ฉบับที่ 516 วันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2014
ฉบับที่ 516 วันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 8 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
สั ปดาห์ ที่ 8 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
ท่านทั้งหลายจะปรนนิบตั ิรบั ใช้ พระเจ้าและเงินทองพร้อมกันไม่ได้
ท่านทั้งหลายจะปรนนิบตั ิรบั ใช้ พระเจ้าและเงินทองพร้อมกันไม่ได้
มธ 6:24
มธ 6:24
สั ปดาห์ ที่ 8 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
มธ 6:24-34
วัน เดือน ปี จ. 3 มี.ค. อ. 4 มี.ค. พ. 5 มี.ค. พฤ. 6 มี.ค. ศ. 7 มี.ค.
อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่
รายการมิสซา วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ
ผู้ขอมิสซา ธนพร ธนพร อิสอัคร ธนพร นาธาน, อาท
คําสอนฤด ูร้อน เขต 2 1. ไม่มีใครเป็ นข้าสองเจ้าบ่าวสองนายได้ เพื่อจะเข้า ใจพระวาจาของพระเยซูเ จ้า ตอนนี้ ไ ด้อย่า งลึกซึ้ง จําเป็ นที่เ รา จะต้องเรียนรูค้ วามหมายของศัพท์บางคําทีใ่ ช้ในสมัยของพระองค์ 1. “ข้า, บ่าว” ตรงกับคํากรีก douleuein (ดูแลวเอน) ซึ่งหมายถึง “เป็ นทาส” ในทางกฎหมาย “ทาส” ไม่ ใ ช่ “คน” แต่ เ ป็ น “สิ ่ง ของ” หรื อ “เครือ่ งมือที ม่ ีชีวิต” เท่านัน้ เพราะฉะนัน้ นายจะขาย จะเฆีย่ นตี จะโยนทิง้ หรือจะ ฆ่าให้ตายก็ได้ พูดง่าย ๆ ก็คอื นายทําอะไรกับทรัพย์สนิ ของตนได้กท็ ํากับทาสของ ตนได้เช่นเดียวกัน นอกจากนัน้ “ทาส” ยังต้องขึน้ กับนายทัง้ วันและทัง้ คืนโดยไม่มเี วลา อิสระเป็ นของตนเองแม้เพียงเสีย้ ววินาทีเดียว ซึง่ ต่างจากเราทีม่ กี ําหนดเวลาทํางาน ชัดเจน หลังเลิกงานเรายังสามารถหางานพิเศษทํานอกเวลาได้ จะไปเที่ยวหรือทํา อะไรตามอําเภอใจของเราก็ยอ่ มได้ 2. “นาย” ตามรากศัพท์กรีก kurios (คูรอี อส) หมายถึง “ผูม้ กี รรมสิทธิ์ เหนือผูอ้ นื ่ แบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด” นันคื ่ อเป็ น “เจ้าของ” มากกว่าเป็ น “เจ้านาย” 2
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เขต 2 จัดค่ายคําสอนฤดูรอ้ นสําหรับ นัก เรี ย นคาทอลิ ก ที่ ไ ม่ไ ด้เ รี ย นคํา สอนในระหว่ า งภาคเรี ย นปกติ เพื่ อ รั บ ศี ล ศักดิส์ ิทธิ์ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กเยาวชนจากวัดต่างๆ ในเขต ระดับชัน้ เรียน แบ่งเป็ น 3 ระดับ ดังนี้ เด็กที่เตรียมจะรับศีลมหาสนิท สําหรับนักเรียนจบชัน้ ป.3 เด็กที่เตรียมจะรับศีลกําลัง สําหรับนักเรียนจบชัน้ ป.6 เด็กที่เตรียมรื้อฟื้ นศีลล้างบาป สําหรับนักเรียนจบชัน้ ม.3 ระยะเวลา : 24 มีนาคม – 20 เมษายน 2014 เวลา : ประเภทนักเรียนแบบไป-กลับ เรียนเวลา 8.30-15.00 น. ประเภทนักเรียนค้างในค่ายคําสอนวันจันทร์-ศุกร์ เรียนตลอดวัน สถานที่เรียน : วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ คลองจัน่
**ไม่มีค่าใช้จ่าย** ผูป้ กครองและเด็ก ๆ ที่สนใจ โปรดสอบถามรายละเอียดและสมัครได้ที่สาํ นักงานวัด ตัง้ แต่บดั นี้ ถึง 21 มีนาคม ศกนี้ 11
วัน เดือน ปี อา.2 มี.ค. 08.00 น.
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา อุทศิ แด่ ยอแซฟ ภิรมย์, โยเซฟิ น รัตนา สุ ดารัตน์ ยวง พิสิษฐ์ พันธุมจินดา สุ ดารัตน์ มารี อา เทเรซา นงลักษณ์ จินดากุล สุ ดารัตน์ คุณวิรัช พุทธโกษา, เซบัสติโน การุ ณย์ วงศ์ธานี สุ ดารัตน์ คุณรําเนา วงศ์ผดุ ผาด, คุณโถ เพียรช่างคิด สตีเฟน วัฒนา วิเศษเธียรกุล ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั ธนาพานิชย์ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว คุณโถ เพียรช่างคิด, คุณนงรัก ธนะสาร, คุณล้อสี บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง ธนาพานิชย์ อา. 2 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ ธนพร สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน 10.00 น. ประชาชนชาวไทยทุกท่าน แฟมิลี่พิซซ่า เทเรซา ฐิติกาญจน์ นิลกําแหง ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว ครอบครัวพานิชเกษม, ศิริวรรณ, วีรกิตติ, พันทวี ปัทมา ครอบครัวศรัยกิจ, อันนา อํานวย ชมรมผูส้ ู งอายุ อุทศิ แด่ ยอแซฟ บรรจง ศิริยงค์ อรทัย ยอแซฟ ธวัช วิธีธรรม อรทัย เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม รุ่ งโรจน์ คุณก้านทอง แสงปัญหา รุ่ งโรจน์ คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา รุ่ งโรจน์ ฟิ ลิป มุ่ยชิม, คุณเช้ง แซ่จึง, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี รุ่ งโรจน์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวพานิชเกษม ปัทมา วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อิสอัคร,นาธาน
10
3. “เงิ นทอง” ตรงกับคํากรีก mamōna (มาโมนา) ซึง่ รับมาจากภาษา ฮีบรูอกี ทอดหนึ่ง ตามรากศัพท์หมายถึง “การไว้ใจ การมอบหมาย” เพราะฉะนัน้ มาโมนาจึงหมายถึง “สิง่ ทีเ่ ราไว้ใจมอบหมายให้ผู้อืน่ ดูแล” เช่นมอบเงินทองหรือทรัพย์สมบัตใิ ห้นายธนาคารเป็ นผูด้ แู ล มาโมนาในตัวของ มันเองเป็ นสิง่ ดีเพราะเป็ นพระพรของพระเจ้าที่ทรงโปรดประทานแก่บรรดาผู้ชอบ ธรรม ต่อมาความหมายเปลีย่ นไปเป็ น “สิง่ ทีต่ วั เราเองมอบความไว้วางใจให้ ทัง้ หมด” และเขียนขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ Mamōn (มาโมน) ซึ่งเท่ากับว่าเรา ยอมรับและยกย่องเงินทองเป็ นดังพระเจ้ ่ าที่เราไว้วางใจว่าจะสามารถช่วยเราให้พน้ ทุกข์และเป็ นสุขได้ ชาวซีเรียถึงกับเรียกเทพเจ้าแห่งความรํ่ารวยของตนว่า Mammōn (มัมโมน) จากศัพท์ท่ใี ช้ทงั ้ 3 คํา บ่งบอกว่าพระเยซูเจ้าทรงเรียกร้องให้เรา “เป็ นข้ารับ ใช้ของพระเจ้าทุกลมหายใจ เพราะพระองค์ทรงเป็ นเจ้าของผู้มกี รรมสิทธิ์เบ็ดเสร็จ เด็ดขาดเหนือชีวติ ของเรา” เพราะฉะนัน้ การรับใช้พระเจ้าบางเวลาแบบ part-time หรือการเป็ นคริสตชน เฉพาะเวลามิสซาวันอาทิตย์ ส่วนเวลาอื่นถือว่าเป็ นอิสระจากการดําเนินชีวติ เยี่ยง คริสตชน จึงเป็ นสิง่ ทีพ่ ระเยซูเจ้ายอมรับไม่ได้เด็ดขาด นอกจากจะทรงเรียกร้องให้เรารับใช้พระเจ้าและเป็ นคริสตชนแบบเต็มเวลา แล้ว พระองค์ยงั ทรงกําชับว่า “ท่านทัง้ หลายจะปรนนิบตั ิรบั ใช้พระเจ้าและเงินทอง พร้อมกันไม่ได้” (มธ 6:24) ซึ่งหมายความว่า “การมีทรัพย์สนิ เงินทองไม่ใช่สงิ ่ ผิด แต่ การรับใช้พระเจ้าและทรัพย์สนิ เงินทองพร้อมกันเป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นไปไม่ได้เด็ดขาด” !! ในเมือ่ พระเยซูเจ้าทรงรับสังเช่ ่ นนี้ เราจึงจําเป็ นต้องเรียนรูห้ ลักการสําคัญเพื่อ จะได้ใช้ทรัพย์สนิ เงินทองได้อย่างถูกต้อง ดังนี้ 1.
ทุกสิ่ งในโลกนี้ ล้วนเป็ นของพระเจ้า พระเจ้าตรัสว่า “สัตว์ทงั ้ หลายในปา่ ล้วนเป็ นของเรา เช่นเดียวกับสัตว์ 3
นับพันบนภูเขา เรารูจ้ กั นกทุกตัวในอากาศ ทุกสิง่ ทีเ่ คลือ่ นไหวในทุ่งนาก็เป็ นของเรา ถ้าเราหิว เราก็ไม่บอกท่าน เพราะโลกและทุกสิง่ ในโลกล้วนเป็ นของเรา” (สดด 50:1012) ในพระธรรมใหม่ เป็ นพระเจ้ า เองที่ ท รงมอบทรั พ ย์ ส มบั ติ , ความสามารถ หรือแม้แต่สวนองุน่ ให้เรา “ยืม” หรือ “เช่าใช้” เช่น “อาณาจักรสวรรค์ยงั จะเปรียบได้กบั บุรุษผูห้ นึง่ กําลังจะเดินทางไกล เรียกผูร้ บั ใช้มามอบทรัพย์สนิ ให้ ให้คนทีห่ นึง่ ห้าตะลันต์ ให้คนทีส่ องสองตะลันต์ ให้คน ทีส่ ามหนึง่ ตะลันต์ ตามความสามารถของแต่ละคน แล้วจึงออกเดินทางไป” (มธ 25:1415) “ท่านทัง้ หลาย จงฟงั อุปมาอีกเรือ่ งหนึง่ เถิด คหบดีผูห้ นึง่ ปลูกองุ่นไว้ สวนหนึง่ ทํารัว้ ล้อม ขุดบ่อยํา่ องุ่น สร้างหอเฝ้า ให้ชาวสวนเช่า แล้วก็ออกเดินทางไป ต่างเมือง” (มธ 21:33) บางคนอาจแย้งว่าตนเองเป็ นผูซ้ ้อื คิดค้น ประดิษฐ์ หรือสะสมทรัพย์ สมบัตดิ ว้ ยนํ้ าพักนํ้ าแรงของตนเอง แต่ลองคิดดูสวิ ่ามีสงิ่ ใดบ้างทีเ่ ราสามารถ “เนรมิต” ขึ้น มาเองได้ เราทํ า ได้ เ พีย งนํ า สิ่ง ที่พ ระเจ้ า ทรง “เนรมิต ” ไว้ ม าประกอบหรือ ประดิดประดอยให้กลายเป็ นทรัพย์สมบัตขิ องเราเองเท่านัน้ ในเมื่อ ทุ ก สิ่ง ในโลกล้ว นเป็ น ของพระเจ้า เราจึง ต้อ งพยายาม “ใช้ ทรัพย์สินเงิ นทองตามทีเ่ จ้าของคือพระเจ้าทรงปรารถนา” เท่านัน้ มนุษย์สาํ คัญกว่าเงิ นทอง ในหนั ง สือ ปฐมกาล พระเจ้ า ตรัส ว่ า “เราจงสร้า งมนุ ษ ย์ ข้ึน ตาม ภาพลักษณ์ ของเรา ให้มีความคล้ายคลึงกับเรา ให้เป็ นนายปกครองปลาในทะเล นกในท้องฟ้า สัตว์เลี้ยง สัตว์ป่า และสัตว์เลื้อยคลานบนพื้นดิน” พระเจ้าทรงสร้าง มนุ ษย์ตามภาพลักษณ์ของพระองค์ พระองค์ทรงสร้างเขาตามภาพลักษณ์ของพระเจ้า พระองค์ทรงสร้างให้เป็ นชายและหญิง พระเจ้าทรงอวยพรเขาทัง้ สองว่า “จงมีลูกมาก และทวีจํานวนขึ้นจนเต็มแผ่นดิน จงปกครองแผ่นดิน จงเป็ นนายเหนือปลาในทะเล นกในอากาศ และสัตว์ทุกชนิดทีเ่ คลือ่ นไหวอยูบ่ นแผ่นดิน” (ปฐก 1:26-28) 2.
4
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 8 เทศกาลธรรมดา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี ส. 1 มี.ค. 18.00 น.
รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว ประชาชนชาวไทยทุกท่าน อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ คุณโถ เพียรช่างคิด ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา. 2 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อันโตนีโอ จํารู ญ พรสัจจา มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ เทเรซา ณัฐวรรณ สาธรกิจ, คอบครัวสุ ทธิโอภาส ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, ครอบครัวเพียรช่างคิด ครอบครัวเขม้นงาน, สุ ทธิโอภาส, ลิ้มจิตรกร เทเรซา อัญชลี ธนาพานิชย์ มารี อา เทเรซา แววระวี, ยวง ก้อง พันธุมจินดา เทเรซา ธนพร ครอบครัวโกวงศ์ และครอบครัวตันติโกสิ ชฌน์ ประชาชนชาวไทยทุกท่าน อุทศิ แด่ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช Maria Vanna, Marcellina Marasri Xavier ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช
ผู้ขอมิสซา ธนพร แฟมิลี่พิซซ่า เริ งจิต ปภาวิชญ์ ธนพร บุญญรัตน์ คค.ศรี เจริ ญ สุ ดารัตน์ แฟมิลี่พิซซ่า 13
วันพุธก่อนวันอาทิตย์แรกของเทศกาลมหาพรต สัตบุรุษจะ รับเถ้ าเป็ นการเริ่มต้ นเทศกาลมหาพรต ปี นี้ตรงกับวันพุธที่ 5 มีนาคม พิธีเสกและโรยเถ้ า ตามปกติจะทําในพิธีมิสซาหลังอ่านพระวร สารและเทศน์ ซึ่งให้ ความหมายว่า พระวาจาของพระเจ้ าเป็ นพลัง สําคัญในการปลุกเร้ าจิตใจของคริสตชนให้ สาํ นึกตน กลับใจ และใช้ โทษบาปในเทศกาลมหาพรตนี้ บทอ่านจากพระคัมภีร์ในพิธมี ิสซาวันพุธรับเถ้ า บทอ่านแรกจาก หนังสือประกาศกโยเอล (ยอล 2 : 12-18) กล่าวว่า “เจ้ าทั้งหลาย จงเต็มใจกลับมาหาเรา ด้ วยการอดอาหาร ร้ องไห้ และเป็ นทุกข์ครํ่า ครวญ ณ บัดนี้เถิด” บทอ่านที่สองนํามาจากจดหมายของนักบุญ เปาโลอัครสาวกถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 2 (2 คร 5 : 20 – 6 : 2) ยังคงกล่าวถึงการกลับใจอย่างต่อเนื่องว่า “จงคืนดีกับพระเจ้ าเถิด บัดนี้แหละเป็ นเวลาที่เหมาะสม” และพระวรสารนักบุญมัทธิวให้ ความหมายที่แท้ จริงของการกลับใจในภาคปฏิบัติ โดยนําเสนอคํา สอนของพระเยซูเจ้ าในเรื่อง “การทําทาน” “การอธิษฐานภาวนา” และ “การจําศีลอดอาหาร” พระองค์ทรงสอนว่ า “จงระวังอย่า ประกอบกิจการดีของท่านต่อหน้ ามนุษย์เพื่ออวดเขา มิฉะนั้น ท่าน จะไม่ได้ รับบําเหน็จจากพระบิดาของท่านผู้สถิตในสวรรค์” (มธ 6 : 1-6,16-18)
12
ชัดเจนว่าตัง้ แต่สร้างโลก พระเจ้าทรงให้ความสําคัญกับมนุ ษย์มาก ที่สุด จนถึงกับทรงสร้างมนุ ษย์มาตามภาพลักษณ์ของพระองค์เอง และทรงมอบให้ มนุษย์มอี าํ นาจปกครองเหนือสิง่ สร้างอื่น ๆ ทุกสิง่ ในเมื่อ พระเจ้า ทรงให้ค วามสํา คัญ แก่ ม นุ ษ ย์เ ช่น นี้ การใช้แ รงงาน มนุ ษย์ราวกับว่าพวกเขาเป็ นสิง่ ของ เครื่องมือ หรือเครื่องจักรเพียงเพื่อให้ได้มาซึ่ง ผลผลิต เงินทอง และความมังคั ่ งของตนเอง ่ จึงเป็ นสิง่ ที่ขดั กับพระประสงค์ของพระ เจ้าอย่างสิน้ เชิง ตรงกันข้าม หากเราใช้เงินทองและทรัพย์สมบัตเิ พื่อผดุงไว้ซง่ึ ศักดิ ์ศรี ของมนุษย์ให้สมกับความสําคัญทีพ่ ระเจ้าทรงสร้างมา นี่สคิ อื พระประสงค์ของพระองค์ โดยแท้ !! 3. เงิ นทองต้องเป็ นรองจากพระเจ้า พระคัมภีรไ์ ม่ได้บอกว่าเงินทองเป็ นสิง่ ชัวร้ ่ าย แต่นักบุญเปาโลเตือน ว่า “ความรักเงินตราเป็ นรากเหง้าของความชัวร้ ่ ายทุกประการ บางคนเมือ่ แสวงหาแต่ เงินก็พลัดหลงจากความเชือ่ เป็ นเหตุให้ตนเองได้รบั ความทุกข์เป็ นอันมาก” (1 ทธ 6:10) การรักเงินทองทําให้เราหลงผิดคิดว่า เงินคือพระเจ้าที่สามารถดล บันดาลทุกสิง่ ทุกอย่างให้แก่เราได้ เมื่อเรารักเงินทอง เราก็โลภอยากได้เงินทองมาก ขึน้ ทีส่ ุดเงินทองจะเข้ามาบงการชีวติ ของเราและจะนํ าเราไปสูค่ วามชัวร้ ่ ายและความ ทุกข์อกี มากมาย ผูเ้ ดียวที่สามารถดลบันดาลความสุขแท้จริงให้แก่เราได้กค็ อื พระเจ้า เราจะยอมให้เงินทองก้าวขึน้ มาเป็ น “คูป่ รับ” กับพระองค์ไม่ได้เด็ดขาด เมื่อเราสามารถวางตําแหน่ งของทรัพย์สนิ เงินทองได้อย่างถูกต้อง เราจะรูจ้ กั ใช้ความมังคั ่ งที ่ พ่ ระเจ้าทรงโปรดประทานแก่เราอย่าง “พอเพียง” และ “เพือ่ ผูอ้ นื ่ ” ซึง่ ั ่ รนั ดร จะนําเราไปสูท่ รัพย์สมบัตทิ ค่ี งอยูช่ วนิ นอกจากหลักการสําคัญทัง้ 3 ข้อที่กล่าวมาแล้ว ยังมีสงิ่ ที่ควรคํานึงถึงอีก 2 ประเด็น กล่าวคือ 5
วิ ธีได้มาซึ่งทรัพย์สินเงิ นทอง เราอาจได้เงินทองมาโดยแลกกับความซื่อสัตย์หรือเกียรติยศของเรา หรือพูดอีกอย่างหนึ่งคือโกงเขามา จริงอยู่ การทําเช่นนี้อาจช่วยให้เรามีเงินในบัญชี ิ ญาณของเรากลับยิง่ จนลงทุกวัน และ ธนาคารมากขึน้ มีทรัพย์สมบัตมิ งคั ั ่ งขึ ่ น้ แต่วญ คงถึงขัน้ ล้มละลายในทีส่ ดุ บางคนอาจได้เงินทองมาด้วยการกําจัดคู่แข่งทีอ่ ่อนแอกว่าออกไปให้ พ้นทาง ซึง่ ในทางธุรกิจอาจถือว่าประสบความสําเร็จ แต่เราจะนอนตาหลับและเสวย สุขอยูบ่ นความทุกข์ของผูอ้ ่นื ได้อย่างไรกัน ?! บางคนอาจสะสมทรัพย์สมบัติบนภาระของผูอ้ ่นื เช่น ผ่อนรถยนต์ ราคาแพงเกินฐานะ จนลูกเมียต้องกินมือ้ อดมือ้ เป็ นต้น จะมีประโยชน์อนั ใดหากเราได้ทรัพย์สมบัตมิ าด้วยต้นทุนราคาแพง เช่นนี้ ? 2. วิ ธีใช้ทรัพย์สินเงิ นทอง บางคนเก็บทรัพย์สมบัตทิ ม่ี ไี ว้เฉย ๆ โดยไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อนั ใดทัง้ สิน้ ในกรณีน้ีขอให้ระลึกถึงพระวาจาของพระเยซูเจ้าซึ่งตรัสไว้ว่า การไม่เกิด ประโยชน์คอื หนทางสูห่ ายนะเหมือนกิง่ ไม้ทไ่ี ม่เกิดผลก็จะถูกตัดทิง้ และโยนใส่กองไฟ บางคนใช้เงินทองที่ได้มาอย่างเห็นแก่ตวั เช่น เพื่อจะได้มที วี ใี หม่ โซฟาใหม่ หรือโทรศัพท์มอื ถือเครื่องใหม่ โดยไม่เคยคํานึงถึงพระประสงค์ของพระ เจ้าและความขัดสนยากจนของเพือ่ นมนุษย์อกี มากมายมหาศาล บางคนซํ้ า ร้า ยหนัก เข้า ไปอีก คือ ใช้เ งิน ทองในทางที่ผิด เช่ น ติด สินบนเจ้าหน้าที่ ซือ้ สิง่ ของหรือบริการทีผ่ ดิ กฎหมาย เป็ นต้น วิธดี ที ส่ี ุดในการใช้ทรัพย์สนิ เงินทองที่พระเจ้าทรงโปรดประทานแก่ เราคือ “ใช้อย่างพอเพียง และใช้เท่าทีจ่ าํ เป็ นต่อการดําเนิ นชีวิต ทีเ่ หลือให้เรา แบ่งปันแก่ผทู้ ีด่ ้อยโอกาสกว่าเรา” นักบุญเปาโลกล่าวว่า “ข้าพเจ้าแสดงให้ท่านเห็นเสมอมาว่า เราต้อง ทํางานเช่นนี้เพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ อ่ นแอโดยระลึกถึงพระวาจาของพระเยซู องค์พระผูเ้ ป็ น เจ้าทีว่ า่ ‘การให้ย่อมเป็ นสุขมากกว่าการรับ’” (กจ 20:35) 1.
6
แต่เมื่อมีเงินหรือทรัพย์สมบัติถึงระดับหนึ่งแล้ว แม้จะมีเงินมากขึ้นก็ ไม่ได้ทาํ ให้มีความสุขเพิ่มขึ้นเลย คนอเมริกนั และคนญี่ปุ่นมีรายได้สงู ขึน้ และมี ความสะดวกสบายมากกว่ า เมื่อ 50 ปี ที่ แ ล้ว หลายเท่ า ตัว แต่น่า สัง เกตว่ า อัตราส่วนของคนที่บอกว่า “มีความสุขมาก” ไม่ได้เพิ่มขึน้ เลย ทําไมมีเงินมากขึน้ จึงไม่ทาํ ให้มีความสุขเพิ่มขึน้ ? เหตุผลข้อหนึง่ ก็คือ เราชินชากับความรํา่ รวยหรือสะดวกสบายที่เพิ่มขึน้ ได้รวดเร็วมาก วันแรกที่ คุณได้รถคันใหม่ที่ขบั นิ่มกว่าเดิม หรูหรากว่าเดิม แน่นอนคุณย่อมมีความสุข แต่เมื่อผ่านไปสัก 3 เดือนหรือครึ่งปี คุณก็จะรูส้ ึกเฉย ๆ กับรถคันนัน้ แล้ว พูด อีกอย่างหนึง่ ความสุขที่เคยเพิ่มขึน้ ได้ลดมาสูร่ ะดับเดิมก่อนที่จะได้รถคันนัน้ คําพูดที่ว่า “เงินซื้อความสุขได้” จึงมีส่วนถูกเพียงครึ่งเดียว ถ้าให้ถกู จริง ๆ น่าจะพูดว่า “เงินเช่าความสุขได้” อะไรที่เราเช่าหรือยืมมา เรามีสิทธิ ครอบครองได้เพียงชัว่ คราว ไม่ชา้ ไม่นานก็ตอ้ งคืนเขาไป ความสุขที่ได้จากเงิน ก็เช่นกัน มันมาอยู่กบั เราเพียงชัว่ ครู่ชวั ่ ยามเท่านัน้ มีความสุขอีกมากมายที่ไม่ตอ้ งใช้เงินเลย และสามารถอยู่ได้ยงั ่ ยืนกว่า เช่น ความสุขท่ามกลางครอบครัวอันอบอุ่น ความสุขจากการสังสรรค์ในหมู่ มิตร ความสุขจากการชื่นชมธรรมชาติ ความสุขจากการเอื้อเฟื้ อผูอ้ ื่น รวมถึง ความสุขจากการทําสมาธิภาวนา ชาวอามิช ชาวอินยุ ต์ และชาวมาไซ อาจไม่มีโอกาสเสพสุขจากวัตถุได้ มากเท่ า เศรษฐี อ เมริ กัน แต่ สิ่ ง ที่ ใ ห้ค วามสุข แก่ พ วกเขาอย่ า งมากมายคื อ สัมพันธภาพอันงดงามทั้งกับผูอ้ ื่นและกับธรรมชาติ รวมทั้งความสุขจากใจที่ สงบเย็น ความสุขจากเงินนัน้ มีเสน่หต์ รงที่เข้าถึงได้งา่ ย แต่อะไรที่ได้มาง่ายนัน้ ไม่ค่อยยัง่ ยืน (ลองนึกถึงความสุขจากเซ็ กส์และยาเสพติดเป็ นตัวอย่าง) แต่ ความสุขจากสัมพันธภาพและความสุขจากจิตใจอันสงบนัน้ แม้จะเข้าถึงยาก แต่อยู่ได้ยงั ่ ยืนกว่า อย่ างไรก็ ต ามมีวิ ธีหนึ่งที่ เงินสามารถให้ความสุขอย่างรวดเร็ ว และ ยัง่ ยืน (อย่างน้อยก็นานกว่าการเที่ยวห้าง) นัน่ คือ บริจาคเงินให้แก่คนจนหรือ ผูท้ กุ ข์ยาก รอยยิ้มของเขาสามารถทําให้คณ ุ อิ่มเอิบไปได้นานทีเดียว 11
บทความจากนิตยสาร Image โดย ภาวัน
ตราบใดที่ เ ราใช้ ท รัพ ย์สิ น เงิ น ทองเพื่ อ ความดี ข อง “ผู้อื น่ ” เรากํา ลัง นมัสการและรับใช้พระเจ้าอย่างถูกต้องและดีที่สดุ !!
2. อย่ากังวล คุณทราบหรือไม่ว่า คน 3 กลุ่มต่อไปนี้ ได้แก่ เศรษฐีที่ราํ่ รวยที่สดุ ใน
อเมริกา ชาวอามิชในรัฐเพนซิลวาเนีย ชาวอินยุ ต์ในเกาะกรีนแลนด์ มีอะไรบ้าง ที่เหมือนกันหรือเท่ากัน ? ก) อายุคาดเฉลี่ยเมือ่ แรกเกิด ข) สัดส่วนการมีโทรศัพท์มอื ถือต่อประชากร 1,000 คน ค) อัตราการตายด้วยอุบตั เิ หตุบนท้องถนน ง) ความสุข ถ้าคุณตอบข้อ ก)-ค) คุณก็ตอบผิดแล้ว คําตอบที่ถกู ต้องคือ ข้อ ง) จากการสอบถามความเห็ นของประชาชนทัว่ โลกเมื่อปี ที่แล้ว พบว่าคนทั้ง 3 กลุ่มข้างต้นมีความสุขกับชีวิตคิดเป็ นคะแนนเท่ากัน คือ 5.8 (จากคะแนนเต็ม 7) โดยมีชนเผ่ามาไซในแอฟริกาตามมาติดๆ คือ 5.7 ผลการศึกษาดังกล่าวคงทําให้หลายคนอดแปลกใจไม่ได้ เพราะคนทั้ง 3 กลุ่มนี้มีมาตรฐานความเป็ นอยู่และรายได้แตกต่างกันอย่างมาก แต่กลับมี ความสุขเท่าๆ กัน ที่นา่ แปลกใจยิ่งกว่านัน้ คือ เศรษฐีอเมริกนั ซึ่งมีเงินมากมาย มหาศาล กลับมีความสุขมากกว่าชนเผ่ามาไซเพียงแค่ ๐.๑ คะแนนเท่านัน้ ทั้ง ๆ ที่ฝ่ายหลังแทบไม่มีสมบัตอิ ะไรเลย นอกจากกระท่อม ธนู และสัตว์เลี้ยงไม่กี่ ตัว การค้น พบดัง กล่ า วสอดคล้อ งกับ งานวิ จั ย หลายชิ้ น ที่ ชี้ ว่ า ความ รํา่ รวยมิใช่ปัจจัยหลักของความสุข จริงอยู่คนเราจะมีความสุขก็ตอ้ งมีเงินหรือ ทรัพย์สมบัติ อย่างน้อยก็ตอ้ งเกินระดับความยากจน ถ้ายังกินไม่อิ่มนอนไม่ อุ่น ก็ ยากจะมีความสุขได้ ด้วยเหตุนี้คนเร่ร่อนไร้บา้ นในแคลิฟอร์เนียกับคน เร่ร่อนในกัลกัตตาจึงมีความสุขแค่ 2.9 นัน่ คือมีความสุขเพียงครึ่งเดียวของ เศรษฐีอเมริกนั มองในแง่นกี้ ็เห็นได้ไม่ยากว่าคนรวยมีความสุขมากกว่าคนจน 10
ก่อนอื่นใดหมด เราต้องพยายามเข้าใจก่อนว่าพระเยซูเจ้า ทรงห้ามสิง่ ใดเมือ่ พระองค์ตรัสว่า “อย่ากังวลถึงชีวิตของท่าน” แน่ นอนว่าพระองค์ไม่ได้ทรงห้ามการมองการณ์ไกลด้วยความสุขุมรอบคอบ พระองค์มไิ ด้สนับสนุ นการดําเนินชีวติ แบบสุรยุ่ สุร่าย เสีย่ ง ไม่ยงั ้ คิด ประมาทเลินเล่อ ไม่เตรียมตัวล่วงหน้า หรือไม่รจู้ กั บ่ายเบีย่ งหนทางสูค่ วามหายนะเอาเสียเลย ตรงกัน ข้าม สิง่ เดียวทีพ่ ระองค์ทรงห้ามคือ “ความวิ ตกกังวล” หรือ “ความหวาดวิ ตก” จน คร่าความร่าเริงยินดีในชีวติ ของเราให้หมดไป คําที่ใช้ในภาษากรีกคือ merimnan (เมริมนาน) ซึ่งหมายถึง “ความกังวล ร้อนใจ” ตัวอย่างทีพ่ บในกระดาษ papyrus คือจดหมายของภรรยาถึงสามีซ่งึ จาก บ้ า นไป ความว่ า “ฉั น นอนไม่ ห ลั บ ทั ง้ กลางวั น และกลางคื น เพราะเป็ นห่ ว ง (merimnan) สุขภาพของคุณ” และอีกตัวอย่างหนึ่งเป็ นของกวีชาวกรีก “เมือ่ ข้าพเจ้า ดืม่ เหล้าองุน่ ความวิตกกังวล (merimnan) ก็หลับไป” จากตัวอย่างเหล่านี้ จะเห็นว่าในสายตาของชาวกรีก ความวิตกกังวลไม่ใช่ เรือ่ งทีน่ ่าพิสมัยแต่ประการใด พวกรับบีจงึ กระตุน้ ชาวยิวให้สอนลูกหลานทํามาหากิน หาไม่แล้วก็เหมือนกับ สอนลูกหลานให้เป็ นขโมยในอนาคต นี่เป็ นความรอบคอบในการดําเนินชีวิตของ ชาวยิว แต่ในเวลาเดียวกัน พวกรับบีกส็ อนว่า ผูท้ ่มี ขี นมปงั อยู่ในตะกร้าแล้วยังถาม อีกว่า “พรุง่ นี้ฉนั จะกินอะไร?” ผูน้ นั ้ ช่างมีความเชื่อน้อยเหลือเกิน นับว่าชาวยิวเป็ นผูท้ ่รี ูจ้ กั ประสมประสานความรอบคอบ การมองการณ์ไกล ความร่าเริงยินดี และความไว้วางใจในพระเจ้า เข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน 7
จากพระวรสารตอนนี้ พระเยซูเจ้าทรงให้เหตุผล 7 ประการเพื่อต่อสูก้ บั ความ วิตกกังวล กล่าวคือ 1. พระองค์ตรัสว่า “อย่ากังวลถึงชีวติ ของท่านว่าจะกินอะไร อย่ากังวล ถึงร่างกายของท่านว่าจะนุ่ งห่มอะไร ชีวิตย่อมสําคัญกว่าอาหาร และร่างกายสําคัญ กว่าเครือ่ งนุ่งห่มมิใช่หรือ” ถ้าพระเจ้าประทานสิง่ ที่สําคัญคือชีวติ ให้แก่เรา ทําไมสิง่ ซึ่งสําคัญ น้อยกว่า เช่น อาหารและเครื่องนุ่ งห่ม พระองค์จะขีเ้ หนียวไม่ยอมประทานให้เชียว หรือ ในเมื่อพระองค์ประทานชีวติ ให้แก่เราได้ พระองค์ย่อมประทานสิง่ ที่ จําเป็ นสําหรับการดํารงชีวติ ให้แก่เราด้วยอย่างแน่นอน 2. พระองค์ทรงยกตัวอย่างของนก “จงดูนกในอากาศเถิด มันมิได้หว่าน มิได้เก็บเกีย่ ว มิได้สะสมไว้ในยุง้ ฉาง แต่พระบิดาของท่านผูส้ ถิตในสวรรค์ทรงเลี้ยง มัน ท่านทัง้ หลายมิได้มคี า่ มากกว่านกหรือ” จากคําพูดนี้มไิ ด้หมายความว่านกไม่ทํางาน เพราะโดยเฉลี่ยแล้ว นกกระจอกทํางานหนักกว่าเรามนุ ษย์เสียอีก แต่ประเด็นที่พระเยซูเจ้าต้องการสอน เราคือ “นกไม่กงั วล” เรามีค่ามากกว่านกมากมายนัก เพราะฉะนัน้ เราจึงไม่จําเป็ นต้อง เคร่งเครียดและกังวลอยูก่ บั การแสวงหาความมันคงสํ ่ าหรับอนาคตซึง่ มองไม่เห็นด้วย การสะสมทรัพย์สมบัตขิ องโลกนี้เลย 3. พระเยซูเ จ้าทรงถือว่าความกังวลนัน้ ไม่มปี ระโยชน์ แต่ประการใด เพราะจะช่วยต่ออายุให้ยนื ยาวขึน้ สักนิดก็ไม่ได้ “ท่านใดบ้างทีก่ งั วลแล้วต่ออายุของ ตนให้ยาวออกไปอีกสักหนึง่ วันได้” 4. พระองค์ทรงยกตัว อย่างของ “ดอกหญ้า” ซึ่งบานสะพรังเพี ่ ยงวัน เดียว แล้ว ก็เ หี่ยวแห้งไป เหมาะสําหรับ แม่บ้านนํ าไปใส่เตาไฟเพื่อเร่งความร้อน “แม้แต่หญ้าในทุ่งนา ซึง่ มีชวี ติ อยู่วนั นี้ รุ่งขึ้นจะถูกโยนทิ้งในเตาไฟ พระเจ้ายังทรง ตกแต่งเช่นนี้ พระองค์จะไม่สนพระทัยท่านมากกว่านัน้ หรือ ท่านช่างมีความเชือ่ น้อยจริง” 8
5. ความกังวลเป็ นพฤติกรรมของคนต่างศาสนา เพราะเทพเจ้าที่พวก เขาเชื่อล้วนแล้วแต่เต็มไปด้วยความอิจฉาริษยา เอาแต่ใจตัวเอง และแปรปรวน แต่สําหรับเราคริสตชน เราเรียกพระเจ้าว่า “บิ ดา” ผูท้ รงเปี่ ยมด้วย ความรัก เราจึงเชื่อและวางใจในพระองค์ได้โดยปราศจากความวิตกกังวลใด ๆ ทัง้ สิน้ 6. เมื่อเราตกหลุมรักใครสักคน ความรักนัน้ จะเป็ นพลังผลักดันให้เรา ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของเราให้ตรงกับใจของคนรัก ความรักจะเป็ นพลังให้เราทํางาน เก็บเงินเพือ่ คนทีเ่ รารัก เรียกว่าความรักครอบงําชีวติ ของเราทัง้ หมด ด้วยเหตุ น้ี พระเยซูเจ้าจึงสังว่ ่ า “จงแสวงหาพระอาณาจักรของ พระเจ้าก่อน” เพราะพระอาณาจักรของพระเจ้าคือ “สังคมบนโลกนี้ทนี ่ ้ ําพระทัยของ พระเจ้าได้รบั การปฏิบตั เิ หมือนในสวรรค์” และเราจะปฏิบตั ติ ามนํ้าพระทัยของพระเจ้า ได้กต็ ่อเมือ่ เรารักพระองค์ พระเยซูเจ้าเชื่อมันว่ ่ า เมื่อเราแสวงหาพระอาณาจักรด้วยความรักต่อ พระเจ้าเช่นนี้เอง จะมีพลังผลักดันให้เราดําเนินชีวติ โดยไม่มคี วามวิตกกังวลเข้ามา เกีย่ วข้องเลย 7. วิธสี ุดท้ายทีจ่ ะเอาชนะความวิตกกังวลคือ “อย่ากังวลถึงวันพรุ่งนี้ ” เพราะวันพรุง่ นี้จะกังวลสําหรับตนเอง แต่ละวันมีทุกข์พออยูแ่ ล้ว เราต้องทําหน้าที่ ณ เวลานี้ให้ดที ส่ี ุด และเมื่อสิน้ วันเราก็จะได้ผลรวม ของหน้าทีต่ ลอดวันทีด่ ที ส่ี ุด แต่ถา้ เรามัวกังวลถึงวันพรุ่งนี้ซง่ึ ไม่มใี ครรูว้ ่าจะเกิดอะไร ขึน้ เราจะทําหน้าที่ ณ เวลานี้ให้ดที ส่ี ดุ ได้อย่างไร
9
จากพระวรสารตอนนี้ พระเยซูเจ้าทรงให้เหตุผล 7 ประการเพื่อต่อสูก้ บั ความ วิตกกังวล กล่าวคือ 1. พระองค์ตรัสว่า “อย่ากังวลถึงชีวติ ของท่านว่าจะกินอะไร อย่ากังวล ถึงร่างกายของท่านว่าจะนุ่ งห่มอะไร ชีวิตย่อมสําคัญกว่าอาหาร และร่างกายสําคัญ กว่าเครือ่ งนุ่งห่มมิใช่หรือ” ถ้าพระเจ้าประทานสิง่ ที่สําคัญคือชีวติ ให้แก่เรา ทําไมสิง่ ซึ่งสําคัญ น้อยกว่า เช่น อาหารและเครื่องนุ่ งห่ม พระองค์จะขีเ้ หนียวไม่ยอมประทานให้เชียว หรือ ในเมื่อพระองค์ประทานชีวติ ให้แก่เราได้ พระองค์ย่อมประทานสิง่ ที่ จําเป็ นสําหรับการดํารงชีวติ ให้แก่เราด้วยอย่างแน่นอน 2. พระองค์ทรงยกตัวอย่างของนก “จงดูนกในอากาศเถิด มันมิได้หว่าน มิได้เก็บเกีย่ ว มิได้สะสมไว้ในยุง้ ฉาง แต่พระบิดาของท่านผูส้ ถิตในสวรรค์ทรงเลี้ยง มัน ท่านทัง้ หลายมิได้มคี า่ มากกว่านกหรือ” จากคําพูดนี้มไิ ด้หมายความว่านกไม่ทํางาน เพราะโดยเฉลี่ยแล้ว นกกระจอกทํางานหนักกว่าเรามนุ ษย์เสียอีก แต่ประเด็นที่พระเยซูเจ้าต้องการสอน เราคือ “นกไม่กงั วล” เรามีค่ามากกว่านกมากมายนัก เพราะฉะนัน้ เราจึงไม่จําเป็ นต้อง เคร่งเครียดและกังวลอยูก่ บั การแสวงหาความมันคงสํ ่ าหรับอนาคตซึง่ มองไม่เห็นด้วย การสะสมทรัพย์สมบัตขิ องโลกนี้เลย 3. พระเยซูเ จ้าทรงถือว่าความกังวลนัน้ ไม่มปี ระโยชน์ แต่ประการใด เพราะจะช่วยต่ออายุให้ยนื ยาวขึน้ สักนิดก็ไม่ได้ “ท่านใดบ้างทีก่ งั วลแล้วต่ออายุของ ตนให้ยาวออกไปอีกสักหนึง่ วันได้” 4. พระองค์ทรงยกตัว อย่างของ “ดอกหญ้า” ซึ่งบานสะพรังเพี ่ ยงวัน เดียว แล้ว ก็เ หี่ยวแห้งไป เหมาะสําหรับ แม่บ้านนํ าไปใส่เตาไฟเพื่อเร่งความร้อน “แม้แต่หญ้าในทุ่งนา ซึง่ มีชวี ติ อยู่วนั นี้ รุ่งขึ้นจะถูกโยนทิ้งในเตาไฟ พระเจ้ายังทรง ตกแต่งเช่นนี้ พระองค์จะไม่สนพระทัยท่านมากกว่านัน้ หรือ ท่านช่างมีความเชือ่ น้อยจริง” 8
5. ความกังวลเป็ นพฤติกรรมของคนต่างศาสนา เพราะเทพเจ้าที่พวก เขาเชื่อล้วนแล้วแต่เต็มไปด้วยความอิจฉาริษยา เอาแต่ใจตัวเอง และแปรปรวน แต่สําหรับเราคริสตชน เราเรียกพระเจ้าว่า “บิ ดา” ผูท้ รงเปี่ ยมด้วย ความรัก เราจึงเชื่อและวางใจในพระองค์ได้โดยปราศจากความวิตกกังวลใด ๆ ทัง้ สิน้ 6. เมื่อเราตกหลุมรักใครสักคน ความรักนัน้ จะเป็ นพลังผลักดันให้เรา ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของเราให้ตรงกับใจของคนรัก ความรักจะเป็ นพลังให้เราทํางาน เก็บเงินเพือ่ คนทีเ่ รารัก เรียกว่าความรักครอบงําชีวติ ของเราทัง้ หมด ด้วยเหตุ น้ี พระเยซูเจ้าจึงสังว่ ่ า “จงแสวงหาพระอาณาจักรของ พระเจ้าก่อน” เพราะพระอาณาจักรของพระเจ้าคือ “สังคมบนโลกนี้ทนี ่ ้ ําพระทัยของ พระเจ้าได้รบั การปฏิบตั เิ หมือนในสวรรค์” และเราจะปฏิบตั ติ ามนํ้าพระทัยของพระเจ้า ได้กต็ ่อเมือ่ เรารักพระองค์ พระเยซูเจ้าเชื่อมันว่ ่ า เมื่อเราแสวงหาพระอาณาจักรด้วยความรักต่อ พระเจ้าเช่นนี้เอง จะมีพลังผลักดันให้เราดําเนินชีวติ โดยไม่มคี วามวิตกกังวลเข้ามา เกีย่ วข้องเลย 7. วิธสี ุดท้ายทีจ่ ะเอาชนะความวิตกกังวลคือ “อย่ากังวลถึงวันพรุ่งนี้ ” เพราะวันพรุง่ นี้จะกังวลสําหรับตนเอง แต่ละวันมีทุกข์พออยูแ่ ล้ว เราต้องทําหน้าที่ ณ เวลานี้ให้ดที ส่ี ุด และเมื่อสิน้ วันเราก็จะได้ผลรวม ของหน้าทีต่ ลอดวันทีด่ ที ส่ี ุด แต่ถา้ เรามัวกังวลถึงวันพรุ่งนี้ซง่ึ ไม่มใี ครรูว้ ่าจะเกิดอะไร ขึน้ เราจะทําหน้าที่ ณ เวลานี้ให้ดที ส่ี ดุ ได้อย่างไร
9
บทความจากนิตยสาร Image โดย ภาวัน
ตราบใดที่ เ ราใช้ ท รัพ ย์สิ น เงิ น ทองเพื่ อ ความดี ข อง “ผู้อื น่ ” เรากํา ลัง นมัสการและรับใช้พระเจ้าอย่างถูกต้องและดีที่สดุ !!
2. อย่ากังวล คุณทราบหรือไม่ว่า คน 3 กลุ่มต่อไปนี้ ได้แก่ เศรษฐีที่ราํ่ รวยที่สดุ ใน
อเมริกา ชาวอามิชในรัฐเพนซิลวาเนีย ชาวอินยุ ต์ในเกาะกรีนแลนด์ มีอะไรบ้าง ที่เหมือนกันหรือเท่ากัน ? ก) อายุคาดเฉลี่ยเมือ่ แรกเกิด ข) สัดส่วนการมีโทรศัพท์มอื ถือต่อประชากร 1,000 คน ค) อัตราการตายด้วยอุบตั เิ หตุบนท้องถนน ง) ความสุข ถ้าคุณตอบข้อ ก)-ค) คุณก็ตอบผิดแล้ว คําตอบที่ถกู ต้องคือ ข้อ ง) จากการสอบถามความเห็ นของประชาชนทัว่ โลกเมื่อปี ที่แล้ว พบว่าคนทั้ง 3 กลุ่มข้างต้นมีความสุขกับชีวิตคิดเป็ นคะแนนเท่ากัน คือ 5.8 (จากคะแนนเต็ม 7) โดยมีชนเผ่ามาไซในแอฟริกาตามมาติดๆ คือ 5.7 ผลการศึกษาดังกล่าวคงทําให้หลายคนอดแปลกใจไม่ได้ เพราะคนทั้ง 3 กลุ่มนี้มีมาตรฐานความเป็ นอยู่และรายได้แตกต่างกันอย่างมาก แต่กลับมี ความสุขเท่าๆ กัน ที่นา่ แปลกใจยิ่งกว่านัน้ คือ เศรษฐีอเมริกนั ซึ่งมีเงินมากมาย มหาศาล กลับมีความสุขมากกว่าชนเผ่ามาไซเพียงแค่ ๐.๑ คะแนนเท่านัน้ ทั้ง ๆ ที่ฝ่ายหลังแทบไม่มีสมบัตอิ ะไรเลย นอกจากกระท่อม ธนู และสัตว์เลี้ยงไม่กี่ ตัว การค้น พบดัง กล่ า วสอดคล้อ งกับ งานวิ จั ย หลายชิ้ น ที่ ชี้ ว่ า ความ รํา่ รวยมิใช่ปัจจัยหลักของความสุข จริงอยู่คนเราจะมีความสุขก็ตอ้ งมีเงินหรือ ทรัพย์สมบัติ อย่างน้อยก็ตอ้ งเกินระดับความยากจน ถ้ายังกินไม่อิ่มนอนไม่ อุ่น ก็ ยากจะมีความสุขได้ ด้วยเหตุนี้คนเร่ร่อนไร้บา้ นในแคลิฟอร์เนียกับคน เร่ร่อนในกัลกัตตาจึงมีความสุขแค่ 2.9 นัน่ คือมีความสุขเพียงครึ่งเดียวของ เศรษฐีอเมริกนั มองในแง่นกี้ ็เห็นได้ไม่ยากว่าคนรวยมีความสุขมากกว่าคนจน 10
ก่อนอื่นใดหมด เราต้องพยายามเข้าใจก่อนว่าพระเยซูเจ้า ทรงห้ามสิง่ ใดเมือ่ พระองค์ตรัสว่า “อย่ากังวลถึงชีวิตของท่าน” แน่ นอนว่าพระองค์ไม่ได้ทรงห้ามการมองการณ์ไกลด้วยความสุขุมรอบคอบ พระองค์มไิ ด้สนับสนุ นการดําเนินชีวติ แบบสุรยุ่ สุร่าย เสีย่ ง ไม่ยงั ้ คิด ประมาทเลินเล่อ ไม่เตรียมตัวล่วงหน้า หรือไม่รจู้ กั บ่ายเบีย่ งหนทางสูค่ วามหายนะเอาเสียเลย ตรงกัน ข้าม สิง่ เดียวทีพ่ ระองค์ทรงห้ามคือ “ความวิ ตกกังวล” หรือ “ความหวาดวิ ตก” จน คร่าความร่าเริงยินดีในชีวติ ของเราให้หมดไป คําที่ใช้ในภาษากรีกคือ merimnan (เมริมนาน) ซึ่งหมายถึง “ความกังวล ร้อนใจ” ตัวอย่างทีพ่ บในกระดาษ papyrus คือจดหมายของภรรยาถึงสามีซ่งึ จาก บ้ า นไป ความว่ า “ฉั น นอนไม่ ห ลั บ ทั ง้ กลางวั น และกลางคื น เพราะเป็ นห่ ว ง (merimnan) สุขภาพของคุณ” และอีกตัวอย่างหนึ่งเป็ นของกวีชาวกรีก “เมือ่ ข้าพเจ้า ดืม่ เหล้าองุน่ ความวิตกกังวล (merimnan) ก็หลับไป” จากตัวอย่างเหล่านี้ จะเห็นว่าในสายตาของชาวกรีก ความวิตกกังวลไม่ใช่ เรือ่ งทีน่ ่าพิสมัยแต่ประการใด พวกรับบีจงึ กระตุน้ ชาวยิวให้สอนลูกหลานทํามาหากิน หาไม่แล้วก็เหมือนกับ สอนลูกหลานให้เป็ นขโมยในอนาคต นี่เป็ นความรอบคอบในการดําเนินชีวิตของ ชาวยิว แต่ในเวลาเดียวกัน พวกรับบีกส็ อนว่า ผูท้ ่มี ขี นมปงั อยู่ในตะกร้าแล้วยังถาม อีกว่า “พรุง่ นี้ฉนั จะกินอะไร?” ผูน้ นั ้ ช่างมีความเชื่อน้อยเหลือเกิน นับว่าชาวยิวเป็ นผูท้ ่รี ูจ้ กั ประสมประสานความรอบคอบ การมองการณ์ไกล ความร่าเริงยินดี และความไว้วางใจในพระเจ้า เข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน 7
วิ ธีได้มาซึ่งทรัพย์สินเงิ นทอง เราอาจได้เงินทองมาโดยแลกกับความซื่อสัตย์หรือเกียรติยศของเรา หรือพูดอีกอย่างหนึ่งคือโกงเขามา จริงอยู่ การทําเช่นนี้อาจช่วยให้เรามีเงินในบัญชี ิ ญาณของเรากลับยิง่ จนลงทุกวัน และ ธนาคารมากขึน้ มีทรัพย์สมบัตมิ งคั ั ่ งขึ ่ น้ แต่วญ คงถึงขัน้ ล้มละลายในทีส่ ดุ บางคนอาจได้เงินทองมาด้วยการกําจัดคู่แข่งทีอ่ ่อนแอกว่าออกไปให้ พ้นทาง ซึง่ ในทางธุรกิจอาจถือว่าประสบความสําเร็จ แต่เราจะนอนตาหลับและเสวย สุขอยูบ่ นความทุกข์ของผูอ้ ่นื ได้อย่างไรกัน ?! บางคนอาจสะสมทรัพย์สมบัติบนภาระของผูอ้ ่นื เช่น ผ่อนรถยนต์ ราคาแพงเกินฐานะ จนลูกเมียต้องกินมือ้ อดมือ้ เป็ นต้น จะมีประโยชน์อนั ใดหากเราได้ทรัพย์สมบัตมิ าด้วยต้นทุนราคาแพง เช่นนี้ ? 2. วิ ธีใช้ทรัพย์สินเงิ นทอง บางคนเก็บทรัพย์สมบัตทิ ม่ี ไี ว้เฉย ๆ โดยไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อนั ใดทัง้ สิน้ ในกรณีน้ีขอให้ระลึกถึงพระวาจาของพระเยซูเจ้าซึ่งตรัสไว้ว่า การไม่เกิด ประโยชน์คอื หนทางสูห่ ายนะเหมือนกิง่ ไม้ทไ่ี ม่เกิดผลก็จะถูกตัดทิง้ และโยนใส่กองไฟ บางคนใช้เงินทองที่ได้มาอย่างเห็นแก่ตวั เช่น เพื่อจะได้มที วี ใี หม่ โซฟาใหม่ หรือโทรศัพท์มอื ถือเครื่องใหม่ โดยไม่เคยคํานึงถึงพระประสงค์ของพระ เจ้าและความขัดสนยากจนของเพือ่ นมนุษย์อกี มากมายมหาศาล บางคนซํ้ า ร้า ยหนัก เข้า ไปอีก คือ ใช้เ งิน ทองในทางที่ผิด เช่ น ติด สินบนเจ้าหน้าที่ ซือ้ สิง่ ของหรือบริการทีผ่ ดิ กฎหมาย เป็ นต้น วิธดี ที ส่ี ุดในการใช้ทรัพย์สนิ เงินทองที่พระเจ้าทรงโปรดประทานแก่ เราคือ “ใช้อย่างพอเพียง และใช้เท่าทีจ่ าํ เป็ นต่อการดําเนิ นชีวิต ทีเ่ หลือให้เรา แบ่งปันแก่ผทู้ ีด่ ้อยโอกาสกว่าเรา” นักบุญเปาโลกล่าวว่า “ข้าพเจ้าแสดงให้ท่านเห็นเสมอมาว่า เราต้อง ทํางานเช่นนี้เพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ อ่ นแอโดยระลึกถึงพระวาจาของพระเยซู องค์พระผูเ้ ป็ น เจ้าทีว่ า่ ‘การให้ย่อมเป็ นสุขมากกว่าการรับ’” (กจ 20:35) 1.
6
แต่เมื่อมีเงินหรือทรัพย์สมบัติถึงระดับหนึ่งแล้ว แม้จะมีเงินมากขึ้นก็ ไม่ได้ทาํ ให้มีความสุขเพิ่มขึ้นเลย คนอเมริกนั และคนญี่ปุ่นมีรายได้สงู ขึน้ และมี ความสะดวกสบายมากกว่ า เมื่อ 50 ปี ที่ แ ล้ว หลายเท่ า ตัว แต่น่า สัง เกตว่ า อัตราส่วนของคนที่บอกว่า “มีความสุขมาก” ไม่ได้เพิ่มขึน้ เลย ทําไมมีเงินมากขึน้ จึงไม่ทาํ ให้มีความสุขเพิ่มขึน้ ? เหตุผลข้อหนึง่ ก็คือ เราชินชากับความรํา่ รวยหรือสะดวกสบายที่เพิ่มขึน้ ได้รวดเร็วมาก วันแรกที่ คุณได้รถคันใหม่ที่ขบั นิ่มกว่าเดิม หรูหรากว่าเดิม แน่นอนคุณย่อมมีความสุข แต่เมื่อผ่านไปสัก 3 เดือนหรือครึ่งปี คุณก็จะรูส้ ึกเฉย ๆ กับรถคันนัน้ แล้ว พูด อีกอย่างหนึง่ ความสุขที่เคยเพิ่มขึน้ ได้ลดมาสูร่ ะดับเดิมก่อนที่จะได้รถคันนัน้ คําพูดที่ว่า “เงินซื้อความสุขได้” จึงมีส่วนถูกเพียงครึ่งเดียว ถ้าให้ถกู จริง ๆ น่าจะพูดว่า “เงินเช่าความสุขได้” อะไรที่เราเช่าหรือยืมมา เรามีสิทธิ ครอบครองได้เพียงชัว่ คราว ไม่ชา้ ไม่นานก็ตอ้ งคืนเขาไป ความสุขที่ได้จากเงิน ก็เช่นกัน มันมาอยู่กบั เราเพียงชัว่ ครู่ชวั ่ ยามเท่านัน้ มีความสุขอีกมากมายที่ไม่ตอ้ งใช้เงินเลย และสามารถอยู่ได้ยงั ่ ยืนกว่า เช่น ความสุขท่ามกลางครอบครัวอันอบอุ่น ความสุขจากการสังสรรค์ในหมู่ มิตร ความสุขจากการชื่นชมธรรมชาติ ความสุขจากการเอื้อเฟื้ อผูอ้ ื่น รวมถึง ความสุขจากการทําสมาธิภาวนา ชาวอามิช ชาวอินยุ ต์ และชาวมาไซ อาจไม่มีโอกาสเสพสุขจากวัตถุได้ มากเท่ า เศรษฐี อ เมริ กัน แต่ สิ่ ง ที่ ใ ห้ค วามสุข แก่ พ วกเขาอย่ า งมากมายคื อ สัมพันธภาพอันงดงามทั้งกับผูอ้ ื่นและกับธรรมชาติ รวมทั้งความสุขจากใจที่ สงบเย็น ความสุขจากเงินนัน้ มีเสน่หต์ รงที่เข้าถึงได้งา่ ย แต่อะไรที่ได้มาง่ายนัน้ ไม่ค่อยยัง่ ยืน (ลองนึกถึงความสุขจากเซ็ กส์และยาเสพติดเป็ นตัวอย่าง) แต่ ความสุขจากสัมพันธภาพและความสุขจากจิตใจอันสงบนัน้ แม้จะเข้าถึงยาก แต่อยู่ได้ยงั ่ ยืนกว่า อย่ างไรก็ ต ามมีวิ ธีหนึ่งที่ เงินสามารถให้ความสุขอย่างรวดเร็ ว และ ยัง่ ยืน (อย่างน้อยก็นานกว่าการเที่ยวห้าง) นัน่ คือ บริจาคเงินให้แก่คนจนหรือ ผูท้ กุ ข์ยาก รอยยิ้มของเขาสามารถทําให้คณ ุ อิ่มเอิบไปได้นานทีเดียว 11
วันพุธก่อนวันอาทิตย์แรกของเทศกาลมหาพรต สัตบุรุษจะ รับเถ้ าเป็ นการเริ่มต้ นเทศกาลมหาพรต ปี นี้ตรงกับวันพุธที่ 5 มีนาคม พิธีเสกและโรยเถ้ า ตามปกติจะทําในพิธีมิสซาหลังอ่านพระวร สารและเทศน์ ซึ่งให้ ความหมายว่า พระวาจาของพระเจ้ าเป็ นพลัง สําคัญในการปลุกเร้ าจิตใจของคริสตชนให้ สาํ นึกตน กลับใจ และใช้ โทษบาปในเทศกาลมหาพรตนี้ บทอ่านจากพระคัมภีร์ในพิธมี ิสซาวันพุธรับเถ้ า บทอ่านแรกจาก หนังสือประกาศกโยเอล (ยอล 2 : 12-18) กล่าวว่า “เจ้ าทั้งหลาย จงเต็มใจกลับมาหาเรา ด้ วยการอดอาหาร ร้ องไห้ และเป็ นทุกข์ครํ่า ครวญ ณ บัดนี้เถิด” บทอ่านที่สองนํามาจากจดหมายของนักบุญ เปาโลอัครสาวกถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 2 (2 คร 5 : 20 – 6 : 2) ยังคงกล่าวถึงการกลับใจอย่างต่อเนื่องว่า “จงคืนดีกับพระเจ้ าเถิด บัดนี้แหละเป็ นเวลาที่เหมาะสม” และพระวรสารนักบุญมัทธิวให้ ความหมายที่แท้ จริงของการกลับใจในภาคปฏิบัติ โดยนําเสนอคํา สอนของพระเยซูเจ้ าในเรื่อง “การทําทาน” “การอธิษฐานภาวนา” และ “การจําศีลอดอาหาร” พระองค์ทรงสอนว่ า “จงระวังอย่า ประกอบกิจการดีของท่านต่อหน้ ามนุษย์เพื่ออวดเขา มิฉะนั้น ท่าน จะไม่ได้ รับบําเหน็จจากพระบิดาของท่านผู้สถิตในสวรรค์” (มธ 6 : 1-6,16-18)
12
ชัดเจนว่าตัง้ แต่สร้างโลก พระเจ้าทรงให้ความสําคัญกับมนุ ษย์มาก ที่สุด จนถึงกับทรงสร้างมนุ ษย์มาตามภาพลักษณ์ของพระองค์เอง และทรงมอบให้ มนุษย์มอี าํ นาจปกครองเหนือสิง่ สร้างอื่น ๆ ทุกสิง่ ในเมื่อ พระเจ้า ทรงให้ค วามสํา คัญ แก่ ม นุ ษ ย์เ ช่น นี้ การใช้แ รงงาน มนุ ษย์ราวกับว่าพวกเขาเป็ นสิง่ ของ เครื่องมือ หรือเครื่องจักรเพียงเพื่อให้ได้มาซึ่ง ผลผลิต เงินทอง และความมังคั ่ งของตนเอง ่ จึงเป็ นสิง่ ที่ขดั กับพระประสงค์ของพระ เจ้าอย่างสิน้ เชิง ตรงกันข้าม หากเราใช้เงินทองและทรัพย์สมบัตเิ พื่อผดุงไว้ซง่ึ ศักดิ ์ศรี ของมนุษย์ให้สมกับความสําคัญทีพ่ ระเจ้าทรงสร้างมา นี่สคิ อื พระประสงค์ของพระองค์ โดยแท้ !! 3. เงิ นทองต้องเป็ นรองจากพระเจ้า พระคัมภีรไ์ ม่ได้บอกว่าเงินทองเป็ นสิง่ ชัวร้ ่ าย แต่นักบุญเปาโลเตือน ว่า “ความรักเงินตราเป็ นรากเหง้าของความชัวร้ ่ ายทุกประการ บางคนเมือ่ แสวงหาแต่ เงินก็พลัดหลงจากความเชือ่ เป็ นเหตุให้ตนเองได้รบั ความทุกข์เป็ นอันมาก” (1 ทธ 6:10) การรักเงินทองทําให้เราหลงผิดคิดว่า เงินคือพระเจ้าที่สามารถดล บันดาลทุกสิง่ ทุกอย่างให้แก่เราได้ เมื่อเรารักเงินทอง เราก็โลภอยากได้เงินทองมาก ขึน้ ทีส่ ุดเงินทองจะเข้ามาบงการชีวติ ของเราและจะนํ าเราไปสูค่ วามชัวร้ ่ ายและความ ทุกข์อกี มากมาย ผูเ้ ดียวที่สามารถดลบันดาลความสุขแท้จริงให้แก่เราได้กค็ อื พระเจ้า เราจะยอมให้เงินทองก้าวขึน้ มาเป็ น “คูป่ รับ” กับพระองค์ไม่ได้เด็ดขาด เมื่อเราสามารถวางตําแหน่ งของทรัพย์สนิ เงินทองได้อย่างถูกต้อง เราจะรูจ้ กั ใช้ความมังคั ่ งที ่ พ่ ระเจ้าทรงโปรดประทานแก่เราอย่าง “พอเพียง” และ “เพือ่ ผูอ้ นื ่ ” ซึง่ ั ่ รนั ดร จะนําเราไปสูท่ รัพย์สมบัตทิ ค่ี งอยูช่ วนิ นอกจากหลักการสําคัญทัง้ 3 ข้อที่กล่าวมาแล้ว ยังมีสงิ่ ที่ควรคํานึงถึงอีก 2 ประเด็น กล่าวคือ 5
นับพันบนภูเขา เรารูจ้ กั นกทุกตัวในอากาศ ทุกสิง่ ทีเ่ คลือ่ นไหวในทุ่งนาก็เป็ นของเรา ถ้าเราหิว เราก็ไม่บอกท่าน เพราะโลกและทุกสิง่ ในโลกล้วนเป็ นของเรา” (สดด 50:1012) ในพระธรรมใหม่ เป็ นพระเจ้ า เองที่ ท รงมอบทรั พ ย์ ส มบั ติ , ความสามารถ หรือแม้แต่สวนองุน่ ให้เรา “ยืม” หรือ “เช่าใช้” เช่น “อาณาจักรสวรรค์ยงั จะเปรียบได้กบั บุรุษผูห้ นึง่ กําลังจะเดินทางไกล เรียกผูร้ บั ใช้มามอบทรัพย์สนิ ให้ ให้คนทีห่ นึง่ ห้าตะลันต์ ให้คนทีส่ องสองตะลันต์ ให้คน ทีส่ ามหนึง่ ตะลันต์ ตามความสามารถของแต่ละคน แล้วจึงออกเดินทางไป” (มธ 25:1415) “ท่านทัง้ หลาย จงฟงั อุปมาอีกเรือ่ งหนึง่ เถิด คหบดีผูห้ นึง่ ปลูกองุ่นไว้ สวนหนึง่ ทํารัว้ ล้อม ขุดบ่อยํา่ องุ่น สร้างหอเฝ้า ให้ชาวสวนเช่า แล้วก็ออกเดินทางไป ต่างเมือง” (มธ 21:33) บางคนอาจแย้งว่าตนเองเป็ นผูซ้ ้อื คิดค้น ประดิษฐ์ หรือสะสมทรัพย์ สมบัตดิ ว้ ยนํ้ าพักนํ้ าแรงของตนเอง แต่ลองคิดดูสวิ ่ามีสงิ่ ใดบ้างทีเ่ ราสามารถ “เนรมิต” ขึ้น มาเองได้ เราทํ า ได้ เ พีย งนํ า สิ่ง ที่พ ระเจ้ า ทรง “เนรมิต ” ไว้ ม าประกอบหรือ ประดิดประดอยให้กลายเป็ นทรัพย์สมบัตขิ องเราเองเท่านัน้ ในเมื่อ ทุ ก สิ่ง ในโลกล้ว นเป็ น ของพระเจ้า เราจึง ต้อ งพยายาม “ใช้ ทรัพย์สินเงิ นทองตามทีเ่ จ้าของคือพระเจ้าทรงปรารถนา” เท่านัน้ มนุษย์สาํ คัญกว่าเงิ นทอง ในหนั ง สือ ปฐมกาล พระเจ้ า ตรัส ว่ า “เราจงสร้า งมนุ ษ ย์ ข้ึน ตาม ภาพลักษณ์ ของเรา ให้มีความคล้ายคลึงกับเรา ให้เป็ นนายปกครองปลาในทะเล นกในท้องฟ้า สัตว์เลี้ยง สัตว์ป่า และสัตว์เลื้อยคลานบนพื้นดิน” พระเจ้าทรงสร้าง มนุ ษย์ตามภาพลักษณ์ของพระองค์ พระองค์ทรงสร้างเขาตามภาพลักษณ์ของพระเจ้า พระองค์ทรงสร้างให้เป็ นชายและหญิง พระเจ้าทรงอวยพรเขาทัง้ สองว่า “จงมีลูกมาก และทวีจํานวนขึ้นจนเต็มแผ่นดิน จงปกครองแผ่นดิน จงเป็ นนายเหนือปลาในทะเล นกในอากาศ และสัตว์ทุกชนิดทีเ่ คลือ่ นไหวอยูบ่ นแผ่นดิน” (ปฐก 1:26-28) 2.
4
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 8 เทศกาลธรรมดา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี ส. 1 มี.ค. 18.00 น.
รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว ประชาชนชาวไทยทุกท่าน อุทศิ แด่ อันตน สําเริ ง โกญจนาท สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ คุณโถ เพียรช่างคิด ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา. 2 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อันโตนีโอ จํารู ญ พรสัจจา มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ เทเรซา ณัฐวรรณ สาธรกิจ, คอบครัวสุ ทธิโอภาส ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, ครอบครัวเพียรช่างคิด ครอบครัวเขม้นงาน, สุ ทธิโอภาส, ลิ้มจิตรกร เทเรซา อัญชลี ธนาพานิชย์ มารี อา เทเรซา แววระวี, ยวง ก้อง พันธุมจินดา เทเรซา ธนพร ครอบครัวโกวงศ์ และครอบครัวตันติโกสิ ชฌน์ ประชาชนชาวไทยทุกท่าน อุทศิ แด่ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช Maria Vanna, Marcellina Marasri Xavier ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช
ผู้ขอมิสซา ธนพร แฟมิลี่พิซซ่า เริ งจิต ปภาวิชญ์ ธนพร บุญญรัตน์ คค.ศรี เจริ ญ สุ ดารัตน์ แฟมิลี่พิซซ่า 13
วัน เดือน ปี อา.2 มี.ค. 08.00 น.
รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา อุทศิ แด่ ยอแซฟ ภิรมย์, โยเซฟิ น รัตนา สุ ดารัตน์ ยวง พิสิษฐ์ พันธุมจินดา สุ ดารัตน์ มารี อา เทเรซา นงลักษณ์ จินดากุล สุ ดารัตน์ คุณวิรัช พุทธโกษา, เซบัสติโน การุ ณย์ วงศ์ธานี สุ ดารัตน์ คุณรําเนา วงศ์ผดุ ผาด, คุณโถ เพียรช่างคิด สตีเฟน วัฒนา วิเศษเธียรกุล ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั ธนาพานิชย์ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว คุณโถ เพียรช่างคิด, คุณนงรัก ธนะสาร, คุณล้อสี บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง ธนาพานิชย์ อา. 2 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ ธนพร สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน 10.00 น. ประชาชนชาวไทยทุกท่าน แฟมิลี่พิซซ่า เทเรซา ฐิติกาญจน์ นิลกําแหง ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว ครอบครัวพานิชเกษม, ศิริวรรณ, วีรกิตติ, พันทวี ปัทมา ครอบครัวศรัยกิจ, อันนา อํานวย ชมรมผูส้ ู งอายุ อุทศิ แด่ ยอแซฟ บรรจง ศิริยงค์ อรทัย ยอแซฟ ธวัช วิธีธรรม อรทัย เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม รุ่ งโรจน์ คุณก้านทอง แสงปัญหา รุ่ งโรจน์ คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา รุ่ งโรจน์ ฟิ ลิป มุ่ยชิม, คุณเช้ง แซ่จึง, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี รุ่ งโรจน์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวพานิชเกษม ปัทมา วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อิสอัคร,นาธาน
14
3. “เงิ นทอง” ตรงกับคํากรีก mamōna (มาโมนา) ซึง่ รับมาจากภาษา ฮีบรูอกี ทอดหนึ่ง ตามรากศัพท์หมายถึง “การไว้ใจ การมอบหมาย” เพราะฉะนัน้ มาโมนาจึงหมายถึง “สิง่ ทีเ่ ราไว้ใจมอบหมายให้ผู้อืน่ ดูแล” เช่นมอบเงินทองหรือทรัพย์สมบัตใิ ห้นายธนาคารเป็ นผูด้ แู ล มาโมนาในตัวของ มันเองเป็ นสิง่ ดีเพราะเป็ นพระพรของพระเจ้าที่ทรงโปรดประทานแก่บรรดาผู้ชอบ ธรรม ต่อมาความหมายเปลีย่ นไปเป็ น “สิง่ ทีต่ วั เราเองมอบความไว้วางใจให้ ทัง้ หมด” และเขียนขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ Mamōn (มาโมน) ซึ่งเท่ากับว่าเรา ยอมรับและยกย่องเงินทองเป็ นดังพระเจ้ ่ าที่เราไว้วางใจว่าจะสามารถช่วยเราให้พน้ ทุกข์และเป็ นสุขได้ ชาวซีเรียถึงกับเรียกเทพเจ้าแห่งความรํ่ารวยของตนว่า Mammōn (มัมโมน) จากศัพท์ท่ใี ช้ทงั ้ 3 คํา บ่งบอกว่าพระเยซูเจ้าทรงเรียกร้องให้เรา “เป็ นข้ารับ ใช้ของพระเจ้าทุกลมหายใจ เพราะพระองค์ทรงเป็ นเจ้าของผู้มกี รรมสิทธิ์เบ็ดเสร็จ เด็ดขาดเหนือชีวติ ของเรา” เพราะฉะนัน้ การรับใช้พระเจ้าบางเวลาแบบ part-time หรือการเป็ นคริสตชน เฉพาะเวลามิสซาวันอาทิตย์ ส่วนเวลาอื่นถือว่าเป็ นอิสระจากการดําเนินชีวติ เยี่ยง คริสตชน จึงเป็ นสิง่ ทีพ่ ระเยซูเจ้ายอมรับไม่ได้เด็ดขาด นอกจากจะทรงเรียกร้องให้เรารับใช้พระเจ้าและเป็ นคริสตชนแบบเต็มเวลา แล้ว พระองค์ยงั ทรงกําชับว่า “ท่านทัง้ หลายจะปรนนิบตั ิรบั ใช้พระเจ้าและเงินทอง พร้อมกันไม่ได้” (มธ 6:24) ซึ่งหมายความว่า “การมีทรัพย์สนิ เงินทองไม่ใช่สงิ ่ ผิด แต่ การรับใช้พระเจ้าและทรัพย์สนิ เงินทองพร้อมกันเป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นไปไม่ได้เด็ดขาด” !! ในเมือ่ พระเยซูเจ้าทรงรับสังเช่ ่ นนี้ เราจึงจําเป็ นต้องเรียนรูห้ ลักการสําคัญเพื่อ จะได้ใช้ทรัพย์สนิ เงินทองได้อย่างถูกต้อง ดังนี้ 1.
ทุกสิ่ งในโลกนี้ ล้วนเป็ นของพระเจ้า พระเจ้าตรัสว่า “สัตว์ทงั ้ หลายในปา่ ล้วนเป็ นของเรา เช่นเดียวกับสัตว์ 3
สั ปดาห์ ที่ 8 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
มธ 6:24-34
วัน เดือน ปี จ. 3 มี.ค. อ. 4 มี.ค. พ. 5 มี.ค. พฤ. 6 มี.ค. ศ. 7 มี.ค.
อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่ อุทศิ แด่
รายการมิสซา วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ
ผู้ขอมิสซา ธนพร ธนพร อิสอัคร ธนพร นาธาน, อาท
คําสอนฤด ูร้อน เขต 2 1. ไม่มีใครเป็ นข้าสองเจ้าบ่าวสองนายได้ เพื่อจะเข้า ใจพระวาจาของพระเยซูเ จ้า ตอนนี้ ไ ด้อย่า งลึกซึ้ง จําเป็ นที่เ รา จะต้องเรียนรูค้ วามหมายของศัพท์บางคําทีใ่ ช้ในสมัยของพระองค์ 1. “ข้า, บ่าว” ตรงกับคํากรีก douleuein (ดูแลวเอน) ซึ่งหมายถึง “เป็ นทาส” ในทางกฎหมาย “ทาส” ไม่ ใ ช่ “คน” แต่ เ ป็ น “สิ ่ง ของ” หรื อ “เครือ่ งมือที ม่ ีชีวิต” เท่านัน้ เพราะฉะนัน้ นายจะขาย จะเฆีย่ นตี จะโยนทิง้ หรือจะ ฆ่าให้ตายก็ได้ พูดง่าย ๆ ก็คอื นายทําอะไรกับทรัพย์สนิ ของตนได้กท็ ํากับทาสของ ตนได้เช่นเดียวกัน นอกจากนัน้ “ทาส” ยังต้องขึน้ กับนายทัง้ วันและทัง้ คืนโดยไม่มเี วลา อิสระเป็ นของตนเองแม้เพียงเสีย้ ววินาทีเดียว ซึง่ ต่างจากเราทีม่ กี ําหนดเวลาทํางาน ชัดเจน หลังเลิกงานเรายังสามารถหางานพิเศษทํานอกเวลาได้ จะไปเที่ยวหรือทํา อะไรตามอําเภอใจของเราก็ยอ่ มได้ 2. “นาย” ตามรากศัพท์กรีก kurios (คูรอี อส) หมายถึง “ผูม้ กี รรมสิทธิ์ เหนือผูอ้ นื ่ แบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาด” นันคื ่ อเป็ น “เจ้าของ” มากกว่าเป็ น “เจ้านาย” 2
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เขต 2 จัดค่ายคําสอนฤดูรอ้ นสําหรับ นัก เรี ย นคาทอลิ ก ที่ ไ ม่ไ ด้เ รี ย นคํา สอนในระหว่ า งภาคเรี ย นปกติ เพื่ อ รั บ ศี ล ศักดิส์ ิทธิ์ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กเยาวชนจากวัดต่างๆ ในเขต ระดับชัน้ เรียน แบ่งเป็ น 3 ระดับ ดังนี้ เด็กที่เตรียมจะรับศีลมหาสนิท สําหรับนักเรียนจบชัน้ ป.3 เด็กที่เตรียมจะรับศีลกําลัง สําหรับนักเรียนจบชัน้ ป.6 เด็กที่เตรียมรื้อฟื้ นศีลล้างบาป สําหรับนักเรียนจบชัน้ ม.3 ระยะเวลา : 24 มีนาคม – 20 เมษายน 2014 เวลา : ประเภทนักเรียนแบบไป-กลับ เรียนเวลา 8.30-15.00 น. ประเภทนักเรียนค้างในค่ายคําสอนวันจันทร์-ศุกร์ เรียนตลอดวัน สถานที่เรียน : วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ คลองจัน่
**ไม่มีค่าใช้จ่าย** ผูป้ กครองและเด็ก ๆ ที่สนใจ โปรดสอบถามรายละเอียดและสมัครได้ที่สาํ นักงานวัด ตัง้ แต่บดั นี้ ถึง 21 มีนาคม ศกนี้ 15
วันพุธที่ 5 มีนาคม ศกนี้ เป็ นวันพุธรับเถ้า เริ่ มต้นเทศกาลมหาพรต ขอเชิ ญพี่ น้องทุกท่านร่ วมมิสซาและรับเถ้า เวลา 19.00 น. และจะมีโรยเถ้าหลังมิสซา วันเสาร์และวันอาทิตย์ถดั ไปด้วย ในวันดังกล่าว คริ สตชนทุกคนที่มีอายุต้ งั แต่ 14 ปี บริ บูรณ์ข้ ึนไปต้องอดเนื้ อ และผูท้ ี่มีอายุต้ งั แต่ 18 ปี บริ บูรณ์ข้ ึนไปจนถึง อายุ 59 ปี บริ บูรณ์ ต้องอดเนื้อและจําศีลอดอาหาร (กินอิ่มมื้อเดียว) เริ่ มสัปดาห์หน้า ตลอดเทศกาลมหาพรต ขอเชิญพี่นอ้ งทุกท่านร่ วมเดินรู ป 14 ภาค (มรรคาศักดิ์สิ ทธิ์ ) เพื่อร่ วมพระมหาทรมานกับพระเยซู เจ้า ทุกวันเสาร์ ก่อนมิสซา เวลา 18.00 น. (งดนพวารแม่ พระนิ จจานุเคราะห์ ตลอดเทศกาล มหาพรต) และทุกวันอาทิตย์เวลา 9.30น. ก่อนมิสซาสาย วัดในเขตปกครอง 2 อัครสังฆมณฑลกรุ งเทพฯ หวังให้เด็กช่ วยมิสซาได้พกั ผ่อนร่ วมกัน ระหว่างวันที่ 10-12 มีนาคม ศกนี้ ณ หาดหฤทัย ชะอํา โดยวัด ของเรามีคุณพ่อวินยั และคุณพ่อพนมกรร่ วมกันดูแลตลอดกิจกรรม ขอเชิญเด็ก ช่วยมิสซาที่สนใจสมัครได้ที่สาํ นักงานวัด วันอาทิตย์ที่ 30 มีนาคม ศกนี้ วัดของเรากําหนดไปจาริ กแสวงบุญและเยี่ยม เยียนเด็กด้อยโอกาส ณ มูลนิ ธิเซนต์มาร์ ติน วัดพระแม่มหาการุ ณย์ นนทบุรี ผูส้ นใจ โปรดลงชื่ อที่ สํานัก งานวัด ภายในวันอาทิ ตย์น้ ี เพื่อ วางแผนจัดรถ สํา หรั บ เดิ น ทาง และพี่ น้อ งท่ า นใดประสงค์จ ะบริ จ าคเงิ น เครื่ อ งอุ ป โภค บริ โภค และของใช้อื่น ๆ โปรดติดต่อสํานักงานวัด วันเสาร์ ที่ 12 เมษายน ศกนี้ ขอเชิ ญพี่นอ้ งร่ วมฟื้ นฟูจิตใจ หัวข้อ “จิตภาวนา” และ “ความรักไม่มีสิ้นสุ ด” โดย คุณพ่อ ประเสริ ฐ โลหะวิริยะศิริ ตั้งแต่เวลา 8.30-19.00 น. ณ วัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ผูส้ นใจโปรดลงชื่อที่สาํ นักงานวัด 16
ฉบับที่ 516 วันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 8 เทศกาลธรรมดา (ปี A)
ท่านทั้งหลายจะปรนนิบตั ิรบั ใช้ พระเจ้าและเงินทองพร้อมกันไม่ได้ มธ 6:24