามารถเป็ นอาชี พ ให้พ วกเขาได้ พวกเขาจึ ง ทํา มัน ต่อ ไป แต่ก ารทํา แบบนี้ ไม่ใ ช่จิ ต วิญญาณแท้จริง คริสตชนต้องติดตามพระเยซูดว้ ยความรักหมดใจ - ตัวอย่างชัดเจนของแบบอย่างที่ดีคือ "คุณแม่เทเรซาแห่งกัลกัตตา" ท่านเป็ นสตรีที่ งดงาม ทํา สิ่ ง ดี ม ากมายให้กับ ผูอ้ ื่ น ... เอาล่ะ จํา ไว้น ะว่ า การติ ด ตามพระเยซ ู ต้อ ง ติดตามด้วยรักหมดใจ เดินตามพระองค์ตลอดเส้นทาง ขอบคุณข้ อมูลจาก Pope Report 7
จากนิตยสาร Kids&Family มีนาคม 2548
วันนี้ก็เหมือนกับวันอื่นๆ ช่างทําผมได้รับโทรศัพท์จากลูกค้าประจํา เธอแจ้ง ว่าจะมาทําผมเพราะมีงานสําคัญตอนเย็น เมื่อเธอมาตามนัด ช่างได้ทาํ ผมให้เธอด้วย ความใส่ใจเช่นเคย เขาสนทนากับกับเธออย่างเป็ นกันเอง หัวเราะและสัมผัสเธออย่าง นุ่มนวล เขายังชมเธอด้วยว่ าวันนี้เธอสวยมาก หลังจากทําผมเสร็ จ เธอก็ ยิ้มและ ขอบคุณเขา เขาตกใจเมื่อได้รับจดหมายจากหญิงผูน้ ั้นไม่กี่วันต่อมา เธอเขียนมาเล่าว่า งานสําคัญที่เธออยากให้ตนเองดูสวยเป็ นพิเศษที่แท้ก็คืองานศพของเธอเอง เธอตัง้ ใจ ว่าจะฆ่าตัวตายเย็ นวันนัน้ แต่หลังจากได้นงั ่ ทําผมกับเขาเธอก็ เปลี่ยนใจ เมตตาและ ุ ค่าน่า ความอ่อนโยนของเขาทําให้เธออยากมีชีวิตอยู่ต่อไป เธอรูส้ ึกว่าชีวิตยังมีคณ รักษาเอาไว้ ช่างทําผมผูน้ นั้ ไม่ได้ทาํ อะไรเป็ นพิเศษเลย เขาทําอย่างนี้กับลูกค้าทุกคน แต่ ประสบการณ์ครัง้ นัน้ ทําให้เขาตระหนักว่า งานของเขาไม่ใช่แค่การตกแต่งผมให้สวยดู ดีเท่านัน้ หากเป็ นงานที่ช่วยให้ผคู้ นมีความสุขมากขึน้ มันไม่ได้เป็ นแค่อาชีพเพื่อสร้าง รายได้ให้ตนเองเท่านัน้ หากยังสามารถทําให้แต่ละวันเป็ นวันพิเศษสดใสของคนหลาย คน ยิ่งกว่านัน้ มันยังสามารถเปลี่ยนชีวิตของคนบางคน มีพลังใจที่จะอยู่ตอ่ ไปในโลกนี้ อย่างมีความหมาย เคล็ดลับนัน้ ไม่ได้อยู่ที่เทคนิคการทําผมหรือศิลปะการพูด แต่อยู่ที่ความใส่ใจ และความเอื้ออาทรของเขา และที่มองข้ามไม่ได้ก็คือความสุขเมื่อได้ทาํ งานที่ตนเองรัก เมื่อมีความสุขเต็มเปี่ ยมอยู่ภายใน คําพูดและสัมผัสอันอ่อนโยนก็ เกิดขึ้นตามมาดุจ ดอกไม้ที่ผลิบานจากลําต้นและรากที่มนี าํ้ หล่อเลี้ยง แม้เป็ นแค่ช่างทําผมแต่เขาก็สามารถเปลี่ยนชีวิตของคนบางคน และสร้างวัน ใหม่ให้แก่หลายคนได้โดยไม่ได้ทาํ อะไรพิเศษเลยนอกจากการทํางานตามปกติ นัน่ เป็ น เพราะเขาทํางานของตนเองอย่างดีที่สดุ เพียงแค่เป็ นช่างทําผมให้ดที ี่สดุ ก็สามารถเติม แต่งโลกและสร้างสรรค์ชวี ิตให้งดงามได้ 8
หลังรับศีลมหาสนิท ชีวติ ของเราจึงต้องสะท้อนความเป็ นพระเยซูเจ้า ทุก แห่ง ทุกเวลา และกับทุกคน ไม่ใช่ปล่อยให้ชวี ติ เหมือนเดิมเมือ่ จบพิธบี ชู ามิสซา... ตัวอย่าง “ความรู้สึกนึ กคิ ดและจิ ตใจ” ของพระเยซูเจ้าที่พระวรสาร วันนี้กล่าวถึงคือ 1. พระองค์ทรงมีเวลาให้ผ้อู ื่นเสมอ ลูกาเล่าว่า “เมือ่ บรรดาอัคร สาวกกลับ มา (จากการประกาศข่า วดีแ ละรัก ษาโรค) แล้ว เขาทูล ทุ ก สิง่ ทีไ่ ด้ กระทําแด่พระเยซูเจ้า พระองค์จงึ ทรงพาเขาไปด้วย ทรงปลีกพระองค์ไปยังเมือง ทีม่ ชี อื ่ ว่าเบธไซดา” (ลก 9:10) สิง่ ที่พระองค์ต้องการและพยายามปลีกตัวไปแสวงหาคือความ สงบ และความเป็ นส่วนตัวตามลําพังกับบรรดาอัครสาวก เราจะรูส้ กึ อย่างไร หากกําลังอยู่ตามลําพังกับเพื่อนสนิท แล้วถูก เจ้านายตามตัว หรือกําลังง่วนอยูก่ บั งานเพราะกลัวว่าจะเสร็จไม่ทนั กําหนด แล้ว มีคนมารบกวน มาขอความช่วยเหลือ ฯลฯ ? แน่นอนเราย่อมรูส้ กึ หงุดหงิด และไม่พอใจเป็ นอย่างยิง่ แต่พระเยซูเจ้า เมื่อถูกประชาชนติดตามไปรบกวนความสงบถึง เมืองเบธไซดา แทนทีจ่ ะแสดงอาการหงุดหงิด พระองค์กลับ “ต้อนรับเขาและตรัส สอนเขาเรือ่ งพระอาณาจักรของพระเจ้า ทรงรักษาคนทีต่ อ้ งการการบําบัดรักษา” (ลก 9:11) อีกทัง้ ทรงห่วงใยปากท้องของพวกเขาจนต้องตรัสสังบรรดาศิ ่ ษย์ว่า “ท่านทัง้ หลายจงหาอาหารให้เขากินเถิด” (ลก 9:13) นี่คอื พระเยซูเจ้า !! เมื่อมีผู้เดือดร้อนและต้องการความช่วยเหลือ ไม่มคี ําว่า “ไม่มี เวลา” สําหรับพระองค์ 2. พระองค์ทรงเอาพระทัยใส่ร่างกายของมนุษย์ นับเป็ นเรื่อง น่าพิศวงอย่างยิง่ ทีพ่ ระองค์ทรงใช้เวลามากมาย ไม่ใช่เพือ่ “พูด” แต่เพือ่ เยียวยา ความเจ็บปว่ ยและบรรเทาความหิวโหยของเรามนุษย์ 5
ไม่ ว่า เราจะอธิบ ายแบบใดก็ต าม สิง่ ทีเ่ กิด ขึ้น คือ “อัศ จรรย์” อย่ า ง แน่นอน ! ทีส่ ดุ เมือ่ ทรงทําอัศจรรย์ทวีขนมปงั เลีย้ งประชาชนจํานวนมากแล้ว พระ เยซูเจ้าตรัสว่า “เราเป็ นปงั ทรงชีวติ ทีล่ งมาจากสวรรค์ ใครทีก่ นิ ปงั นี้จะมีชวี ติ อยู่ ตลอดไป และปงั ทีเ่ ราจะให้น้ ีคอื เนื้อของเราเพือ่ ให้โลกมีชวี ติ ... ผูท้ กี ่ นิ เนื้อของ เรา และดืม่ โลหิต ของเรา ก็ม ีช ีว ิต นิ ร นั ดร เราจะทํา ให้เ ขากลับ คืน ชีพ ในวัน สุดท้าย” (ยน 6:51,54) แสดงว่าพระเยซูเจ้าทรงปรารถนาให้อศั จรรย์ทวีขนมปงั เลีย้ งประชาชน เป็ นรูปแบบถึง “ปังทรงชี วิต” ทีพ่ ระองค์ทรงมอบ “เนื้ อ” และ “โลหิ ต” ของ พระองค์เองเพือ่ ทําให้เรามีชวี ติ นิรนั ดร การสมโภชวัน นี้ จึงเป็ นการเฉลิม ฉลองอัศจรรย์ทพี ่ ระองค์ท่า นทรง ประทานป งั ทรงชีว ิต นัน่ คือ พระวรกายและพระโลหิต ของพระองค์เ อง เพือ่ บันดาลชีวติ นิรนั ดรแก่เรา ทุกวันนี้ เรารับพระวรกายและพระโลหิตของพระเยซูเจ้าใน ศี ล มหา สนิ ท เนื่องจาก “พระวรกาย” และ “พระโลหิ ต” คือองค์ประกอบสําคัญทีท่ าํ ให้พระเยซูเจ้าเป็ นพระเยซูเจ้า การรับศีลมหาสนิทจึงต้องเป็ นการรับพระเยซู เจ้าทัง้ ครบ นันคื ่ อ เราไม่เพียงรับพระวรกายและพระโลหิตของพระองค์เข้ามาในตัว เราเท่านัน้ แต่เรายังต้องรับ “ความรู้สึกนึ กคิ ด ความปรารถนา แนวทาง ดําเนิ นชีวิต และทุกสิ ง่ ทุกอย่างทีท่ าํ ให้พระองค์เป็ นพระเยซูเจ้า” เข้ามาใน ชีวติ ของเราด้วย ดังนัน้ การรับศี ลมหาสนิ ทจึงต้ องทําให้ เราละม้ายคล้ายพระองค์ มากขึ้นทุกวัน เพือ่ เราจะได้มีชีวิตนิ รนั ดรเหมือนพระองค์
4
เป็ นอะไรก็ตามขอให้เป็ นอย่างดีที่สดุ แต่จะเป็ นอะไรก็แล้วแต่ตอ้ งไม่ลืมเป็ นตัว ของตัวเองให้ดีที่สดุ ด้วย เราไม่อาจเป็ นช่างทําผมหรือผูจ้ ัดการอย่างที่สดุ ได้เลยหาก เราไม่ร จู้ ักเป็ นตัวของตัวเองเป็ นเบื้ อ งต้น เป็ นตัวของตัวเองมิได้หมายถึ ง ทําอะไร ตามใจตนเอง โดยไม่ตอ้ งสนใจคนอื่น แต่หมายถึ งการค้นพบศักยภาพของตนเอง แล้วพัฒนาให้เต็มที่ พร้อมๆ กับนําออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด เมล็ ด พันธุ์ท กุ เมล็ ดมีศั กยภาพที่ จ ะงอกงามเป็ นต้น ไม้ซึ่ งเพี ยบพร้อ มด้ว ย คุณสมบัติตามแบบฉบับของตนฉันใด มนุษย์ทกุ คนก็ มีศักยภาพที่จะพัฒนาสู่ความ เป็ นเลิศตามแบบฉบับของตนฉันนัน้ ดังนัน้ แทนที่จะคิดอยากเป็ นเหมือนคนอื่น เราหัน มาเป็ นตัวเราเองให้ดที ี่สดุ จะดีกว่า ของที่กอ๊ ปปี้ มานัน้ ทําให้ดอี ย่างไรก็สตู้ น้ แบบไม่ได้ เป็ นตัวของตัวเองไม่ได้มีความหมายแค่ทาํ งานที่ตนรักหรือมีอาชีพที่ตนถนัด เท่านัน้ หากหมายถึงการทําด้วยหัวใจ จากส่วนที่ดีที่สดุ ภายใน โดยไม่พะวงกับกรอบ ที่ สัง คมกํา หนดขึ้น รวมทั้ ง ไม่ ส นใจรางวั ล หรื อ บทลงโทษที่ จ ะตามมา ไอน์ส ไตน์ และปิ กัสโซ่สามารถบรรลุถึงความเป็ นเลิศแห่งศาสตร์และศิลป์ ของตนได้เพราะกล้า แหวกกรอบความคิดที่แวดวงของตนสร้างขึ้น เขาทําสําเร็ จได้เพราะทําด้วยหัวใจ ด้วยศักยภาพภายในที่เบ่งบานอย่างเต็มที่ เมื่อความคิด คําพูด และการกระทํากลัน่ จากหัวใจ ทุกอย่างก็ลื่นไหล ชีวิตก็ ลงตัว แต่ถา้ ไปพะวงกับกรอบเกณฑ์ ก็อาจสะดุดหรือเกิดขลุกขลักขึน้ มา ชายคนหนึ่ง บ่นว่า “ผมเป็ นลุงที่หลานๆ ชื่นชม แต่รสู้ ึกผิดหวังมากเมื่อมาเป็ นพ่อ” เขาเป็ นลุงที่ วิเศษก็เพราะเขาสัมพันธ์กบั หลานๆ ด้วยหัวใจ ไม่พะวงกับอะไร แต่พอมาเป็ นพ่อคน เขารูส้ ึกว่ามี “หน้าที่” และ “บทบาท” บางอย่างที่ตอ้ งทํา แต่หน้าที่และบทบาท ดังกล่าวไม่สอดคล้องกับสิ่งที่เขาเป็ น การพยายามทําตัวให้เข้ากับกรอบดังกล่าว ทําให้เขาไม่สามารถเป็ นตัวของ ตัวเองเมื่ออยู่กบั ลูก ปฏิสมั พันธ์ที่เขามีกบั ลูกนัน้ ไม่ใช่ “ตัวเขา” มันไม่ได้ออกมาจาก หัวใจหรือธรรมชาติภายในของเขา ผลก็คือเกิดความขัดแย้งขึน้ มาทัง้ ในตัวเขาและกับ ลูก
เราเห็นตัวเองในกระจกทุกเช้าเย็น แต่สว่ นที่ลึกลงไปภายในใจนัน้ เราเห็ นบ้างหรื อเปล่า และสิ่งที่ดีที่สดุ ในตัวเราล่ะ พบหรื อยัง? คนที่ ตอบได้ดที ี่สดุ ไม่ใช่ใคร แต่คือคนที่อยูห่ น้ากระจกนัน่ เอง !! 9
มิสซาสมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้ า (ปี C) วันอาทิตย์ ที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 2013 วัน เดือน ปี ส. 1 มิ.ย. 18.00 น.
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เริ งจิต ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ ปภาวิชญ์ อลิซาเบธ อารี ย ์ สังขพงษ์ อมรา สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง วรัญญ์นิช อา. 2 มิ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ และครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ ครอบครัวพันธุมจินดา, ครอบครัวสิ งหฬ สุ ดารัตน์/บุญญรัตน์ ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ ณัฐวรรณ ครอบครัวสุ ทธิโอภาส, ครอบครัวบรรณสกุล ณัฐวรรณ ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวเพียรช่างคิด ณัฐวรรณ ครอบครัวลิ้มจิตรกร, ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์ ณัฐวรรณ อุทศิ แด่ ยอแซฟ ภิรมย์, มารี อา โยเซฟิ น รัตนา พันธุมจินดา สุ ดารัตน์ ยวง พิสิษฐ์ พันธุมจินดา, คุณสมถวิล, คุณขจรเกียรติ สุ ดารัตน์ คุณวิรัช, คุณลําดวน พุทธโกษา สุ ดารัตน์ เซบัสติโน การุ ณย์ วงศ์ธานี สุ ดารัตน์ ยวง บัปติสตา สิ น, มารี อา เลียบ สิ งห์สา บุญญรัตน์ อันนา บุญมา ซื่ อตรง บุญญรัตน์ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั คค.ธนาพานิชย์ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน คค.อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน, มารี อา มยุรี ผลาวงศ์ คค.อุชชิน มัทธิว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต, Thomas Adams คค.อุชชิน บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์
10
แปลว่า ไม่มที างทีพ่ ระองค์จะยอมรับประทานอาหารโดยไม่ขอบพระคุณ พระเจ้าผูท้ รงประทานทุกสิง่ ทีด่ แี ก่เราเสียก่อน ! บรรดารับ บีถึง กับ สอนว่า “ผู้ทีย่ ิน ดีก บั สิง่ หนึ ง่ สิง่ ใดโดยปราศจากการ ขอบพระคุณ เขากําลังขโมยสิง่ นัน้ จากพระเจ้า” ข้อสังเกตอีกประการหนึ่งคือ หลังจากกล่าวถวายพระพรแล้ว พระเยซูเจ้า ทรงบิขนมปงั (ยกเว้นยอห์นทีไ่ ม่กล่าวถึง) และแจกจ่ายให้แก่ประชาชนทันที โดยไม่มฉี บับใดเลยทีอ่ ธิบายว่าพระองค์ทรงทวีขนมปงั อย่างไร เมื่อเป็ นเช่นนี้ เราจึงอาจอธิบายการทวีขนมปงั ของพระองค์ได้อย่างน้อย 2 แนวทางด้วยกัน คือ 1. พระองค์ ท รงทํ า “อัศ จรรย์ ” ตามตัว อัก ษร คือ ทรงทํ า สิ่ง ที่อ ยู่ นอกเหนือธรรมชาติ ซึง่ มนุ ษย์ทวไปไม่ ั่ อาจกระทําหรือเข้าใจได้ เว้นแต่จะได้รบั พระพรพิเศษจากพระเจ้า ดังเช่นในกรณีน้ีทพ่ี ระองค์ทรงเพิม่ ขนมปงั และปลา จํานวนน้อยนิดเพือ่ เลีย้ งประชาชนจํานวนมากมาย 2. เบธไซดาเป็ นเมืองที่ปลอดผู้คนจนพระเยซูเจ้าทรงเลือกใช้เป็ น สถานที่สําหรับปลีกพระองค์เพื่ออยู่ตามลําพังกับบรรดาอัครสาวก (ลก 9:10) แน่ นอนว่าประชาชนทีต่ ดิ ตามพระองค์ย่อมต้องนํ าอาหารติดตัวไปด้วยยามต้อง เดินทางไปในสถานทีเ่ ปลีย่ วเช่นนี้ (ลก 9:12) แต่สาเหตุทพ่ี วกเขายังคงหิวอาจเป็ นเพราะ “ความเห็นแก่ตวั ” ไม่ ยอมนําอาหารของตนออกมากินด้วยเกรงว่าจะต้องแบ่งปนั ให้คนรอบข้าง และทํา ให้สดั ส่วนของตนลดน้อยลง เมื่อประชาชนเห็นอัครสาวกนําขนมปงั ห้าก้อนและปลาสองตัวมา มอบให้พระเยซูเจ้าและพระองค์ทรงเริม่ แจกจ่ายแก่ผูอ้ ่นื จิตใจของพวกเขาเริม่ เปลีย่ นไป พวกเขานํ าสิง่ ทีต่ นมีออกมาแบ่งปนั กันจนกระทัง่ “ทุกคนได้กนิ จนอิม่ แล้วยังเก็บเศษทีเ่ หลือได้สบิ สองกระบุง” (ลก 9:17) เท่ากับว่าพระเยซูเจ้าทรงทํา “อัศจรรย์” เปลีย่ น “ความเห็นแก่ตวั ” ของคนให้เป็ น “ความรักต่อเพือ่ นมนุษย์” 3
สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้ า (ปี C)
ลก 9:11ข-17
การทวีขนมปงั เพือ่ เลีย้ งประชาชนจํานวนมากเป็ นเพียงอัศจรรย์เดียวทีม่ ี บันทึกไว้ในพระวรสารทุกฉบับ (มธ 14:13; มก 6:30; ลก 9:11; ยน 6:1) แต่ละ ฉบับกล่าวถึงการทวีขนมปงั ของพระเยซูเจ้าไว้ดงั นี้ มัทธิว - “ทรงรับขนมปงั ห้าก้อนกับปลาสองตัวขึ้นมา ทรงแหงนพระ พักตร์ข้นึ มองท้องฟ้า ทรงกล่าวถวายพระพร ทรงบิขนมปงั ส่งให้บรรดาศิษย์ไป แจกแก่ประชาชน” มาระโก - “พระองค์ทรงรับขนมปงั ห้าก้อนกับปลาสองตัวขึ้นมา ทรง แหงนพระพักตร์ข้นึ มองท้องฟ้า แล้วทรงกล่าวถวายพระพร ทรงบิขนมปงั ส่งให้ บรรดาศิษย์ไปแจกจ่ายให้กบั ประชาชน” ลูกา - “พระเยซูเจ้าทรงรับขนมปงั ห้าก้อนกับปลาสองตัวนัน้ มา ทรง แหงนพระพัก ตร์ข้นึ มองท้อ งฟ้า ทรงกล่าวถวายพระพร ทรงบิขนมป งั ส่งให้ บรรดาศิษย์นําไปแจกจ่ายแก่ประชาชน” ยอห์น - “พระเยซูเจ้าทรงหยิบขนมปงั ขึน้ ทรงขอบพระคุณพระเจ้า แล้ว ทรงแจกจ่ายให้แก่ผทู้ นี ่ งอยู ั ่ ต่ ามทีเ่ ขาต้องการ” จะเห็นว่าสาระสําคัญทีม่ เี หมือนกันทุกฉบับคือ พระเยซูเจ้าทรง “กล่าว ถวายพระพร” ก่อน “แจกจ่าย” ขนมปงั แก่ประชาชน 2
วัน เดือน ปี อา 2 มิ.ย. 08.00 น.
รายการมิสซา อุทศิ แด่ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณโถ เพียรช่างคิด คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสต์ เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา 2 มิ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน หลุยส์ พีรดนย์ พลินบดินทร์ ชยั โซเฟี ย ธิดาภรณ์ กิจเจริ ญ ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว คุณวรพจน์ ตันตะกุล นายแพทย์วทิ ิต อรรถเวชกุล และครอบครัว แมรี่ มิเชล ณัฏฐา ประดิษฐ์ศิลป์ อุทศิ แด่ เซซี ลีอา สุ รัตน์ ชาตรี โยเซฟ พยนต์, มารี อา โรซา โพธิ์ ทอง เทเรซา ศุภภรณ์ ฉวีนิรมล เปาโล พิชยั , มารี อา มาริ นทร์ เจริ ญเสรี ซูซานนา สุ นา พจน์ปฏิญญา ยออันนา ผัน คิ้มแหน ยอแซฟ มนู บุศยเพศ, คุณมาโนช บุศยเพศ หลุยส์ พิชยั เจริ ญสุ ข ยอห์น บัปติสต์ มณี , มารี อา เทเรซา สุ มาลี กิจนิตย์ชีว์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึ กถึง จ. 3 มิ.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ อ. 4 มิ.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ พ. 5 มิ.ย. อุทศิ แด่ คาทารี นา ริ รินทร์ จิระดํารง พฤ.6 มิ.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ ศ. 7 มิ.ย. อุทศิ แด่ มาริ นนา ลิลลี่ รุ่ งเรื อง
ผู้ขอมิสซา ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ ณัฐวรรณ คค.ธนาพานิชย์ อดิสยั สุ นนั ท์ อัญชลี สุ ดา ศิริพร ประสบ อดิสัย ณัฐวรรณ อมรา อมรา 11
วันอาทิตย์น้ ี (2 มิถุนายน) เป็ นวันสมโภชพระวรกายและพระโลหิ ตพระคริ สต เจ้า สมณสภาเพื่อการส่ งเสริ มการประกาศข่าวดีแบบใหม่ ได้กาํ หนดให้เป็ นวันเฝ้ าศีล มหาสนิ ท อย่ า งสง่ า พร้ อ มกั น ทั่ว โลกในโอกาสปี แห่ ง ความเชื่ อ โดยสมเด็ จ พระ สันตะปาปาฟรังซิ สจะทรงเป็ นประธานในการเฝ้ าศีลมหาสนิ ทอย่างสง่า ณ มหาวิหาร นักบุญเปโตร วัดแม่ พระกุหลาบทิพย์ จึงขอเชิ ญชวนสั ตบุรุษทุกท่ านร่ วมเฝ้ าศี ลมหา สนิทอย่ างสง่ า เวลา 9.00 – 10.00 น. (หลังมิสซาเช้ าจนถึงเริ่มมิสซาสาย) และร่ วมแห่ ศีล มหาสนิทหลังมิสซาสายโดยพร้ อมเพรียงกัน ปี นี้ วันฉลองครบรอบ 12 ปี ของวัดเราตรงกับวันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม ศกนี้ โดยมีพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรี ยงศักดิ์ โกวิทวาณิ ช เป็ นประธานพิธี ขอเชิญผูม้ ีจิตศรัทธาทุกท่านมีส่วนร่ วมในงานฉลองวัดปี นี้ ด้วยการ ร่ วมบริ จาคปัจจัย อาหาร ดอกไม้สาํ หรับถวายแม่พระ ฯลฯ ร่ วมเป็ นอาสาสมัครฝ่ ายต่าง ๆ ในการจัดเตรี ยมงาน โปรดแจ้งความจํานงได้ที่แผนกรับบริ จาคเพื่องานฉลองวัด ณ ศาลาปี ติการุ ณย์ และขอขอบคุณพี่นอ้ งล่วงหน้ามา ณ ที่น้ ี “คําสอนผูใ้ หญ่ รุ่ นปี 2013” เปิ ดเรี ยนทุกวันอาทิตย์ เวลา 13.00-15.00 น. ณ ห้อง 23-24 อาคารสํา นัก งานวัด ชั้น 2 ขอเชิ ญผูส้ มัค รเรี ย นและผูส้ นใจทุ ก ท่ า นพบกัน ที่ ห้องเรี ยนตามวัน-เวลาดังกล่าว
ฉบับที่ 477 วันอาทิตย์ที่ 2 มิถนุ ายน ค.ศ. 2013
สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้ า (ปี C)
ทรงกล่ าวถวายพระพร ทรงบิขนมปัง ส่ งให้ บรรดาศิษย์ นําไปแจกจ่ ายแก่ประชาชน ลก 9:16
12