ฉบับที่ 511 วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2014
ฉบับที่ 511 วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
จงตามเรามาเถิด เราจะทําให้ ท่านเป็ นชาวประมงหามนุษย์
จงตามเรามาเถิด เราจะทําให้ ท่านเป็ นชาวประมงหามนุษย์
มธ 4:19
มธ 4:19
สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
มธ 4:12-23
1. สถานที่เริ่มภารกิจ พระเยซูเจ้าทรงเริม่ ภารกิจด้วยการเสด็จออกจากนาซาเร็ธ บ้านเกิดเมือง ั่ นอน มาประทับทีเ่ มืองคาเปอรนาอุม บนฝงทะเลสาบในแคว้ นกาลิลี (มธ 4:12-13) กาลิลตี งั ้ อยูท่ างเหนือสุดของปาเลสไตน์ ยาวจากเหนือจรดใต้ 80 ก.ม. กว้าง 40 ก.ม. แม้พ้ืน ที่จ ะเล็ก แต่ ก ลับ มีป ระชากรหนาแน่ น เพราะผืน ดิน อุ ด มสมบูร ณ์ มากกว่าภาคอื่น จนมีคาํ กล่าวว่า “ปลูกมะกอกพันต้นในกาลิลยี งั ง่ายกว่าคลอดลูกสัก คนในยูดาห์เสียอีก” โยเซฟุส นักประวัตศิ าสตร์ซง่ึ เคยเป็ นผูว้ ่าราชการจังหวัดนี้มาก่อน บันทึกไว้ ว่ากาลิลปี ระกอบด้วยหมู่บา้ น 204 แห่ง แต่ละแห่งมีประชากรไม่ต่ํากว่า 15,000 คน แม้ผู้คนส่วนใหญ่จะมีอารมณ์ ร้อน ชอบทะเลาะเบาะแว้งและก่อการจลาจลบ่อย ๆ กระนัน้ ก็ตาม พวกเขามีความกล้าหาญเป็ นเลิศ รักเกียรติของตนเหนือผลประโยชน์ อื่นใด มีความคิดริเริม่ อีกทัง้ พร้อมรับความคิด การเปลี่ยนแปลง และสิง่ ประดิษฐ์ ใหม่ๆ องค์ประกอบทีท่ าํ ให้ชาวกาลิลมี อี ุปนิสยั ดังกล่าว คือ 1. พวกเขาอยู่ท่ามกลางคนต่างชาติ ชื่อกาลิลมี าจาก “กาลิล” แปลว่า “วงกลม” เพราะพวกเขาถูกล้อมรอบโดยชาวต่างชาติทุกด้าน ทางทิศเหนือและตะวัน 2
วัน เดือน ปี รายการมิสซา อา 26 ม.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน 10.00 น. อันนา สุ นนั ท์ พลินบดินทร์ชยั เทเรซา ณัฐวรรณ สาธรกิจ และครอบครัว ราฟาแอล ชัยพฤกษ์, มีคาแอล ธันวา และครอบครัว คุณเกษม จิตติวฒั น์ มารี อา ภาณุมาศ พงศ์พนั ธุ์พฒั น์, มารี อา ปนัดดา ลี้ยาง เทเรซา ชนินทร์ มาศ พนอําพน, มารี อา กรรณิ กา ลี้ยาง พลเอกพิจิตร, คุณหญิงวิมล กุลละวณิ ชย์ คุณนพ ชูสอน, คุณประมวล นามตะ ครอบครัวบุตรสุ ทธิวงศ์, ครอบครัวสุ นทรพันธุ์ ครอบครัวเทพสิ ทธา, คุณทองดี ทวีสุนทร ครอบครัวจิระดํารง, ครอบครัวดารุ ทยาน อุทศิ แด่ มารี ย ์ ยอแซฟ ทวนทอง,มารี ย ์ ยอแซฟ อรวรรณ แก้วนวล คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา ฟิ ลิป มุ่ยชิม, คุณเช้ง แซ่จึง, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณก้านทอง แสงปัญหา คุณสอ ชูสอน, คุณวิชยั สายแสง, คุณด้วง ลี้ยาง โรซา ราตรี ลี้ยาง, อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช, คุณพัฒนา ทองธิ ว เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ และบรรพบุรุษ ฟรังซิ สเซเวียร์ สวัสดิ์, มารี อา ดารุ ณี ศรี ภิรมย์ เทเรซา สลับศรี ชมไพศาล เปาโล พร, อันนา ละม่อม พึ่งผล ผูล้ ่วงลับครอบครัวลี้ยางและจุลละมณฑล ผูล้ ่วงลับครอบครัวบุตรสุ ทธิวงศ์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวเทพสิ ทธาและครอบครัวสุ นทรพันธุ์ วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง
ผู้ขอมิสซา สันต์ฤทัย -/ทิพย์วิภา อิ๊ก,อ๊ะ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ อมรรัตน์ ชนิษฎา อิ๊ก, อ๊ะ 11
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ส. 25 ม.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว 18.00 น. เทเรซา ณัฐวรรณ สาธรกิจ และครอบครัว อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เทเรซา สสับศรี ชมไพศาล อันนา วิเลี่ยม บุญเจริ ญ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา.26 ม.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ อุทศิ แด่ คุณพ่อ ยอแซฟ วัลลภ จําหน่ายผล ยอห์น บัปติสต์ มณี กิจนิตย์ชีว์ มารี อา เทเรซา สุ มาลี กิจนิตย์ชีว์ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน, มารี อา มยุรี ผลาวงศ์ มัทธิว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต, Thomas Adams อันนา เย็น เอี้ยพิน, ยอแซฟ เกียจัว๊ แซ่คู อันนา วิเลี่ยม บุญเจริ ญ เปาโล พร, อันนา ละม่อม พึ่งผล ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง 10
ผู้ขอมิสซา อดิสยั ,สไบทิพย์
เริ งจิต ขนิษฎา วไลพร ธนกร บัณฑิต คค.ศรี เจริ ญ อดิสัย,สไบทิพย์ อดิสัย,สไบทิพย์ อดิสัย,สไบทิพย์ มนัส มนัส มนัส วไลพร วิภาวนี คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ -
ออกติดกับซีเรีย ทางใต้ตดิ กับสะมาเรีย ส่วนทางตะวันตกติดกับฟีนิเซีย จนได้ช่อื เต็ม ว่า “แคว้นกาลิลแี ห่งบรรดาประชาชาติ” (Galilee of the Gentiles) ด้วยเหตุน้ีชาวกาลิ ลีจงึ ได้สมั ผัสกับความคิดและอิทธิพลใหม่ ๆ ที่ “ไม่ใช่ยวิ ” อยูเ่ สมอ 2. มีถนนสําคัญผ่านหลายเส้นทาง เส้นทางแรกคือถนนเรียบทะเลจาก ั่ ดามัสกัสผ่านกาลิลเี รื่อยลงไปจนถึงอียปิ ต์และอัฟริกา อีกเส้นหนึ่งจากฝงทะเลทาง ตะวันตกตัดผ่านพรมแดนไปบรรจบกับทางหลวง King’s Highway ทางตะวันออกของ แม่น้ําจอร์แดน กาลิลจี งึ อยูใ่ นเส้นทางคมนาคมระดับโลกทีซ่ ง่ึ ความคิดใหม่ ๆ ผ่านไป มาไม่ขาดสาย 3. โยชูวาแบ่งดินแดนที่เป็ นแคว้นกาลิลีให้แก่ตระกูลอาเชอร์ นัฟทาลี และเศบูลุนก็จริง แต่พวกเขาไม่เคยขับไล่ชนพืน้ เมืองออกไปได้สาํ เร็จ (เทียบ ยชว 9) การผสมระหว่างเชือ้ ชาติและเผ่าพันธุ์จงึ เกิดขึน้ นอกจากนัน้ ในศตวรรษที่ 8 ก.ค.ศ. กองทัพอัสซีเรียได้ยดึ อาณาจักรทางเหนือแล้วกวาดต้อนชาวยิวส่วนใหญ่ไปอยูต่ ามหัว เมืองต่างชาติ พร้อมกับนําคนต่างชาติเข้ามาอาศัยแทนทีช่ าวยิว สายเลือดต่างชาติจงึ ถูกสูบฉีดเข้าสูก่ าลิลอี ย่างท่วมท้น จากศตวรรษที่ 8 ถึงศตวรรษที่ 2 ก.ค.ศ. กาลิลตี กอยู่ใต้เงือ้ มมือของ ชนต่างชาติเป็ นส่วนใหญ่ เมื่อชาวยิวกลับจากถิน่ เนรเทศในสมัยของประกาศกเนหะ มียแ์ ละเอสรา ชาวกาลิลจี าํ นวนมากได้อพยพลงใต้มาอาศัยทีก่ รุงเยรูซาเล็ม ต่อมาใน ปี 164 ก.ค.ศ. ซีโมน มัคคาบีได้ยกทัพขับไล่ชาวซีเรียออกจากกาลิลแี ล้วพาชาวยิวที่ หลงเหลือกลับมากรุงเยรูซาเล็ม ทีส่ ุดในปี 104 ก.ค.ศ. อริสโตบูลุสสามารถยึดกาลิลี กลับมาเป็ นของชาวยิวอีกครัง้ หนึ่ง พร้อมกับบังคับทุกคนให้เข้าสุหนัตเป็ นยิวไม่ว่าจะ เต็มใจหรือไม่กต็ าม สภาพภูมศิ าสตร์และประวัตศิ าสตร์ดงั กล่าว ทําให้ชาวกาลิลเี ปิ ดประตูรบั สาย เลือดพันธุใ์ หม่ ความคิดและอิทธิพลใหม่ ๆ สมดังคําของประกาศกอิสยาห์ทก่ี ล่าวถึง ดินแดนแห่งนี้วา่ “ดินแดนเศบูลุน และนัฟทาลี เส้นทางไปสูท่ ะเล ฟากโน้นของแม่น้ ําจอร์แดน แคว้นกาลิลแี ห่งบรรดาประชาชาติ” (มธ 4:15) 3
กาลิลจี งึ เป็ นดินแดนทีเ่ หมาะสมอย่างยิง่ สําหรับการเริม่ ต้นประกาศข่าวดีของ พระเยซูเจ้า !
2. ทรงประกาศข่าวดี ทีเ่ มืองคาเปอรนาอุมในแคว้นกาลิลี “พระเยซูเจ้าทรงเริม่ ประกาศเทศนาว่า ‘จงกลับใจเถิด เพราะอาณาจักรสวรรค์อยูใ่ กล้แล้ว’” (มธ 4:17) เมื่อได้ย ินคํา “ประกาศเทศนา” ซึ่งตรงกับคํากรีก kērussein (เครุสเซน) หลายคนอาจรูส้ กึ เบื่อหน่าย แต่ชาวกรีกกลับฟงั คํานี้ดว้ ยความตื่นเต้นเพราะ kērux (เครุกซ์) คือ “คนนํ าพระราชสาสน์ ” และคํากริยา kērussein (เครุสเซน) คือการ “ประกาศสารของพระมหากษัตริย”์ คํา “เครุส เซน” จึง บ่ ง บอกลัก ษณะการสอนของพระเยซู เ จ้า ซึ่ง เราพึง เลียนแบบอย่างยิง่ กล่าวคือ 1. สอนด้วยความ “แน่ ใจ” เนื่องจากสิง่ ทีส่ อนเป็ นพระราชสาสน์ของ กษัตริย์ จึงต้องไม่มที ว่ี ่างสําหรับคําว่า “อาจจะ” หรือ “บางที” หากเราไม่แน่ ใจในสิง่ ทีส่ อน เราจะไม่มที างทําให้ผอู้ ่นื แน่ใจในสิง่ ทีเ่ ราสงสัยได้เลย 2. สอนอย่ า ง “ผู้มี อํ า นาจ” เพราะเรากํ า ลัง พู ด ในพระนามของ พระมหากษัตริย์ อีกทัง้ เนื้อหาก็เป็ นพระบัญชาหรือพระราชวินิจฉัยของกษัตริย์ เรา จึงต้องไม่พดู อ้อมแอ้ม อ้อมค้อม หรือคลุมเครือ 3. สอนคํ า สอนของ “พระเจ้ า ” เพราะว่ า พระราชสาสน์ มีท่ีม าจาก พระมหากษัตริยฉ์ นั ใด เนื้อหาคําสอนของศาสนาคริสต์กม็ ที ม่ี าจากพระเยซูคริสตเจ้า ฉันนัน้ เราจึงต้องสอนคําสอนของพระเยซูเจ้า มิใช่ความคิดเห็นของตนเอง ‘จงกลับใจเถิ ด เพราะอาณาจักรสวรรค์อยู่ใกล้แล้ว’ จึงเป็ นทัง้ ข่าวดีและ ภารกิจทีจ่ าํ เป็ นและเร่งด่วนทีส่ ดุ เพราะอาณาจักรของพระเจ้าเริม่ ต้นแล้ว ชีวติ นิรนั ดร เข้ามาสูโ่ ลกแล้ว หากพูดแบบคอหนังก็ตอ้ งบอกว่า “พระเจ้าบุกโลก” แล้ว ในเมือ่ พระเจ้าทรงบุกโลก จึงเป็ นเรือ่ งสําคัญยิง่ ยวดทีเ่ ราจะต้องตัดสินใจให้ ถูกต้องว่าจะหันกลับมาหาพระเจ้าหรือยังจะดึงดันอยูฝ่ า่ ยเดียวกับโลก ! 4
ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สองมีชาวยิวหลายล้านคนที่ถกู กวาดต้อนไปยังค่าย นรกเพื่อรอการสังหารด้วยการรมก๊าซพิษ ปรากฏว่านักโทษหลายคนไม่เชื่อว่า มีหอ้ ง รมก๊า ซพิ ษ หรื อ การสัง หารโหดในค่ า ยของตน ทั้ ง ๆ ที่ เ ห็ น เตาเผาศพส่ ง กลิ่ น ไหม้ คละคลุง้ อยู่ห่ า งไม่กี่ ร อ้ ยหลา รวมทั้ง ได้ยิ น ข่า วลื อดัง กล่า ววัน แล้ววัน เล่า พวกเขา ปฏิเสธความจริงดังกล่าวเพราะยอมรับไม่ได้ว่าตนเองกําลังจะตาย มิใช่แต่คนที่จิตใจอ่อนแอหรือสิ้นเรี่ยวสิ้นแรงเท่านัน้ ที่ไม่กล้ายอมรับความจริง อันเจ็บปวด แม้กระทัง่ คนที่เต็มไปด้วยความมัน่ อกมัน่ ใจหรือมีอาํ นาจ ก็อาจมีอาการ ดังกล่าวด้วยเช่นกัน อาจจะไม่ใช่เพราะกลัวตาย แต่เพราะกลัวความล้มเหลวหรือความ พ่ายแพ้ จะว่าไปแล้วการปฏิเสธความจริงด้วยวิธีการต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็ นวิธีปกป้อง จิตใจตนเองไม่ให้เป็ นทุกข์หรือเจ็บปวด แม้จะมีประโยชน์แต่ก็เป็ นโทษในระยะยาว เพราะ ทําให้ไม่สนใจเตรี ยมพร้อมรับมือกับเหตุรา้ ยที่เกิดขึ้น ความสูญเสียที่ ตามมาจึ งมัก ร้ายแรงกว่าการยอมรับความจริงเสียตัง้ แต่แต่แรก อันที่จริง แม้ความตายยังไม่ถึงกับประชิดตัว แต่ในส่วนลึกของคนส่วนใหญ่นนั้ ไม่เชือ่ ว่าตนจะต้องตายด้วยซํา้ ทัง้ ๆ ที่ได้ยินได้ฟังว่ามีคนตายอยู่เนืองๆ หรือถึงแม้รวู้ ่า ตัวเองจะต้องตายไม่วันใดก็ วันหนึ่ง แต่ใจก็ ไม่ได้เชื่ออย่างนั้น ดังนั้นเมื่อถึ งคราวที่ จะต้องตาย จึงยอมรับไม่ได้ พยายามปฏิเสธผลักไสและต่อต้าน ซึ่ งเท่ากับเพิ่มความ ทุกข์ทรมานให้แก่ตนมากขึน้ ปั ญ หาใดๆ ก็ ไ ม่ ร ้า ยแรงหรื อ น่ า กลั ว เท่ า กั บ ใจที่ ป ฏิ เ สธปั ญ หา เพราะนัน่ หมายถึงความประมาท นิง่ ดูดาย งอมืองอเท้า ปล่อยให้ปัญหานัน้ จู่โจมโดยไม่ทนั ตัง้ ตัว ถึงตอนนัน้ แล้วหากใจยังปฏิเสธผลักไส ตีโพยตีพาย ไม่ยอมรับความจริง ก็ยิ่งเจ็บปวด เพราะถูกความจริงโบยตี จะดีกว่ามากหากยอมรับความจริงเสียแต่ตน้ แม้จะเจ็บปวด ทีแรก แต่ก็มีโอกาสที่ จะรับมือกับมันได้ดีขึ้น ยิ่ งยอมรับแต่เนิ่นๆ เท่าไร ก็ ยิ่งมีเวลา เตรียมการมากเท่านัน้ อีกทั้งสามารถใช้ประโยชน์จากมันได้ ดังผูท้ ี่เจริญมรณสติอยู่ เสมอ ไม่เพียงจะตืน่ ตระหนกน้อยลงเมือ่ ความตายมาประชิดตัวเท่านัน้ แต่ยงั สามารถใช้ ประโยชน์จากมัน คือเห็นธรรมจากความตาย ทําให้ปล่อยวางและเผชิญความตายด้วย ใจสงบ คัดย่อจากนิตยสารสารคดี เดือนธันวาคม 2556 9
3. ชาวประมงหามนุษย์
ระหว่างการสนทนากับเพื่อนในวงอาหาร หญิงสาวคนหนึ่งเล่าว่า “พ่อแม่รัก ฉันมากและแสดงความรูส้ ึกออกมาบ่อยๆ เวลาฉันไม่เห็ นด้วยกับแม่ แม่จะหยิบทุก อย่างที่อยู่ใกล้มือขว้างใส่ฉันทันที คราวหนึ่งแม่ขว้างมีดใส่ฉัน ฉันต้องเย็บสิบเข็มที่ขา หลังจากนัน้ ไม่กี่ปีพ่อก็บีบคอฉันตอนที่ฉันเริ่มเที่ยวกับผูช้ ายที่ฉันชอบ” แล้วเธอก็ตบ ท้ายว่า “พ่อแม่เป็ นห่วงฉันจริงๆ” ใครได้ฟังก็ย่อมรูว้ ่า ความรูส้ ึกของพ่อแม่ที่มีตอ่ เธอนัน้ เป็ นอะไรก็ได้ทั้งนัน้ แต่ ไม่ใช่ความรักหรือความห่วงใยอย่างแน่นอน เพราะอาการแสดงออกของพ่อแม่ตามที่ เธอเล่านัน้ ชัดเจนมากว่าเต็มไปด้วยความโกรธและความรุนแรง ซึ่งคงไม่ได้เกิดขึ้นแค่ ครัง้ สองครัง้ แต่เกิดเป็ นประจํา อะไรทําให้เธอยืนยันว่านัน่ เป็ นความรักที่พ่อแม่มีให้แก่เธอ ใช่หรือไม่ว่าแท้จริง แล้วเธอยอมรับไม่ได้ว่าพ่อแม่เกลียดเธอ แม้พฤติกรรมของพ่อแม่จะแสดงออกอย่าง ชัดเจน แต่เธอเลือกที่จะ “ตีความ” ไปในทางตรงกันข้าม บางครัง้ ความจริงเป็ นเรื่องเลวร้าย ยอมรับเมือ่ ใดก็เจ็บปวดเมื่อนัน้ หลายคน จึงเลือกที่จะปฏิเสธความจริงดังกล่าว บางคนใช้วิธีตคี วามปรากฏการณ์ที่เกิดขึน้ ไปใน แง่อื่น แต่หลายคนเลือกที่จะปฏิเสธปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น โดยทําเป็ นมองไม่เห็ นหรือ ไม่ได้ยินเอาเลย อะไรทําให้เราปฏิ เสธความจริ งทั้งๆ ที่ชัดเจนแจ่มแจ้งหรื ออยู่ต่อหน้าต่อตา คําตอบคือ ความกลัว บางคนกลัวว่าพ่อแม่ไม่รัก หรือเพื่อนไม่คบ เพราะนัน่ หมายถึง ความรูส้ ึกไร้คณ ุ ค่า ตัวตนไม่มีความหมาย ไม่มีอะไรที่เจ็บปวดรวดร้าวมากเท่ากับการ เป็ น nobody หรือไม่มตี วั ตนในสายตาของคนอื่น ความกลัว ตายก็ เ ป็ นอี ก สาเหตุห นึ่ง ที่ ทํา ให้ห ลายคนปฏิ เ สธความจริ ง คน จํานวนไม่นอ้ ยไม่ยอมเชื่อเมื่อหมอยืนยันผลวินิจฉัยว่าเขาเป็ นมะเร็ ง ในใจเขานัน้ ได้แต่ ตะโกนว่า “ไม่จริงๆ” บางคนถึงกับทักท้วงหมอว่า วินจิ ฉัยผิด หรือหยิบฟิ ล์มผิดหรือ เปล่า 8
ทะเลสาบกาลิลมี ขี นาดเล็ก ยาวจากเหนือจรดใต้ 21 ก.ม. กว้าง 13 ก.ม. อยู่ ตํ่ากว่าระดับนํ้ าทะเลถึง 200 เมตร ภูมอิ ากาศโดยรอบจึงอบอุ่นและอุดมสมบูรณ์ มี อย่างน้อย 9 เมืองตัง้ อยู่รมิ ทะเลสาบ แต่ทุกวันนี้เหลือตีเบรีอสั เพียงเมืองเดียวทีย่ งั คง อยูแ่ ละเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในสมัยพระเยซูเจ้า มีเรือประมงจํานวนมาก โยเซฟุสเล่าว่าเฉพาะทีต่ ารีเคอา เมืองเดียวก็มมี ากถึง 240 ลําแล้ว วิธีจ ับ ปลาของชาวกาลิลีมี 3 แบบคือ ใช้เ บ็ด แห หรือ อวนลาก ทัง้ เปโตร อันดรูว์ ยากอบและยอห์นต่างใช้แหจับปลาขณะทีพ่ ระเยซูเจ้าตรัสเรียกพวกเขา ชาวประมงไม่ถงึ กับยากจนก็จริง แต่ดอ้ ยการศึกษา ไม่มสี ถานภาพในสังคม ขาดอิทธิพลและความมังคั ่ ง่ อนาคตของพวกเขาจึงไม่น่าจะไปได้ไกลนัก กระนัน้ ก็ตาม พระเยซูเจ้าทรงเรียกพวกเขา เพราะพวกเขาพร้อมจะลา จากบิดา ทิ้ งเรือ ทิ้ งแห ทิ้ งอาชีพ แล้วถวายตัวติ ดตามพระองค์ นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า คุณสมบัตทิ จ่ี ําเป็ นของชาวประมงซึง่ ส่งผลให้เป็ น “ชาวประมงหามนุษย์” ทีด่ คี อื 1. อดทน ชาวประมงต้องรอปลากินเหยื่อด้วยความอดทน หากย้ายที่ บ่อยย่อมเป็ นชาวประมงทีด่ ไี ม่ได้ เช่นเดียวกัน เราต้องรูจ้ กั รอและอดทนเพราะยากที่ ข่าวดีจะบังเกิดผลโดยเร็ว 2. พากเพี ย ร ไม่ ท้อ ถอยหรือ ละทิ้ง ความพยายามแม้ดูเ หมือ นจะไม่ เกิดผลอะไรก็ตาม 3. กล้าหาญ ชาวประมงต้องกล้าเสีย่ งแล่นเรือออกไปในทะเลลึกจึงจะ ได้ปลา เราก็ตอ้ งกล้าประกาศข่าวดีแม้จะรูถ้ งึ อันตรายอันอาจเกิดจากการพูดความจริง ก็ตาม 4. รู้จงั หวะ ว่าเมือ่ ไรควรกลับเข้าฝงั ่ เมื่อไรควรหรือไม่ควรเหวีย่ งแห ผู้ ประกาศข่าวดียอ่ มต้องรูจ้ งั หวะจะโคนเช่นกันว่าเมือ่ ใดควรพูดหรือเมือ่ ใดควรเงียบ 5
5. รู้จกั เลือกเหยื่อ ให้เหมาะกับปลาแต่ละชนิด ผูป้ ระกาศข่าวดีหรือ ครูคาํ สอนก็ตอ้ งรูจ้ กั ใช้วธิ กี ารทีเ่ หมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม 6. ซ่อนตัว แม้แต่เงาก็ตอ้ งไม่ให้ปลาเห็น มิฉะนัน้ ปลาจะหนีไปหมด ผู้ ประกาศข่าวดีจงึ ต้องซ่อนตัวและนํ าเสนอพระเยซูเจ้า ไม่ใช่เสนอหน้าตัวเองให้แก่ มวลมนุษย์
4. วิธีการของพระเยซูเจ้า พระองค์ทรงเลือกแคว้นกาลิลเี พราะประชาชนพร้อมทีจ่ ะรับข่าวดี และในกาลิ ลีน้ีเองพระองค์ทรงเลือก “ศาลาธรรม” เป็ นสถานทีป่ ระกาศข่าวดี พระวิหารของชาวยิวมีเพียงแห่งเดียวที่กรุงเยรูซาเล็มและใช้เพื่อการถวาย บูชาเท่านัน้ ส่วนศาลาธรรมพบได้ทุกแห่งที่มชี าวยิวชุมนุ มกันสิบครอบครัวขึน้ ไป เป็ นศูนย์ก ลางชีวิต และเป็ น เสมือ น “มหาวิท ยาลัย ศาสนา” ที่แ พร่ห ลายที่สุด ของ ชาวยิว กิจกรรมในศาลาธรรมมี 3 ส่วนคือ การสวดภาวนา การอ่านพระคัมภีร์ และ การปราศรัยต่อทีป่ ระชุม เนื่องจากไม่มนี ักเทศน์อาชีพ หัวหน้าศาลาธรรมจึงมีหน้าทีเ่ ชิญสมาชิกหรือ แขกผูม้ ชี ่อื เสียง รวมถึงพิจารณาอนุ ญาตให้ผทู้ ต่ี อ้ งการแบ่งปนั พระวาจา ขึน้ กล่าวคํา ั หา และ ปราศรัย ต่ อ ที่ป ระชุ ม หลัง จากนัน้ จึง เปิ ด โอกาสให้ท่ีป ระชุ ม ซัก ถามป ญ สนทนาธรรมแลกเปลีย่ นความคิดเห็นซึง่ กันและกัน ศาลาธรรมจึงเป็ นแหล่งรวมของคนที่มศี าสนาอยู่ในหัวใจ และพระเยซูเจ้า ทรงเลือกพวกเขาสําหรับรับข่าวดีของพระองค์ จากบทที่ 4 ข้อ 23 “พระองค์เสด็จไปทัวแคว้ ่ นกาลิลี ทรงสังสอนในศาลา ่ ธรรม ทรงประกาศข่าวดีเรือ่ งพระอาณาจักร ทรงรักษาโรคและความเจ็บไข้ทุก ชนิดของประชาชน” มัทธิวได้จําแนกกิจกรรมสําคัญของพระเยซูเจ้าไว้ 3 ประการ ด้วยกัน กล่าวคือ 6
1. ทรงประกาศข่ า วดี ด้ ว ย “ความแน่ ใ จ” และ “อย่ า งผู้มีอํ า นาจ” พระองค์ทรงทําให้ความไม่รู้ ความโง่เขลา หรือการคาดเดาของเราหมดสิ้นไป นับ จากนี้ไปเรารูค้ วามจริงด้วยความแน่ ใจว่าพระเจ้าทรงเป็ นใคร ทรงดีงามและน่ ารักสัก เพียงใด 2. ทรงสอน การประกาศข่าวดีทําให้เรารู้ความจริงด้วยความแน่ ใ จ ส่วนการสอนช่วยอธิบายความหมายและความสําคัญของความจริงนัน้ หลายครัง้ เรารู้ ความจริง แต่ เ ข้า ใจผิด และลงเอยด้ว ยข้อ สรุป ผิด ๆ แต่ พ ระองค์ท รงสอนให้เ รารู้ ความหมายแท้จริงของศาสนา 3. ทรงรักษา พระองค์ไม่เพียงบอกความจริงแก่มนุ ษย์ดว้ ย “คําพูด” เท่านัน้ แต่ทรงเปลีย่ นความจริงให้เป็ น “การกระทํา” ด้วย
หากเราไม่ ป ระกาศข่ า วดี ด้ ว ยความแน่ ใจ ไม่ อ ธิ บ าย ความจริงให้ถ่องแท้ และไม่เปลีย่ นความจริงให้เป็ นการกระทํา เรากําลังเดินคนละทางกับพระเยซูเจ้า... !!
7
5. รู้จกั เลือกเหยื่อ ให้เหมาะกับปลาแต่ละชนิด ผูป้ ระกาศข่าวดีหรือ ครูคาํ สอนก็ตอ้ งรูจ้ กั ใช้วธิ กี ารทีเ่ หมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม 6. ซ่อนตัว แม้แต่เงาก็ตอ้ งไม่ให้ปลาเห็น มิฉะนัน้ ปลาจะหนีไปหมด ผู้ ประกาศข่าวดีจงึ ต้องซ่อนตัวและนํ าเสนอพระเยซูเจ้า ไม่ใช่เสนอหน้าตัวเองให้แก่ มวลมนุษย์
4. วิธีการของพระเยซูเจ้า พระองค์ทรงเลือกแคว้นกาลิลเี พราะประชาชนพร้อมทีจ่ ะรับข่าวดี และในกาลิ ลีน้ีเองพระองค์ทรงเลือก “ศาลาธรรม” เป็ นสถานทีป่ ระกาศข่าวดี พระวิหารของชาวยิวมีเพียงแห่งเดียวที่กรุงเยรูซาเล็มและใช้เพื่อการถวาย บูชาเท่านัน้ ส่วนศาลาธรรมพบได้ทุกแห่งที่มชี าวยิวชุมนุ มกันสิบครอบครัวขึน้ ไป เป็ นศูนย์ก ลางชีวิต และเป็ น เสมือ น “มหาวิท ยาลัย ศาสนา” ที่แ พร่ห ลายที่สุด ของ ชาวยิว กิจกรรมในศาลาธรรมมี 3 ส่วนคือ การสวดภาวนา การอ่านพระคัมภีร์ และ การปราศรัยต่อทีป่ ระชุม เนื่องจากไม่มนี ักเทศน์อาชีพ หัวหน้าศาลาธรรมจึงมีหน้าทีเ่ ชิญสมาชิกหรือ แขกผูม้ ชี ่อื เสียง รวมถึงพิจารณาอนุ ญาตให้ผทู้ ต่ี อ้ งการแบ่งปนั พระวาจา ขึน้ กล่าวคํา ั หา และ ปราศรัย ต่ อ ที่ป ระชุ ม หลัง จากนัน้ จึง เปิ ด โอกาสให้ท่ีป ระชุ ม ซัก ถามป ญ สนทนาธรรมแลกเปลีย่ นความคิดเห็นซึง่ กันและกัน ศาลาธรรมจึงเป็ นแหล่งรวมของคนที่มศี าสนาอยู่ในหัวใจ และพระเยซูเจ้า ทรงเลือกพวกเขาสําหรับรับข่าวดีของพระองค์ จากบทที่ 4 ข้อ 23 “พระองค์เสด็จไปทัวแคว้ ่ นกาลิลี ทรงสังสอนในศาลา ่ ธรรม ทรงประกาศข่าวดีเรือ่ งพระอาณาจักร ทรงรักษาโรคและความเจ็บไข้ทุก ชนิดของประชาชน” มัทธิวได้จําแนกกิจกรรมสําคัญของพระเยซูเจ้าไว้ 3 ประการ ด้วยกัน กล่าวคือ 6
1. ทรงประกาศข่ า วดี ด้ ว ย “ความแน่ ใ จ” และ “อย่ า งผู้มีอํ า นาจ” พระองค์ทรงทําให้ความไม่รู้ ความโง่เขลา หรือการคาดเดาของเราหมดสิ้นไป นับ จากนี้ไปเรารูค้ วามจริงด้วยความแน่ ใจว่าพระเจ้าทรงเป็ นใคร ทรงดีงามและน่ ารักสัก เพียงใด 2. ทรงสอน การประกาศข่าวดีทําให้เรารู้ความจริงด้วยความแน่ ใ จ ส่วนการสอนช่วยอธิบายความหมายและความสําคัญของความจริงนัน้ หลายครัง้ เรารู้ ความจริง แต่ เ ข้า ใจผิด และลงเอยด้ว ยข้อ สรุป ผิด ๆ แต่ พ ระองค์ท รงสอนให้เ รารู้ ความหมายแท้จริงของศาสนา 3. ทรงรักษา พระองค์ไม่เพียงบอกความจริงแก่มนุ ษย์ดว้ ย “คําพูด” เท่านัน้ แต่ทรงเปลีย่ นความจริงให้เป็ น “การกระทํา” ด้วย
หากเราไม่ ป ระกาศข่ า วดี ด้ ว ยความแน่ ใจ ไม่ อ ธิ บ าย ความจริงให้ถ่องแท้ และไม่เปลีย่ นความจริงให้เป็ นการกระทํา เรากําลังเดินคนละทางกับพระเยซูเจ้า... !!
7
3. ชาวประมงหามนุษย์
ระหว่างการสนทนากับเพื่อนในวงอาหาร หญิงสาวคนหนึ่งเล่าว่า “พ่อแม่รัก ฉันมากและแสดงความรูส้ ึกออกมาบ่อยๆ เวลาฉันไม่เห็ นด้วยกับแม่ แม่จะหยิบทุก อย่างที่อยู่ใกล้มือขว้างใส่ฉันทันที คราวหนึ่งแม่ขว้างมีดใส่ฉัน ฉันต้องเย็บสิบเข็มที่ขา หลังจากนัน้ ไม่กี่ปีพ่อก็บีบคอฉันตอนที่ฉันเริ่มเที่ยวกับผูช้ ายที่ฉันชอบ” แล้วเธอก็ตบ ท้ายว่า “พ่อแม่เป็ นห่วงฉันจริงๆ” ใครได้ฟังก็ย่อมรูว้ ่า ความรูส้ ึกของพ่อแม่ที่มีตอ่ เธอนัน้ เป็ นอะไรก็ได้ทั้งนัน้ แต่ ไม่ใช่ความรักหรือความห่วงใยอย่างแน่นอน เพราะอาการแสดงออกของพ่อแม่ตามที่ เธอเล่านัน้ ชัดเจนมากว่าเต็มไปด้วยความโกรธและความรุนแรง ซึ่งคงไม่ได้เกิดขึ้นแค่ ครัง้ สองครัง้ แต่เกิดเป็ นประจํา อะไรทําให้เธอยืนยันว่านัน่ เป็ นความรักที่พ่อแม่มีให้แก่เธอ ใช่หรือไม่ว่าแท้จริง แล้วเธอยอมรับไม่ได้ว่าพ่อแม่เกลียดเธอ แม้พฤติกรรมของพ่อแม่จะแสดงออกอย่าง ชัดเจน แต่เธอเลือกที่จะ “ตีความ” ไปในทางตรงกันข้าม บางครัง้ ความจริงเป็ นเรื่องเลวร้าย ยอมรับเมือ่ ใดก็เจ็บปวดเมื่อนัน้ หลายคน จึงเลือกที่จะปฏิเสธความจริงดังกล่าว บางคนใช้วิธีตคี วามปรากฏการณ์ที่เกิดขึน้ ไปใน แง่อื่น แต่หลายคนเลือกที่จะปฏิเสธปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น โดยทําเป็ นมองไม่เห็ นหรือ ไม่ได้ยินเอาเลย อะไรทําให้เราปฏิ เสธความจริ งทั้งๆ ที่ชัดเจนแจ่มแจ้งหรื ออยู่ต่อหน้าต่อตา คําตอบคือ ความกลัว บางคนกลัวว่าพ่อแม่ไม่รัก หรือเพื่อนไม่คบ เพราะนัน่ หมายถึง ความรูส้ ึกไร้คณ ุ ค่า ตัวตนไม่มีความหมาย ไม่มีอะไรที่เจ็บปวดรวดร้าวมากเท่ากับการ เป็ น nobody หรือไม่มตี วั ตนในสายตาของคนอื่น ความกลัว ตายก็ เ ป็ นอี ก สาเหตุห นึ่ง ที่ ทํา ให้ห ลายคนปฏิ เ สธความจริ ง คน จํานวนไม่นอ้ ยไม่ยอมเชื่อเมื่อหมอยืนยันผลวินิจฉัยว่าเขาเป็ นมะเร็ ง ในใจเขานัน้ ได้แต่ ตะโกนว่า “ไม่จริงๆ” บางคนถึงกับทักท้วงหมอว่า วินจิ ฉัยผิด หรือหยิบฟิ ล์มผิดหรือ เปล่า 8
ทะเลสาบกาลิลมี ขี นาดเล็ก ยาวจากเหนือจรดใต้ 21 ก.ม. กว้าง 13 ก.ม. อยู่ ตํ่ากว่าระดับนํ้ าทะเลถึง 200 เมตร ภูมอิ ากาศโดยรอบจึงอบอุ่นและอุดมสมบูรณ์ มี อย่างน้อย 9 เมืองตัง้ อยู่รมิ ทะเลสาบ แต่ทุกวันนี้เหลือตีเบรีอสั เพียงเมืองเดียวทีย่ งั คง อยูแ่ ละเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในสมัยพระเยซูเจ้า มีเรือประมงจํานวนมาก โยเซฟุสเล่าว่าเฉพาะทีต่ ารีเคอา เมืองเดียวก็มมี ากถึง 240 ลําแล้ว วิธีจ ับ ปลาของชาวกาลิลีมี 3 แบบคือ ใช้เ บ็ด แห หรือ อวนลาก ทัง้ เปโตร อันดรูว์ ยากอบและยอห์นต่างใช้แหจับปลาขณะทีพ่ ระเยซูเจ้าตรัสเรียกพวกเขา ชาวประมงไม่ถงึ กับยากจนก็จริง แต่ดอ้ ยการศึกษา ไม่มสี ถานภาพในสังคม ขาดอิทธิพลและความมังคั ่ ง่ อนาคตของพวกเขาจึงไม่น่าจะไปได้ไกลนัก กระนัน้ ก็ตาม พระเยซูเจ้าทรงเรียกพวกเขา เพราะพวกเขาพร้อมจะลา จากบิดา ทิ้ งเรือ ทิ้ งแห ทิ้ งอาชีพ แล้วถวายตัวติ ดตามพระองค์ นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า คุณสมบัตทิ จ่ี ําเป็ นของชาวประมงซึง่ ส่งผลให้เป็ น “ชาวประมงหามนุษย์” ทีด่ คี อื 1. อดทน ชาวประมงต้องรอปลากินเหยื่อด้วยความอดทน หากย้ายที่ บ่อยย่อมเป็ นชาวประมงทีด่ ไี ม่ได้ เช่นเดียวกัน เราต้องรูจ้ กั รอและอดทนเพราะยากที่ ข่าวดีจะบังเกิดผลโดยเร็ว 2. พากเพี ย ร ไม่ ท้อ ถอยหรือ ละทิ้ง ความพยายามแม้ดูเ หมือ นจะไม่ เกิดผลอะไรก็ตาม 3. กล้าหาญ ชาวประมงต้องกล้าเสีย่ งแล่นเรือออกไปในทะเลลึกจึงจะ ได้ปลา เราก็ตอ้ งกล้าประกาศข่าวดีแม้จะรูถ้ งึ อันตรายอันอาจเกิดจากการพูดความจริง ก็ตาม 4. รู้จงั หวะ ว่าเมือ่ ไรควรกลับเข้าฝงั ่ เมื่อไรควรหรือไม่ควรเหวีย่ งแห ผู้ ประกาศข่าวดียอ่ มต้องรูจ้ งั หวะจะโคนเช่นกันว่าเมือ่ ใดควรพูดหรือเมือ่ ใดควรเงียบ 5
กาลิลจี งึ เป็ นดินแดนทีเ่ หมาะสมอย่างยิง่ สําหรับการเริม่ ต้นประกาศข่าวดีของ พระเยซูเจ้า !
2. ทรงประกาศข่าวดี ทีเ่ มืองคาเปอรนาอุมในแคว้นกาลิลี “พระเยซูเจ้าทรงเริม่ ประกาศเทศนาว่า ‘จงกลับใจเถิด เพราะอาณาจักรสวรรค์อยูใ่ กล้แล้ว’” (มธ 4:17) เมื่อได้ย ินคํา “ประกาศเทศนา” ซึ่งตรงกับคํากรีก kērussein (เครุสเซน) หลายคนอาจรูส้ กึ เบื่อหน่าย แต่ชาวกรีกกลับฟงั คํานี้ดว้ ยความตื่นเต้นเพราะ kērux (เครุกซ์) คือ “คนนํ าพระราชสาสน์ ” และคํากริยา kērussein (เครุสเซน) คือการ “ประกาศสารของพระมหากษัตริย”์ คํา “เครุส เซน” จึง บ่ ง บอกลัก ษณะการสอนของพระเยซู เ จ้า ซึ่ง เราพึง เลียนแบบอย่างยิง่ กล่าวคือ 1. สอนด้วยความ “แน่ ใจ” เนื่องจากสิง่ ทีส่ อนเป็ นพระราชสาสน์ของ กษัตริย์ จึงต้องไม่มที ว่ี ่างสําหรับคําว่า “อาจจะ” หรือ “บางที” หากเราไม่แน่ ใจในสิง่ ทีส่ อน เราจะไม่มที างทําให้ผอู้ ่นื แน่ใจในสิง่ ทีเ่ ราสงสัยได้เลย 2. สอนอย่ า ง “ผู้มี อํ า นาจ” เพราะเรากํ า ลัง พู ด ในพระนามของ พระมหากษัตริย์ อีกทัง้ เนื้อหาก็เป็ นพระบัญชาหรือพระราชวินิจฉัยของกษัตริย์ เรา จึงต้องไม่พดู อ้อมแอ้ม อ้อมค้อม หรือคลุมเครือ 3. สอนคํ า สอนของ “พระเจ้ า ” เพราะว่ า พระราชสาสน์ มีท่ีม าจาก พระมหากษัตริยฉ์ นั ใด เนื้อหาคําสอนของศาสนาคริสต์กม็ ที ม่ี าจากพระเยซูคริสตเจ้า ฉันนัน้ เราจึงต้องสอนคําสอนของพระเยซูเจ้า มิใช่ความคิดเห็นของตนเอง ‘จงกลับใจเถิ ด เพราะอาณาจักรสวรรค์อยู่ใกล้แล้ว’ จึงเป็ นทัง้ ข่าวดีและ ภารกิจทีจ่ าํ เป็ นและเร่งด่วนทีส่ ดุ เพราะอาณาจักรของพระเจ้าเริม่ ต้นแล้ว ชีวติ นิรนั ดร เข้ามาสูโ่ ลกแล้ว หากพูดแบบคอหนังก็ตอ้ งบอกว่า “พระเจ้าบุกโลก” แล้ว ในเมือ่ พระเจ้าทรงบุกโลก จึงเป็ นเรือ่ งสําคัญยิง่ ยวดทีเ่ ราจะต้องตัดสินใจให้ ถูกต้องว่าจะหันกลับมาหาพระเจ้าหรือยังจะดึงดันอยูฝ่ า่ ยเดียวกับโลก ! 4
ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สองมีชาวยิวหลายล้านคนที่ถกู กวาดต้อนไปยังค่าย นรกเพื่อรอการสังหารด้วยการรมก๊าซพิษ ปรากฏว่านักโทษหลายคนไม่เชื่อว่า มีหอ้ ง รมก๊า ซพิ ษ หรื อ การสัง หารโหดในค่ า ยของตน ทั้ ง ๆ ที่ เ ห็ น เตาเผาศพส่ ง กลิ่ น ไหม้ คละคลุง้ อยู่ห่ า งไม่กี่ ร อ้ ยหลา รวมทั้ง ได้ยิ น ข่า วลื อดัง กล่า ววัน แล้ววัน เล่า พวกเขา ปฏิเสธความจริงดังกล่าวเพราะยอมรับไม่ได้ว่าตนเองกําลังจะตาย มิใช่แต่คนที่จิตใจอ่อนแอหรือสิ้นเรี่ยวสิ้นแรงเท่านัน้ ที่ไม่กล้ายอมรับความจริง อันเจ็บปวด แม้กระทัง่ คนที่เต็มไปด้วยความมัน่ อกมัน่ ใจหรือมีอาํ นาจ ก็อาจมีอาการ ดังกล่าวด้วยเช่นกัน อาจจะไม่ใช่เพราะกลัวตาย แต่เพราะกลัวความล้มเหลวหรือความ พ่ายแพ้ จะว่าไปแล้วการปฏิเสธความจริงด้วยวิธีการต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็ นวิธีปกป้อง จิตใจตนเองไม่ให้เป็ นทุกข์หรือเจ็บปวด แม้จะมีประโยชน์แต่ก็เป็ นโทษในระยะยาว เพราะ ทําให้ไม่สนใจเตรี ยมพร้อมรับมือกับเหตุรา้ ยที่เกิดขึ้น ความสูญเสียที่ ตามมาจึ งมัก ร้ายแรงกว่าการยอมรับความจริงเสียตัง้ แต่แต่แรก อันที่จริง แม้ความตายยังไม่ถึงกับประชิดตัว แต่ในส่วนลึกของคนส่วนใหญ่นนั้ ไม่เชือ่ ว่าตนจะต้องตายด้วยซํา้ ทัง้ ๆ ที่ได้ยินได้ฟังว่ามีคนตายอยู่เนืองๆ หรือถึงแม้รวู้ ่า ตัวเองจะต้องตายไม่วันใดก็ วันหนึ่ง แต่ใจก็ ไม่ได้เชื่ออย่างนั้น ดังนั้นเมื่อถึ งคราวที่ จะต้องตาย จึงยอมรับไม่ได้ พยายามปฏิเสธผลักไสและต่อต้าน ซึ่ งเท่ากับเพิ่มความ ทุกข์ทรมานให้แก่ตนมากขึน้ ปั ญ หาใดๆ ก็ ไ ม่ ร ้า ยแรงหรื อ น่ า กลั ว เท่ า กั บ ใจที่ ป ฏิ เ สธปั ญ หา เพราะนัน่ หมายถึงความประมาท นิง่ ดูดาย งอมืองอเท้า ปล่อยให้ปัญหานัน้ จู่โจมโดยไม่ทนั ตัง้ ตัว ถึงตอนนัน้ แล้วหากใจยังปฏิเสธผลักไส ตีโพยตีพาย ไม่ยอมรับความจริง ก็ยิ่งเจ็บปวด เพราะถูกความจริงโบยตี จะดีกว่ามากหากยอมรับความจริงเสียแต่ตน้ แม้จะเจ็บปวด ทีแรก แต่ก็มีโอกาสที่ จะรับมือกับมันได้ดีขึ้น ยิ่ งยอมรับแต่เนิ่นๆ เท่าไร ก็ ยิ่งมีเวลา เตรียมการมากเท่านัน้ อีกทั้งสามารถใช้ประโยชน์จากมันได้ ดังผูท้ ี่เจริญมรณสติอยู่ เสมอ ไม่เพียงจะตืน่ ตระหนกน้อยลงเมือ่ ความตายมาประชิดตัวเท่านัน้ แต่ยงั สามารถใช้ ประโยชน์จากมัน คือเห็นธรรมจากความตาย ทําให้ปล่อยวางและเผชิญความตายด้วย ใจสงบ คัดย่อจากนิตยสารสารคดี เดือนธันวาคม 2556 9
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ส. 25 ม.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว 18.00 น. เทเรซา ณัฐวรรณ สาธรกิจ และครอบครัว อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท เทเรซา สสับศรี ชมไพศาล อันนา วิเลี่ยม บุญเจริ ญ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา.26 ม.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ อุทศิ แด่ คุณพ่อ ยอแซฟ วัลลภ จําหน่ายผล ยอห์น บัปติสต์ มณี กิจนิตย์ชีว์ มารี อา เทเรซา สุ มาลี กิจนิตย์ชีว์ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน, มารี อา มยุรี ผลาวงศ์ มัทธิว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต, Thomas Adams อันนา เย็น เอี้ยพิน, ยอแซฟ เกียจัว๊ แซ่คู อันนา วิเลี่ยม บุญเจริ ญ เปาโล พร, อันนา ละม่อม พึ่งผล ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง 10
ผู้ขอมิสซา อดิสยั ,สไบทิพย์
เริ งจิต ขนิษฎา วไลพร ธนกร บัณฑิต คค.ศรี เจริ ญ อดิสัย,สไบทิพย์ อดิสัย,สไบทิพย์ อดิสัย,สไบทิพย์ มนัส มนัส มนัส วไลพร วิภาวนี คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ -
ออกติดกับซีเรีย ทางใต้ตดิ กับสะมาเรีย ส่วนทางตะวันตกติดกับฟีนิเซีย จนได้ช่อื เต็ม ว่า “แคว้นกาลิลแี ห่งบรรดาประชาชาติ” (Galilee of the Gentiles) ด้วยเหตุน้ีชาวกาลิ ลีจงึ ได้สมั ผัสกับความคิดและอิทธิพลใหม่ ๆ ที่ “ไม่ใช่ยวิ ” อยูเ่ สมอ 2. มีถนนสําคัญผ่านหลายเส้นทาง เส้นทางแรกคือถนนเรียบทะเลจาก ั่ ดามัสกัสผ่านกาลิลเี รื่อยลงไปจนถึงอียปิ ต์และอัฟริกา อีกเส้นหนึ่งจากฝงทะเลทาง ตะวันตกตัดผ่านพรมแดนไปบรรจบกับทางหลวง King’s Highway ทางตะวันออกของ แม่น้ําจอร์แดน กาลิลจี งึ อยูใ่ นเส้นทางคมนาคมระดับโลกทีซ่ ง่ึ ความคิดใหม่ ๆ ผ่านไป มาไม่ขาดสาย 3. โยชูวาแบ่งดินแดนที่เป็ นแคว้นกาลิลีให้แก่ตระกูลอาเชอร์ นัฟทาลี และเศบูลุนก็จริง แต่พวกเขาไม่เคยขับไล่ชนพืน้ เมืองออกไปได้สาํ เร็จ (เทียบ ยชว 9) การผสมระหว่างเชือ้ ชาติและเผ่าพันธุ์จงึ เกิดขึน้ นอกจากนัน้ ในศตวรรษที่ 8 ก.ค.ศ. กองทัพอัสซีเรียได้ยดึ อาณาจักรทางเหนือแล้วกวาดต้อนชาวยิวส่วนใหญ่ไปอยูต่ ามหัว เมืองต่างชาติ พร้อมกับนําคนต่างชาติเข้ามาอาศัยแทนทีช่ าวยิว สายเลือดต่างชาติจงึ ถูกสูบฉีดเข้าสูก่ าลิลอี ย่างท่วมท้น จากศตวรรษที่ 8 ถึงศตวรรษที่ 2 ก.ค.ศ. กาลิลตี กอยู่ใต้เงือ้ มมือของ ชนต่างชาติเป็ นส่วนใหญ่ เมื่อชาวยิวกลับจากถิน่ เนรเทศในสมัยของประกาศกเนหะ มียแ์ ละเอสรา ชาวกาลิลจี าํ นวนมากได้อพยพลงใต้มาอาศัยทีก่ รุงเยรูซาเล็ม ต่อมาใน ปี 164 ก.ค.ศ. ซีโมน มัคคาบีได้ยกทัพขับไล่ชาวซีเรียออกจากกาลิลแี ล้วพาชาวยิวที่ หลงเหลือกลับมากรุงเยรูซาเล็ม ทีส่ ุดในปี 104 ก.ค.ศ. อริสโตบูลุสสามารถยึดกาลิลี กลับมาเป็ นของชาวยิวอีกครัง้ หนึ่ง พร้อมกับบังคับทุกคนให้เข้าสุหนัตเป็ นยิวไม่ว่าจะ เต็มใจหรือไม่กต็ าม สภาพภูมศิ าสตร์และประวัตศิ าสตร์ดงั กล่าว ทําให้ชาวกาลิลเี ปิ ดประตูรบั สาย เลือดพันธุใ์ หม่ ความคิดและอิทธิพลใหม่ ๆ สมดังคําของประกาศกอิสยาห์ทก่ี ล่าวถึง ดินแดนแห่งนี้วา่ “ดินแดนเศบูลุน และนัฟทาลี เส้นทางไปสูท่ ะเล ฟากโน้นของแม่น้ ําจอร์แดน แคว้นกาลิลแี ห่งบรรดาประชาชาติ” (มธ 4:15) 3
สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
มธ 4:12-23
1. สถานที่เริ่มภารกิจ พระเยซูเจ้าทรงเริม่ ภารกิจด้วยการเสด็จออกจากนาซาเร็ธ บ้านเกิดเมือง ั่ นอน มาประทับทีเ่ มืองคาเปอรนาอุม บนฝงทะเลสาบในแคว้ นกาลิลี (มธ 4:12-13) กาลิลตี งั ้ อยูท่ างเหนือสุดของปาเลสไตน์ ยาวจากเหนือจรดใต้ 80 ก.ม. กว้าง 40 ก.ม. แม้พ้ืน ที่จ ะเล็ก แต่ ก ลับ มีป ระชากรหนาแน่ น เพราะผืน ดิน อุ ด มสมบูร ณ์ มากกว่าภาคอื่น จนมีคาํ กล่าวว่า “ปลูกมะกอกพันต้นในกาลิลยี งั ง่ายกว่าคลอดลูกสัก คนในยูดาห์เสียอีก” โยเซฟุส นักประวัตศิ าสตร์ซง่ึ เคยเป็ นผูว้ ่าราชการจังหวัดนี้มาก่อน บันทึกไว้ ว่ากาลิลปี ระกอบด้วยหมู่บา้ น 204 แห่ง แต่ละแห่งมีประชากรไม่ต่ํากว่า 15,000 คน แม้ผู้คนส่วนใหญ่จะมีอารมณ์ ร้อน ชอบทะเลาะเบาะแว้งและก่อการจลาจลบ่อย ๆ กระนัน้ ก็ตาม พวกเขามีความกล้าหาญเป็ นเลิศ รักเกียรติของตนเหนือผลประโยชน์ อื่นใด มีความคิดริเริม่ อีกทัง้ พร้อมรับความคิด การเปลี่ยนแปลง และสิง่ ประดิษฐ์ ใหม่ๆ องค์ประกอบทีท่ าํ ให้ชาวกาลิลมี อี ุปนิสยั ดังกล่าว คือ 1. พวกเขาอยู่ท่ามกลางคนต่างชาติ ชื่อกาลิลมี าจาก “กาลิล” แปลว่า “วงกลม” เพราะพวกเขาถูกล้อมรอบโดยชาวต่างชาติทุกด้าน ทางทิศเหนือและตะวัน 2
วัน เดือน ปี รายการมิสซา อา 26 ม.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน 10.00 น. อันนา สุ นนั ท์ พลินบดินทร์ชยั เทเรซา ณัฐวรรณ สาธรกิจ และครอบครัว ราฟาแอล ชัยพฤกษ์, มีคาแอล ธันวา และครอบครัว คุณเกษม จิตติวฒั น์ มารี อา ภาณุมาศ พงศ์พนั ธุ์พฒั น์, มารี อา ปนัดดา ลี้ยาง เทเรซา ชนินทร์ มาศ พนอําพน, มารี อา กรรณิ กา ลี้ยาง พลเอกพิจิตร, คุณหญิงวิมล กุลละวณิ ชย์ คุณนพ ชูสอน, คุณประมวล นามตะ ครอบครัวบุตรสุ ทธิวงศ์, ครอบครัวสุ นทรพันธุ์ ครอบครัวเทพสิ ทธา, คุณทองดี ทวีสุนทร ครอบครัวจิระดํารง, ครอบครัวดารุ ทยาน อุทศิ แด่ มารี ย ์ ยอแซฟ ทวนทอง,มารี ย ์ ยอแซฟ อรวรรณ แก้วนวล คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา ฟิ ลิป มุ่ยชิม, คุณเช้ง แซ่จึง, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณก้านทอง แสงปัญหา คุณสอ ชูสอน, คุณวิชยั สายแสง, คุณด้วง ลี้ยาง โรซา ราตรี ลี้ยาง, อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช, คุณพัฒนา ทองธิ ว เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ และบรรพบุรุษ ฟรังซิ สเซเวียร์ สวัสดิ์, มารี อา ดารุ ณี ศรี ภิรมย์ เทเรซา สลับศรี ชมไพศาล เปาโล พร, อันนา ละม่อม พึ่งผล ผูล้ ่วงลับครอบครัวลี้ยางและจุลละมณฑล ผูล้ ่วงลับครอบครัวบุตรสุ ทธิวงศ์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวเทพสิ ทธาและครอบครัวสุ นทรพันธุ์ วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง
ผู้ขอมิสซา สันต์ฤทัย -/ทิพย์วิภา อิ๊ก,อ๊ะ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ อมรรัตน์ ชนิษฎา อิ๊ก, อ๊ะ 11
จ. 27 ม.ค. อ. 28 ม.ค. พ. 29 ม.ค. พฤ. 30 ม.ค. ศ. 31 ม.ค.
อุทศิ แด่ สุ ขสํ าราญ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ สุ ขสํ าราญ อุทศิ แด่
อันนา วิเลี่ยม บุญเจริ ญ คุณยุพิน ติรณะประกิจ ลอเรนซ์ สุ นทร, มารี อา สมสุ ข สุ นพิชยั อันนา วิเลี่ยม บุญเจริ ญ อันนา วิเลี่ยม บุญเจริ ญ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน เทเรซา สลับศรี ชมไพศาล มัตเทว มานิต ประภาพร
วไลพร มาลินี วไลพร วไลพร ชนิษฎา จิตรา
ฉบับที่ 511 วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 3 เทศกาลธรรมดา (ปี A) วันศุกร์ ที่ 31 มกราคม ศกนี้ เป็นวันตรุ ษจีน ขอเชิญพี่นอ้ งร่ วมมิสซาขอพรโอกาสวัน ปี ใหม่ของชาวจีน เวลา 10.00 น. งดมิสซาเย็น 19.00 น. วันอาทิตย์หน้า (2 กุมภาพันธ์ ศกนี้) เป็ นวันอาทิตย์ตน้ เดือน และฉลองการถวายพระ กุมารในพระวิหาร พี่น้องท่านใดประสงค์นาํ บุตรหลานเด็กเล็กมารับศีลล้างบาป โปรดติดต่อสํานักงานวัด แผนกอภิ บาลผูส้ ู งอายุ อัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ รณรงค์โครงการจิ ตอาสาหาทุน ช่ วยงานผูส้ ู งอายุร ะดับชาติ และระดับสังฆมณฑล โดยการออมเงิ นวัน ละ 1 บาท ตลอดปี 2014 เพื่ อ สนับ สนุ น กิ จ กรรมของผูส้ ู ง อายุ พี่ น้อ งท่ า นใดสนใจเข้า ร่ ว ม โครงการ โปรดลงทะเบียนและรับกระปุกออมเงินได้ที่สาํ นักงานวัด สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน จัดทําสลากการกุศลโอกาสครบรอบ 50 ปี บ้าน เณร รายได้สนับสนุนกองทุนกระแสเรี ยกและเพื่อบูรณะวัดและสามเณราลัย จําหน่าย ใบละ 100 บาท ลุน้ รับรางวัลรถยนต์, iPhone, iPad ฯลฯ มูลค่ารวม 3.4 ล้านบาท กําหนดจับรางวัล 22 มีนาคม ศกนี้ ผูส้ นใจโปรดติดต่อเจ้าหน้าที่สภาภิบาลที่หน้าวัด หรื อเจ้าหน้าที่ประจําสํานักงานวัด 12
จงตามเรามาเถิด เราจะทําให้ ท่านเป็ นชาวประมงหามนุษย์ มธ 4:19