ฉบับที่ 518 วันอาทิตย์ที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2014
ฉบับที่ 518 วันอาทิตย์ที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลมหาพรต (ปี A)
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลมหาพรต (ปี A)
ท่านผูน้ เป็ ี้ นบุตรสุดที่รกั ของเรา เราพึงพอใจยิง่ นัก จงฟังท่านเถิด
ท่านผูน้ เป็ ี้ นบุตรสุดที่รกั ของเรา เราพึงพอใจยิง่ นัก จงฟังท่านเถิด
มธ 17:5
มธ 17:5
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลมหาพรต (ปี A)
มธ 17:1-9
เคยเชื่อกันว่าพระเยซูเจ้าทรงสําแดงพระองค์อย่างรุ่งเรืองบนภูเขาทาบอร์ (Tabor) แต่ทาบอร์ไม่ใช่ “ภูเขาสูง” (มธ 17:1) อีกทัง้ ยังเป็ นเขตหวงห้ามเพราะเป็ น ที่ตงั ้ ของค่ายทหาร ทุกวันนี้จงึ สันนิษฐานกันว่าพระองค์ทรงสําแดงพระองค์อย่าง รุ่งเรืองบนภูเขาเฮอร์โมน (Hermon) ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองซีซารียาแห่งฟิ ลปิ สถานที่ ซึง่ เปโตรประกาศความเชื่อ (มธ 16:16) เมือ่ หกวันก่อนเพียง 22 กิโลเมตร ภูเขาเฮอร์โมนสูงเกือบ 3 กิโลเมตร ต้องใช้เวลาเดินทางอย่างน้อย 5 ชัวโมง ่ จึงจะถึงยอดเขาซึง่ มีอากาศเบาบางมากจนไม่น่าจะมีใครคิดสร้างทีพ่ าํ นักบนนี้ จึงเชื่อ กันว่าการสําแดงองค์คงเกิดขึ้น ณ เชิงเขาแห่งใดแห่งหนึ่ งในเวลากลางคืนเพราะ “เปโตรและเพือ่ นทีอ่ ยูด่ ว้ ยต่างก็งว่ งนอนมาก” (ลก 9:32) ลูกาให้เหตุผลว่าพระเยซูเจ้าเสด็จพร้อมกับศิษย์ท่ที รงเลือกสรร 3 คนไปยัง ภูเขาสูงและเปลีย่ วแห่งนี้ “เพือ่ อธิษฐานภาวนา” (ลก 9:28) จริงอยู่ คําประกาศยืนยันความเชื่อของเปโตรที่เมืองซีซารียาแห่งฟิ ลิปคง ช่วยบรรเทาใจพระองค์ได้มาก เพราะอย่างน้อยยังมีคนรับรูว้ า่ “พระองค์คอื พระคริสต เจ้า พระบุตรของพระเจ้าผูท้ รงชีวติ ” (มธ 16:16) แต่บดั นี้พระองค์กําลังมุ่งหน้าสู่กรุง เยรูซ าเล็ม เพื่อ รับ การตรึ ง กางเขน พระองค์ป รารถนาจะทราบว่า นี ่เป็ นพระ ประสงค์ของพระบิดาจริ งหรือ ? 2
วัน เดือน ปี อา 16 มี.ค. 10.00 น.
รายการมิสซา อุทศิ แด่ เปาโล มงคล, เซซี ลีอา อรนุช, อักแนส ลดาวัลย์ สวีรวงศ์ คุณสอางค์ ชุ่มชื่น, คุณเซ่งกี, คุณคิ้ม แซ่ลิ้ม, คุณอรุ ณี คุณวรรณา, คุณกรรณิ การ์ สวีรวงศ์, เฟนันโด, ปั งซิ โก เปาโล บุญรอด, อันนา มัตตา, มารี อลิดา แย้มกรรณ์ ครารา ประสงค์, คุณบังอร พันธ์วไิ ล มารี อา สุ ชาดา หลวงคลังพิเดช เปโตร อุทยั ดารุ ทยาน, มารธา แจง บุญครอง คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา ฟิ ลิป มุ่ยชิม, คุณเช้ง แซ่จึง, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณก้านทอง แสงปัญหา คุณทองคํา ดิโพ, ราฟาแอล เทพอวยพร ศรัยกิจ มารี อา กิมฮวย แซ่อ้ ึง และบรรพบุรุษ เปาโล ต่าง, อักแนส ศรี เวียง เนียมวิวฒั น์ เควนติน ย่งฮง แซ่จงั , อันนา กี แซ่ฉวั่ มารี อา เออซูลิน บุญสม เองเจริ ญ มารี อา จันทรา สุ เสงี่ยม, ฟี เดส จิตรา ดารุ ทยาน อันนา ทองสุ ข, ดอมินิโก บัวลา สร้อยสูงเนิน ซิ ลเวสเตอร์ สุ รพงษ์, โรซา บุญยิง่ กิจเจริ ญ อันตน ศิริ, มารี อา มักดาเลนา เกสร ไชยเจริ ญ ยอแซฟ จอน แซ่เตียว, มารี อา ตั้น แซ่แจว โรซา ตั้ง มุย เซี ยะ, อันโทนี โล้ว เม่ง ช่วง วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง จ. 17 มี.ค. สุ ขสํ าราญ มารี อา อัญชลี พูลขาว และครอบครัว อ. 18 มี.ค. สุ ขสํ าราญ คุณธิติมา ขันธวิชยั พ. 19 มี.ค. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ พฤ.20 มี.ค. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ ศ. 21 มี.ค. สุ ขสํ าราญ คุณประสิ ทธิ์ พจนพรพันธุ์
ผู้ขอมิสซา ลัดดา ลัดดา ลัดดา บัญญัติ หลาน วรรณษา รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ บุตรสาว/รัชนี สุ นทรี นิรมาน อัญชลี วีรยา/อมรา พรรณพัฒณ์ ปิ ยวรรณ์ พิทกั ษ์ พนิดา อิสอัคร,นาธาน
มาลินี 11
วัน เดือน ปี รายการมิสซา อา.16 มี.ค. สุ ขสํ าราญ ครอบครัวรัตนบรรณสกุล, ครอบครัวต่ายแสง 08.00 น. ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ อุทศิ แด่ เปาโล พร, อันนา ละม่อม พึ่งผล Maria Vanna, Marcellina Marasri Xavier ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั มารี อา ฮวย นงสวัสดิ์, ลูโดวีโก ช่วย นงค์สวัสดิ์ มารี อา เจียมใจ กิตติคุณ, ยอแซฟ ศรี รัตน์ กิตติคุณ มารี อา ต้ายไถ่ แซ่ไซ, เปาโล วางจือกวง คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว คุณโถ, คุณนงรัก, ผูล้ ่วงลับ คค.ธนะสารและสาธรกิจ อันนา ชูศรี , ยอแซฟ สมบัติ ทรัพย์อาภารัตน์ มาการิ ตา้ ทิพากร เรี ยวนาร์, ผูล้ ่วงลับครอบครัวโกวงศ์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวทรงสัตย์ บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 16 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน 10.00 น. มีคาแอล ชวลิต ไมตรี แองเจลา สุ ระณี กรองทอง ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว, คุณวิทยา สุ ขเกษมสิ น โทมัส วฤทธิ์ ศุภบรรพต, ครอบครัวศุภบรรพต ยอแซฟ จิรา เลาหบุตร และครอบครัว ครอบครัวตุ่ยไชย, ครอบครัวศรี ผา ครอบครัวกาญจนโรจน์ ครอบครัวตาเพชรรัตน์, ครอบครัวธนากรกานต์ 10
ผู้ขอมิสซา ภัทรพล ทัศนีย ์ ชลทิศ พิศิษฏ์ ธนาพานิชย์ วิไลวรรณ คค.ไมตรี คค.กรองทอง วิไลวรรณ/วินิจ วฤทธิ์ ดาริ ณี,วิมลพรรณ ดาริ ณี,วิมลพรรณ
ไม่มคี รัง้ ใดเลยที่พระองค์จะเผชิญหน้ากับปญั หาหรือวิกฤติการณ์ ตามลําพัง และครัง้ นี้พระองค์ทรงเลือกภูเขาเฮอร์โมนเป็ นที่อธิษฐานภาวนาและฟงั พระสุรเสียง ของพระบิดาเจ้า คําถามเดียวทีพ่ ระองค์ทรงมีต่อพระบิดาคือ “พระองค์ทรงประสงค์ให้ขา้ พเจ้า ทําสิง่ ใด ?” บนภูเขานี้เอง “โมเสสและประกาศกเอลียาห์สาํ แดงตนสนทนาอยูก่ บั พระองค์” (มธ 17:3) ทัง้ สองต่ างเคยมีป ระสบการณ์ ใกล้ชิดกับ พระเจ้าบนภูเขามาก่อน โดย โมเสสรับแผ่นศิลาจารึกบัญญัติสบิ ประการจากพระเจ้าบนภูเขาซีนัย (อพย 31:18) ส่วนเอลียาห์ได้ยนิ พระสุรเสียงของพระองค์บนภูเขาโฮเร็บ (1 พกษ 19:9-12) ลูกาเล่าว่าเนื้อหาของการสนทนาคือเรื่อง “การจากไปของพระองค์ทกี ่ ําลังจะ สําเร็จในกรุงเยรูซาเล็ม” (ลก 9:31) “การจากไป” ตรงกับ ภาษากรีก exodos (เอกซ์ ซ อดอส) และตรงกั บ ภาษาอังกฤษ exodus (เอกซ์โซดัส) คํา exodus มีความหมายลึกซึ้งทางศาสนา เพราะเป็ นการเดินทางผจญภัย ของชนชาติหนึ่งซึง่ มอบความวางใจทัง้ หมดไว้ในพระเจ้า ยอมออกจากแผ่นดินอันอุดม สมบูรณ์ ในอียปิ ต์ มุ่งหน้ าสู่ถิ่นทุรกันดารในทะเลทรายที่ซ่ึงไม่เคยมีใครรูจ้ กั แต่ ใน ทีส่ ดุ พระเจ้าทรงนําพาพวกเขาเข้าสูแ่ ผ่นดินแห่งพระสัญญา เท่ากับว่าพระเยซูเจ้ากําลังทํา exodus โดยเสด็จออกจากบ้านเกิดเมืองนอน อันอบอุ่นในแคว้นกาลิลี มุ่งหน้าสู่กรุงเยรูซาเล็มในแคว้นยูเดียที่เต็มไปด้วยอันตราย และมีกางเขนรอคอยพระองค์อยูเ่ บือ้ งหน้า แต่ ห ลัง จากเร่ ร่ อ นอยู่ ใ นถิ่น ทุ ร กัน ดาร มีแ ผ่ น ดิน แห่ ง พระสัญ ญารอชาว อิสราเอลอยูฉ่ นั ใด หลังความตายบนไม้กางเขน ก็มพี ระสิรริ งุ่ โรจน์รอคอยพระองค์อยู่ ฉันนัน้ Exodus คือคํายืนยันจากสองบุคคลผูม้ คี วามสําคัญทีส่ ุดในประวัตศิ าสตร์ของ อิสราเอล คนหนึ่งเป็ นผูน้ ําบทบัญญัตขิ องพระเจ้ามาสูม่ นุ ษย์ อีกคนหนึ่งเป็ นประกาศก ผูน้ ําพระวาจาของพระเจ้ามาสูม่ นุ ษย์
ดาริ ณี,วิมลพรรณ 3
คํายืนยันคือ “พระองค์ทรงมาถูกทางแล้ว” เพราะหลังความตายบนไม้กางเขน มีพระสิรริ งุ่ โรจน์แห่งการกลับคืนชีพรอคอยพระองค์อยู่ ! นอกจากคํายืนยันของสองผูน้ ําชาวอิสราเอลแล้ว ยังมีเมฆสว่างจ้าก้อนหนึ่งปก คลุมพวกเขาไว้ เสียงหนึ่งดังจากเมฆนัน้ ว่า “ท่านผู้น้ ีเป็ นบุตรสุดทีร่ กั ของเรา เราพึง พอใจยิง่ นัก จงฟงั ท่านเถิด” (มธ 17:5) ตลอดประวัตศิ าสตร์ของชาวอิสราเอล “เมฆสว่างจ้า” นัน้ หมายถึง “องค์พระผู้ เป็ นเจ้า” เอง ระหว่างการอพยพ “พระยาห์เวห์เสด็จนํ าหน้าเขาเหมือนเสาเมฆเพือ่ ชี้ ทาง” (อพย 13:21) “พระยาห์เวห์เสด็จมาในเมฆ” เพื่อประทานศิลาจารึกพระบัญญัติ (อพย 34:5) และเสด็จมาที่สกั การสถานโดย “เมฆปกคลุมกระโจมนัดพบ และพระสิริ รุง่ โรจน์ของพระยาห์เวห์อยูเ่ ต็มกระโจมทีป่ ระทับ” (อพย 40:34) แปลว่า เป็ นพระเจ้าเองทีเ่ สด็จมาหาพระบุตรสุดทีร่ กั และทรงพอพระทัย หนทางแห่งไม้กางเขนทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงเลือก บัดนี้คําภาวนาของพระองค์ได้รบั คําตอบชัดแจ้งปราศจากข้อสงสัยใด ๆ แล้ว พระองค์พ ร้อมปฏิบ ตั ิต ามพระประสงค์ข องพระบิดาเจ้าแล้วแม้จะต้องพลีชีพ บนไม้ กางเขนก็ตาม ชีวติ ภายในของพระองค์บรรลุขนั ้ สูงสุดแล้ว ! นอกจากชีวติ ภายในของพระองค์จะบรรลุขนั ้ สูงสุดเพราะสามารถน้อมรับพระ ประสงค์ของพระบิดาแม้จะต้องถูกตรึงตายบนไม้กางเขนก็ตาม บรรดาศิษย์ก็ได้รบั บทเรียนด้วยเช่นกัน 1. จิตใจของบรรดาศิษย์กําลังห่อเหีย่ วอย่างยิง่ เพราะพระเยซูเจ้าทรงยืน กรานจะเสด็จไปกรุงเยรูซาเล็ม เพือ่ รับทรมานและสิน้ พระชนม์บนไม้กางเขน แต่บนภูเขาแห่งการสําแดงพระองค์น้ีเอง เปโตรและศิษย์ได้เห็น “พระ พักตร์ของพระองค์เปล่งรัศมีดุจดวงอาทิตย์ ฉลองพระองค์กลับมีสขี าวดุจแสงสว่าง” จนเปโตรถึงกับอุทานว่า “พระเจ้าข้า ทีน่ ีส่ บายน่ าอยู่จริง ๆ” (มธ 17:4) นอกจากนัน้ พวกเขายังได้เห็นพระสิรริ งุ่ โรจน์ของพระเจ้าปรากฏในก้อนเมฆสว่างจ้า สองสิง่ นี้ทาํ ให้จติ ใจของพวกเขาชุม่ ชื่นและปีตยิ นิ ดียงิ่ ขึน้ บัดนี้พวกเขา สามารถมองเห็นความรุง่ โรจน์โดยผ่านทางความอับอาย ชัยชนะโดยผ่านทางความอด สู และมงกุฎโดยผ่านทางไม้กางเขน ! 4
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลมหาพรต (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ส. 15 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ เซซี ลีอา พวงมาศ ศิริมงคลวิชย์ 18.00 น. อันนา สวัสดิ์, เปาโล ศิริ แตงอ่อน และครอบครัว มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อุทศิ แด่ ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ ยอแซฟ อดิศยั ดารุ ทยาน อันตน สําเริ ง โกญจนาท สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา. 16 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา มาลี ทรงสัตย์ และครอบครัว อันโตนีโอ จํารู ญ พรสัจจา มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ คุณวันลา จันทรักษ์ คุณประชิต, คุณประจิตร, มารี อา จินดา เส็งเจริ ญ ครอบครัวฉัตรวัฒนาสกุล, ครอบครัวเอี่ยมวิศิษฎ์ เทเรซา รัตนา ชินธรรมมิตร์ และครอบครัว ยอแซฟ มานพ อดุลศิริสวัสดิ์ และครอบครัว เปโตร มนัศ อดุลศิริสวัสดิ์ และครอบครัว ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวสุ ทธิโอภาส ครอบครัวลิ้มจิตรกร ครอบครัวณรงค์ศกั ดิ์, ครอบครัวมูลเมือง คอบครัวสุ ทธิโอภาส, ทุกครอบครัวในโลก ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, ครอบครัวเพียรช่างคิด
ผู้ขอมิสซา มาลินี ชุลีพร ปภาวิชญ์ อมรา เริ งจิต บุญญรัตน์ คค.ศรี เจริ ญ สุ รัตน์ดา มาลี มาลี มาลี 9
คัดย่ อจากนิตยสาร Secret
ความสุขนัน้ ใครๆ ก็ปรารถนา แต่เคยสังเกตไหมว่า ทันทีที่เราอยากได้ความสุข ความสุขกลับเลือนหาย ยิ่งอยากได้ความสุขมากเท่าไร เรากลับมีความสุขน้อยลง ทําไม จึงเป็ นเช่นนัน้ ? เหตุผลนัน้ มีหลายประการ ทุกครัง้ ที่เราอยากมีความสุข เรามักจะนึกถึงสิ่งที่เรา ยังไม่มี เช่น เงิน รถยนต์ ชื่อเสียง ความสําเร็จ หรือสิ่งที่ยงั ไปไม่ถึง เช่น ห้างสรรพสินค้า สถานที่ท่องเที่ยว แต่พอคิดเช่นนัน้ เราก็จะรูส้ ึกไม่พอใจกับสภาพปั จจุบันทันที กล่าวอีก นัยหนึง่ ทันทีที่เราอยากได้ความสุข เราจะไม่เห็นความสุขที่มอี ยู่ในปั จจุบนั เพราะใจนัน้ มัว จดจ่อใส่ใจกับความสุขที่อยู่ขา้ งหน้า แค่นั้นก็ ทําให้ความสุขเลือนหายไปจากใจแล้ว คน ส่วนใหญ่ ที่อยากมีความสุขนั้นที่จริงเขามีความสุขอยู่แล้ว แต่มองไม่เห็ น เพราะเอาแต่ มองออกไปนอกตัว เขามองข้ามปั จจุบัน ฝากความหวังไว้กับอนาคต จึงเสียโอกาสที่จะ เก็บเกี่ยวความสุขที่มอี ยูใ่ นปั จจุบนั คนที่ อ ยากได้ความสุขมากๆ ยังมักเจอปั ญ หาอี ก ประการหนึ่ง กล่าวคื อ ยิ่ ง อยากได้ความสุข ก็ยิ่งนึกถึงแต่ตวั เอง คิดแต่ว่าทําไมตนถึงจะมีความสุขมากๆ ความคิด เช่น นี้ ทํ า ให้ไม่ ส นใจคนอื่ น จนอาจถึ ง ขั้น ไร้น ํ้า ใจต่ อ คนรอบตั ว เท่ า นั้น ไม่ พ อ ยั ง อาจ เรียกร้องความสุขจากคนอื่นๆ อีกด้วย จึงเป็ นที่ระอาของผูค้ น ใครๆ ก็ไม่อยากคบค้า สมาคมด้ว ย ผลที่ ต ามมาก็ คื อ ความรู้สึ ก โดดเดี่ ย ว ไอริ ส มอสส์แ ห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย แคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบิร์คลีย์ พบว่า ยิ่งผูค้ นให้ความสําคัญแก่ความสุขมากเท่าไร ก็ ยิ่งรูส้ ึกโดดเดีย่ วอ้างว้างโดยเฉพาะเวลามีเรื่องเครียดเกิดขึน้ คนที่อยากได้ความรัก มักลงเอยด้วยการไม่ได้ความรัก เพราะเมือ่ อยากได้ความ รักจากใคร ก็มกั คาดคั้นหรือเรียกร้องความรักจากเขา ได้แล้วก็ยังไม่พอใจเพราะไม่มาก เท่าที่ตอ้ งการ ก็ยิ่งเรียกร้องอีก ทําให้อีกฝ่ ายอึดอัดและระอาใจ ใช่แต่เท่านัน้ เวลาเห็นเขา ให้ค วามสนใจหรื อ ความรั ก แก่ ค นอื่ น ตนเองก็ จ ะรู้สึ ก อิ จ ฉาและโกรธขึ้ง อาจถึ ง กั บ อาละวาดอีกฝ่ ายด้วยความหึงหวง เมื่อเป็ นเช่นนีห้ นักเข้า อีกฝ่ ายก็ย่อมรูส้ ึกเหนือ่ ยหน่าย และหมางเมินเหิ นห่างในที่สดุ ตรงข้ามกับคนที่ไม่ได้ตอ้ งการความรักจากใคร กลับมัก ได้รับ ความรั ก จากผูอ้ ื่ น เพราะเขาไม่คิ ด เรี ย กร้อ งความรัก จากใคร ไม่เอาตนเองเป็ น ศูนย์กลาง แต่ใส่ใจคนอื่น คอยช่วยเหลือเกื้อกูลผูอ้ ื่น จึงมักเป็ นที่รกั ของผูอ้ ื่น
กางเขนไม่ใช่ความพ่ายแพ้อปั ยศอดสูอกี ต่อไป แต่เป็ นหนทางสู่พระ สิรริ งุ่ โรจน์อนั ยิง่ ใหญ่ !! 2. ปฏิกริ ยิ าแห่งความปี ตยิ นิ ดีของเปโตรคือ “ข้าพเจ้าจะสร้างเพิงขึน้ สาม หลัง หลังหนึง่ สําหรับพระองค์ หลังหนึง่ สําหรับโมเสส อีกหลังหนึง่ สําหรับเอลียาห์” (มธ 17:4) เปโตรเป็ นคนชอบทํามากกว่าชอบคิด แทนที่จะสงบนิ่ง ไตร่ตรอง สรรเสริญ และเคารพยําเกรงพระสิรริ ุ่งโรจน์ของพระเจ้า ดังเพลงสดุดที ว่ี ่า “จงสงบนิง่ เถิด และรูว้ า่ เราคือพระเจ้า” (สดด 46:10) ท่านกลับด่วนเสนอสร้างเพิงสามหลัง หลายครัง้ เราก็ทําตัวไม่ต่างจากเปโตร เรามัววุ่นวายทําสิง่ นี้บ้าง ทํา สิง่ โน้นบ้าง ทัง้ ๆ ทีจ่ ะดีกว่ามากหากเรารูจ้ กั เงียบ ฟงั คิด สรรเสริญและขอบพระคุณ พระเจ้า นอกจากนัน้ เป็ นไปได้ว่าเปโตรเสนอสร้างเพิงสามหลังก็เพื่อยืดเวลา แห่งความปี ติยนิ ดีท่ไี ด้อยู่ต่อหน้ าพระเยซูเจ้าผูท้ รงเปล่งรัศมีรุ่งโรจน์ ออกไปให้นาน ทีส่ ดุ จะได้ไม่ตอ้ งลงจากภูเขาไปเผชิญหน้ากับกางเขน นี่เป็ นประสบการณ์ของผูท้ เ่ี จริญชีวติ สนิทสัมพันธ์กบั พระเจ้า นัน่ คือ ได้ล้ิม รสความสุ ข สงบและความปี ติ ย ิน ดีอ ย่ า งเอ่ อ ล้น และพยายามยืด เวลาแห่ ง ความสุขนี้ ออกไปให้นานที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้ จนหลายครัง้ ไม่ได้ปฏิบตั ิหน้ าที่ท่ี ได้รบั มอบหมาย แต่เราต้องไม่ลมื ว่า พระเยซูเจ้าทรงสําแดงพระองค์อย่างรุ่งโรจน์ก็ เพือ่ ให้เรามีพลังกายและพลังใจสําหรับปฏิบตั ภิ ารกิจทีพ่ ระองค์ทรงมอบหมาย และก้าวเดิ นต่อไปตามหนทางแห่งไม้กางเขน !!
อยากได้อะไร กลับไม่ได้สิ่งนัน้ ฉันใดก็ฉนั นัน้ ยิ่งอยากได้ความส ุข กลับ ไม่ได้ ครัน้ ไม่อยากได้ความสขุ กลับได้ ดังนัน้ ใครที่ อยากมีความสขุ ควรวาง ความอยากลงเสีย แล้วหมัน่ ทําความดี นึกถึงผูอ้ ื่นให้มากๆ ลดความเห็นแก่ตวั ให้นอ้ ยลง เมื่อนัน้ ความส ุขก็จะมานัง่ ในหัวใจเราเอง 8
5
ขอบคุณข้ อมูลจาก popereport.com
วันที่ 5 มีนาคมที่ผ่านมา (พุธรับเถ้า) “คอร์ริเอเร่ เดลลา เซร่า” หนังสือพิมพ์อิตาลี ตีพิมพ์บทสัมภาษณ์สมเด็จพระสันตะปาปา ฟรังซิส ในหลายประเด็นน่าสนใจ อาทิ การสละ ตําแหน่งพระสันตะปาปา, การปฏิเสธว่าพระองค์ไม่ใช่ “ซูเปอร์โป๊ป” รวมถึงการทํางานในฐานะ พระสันตะปาปา เรื่องทัง้ หมดนี้ ติดตามกันได้นบั จากบรรทัดนีเ้ ลย ...
พ่ออาจสละตําแหน่งเหมือน “โป๊ป เบเนดิกต์” ก็ได้ คําถามแรกๆ ที่นกั ข่าวถามพระสันตะปาปาได้แก่ ในอนาคต ตําแหน่งพระสันตะปาปา กิตติคณ ุ (พระสันตะปาปาที่สละตําแหน่ง) จะมีบทบาทมากขึน้ เรื่อยๆ หรือไม่ พระสัน ตะปาปา ฟรังซิ ส ตอบว่า “พระศาสนจักรคาทอลิ ก ควรมีก ารพูด คุยแบบ ุ มันก็ เป็ นไปได้ที่พ่ออาจเลือกเดินแบบพระ จริงจังเกี่ยวกับตําแหน่งพระสันตะปาปากิตติคณ สันตะปาปา เบเนดิกต์ ที่ 16 ผูเ้ ป็ นคนแรกในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ที่ตัดสินใจสละตําแหน่ง และก็ อ าจมีพ ระสัน ตะปาปาในอนาคตอี ก หลายองค์ที่ ทําแบบนี้ “พ่ อ คิ ด ว่า สถานะของพระ สันตะปาปากิตติคณ ุ ไม่ควรเป็ นเหมือนพิพิธภัณฑ์วัตถุโบราณ (หมายถึงผูอ้ าวุโสเกษียณอายุ) แต่เราควรยกระดับเป็ นที่ปรึกษาและหาจุดลงตัวให้กบั ตําแหน่งนีจ้ ะดีกว่า นอกจากนี้ พ่อขอยํา้ ว่า พระสันตะปาปา เบเนดิกต์ เป็ นคนที่สขุ มุ รอบคอบมาก ท่านเป็ นคนสุภาพ และไม่เคยมาก้าว ก่ายการทํางานของพ่อเลย”
6
ตัดสินใจท ุกอย่างและพร้อมรับผิดชอบเอง จากนัน้ นักข่าวถามเรื่องแนวทางการบริหารพระศาสนจักร เพราะสไตล์การทํางาน ของพระสันตะปาปา ฟรังซิส ต่างจากพระสันตะปาปาหลายองค์ อาทิ เลือกดําเนินชีวิตแบบตํา่ ต้อยที่สดุ (ไม่อยู่ในวัง แต่เลือกหอพักเล็กๆ และไม่ใช้รถเบนซ์ของพระสันตะปาปา แต่เลือกรถ ฟอร์ดคันเล็กๆ) นักข่าวจึงอยากรูว้ า่ การทํางานและตัดสินใจต่างๆ พระองค์ทาํ อย่างไร “พระสันตะปาปาไม่ได้ทาํ งานแบบฉายเดี่ยวนะ พ่อมีที่ปรึกษาหลายคน พ่อจะฟั งข้อมูล ทุกอย่างก่อนลงมือตัดสินใจ แต่ตอนตัดสินใจ พ่อตัดสินใจเองและจะต้องรับผิดชอบกับสิ่งที่ ตัดสินใจลงไป สไตล์การทํางานของพ่อคือพยายามทําให้เห็ นเป็ นแบบอย่าง พูดง่ายๆ คือพูด แล้วทํา”
เรือ่ งคาทอลิกหย่าร้าง อีกปั ญหาที่ตอนนี้หนักขึน้ เรื่อยๆ ก็คือปั ญหาคู่สมรสคาทอลิกหย่าร้าง ในการประชุม คณะพระคาร์ดินลั เมื่อเดือนที่แล้ว พระคาร์ดินลั วอลเตอร์ แคสเปอร์ อดีตประธานสมณสภา ส่งเสริมเอกภาพคริสตชน ได้กล่าวกับพระสันตะปาปาและบรรดาพระคาร์ดินลั ว่า “ถึงเวลาแล้ว ที่พระศาสนจักรจะต้องทบทวนจุดยืนเรื่องการไม่ให้คาทอลิกที่หย่าร้างรับศีลมหาสนิท” พระสันตะปาปา ฟรังซิส ทรงตอบเรื่องนีว้ า่ “พ่อคิดว่า พระคาร์ดินลั แคสเปอร์ พูดได้ ดีมากๆ แม้มนั จะทําให้บรรดาพระคาร์ดินลั มีความคิดแตกออกเป็ น 2 ฝ่ ายก็ตาม เรื่องนี้ พ่อจะ หารือกับบรรดาพระสังฆราชทัว่ โลกที่จะมาประชุมในเดือนตุลาคม 2014 และจะต้องหาทาง ช่วยคูส่ มรสคาทอลิกที่หย่าร้างให้ได้เร็วที่สดุ ”
พ่อไม่ใช่ “ซ ูเปอร์โป๊ป” และไม่ใช่ “ซ ูเปอร์แมน”
บทบาทของผูห้ ญิงในพระศาสนจักร
หากใครตามข่าวพระสันตะปาปาบ่อยๆ น่าจะเห็ นภาพข่าวรูปการ์ตนู “ซูเปอร์โป๊ป” (เหมือนซูเปอร์แมน แต่เป็ นรูปพระสันตะปาปา) ถูกติดไว้ตามกําแพงที่กรุงโรมและเมืองอื่นๆ ทัว่ อิตาลี ภาพนีด้ งั มากเพราะกระแสความนิยมในตัวพระสันตะปาปา ฟรังซิส พุ่งสูงสุดขีด ทุก คนมองว่าพระองค์คือฮีโร่ที่จะมาช่วยเหลือผูค้ นให้คลายความทุกข์โศก นักข่าวจึงถามพระ สันตะปาปาว่ารูส้ ึกอย่างไรกับการเปรียบเทียบนี้
คําถามท้ายๆ ที่นกั ข่าวถามพระสันตะปาปาเป็ นเรื่องบทบาทของสตรีในพระศาสนจักร พระคาร์ดินลั แคสเปอร์ อีกเช่นกันที่พดู ต่อหน้าพระสันตะปาปาและพระคาร์ดินลั ว่า “ถึงเวลา หรือยังที่พระศาสนจักรควรให้สตรีขนึ้ มามีบทบาทอย่างจริงจัง โดยเริ่มจากการเป็ นประธานใน หน่วยงานของโรมันคูเรีย เพราะตอนนี้ มองไปทุกหน่วยงานในวาติกัน พวกเจ้ากระทรวงมีแต่ พระคาร์ดินลั และพระสังฆราช บางครั้ง มันเยอะเกินไปและแนวคิดของพวกเรานํามาใช้ปฏิบตั ิได้ ไม่มปี ระสิทธิภาพเท่ากับแนวคิดของฆราวาส”
พระสันตะปาปาตอบว่า “พระสันตะปาปาก็เป็ นคนธรรมดาทัว่ ไปที่หัวเราะ ร้องไห้ และ ต้องการนอนพักเงียบๆ พ่อไม่ชอบเก็บตัวอยูค่ นเดียว แต่ชอบออกไปอยูก่ บั คนที่กาํ ลังทุกข์โศก และช่วยพวกเขาเท่าที่จะทําได้ ก่อนหน้านี้ พ่ออ่านข่าวเจอว่า มีบางคนคิดว่าพ่อปลอมตัวเพื่อ เดินออกจาวาติกนั ในยามคํา่ คืน เพื่อไปช่วยเหลือผูค้ น ข่าวนีไ้ ม่เป็ นความจริง ส่วนเรื่องซูเปอร์ โป๊ป พ่อคิดว่ามันเกินเลยไปนิดที่บอกว่าพ่อเป็ นซูเปอร์โป๊ป พ่อเป็ นคนธรรมดาทัว่ ไป ดังนั้น การบอกว่าพระสันตะปาปา ฟรังซิส คือซูเปอร์โป๊ป อาจเป็ นคําพูดที่เกินเลยกับพ่อไปหน่อย”
พระสันตะปาปาตรัสตอบว่า “เรื่องนีพ้ ่อเห็นด้วยกับพระคาร์ดนิ ลั แคสเปอร์ พ่อเคยพูด ไปแล้ว ว่า พ่ อ เชื่อ ในบทบาทของแม่พ ระ เพราะแม่พ ระมีบ ทบาทมากกว่าบรรดาอัค รสาวก มากกว่าพระคาร์ดินลั พระสังฆราช และพระสงฆ์ ดังนัน้ พ่อคิดว่า สตรีหลายคนน่าจะมีบทบาท สําคัญมากกว่าพระสังฆราชด้วยซํา้ ไป เรื่องนี้ พ่อจดเป็ นเรื่องด่วนที่ตอ้ งหารือแล้ว อีกไม่นาน เราคงได้เห็นความชัดเจนกันมากขึน้ แน่นอน” 7
ขอบคุณข้ อมูลจาก popereport.com
วันที่ 5 มีนาคมที่ผ่านมา (พุธรับเถ้า) “คอร์ริเอเร่ เดลลา เซร่า” หนังสือพิมพ์อิตาลี ตีพิมพ์บทสัมภาษณ์สมเด็จพระสันตะปาปา ฟรังซิส ในหลายประเด็นน่าสนใจ อาทิ การสละ ตําแหน่งพระสันตะปาปา, การปฏิเสธว่าพระองค์ไม่ใช่ “ซูเปอร์โป๊ป” รวมถึงการทํางานในฐานะ พระสันตะปาปา เรื่องทัง้ หมดนี้ ติดตามกันได้นบั จากบรรทัดนีเ้ ลย ...
พ่ออาจสละตําแหน่งเหมือน “โป๊ป เบเนดิกต์” ก็ได้ คําถามแรกๆ ที่นกั ข่าวถามพระสันตะปาปาได้แก่ ในอนาคต ตําแหน่งพระสันตะปาปา กิตติคณ ุ (พระสันตะปาปาที่สละตําแหน่ง) จะมีบทบาทมากขึน้ เรื่อยๆ หรือไม่ พระสัน ตะปาปา ฟรังซิ ส ตอบว่า “พระศาสนจักรคาทอลิ ก ควรมีก ารพูด คุยแบบ ุ มันก็ เป็ นไปได้ที่พ่ออาจเลือกเดินแบบพระ จริงจังเกี่ยวกับตําแหน่งพระสันตะปาปากิตติคณ สันตะปาปา เบเนดิกต์ ที่ 16 ผูเ้ ป็ นคนแรกในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ที่ตัดสินใจสละตําแหน่ง และก็ อ าจมีพ ระสัน ตะปาปาในอนาคตอี ก หลายองค์ที่ ทําแบบนี้ “พ่ อ คิ ด ว่า สถานะของพระ สันตะปาปากิตติคณ ุ ไม่ควรเป็ นเหมือนพิพิธภัณฑ์วัตถุโบราณ (หมายถึงผูอ้ าวุโสเกษียณอายุ) แต่เราควรยกระดับเป็ นที่ปรึกษาและหาจุดลงตัวให้กบั ตําแหน่งนีจ้ ะดีกว่า นอกจากนี้ พ่อขอยํา้ ว่า พระสันตะปาปา เบเนดิกต์ เป็ นคนที่สขุ มุ รอบคอบมาก ท่านเป็ นคนสุภาพ และไม่เคยมาก้าว ก่ายการทํางานของพ่อเลย”
6
ตัดสินใจท ุกอย่างและพร้อมรับผิดชอบเอง จากนัน้ นักข่าวถามเรื่องแนวทางการบริหารพระศาสนจักร เพราะสไตล์การทํางาน ของพระสันตะปาปา ฟรังซิส ต่างจากพระสันตะปาปาหลายองค์ อาทิ เลือกดําเนินชีวิตแบบตํา่ ต้อยที่สดุ (ไม่อยู่ในวัง แต่เลือกหอพักเล็กๆ และไม่ใช้รถเบนซ์ของพระสันตะปาปา แต่เลือกรถ ฟอร์ดคันเล็กๆ) นักข่าวจึงอยากรูว้ า่ การทํางานและตัดสินใจต่างๆ พระองค์ทาํ อย่างไร “พระสันตะปาปาไม่ได้ทาํ งานแบบฉายเดี่ยวนะ พ่อมีที่ปรึกษาหลายคน พ่อจะฟั งข้อมูล ทุกอย่างก่อนลงมือตัดสินใจ แต่ตอนตัดสินใจ พ่อตัดสินใจเองและจะต้องรับผิดชอบกับสิ่งที่ ตัดสินใจลงไป สไตล์การทํางานของพ่อคือพยายามทําให้เห็ นเป็ นแบบอย่าง พูดง่ายๆ คือพูด แล้วทํา”
เรือ่ งคาทอลิกหย่าร้าง อีกปั ญหาที่ตอนนี้หนักขึน้ เรื่อยๆ ก็คือปั ญหาคู่สมรสคาทอลิกหย่าร้าง ในการประชุม คณะพระคาร์ดินลั เมื่อเดือนที่แล้ว พระคาร์ดินลั วอลเตอร์ แคสเปอร์ อดีตประธานสมณสภา ส่งเสริมเอกภาพคริสตชน ได้กล่าวกับพระสันตะปาปาและบรรดาพระคาร์ดินลั ว่า “ถึงเวลาแล้ว ที่พระศาสนจักรจะต้องทบทวนจุดยืนเรื่องการไม่ให้คาทอลิกที่หย่าร้างรับศีลมหาสนิท” พระสันตะปาปา ฟรังซิส ทรงตอบเรื่องนีว้ า่ “พ่อคิดว่า พระคาร์ดินลั แคสเปอร์ พูดได้ ดีมากๆ แม้มนั จะทําให้บรรดาพระคาร์ดินลั มีความคิดแตกออกเป็ น 2 ฝ่ ายก็ตาม เรื่องนี้ พ่อจะ หารือกับบรรดาพระสังฆราชทัว่ โลกที่จะมาประชุมในเดือนตุลาคม 2014 และจะต้องหาทาง ช่วยคูส่ มรสคาทอลิกที่หย่าร้างให้ได้เร็วที่สดุ ”
พ่อไม่ใช่ “ซ ูเปอร์โป๊ป” และไม่ใช่ “ซ ูเปอร์แมน”
บทบาทของผูห้ ญิงในพระศาสนจักร
หากใครตามข่าวพระสันตะปาปาบ่อยๆ น่าจะเห็ นภาพข่าวรูปการ์ตนู “ซูเปอร์โป๊ป” (เหมือนซูเปอร์แมน แต่เป็ นรูปพระสันตะปาปา) ถูกติดไว้ตามกําแพงที่กรุงโรมและเมืองอื่นๆ ทัว่ อิตาลี ภาพนีด้ งั มากเพราะกระแสความนิยมในตัวพระสันตะปาปา ฟรังซิส พุ่งสูงสุดขีด ทุก คนมองว่าพระองค์คือฮีโร่ที่จะมาช่วยเหลือผูค้ นให้คลายความทุกข์โศก นักข่าวจึงถามพระ สันตะปาปาว่ารูส้ ึกอย่างไรกับการเปรียบเทียบนี้
คําถามท้ายๆ ที่นกั ข่าวถามพระสันตะปาปาเป็ นเรื่องบทบาทของสตรีในพระศาสนจักร พระคาร์ดินลั แคสเปอร์ อีกเช่นกันที่พดู ต่อหน้าพระสันตะปาปาและพระคาร์ดินลั ว่า “ถึงเวลา หรือยังที่พระศาสนจักรควรให้สตรีขนึ้ มามีบทบาทอย่างจริงจัง โดยเริ่มจากการเป็ นประธานใน หน่วยงานของโรมันคูเรีย เพราะตอนนี้ มองไปทุกหน่วยงานในวาติกัน พวกเจ้ากระทรวงมีแต่ พระคาร์ดินลั และพระสังฆราช บางครั้ง มันเยอะเกินไปและแนวคิดของพวกเรานํามาใช้ปฏิบตั ิได้ ไม่มปี ระสิทธิภาพเท่ากับแนวคิดของฆราวาส”
พระสันตะปาปาตอบว่า “พระสันตะปาปาก็เป็ นคนธรรมดาทัว่ ไปที่หัวเราะ ร้องไห้ และ ต้องการนอนพักเงียบๆ พ่อไม่ชอบเก็บตัวอยูค่ นเดียว แต่ชอบออกไปอยูก่ บั คนที่กาํ ลังทุกข์โศก และช่วยพวกเขาเท่าที่จะทําได้ ก่อนหน้านี้ พ่ออ่านข่าวเจอว่า มีบางคนคิดว่าพ่อปลอมตัวเพื่อ เดินออกจาวาติกนั ในยามคํา่ คืน เพื่อไปช่วยเหลือผูค้ น ข่าวนีไ้ ม่เป็ นความจริง ส่วนเรื่องซูเปอร์ โป๊ป พ่อคิดว่ามันเกินเลยไปนิดที่บอกว่าพ่อเป็ นซูเปอร์โป๊ป พ่อเป็ นคนธรรมดาทัว่ ไป ดังนั้น การบอกว่าพระสันตะปาปา ฟรังซิส คือซูเปอร์โป๊ป อาจเป็ นคําพูดที่เกินเลยกับพ่อไปหน่อย”
พระสันตะปาปาตรัสตอบว่า “เรื่องนีพ้ ่อเห็นด้วยกับพระคาร์ดนิ ลั แคสเปอร์ พ่อเคยพูด ไปแล้ว ว่า พ่ อ เชื่อ ในบทบาทของแม่พ ระ เพราะแม่พ ระมีบ ทบาทมากกว่าบรรดาอัค รสาวก มากกว่าพระคาร์ดินลั พระสังฆราช และพระสงฆ์ ดังนัน้ พ่อคิดว่า สตรีหลายคนน่าจะมีบทบาท สําคัญมากกว่าพระสังฆราชด้วยซํา้ ไป เรื่องนี้ พ่อจดเป็ นเรื่องด่วนที่ตอ้ งหารือแล้ว อีกไม่นาน เราคงได้เห็นความชัดเจนกันมากขึน้ แน่นอน” 7
คัดย่ อจากนิตยสาร Secret
ความสุขนัน้ ใครๆ ก็ปรารถนา แต่เคยสังเกตไหมว่า ทันทีที่เราอยากได้ความสุข ความสุขกลับเลือนหาย ยิ่งอยากได้ความสุขมากเท่าไร เรากลับมีความสุขน้อยลง ทําไม จึงเป็ นเช่นนัน้ ? เหตุผลนัน้ มีหลายประการ ทุกครัง้ ที่เราอยากมีความสุข เรามักจะนึกถึงสิ่งที่เรา ยังไม่มี เช่น เงิน รถยนต์ ชื่อเสียง ความสําเร็จ หรือสิ่งที่ยงั ไปไม่ถึง เช่น ห้างสรรพสินค้า สถานที่ท่องเที่ยว แต่พอคิดเช่นนัน้ เราก็จะรูส้ ึกไม่พอใจกับสภาพปั จจุบันทันที กล่าวอีก นัยหนึง่ ทันทีที่เราอยากได้ความสุข เราจะไม่เห็นความสุขที่มอี ยู่ในปั จจุบนั เพราะใจนัน้ มัว จดจ่อใส่ใจกับความสุขที่อยู่ขา้ งหน้า แค่นั้นก็ ทําให้ความสุขเลือนหายไปจากใจแล้ว คน ส่วนใหญ่ ที่อยากมีความสุขนั้นที่จริงเขามีความสุขอยู่แล้ว แต่มองไม่เห็ น เพราะเอาแต่ มองออกไปนอกตัว เขามองข้ามปั จจุบัน ฝากความหวังไว้กับอนาคต จึงเสียโอกาสที่จะ เก็บเกี่ยวความสุขที่มอี ยูใ่ นปั จจุบนั คนที่ อ ยากได้ความสุขมากๆ ยังมักเจอปั ญ หาอี ก ประการหนึ่ง กล่าวคื อ ยิ่ ง อยากได้ความสุข ก็ยิ่งนึกถึงแต่ตวั เอง คิดแต่ว่าทําไมตนถึงจะมีความสุขมากๆ ความคิด เช่น นี้ ทํ า ให้ไม่ ส นใจคนอื่ น จนอาจถึ ง ขั้น ไร้น ํ้า ใจต่ อ คนรอบตั ว เท่ า นั้น ไม่ พ อ ยั ง อาจ เรียกร้องความสุขจากคนอื่นๆ อีกด้วย จึงเป็ นที่ระอาของผูค้ น ใครๆ ก็ไม่อยากคบค้า สมาคมด้ว ย ผลที่ ต ามมาก็ คื อ ความรู้สึ ก โดดเดี่ ย ว ไอริ ส มอสส์แ ห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย แคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบิร์คลีย์ พบว่า ยิ่งผูค้ นให้ความสําคัญแก่ความสุขมากเท่าไร ก็ ยิ่งรูส้ ึกโดดเดีย่ วอ้างว้างโดยเฉพาะเวลามีเรื่องเครียดเกิดขึน้ คนที่อยากได้ความรัก มักลงเอยด้วยการไม่ได้ความรัก เพราะเมือ่ อยากได้ความ รักจากใคร ก็มกั คาดคั้นหรือเรียกร้องความรักจากเขา ได้แล้วก็ยังไม่พอใจเพราะไม่มาก เท่าที่ตอ้ งการ ก็ยิ่งเรียกร้องอีก ทําให้อีกฝ่ ายอึดอัดและระอาใจ ใช่แต่เท่านัน้ เวลาเห็นเขา ให้ค วามสนใจหรื อ ความรั ก แก่ ค นอื่ น ตนเองก็ จ ะรู้สึ ก อิ จ ฉาและโกรธขึ้ง อาจถึ ง กั บ อาละวาดอีกฝ่ ายด้วยความหึงหวง เมื่อเป็ นเช่นนีห้ นักเข้า อีกฝ่ ายก็ย่อมรูส้ ึกเหนือ่ ยหน่าย และหมางเมินเหิ นห่างในที่สดุ ตรงข้ามกับคนที่ไม่ได้ตอ้ งการความรักจากใคร กลับมัก ได้รับ ความรั ก จากผูอ้ ื่ น เพราะเขาไม่คิ ด เรี ย กร้อ งความรัก จากใคร ไม่เอาตนเองเป็ น ศูนย์กลาง แต่ใส่ใจคนอื่น คอยช่วยเหลือเกื้อกูลผูอ้ ื่น จึงมักเป็ นที่รกั ของผูอ้ ื่น
กางเขนไม่ใช่ความพ่ายแพ้อปั ยศอดสูอกี ต่อไป แต่เป็ นหนทางสู่พระ สิรริ งุ่ โรจน์อนั ยิง่ ใหญ่ !! 2. ปฏิกริ ยิ าแห่งความปี ตยิ นิ ดีของเปโตรคือ “ข้าพเจ้าจะสร้างเพิงขึน้ สาม หลัง หลังหนึง่ สําหรับพระองค์ หลังหนึง่ สําหรับโมเสส อีกหลังหนึง่ สําหรับเอลียาห์” (มธ 17:4) เปโตรเป็ นคนชอบทํามากกว่าชอบคิด แทนที่จะสงบนิ่ง ไตร่ตรอง สรรเสริญ และเคารพยําเกรงพระสิรริ ุ่งโรจน์ของพระเจ้า ดังเพลงสดุดที ว่ี ่า “จงสงบนิง่ เถิด และรูว้ า่ เราคือพระเจ้า” (สดด 46:10) ท่านกลับด่วนเสนอสร้างเพิงสามหลัง หลายครัง้ เราก็ทําตัวไม่ต่างจากเปโตร เรามัววุ่นวายทําสิง่ นี้บ้าง ทํา สิง่ โน้นบ้าง ทัง้ ๆ ทีจ่ ะดีกว่ามากหากเรารูจ้ กั เงียบ ฟงั คิด สรรเสริญและขอบพระคุณ พระเจ้า นอกจากนัน้ เป็ นไปได้ว่าเปโตรเสนอสร้างเพิงสามหลังก็เพื่อยืดเวลา แห่งความปี ติยนิ ดีท่ไี ด้อยู่ต่อหน้ าพระเยซูเจ้าผูท้ รงเปล่งรัศมีรุ่งโรจน์ ออกไปให้นาน ทีส่ ดุ จะได้ไม่ตอ้ งลงจากภูเขาไปเผชิญหน้ากับกางเขน นี่เป็ นประสบการณ์ของผูท้ เ่ี จริญชีวติ สนิทสัมพันธ์กบั พระเจ้า นัน่ คือ ได้ล้ิม รสความสุ ข สงบและความปี ติ ย ิน ดีอ ย่ า งเอ่ อ ล้น และพยายามยืด เวลาแห่ ง ความสุขนี้ ออกไปให้นานที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้ จนหลายครัง้ ไม่ได้ปฏิบตั ิหน้ าที่ท่ี ได้รบั มอบหมาย แต่เราต้องไม่ลมื ว่า พระเยซูเจ้าทรงสําแดงพระองค์อย่างรุ่งโรจน์ก็ เพือ่ ให้เรามีพลังกายและพลังใจสําหรับปฏิบตั ภิ ารกิจทีพ่ ระองค์ทรงมอบหมาย และก้าวเดิ นต่อไปตามหนทางแห่งไม้กางเขน !!
อยากได้อะไร กลับไม่ได้สิ่งนัน้ ฉันใดก็ฉนั นัน้ ยิ่งอยากได้ความส ุข กลับ ไม่ได้ ครัน้ ไม่อยากได้ความสขุ กลับได้ ดังนัน้ ใครที่ อยากมีความสขุ ควรวาง ความอยากลงเสีย แล้วหมัน่ ทําความดี นึกถึงผูอ้ ื่นให้มากๆ ลดความเห็นแก่ตวั ให้นอ้ ยลง เมื่อนัน้ ความส ุขก็จะมานัง่ ในหัวใจเราเอง 8
5
คํายืนยันคือ “พระองค์ทรงมาถูกทางแล้ว” เพราะหลังความตายบนไม้กางเขน มีพระสิรริ งุ่ โรจน์แห่งการกลับคืนชีพรอคอยพระองค์อยู่ ! นอกจากคํายืนยันของสองผูน้ ําชาวอิสราเอลแล้ว ยังมีเมฆสว่างจ้าก้อนหนึ่งปก คลุมพวกเขาไว้ เสียงหนึ่งดังจากเมฆนัน้ ว่า “ท่านผู้น้ ีเป็ นบุตรสุดทีร่ กั ของเรา เราพึง พอใจยิง่ นัก จงฟงั ท่านเถิด” (มธ 17:5) ตลอดประวัตศิ าสตร์ของชาวอิสราเอล “เมฆสว่างจ้า” นัน้ หมายถึง “องค์พระผู้ เป็ นเจ้า” เอง ระหว่างการอพยพ “พระยาห์เวห์เสด็จนํ าหน้าเขาเหมือนเสาเมฆเพือ่ ชี้ ทาง” (อพย 13:21) “พระยาห์เวห์เสด็จมาในเมฆ” เพื่อประทานศิลาจารึกพระบัญญัติ (อพย 34:5) และเสด็จมาที่สกั การสถานโดย “เมฆปกคลุมกระโจมนัดพบ และพระสิริ รุง่ โรจน์ของพระยาห์เวห์อยูเ่ ต็มกระโจมทีป่ ระทับ” (อพย 40:34) แปลว่า เป็ นพระเจ้าเองทีเ่ สด็จมาหาพระบุตรสุดทีร่ กั และทรงพอพระทัย หนทางแห่งไม้กางเขนทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงเลือก บัดนี้คําภาวนาของพระองค์ได้รบั คําตอบชัดแจ้งปราศจากข้อสงสัยใด ๆ แล้ว พระองค์พ ร้อมปฏิบ ตั ิต ามพระประสงค์ข องพระบิดาเจ้าแล้วแม้จะต้องพลีชีพ บนไม้ กางเขนก็ตาม ชีวติ ภายในของพระองค์บรรลุขนั ้ สูงสุดแล้ว ! นอกจากชีวติ ภายในของพระองค์จะบรรลุขนั ้ สูงสุดเพราะสามารถน้อมรับพระ ประสงค์ของพระบิดาแม้จะต้องถูกตรึงตายบนไม้กางเขนก็ตาม บรรดาศิษย์ก็ได้รบั บทเรียนด้วยเช่นกัน 1. จิตใจของบรรดาศิษย์กําลังห่อเหีย่ วอย่างยิง่ เพราะพระเยซูเจ้าทรงยืน กรานจะเสด็จไปกรุงเยรูซาเล็ม เพือ่ รับทรมานและสิน้ พระชนม์บนไม้กางเขน แต่บนภูเขาแห่งการสําแดงพระองค์น้ีเอง เปโตรและศิษย์ได้เห็น “พระ พักตร์ของพระองค์เปล่งรัศมีดุจดวงอาทิตย์ ฉลองพระองค์กลับมีสขี าวดุจแสงสว่าง” จนเปโตรถึงกับอุทานว่า “พระเจ้าข้า ทีน่ ีส่ บายน่ าอยู่จริง ๆ” (มธ 17:4) นอกจากนัน้ พวกเขายังได้เห็นพระสิรริ งุ่ โรจน์ของพระเจ้าปรากฏในก้อนเมฆสว่างจ้า สองสิง่ นี้ทาํ ให้จติ ใจของพวกเขาชุม่ ชื่นและปีตยิ นิ ดียงิ่ ขึน้ บัดนี้พวกเขา สามารถมองเห็นความรุง่ โรจน์โดยผ่านทางความอับอาย ชัยชนะโดยผ่านทางความอด สู และมงกุฎโดยผ่านทางไม้กางเขน ! 4
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลมหาพรต (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ส. 15 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ เซซี ลีอา พวงมาศ ศิริมงคลวิชย์ 18.00 น. อันนา สวัสดิ์, เปาโล ศิริ แตงอ่อน และครอบครัว มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว อุทศิ แด่ ยอแซฟ เสถียร, มารี อา เสาวนีย ์ พงษ์เพิ่มมาศ ยอแซฟ อดิศยั ดารุ ทยาน อันตน สําเริ ง โกญจนาท สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา. 16 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. มารี อา มาลี ทรงสัตย์ และครอบครัว อันโตนีโอ จํารู ญ พรสัจจา มารี อา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ คุณวันลา จันทรักษ์ คุณประชิต, คุณประจิตร, มารี อา จินดา เส็งเจริ ญ ครอบครัวฉัตรวัฒนาสกุล, ครอบครัวเอี่ยมวิศิษฎ์ เทเรซา รัตนา ชินธรรมมิตร์ และครอบครัว ยอแซฟ มานพ อดุลศิริสวัสดิ์ และครอบครัว เปโตร มนัศ อดุลศิริสวัสดิ์ และครอบครัว ครอบครัวเขม้นงาน, ครอบครัวสุ ทธิโอภาส ครอบครัวลิ้มจิตรกร ครอบครัวณรงค์ศกั ดิ์, ครอบครัวมูลเมือง คอบครัวสุ ทธิโอภาส, ทุกครอบครัวในโลก ครอบครัวเตรี ยมวิชานนท์, ครอบครัวเพียรช่างคิด
ผู้ขอมิสซา มาลินี ชุลีพร ปภาวิชญ์ อมรา เริ งจิต บุญญรัตน์ คค.ศรี เจริ ญ สุ รัตน์ดา มาลี มาลี มาลี 9
วัน เดือน ปี รายการมิสซา อา.16 มี.ค. สุ ขสํ าราญ ครอบครัวรัตนบรรณสกุล, ครอบครัวต่ายแสง 08.00 น. ครอบครัวธนะสาร, ครอบครัวสาธรกิจ อุทศิ แด่ เปาโล พร, อันนา ละม่อม พึ่งผล Maria Vanna, Marcellina Marasri Xavier ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั มารี อา ฮวย นงสวัสดิ์, ลูโดวีโก ช่วย นงค์สวัสดิ์ มารี อา เจียมใจ กิตติคุณ, ยอแซฟ ศรี รัตน์ กิตติคุณ มารี อา ต้ายไถ่ แซ่ไซ, เปาโล วางจือกวง คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว คุณโถ, คุณนงรัก, ผูล้ ่วงลับ คค.ธนะสารและสาธรกิจ อันนา ชูศรี , ยอแซฟ สมบัติ ทรัพย์อาภารัตน์ มาการิ ตา้ ทิพากร เรี ยวนาร์, ผูล้ ่วงลับครอบครัวโกวงศ์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวทรงสัตย์ บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 16 มี.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน 10.00 น. มีคาแอล ชวลิต ไมตรี แองเจลา สุ ระณี กรองทอง ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว, คุณวิทยา สุ ขเกษมสิ น โทมัส วฤทธิ์ ศุภบรรพต, ครอบครัวศุภบรรพต ยอแซฟ จิรา เลาหบุตร และครอบครัว ครอบครัวตุ่ยไชย, ครอบครัวศรี ผา ครอบครัวกาญจนโรจน์ ครอบครัวตาเพชรรัตน์, ครอบครัวธนากรกานต์ 10
ผู้ขอมิสซา ภัทรพล ทัศนีย ์ ชลทิศ พิศิษฏ์ ธนาพานิชย์ วิไลวรรณ คค.ไมตรี คค.กรองทอง วิไลวรรณ/วินิจ วฤทธิ์ ดาริ ณี,วิมลพรรณ ดาริ ณี,วิมลพรรณ
ไม่มคี รัง้ ใดเลยที่พระองค์จะเผชิญหน้ากับปญั หาหรือวิกฤติการณ์ ตามลําพัง และครัง้ นี้พระองค์ทรงเลือกภูเขาเฮอร์โมนเป็ นที่อธิษฐานภาวนาและฟงั พระสุรเสียง ของพระบิดาเจ้า คําถามเดียวทีพ่ ระองค์ทรงมีต่อพระบิดาคือ “พระองค์ทรงประสงค์ให้ขา้ พเจ้า ทําสิง่ ใด ?” บนภูเขานี้เอง “โมเสสและประกาศกเอลียาห์สาํ แดงตนสนทนาอยูก่ บั พระองค์” (มธ 17:3) ทัง้ สองต่ างเคยมีป ระสบการณ์ ใกล้ชิดกับ พระเจ้าบนภูเขามาก่อน โดย โมเสสรับแผ่นศิลาจารึกบัญญัติสบิ ประการจากพระเจ้าบนภูเขาซีนัย (อพย 31:18) ส่วนเอลียาห์ได้ยนิ พระสุรเสียงของพระองค์บนภูเขาโฮเร็บ (1 พกษ 19:9-12) ลูกาเล่าว่าเนื้อหาของการสนทนาคือเรื่อง “การจากไปของพระองค์ทกี ่ ําลังจะ สําเร็จในกรุงเยรูซาเล็ม” (ลก 9:31) “การจากไป” ตรงกับ ภาษากรีก exodos (เอกซ์ ซ อดอส) และตรงกั บ ภาษาอังกฤษ exodus (เอกซ์โซดัส) คํา exodus มีความหมายลึกซึ้งทางศาสนา เพราะเป็ นการเดินทางผจญภัย ของชนชาติหนึ่งซึง่ มอบความวางใจทัง้ หมดไว้ในพระเจ้า ยอมออกจากแผ่นดินอันอุดม สมบูรณ์ ในอียปิ ต์ มุ่งหน้ าสู่ถิ่นทุรกันดารในทะเลทรายที่ซ่ึงไม่เคยมีใครรูจ้ กั แต่ ใน ทีส่ ดุ พระเจ้าทรงนําพาพวกเขาเข้าสูแ่ ผ่นดินแห่งพระสัญญา เท่ากับว่าพระเยซูเจ้ากําลังทํา exodus โดยเสด็จออกจากบ้านเกิดเมืองนอน อันอบอุ่นในแคว้นกาลิลี มุ่งหน้าสู่กรุงเยรูซาเล็มในแคว้นยูเดียที่เต็มไปด้วยอันตราย และมีกางเขนรอคอยพระองค์อยูเ่ บือ้ งหน้า แต่ ห ลัง จากเร่ ร่ อ นอยู่ ใ นถิ่น ทุ ร กัน ดาร มีแ ผ่ น ดิน แห่ ง พระสัญ ญารอชาว อิสราเอลอยูฉ่ นั ใด หลังความตายบนไม้กางเขน ก็มพี ระสิรริ งุ่ โรจน์รอคอยพระองค์อยู่ ฉันนัน้ Exodus คือคํายืนยันจากสองบุคคลผูม้ คี วามสําคัญทีส่ ุดในประวัตศิ าสตร์ของ อิสราเอล คนหนึ่งเป็ นผูน้ ําบทบัญญัตขิ องพระเจ้ามาสูม่ นุ ษย์ อีกคนหนึ่งเป็ นประกาศก ผูน้ ําพระวาจาของพระเจ้ามาสูม่ นุ ษย์
ดาริ ณี,วิมลพรรณ 3
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลมหาพรต (ปี A)
มธ 17:1-9
เคยเชื่อกันว่าพระเยซูเจ้าทรงสําแดงพระองค์อย่างรุ่งเรืองบนภูเขาทาบอร์ (Tabor) แต่ทาบอร์ไม่ใช่ “ภูเขาสูง” (มธ 17:1) อีกทัง้ ยังเป็ นเขตหวงห้ามเพราะเป็ น ที่ตงั ้ ของค่ายทหาร ทุกวันนี้จงึ สันนิษฐานกันว่าพระองค์ทรงสําแดงพระองค์อย่าง รุ่งเรืองบนภูเขาเฮอร์โมน (Hermon) ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองซีซารียาแห่งฟิ ลปิ สถานที่ ซึง่ เปโตรประกาศความเชื่อ (มธ 16:16) เมือ่ หกวันก่อนเพียง 22 กิโลเมตร ภูเขาเฮอร์โมนสูงเกือบ 3 กิโลเมตร ต้องใช้เวลาเดินทางอย่างน้อย 5 ชัวโมง ่ จึงจะถึงยอดเขาซึง่ มีอากาศเบาบางมากจนไม่น่าจะมีใครคิดสร้างทีพ่ าํ นักบนนี้ จึงเชื่อ กันว่าการสําแดงองค์คงเกิดขึ้น ณ เชิงเขาแห่งใดแห่งหนึ่ งในเวลากลางคืนเพราะ “เปโตรและเพือ่ นทีอ่ ยูด่ ว้ ยต่างก็งว่ งนอนมาก” (ลก 9:32) ลูกาให้เหตุผลว่าพระเยซูเจ้าเสด็จพร้อมกับศิษย์ท่ที รงเลือกสรร 3 คนไปยัง ภูเขาสูงและเปลีย่ วแห่งนี้ “เพือ่ อธิษฐานภาวนา” (ลก 9:28) จริงอยู่ คําประกาศยืนยันความเชื่อของเปโตรที่เมืองซีซารียาแห่งฟิ ลิปคง ช่วยบรรเทาใจพระองค์ได้มาก เพราะอย่างน้อยยังมีคนรับรูว้ า่ “พระองค์คอื พระคริสต เจ้า พระบุตรของพระเจ้าผูท้ รงชีวติ ” (มธ 16:16) แต่บดั นี้พระองค์กําลังมุ่งหน้าสู่กรุง เยรูซ าเล็ม เพื่อ รับ การตรึ ง กางเขน พระองค์ป รารถนาจะทราบว่า นี ่เป็ นพระ ประสงค์ของพระบิดาจริ งหรือ ? 2
วัน เดือน ปี อา 16 มี.ค. 10.00 น.
รายการมิสซา อุทศิ แด่ เปาโล มงคล, เซซี ลีอา อรนุช, อักแนส ลดาวัลย์ สวีรวงศ์ คุณสอางค์ ชุ่มชื่น, คุณเซ่งกี, คุณคิ้ม แซ่ลิ้ม, คุณอรุ ณี คุณวรรณา, คุณกรรณิ การ์ สวีรวงศ์, เฟนันโด, ปั งซิ โก เปาโล บุญรอด, อันนา มัตตา, มารี อลิดา แย้มกรรณ์ ครารา ประสงค์, คุณบังอร พันธ์วไิ ล มารี อา สุ ชาดา หลวงคลังพิเดช เปโตร อุทยั ดารุ ทยาน, มารธา แจง บุญครอง คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ต นิภา ฟิ ลิป มุ่ยชิม, คุณเช้ง แซ่จึง, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณก้านทอง แสงปัญหา คุณทองคํา ดิโพ, ราฟาแอล เทพอวยพร ศรัยกิจ มารี อา กิมฮวย แซ่อ้ ึง และบรรพบุรุษ เปาโล ต่าง, อักแนส ศรี เวียง เนียมวิวฒั น์ เควนติน ย่งฮง แซ่จงั , อันนา กี แซ่ฉวั่ มารี อา เออซูลิน บุญสม เองเจริ ญ มารี อา จันทรา สุ เสงี่ยม, ฟี เดส จิตรา ดารุ ทยาน อันนา ทองสุ ข, ดอมินิโก บัวลา สร้อยสูงเนิน ซิ ลเวสเตอร์ สุ รพงษ์, โรซา บุญยิง่ กิจเจริ ญ อันตน ศิริ, มารี อา มักดาเลนา เกสร ไชยเจริ ญ ยอแซฟ จอน แซ่เตียว, มารี อา ตั้น แซ่แจว โรซา ตั้ง มุย เซี ยะ, อันโทนี โล้ว เม่ง ช่วง วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง จ. 17 มี.ค. สุ ขสํ าราญ มารี อา อัญชลี พูลขาว และครอบครัว อ. 18 มี.ค. สุ ขสํ าราญ คุณธิติมา ขันธวิชยั พ. 19 มี.ค. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ พฤ.20 มี.ค. อุทศิ แด่ วิญญาณในไฟชําระ ศ. 21 มี.ค. สุ ขสํ าราญ คุณประสิ ทธิ์ พจนพรพันธุ์
ผู้ขอมิสซา ลัดดา ลัดดา ลัดดา บัญญัติ หลาน วรรณษา รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ บุตรสาว/รัชนี สุ นทรี นิรมาน อัญชลี วีรยา/อมรา พรรณพัฒณ์ ปิ ยวรรณ์ พิทกั ษ์ พนิดา อิสอัคร,นาธาน
มาลินี 11
วันอาทิตย์น้ ี (16 มีนาคม) หลังมิสซาสาย ขอเชิญพี่นอ้ งผูร้ ักสุ ขภาพทุกท่านตรวจวัด ความดันโลหิ ตและรับคําแนะนําด้านสุ ขภาพจากทีมเวชบุคคล วัดแม่พระกุหลาบ ทิพย์ ณ ศาลาปี ติการุ ณย์ ตลอดเทศกาลมหาพรตนี้ ขอเชิ ญ พี่ น้ อ งทุ ก ท่ า นร่ ว มเดิ น รู ป 14 ภาค (มรรคา ศักดิ์ สิ ท ธิ์ ) เพื่ อ ร่ วมพระมหาทรมานกับพระเยซู เจ้า ทุ กวัน เสาร์ ก่อ นมิ ส ซา เวลา 17.45 น. (งดนพวารแม่ พ ระนิ จจานุ เคราะห์ ตลอดเทศกาลมหาพรต) และทุ กวัน อาทิตย์เวลา 9.30 น. ก่อนมิสซาสาย วันอาทิตย์ที่ 30 มีนาคม ศกนี้ o คุณพ่อ ปรี ชา ยัง่ ยืน จากคณะคาร์ เมไลท์ นักบวชชาย จะมาถวายมิสซาที่ วัดของเรา เวลา 8.00 น. และ 10.00 น. เพื่อรณรงค์ด้านกระแสเรี ยกและ ระดมทุนเพื่อสร้างอารามคาร์เมไลท์ (นักบวชชาย) สามพราน o เวลา 12.30 น. หลังอาหารเที่ยงทิพย์ ขอเชิญพี่นอ้ งร่ วมแสวงบุญและเยีย่ ม เยี ย นเด็ ก ด้อ ยโอกาส ณ มู ล นิ ธิ เซนต์ ม าร์ ติ น วัด พระแม่ ม หาการุ ณ ย์ นนทบุรี ผู ้ส นใจ โปรดลงชื่ อ ที่ สํ า นั ก งานวัด ภายในวัน อาทิ ต ย์น้ ี เพื่ อ วางแผนจัดรถสําหรับเดิ นทาง และพี่น้องท่านใดประสงค์จะบริ จาคเงิน เครื่ องอุปโภคบริ โภค และของใช้อื่น ๆ โปรดติดต่อสํานักงานวัด วันอาทิตย์ที่ 6 เมษายน ศกนี้ เป็ นวันอาทิตย์ตน้ เดือน พี่นอ้ งท่านใดประสงค์นาํ บุตร หลานเด็กเล็กมารับศีลล้างบาป โปรดติดต่อสํานักงานวัด วันเสาร์ ที่ 12 เมษายน ศกนี้ ขอเชิ ญพี่น้องร่ วมฟื้ นฟูจิตใจ หัวข้อ “จิตภาวนา” และ “ความรักไม่มีสิ้นสุ ด” โดย คุณพ่อ ประเสริ ฐ โลหะวิริยะศิริ ตั้งแต่เวลา 8.30-19.00 น. ณ วัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ผูส้ นใจโปรดลงชื่ อที่สํานักงานวัด เพื่อความสะดวก ในการจัดเตรี ยมอาหารกลางวันสําหรับทุกท่าน 12
ฉบับที่ 518 วันอาทิตย์ที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลมหาพรต (ปี A)
ท่านผูน้ เป็ ี้ นบุตรสุดที่รกั ของเรา เราพึงพอใจยิง่ นัก จงฟังท่านเถิด มธ 17:5