ฉบับที่ 524 วันอาทิตย์ที่ 27 เมษายน ค.ศ. 2014
ฉบับที่ 524 วันอาทิตย์ที่ 27 เมษายน ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลปัสกา (ปี A)
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลปัสกา (ปี A)
ท่ านเชื่อเพราะได้ เห็นเรา
ท่ านเชื่อเพราะได้ เห็นเรา
ผู้ทเี่ ชื่อแม้ ไม่ ได้ เห็น ก็เป็ นสุ ข
ผู้ทเี่ ชื่อแม้ ไม่ ได้ เห็น ก็เป็ นสุ ข ยน 20:29
ยน 20:29
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลปัสกา (ปี A)
ยน 20:19-31
1. “พระบิดาทรงส่งเรามาฉันใด เราก็ส่งท่านทัง้ หลายไปฉันนัน้ ” หลังจากพระเยซูเจ้าทรงถูกตรึงตายบนไม้กางเขนแล้ว บรรดาอัครสาวก กลับมาหลบซ่อนอยู่ในห้องที่เคยใช้เลี้ยงอาหารคํ่ามือ้ สุดท้าย คอยเงีย่ หูฟงั เสียงคน ขึ้นบันไดหรือเคาะประตู ด้วยความหวาดกลัว เกรงว่าเจ้าหน้ าที่ของสภาสูงจะมา จับกุม และคงไม่แคล้วถึงเวรของพวกตนที่จะถูกตัดสินประหารชีวติ ให้ตายตกตาม พระอาจารย์ไป ทันใดนัน้ ทัง้ ๆ ที่ป ระตู ห้องยังปิ ดอยู่ พระเยซูเ จ้าเสด็จมาประทับ ยืน อยู่ ท่ามกลางพวกเขาตรัสว่า “สันติสขุ จงสถิตอยูก่ บั ท่านทัง้ หลายเถิด” (ยน 20:19) คํา “สันติสขุ ” หรือ shalōm (ชาโลม) ในภาษาฮีบรู ไม่ได้หมายถึงเพียง “พ้น ทุกข์” แต่หมายรวมถึง “ขอให้บรรลุความดีและความสมบูรณ์สงู สุด” ด้วย พระองค์จงึ ไม่เพียงวอนขอให้บรรดาอัครสาวกรอดพ้นจากภยันตรายเท่านัน้ แต่ทรงวอนขอพระบิดาเจ้าโปรดประทานสิง่ ที่ “ดีทีส่ ดุ ” แก่พวกเขาด้วย หลัง จากประทานพรและให้บ รรดาอัค รสาวกดูพ ระหัต ถ์แ ละด้านข้า งพระ วรกายจนพวกเขาเชื่อว่าทรงเป็ น “องค์พระผูเ้ ป็ นเจ้า” แล้ว (ยน 19:20) พระองค์ทรง เข้าสู่ประเด็นสําคัญทันที นัน่ คือทรงสังว่ ่ า “พระบิ ดาทรงส่งเรามาฉันใด เราก็ส่ง ท่านทัง้ หลายไปฉันนัน้ ” 2
อา. 27 เม.ย. สุ ขสํ าราญ ราฟาแอล ชัยพฤกษ์, มีคาแอล ธันวา ประคีนวิชา 10.00 น. คุณบานเย็น, พิมพ์ชนก, เกรี ยงไกร, อดุลย์ สิ งห์ชาลี คุณนลพรรณ, คุณสาธิต พันธุ์โอภาส ครอบครัวเจริ ญเดชปรี ชา ครอบครัวเรี ยบร้อย, ครอบครัวชวประพันธ์ อุทศิ แด่ เซอร์ อาเดลา พิศุทธิ์สินธพ ภคินี โอเดสตา แก้วพวง มารี อา กิมฮวย แซ่อ้ ึง, คุณอัศวเทพ เทพานนท์ มารี ย ์ ต้ายไถ่ แซ่โฮ, เปาโล จือกอง แซ่จาง เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ และบรรพบุรุษ ยอแซฟ เพียรจิตร ตรั่นวัน, นายหมู่เอกแก้ว รัตนพิเศษ คุณโหย เลวัน และญาติผลู้ ่วงลับ ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี , มารี อา ซิ่ วเคี้ยม แซ่ล้ ี อันนา เอิน แซ่เหวียน, เปโตร กําแหง ชาวประมง อันนา กิม แซ่แพ้, ยอแซฟ สื อยิด แซ่โง้ว เทเรซา มยุรี แจ่มเกียรติเลิศ และบรรพบุรุษ ฟรังซิ สโก ถนอม, คุณเปลี่ยว ผิวเกลี้ยง เปโตร ดนตรี , ฟรังซิ สโก บุญเกียรติ ไชยเผือก คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ด นิภา, ฟิ ลิป มุ่ยซิ ม คุณเช้ง แซ่จึง, เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี คุณก้านทอง แสงปัญหา วิญญาณทารกผูว้ มิ ล วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง จ.28 เม.ย. อุทศิ แด่ ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี อ. 29 เม.ย. อุทศิ แด่ ดอมินิก ไชยันตร์ ปิ ติปาละ พ. 30 เม.ย. สุ ขสํ าราญ โทมัส อไควนัส จิตรภาณุ กิจปกครอง พฤ. 1 พ.ค. อุทศิ แด่ ดอมินิก ไชยันตร์ ปิ ติปาละ ศ. 2 พ.ค. อุทศิ แด่ ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี
ชวนี อัญชลี พิศิษฎ์ สรวิศ สรวิศ พรภัสสร สุ ปานี สุ รีย ์ สุ รีย ์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ สุ รีย ์ รสมาลิน นิราวัล/มาลินี รสมาลิน 11
วัน เดือน ปี อา. 27 เม.ย. 08.00 น.
รายการมิสซา อุทศิ แด่ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ต้ งั คุณพัสพัสษ์ วราเปล่งสิ นทวี บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว คุณโถ เพียรช่างคิด, คุณนงรัก ธนะสาร, คุณล้อสี ดอมินิก ไชยันตร์ ปิ ติปาละ, Thomas Adams เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ, มารี อา มยุรี, มัทธิ ว เกียรติศกั ดิ์ โรซา ราตรี , อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช, คุณพัฒนา ทองธิ ว คุณสอ ชูสอน, คุณวิชยั สายแสง ฟรังซิ สเซเวียร์ จิรวัฒน์ เสวตรวิทย์และบรรพบุรุษ มารี อา มยุรี สายพรหม และญาติผลู ้ ่วงลับ เปาโล สงบ เดชาเลิศ, ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี เทเรซา พรรฑิกา, ปิ โอ ธีระพัตร ชาภิรมย์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวโกวงศ์และตันติโกสิ ชฌน์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑลและลี้ยาง วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 27 เม.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน 10.00 น. ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว เทเรซา วรกานต์ พร้อมเจริ ญวัฒนา เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว และครอบครัวเตียวเจริ ญ คุณยุพิน ศิริพฒั น์ และครอบครัว คุณสรวิศ, คุณพิมพ์ชนก รัตนพิเศษ คุณสัณหพล เหลืองอร่ าม
10
ผู้ขอมิสซา คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ วิภาวนี รสมาลิน/คค.อุชชิน คค.อุชชิน คค.ธนาพานิชย์ มาลินี วิไลวรรณ
คําสังนี ่ ้แฝงนัยสําคัญ 3 ประการ คือ 1. พระเยซูเจ้าทรงต้ องการพระศาสนจักร เพราะพระองค์กําลังจะ เสด็จกลับไปหาพระบิดา พระองค์จงึ ต้องการให้พระศาสนจักรเป็ นดังปาก มือ และ เท้าของพระองค์เพื่อนําข่าวดีไปสู่มนุ ษย์ทุกคน โดยไม่เลือกเชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ วัย หรือฐานะ พระศาสนจักรจึงเป็ น “พระวรกาย” ของพระองค์ โดยมีพระองค์เป็ น “ศีรษะ” (อฟ 1:23; 1 คร 12:12) 2. พระศาสนจัก รต้ อ งการพระเยซู เ จ้ า เพราะพระองค์คือ “ผู้ส่ ง ” พระศาสนจักรออกไป เหมือนดังทีพ่ ระบิดาทรงส่งพระองค์ลงมา นอกจากเป็ น “ผูส้ ง่ ” แล้ว พระองค์ยงั ทรงเป็ นผูม้ อบข่าวดี ผูส้ นับสนุ น ผูส้ อ่ งสว่างจิตใจ และผูป้ ระทานพละกําลังรวมถึงความกล้าหาญในการปฏิบตั ภิ ารกิจที่ ได้รบั มอบหมายอีกด้วย หากปราศจาก “ผูส้ ง่ ” ดังเช่นพระองค์ พระศาสนจักรย่อมไม่มขี า่ วดีจะ ประกาศ และย่อมไม่มอี าํ นาจอันใดเลยทีจ่ ะอภัยบาปแก่มนุษย์ 3. พระศาสนจักรต้ องนบนอบพระเยซูเจ้า เพราะพระองค์ตรัสว่า “พระบิดาทรงส่งเรามาฉันใด เราก็สง่ ท่านทัง้ หลายไปฉันนัน้ ” พระบิดาทรงส่งพระองค์มาประกาศข่าวดีและไถ่บาปมนุ ษย์ พระองค์ ทรงน้ อ มรับ ภารกิจ ดัง กล่ าวด้ว ยความรัก และความนบนอบเชื่อฟ งั สูงสุดจนถึงกับ ยอมรับความตาย แม้เป็ นความตายบนไม้กางเขน เช่นเดียวกัน พระศาสนจักรจะปฏิบตั ิภารกิจที่ได้รบั มอบหมายจน สําเร็จลุล่วงได้กต็ ่อเมือ่ “รักและนบนอบเชือ่ ฟังพระองค์ด้วยสิ้ นสุดจิ ตใจ” เท่านัน้ ความรักและความนบนอบนี้เอง เรียกร้องให้พระศาสนจักรประกาศ ข่าวดีของพระเยซูเจ้า ไม่ใช่ขา่ วดีของพระศาสนจักรหรือของผูห้ นึ่งผูใ้ ดโดยเฉพาะ อีก ทัง้ ต้องพร้อมเผชิญหน้าและแก้ไขปญั หาต่างๆ ตามพระประสงค์ของพระองค์ ไม่ใช่ ตามนโยบายหรือตามความนึกคิดประสามนุษย์ของพระศาสนจักรเอง หากยึดพระประสงค์ของพระองค์เป็ นที่ตงั ้ ดังนี้แล้ว ปญั หาต่างๆ ที่ รุมเร้าพระ ศาสนจักรก็จะคลีค่ ลายลง 3
2. “จงรับพระจิตเจ้าเถิด” นอกจากส่งบรรดาอัครสาวกซึ่งเป็ นอวัยวะส่วนหนึ่ งของ “พระกายของพระ คริสตเจ้า” ไปประกาศข่าวดีแล้ว พระองค์ยงั ทรงเป่ าลมเหนื อเขาทัง้ หลายตรัสว่า “จงรับพระจิ ตเจ้าเถิ ด” เมื่อพูดถึง “เป่ าลม” ยอห์นกําลังคิดถึงการสร้างมนุ ษ ย์ในพระธรรมเก่าซึ่ง ั ้ ษย์ และทรงเป่ าลมแห่งชีวติ เข้าใน บันทึกไว้วา่ “พระเจ้าทรงเอาฝุน่ จากพื้นดินมาปนมนุ จมูกของเขา มนุ ษย์จงึ เป็ นผูม้ ชี วี ติ ” (ปฐก 2:7) และเรื่องกระดูกแห้งในหุบเขามรณะที่ พระเจ้าตรัสกับลมว่า “ลมเอ๋ย จงมาจากทิศทัง้ สี ่ และพ่นเข้าไปในผูท้ ถี ่ ูกฆ่าเหล่านี้ ให้ เขามีชวี ติ อีก” (อสค 37:9) เห็นได้ชดั ว่า “ลม” คือ “ชีวิต” เมื่อพระเยซูเจ้าทรงเป่า “ลม” เหนือบรรดาอัครสาวกพร้อมกับตรัสว่า “จงรับ พระจิตเจ้าเถิด” จึงแปลเป็ นอื่นไปไม่ได้นอกจาก “ลม” คือ “พระจิ ตเจ้า” เราจึงสรุปได้วา่ “พระจิ ตเจ้า” คือ “ชีวิต” เท่ากับว่า พระองค์ทรงประทานชีวติ ใหม่ให้แก่บรรดาอัครสาวกและพระศาสน จักร โดยทางพระจิ ตเจ้า พูดง่าย ๆ ก็คอื พระจิ ตเจ้าทรงทําให้พระศาสนจักรและเราทุกคนมีชีวิต เมื่อได้รบั ชีวติ ใหม่อาศัยพระจิตเจ้าแล้ว บรรดาอัครสาวกเลิกหวาดกลัวพวก หัว หน้ า ของชาวยิว เลิก หลบซ่ อ น แล้ว แยกย้า ยกัน ไปปฏิบ ัติภ ารกิจ ตามที่ไ ด้ร ับ มอบหมาย แล้วเราจะใช้ชวี ติ ใหม่ทไี ่ ด้รบั มาอย่างไร ?
3. “ท่านทัง้ หลายอภัยบาปของผูใ้ ด บาปของผูน้ ัน้ ก็ได้รบั การอภัย” ภารกิจแรกของพระเยซูเจ้าหลังกลับคืนพระชนมชีพคือการส่งพระศาสนจักร ออกไปประกาศข่าวดี และข่าวดีแรกทีพ่ ระองค์ทรงสังให้ ่ ประกาศคือ “การอภัยบาป” แต่การจะอภัยบาปหรือไม่อภัยบาปแก่ผูใ้ ด หาได้ขน้ึ กับอําเภอใจของพระศา สนจักรหรือของพระสงฆ์องค์ใดองค์หนึ่งแต่ประการใดไม่
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลปัสกา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 27 เมษายน ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 26 เม.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว 18.00 น. มารี อา ชัชวลี ไมตรี , คุณเกียรติศกั ดิ์ ไตรตรึ งส์ทศั นา อัญชลี / คุณปรี ชา และครอบครัวชุณหชัชวาล สําราญ อักแนส สุ ภาพร, ปภาวริ นทร์ , ปพิชญา, คุณหาญ สําราญ โยเซฟ สัมฤทธิ์, สมหมาย, โยเซฟ สมศักดิ์, คุณนิธิกลุ สําราญ อุทศิ แด่ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช อันตน สําเริ ง โกญจนาท, ดอมินิก ไชยันตร์ ปิ ติปาละ เริ งจิต/รสมาลิน มารี อา อุย้ ลั้ง, เซี่ ยมลั้ง, เซี่ ยมเช็ง, เซี่ ยมเคียง แซ่โง้ว สําราญ ยวง อุย้ เช็ง แซ่โง้ว, โยเซฟ สํารวย, คุณซุกคุน้ แซ่คู สําราญ ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช, ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา. 27 เม.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ คุณอําพัน รอดทอง มารี อา กรรณิ กา, มารี อา ปนัดดา ลี้ยาง, คุณประมวล เทเรซา ชนินทร์ มาศ, มารี อา ภาณุมาศ, คุณวริ นทร์ พลเอก พิจิตร, คุณหญิง วิมล, คุณอรรถณพ ครอบครัวเขม้นงาน, สุ ทธิโอภาส, ลิ้มจิตรกร, ธนะสาร ครอบครัวสาธรกิจ, เตรี ยมวิชานนท์, รัตนบรรณสกุล มารี อา มาริ สา และครอบครัวเสวตรวิทย์ เทเรซา ศศิพา, เปโตร พีระพัฒน์ เสวตรวิทย์ Mrs. Lolita R. Ferrer เปโตร จํารัส, เทเรซา คําภู ชาภิรมย์ 9
4
จากเวปไซต์ อัครสั งฆมณฑลกรุ งเทพฯ
ขั้นตอนการประกาศแต่งตั้งเป็ นนักบุญ นั้นละเอี ยดซับซ้อน ต้องกระทําอย่าง รอบคอบถี่ถว้ นเพราะจะผิดพลาดไม่ได้ ฉะนัน้ อาจจะต้องเสียเวลาหลายปี หลังจากได้รับสถาปนาเป็ นบุญราศีแล้ว ขึ้นตอนต่อไปก็คือการดําเนินการเพื่อ ประกาศแต่งตั้งเป็ น "นักบุญ" แต่ว่าก่อนที่จะเป็ นนักบุญ พระศาสนจักรก็ ได้กาํ หนดว่า จะต้องมีผไู้ ด้รับอัศจรรย์ โดยคําวิงวอนของท่านบุญราศีผนู้ นั้ อีกอย่างน้อย 2 ประการ ซึ่งการรอคอยอัศจรรย์ขนั้ นี้อาจจะยาวนานหลายปี บางรายกินเวลาเป็ นศตวรรษก็ มี จากนัน้ ก็จะมีการพิจารณาตรวจสอบศพอีกครั้งหนึง่ เพื่อจะดูว่าเป็ นบุคคลนัน้ จริงหรือไม่ และมีบางรายได้รับ พรพิ เศษให้ศพไม่เน่า เปื่ อยตามกาลเวลาเกี่ ยวกับ เรื่ อ งอัศ จรรย์ที่ เกิดขึ้นนี้ ส่วนมามักจะเป็ นเรื่ องของการหายจากโรคที่สดุ วิสัยความสามารถมนุษย์จะ รักษา แต่การหายป่ วยจากโรคอย่างอัศจรรย์นี้ก็จะได้รับการตรวจสอบและยืนยันโดย แพทย์ หรือนักวิทยาศาสตร์ผเู้ ชีย่ วชาญด้วย เพื่อให้แน่ใจว่าเป็ นการอัศจรรย์จริงๆ เมื่อผ่านขึ้นตอนทุกอย่างแล้วก็ จะมีการประกาศแต่งตั้งบุญราศีองค์นั้นขึ้นมา เป็ น "นักบุญ" โดยสมเด็จพระสันตะปาปา พิธีการประกาศแต่งตัง้ จะมีขนึ้ อย่างมโหฬารที่ มหาวิ ห ารเซนต์ปีเตอร์ กรุงโรมเป็ นพิ ธีที่สง่างามน่าประทับใจที่ สดุ พิธีห นึ่งที่ทางพระ ศาสนจัก รจัด ขึ้น เพราะการประกาศสถาปนาบุค คลใด บุค คลหนึ่ง เป็ นนัก บุญ ย่ อ ม หมายถึงเกียรติขนึ้ สูงสุดที่คริสตชนคนหนึง่ พึงจะได้รบั โดยท่านผูน้ นั้ จะได้รับการประกาศ ชนิ ด ที่ พ ระศาสนจั ก รใช้เ อกสิ ท ธิ์ ค วามไม่ ร ู้ผิ ด พลั้ ง ของสมเด็ จ พระสั น ตะปาปา มาเป็ นหลักประกันความจริง ท่านจะเป็ นที่เคารพนับถือของชาวคาทอลิกทัว่ โลกและชื่อ ของท่านผูน้ นั้ ก็จะได้รบั การบันทึกเข้าไว้ในบัญชีสารบบนักบุญตลอดไปชัว่ กาลนาน พระศาสนจักรได้ใช้ในการประกาศสดุดีคณ ุ งามความดีขนั้ วีรกรรมของบรรดา สมาชิกของพระศาสนจักรซึ่งทุกยุคทุกสมัยก็จะมีพี่นอ้ งของเราได้รับเกียรตินี้ เพื่อมอบ เป็ นแบบอย่างแก่เราอยู่เสมอๆ และพระศาสนจักรก็พยายามสอนลูกๆ ของตนเสมอว่า ให้พยายามเลียนแบบความสมบูรณ์ทางคุณธรรมของบรรดาผูศ้ ักดิ์สิทธิ์เหล่านัน้ ในการ เจริญรอยตามพระคริสตเจ้า ทั้งนี้เพราะผูศ้ ักดิ์สิทธิ์หรือนักบุญเหล่านัน้ ต่างก็เป็ นมนุษย์ เหมือนกับเรา เคยมีชีวิตจริงๆ บนโลกใบนี้ ดังนัน้ แบบอย่างชีวิตของท่านจึงเป็ นสิ่งที่ดี ที่ ใกล้ตวั ที่เราสามารถเห็นได้และเลียนแบบได้ เพื่อว่าสักวันหนึง่ เราจะได้เข้าสูส่ วรรค์ มีชีวิต นิรนั ดรร่วมกับพระคริสตเจ้า และท่านเหล่านัน้ ด้วย 8
ย้อนกลับไปเมื่อพระเยซูเจ้าทรงเริม่ ภารกิจเปิ ดเผย พระองค์ประกาศว่า “จง กลับใจเถิ ด เพราะอาณาจักรสวรรค์อยูใ่ กล้แล้ว” (มธ 4:17) เพราะฉะนัน้ พระศาสนจักรต้องประกาศการอภัยบาปแก่ผทู้ เ่ี ป็ นทุกข์กลับใจ !! ่ ส่วนผู้ท่ยี งั ไม่เป็ นทุกข์กลับใจ พระศาสนจักรต้ องตักเตื อน ต้ องสังสอน และต้องพยายามทุกวิ ถีทางเพือ่ ช่ วยให้เขาเป็ นทุกข์กลับใจและได้รบั การอภัย บาป เราจึงต้องหันกลับมาดูตวั เองว่า เราได้เป็ นทุกข์กลับใจและได้ช่วยผูอ้ นื ่ ให้เป็ น ทุกข์กลับใจเพือ่ จะได้รบั การอภัยบาปบ้างแล้วหรือยัง ?
4. “องค์พระผูเ้ ป็ นเจ้าของข้าพเจ้า และพระเจ้าของข้าพเจ้า” โทมัสเป็ นศิษย์ผกู้ ล้าหาญและรักพระเยซูเจ้ามาก ท่านเคยชักชวนบรรดาอัคร สาวกไปกรุงเยรูซาเล็มกล่าวว่า “พวกเราจงไปตายพร้อมกับพระองค์เถิด” (ยน 11:16) แต่เมือ่ ยูดาสนําทหารมาจับกุมพระองค์ โทมัสกลับหลบหน้าหนีไป บทเรียนจากชีวติ ของโทมัสคือ 1. โทมัสทําผิดพลาดอยูป่ ระการหนึ่ง นันคื ่ อ หลังจากทอดทิง้ พระเยซูเจ้า และหนีไปแล้ว ท่านบังเกิดความละอายใจ ไม่กล้าสูห้ น้าคนอื่น และหลบไปอยู่ตาม ลําพัง การหลบไปอยู่ตามลําพังทําให้ท่านพลาดโอกาสพบกับพระเยซูเจ้า คราวทีเ่ สด็จมาหาบรรดาอัครสาวกครัง้ แรก ดังนัน้ หากเกิดความละอายใจไม่ว่าด้วยสาเหตุใดก็ตาม เราต้องไม่ หลบหน้าจากผูค้ นหรือ “ทิ้งวัด” ไปเลย หาไม่แล้วเราจะพลาดโอกาสดีๆ ดังที่โทมัส เคยพลาดมาแล้ว “วัด” อันเป็ นสถานทีช่ ุมนุ มของบรรดาคริสตชนนี่แหละ ทีเ่ ราจะได้พบ กับพระเยซูเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ ! 2. โทมัส มีข้อ ดีคือ ความ “ตรงไปตรงมา” สํา หรับ ท่า น เชื่อ คือ เชื่อ สงสัยคือสงสัย และความสงสัยนี้เองทีน่ ําท่านไปสูค่ วามเชื่อทีแ่ น่นอน มันใจ ่ และมันคง ่ 5
คนทีช่ อบพูดซํ้าซากว่า “ฉันเชือ่ ” ในขณะทีจ่ ติ ใจยังเต็มไปด้วยความ สงสัย หรือไม่เข้าใจ แถมยังไม่พยายามแสวงหาความรูแ้ ละความเข้าใจเพิม่ เติม เขา จะไม่มที างเชื่อแบบทีโ่ ทมัสเชื่อได้เลย 3. ข้อดีอกี ประการหนึ่งของโทมัสคือ เมือ่ เชือ่ แล้ว ท่านทุ่มเทชีวิตให้ พระเยซูเจ้าสุดๆ ท่านยอมรับว่าพระองค์ทรงเป็ น “องค์พระผูเ้ ป็ นเจ้าของข้าพเจ้า และพระเจ้าของข้าพเจ้า !” ในหนังสือกิจการของโทมัส (The Acts of Thomas) มีเรื่องเล่าว่า แม้ไม่เต็มใจนัก แต่ โทมัสก็ยอมไปประกาศข่าวดีท่ีอินเดียตามที่บรรดาอัครสาวก มอบหมาย พระราชาของอินเดียมีบญ ั ชาให้ท่านสร้างพระราชวังให้พระองค์หลังหนึ่ง พร้อ มกับ มอบเงิน จํา นวนมากเพื่อ เป็ น ค่า ใช้จ่ า ย แต่ ท่ า นกลับ นํ า เงิน ทัง้ หมดไป แจกจ่ายคนจน มิหนําซํ้ายังรายงานพระราชาว่าการก่อสร้างกําลังรุดหน้าไปเรื่อยๆ ทีส่ ดุ พระราชาขอให้ท่านพาไปดูพระราชวังหลังใหม่ ท่านทูลว่า “ตอนนี้พระองค์ยงั ไม่ อาจทอดพระเนตรเห็นได้ ต้องรอให้จากโลกนี้ไปก่อน จึงจะทรงเห็นได้” พระราชา กริว้ มาก เกือบสังประหารชี ่ วติ ท่าน แต่เมือ่ ได้ฟงั ข่าวดีจากปากของท่านแล้ว พระองค์ ทรงกลับใจและเชื่อในพระเยซูเจ้า ด้ ว ยการเสี ย่ งนํ า ชี วิ ต เข้ า แลก โทมัส นํ า คริ ส ตศาสนามาสู่ อิ นเดีย !
แสดงว่าวัต ถุ ประสงค์อีกประการหนึ่ งของท่านก็คือ ไม่ต้องการให้ พระวรสารเป็ น หนั ง สือ ประวัติศ าสตร์ห รือ อัต ชีว ประวัติข องพระเยซู เ จ้า แต่ เ ป็ น “หนังสือเพือ่ ชี วิต” ที่มจี ุดมุ่งหมายอยู่ท่ที ําให้ผูอ้ ่านเห็น เข้าใจ และเชื่อว่าบุคคลที่ สามารถพูด สอน และทําได้ดงั เช่นพระองค์ จะเป็ นใครอื่นไปไม่ได้นอกจาก “พระบุตร ของพระเจ้า” เมื่อเชื่อเช่นนี้แล้ว ผูน้ ัน้ จะผูกพันตนกับพระเยซูเจ้า แล้วคิดเหมือน พระองค์ ปรารถนาเหมือนพระองค์ และมีชวี ติ เหมือนพระองค์ ซึง่ เป็ น “ชีวติ นิรนั ดร” ! ด้วยเหตุน้ี วัตถุประสงค์ประการแรกสุดในการอ่านพระคัมภีรจ์ งึ ไม่ใช่ การแสวงหาข้อมูล แต่เป็ นการ แสวงหาพระเยซูเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ !!!!
5. เรื่องราวเหล่านี้ ถกู บันทึกไว้เพื่อท่านทัง้ หลายจะได้เชื่อ วัตถุประสงค์ในการเขียนพระวรสารของยอห์น คือ 1. ไม่ใช่บอกรายละเอียดทุกอย่างเกีย่ วกับพระเยซูเจ้าแต่ คัดเลือกมา เพียงบางเรือ่ งเพือ่ ให้ทราบว่าพระองค์เป็ นใคร และทรงทําอะไร ท่านระบุว่า “พระเยซูเจ้ายังทรงกระทําเครือ่ งหมายอัศจรรย์อนื ่ อีก หลายประการให้บรรดาศิษย์เห็น แต่ไม่ได้บนั ทึกไว้ในหนังสือเล่มนี้” (ยน 20:30) 2. ท่านยังระบุอกี ว่า “เรือ่ งราวเหล่านี้ถูกบันทึกไว้เพือ่ ท่านทัง้ หลายจะ ได้เชือ่ ว่า พระเยซูเจ้าเป็ นพระคริสตเจ้า พระบุตรของพระเจ้า และเมือ่ มีความเชือ่ นี้ แล้ว ท่านทัง้ หลายก็จะมีชวี ติ ” (ยน 20:31) 6
7
คนทีช่ อบพูดซํ้าซากว่า “ฉันเชือ่ ” ในขณะทีจ่ ติ ใจยังเต็มไปด้วยความ สงสัย หรือไม่เข้าใจ แถมยังไม่พยายามแสวงหาความรูแ้ ละความเข้าใจเพิม่ เติม เขา จะไม่มที างเชื่อแบบทีโ่ ทมัสเชื่อได้เลย 3. ข้อดีอกี ประการหนึ่งของโทมัสคือ เมือ่ เชือ่ แล้ว ท่านทุ่มเทชีวิตให้ พระเยซูเจ้าสุดๆ ท่านยอมรับว่าพระองค์ทรงเป็ น “องค์พระผูเ้ ป็ นเจ้าของข้าพเจ้า และพระเจ้าของข้าพเจ้า !” ในหนังสือกิจการของโทมัส (The Acts of Thomas) มีเรื่องเล่าว่า แม้ไม่เต็มใจนัก แต่ โทมัสก็ยอมไปประกาศข่าวดีท่ีอินเดียตามที่บรรดาอัครสาวก มอบหมาย พระราชาของอินเดียมีบญ ั ชาให้ท่านสร้างพระราชวังให้พระองค์หลังหนึ่ง พร้อ มกับ มอบเงิน จํา นวนมากเพื่อ เป็ น ค่า ใช้จ่ า ย แต่ ท่ า นกลับ นํ า เงิน ทัง้ หมดไป แจกจ่ายคนจน มิหนําซํ้ายังรายงานพระราชาว่าการก่อสร้างกําลังรุดหน้าไปเรื่อยๆ ทีส่ ดุ พระราชาขอให้ท่านพาไปดูพระราชวังหลังใหม่ ท่านทูลว่า “ตอนนี้พระองค์ยงั ไม่ อาจทอดพระเนตรเห็นได้ ต้องรอให้จากโลกนี้ไปก่อน จึงจะทรงเห็นได้” พระราชา กริว้ มาก เกือบสังประหารชี ่ วติ ท่าน แต่เมือ่ ได้ฟงั ข่าวดีจากปากของท่านแล้ว พระองค์ ทรงกลับใจและเชื่อในพระเยซูเจ้า ด้ ว ยการเสี ย่ งนํ า ชี วิ ต เข้ า แลก โทมัส นํ า คริ ส ตศาสนามาสู่ อิ นเดีย !
แสดงว่าวัต ถุ ประสงค์อีกประการหนึ่ งของท่านก็คือ ไม่ต้องการให้ พระวรสารเป็ น หนั ง สือ ประวัติศ าสตร์ห รือ อัต ชีว ประวัติข องพระเยซู เ จ้า แต่ เ ป็ น “หนังสือเพือ่ ชี วิต” ที่มจี ุดมุ่งหมายอยู่ท่ที ําให้ผูอ้ ่านเห็น เข้าใจ และเชื่อว่าบุคคลที่ สามารถพูด สอน และทําได้ดงั เช่นพระองค์ จะเป็ นใครอื่นไปไม่ได้นอกจาก “พระบุตร ของพระเจ้า” เมื่อเชื่อเช่นนี้แล้ว ผูน้ ัน้ จะผูกพันตนกับพระเยซูเจ้า แล้วคิดเหมือน พระองค์ ปรารถนาเหมือนพระองค์ และมีชวี ติ เหมือนพระองค์ ซึง่ เป็ น “ชีวติ นิรนั ดร” ! ด้วยเหตุน้ี วัตถุประสงค์ประการแรกสุดในการอ่านพระคัมภีรจ์ งึ ไม่ใช่ การแสวงหาข้อมูล แต่เป็ นการ แสวงหาพระเยซูเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ !!!!
5. เรื่องราวเหล่านี้ ถกู บันทึกไว้เพื่อท่านทัง้ หลายจะได้เชื่อ วัตถุประสงค์ในการเขียนพระวรสารของยอห์น คือ 1. ไม่ใช่บอกรายละเอียดทุกอย่างเกีย่ วกับพระเยซูเจ้าแต่ คัดเลือกมา เพียงบางเรือ่ งเพือ่ ให้ทราบว่าพระองค์เป็ นใคร และทรงทําอะไร ท่านระบุว่า “พระเยซูเจ้ายังทรงกระทําเครือ่ งหมายอัศจรรย์อนื ่ อีก หลายประการให้บรรดาศิษย์เห็น แต่ไม่ได้บนั ทึกไว้ในหนังสือเล่มนี้” (ยน 20:30) 2. ท่านยังระบุอกี ว่า “เรือ่ งราวเหล่านี้ถูกบันทึกไว้เพือ่ ท่านทัง้ หลายจะ ได้เชือ่ ว่า พระเยซูเจ้าเป็ นพระคริสตเจ้า พระบุตรของพระเจ้า และเมือ่ มีความเชือ่ นี้ แล้ว ท่านทัง้ หลายก็จะมีชวี ติ ” (ยน 20:31) 6
7
จากเวปไซต์ อัครสั งฆมณฑลกรุ งเทพฯ
ขั้นตอนการประกาศแต่งตั้งเป็ นนักบุญ นั้นละเอี ยดซับซ้อน ต้องกระทําอย่าง รอบคอบถี่ถว้ นเพราะจะผิดพลาดไม่ได้ ฉะนัน้ อาจจะต้องเสียเวลาหลายปี หลังจากได้รับสถาปนาเป็ นบุญราศีแล้ว ขึ้นตอนต่อไปก็คือการดําเนินการเพื่อ ประกาศแต่งตั้งเป็ น "นักบุญ" แต่ว่าก่อนที่จะเป็ นนักบุญ พระศาสนจักรก็ ได้กาํ หนดว่า จะต้องมีผไู้ ด้รับอัศจรรย์ โดยคําวิงวอนของท่านบุญราศีผนู้ นั้ อีกอย่างน้อย 2 ประการ ซึ่งการรอคอยอัศจรรย์ขนั้ นี้อาจจะยาวนานหลายปี บางรายกินเวลาเป็ นศตวรรษก็ มี จากนัน้ ก็จะมีการพิจารณาตรวจสอบศพอีกครั้งหนึง่ เพื่อจะดูว่าเป็ นบุคคลนัน้ จริงหรือไม่ และมีบางรายได้รับ พรพิ เศษให้ศพไม่เน่า เปื่ อยตามกาลเวลาเกี่ ยวกับ เรื่ อ งอัศ จรรย์ที่ เกิดขึ้นนี้ ส่วนมามักจะเป็ นเรื่ องของการหายจากโรคที่สดุ วิสัยความสามารถมนุษย์จะ รักษา แต่การหายป่ วยจากโรคอย่างอัศจรรย์นี้ก็จะได้รับการตรวจสอบและยืนยันโดย แพทย์ หรือนักวิทยาศาสตร์ผเู้ ชีย่ วชาญด้วย เพื่อให้แน่ใจว่าเป็ นการอัศจรรย์จริงๆ เมื่อผ่านขึ้นตอนทุกอย่างแล้วก็ จะมีการประกาศแต่งตั้งบุญราศีองค์นั้นขึ้นมา เป็ น "นักบุญ" โดยสมเด็จพระสันตะปาปา พิธีการประกาศแต่งตัง้ จะมีขนึ้ อย่างมโหฬารที่ มหาวิ ห ารเซนต์ปีเตอร์ กรุงโรมเป็ นพิ ธีที่สง่างามน่าประทับใจที่ สดุ พิธีห นึ่งที่ทางพระ ศาสนจัก รจัด ขึ้น เพราะการประกาศสถาปนาบุค คลใด บุค คลหนึ่ง เป็ นนัก บุญ ย่ อ ม หมายถึงเกียรติขนึ้ สูงสุดที่คริสตชนคนหนึง่ พึงจะได้รบั โดยท่านผูน้ นั้ จะได้รับการประกาศ ชนิ ด ที่ พ ระศาสนจั ก รใช้เ อกสิ ท ธิ์ ค วามไม่ ร ู้ผิ ด พลั้ ง ของสมเด็ จ พระสั น ตะปาปา มาเป็ นหลักประกันความจริง ท่านจะเป็ นที่เคารพนับถือของชาวคาทอลิกทัว่ โลกและชื่อ ของท่านผูน้ นั้ ก็จะได้รบั การบันทึกเข้าไว้ในบัญชีสารบบนักบุญตลอดไปชัว่ กาลนาน พระศาสนจักรได้ใช้ในการประกาศสดุดีคณ ุ งามความดีขนั้ วีรกรรมของบรรดา สมาชิกของพระศาสนจักรซึ่งทุกยุคทุกสมัยก็จะมีพี่นอ้ งของเราได้รับเกียรตินี้ เพื่อมอบ เป็ นแบบอย่างแก่เราอยู่เสมอๆ และพระศาสนจักรก็พยายามสอนลูกๆ ของตนเสมอว่า ให้พยายามเลียนแบบความสมบูรณ์ทางคุณธรรมของบรรดาผูศ้ ักดิ์สิทธิ์เหล่านัน้ ในการ เจริญรอยตามพระคริสตเจ้า ทั้งนี้เพราะผูศ้ ักดิ์สิทธิ์หรือนักบุญเหล่านัน้ ต่างก็เป็ นมนุษย์ เหมือนกับเรา เคยมีชีวิตจริงๆ บนโลกใบนี้ ดังนัน้ แบบอย่างชีวิตของท่านจึงเป็ นสิ่งที่ดี ที่ ใกล้ตวั ที่เราสามารถเห็นได้และเลียนแบบได้ เพื่อว่าสักวันหนึง่ เราจะได้เข้าสูส่ วรรค์ มีชีวิต นิรนั ดรร่วมกับพระคริสตเจ้า และท่านเหล่านัน้ ด้วย 8
ย้อนกลับไปเมื่อพระเยซูเจ้าทรงเริม่ ภารกิจเปิ ดเผย พระองค์ประกาศว่า “จง กลับใจเถิ ด เพราะอาณาจักรสวรรค์อยูใ่ กล้แล้ว” (มธ 4:17) เพราะฉะนัน้ พระศาสนจักรต้องประกาศการอภัยบาปแก่ผทู้ เ่ี ป็ นทุกข์กลับใจ !! ่ ส่วนผู้ท่ยี งั ไม่เป็ นทุกข์กลับใจ พระศาสนจักรต้ องตักเตื อน ต้ องสังสอน และต้องพยายามทุกวิ ถีทางเพือ่ ช่ วยให้เขาเป็ นทุกข์กลับใจและได้รบั การอภัย บาป เราจึงต้องหันกลับมาดูตวั เองว่า เราได้เป็ นทุกข์กลับใจและได้ช่วยผูอ้ นื ่ ให้เป็ น ทุกข์กลับใจเพือ่ จะได้รบั การอภัยบาปบ้างแล้วหรือยัง ?
4. “องค์พระผูเ้ ป็ นเจ้าของข้าพเจ้า และพระเจ้าของข้าพเจ้า” โทมัสเป็ นศิษย์ผกู้ ล้าหาญและรักพระเยซูเจ้ามาก ท่านเคยชักชวนบรรดาอัคร สาวกไปกรุงเยรูซาเล็มกล่าวว่า “พวกเราจงไปตายพร้อมกับพระองค์เถิด” (ยน 11:16) แต่เมือ่ ยูดาสนําทหารมาจับกุมพระองค์ โทมัสกลับหลบหน้าหนีไป บทเรียนจากชีวติ ของโทมัสคือ 1. โทมัสทําผิดพลาดอยูป่ ระการหนึ่ง นันคื ่ อ หลังจากทอดทิง้ พระเยซูเจ้า และหนีไปแล้ว ท่านบังเกิดความละอายใจ ไม่กล้าสูห้ น้าคนอื่น และหลบไปอยู่ตาม ลําพัง การหลบไปอยู่ตามลําพังทําให้ท่านพลาดโอกาสพบกับพระเยซูเจ้า คราวทีเ่ สด็จมาหาบรรดาอัครสาวกครัง้ แรก ดังนัน้ หากเกิดความละอายใจไม่ว่าด้วยสาเหตุใดก็ตาม เราต้องไม่ หลบหน้าจากผูค้ นหรือ “ทิ้งวัด” ไปเลย หาไม่แล้วเราจะพลาดโอกาสดีๆ ดังที่โทมัส เคยพลาดมาแล้ว “วัด” อันเป็ นสถานทีช่ ุมนุ มของบรรดาคริสตชนนี่แหละ ทีเ่ ราจะได้พบ กับพระเยซูเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพ ! 2. โทมัส มีข้อ ดีคือ ความ “ตรงไปตรงมา” สํา หรับ ท่า น เชื่อ คือ เชื่อ สงสัยคือสงสัย และความสงสัยนี้เองทีน่ ําท่านไปสูค่ วามเชื่อทีแ่ น่นอน มันใจ ่ และมันคง ่ 5
2. “จงรับพระจิตเจ้าเถิด” นอกจากส่งบรรดาอัครสาวกซึ่งเป็ นอวัยวะส่วนหนึ่ งของ “พระกายของพระ คริสตเจ้า” ไปประกาศข่าวดีแล้ว พระองค์ยงั ทรงเป่ าลมเหนื อเขาทัง้ หลายตรัสว่า “จงรับพระจิ ตเจ้าเถิ ด” เมื่อพูดถึง “เป่ าลม” ยอห์นกําลังคิดถึงการสร้างมนุ ษ ย์ในพระธรรมเก่าซึ่ง ั ้ ษย์ และทรงเป่ าลมแห่งชีวติ เข้าใน บันทึกไว้วา่ “พระเจ้าทรงเอาฝุน่ จากพื้นดินมาปนมนุ จมูกของเขา มนุ ษย์จงึ เป็ นผูม้ ชี วี ติ ” (ปฐก 2:7) และเรื่องกระดูกแห้งในหุบเขามรณะที่ พระเจ้าตรัสกับลมว่า “ลมเอ๋ย จงมาจากทิศทัง้ สี ่ และพ่นเข้าไปในผูท้ ถี ่ ูกฆ่าเหล่านี้ ให้ เขามีชวี ติ อีก” (อสค 37:9) เห็นได้ชดั ว่า “ลม” คือ “ชีวิต” เมื่อพระเยซูเจ้าทรงเป่า “ลม” เหนือบรรดาอัครสาวกพร้อมกับตรัสว่า “จงรับ พระจิตเจ้าเถิด” จึงแปลเป็ นอื่นไปไม่ได้นอกจาก “ลม” คือ “พระจิ ตเจ้า” เราจึงสรุปได้วา่ “พระจิ ตเจ้า” คือ “ชีวิต” เท่ากับว่า พระองค์ทรงประทานชีวติ ใหม่ให้แก่บรรดาอัครสาวกและพระศาสน จักร โดยทางพระจิ ตเจ้า พูดง่าย ๆ ก็คอื พระจิ ตเจ้าทรงทําให้พระศาสนจักรและเราทุกคนมีชีวิต เมื่อได้รบั ชีวติ ใหม่อาศัยพระจิตเจ้าแล้ว บรรดาอัครสาวกเลิกหวาดกลัวพวก หัว หน้ า ของชาวยิว เลิก หลบซ่ อ น แล้ว แยกย้า ยกัน ไปปฏิบ ัติภ ารกิจ ตามที่ไ ด้ร ับ มอบหมาย แล้วเราจะใช้ชวี ติ ใหม่ทไี ่ ด้รบั มาอย่างไร ?
3. “ท่านทัง้ หลายอภัยบาปของผูใ้ ด บาปของผูน้ ัน้ ก็ได้รบั การอภัย” ภารกิจแรกของพระเยซูเจ้าหลังกลับคืนพระชนมชีพคือการส่งพระศาสนจักร ออกไปประกาศข่าวดี และข่าวดีแรกทีพ่ ระองค์ทรงสังให้ ่ ประกาศคือ “การอภัยบาป” แต่การจะอภัยบาปหรือไม่อภัยบาปแก่ผูใ้ ด หาได้ขน้ึ กับอําเภอใจของพระศา สนจักรหรือของพระสงฆ์องค์ใดองค์หนึ่งแต่ประการใดไม่
มิสซาสั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลปัสกา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 27 เมษายน ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ผู้ขอมิสซา ส. 26 เม.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว 18.00 น. มารี อา ชัชวลี ไมตรี , คุณเกียรติศกั ดิ์ ไตรตรึ งส์ทศั นา อัญชลี / คุณปรี ชา และครอบครัวชุณหชัชวาล สําราญ อักแนส สุ ภาพร, ปภาวริ นทร์ , ปพิชญา, คุณหาญ สําราญ โยเซฟ สัมฤทธิ์, สมหมาย, โยเซฟ สมศักดิ์, คุณนิธิกลุ สําราญ อุทศิ แด่ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช อันตน สําเริ ง โกญจนาท, ดอมินิก ไชยันตร์ ปิ ติปาละ เริ งจิต/รสมาลิน มารี อา อุย้ ลั้ง, เซี่ ยมลั้ง, เซี่ ยมเช็ง, เซี่ ยมเคียง แซ่โง้ว สําราญ ยวง อุย้ เช็ง แซ่โง้ว, โยเซฟ สํารวย, คุณซุกคุน้ แซ่คู สําราญ ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช, ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา. 27 เม.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ, ครอบครัวศรี เจริ ญ คค.ศรี เจริ ญ คุณอําพัน รอดทอง มารี อา กรรณิ กา, มารี อา ปนัดดา ลี้ยาง, คุณประมวล เทเรซา ชนินทร์ มาศ, มารี อา ภาณุมาศ, คุณวริ นทร์ พลเอก พิจิตร, คุณหญิง วิมล, คุณอรรถณพ ครอบครัวเขม้นงาน, สุ ทธิโอภาส, ลิ้มจิตรกร, ธนะสาร ครอบครัวสาธรกิจ, เตรี ยมวิชานนท์, รัตนบรรณสกุล มารี อา มาริ สา และครอบครัวเสวตรวิทย์ เทเรซา ศศิพา, เปโตร พีระพัฒน์ เสวตรวิทย์ Mrs. Lolita R. Ferrer เปโตร จํารัส, เทเรซา คําภู ชาภิรมย์ 9
4
วัน เดือน ปี อา. 27 เม.ย. 08.00 น.
รายการมิสซา อุทศิ แด่ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ต้ งั คุณพัสพัสษ์ วราเปล่งสิ นทวี บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ คุณอุย้ นิ้ว แซ่เซี้ ยว, คุณนวลจันทร์ , ด.ช.ธงชัย ธนะสาร ยวง บัปติสตา เสมียน สาธรกิจ, มารี อา ฮุยเกียว แซ่โง้ว คุณโถ เพียรช่างคิด, คุณนงรัก ธนะสาร, คุณล้อสี ดอมินิก ไชยันตร์ ปิ ติปาละ, Thomas Adams เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ, มารี อา มยุรี, มัทธิ ว เกียรติศกั ดิ์ โรซา ราตรี , อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช, คุณพัฒนา ทองธิ ว คุณสอ ชูสอน, คุณวิชยั สายแสง ฟรังซิ สเซเวียร์ จิรวัฒน์ เสวตรวิทย์และบรรพบุรุษ มารี อา มยุรี สายพรหม และญาติผลู ้ ่วงลับ เปาโล สงบ เดชาเลิศ, ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี เทเรซา พรรฑิกา, ปิ โอ ธีระพัตร ชาภิรมย์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวโกวงศ์และตันติโกสิ ชฌน์ ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑลและลี้ยาง วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 27 เม.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน 10.00 น. ดอมินิก ภูวนัย หงษ์แก้ว และครอบครัว เทเรซา วรกานต์ พร้อมเจริ ญวัฒนา เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว และครอบครัวเตียวเจริ ญ คุณยุพิน ศิริพฒั น์ และครอบครัว คุณสรวิศ, คุณพิมพ์ชนก รัตนพิเศษ คุณสัณหพล เหลืองอร่ าม
10
ผู้ขอมิสซา คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ วิภาวนี รสมาลิน/คค.อุชชิน คค.อุชชิน คค.ธนาพานิชย์ มาลินี วิไลวรรณ
คําสังนี ่ ้แฝงนัยสําคัญ 3 ประการ คือ 1. พระเยซูเจ้าทรงต้ องการพระศาสนจักร เพราะพระองค์กําลังจะ เสด็จกลับไปหาพระบิดา พระองค์จงึ ต้องการให้พระศาสนจักรเป็ นดังปาก มือ และ เท้าของพระองค์เพื่อนําข่าวดีไปสู่มนุ ษย์ทุกคน โดยไม่เลือกเชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ วัย หรือฐานะ พระศาสนจักรจึงเป็ น “พระวรกาย” ของพระองค์ โดยมีพระองค์เป็ น “ศีรษะ” (อฟ 1:23; 1 คร 12:12) 2. พระศาสนจัก รต้ อ งการพระเยซู เ จ้ า เพราะพระองค์คือ “ผู้ส่ ง ” พระศาสนจักรออกไป เหมือนดังทีพ่ ระบิดาทรงส่งพระองค์ลงมา นอกจากเป็ น “ผูส้ ง่ ” แล้ว พระองค์ยงั ทรงเป็ นผูม้ อบข่าวดี ผูส้ นับสนุ น ผูส้ อ่ งสว่างจิตใจ และผูป้ ระทานพละกําลังรวมถึงความกล้าหาญในการปฏิบตั ภิ ารกิจที่ ได้รบั มอบหมายอีกด้วย หากปราศจาก “ผูส้ ง่ ” ดังเช่นพระองค์ พระศาสนจักรย่อมไม่มขี า่ วดีจะ ประกาศ และย่อมไม่มอี าํ นาจอันใดเลยทีจ่ ะอภัยบาปแก่มนุษย์ 3. พระศาสนจักรต้ องนบนอบพระเยซูเจ้า เพราะพระองค์ตรัสว่า “พระบิดาทรงส่งเรามาฉันใด เราก็สง่ ท่านทัง้ หลายไปฉันนัน้ ” พระบิดาทรงส่งพระองค์มาประกาศข่าวดีและไถ่บาปมนุ ษย์ พระองค์ ทรงน้ อ มรับ ภารกิจ ดัง กล่ าวด้ว ยความรัก และความนบนอบเชื่อฟ งั สูงสุดจนถึงกับ ยอมรับความตาย แม้เป็ นความตายบนไม้กางเขน เช่นเดียวกัน พระศาสนจักรจะปฏิบตั ิภารกิจที่ได้รบั มอบหมายจน สําเร็จลุล่วงได้กต็ ่อเมือ่ “รักและนบนอบเชือ่ ฟังพระองค์ด้วยสิ้ นสุดจิ ตใจ” เท่านัน้ ความรักและความนบนอบนี้เอง เรียกร้องให้พระศาสนจักรประกาศ ข่าวดีของพระเยซูเจ้า ไม่ใช่ขา่ วดีของพระศาสนจักรหรือของผูห้ นึ่งผูใ้ ดโดยเฉพาะ อีก ทัง้ ต้องพร้อมเผชิญหน้าและแก้ไขปญั หาต่างๆ ตามพระประสงค์ของพระองค์ ไม่ใช่ ตามนโยบายหรือตามความนึกคิดประสามนุษย์ของพระศาสนจักรเอง หากยึดพระประสงค์ของพระองค์เป็ นที่ตงั ้ ดังนี้แล้ว ปญั หาต่างๆ ที่ รุมเร้าพระ ศาสนจักรก็จะคลีค่ ลายลง 3
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลปัสกา (ปี A)
ยน 20:19-31
1. “พระบิดาทรงส่งเรามาฉันใด เราก็ส่งท่านทัง้ หลายไปฉันนัน้ ” หลังจากพระเยซูเจ้าทรงถูกตรึงตายบนไม้กางเขนแล้ว บรรดาอัครสาวก กลับมาหลบซ่อนอยู่ในห้องที่เคยใช้เลี้ยงอาหารคํ่ามือ้ สุดท้าย คอยเงีย่ หูฟงั เสียงคน ขึ้นบันไดหรือเคาะประตู ด้วยความหวาดกลัว เกรงว่าเจ้าหน้ าที่ของสภาสูงจะมา จับกุม และคงไม่แคล้วถึงเวรของพวกตนที่จะถูกตัดสินประหารชีวติ ให้ตายตกตาม พระอาจารย์ไป ทันใดนัน้ ทัง้ ๆ ที่ป ระตู ห้องยังปิ ดอยู่ พระเยซูเ จ้าเสด็จมาประทับ ยืน อยู่ ท่ามกลางพวกเขาตรัสว่า “สันติสขุ จงสถิตอยูก่ บั ท่านทัง้ หลายเถิด” (ยน 20:19) คํา “สันติสขุ ” หรือ shalōm (ชาโลม) ในภาษาฮีบรู ไม่ได้หมายถึงเพียง “พ้น ทุกข์” แต่หมายรวมถึง “ขอให้บรรลุความดีและความสมบูรณ์สงู สุด” ด้วย พระองค์จงึ ไม่เพียงวอนขอให้บรรดาอัครสาวกรอดพ้นจากภยันตรายเท่านัน้ แต่ทรงวอนขอพระบิดาเจ้าโปรดประทานสิง่ ที่ “ดีทีส่ ดุ ” แก่พวกเขาด้วย หลัง จากประทานพรและให้บ รรดาอัค รสาวกดูพ ระหัต ถ์แ ละด้านข้า งพระ วรกายจนพวกเขาเชื่อว่าทรงเป็ น “องค์พระผูเ้ ป็ นเจ้า” แล้ว (ยน 19:20) พระองค์ทรง เข้าสู่ประเด็นสําคัญทันที นัน่ คือทรงสังว่ ่ า “พระบิ ดาทรงส่งเรามาฉันใด เราก็ส่ง ท่านทัง้ หลายไปฉันนัน้ ” 2
อา. 27 เม.ย. สุ ขสํ าราญ ราฟาแอล ชัยพฤกษ์, มีคาแอล ธันวา ประคีนวิชา 10.00 น. คุณบานเย็น, พิมพ์ชนก, เกรี ยงไกร, อดุลย์ สิ งห์ชาลี คุณนลพรรณ, คุณสาธิต พันธุ์โอภาส ครอบครัวเจริ ญเดชปรี ชา ครอบครัวเรี ยบร้อย, ครอบครัวชวประพันธ์ อุทศิ แด่ เซอร์ อาเดลา พิศุทธิ์สินธพ ภคินี โอเดสตา แก้วพวง มารี อา กิมฮวย แซ่อ้ ึง, คุณอัศวเทพ เทพานนท์ มารี ย ์ ต้ายไถ่ แซ่โฮ, เปาโล จือกอง แซ่จาง เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ และบรรพบุรุษ ยอแซฟ เพียรจิตร ตรั่นวัน, นายหมู่เอกแก้ว รัตนพิเศษ คุณโหย เลวัน และญาติผลู้ ่วงลับ ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี , มารี อา ซิ่ วเคี้ยม แซ่ล้ ี อันนา เอิน แซ่เหวียน, เปโตร กําแหง ชาวประมง อันนา กิม แซ่แพ้, ยอแซฟ สื อยิด แซ่โง้ว เทเรซา มยุรี แจ่มเกียรติเลิศ และบรรพบุรุษ ฟรังซิ สโก ถนอม, คุณเปลี่ยว ผิวเกลี้ยง เปโตร ดนตรี , ฟรังซิ สโก บุญเกียรติ ไชยเผือก คุณซี ฮวง, มารี อา กิมลี้, แบร์นาแด๊ด นิภา, ฟิ ลิป มุ่ยซิ ม คุณเช้ง แซ่จึง, เรนาโต ผดุง สุ ขสยาม, คุณเส่ ง แซ่ล้ ี คุณก้านทอง แสงปัญหา วิญญาณทารกผูว้ มิ ล วิญญาณในไฟชําระ และวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง จ.28 เม.ย. อุทศิ แด่ ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี อ. 29 เม.ย. อุทศิ แด่ ดอมินิก ไชยันตร์ ปิ ติปาละ พ. 30 เม.ย. สุ ขสํ าราญ โทมัส อไควนัส จิตรภาณุ กิจปกครอง พฤ. 1 พ.ค. อุทศิ แด่ ดอมินิก ไชยันตร์ ปิ ติปาละ ศ. 2 พ.ค. อุทศิ แด่ ลูกา อรุ ณ เศรษฐเสรี
ชวนี อัญชลี พิศิษฎ์ สรวิศ สรวิศ พรภัสสร สุ ปานี สุ รีย ์ สุ รีย ์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ รุ่ งโรจน์ สุ รีย ์ รสมาลิน นิราวัล/มาลินี รสมาลิน 11
ฉบับที่ 524 วันอาทิตย์ที่ 27 เมษายน ค.ศ. 2014
สั ปดาห์ ที่ 2 เทศกาลปัสกา (ปี A) วันอาทิตย์น้ ี ขอเชิ ญพี่น้องรับชมการถ่ายทอดสดพิธีสถาปนานักบุญยอห์นที่ 23 และนักบุญจอห์น ปอลที่ 2 ตั้งแต่เวลา 15.00น.เป็ นต้นไป ณ วัดน้อย วันอาทิตย์หน้า (4 พฤษภาคม ศกนี้ ) เป็ นวันอาทิตย์ตน้ เดือน พี่นอ้ งท่านใด ประสงค์นาํ บุตรหลานเด็กเล็กมารับศีลล้างบาป โปรดติดต่อสํานักงานวัด ขอเชิญพี่นอ้ งนํากระปุกมหาพรตที่รับไปเพื่ออดออมตลอดเทศกาลมหาพรตนี้ มาส่ งคืนที่สาํ นักงานวัด ตั้งแต่วนั อาทิตย์ปัสกานี้ เป็ นต้นไป วัดจะรวบรวมส่ ง อัครสังฆมณฑลเพื่อนําไปช่วยเหลือผูย้ ากไร้ต่อไป ประกาศครั้งที่ 3 การสมรส ณ วัดแม่ พระกุหลาบทิพย์ เปโตร วีรสุ ทธิ์ อิทธิหิรัญวงศ์ บุตร นายวิสุทธิ์ อิทธิหิรัญวงศ์ และนางเพ็ญรุ่ ง มีแสงธรรม จะเข้ าพิธีสมรสกับ นางสาวภาสิ นี แพ่งสภา บุตรี นายทวีศกั ดิ์ และ ด.ต.(หญิง) นิภา แพ่งสภา วันเสาร์ที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ.2014 เวลา 10.00 น. **ผูใ้ ดพบข้อขัดขวาง โปรดแจ้งคุณพ่อเจ้าอาวาส** 12
ท่ านเชื่อเพราะได้ เห็นเรา
ผู้ทเี่ ชื่อแม้ ไม่ ได้ เห็น ก็เป็ นสุ ข ยน 20:29