สารวัดแม่พระกุหลาบทิพย์

Page 1

ฉบับที่ 438 วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน ค.ศ. 2012

ฉบับที่ 438 วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน ค.ศ. 2012

สั ปดาห์ ที่ 22 เทศกาลธรรมดา (ปี B)

สั ปดาห์ ที่ 22 เทศกาลธรรมดา (ปี B)

สิ่งที่ออกมาจากภายในของมนุษย์นัน้ แหละ ทาให้เขามีมลทิน

สิ่งที่ออกมาจากภายในของมนุษย์นัน้ แหละ ทาให้เขามีมลทิน

มก 7:15

มก 7:15


สั ปดาห์ ที่ 22 เทศกาลธรรมดา (ปี B) มก 7:1-8,14-15,21-23

พระวรสารวันนี้บ่งบอกเงือ่ นปมของ “ความขัดแย้ง” ระหว่างพระเยซูเจ้ากับ บรรดาฟาริสแี ละธรรมาจารย์ซง่ึ เป็นผูน้ าทีเ่ คร่งศาสนาได้อย่างชัดเจน พวกเขาถามพระองค์ว่า “ทำไมศิษย์ของท่ำนไม่ปฏิบตั ติ ำมขนบธรรมเนียม ของบรรพบุรษุ ” (มก 7:5) ในเมื่อประเด็นของพวกเขาคือ “กำรไม่ปฏิบตั ติ ำมขนบธรรมเนียมของบรรพ บุรุษ” เราจึงควรศึก ษาว่า “ขนบธรรมเนียมของบรรพบุรุษ ” คืออะไร และอะไรคือ แรงจูงใจทีท่ าให้พวกเขาปฏิบตั ติ าม “ขนบธรรมเนียมของบรรพบุรษุ ” อย่างเคร่งครัด แรกเริม่ เดิมทีเมื่อพูดถึง “ธรรมบัญญัต”ิ ชาวยิวหมายถึง 2 สิง่ คือ บัญญัตสิ บิ ประการ และหนังสือห้าเล่มแรกของพระธรรมเก่าซึง่ เรียกกันว่า “ปญั จบรรพ” ั จบรรพมีก าหนดกฎเกณฑ์แ ละค าแนะน าที่ล งใน จริง อยู่ ท่ีใ นหนั ง สือ ป ญ รายละเอียดแบบหยุมหยิมอยู่จานวนหนึ่ง แต่ในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับศีลธรรมจะเป็ น เพียง “หลักการ” กว้าง ๆ ทีแ่ ต่ละคนต้องตีความและประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ของตนเอง เป็ นเวลานานที่ชาวยิวพอใจดาเนินชีว ิตตามหลักศีลธรรมกว้าง ๆ แบบนี้ จนกระทังประมาณ ่ 4-5 ศตวรรษก่อนพระเยซูเจ้า ได้มผี เู้ ชีย่ วชาญกฎหมายกลุ่มหนึ่ง ซึง่ เรียกตัวเองว่า “ธรรมำจำรย์” เห็นว่าหลักการกว้าง ๆ เหล่านี้จาเป็ นต้องได้รบั การ นิยามความหมายให้ชดั เจนและต้องขยายความให้ครอบคลุมทุกแง่ทุกมุมของชีวติ ผลลัพธ์ท่ไี ด้ค ือระเบียบข้อบังคับนับพันนับหมื่นข้อ ที่ส ืบทอดต่อ ๆ กันมา ด้วยปากเปล่า (Oral Law) กลายเป็นสิง่ ทีพ่ ระวรสารวันนี้เรียกว่า “ขนบธรรมเนียม 2

วัน เดือน ปี อา 2 ก.ย. 10.00 น.

รายการมิสซา สุ ขสาราญ ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, ครอบครัวลิ้มจิตรกร ทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ เปาโล ซ่งอู๋ แซ่ต้ งั อักแนส อาเซี้ยม มารธา เซียมเง็ก ยอแซฟ ตัง่ เส่ง อาคาทา จังเฮียง มารี อา ไช่ยหมวย เปาโล จัง่ ไห้ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ยว, ยอห์น ประมวล ไพรพฤกษ์ คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาทรกิจ มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ผูล้ ่วงลับครอบครัวสาทรกิจและธนะสาร วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง จ. 3 ก.ย. อุทศิ แด่ เปาโล ซ่งอู๋ แซ่ต้ งั อ. 4 ก.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชาระ พ. 5 ก.ย. อุทศิ แด่ คาทาลีนา ริ รินทร์ จิระดารง พฤ.6 ก.ย. สุ ขสาราญ โรซา สุวภัทร รังษีบวรกุล ศ. 7 ก.ย. อุทศิ แด่ มาริ นนา ริ รินทร์ จิระดารง

ผู้ขอมิสซา ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ณัฐวรรณ -

-

11


มิสซาสั ปดาห์ ที่ 22 เทศกาลธรรมดา (ปี B) วันอาทิตย์ ที่ 2 กันยายน ค.ศ. 2012 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 1 ก.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ คค.กรองทอง มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว 18.00 น. อุทศิ แด่ สตีเฟน จารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช เอลีซาเบธ อารี สังขพงษ์ อมรา อันตน สาเริ ง โกญจนาท เริ งจิต ยอห์น ประมวล ไพรพฤกษ์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง คค.กรองทอง อา. 2 ก.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ ซัน่ ยู ้ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ โรซา ขวัญหทัย จิตติวฒั น์ อุทศิ แด่ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ต้ งั คค. ธนาพานิชย์ คุณเกษมศรี เกษมสุข ยอแซฟ ประยูร อนาชัย, คุณจงจิต อนาชัย Patricia Lindquist ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ วิภาวินี บรรพบุรุษและผูล้ ่วงลับครอบครัวธนาพานิชย์ คค. ธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง คค. ธนาพานิชย์ อา. 2 ก.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน คุณเพ็ญสิ ริ ชินการุ ญ เทเรซา วิมล เกียรติชยั วัฒน์ ครอบครัวสุทธิโอภาส, ครอบครัวรัตนบรรณสกุล ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ, ครอบครัวแสงแพ ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวเพียรช่างคิด 10

ของบรรพบุรุษ” ซึง่ ต่อมาราวศตวรรษที่สามจึงได้รบั การบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ในหนังสือทีเ่ รียกว่า Mishnah “ขนบธรรมเนียมของบรรพบุรุษ ” ที่พวกเขายกมาเป็ นประเด็นโต้เถียงกับ พระองค์ในวันนี้คอื “การล้างมือ” ชาวยิวต้องล้างมือก่อนและระหว่างกินอาหารโดยมีวตั ถุประสงค์หลัก มิใช่เพื่อ ความสะอาดหรือ สุ ข อานามัย ที่ดี แต่ เ พราะ “ขนบธรรมเนี ย มของบรรพบุ รุษ ” กาหนดให้พวกเขาต้องล้างมือ “ตามพิธ”ี ซึง่ กาหนดไว้อย่างละเอียดยิบและเคร่งครัด น้ าสาหรับทา “พิธลี ้างมือ ” ต้องสะอาดตามกฎ บรรจุในไหหินขนาดใหญ่ ท่ี เตรียมไว้เป็นพิเศษ มีฝาปิดมิดชิด ปราศจากสิง่ อื่นเจือปน และสงวนไว้สาหรับพิธลี า้ ง มือเท่านัน้ จะใช้เพื่อการอื่นมิได้ พิธลี า้ งมือเริม่ ด้วยการยกมือให้น้วิ ชูขน้ึ ด้านบน แล้วใช้น้าปริมาณเท่ากับความ จุข องไข่ไ ก่ ห นึ่ ง ฟองครึ่ง รดจากปลายนิ้ ว ให้ไ หลลงมาจนถึง ข้อ มือ เป็ น อย่ า งน้ อ ย ั้ ขณะที่มอื ทัง้ สองยังเปี ยกอยู่ ให้ทาความสะอาดมือแต่ละข้างโดยใช้กาปนของมื อข้าง หนึ่งถูกบั ฝา่ มือของอีกข้างหนึ่งไปมาสลับกันเพื่อให้สงิ่ สกปรกจาพวกทราย กรวด และ ปูนขาวหลุดออกไป ต่อจากนัน้ ให้ยกมือโดยนิ้วชีล้ งด้านล่าง แล้วใช้น้ าเท่าเดิมรดจาก ข้อมือให้ไหลลงปลายนิ้ว เป็นอันเสร็จพิธแี ละถือว่ามือสะอาดแล้วตามทีศ่ าสนากาหนด ในสายตาของชาวยิว ผูท้ ล่ี ะเลยไม่ทาพิธลี า้ งมือก่อนกินอาหารถือว่าเป็ นคนไม่ สะอาดต่อหน้าพระเจ้า จะถูกปีศาจโจมตี จะประสบกับความยากจนและความพินาศใน ทีส่ ุด ตามประวัตศิ าสตร์มรี บั บีคนหนึ่งถูกฝงั นอกเมืองเพียงเพราะไม่ได้ทาพิธลี า้ งมือ ก่อนกินอาหารเพียงครัง้ เดียว และยังมีรบั บีอกี คนหนึ่งเกือบอดน้ าตายในคุกของโรมัน เพราะใช้น้าสาหรับดื่มมาทาพิธลี า้ งมือ เขายอมอดน้าตายดีกว่าละเมิดกฎเรือ่ งความสะอาด ! กฎเกณฑ์และจารีตพิธเี หล่านี้คอื “ศาสนา” ของพวกฟาริสแี ละธรรมาจารย์ พวกเขาถือว่า “นีค่ อื การรับใช้พระเจ้า” นอกจากนี้ ใ น มก 7:14 ยัง พูดถึง “ขนบธรรมเนี ย มอืน่ ๆ อีก มาก” ซึ่ง เรา สามารถหาตัวอย่างอ่านได้จากหนังสือเลวีนิตบิ ทที่ 11-15 และหนังสือกันดารวิถบี ทที่ 19 ซึง่ ว่าด้วย “ข้อกาหนดเกีย่ วกับการมีมลทินและไม่มมี ลทิน” เช่น 3


สัตว์ทเ่ี คีย้ วเอื้องแต่ไม่มสี องกีบแยกกัน เช่น อูฐและกระต่ายป่า หรือสัตว์ท่มี ี สองกีบแยกกันแต่ไม่เคี้ยวเอื้อง เช่น หมู ล้วนมีมลทิน เพราะฉะนัน้ ห้ามกินและห้าม สัมผัสซากของมันเด็ดขาด (ลนต 11:4-8) สตรีห ลังคลอดบุ ต ร คนโรคเรื้อ น ผู้ท่ีส ัมผัส ศพ คนต่ า งศาสนา บุค คล เหล่านี้ถอื ว่ามีมลทิน และเมือ่ พวกเขาสัมผัสสิง่ ใด สิง่ นัน้ ย่อมมีมลทินไปด้วย ชาวยิวทีเ่ คร่งครัด “เมือ่ กลับจากตลาด เขาจะไม่กนิ อาหารเว้นแต่จะได้ทาพิธ ี ชาระตัวก่อน” (มก 7:4) ก็เพื่อให้แน่ใจว่าสิง่ มีมลทินทัง้ หลายทีอ่ าจติดตัวมาจากตลาด ได้ถูกกาจัดให้หมดสิน้ ไปแล้ว มก 7:14 ยังกล่าวถึง “การล้างถ้วย จาน ชาม และภาชนะทองเหลือง” เพราะ ภาชนะเหล่ า นี้ ม ีม ลทิน ได้ ง่ า ยมากหากสัม ผัส กับ คนหรือ อาหารที่ม ีม ลทิน จึง จาเป็นต้องล้างให้ถูกต้อง “ตามพิธ”ี อย่างเคร่งครัด ในหนังสือ Mishnah ยังระบุกฎเกณฑ์หยุมหยิมเกี่ยวกับภาชนะต่าง ๆ ไว้อกี มากมายจนน่ าปวดหัว ตัวอย่างเช่น ภาชนะดินเผาซึ่งกลวงจะมีมลทินหากถูกคน หรืออาหารซึง่ มีมลทินสัมผัสจากภายใน แต่ถ้าสัมผัสทีภ่ ายนอกก็จะไม่ทาให้ภาชนะ นัน้ เป็นมลทิน ภาชนะทีม่ มี ลทินต้องทุบให้แตกเป็นเสีย่ งๆ แต่ละเสีย่ งจะมีขนาดใหญ่ จนบรรจุน้ามันมากพอสาหรับเจิมนิ้วเท้าหนึ่งนิ้วไม่ได้ จานอาหารทีม่ ขี อบอาจมีมลทินได้หากสัมผัสกับสิง่ ทีม่ มี ลทิน ส่วนจานอาหาร ทีไ่ ม่มขี อบไม่มที างมีมลทินได้เลยไม่ว่าจะสัมผัสกับอะไรก็ตาม ภาชนะที่ทาด้วยหนังสัตว์ กระดูก หรือแก้ว หากมีลกั ษณะแบนถือว่าไม่ม ี ทางมีมลทิน แต่ถ้ามีลกั ษณะกลวงย่อมมีมลทินได้จากการสัม ผัสสิง่ มีมลทินทัง้ จาก ภายในและภายนอก ไม้ทต่ี ดิ กับภาชนะโลหะอาจมีมลทินได้ แต่โลหะทีต่ ดิ กับภาชนะไม้ไม่มที างมี มลทิน ฯลฯ อีกมากกกกก... จารีตพิธ ี กฎเกณฑ์ และระเบียบมากมายเหลือคณานับเหล่านี้คอื “แก่นแท้ ของศาสนา” สาหรับบรรดาธรรมาจารย์แ ละฟารีส ี ผู้ใ ดละเมิดถือว่าทาบาป ผู้ใ ด ปฏิบตั ติ ามถือว่าเป็น “คนดี” และเป็นผูท้ พ่ี ระเจ้าทรงพอพระทัย 4

งานด้านกิจกรรมและอภิบาล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

งานวันเด็กชุมชน กิจกรรมก้าวไปด้วยกันครัง้ ที่ 1 และ 2 โครงการเที่ยงทิพย์ / สภากาแฟ คริสต์มาสชุมชน เข้าเงียบฟื้ นฟูจิตใจสัตบุรษุ กิจกรรมตรวจสุขภาพ รณรงค์รบั บริจาคสิ่งของช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยนา้ ท่วม จัดอบรมพระคัมภีรเ์ พื่อชีวิต ค่ายคาสอนภาคฤดูรอ้ น คาสอนผูใ้ หญ่เพื่อเตรียมตัวเป็ นคริสตชน จัดห้องเรียนภาษาญี่ปุ่น ร่วมเป็ นแกนนากับเขต 2 จัดอบรมผูน้ าวิถีชมุ ชนวัด

งานจัดทาและเผยแพร่สื่อ 1. 2. 3. 4.

จัดทาซีดีพระคัมภีรเ์ สียง จัดพิมพ์แผ่นพับบทภาวนา จัดพิมพ์พระคัมภีรฉ์ บับพกพา ผลิตและเป็ นศูนย์กลางจัดเตรียมนา้ เสก

โครงการต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ และอีกหลายโครงการที่ไม่ได้กล่าวถึง สามารถ สาเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดีก็เนื่องมาจากการตอบรับของพี่นอ้ งสัตบุรษุ ทุกท่านที่ให้ ความสนใจสนับสนุน ต้องขอขอบพระคุณ คุณพ่อ และพี่นอ้ งสัตบุรษุ ทุกท่านที่ ให้โอกาสและวางใจทีมทางานที่ผ่านมา ขอขอบพระคุณกลุ่มงานต่ างๆ สภาภิ บาลทุกท่าน ตลอดจนอาสาสมัครทุกคน ที่เสียสละแรงกาย แรงทรัพย์ ความคิด และเวลาอันมี ค่า อี กทั้งกาลังใจที่ มีใ ห้แก่กันและกันตลอดมา ขอพระเป็ นเจ้า ประทานบ าเหน็ จ รางวั ลอย่ า งครบบริ บ ูร ณ์ และขอแม่พ ระกุห ลาบทิ พ ย์อ งค์ อุป ถั ม ภ์ข องวั ด เรา โปรดพิ ทั ก ษ์ค มุ้ ครองท่ า นและครอบครั ว ให้พ ้น จากภัย อั น ตรายทั้ ง ปวง เพื่ อ ที่ จ ะเป็ นก าลั ง ส าคั ญ ช่ ว ยกั น พั ฒ นาวั ด ของเราให้ เจริญก้าวหน้ายิ่งขึน้ ต่อไป 9


วัดของเราได้เลือกตัง้ สภาภิบาลชุดใหม่เ สร็จเรียบร้อยแล้ว สภาภิบาลชุด ที่ ด าเนิ น งานอยู่ไ ด้ ห มดวาระลงเมื่ อ วั น ที่ 31 สิ ง หาคม 2012 สภาภิ บ าล ประกอบด้ว ยคณะกรรมการสภาภิบ าล โดยมี ค ณ ุ พ่ อ เจ้า อาวาสเป็ นประธาน สภาภิบาลมีหน้าที่ให้ขอ้ มูล คาปรึกษา และช่วยงานคุณพ่อเจ้าอาวาสในเรื่องต่างๆ รวมถึ งนานโยบายและมติของที่ ป ระชุมมาปฏิ บัติเ พื่ อ ให้เ กิด ประโยชน์แก่พี่ นอ้ ง สัตบุรษุ และความเจริญก้าวหน้าของวัดของเรา ตลอดเวลา 3 ปี ที่ผ่านมา วัดของ เราได้ดาเนินโครงการและกิจกรรมต่างๆ ด้วยความร่วมมือช่วยเหลือจากส่วน ต่างๆ ซึ่งพอจะสรุปได้ดงั นี้

งานด้านอาคารสถานที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 8

ปรับปรุงพื้นที่ /ระบบภาพ /เสียง ในห้องประชุม 23-24 ปั จจุบัน เป็ นห้องสอนคาสอน สารวจและแก้ไขปั ญหาท่อนา้ ใต้ดินรัว่ บริเวณหลังวัดน้อย ปรั บ ปรุง ระบบน ้า ใช้ภ ายในวั ด ให้พ อเพี ย งต่อ การใช้ง านในวั น อาทิตย์ เปลี่ยนไฟสปอทไลท์เป็ นไฟหลอดประหยัดภายในบริเวณวัด ซ่อมแซม / บูรณะวัดโอกาสครบรอบ 10 ปี ปรับปรุงลานหน้าถา้ แม่พระ ปรับภูมิทศั น์ภายในบริเวณวัด ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสานัก งานและต่อเติมห้องครัวบ้านพัก พระสงฆ์ ขยายวัดน้อยส่วนที่ 3 (สุดท้าย) และปรับปรุงระบบภาพ / เสียง ต่อเติมห้องครัวเที่ยงทิพย์และที่ซักล้างหลังวัด ต่อเติมห้องสานักงานวัด / ห้องสมุด / และห้องประชุม ใต้อาคาร วัด ปรับปรุงระบบกุญแจทัง้ หมด ปรับปรุงกางเขนยอดหลังคาวัด

นี ่คื อ จุด แตกหัก ระหว่ า งพระเยซู เ จ้ า กับ พวกฟาริ สี แ ละธรรมาจารย์ เพราะส าหรับ พระองค์ “แก่ น แท้ ข องศาสนาคื อ การรัก พระเจ้ า และรัก เพื อ่ น มนุษย์” ด้วยมุมมองที่แตกต่างกันเช่นนี้ พระองค์จงึ ตอบคาถามของพวกเขาโดยอ้าง คาพูดของประกาศกอิสยาห์ท่กี ล่าวตาหนิประชาชนในสมัยนัน้ ซึ่งนับถือพระเจ้าแต่ ปาก ส่วนหัวใจนัน้ อยูห่ ่างไกลจากพระองค์ยงิ่ นัก (อสย 29:13) พูดง่าย ๆ คือพระองค์ทรงตาหนิพวกเขาว่า “ปากกับใจไม่ตรงกัน” หรือ “คน หน้าซือ่ ใจคด” (มก 7:6) คนหน้ าซื อ่ ใจคด มาจากภาษากรีก hupokrites (ฮูปอครีเตส) เดิมหมายถึง “ผู้ตอบ” แล้วพัฒนาเป็ น “ผู้ตอบเป็ นชุด เป็ นบทสนทนา” ซึ่งได้แก่ “นักแสดง” และ ท้ายที่สุดหมายถึง "ผู้ทใี ่ ช้ชวี ติ เหมือนนักแสดงโดยไม่มคี วามจริงใจหลงเหลืออยู่เลย” ผูใ้ ดก็ตามทีเ่ ห็นศาสนาเป็นเรือ่ งของการถือตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อกาหนด และจารีตพิธตี ่างๆ ทีส่ ุดแล้วก็จะลงเอยแบบเดียวกันคือเป็น “คนหน้าซือ่ ใจคด” เหตุผลคือ เขาเชื่อว่าตนเองเป็ น “คนดี” เพราะได้ ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างครบถ้วนเคร่งครัดแล้ว จึงไม่สนใจว่าความคิดและจิตใจของตนจะเป็นอย่างไร ! นีค่ อื อันตรายใหญ่หลวงทีส่ ุดของการนับถือศาสนาเพียงภายนอก หรือการถือ ว่าความดีคอื การปฏิบตั ติ ามกฎหมายของพระศาสนจักรทุกมาตราและทุกตัวอักษร ! เพราะการไปวัดวันอาทิตย์ การอ่านพระคัมภีร์ การให้ทาน รวมถึงการสวด ภาวนาหาได้เป็ นเครื่องชี้ขาดว่าผู้หนึ่งผู้ใดเป็ น “คนดี” หรือไม่ แต่ ท่าที ของหัวใจที ่ เขามีต่อพระเจ้าและต่อเพือ่ นมนุษย์ต่างหากทีท่ าให้เขาเป็ นคนดีหรือไม่ดี ?! จะมีประโยชน์ อ ะไรหากไปวัดหรือ สวดภาวนาโดยไม่รกั พระเจ้าและเพื่อ น มนุษย์ ? อีกประการหนึ่ง พระเยซูเจ้าทรงตาหนิพวกฟาริสแี ละธรรมาจารย์ว่า “ละเลย บทบัญญัตขิ องพระเจ้า และกลับไปถือขนบธรรมเนียมของมนุษย์” (มก 7:8) นัน่ คือแทนที่จะฟงั พระเจ้า พวกเขากลับสนใจฟงั คาโต้แย้ง ข้อถกเถียง และ เหตุผลตามประสามนุษย์เพื่อตีความและคิดค้นระเบียบกฎเกณฑ์ใหม่ๆ ขึน้ มา 5


แต่ ศ าสนาที แ่ ท้ จ ริ ง อยู่ ที ก่ ารเชื อ่ ฟั ง พระเจ้ า หาใช่ เ ป็ นผลผลิ ต จาก สติ ปัญญาของมนุษย์แต่ประการใดไม่ !!! ลำพังเท่ำที่ก ล่ำวมำนี้ ค ำสอนของพระเยซูเ จ้ำก็ก่ อ ให้เ กิดกำรเปลี่ยนแปลง อย่ำงใหญ่หลวงจนพวกฟำริสแี ละธรรมำจำรย์ยอมรับไม่ได้แล้ว แต่เท่ำนี้ยงั ไม่พอ พระองค์ยงั ทำให้พวกเขำตกตะลึงเพิม่ ขึน้ ไปอีกเมื่อทรงตรัส ว่ำ “ไม่มีสิง่ ใดเลยจากภายนอกของมนุ ษย์ทาให้ เขามีมลทิ นได้ แต่ สิง่ ที อ่ อกมา จากภายในของมนุษย์นัน้ แหละทาให้เขามีมลทิ น” (มก 7:15) แล้วจะมีชำวยิวคนใดยอมรับคำสอนใหม่น้ีได้ เพรำะในสมัยของมัคคำบีเคยมี คนยอมตำยแต่ไม่ยอมกินของมีมลทินมำแล้ว ! เรื่อ งมีอ ยู่ ว่ ำ กษั ต ริย์ ซีเ รีย พระองค์ ห นึ่ ง นำมว่ ำ อัน ทิ โ อคัส เอปี ฟ ำเนส (Antiochus Epiphanes) ต้องกำรทำลำยศำสนำยิวแบบขุดรำกถอนโคน จึงบังคับ ชำวยิวให้กนิ หมูซ่งึ เป็ นสัตว์มมี ลทิน ชำวยิวหลำยร้อยคนยอมถูกประหำรชีวติ แต่ไม่ ยอมละเมิดบัญญัตทิ ำงศำสนำของตน (1 มคบ 1:62-63) ด้วยคำพูดเพียงประโยคเดียวคือ “ไม่มสี งิ ่ ใดเลยจากภายนอกของมนุ ษย์ทาให้ เขามีมลทินได้” พระองค์ทรงลบล้ำงกฎเกณฑ์ท่ชี ำวยิวยึดถือโดยเอำชีวติ เป็ นเดิมพัน มำแล้ว ! แม้อคั รสำวกเองก็ไม่เข้ำใจ (มก 7:17) จนพระองค์ต้องอธิบำยเชิงตำหนิพวกเขำว่ำ “ท่านก็ไม่มปี ญั ญาด้วยหรือ ท่าน ไม่เ ข้าใจหรือว่าสิง่ ต่าง ๆ จากภายนอกทีเ่ ข้าไปในมนุ ษย์นัน้ ทาให้เขามีมลทินไม่ได้ เพราะมันไม่ได้เข้าไปในใจ แต่ลงไปในท้อง แล้วออกไปจากร่างกาย” (มก 7:18-19) นัน่ คือ “อาหารทุกชนิดไม่เป็ นมลทิน ” (มก 7:19) เพรำะเมื่อกินเข้ำไปแล้ว ร่ำงกำยจะย่อยและขับถ่ำยออกไปในทีส่ ุด ประเด็นของพระองค์ค ือ ไม่มอี ำหำรหรือ สิง่ ใดในโลกนี้ท่ี “บริสุ ทธิ”์ หรือ “มี มลทิน” โดยกำรบัญญัตขิ องศำสนำ พูดง่ำย ๆ ก็คอื ศำสนำจะมำกำหนดว่ำ หมู เห็ด เป็ ด ไก่ จำน ชำม รวมถึงไม้ จิม้ ฟนั ยันเรือรบ “บริสุทธิ”์ หรือ “มีมลทิน” ไม่ได้ มีแต่ “คน” เท่ำนัน้ แหละทีส่ ำมำรถ “มีมลทิ น” ได้ ! 6

และสิง่ ที่ทำให้คนมีมลทินได้กค็ อื “กิ จการ” ซึ่งเป็ น “ผลผลิ ตจากจิ ตใจ” ของ เขำแต่ละคนนันเอง ่ !!! พระองค์จ ึง ตรัส ว่ ำ “สิง่ ทีอ่ อกมาจากภายในของมนุ ษ ย์นัน้ แหละท าให้เ ขามี มลทิน” พร้อมกับยกตัวอย่ำงกิจกำรชัวร้ ่ ำยทีอ่ อกมำจำกภำยในและทำให้มนุ ษย์มมี ลทิน ด้วย กิจกำรชัวร้ ่ ำยทัง้ หลำยจะเกิดขึน้ ได้ต้องเริม่ ต้นมำจำกควำมคิดและกำรตัดสินใจ เลือกสิง่ ที่ชวร้ ั ่ ำยเสียก่อน พระองค์จงึ ยกเอำ “ความคิดชัวร้ ่ าย” มำเป็ นสิง่ แรกที่ทำให้ มนุษย์มมี ลทิน มลทินอื่นคือ กำรประพฤติผดิ ทำงเพศ กำรลักขโมย กำรฆ่ำคน กำรมีชู้ ควำม โลภ กำรทำร้ำย กำรฉ้ อโกง กำรสำส่อน ควำมอิจฉำ กำรใส่ร้ำย ควำมหยิง่ ยโส และ ควำมโง่เขลำ ทัง้ หมดที่กล่ ำวมำก็เพื่อ เรียกร้อ งให้เ รำ “ส ารวจจิ ตใจและมโนธรรมอย่ าง จริ ง จัง และตรงไปตรงมาว่ า เรารัก พระเจ้ าและรักเพื อ่ นมนุ ษ ย์เหนื อ สิ ง่ อื น่ ใด หรือไม่ ?!”

ณ วัดน้อย 08.00 น. 08.30 น. 09.30 น. 09.55 น. ณ วัดใหญ่ 08.00 น. 10.00 น.

สวดสายประคา/ บทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า บทภาวนาต่อพระพักตร์ศักดิ์สทิ ธิ์ ตั้งศีลมหาสนิท/ราพึงพระวาจา อวยพรศีลมหาสนิท อัญเชิญพระรูปแม่พระเปนญาฟรานช่าไปยังประตูวัดใหญ่ มิสซาเช้ า มิสซาฉลองแม่พระเปนญาฟรานช่า แห่และถวายช่อดอกไม้ แด่แม่พระเปนญาฟรานช่า 7


แต่ ศ าสนาที แ่ ท้ จ ริ ง อยู่ ที ก่ ารเชื อ่ ฟั ง พระเจ้ า หาใช่ เ ป็ นผลผลิ ต จาก สติ ปัญญาของมนุษย์แต่ประการใดไม่ !!! ลำพังเท่ำที่ก ล่ำวมำนี้ ค ำสอนของพระเยซูเ จ้ำก็ก่ อ ให้เ กิดกำรเปลี่ยนแปลง อย่ำงใหญ่หลวงจนพวกฟำริสแี ละธรรมำจำรย์ยอมรับไม่ได้แล้ว แต่เท่ำนี้ยงั ไม่พอ พระองค์ยงั ทำให้พวกเขำตกตะลึงเพิม่ ขึน้ ไปอีกเมื่อทรงตรัส ว่ำ “ไม่มีสิง่ ใดเลยจากภายนอกของมนุ ษย์ทาให้ เขามีมลทิ นได้ แต่ สิง่ ที อ่ อกมา จากภายในของมนุษย์นัน้ แหละทาให้เขามีมลทิ น” (มก 7:15) แล้วจะมีชำวยิวคนใดยอมรับคำสอนใหม่น้ีได้ เพรำะในสมัยของมัคคำบีเคยมี คนยอมตำยแต่ไม่ยอมกินของมีมลทินมำแล้ว ! เรื่อ งมีอ ยู่ ว่ ำ กษั ต ริย์ ซีเ รีย พระองค์ ห นึ่ ง นำมว่ ำ อัน ทิ โ อคัส เอปี ฟ ำเนส (Antiochus Epiphanes) ต้องกำรทำลำยศำสนำยิวแบบขุดรำกถอนโคน จึงบังคับ ชำวยิวให้กนิ หมูซ่งึ เป็ นสัตว์มมี ลทิน ชำวยิวหลำยร้อยคนยอมถูกประหำรชีวติ แต่ไม่ ยอมละเมิดบัญญัตทิ ำงศำสนำของตน (1 มคบ 1:62-63) ด้วยคำพูดเพียงประโยคเดียวคือ “ไม่มสี งิ ่ ใดเลยจากภายนอกของมนุ ษย์ทาให้ เขามีมลทินได้” พระองค์ทรงลบล้ำงกฎเกณฑ์ท่ชี ำวยิวยึดถือโดยเอำชีวติ เป็ นเดิมพัน มำแล้ว ! แม้อคั รสำวกเองก็ไม่เข้ำใจ (มก 7:17) จนพระองค์ต้องอธิบำยเชิงตำหนิพวกเขำว่ำ “ท่านก็ไม่มปี ญั ญาด้วยหรือ ท่าน ไม่เ ข้าใจหรือว่าสิง่ ต่าง ๆ จากภายนอกทีเ่ ข้าไปในมนุ ษย์นัน้ ทาให้เขามีมลทินไม่ได้ เพราะมันไม่ได้เข้าไปในใจ แต่ลงไปในท้อง แล้วออกไปจากร่างกาย” (มก 7:18-19) นัน่ คือ “อาหารทุกชนิดไม่เป็ นมลทิน ” (มก 7:19) เพรำะเมื่อกินเข้ำไปแล้ว ร่ำงกำยจะย่อยและขับถ่ำยออกไปในทีส่ ุด ประเด็นของพระองค์ค ือ ไม่มอี ำหำรหรือ สิง่ ใดในโลกนี้ท่ี “บริสุ ทธิ”์ หรือ “มี มลทิน” โดยกำรบัญญัตขิ องศำสนำ พูดง่ำย ๆ ก็คอื ศำสนำจะมำกำหนดว่ำ หมู เห็ด เป็ ด ไก่ จำน ชำม รวมถึงไม้ จิม้ ฟนั ยันเรือรบ “บริสุทธิ”์ หรือ “มีมลทิน” ไม่ได้ มีแต่ “คน” เท่ำนัน้ แหละทีส่ ำมำรถ “มีมลทิ น” ได้ ! 6

และสิง่ ที่ทำให้คนมีมลทินได้กค็ อื “กิ จการ” ซึ่งเป็ น “ผลผลิ ตจากจิ ตใจ” ของ เขำแต่ละคนนันเอง ่ !!! พระองค์จ ึง ตรัส ว่ ำ “สิง่ ทีอ่ อกมาจากภายในของมนุ ษ ย์นัน้ แหละท าให้เ ขามี มลทิน” พร้อมกับยกตัวอย่ำงกิจกำรชัวร้ ่ ำยทีอ่ อกมำจำกภำยในและทำให้มนุ ษย์มมี ลทิน ด้วย กิจกำรชัวร้ ่ ำยทัง้ หลำยจะเกิดขึน้ ได้ต้องเริม่ ต้นมำจำกควำมคิดและกำรตัดสินใจ เลือกสิง่ ที่ชวร้ ั ่ ำยเสียก่อน พระองค์จงึ ยกเอำ “ความคิดชัวร้ ่ าย” มำเป็ นสิง่ แรกที่ทำให้ มนุษย์มมี ลทิน มลทินอื่นคือ กำรประพฤติผดิ ทำงเพศ กำรลักขโมย กำรฆ่ำคน กำรมีชู้ ควำม โลภ กำรทำร้ำย กำรฉ้ อโกง กำรสำส่อน ควำมอิจฉำ กำรใส่ร้ำย ควำมหยิง่ ยโส และ ควำมโง่เขลำ ทัง้ หมดที่กล่ ำวมำก็เพื่อ เรียกร้อ งให้เ รำ “ส ารวจจิ ตใจและมโนธรรมอย่ าง จริ ง จัง และตรงไปตรงมาว่ า เรารัก พระเจ้ าและรักเพื อ่ นมนุ ษ ย์เหนื อ สิ ง่ อื น่ ใด หรือไม่ ?!”

ณ วัดน้อย 08.00 น. 08.30 น. 09.30 น. 09.55 น. ณ วัดใหญ่ 08.00 น. 10.00 น.

สวดสายประคา/ บทภาวนาต่อแม่พระเปนญาฟรานช่า บทภาวนาต่อพระพักตร์ศักดิ์สทิ ธิ์ ตั้งศีลมหาสนิท/ราพึงพระวาจา อวยพรศีลมหาสนิท อัญเชิญพระรูปแม่พระเปนญาฟรานช่าไปยังประตูวัดใหญ่ มิสซาเช้ า มิสซาฉลองแม่พระเปนญาฟรานช่า แห่และถวายช่อดอกไม้ แด่แม่พระเปนญาฟรานช่า 7


วัดของเราได้เลือกตัง้ สภาภิบาลชุดใหม่เ สร็จเรียบร้อยแล้ว สภาภิบาลชุด ที่ ด าเนิ น งานอยู่ไ ด้ ห มดวาระลงเมื่ อ วั น ที่ 31 สิ ง หาคม 2012 สภาภิ บ าล ประกอบด้ว ยคณะกรรมการสภาภิบ าล โดยมี ค ณ ุ พ่ อ เจ้า อาวาสเป็ นประธาน สภาภิบาลมีหน้าที่ให้ขอ้ มูล คาปรึกษา และช่วยงานคุณพ่อเจ้าอาวาสในเรื่องต่างๆ รวมถึ งนานโยบายและมติของที่ ป ระชุมมาปฏิ บัติเ พื่ อ ให้เ กิด ประโยชน์แก่พี่ นอ้ ง สัตบุรษุ และความเจริญก้าวหน้าของวัดของเรา ตลอดเวลา 3 ปี ที่ผ่านมา วัดของ เราได้ดาเนินโครงการและกิจกรรมต่างๆ ด้วยความร่วมมือช่วยเหลือจากส่วน ต่างๆ ซึ่งพอจะสรุปได้ดงั นี้

งานด้านอาคารสถานที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 8

ปรับปรุงพื้นที่ /ระบบภาพ /เสียง ในห้องประชุม 23-24 ปั จจุบัน เป็ นห้องสอนคาสอน สารวจและแก้ไขปั ญหาท่อนา้ ใต้ดินรัว่ บริเวณหลังวัดน้อย ปรั บ ปรุง ระบบน ้า ใช้ภ ายในวั ด ให้พ อเพี ย งต่อ การใช้ง านในวั น อาทิตย์ เปลี่ยนไฟสปอทไลท์เป็ นไฟหลอดประหยัดภายในบริเวณวัด ซ่อมแซม / บูรณะวัดโอกาสครบรอบ 10 ปี ปรับปรุงลานหน้าถา้ แม่พระ ปรับภูมิทศั น์ภายในบริเวณวัด ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสานัก งานและต่อเติมห้องครัวบ้านพัก พระสงฆ์ ขยายวัดน้อยส่วนที่ 3 (สุดท้าย) และปรับปรุงระบบภาพ / เสียง ต่อเติมห้องครัวเที่ยงทิพย์และที่ซักล้างหลังวัด ต่อเติมห้องสานักงานวัด / ห้องสมุด / และห้องประชุม ใต้อาคาร วัด ปรับปรุงระบบกุญแจทัง้ หมด ปรับปรุงกางเขนยอดหลังคาวัด

นี ่คื อ จุด แตกหัก ระหว่ า งพระเยซู เ จ้ า กับ พวกฟาริ สี แ ละธรรมาจารย์ เพราะส าหรับ พระองค์ “แก่ น แท้ ข องศาสนาคื อ การรัก พระเจ้ า และรัก เพื อ่ น มนุษย์” ด้วยมุมมองที่แตกต่างกันเช่นนี้ พระองค์จงึ ตอบคาถามของพวกเขาโดยอ้าง คาพูดของประกาศกอิสยาห์ท่กี ล่าวตาหนิประชาชนในสมัยนัน้ ซึ่งนับถือพระเจ้าแต่ ปาก ส่วนหัวใจนัน้ อยูห่ ่างไกลจากพระองค์ยงิ่ นัก (อสย 29:13) พูดง่าย ๆ คือพระองค์ทรงตาหนิพวกเขาว่า “ปากกับใจไม่ตรงกัน” หรือ “คน หน้าซือ่ ใจคด” (มก 7:6) คนหน้ าซื อ่ ใจคด มาจากภาษากรีก hupokrites (ฮูปอครีเตส) เดิมหมายถึง “ผู้ตอบ” แล้วพัฒนาเป็ น “ผู้ตอบเป็ นชุด เป็ นบทสนทนา” ซึ่งได้แก่ “นักแสดง” และ ท้ายที่สุดหมายถึง "ผู้ทใี ่ ช้ชวี ติ เหมือนนักแสดงโดยไม่มคี วามจริงใจหลงเหลืออยู่เลย” ผูใ้ ดก็ตามทีเ่ ห็นศาสนาเป็นเรือ่ งของการถือตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อกาหนด และจารีตพิธตี ่างๆ ทีส่ ุดแล้วก็จะลงเอยแบบเดียวกันคือเป็น “คนหน้าซือ่ ใจคด” เหตุผลคือ เขาเชื่อว่าตนเองเป็ น “คนดี” เพราะได้ ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างครบถ้วนเคร่งครัดแล้ว จึงไม่สนใจว่าความคิดและจิตใจของตนจะเป็นอย่างไร ! นีค่ อื อันตรายใหญ่หลวงทีส่ ุดของการนับถือศาสนาเพียงภายนอก หรือการถือ ว่าความดีคอื การปฏิบตั ติ ามกฎหมายของพระศาสนจักรทุกมาตราและทุกตัวอักษร ! เพราะการไปวัดวันอาทิตย์ การอ่านพระคัมภีร์ การให้ทาน รวมถึงการสวด ภาวนาหาได้เป็ นเครื่องชี้ขาดว่าผู้หนึ่งผู้ใดเป็ น “คนดี” หรือไม่ แต่ ท่าที ของหัวใจที ่ เขามีต่อพระเจ้าและต่อเพือ่ นมนุษย์ต่างหากทีท่ าให้เขาเป็ นคนดีหรือไม่ดี ?! จะมีประโยชน์ อ ะไรหากไปวัดหรือ สวดภาวนาโดยไม่รกั พระเจ้าและเพื่อ น มนุษย์ ? อีกประการหนึ่ง พระเยซูเจ้าทรงตาหนิพวกฟาริสแี ละธรรมาจารย์ว่า “ละเลย บทบัญญัตขิ องพระเจ้า และกลับไปถือขนบธรรมเนียมของมนุษย์” (มก 7:8) นัน่ คือแทนที่จะฟงั พระเจ้า พวกเขากลับสนใจฟงั คาโต้แย้ง ข้อถกเถียง และ เหตุผลตามประสามนุษย์เพื่อตีความและคิดค้นระเบียบกฎเกณฑ์ใหม่ๆ ขึน้ มา 5


สัตว์ทเ่ี คีย้ วเอื้องแต่ไม่มสี องกีบแยกกัน เช่น อูฐและกระต่ายป่า หรือสัตว์ท่มี ี สองกีบแยกกันแต่ไม่เคี้ยวเอื้อง เช่น หมู ล้วนมีมลทิน เพราะฉะนัน้ ห้ามกินและห้าม สัมผัสซากของมันเด็ดขาด (ลนต 11:4-8) สตรีห ลังคลอดบุ ต ร คนโรคเรื้อ น ผู้ท่ีส ัมผัส ศพ คนต่ า งศาสนา บุค คล เหล่านี้ถอื ว่ามีมลทิน และเมือ่ พวกเขาสัมผัสสิง่ ใด สิง่ นัน้ ย่อมมีมลทินไปด้วย ชาวยิวทีเ่ คร่งครัด “เมือ่ กลับจากตลาด เขาจะไม่กนิ อาหารเว้นแต่จะได้ทาพิธ ี ชาระตัวก่อน” (มก 7:4) ก็เพื่อให้แน่ใจว่าสิง่ มีมลทินทัง้ หลายทีอ่ าจติดตัวมาจากตลาด ได้ถูกกาจัดให้หมดสิน้ ไปแล้ว มก 7:14 ยังกล่าวถึง “การล้างถ้วย จาน ชาม และภาชนะทองเหลือง” เพราะ ภาชนะเหล่ า นี้ ม ีม ลทิน ได้ ง่ า ยมากหากสัม ผัส กับ คนหรือ อาหารที่ม ีม ลทิน จึง จาเป็นต้องล้างให้ถูกต้อง “ตามพิธ”ี อย่างเคร่งครัด ในหนังสือ Mishnah ยังระบุกฎเกณฑ์หยุมหยิมเกี่ยวกับภาชนะต่าง ๆ ไว้อกี มากมายจนน่ าปวดหัว ตัวอย่างเช่น ภาชนะดินเผาซึ่งกลวงจะมีมลทินหากถูกคน หรืออาหารซึง่ มีมลทินสัมผัสจากภายใน แต่ถ้าสัมผัสทีภ่ ายนอกก็จะไม่ทาให้ภาชนะ นัน้ เป็นมลทิน ภาชนะทีม่ มี ลทินต้องทุบให้แตกเป็นเสีย่ งๆ แต่ละเสีย่ งจะมีขนาดใหญ่ จนบรรจุน้ามันมากพอสาหรับเจิมนิ้วเท้าหนึ่งนิ้วไม่ได้ จานอาหารทีม่ ขี อบอาจมีมลทินได้หากสัมผัสกับสิง่ ทีม่ มี ลทิน ส่วนจานอาหาร ทีไ่ ม่มขี อบไม่มที างมีมลทินได้เลยไม่ว่าจะสัมผัสกับอะไรก็ตาม ภาชนะที่ทาด้วยหนังสัตว์ กระดูก หรือแก้ว หากมีลกั ษณะแบนถือว่าไม่ม ี ทางมีมลทิน แต่ถ้ามีลกั ษณะกลวงย่อมมีมลทินได้จากการสัม ผัสสิง่ มีมลทินทัง้ จาก ภายในและภายนอก ไม้ทต่ี ดิ กับภาชนะโลหะอาจมีมลทินได้ แต่โลหะทีต่ ดิ กับภาชนะไม้ไม่มที างมี มลทิน ฯลฯ อีกมากกกกก... จารีตพิธ ี กฎเกณฑ์ และระเบียบมากมายเหลือคณานับเหล่านี้คอื “แก่นแท้ ของศาสนา” สาหรับบรรดาธรรมาจารย์แ ละฟารีส ี ผู้ใ ดละเมิดถือว่าทาบาป ผู้ใ ด ปฏิบตั ติ ามถือว่าเป็น “คนดี” และเป็นผูท้ พ่ี ระเจ้าทรงพอพระทัย 4

งานด้านกิจกรรมและอภิบาล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

งานวันเด็กชุมชน กิจกรรมก้าวไปด้วยกันครัง้ ที่ 1 และ 2 โครงการเที่ยงทิพย์ / สภากาแฟ คริสต์มาสชุมชน เข้าเงียบฟื้ นฟูจิตใจสัตบุรษุ กิจกรรมตรวจสุขภาพ รณรงค์รบั บริจาคสิ่งของช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยนา้ ท่วม จัดอบรมพระคัมภีรเ์ พื่อชีวิต ค่ายคาสอนภาคฤดูรอ้ น คาสอนผูใ้ หญ่เพื่อเตรียมตัวเป็ นคริสตชน จัดห้องเรียนภาษาญี่ปุ่น ร่วมเป็ นแกนนากับเขต 2 จัดอบรมผูน้ าวิถีชมุ ชนวัด

งานจัดทาและเผยแพร่สื่อ 1. 2. 3. 4.

จัดทาซีดีพระคัมภีรเ์ สียง จัดพิมพ์แผ่นพับบทภาวนา จัดพิมพ์พระคัมภีรฉ์ บับพกพา ผลิตและเป็ นศูนย์กลางจัดเตรียมนา้ เสก

โครงการต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ และอีกหลายโครงการที่ไม่ได้กล่าวถึง สามารถ สาเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดีก็เนื่องมาจากการตอบรับของพี่นอ้ งสัตบุรษุ ทุกท่านที่ให้ ความสนใจสนับสนุน ต้องขอขอบพระคุณ คุณพ่อ และพี่นอ้ งสัตบุรษุ ทุกท่านที่ ให้โอกาสและวางใจทีมทางานที่ผ่านมา ขอขอบพระคุณกลุ่มงานต่ างๆ สภาภิ บาลทุกท่าน ตลอดจนอาสาสมัครทุกคน ที่เสียสละแรงกาย แรงทรัพย์ ความคิด และเวลาอันมี ค่า อี กทั้งกาลังใจที่ มีใ ห้แก่กันและกันตลอดมา ขอพระเป็ นเจ้า ประทานบ าเหน็ จ รางวั ลอย่ า งครบบริ บ ูร ณ์ และขอแม่พ ระกุห ลาบทิ พ ย์อ งค์ อุป ถั ม ภ์ข องวั ด เรา โปรดพิ ทั ก ษ์ค มุ้ ครองท่ า นและครอบครั ว ให้พ ้น จากภัย อั น ตรายทั้ ง ปวง เพื่ อ ที่ จ ะเป็ นก าลั ง ส าคั ญ ช่ ว ยกั น พั ฒ นาวั ด ของเราให้ เจริญก้าวหน้ายิ่งขึน้ ต่อไป 9


มิสซาสั ปดาห์ ที่ 22 เทศกาลธรรมดา (ปี B) วันอาทิตย์ ที่ 2 กันยายน ค.ศ. 2012 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 1 ก.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ คค.กรองทอง มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว 18.00 น. อุทศิ แด่ สตีเฟน จารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช เอลีซาเบธ อารี สังขพงษ์ อมรา อันตน สาเริ ง โกญจนาท เริ งจิต ยอห์น ประมวล ไพรพฤกษ์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง คค.กรองทอง อา. 2 ก.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ ซัน่ ยู ้ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัวศรี เจริ ญ โรซา ขวัญหทัย จิตติวฒั น์ อุทศิ แด่ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ต้ งั คค. ธนาพานิชย์ คุณเกษมศรี เกษมสุข ยอแซฟ ประยูร อนาชัย, คุณจงจิต อนาชัย Patricia Lindquist ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ วิภาวินี บรรพบุรุษและผูล้ ่วงลับครอบครัวธนาพานิชย์ คค. ธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง คค. ธนาพานิชย์ อา. 2 ก.ย. สุ ขสาราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน คุณเพ็ญสิ ริ ชินการุ ญ เทเรซา วิมล เกียรติชยั วัฒน์ ครอบครัวสุทธิโอภาส, ครอบครัวรัตนบรรณสกุล ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ, ครอบครัวแสงแพ ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวเพียรช่างคิด 10

ของบรรพบุรุษ” ซึง่ ต่อมาราวศตวรรษที่สามจึงได้รบั การบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ในหนังสือทีเ่ รียกว่า Mishnah “ขนบธรรมเนียมของบรรพบุรุษ ” ที่พวกเขายกมาเป็ นประเด็นโต้เถียงกับ พระองค์ในวันนี้คอื “การล้างมือ” ชาวยิวต้องล้างมือก่อนและระหว่างกินอาหารโดยมีวตั ถุประสงค์หลัก มิใช่เพื่อ ความสะอาดหรือ สุ ข อานามัย ที่ดี แต่ เ พราะ “ขนบธรรมเนี ย มของบรรพบุ รุษ ” กาหนดให้พวกเขาต้องล้างมือ “ตามพิธ”ี ซึง่ กาหนดไว้อย่างละเอียดยิบและเคร่งครัด น้ าสาหรับทา “พิธลี ้างมือ ” ต้องสะอาดตามกฎ บรรจุในไหหินขนาดใหญ่ ท่ี เตรียมไว้เป็นพิเศษ มีฝาปิดมิดชิด ปราศจากสิง่ อื่นเจือปน และสงวนไว้สาหรับพิธลี า้ ง มือเท่านัน้ จะใช้เพื่อการอื่นมิได้ พิธลี า้ งมือเริม่ ด้วยการยกมือให้น้วิ ชูขน้ึ ด้านบน แล้วใช้น้าปริมาณเท่ากับความ จุข องไข่ไ ก่ ห นึ่ ง ฟองครึ่ง รดจากปลายนิ้ ว ให้ไ หลลงมาจนถึง ข้อ มือ เป็ น อย่ า งน้ อ ย ั้ ขณะที่มอื ทัง้ สองยังเปี ยกอยู่ ให้ทาความสะอาดมือแต่ละข้างโดยใช้กาปนของมื อข้าง หนึ่งถูกบั ฝา่ มือของอีกข้างหนึ่งไปมาสลับกันเพื่อให้สงิ่ สกปรกจาพวกทราย กรวด และ ปูนขาวหลุดออกไป ต่อจากนัน้ ให้ยกมือโดยนิ้วชีล้ งด้านล่าง แล้วใช้น้ าเท่าเดิมรดจาก ข้อมือให้ไหลลงปลายนิ้ว เป็นอันเสร็จพิธแี ละถือว่ามือสะอาดแล้วตามทีศ่ าสนากาหนด ในสายตาของชาวยิว ผูท้ ล่ี ะเลยไม่ทาพิธลี า้ งมือก่อนกินอาหารถือว่าเป็ นคนไม่ สะอาดต่อหน้าพระเจ้า จะถูกปีศาจโจมตี จะประสบกับความยากจนและความพินาศใน ทีส่ ุด ตามประวัตศิ าสตร์มรี บั บีคนหนึ่งถูกฝงั นอกเมืองเพียงเพราะไม่ได้ทาพิธลี า้ งมือ ก่อนกินอาหารเพียงครัง้ เดียว และยังมีรบั บีอกี คนหนึ่งเกือบอดน้ าตายในคุกของโรมัน เพราะใช้น้าสาหรับดื่มมาทาพิธลี า้ งมือ เขายอมอดน้าตายดีกว่าละเมิดกฎเรือ่ งความสะอาด ! กฎเกณฑ์และจารีตพิธเี หล่านี้คอื “ศาสนา” ของพวกฟาริสแี ละธรรมาจารย์ พวกเขาถือว่า “นีค่ อื การรับใช้พระเจ้า” นอกจากนี้ ใ น มก 7:14 ยัง พูดถึง “ขนบธรรมเนี ย มอืน่ ๆ อีก มาก” ซึ่ง เรา สามารถหาตัวอย่างอ่านได้จากหนังสือเลวีนิตบิ ทที่ 11-15 และหนังสือกันดารวิถบี ทที่ 19 ซึง่ ว่าด้วย “ข้อกาหนดเกีย่ วกับการมีมลทินและไม่มมี ลทิน” เช่น 3


สั ปดาห์ ที่ 22 เทศกาลธรรมดา (ปี B) มก 7:1-8,14-15,21-23

พระวรสารวันนี้บ่งบอกเงือ่ นปมของ “ความขัดแย้ง” ระหว่างพระเยซูเจ้ากับ บรรดาฟาริสแี ละธรรมาจารย์ซง่ึ เป็นผูน้ าทีเ่ คร่งศาสนาได้อย่างชัดเจน พวกเขาถามพระองค์ว่า “ทำไมศิษย์ของท่ำนไม่ปฏิบตั ติ ำมขนบธรรมเนียม ของบรรพบุรษุ ” (มก 7:5) ในเมื่อประเด็นของพวกเขาคือ “กำรไม่ปฏิบตั ติ ำมขนบธรรมเนียมของบรรพ บุรุษ” เราจึงควรศึก ษาว่า “ขนบธรรมเนียมของบรรพบุรุษ ” คืออะไร และอะไรคือ แรงจูงใจทีท่ าให้พวกเขาปฏิบตั ติ าม “ขนบธรรมเนียมของบรรพบุรษุ ” อย่างเคร่งครัด แรกเริม่ เดิมทีเมื่อพูดถึง “ธรรมบัญญัต”ิ ชาวยิวหมายถึง 2 สิง่ คือ บัญญัตสิ บิ ประการ และหนังสือห้าเล่มแรกของพระธรรมเก่าซึง่ เรียกกันว่า “ปญั จบรรพ” ั จบรรพมีก าหนดกฎเกณฑ์แ ละค าแนะน าที่ล งใน จริง อยู่ ท่ีใ นหนั ง สือ ป ญ รายละเอียดแบบหยุมหยิมอยู่จานวนหนึ่ง แต่ในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับศีลธรรมจะเป็ น เพียง “หลักการ” กว้าง ๆ ทีแ่ ต่ละคนต้องตีความและประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ของตนเอง เป็ นเวลานานที่ชาวยิวพอใจดาเนินชีว ิตตามหลักศีลธรรมกว้าง ๆ แบบนี้ จนกระทังประมาณ ่ 4-5 ศตวรรษก่อนพระเยซูเจ้า ได้มผี เู้ ชีย่ วชาญกฎหมายกลุ่มหนึ่ง ซึง่ เรียกตัวเองว่า “ธรรมำจำรย์” เห็นว่าหลักการกว้าง ๆ เหล่านี้จาเป็ นต้องได้รบั การ นิยามความหมายให้ชดั เจนและต้องขยายความให้ครอบคลุมทุกแง่ทุกมุมของชีวติ ผลลัพธ์ท่ไี ด้ค ือระเบียบข้อบังคับนับพันนับหมื่นข้อ ที่ส ืบทอดต่อ ๆ กันมา ด้วยปากเปล่า (Oral Law) กลายเป็นสิง่ ทีพ่ ระวรสารวันนี้เรียกว่า “ขนบธรรมเนียม 2

วัน เดือน ปี อา 2 ก.ย. 10.00 น.

รายการมิสซา สุ ขสาราญ ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, ครอบครัวลิ้มจิตรกร ทุกครอบครัวในโลก อุทศิ แด่ เปาโล ซ่งอู๋ แซ่ต้ งั อักแนส อาเซี้ยม มารธา เซียมเง็ก ยอแซฟ ตัง่ เส่ง อาคาทา จังเฮียง มารี อา ไช่ยหมวย เปาโล จัง่ ไห้ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ยว, ยอห์น ประมวล ไพรพฤกษ์ คุณนวลจันทร์, ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาทรกิจ มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว ผูล้ ่วงลับครอบครัวสาทรกิจและธนะสาร วิญญาณในไฟชาระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง จ. 3 ก.ย. อุทศิ แด่ เปาโล ซ่งอู๋ แซ่ต้ งั อ. 4 ก.ย. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชาระ พ. 5 ก.ย. อุทศิ แด่ คาทาลีนา ริ รินทร์ จิระดารง พฤ.6 ก.ย. สุ ขสาราญ โรซา สุวภัทร รังษีบวรกุล ศ. 7 ก.ย. อุทศิ แด่ มาริ นนา ริ รินทร์ จิระดารง

ผู้ขอมิสซา ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ทรงวุฒิ ณัฐวรรณ -

-

11


 วันอาทิ ตย์น้ ี เป็ นวันอาทิตย์ต้นเดื อน กลุ่ ม วินเซนเดอปอล ขอเชิ ญชวนผูม้ ี จิต ศรัทธาร่ วมช่วยเหลือผูย้ ากไร้โดยบริ จาคเงินหรื อสิ่ งของได้ที่หน้าวัด หรื อที่โต๊ะ วินเซนเดอปอล ณ ศาลาปี ติการุ ณย์  วันเสาร์ หน้า ( 8 กันยายน ศกนี้ ) กลุ่ มพิธี กรรม ขอเชิ ญผูส้ นใจทุ ก ท่านร่ วม “อบรมผู้อ่านพระคัมภีร์ประจาวัดแม่ พระกุหลาบทิพย์ ” ตั้งแต่เวลา 9.00-17.00 น. ณ วัดน้อย เพื่อเสริ มสร้างจิตตารมณ์และพัฒนาทักษะการอ่านพระคัมภีร์/บท อ่านประจามิสซา ผูส้ นใจโปรดลงชื่อที่สานักงานวัด  วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน ศกนี้ เป็ นวันฉลองแม่พระเปนญาฟรานช่ า ขอเชิ ญพี่ น้องร่ วมเทิดเกียรติแม่พระ มิสซา 10.00 น. หลังมิสซามีแห่ แม่พระและถวายช่อ ดอกไม้

ฉบับที่ 438 วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน ค.ศ. 2012

สั ปดาห์ ที่ 22 เทศกาลธรรมดา (ปี B)

นายสิ โรตม์ จันทรเมธากุล บุตร นายเกษม และเทเรซา อรพิน จันทรเมธากุล

จะเข้าพิธีสมรสกับ มาทิลดา พรรณพัฒน์ ภวัติชน บุตรี ดอมินิโก บัวลา สร้อยสู งเนิน และนางพิมพ์รดา ภวัติชน วันอาทิตย์ ที่ 30 กันยายน ค.ศ.2012 เวลา 16.00 น. **ผู้ใดพบข้ อขัดขวาง โปรดแจ้ งคุณพ่ อเจ้ าวัดทราบ** 12

สิ่งที่ออกมาจากภายในของมนุษย์นัน้ แหละ ทาให้เขามีมลทิน มก 7:15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.