ฉบับที่ 531 วันอาทิตย์ที่ 15 มิถนุ ายน ค.ศ. 2014
ฉบับที่ 531 วันอาทิตย์ที่ 15 มิถนุ ายน ค.ศ. 2014
สมโภชพระตรีเอกภาพ (ปี A)
สมโภชพระตรีเอกภาพ (ปี A)
พระเจ้าทรงรักโลก
พระเจ้าทรงรักโลก ยน 3:16
ยน 3:16
สมโภชพระตรีเอกภาพ (ปี A) ยน 3:16-18
1. กําเนิดพระตรีเอกภาพ ในบท “ข้าพเจ้าเชือ่ ” ของสภาสังคายนาแห่งเมืองนีเชอา (ปี ค.ศ. 325)ได้ กล่าวถึงกําเนิดของพระบุตรไว้ ว่า “ทรงบังเกิ ดจากพระบิดา” ในขณะทีพ่ ระจิต “ทรง เนื อ่ งมาจากพระบิดาและพระบุตร” นักบุญโธมัส อะไควนัส อธิบายความแตกต่างระหว่าง “บังเกิด” และ “เนือ่ ง” ไว้ดงั นี้ 1. พระเจ้าทรงมีสติ ปัญญาสําหรับคิ ด และอําเภอใจสําหรับรัก 2. สิง่ ทีพ่ ระเจ้าทรงคิดตัง้ แต่นิรนั ดรคือ “ตัวพระองค์เอง” เพราะยังไม่มี สิง่ อื่นใดให้พระองค์ทรงคิดถึง 3. เมื่อทรงคิด “ย่อมก่อให้เกิดตัวแทน” ของสิง่ ทีท่ รงคิด (เช่น เวลาเรา คิดถึงมนุ ษย์ต่างดาว เรากําลังก่อให้เกิดตัวแทนหรือ “มโนภาพ” ของมนุ ษย์ต่างดาว ขึน้ ในความคิดของเรา) 4. เนื่องจากพระเจ้าไม่ทรงมีขอบเขต ความคิดของพระองค์ย่อมไม่มี ขอบเขต นันคื ่ อทรงคิด “ครัง้ เดียว” ก็ครบครันและครอบคลุมทุกสิง่ อีกทัง้ “ตัวแทน” ของสิง่ ที่ “เกิด” จากความคิดของพระองค์กย็ อ่ มไม่มขี อบเขตไปด้วย พระคัมภีรเ์ รียก “ตัว แทน” ที่เ กิด จากความคิด นี้ ว่ า “ภาพทีแ่ ลเห็น ได้ข องพระเจ้า ทีแ่ ลเห็น ไม่ไ ด้”, “พระวจนาตถ์”, “พระปรีชาญาณ” ฯลฯ
อา. 15 มิ.ย. 10.00 น.
อุทศิ แด่
ยอแซฟ สมัคร พงษ์เพิ่มมาศ มารี อา จันทรา สุ เสงี่ยม วีรยา ลูซีอา ดารุ ณี อมาตยกุล เทเรซา เชงจวง, ฟรังซิ สโก พูน สมพานิชและญาติ โรซา สรวิศ,พิมพ์ชนก ยอแซฟ เพียรจิตร ตรั่นวัน, คุณโหย เลวัน สรวิศ,พิมพ์ชนก คุณหมู่เอกแก้ว รัตนพิเศษ และญาติพี่นอ้ ง มารี ย ์ ต้ายไถ่ แซ่โฮ่, เปาโล จาง จือ กวง ภวิกา, พิศิษฎ์ ซี มอน สุ ชิน กิจบํารุ ง ระริ น เทเรซา พรทิพย์ พันธุ์รัตนไพฑูรย์ ฟรังซิ ส บอร์เยีย สมจิตต์ ศุภบรรพต คค.ศุภบรรพต ยวง บัปติสตา ธนารัตน์ ผ่องบุรุษ ยวง บัปติสตา สําราญ สุ ภากิจ เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ และบรรพบุรุษ ฟรังซิ สเซเวียร์ จิรวัฒน์ เศวตรวิทย์ และบรพพบุรุษ มาริ สา ยอแซฟ อุดม, โรซา สมศรี ลิมาลัย โรซา ทัศนีย ์ บุญเจริ ญ วไลพร อันนา ทองสุ ข, ดอมินิโก บัวลา สร้อยสูงเนิน พรรณพัฒน์ เปโตร นิลลา ศรี ไพร ไพรจันทึก พรรณพัฒน์ ยากอบ อัมฤทธิ์ , สเตฟานโน นาตัน ยงบรรทม มุติสนา คําตัน ยงบรรทม อักแนส แช่มชร้อย สกลธวัฒน์ และญาติผลู้ ่วงลับ อันนา โกเล็ต ชาวประมง, เปโตร เพียร ภวนเวียงจันทร์ พรภัสสร เปาโล มงคล, เซซี ลีอา อานุช สวีรวงศ์ ลัดดา อักเนส ลดาวัลย์, คุณจารุ วรรณ สวีรวงศ์ ลัดดา คุณสอางค์ ชุ่มชื่น, คุณเซ่งกี, คุณคิ้ม แซ่ลิ้ม ลัดดา คุณกรรณิ การ์ สวีรวงศ์, คุณอรุ ณี เนตรวิจิตร ลัดดา เฟนันโด, ปั งซิ โด ซาเวียร์ ลัดดา ลัดดา โรซา บุญยิง่ , ซิ ลเวสเตอร์ สุ รพงษ์ กิจเจริ ญ 11
2
วัน เดือน ปี อา. 15 มิ.ย. 08.00 น.
อา.15 มิ.ย. 10.00 น.
10
รายการมิสซา อุทศิ แด่ คุณพ่อ เรย์มอนด์ อัลเล็น เบรนนัน C.Ss.R. คุณพ่อ ลอว์เล็นซ์ แพติน C.Ss.R. นักบวชชาย-หญิงที่ล่วงลับไปแล้ว อันนา ชูศรี ทรัพย์อาภารัตน์ มารี อา วิไลลักษ์ เอื้ออุณหกิจ เปาโล จงออน ตันติโกสิ ชฌน์ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ ซี มอน สุ ชิน กิจบํารุ ง ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั คุณพัสพัสษ์ วราเปล่งสิ นทวี บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ โรซา ราตรี ลี้ยาง, อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช คุณสอ ชูสอน, คุณพัฒนา ทองธิว, คุณวิชยั สายแสง ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑล, ลี้ยาง, ริ้ วงาม วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว คุณยุพิน ศิริพิพฒั น์ และครอบครัว คุณสรวิศ, คุณพิมพ์ชนก, คุณสุ ชาดา รัตนพิเศษ เทเรซา ลัดดา วงศ์เสถียรโสภณ เปโตร ไพบูลย์ ดีสุดจิตร์ เทเรซา น้อย กังศิริกลุ อานาสตาซี อา ประนอม กาญจนธานินทร์ ครอบครัวอาดัมส์, ครอบครัวอุชชิน ครอบครัวสุ วรรณจิต ครอบครัวลิมาลัย
ผู้ขอมิสซา สมคิด สมคิด คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ วิไลวรรณ คค.รัตนพิเศษ วิษณุ -
5. เพราะความคิดของพระเจ้าก่อให้เกิดพระวจนาตถ์ ความสัมพันธ์ ระหว่างพระเจ้ากับพระวจนาตถ์จงึ ได้แก่ “พ่อ-ลูก” หรือ “พระบิดาและพระบุตร” จากภาษาเชิงเปรียบเทียบเหล่านี้ จึงนํ ามาสู่การยืนยันว่า “ข้าพเจ้าเชือ่ ว่า พระเยซูคริสตเจ้าทรงเป็ นพระบุตรองค์เดียวของพระเป็ นเจ้า ทรงบังเกิดจากพระบิดา ก่อนกัปก่อนกัลป์ เป็ นพระเป็ นเจ้าจากพระเป็ นเจ้า เป็ นองค์ความสว่างจากองค์ความ สว่าง เป็ นพระเป็ นเจ้าแท้จากพระเป็ นเจ้าแท้ มิได้ถูกสร้าง แต่ทรงบังเกิดร่วมพระ ธรรมชาติเดียวกับพระบิดา….” ดังได้กล่าวแล้วว่า พระเจ้าทรงมีสติ ปัญญาสําหรับคิ ด และอําเภอใจสําหรับ รัก 1. ตัง้ แต่นิรนั ดร พระบิดาทรงรักพระบุตรอย่างไม่มขี อบเขต 2. แต่ความรักของพระบิดาไม่ได้ก่อให้เกิดมโนภาพของพระบุตรผูเ้ ป็ นที่ รัก เพียงแต่โน้มน้าวให้ทงั ้ พระบิดาและพระบุตรมีความสัมพันธ์เป็ นหนึ่งเดียวกัน 3. ความรักซึ่งไม่มขี อบเขตของพระบิดาจึงไม่ได้เกิดจากพระบิดา แต่ “เนือ่ ง” มาจากพระบิดาและพระบุตรทรงรักกันและกัน 4. ความรัก อัน เนื่ อ งมาจากพระบิด าและพระบุ ต รนี้ เป็ น ผลงานของ “อําเภอใจ” หรือ “จิตใจ” ของพระเจ้า จึงได้รบั พระนามว่า “พระจิต” เราจึงยืนยันว่า “ข้าพเจ้าเชือ่ ว่า พระจิตทรงเป็ นพระเป็ นเจ้าผู้บนั ดาลชีวิต ทรงเนือ่ งมาจากพระบิดาและพระบุตร ทรงรับสักการะและพระสิรริ ุ่งโรจน์ร่วมกับพระ บิดาและพระบุตร พระองค์ดาํ รัสทางประกาศก” นักเทววิทยามักยกคุณสมบัติให้แต่ ละพระบุคคลแตกต่างกันไปทัง้ ๆ ที่ใน ความเป็ นจริง ทัง้ สามพระบุคคลต่างมีคุณสมบัตทิ งั ้ หมดร่วมกัน สิง่ ทีน่ ักเทววิทยายกให้เป็ นคุณสมบัตขิ องพระบิดาคือทรงสรรพานุ ภาพ และ ผลงานทีเ่ ด่นชัดคือการเนรมิตสร้างโลก ปรีช าญาณและผลงานทัง้ หมดของปรีช าญาณคือ คุ ณ สมบัติข องพระบุ ต ร เพราะว่าพระองค์ทรงบังเกิดจากสติปญั ญาของพระบิดา
3
ส่วนคุณสมบัติของพระจิต ผู้ทรงเนื่องมาจากความรักของพระบิดาและพระ บุตร คือความรักและความดี และเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว พระจิตเจ้าทรง ประทานพระพร 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. พระคุณเจ็ดประการเพื่อทําให้แต่ละคนศักดิ ์สิทธิ ์ ประกอบด้วยปรีชา ญาณ ความเข้าใจ คําแนะนํ า ความกล้าหาญ ความรู้ ความศรัทธา และความยําเกรง พระเจ้า 2. พระคุณพิเศษ (Charismata) ทีท่ รงประทานแก่บางคนเพื่อความดีของ ส่วนรวม
2. พระเจ้าทรงรักโลก สําหรับผูท้ ม่ี พี ระเจ้าอยูใ่ นหัวใจ นี ค่ ือสาระสําคัญของข่าวดี ทีว่ ่าเป็ นสาระสําคัญ เพราะพระพระเยซูเจ้าทรงเผยความจริงว่า “พระเจ้าทรง รักโลกอย่างมาก จึงประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระองค์ เพือ่ ทุกคนทีม่ ี ความเชือ่ ในพระบุตรจะไม่พนิ าศ แต่จะมีชวี ติ นิรนั ดร” (ยน 3:16) ความจริง ข้อ นี้ ทํา ให้เ ราทราบเรื่อ งราวเกี่ย วกับ พระบิด า และบทบาทของ พระองค์ใน “พระตรีเอกภาพ” ชนิดทีไ่ ม่มใี ครเคยคาดคิดมาก่อน นันคื ่ อ 1. พระบิ ดาคือผูร้ ิ เริ ม่ แผนการแห่งความรอด หลายครัง้ ศาสนาของเราได้รบั การนําเสนอราวกับว่า อับราฮัม โมเสส หรือบรรดาประกาศกต้องคอยทําให้พระบิดาสงบสติอารมณ์ ลง หรือต้องคอยชักนํ า พระองค์ให้ยกโทษแก่ชาวอิสราเอลบ่อยครัง้ บางคนพูดถึงพระบิดาว่าทรงเป็ นพระเจ้าทีน่ ่าเกรงขาม โกรธง่าย และ ชอบจดจําความผิด ส่ว นความอ่อนโยน ความรัก และการให้อภัยนัน้ เป็ นลักษณะ พิเศษเฉพาะของพระบุตร ยิง่ ไปกว่านัน้ บางคนถึงกับพูดว่าเป็ นพระบุตรนัน่ เองทีท่ รง เปลีย่ นทัศนคติของพระบิดาจากชอบลงโทษมาเป็ นให้อภัยมนุ ษย์ 4
มิสซาสมโภชพระตรีเอกภาพ (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ส. 14 มิ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว 18.00 น. เซซี ลีอา นริ ศรา สุ ขวัฒนางกูร ซิ มป์ สัน คุณเกียรติศกั ดิ์ ไตรตรึ งษ์ทศั นา อุทศิ แด่ เทเรซา เชง จวง, ฟรังซิ สโก พูน สมพานิชและญาติ อันตน สําเริ ง โกญจนาท สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ยวง บัปติสตา ธนารัตน์ ผ่องบุรุษ ยวง บัปติสตา สําราญ สุ ภากิจ ฟรังซิ สเซเวียร์ จิรวัฒน์ เศวตรวิทย์ และบรรพบุรุษ ซี มอน สุ ชิน กิจบํารุ ง ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา.15 มิ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัว อันนา ชุลี วีระวัฒนาเดช มารี อา กรรณิ กา, มารี อา ปนัดดา ลี้ยาง, คุณประมวล เทเรซา ชนินทร์ มาศ, มารี อา ภาณุมาศ พงศ์พนั ธุ์พฒั น์ พลเอก พิจิตร, คุณหญิง วิมล กุลละวณิ ชย์ คุณวริ นทร์, คุณชนาภา เทียมจรัส ยอแซฟ สุ ชารี ย ์ แสงหาญ, มารี อา ธันยพร ศศิสุวรรณ ยอแซฟ ปัณณธร, ยอแซฟ ภัทรกร แสงหาญ มารี อา จินดา เส็งเจริ ญ ครอบครัวทรงสัตย์
ผู้ขอมิสซา ธนพร โรซา เริ งจิต มาริ สา จินดา คค.ศรี เจริ ญ 9
หนึ่งครั้ งวันอาทิตย์
คุณพ่อฉลองรัฐ สังขรัตน์ www. facebook.com/Charlongrath Sang Karat 22 มิถนุ ายน 2014 บุญทิง้ กับ บุญหนับ อยากทําบุญทําทาน ประสาความคิด “หว่ านพืช หวังผล ทําบุญหวั งสวรรค์ ” มนุษย์ หนอก็ คิดแบบนี ้ อยากได้ ความมั่นคง ความมั่งคั่งตาม ประสาอยาก ที่สดุ ก็พบเพื่อนบ้ าน ที่ชอบทําบุญเหมือนกัน แต่ต่างศาสนากัน ก็มีวิธีคิด วิธีลดั เพื่อให้ “บุญ” ส่งผลเฉียบพลัน กับตัวเอง “ นีแ่ ก เป็ นพุทธ ทําบุญอย่างไรให้ได้บญ ุ ” บุญทิ ้งตังคํ ้ าถาม “ ก็ขีดวงกลมไว้ทีพ่ ืน้ แล้วเอาเงิ นโยนขึ้นไปข้างบน ถ้าตกลงมาในวงกลม ก็เป็ น เงิ นของพระเบือ้ งบน” คนพุทธกล่าว “ ส่วนอิสลาม ถ้าโยนขึ้นไป ตกนอกวงกลม พระไม่เอาก็เป็ นของเรา” คนมุสลิม กล่าว “ แล้วคนคริสต์ คาทอลิกหละ” สองคนถามพร้ อมกัน “ ง่ายนิ ดเดี ยว โยนขึ้ นไปบนฟ้า ถ้าเงินตกลงบนพื้นก็เป็ นของเราทั้งหมด ถ้ า ค้ างอยู่บนฟ้าไม่ ตกลงมา ถึงจะเป็ นของพระ แสดงว่าพระหยิ บไปแล้ว”
รม. 15:25-26 “เวลานี้ ข้าพเจ้ากํา ลังเดิ น ทางไปยังกรุ งเยรู ซาเล็ม เพื่ อ รั บ ใช้ บรรดาคริ สตชนที่นนั่ เนื่ องจากชาวมาซี โดเนี ยและชาวอาคายาต้องการทําบุญ ช่วยเหลือคนยากจนในกลุ่มคริ สตชนที่กรุ งเยรู ซาเล็ม”
แต่วนั นี้ พระเยซูเจ้าทรงยืนยันว่า พระบิ ดาคือผู้เริ ม่ ต้ นแผนการ แห่ งความรอด พระองค์คอื ผูท้ ่ี “ประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระองค์” ลงมาบังเกิดเป็ นมนุษย์ พระองค์ทรงกระทําเช่นนี้เพราะ “ทรงรักโลกอย่างมาก” “ความรัก” คือสิง่ ทีอ่ ยูเ่ บื้องหลังแผนการแห่งความรอด “ความรัก” คือสิง่ ทีท่ ําให้พระบิดา พระบุตร และพระจิตเป็ น “พระตรี เอกภาพ” นันคื ่ อ มีสามพระบุคคล แต่เป็ นพระเจ้าหนึ่งเดียว 2. ธาตุแท้ของพระเจ้าคือความรัก เป็ นการง่ายมากที่เราจะคิดและเชื่อว่า พระเจ้าทรงเฝ้าคอยจับผิด มนุ ษย์ทเ่ี ลินเล่อ ไม่เชื่อฟงั หรือทรยศพระองค์ แล้วทรงลงโทษเฆีย่ นตีเพื่อให้เขาหัน กลับมาหาพระองค์ และเป็ นการง่ายอีกเช่นกันทีจ่ ะคิดว่า พระเจ้าทรงเรียกร้องให้มนุ ษย์ ั ่ ภพยอมจํานนต่อพระองค์ เพียงเพราะ สามิภกั ดิ ์และจงรักภักดีต่อพระองค์ และให้ทวพิ ต้องการอวดศักดาบารมีของพระองค์เอง แต่ พระเยซูเจ้าตรัสชัดถ้อยชัดคําว่า พระเจ้าทรงกระทําทุกสิง่ เพื่อ มนุษย์จะ “ไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิ รนั ดร” (ยน 3:16) นันคื ่ อพระองค์ทรงกระทําทุกสิง่ มิใช่เพื่ออวดศักดาหรือทําให้โลกสยบ อยูแ่ ทบพระบาทของพระองค์ แต่เพือ่ ให้เรามนุ ษย์มชี วี ติ นิรนั ดรเหมือนพระองค์ พระองค์จะไม่มวี นั มีความสุขจนกว่าเรา ผู้เป็ นลูกของพระองค์ จะ กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัย ทัง้ นี้เพราะธาตุแท้ของพระเจ้าคือ “ความรัก” ! 3. สิ ง่ ทีพ่ ระเจ้าทรงรักคือโลก พระวาจานี้บ่งบอกถึงความกว้าง ความยาว และความลึกแห่งความ รักของพระตรีเอกภาพว่ายิง่ ใหญ่เพียงใด พระเจ้า มิไ ด้ท รงรัก เฉพาะชาวยิว เฉพาะคนดี หรือ เฉพาะผู้ท่ีร ัก พระองค์
พระองค์ทรงรักคนทัง้ โลก ! 8
5
แม้แต่ผทู้ น่ี ่ารังเกียจ หรือโดดเดีย่ วไร้คนเหลียวแล ล้วนรวมอยูใ่ นความรักอัน กว้างใหญ่ไพศาลของพระเจ้าโดยไม่เว้นใครเลย ดังที่นักบุญเอากุ สตินกล่าวไว้ว่า “พระเจ้าทรงรักเราแต่ละคนราวกับว่ามีเราเพียงคนเดียวให้พระองค์รกั ”
3. ผูท้ ี่ไม่มีความเชื่อจะถูกตัดสินลงโทษ
ตรงกันข้ามเมื่อเผชิญหน้ากับพระองค์แล้วเรารูส้ กึ เฉยๆ เย็นชา ซํ้าร้ายบาง คนยังรูส้ กึ ว่าพระองค์เข้ามายุ่งเกี่ยวกับชีวติ ของตนมากเกินไป หากพระองค์ถอยไป ห่างๆ หน่ อยก็จะดี ถ้าปฏิกิรยิ าของเราเป็ นดังนี้ เรานัน่ แหละกําลังตัดสินลงโทษ ตัวเอง พระตรี เ อกภาพทรงมี “ความรัก ” เป็ นธาตุ แ ท้ เป็ นเรานั น่ แหละที ่ ตัดสิ นลงโทษตัวเอง !
เราพึ่งได้ยนิ ว่า “พระเจ้าทรงรักโลกมากจนประทานพระบุตรเพียงพระองค์ เดียวของพระองค์แก่มนุ ษย์” แล้วอีกสองบรรทัดต่อมายอห์นกลับพูดว่า “ผูท้ มี ่ คี วาม เชือ่ ในพระบุตรจะไม่ถูกตัดสินลงโทษ แต่ผูท้ ไี ่ ม่มคี วามเชือ่ ก็ถูกตัดสินลงโทษ” (ยน 3:18) ยิง่ ไปกว่านัน้ พระเยซูเจ้าเองยังตรัสว่า “เรามาในโลกนี้เพือ่ พิพากษา” (ยน 9:39) ปญั หาคือ พระเจ้าทรงรักและตัดสิ นลงโทษมนุษย์ในเวลาเดี ยวกันได้ อย่างไร ? เราสามารถอธิบายได้ดงั นี้ สมมุติว่าเรารักและคลังไคล้ ่ ดนตรีคลาสสิกมาก เมื่อมีวงออร์เคสตราจาก ต่างประเทศเดินทางมาเปิ ดการแสดงในเมืองไทย เราอุตสาห์อดออมเก็บเงินนับหมื่น บาทเพื่อซื้อบัตรเข้าชมการแสดงสําหรับตนเองหนึ่งใบและสําหรับคนรักของเราอีก หนึ่งใบ โดยคิดว่าคนรักของเราคงต้องชอบและมีความสุขอย่างแน่ นอน แต่เมื่อการ แสดงเริม่ ไปได้สกั 10 นาที คนรักของเราเริม่ ออกอาการหงุดหงิดและเบื่อหน่ายอย่าง เห็นได้ชดั จะเห็นว่าความรักของเรากลายเป็ นการตัดสินคนรักของเราไปแล้ว และคนตัดสินย่อมไม่ใช่ตวั เราซึ่งรักเขามากแน่ ๆ แต่เป็ นคนรักของเราเอง นันแหละที ่ ต่ ดั สินตัวเองว่าเป็ นผูไ้ ม่มดี นตรีอยูใ่ นหัวใจ ! ปฏิกริ ยิ าของคนรักทีม่ ตี ่อดนตรีคอื การตัดสินตนเอง พระเยซูเจ้าทรงเปรียบได้กบั วงดนตรี พระบิดาทรงส่งพระองค์มาด้วยความ รักเพื่อช่วยมนุ ษย์ให้รอดและมีชวี ติ นิรนั ดร เมื่อเผชิญหน้ากับพระองค์แล้วเราเชื่อ วางใจ และรักพระองค์ เรากําลังตัดสินตัวเองให้อยูใ่ นหนทางแห่งความรอด 6
7
แม้แต่ผทู้ น่ี ่ารังเกียจ หรือโดดเดีย่ วไร้คนเหลียวแล ล้วนรวมอยูใ่ นความรักอัน กว้างใหญ่ไพศาลของพระเจ้าโดยไม่เว้นใครเลย ดังที่นักบุญเอากุ สตินกล่าวไว้ว่า “พระเจ้าทรงรักเราแต่ละคนราวกับว่ามีเราเพียงคนเดียวให้พระองค์รกั ”
3. ผูท้ ี่ไม่มีความเชื่อจะถูกตัดสินลงโทษ
ตรงกันข้ามเมื่อเผชิญหน้ากับพระองค์แล้วเรารูส้ กึ เฉยๆ เย็นชา ซํ้าร้ายบาง คนยังรูส้ กึ ว่าพระองค์เข้ามายุ่งเกี่ยวกับชีวติ ของตนมากเกินไป หากพระองค์ถอยไป ห่างๆ หน่ อยก็จะดี ถ้าปฏิกิรยิ าของเราเป็ นดังนี้ เรานัน่ แหละกําลังตัดสินลงโทษ ตัวเอง พระตรี เ อกภาพทรงมี “ความรัก ” เป็ นธาตุ แ ท้ เป็ นเรานั น่ แหละที ่ ตัดสิ นลงโทษตัวเอง !
เราพึ่งได้ยนิ ว่า “พระเจ้าทรงรักโลกมากจนประทานพระบุตรเพียงพระองค์ เดียวของพระองค์แก่มนุ ษย์” แล้วอีกสองบรรทัดต่อมายอห์นกลับพูดว่า “ผูท้ มี ่ คี วาม เชือ่ ในพระบุตรจะไม่ถูกตัดสินลงโทษ แต่ผูท้ ไี ่ ม่มคี วามเชือ่ ก็ถูกตัดสินลงโทษ” (ยน 3:18) ยิง่ ไปกว่านัน้ พระเยซูเจ้าเองยังตรัสว่า “เรามาในโลกนี้เพือ่ พิพากษา” (ยน 9:39) ปญั หาคือ พระเจ้าทรงรักและตัดสิ นลงโทษมนุษย์ในเวลาเดี ยวกันได้ อย่างไร ? เราสามารถอธิบายได้ดงั นี้ สมมุติว่าเรารักและคลังไคล้ ่ ดนตรีคลาสสิกมาก เมื่อมีวงออร์เคสตราจาก ต่างประเทศเดินทางมาเปิ ดการแสดงในเมืองไทย เราอุตสาห์อดออมเก็บเงินนับหมื่น บาทเพื่อซื้อบัตรเข้าชมการแสดงสําหรับตนเองหนึ่งใบและสําหรับคนรักของเราอีก หนึ่งใบ โดยคิดว่าคนรักของเราคงต้องชอบและมีความสุขอย่างแน่ นอน แต่เมื่อการ แสดงเริม่ ไปได้สกั 10 นาที คนรักของเราเริม่ ออกอาการหงุดหงิดและเบื่อหน่ายอย่าง เห็นได้ชดั จะเห็นว่าความรักของเรากลายเป็ นการตัดสินคนรักของเราไปแล้ว และคนตัดสินย่อมไม่ใช่ตวั เราซึ่งรักเขามากแน่ ๆ แต่เป็ นคนรักของเราเอง นันแหละที ่ ต่ ดั สินตัวเองว่าเป็ นผูไ้ ม่มดี นตรีอยูใ่ นหัวใจ ! ปฏิกริ ยิ าของคนรักทีม่ ตี ่อดนตรีคอื การตัดสินตนเอง พระเยซูเจ้าทรงเปรียบได้กบั วงดนตรี พระบิดาทรงส่งพระองค์มาด้วยความ รักเพื่อช่วยมนุ ษย์ให้รอดและมีชวี ติ นิรนั ดร เมื่อเผชิญหน้ากับพระองค์แล้วเราเชื่อ วางใจ และรักพระองค์ เรากําลังตัดสินตัวเองให้อยูใ่ นหนทางแห่งความรอด 6
7
หนึ่งครั้ งวันอาทิตย์
คุณพ่อฉลองรัฐ สังขรัตน์ www. facebook.com/Charlongrath Sang Karat 15 มิถนุ ายน 2014 บุญทิง้ กับ บุญหนับ อยากทําบุญทําทาน ประสาความคิด “หว่ านพืช หวังผล ทําบุญหวั งสวรรค์ ” มนุษย์ หนอก็ คิดแบบนี ้ อยากได้ ความมั่นคง ความมั่งคั่งตาม ประสาอยาก ที่สดุ ก็พบเพื่อนบ้ าน ที่ชอบทําบุญเหมือนกัน แต่ต่างศาสนากัน ก็มีวิธีคิด วิธีลดั เพื่อให้ “บุญ” ส่งผลเฉียบพลัน กับตัวเอง “ นีแ่ ก เป็ นพุทธ ทําบุญอย่างไรให้ได้บญ ุ ” บุญทิ ้งตังคํ ้ าถาม “ ก็ขีดวงกลมไว้ทีพ่ ืน้ แล้วเอาเงิ นโยนขึ้นไปข้างบน ถ้าตกลงมาในวงกลม ก็เป็ น เงิ นของพระเบือ้ งบน” คนพุทธกล่าว “ ส่วนอิสลาม ถ้าโยนขึ้นไป ตกนอกวงกลม พระไม่เอาก็เป็ นของเรา” คนมุสลิม กล่าว “ แล้วคนคริสต์ คาทอลิกหละ” สองคนถามพร้ อมกัน “ ง่ายนิ ดเดี ยว โยนขึ้ นไปบนฟ้า ถ้าเงินตกลงบนพื้นก็เป็ นของเราทั้งหมด ถ้ า ค้ างอยู่บนฟ้าไม่ ตกลงมา ถึงจะเป็ นของพระ แสดงว่าพระหยิ บไปแล้ว”
รม. 15:25-26 “เวลานี้ ข้าพเจ้ากํา ลังเดิ น ทางไปยังกรุ งเยรู ซาเล็ม เพื่ อ รั บ ใช้ บรรดาคริ สตชนที่นนั่ เนื่ องจากชาวมาซี โดเนี ยและชาวอาคายาต้องการทําบุญ ช่วยเหลือคนยากจนในกลุ่มคริ สตชนที่กรุ งเยรู ซาเล็ม”
แต่วนั นี้ พระเยซูเจ้าทรงยืนยันว่า พระบิ ดาคือผู้เริ ม่ ต้ นแผนการ แห่ งความรอด พระองค์คอื ผูท้ ่ี “ประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระองค์” ลงมาบังเกิดเป็ นมนุษย์ พระองค์ทรงกระทําเช่นนี้เพราะ “ทรงรักโลกอย่างมาก” “ความรัก” คือสิง่ ทีอ่ ยูเ่ บื้องหลังแผนการแห่งความรอด “ความรัก” คือสิง่ ทีท่ ําให้พระบิดา พระบุตร และพระจิตเป็ น “พระตรี เอกภาพ” นันคื ่ อ มีสามพระบุคคล แต่เป็ นพระเจ้าหนึ่งเดียว 2. ธาตุแท้ของพระเจ้าคือความรัก เป็ นการง่ายมากที่เราจะคิดและเชื่อว่า พระเจ้าทรงเฝ้าคอยจับผิด มนุ ษย์ทเ่ี ลินเล่อ ไม่เชื่อฟงั หรือทรยศพระองค์ แล้วทรงลงโทษเฆีย่ นตีเพื่อให้เขาหัน กลับมาหาพระองค์ และเป็ นการง่ายอีกเช่นกันทีจ่ ะคิดว่า พระเจ้าทรงเรียกร้องให้มนุ ษย์ ั ่ ภพยอมจํานนต่อพระองค์ เพียงเพราะ สามิภกั ดิ ์และจงรักภักดีต่อพระองค์ และให้ทวพิ ต้องการอวดศักดาบารมีของพระองค์เอง แต่ พระเยซูเจ้าตรัสชัดถ้อยชัดคําว่า พระเจ้าทรงกระทําทุกสิง่ เพื่อ มนุษย์จะ “ไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิ รนั ดร” (ยน 3:16) นันคื ่ อพระองค์ทรงกระทําทุกสิง่ มิใช่เพื่ออวดศักดาหรือทําให้โลกสยบ อยูแ่ ทบพระบาทของพระองค์ แต่เพือ่ ให้เรามนุ ษย์มชี วี ติ นิรนั ดรเหมือนพระองค์ พระองค์จะไม่มวี นั มีความสุขจนกว่าเรา ผู้เป็ นลูกของพระองค์ จะ กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัย ทัง้ นี้เพราะธาตุแท้ของพระเจ้าคือ “ความรัก” ! 3. สิ ง่ ทีพ่ ระเจ้าทรงรักคือโลก พระวาจานี้บ่งบอกถึงความกว้าง ความยาว และความลึกแห่งความ รักของพระตรีเอกภาพว่ายิง่ ใหญ่เพียงใด พระเจ้า มิไ ด้ท รงรัก เฉพาะชาวยิว เฉพาะคนดี หรือ เฉพาะผู้ท่ีร ัก พระองค์
พระองค์ทรงรักคนทัง้ โลก ! 8
5
ส่วนคุณสมบัติของพระจิต ผู้ทรงเนื่องมาจากความรักของพระบิดาและพระ บุตร คือความรักและความดี และเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว พระจิตเจ้าทรง ประทานพระพร 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. พระคุณเจ็ดประการเพื่อทําให้แต่ละคนศักดิ ์สิทธิ ์ ประกอบด้วยปรีชา ญาณ ความเข้าใจ คําแนะนํ า ความกล้าหาญ ความรู้ ความศรัทธา และความยําเกรง พระเจ้า 2. พระคุณพิเศษ (Charismata) ทีท่ รงประทานแก่บางคนเพื่อความดีของ ส่วนรวม
2. พระเจ้าทรงรักโลก สําหรับผูท้ ม่ี พี ระเจ้าอยูใ่ นหัวใจ นี ค่ ือสาระสําคัญของข่าวดี ทีว่ ่าเป็ นสาระสําคัญ เพราะพระพระเยซูเจ้าทรงเผยความจริงว่า “พระเจ้าทรง รักโลกอย่างมาก จึงประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระองค์ เพือ่ ทุกคนทีม่ ี ความเชือ่ ในพระบุตรจะไม่พนิ าศ แต่จะมีชวี ติ นิรนั ดร” (ยน 3:16) ความจริง ข้อ นี้ ทํา ให้เ ราทราบเรื่อ งราวเกี่ย วกับ พระบิด า และบทบาทของ พระองค์ใน “พระตรีเอกภาพ” ชนิดทีไ่ ม่มใี ครเคยคาดคิดมาก่อน นันคื ่ อ 1. พระบิ ดาคือผูร้ ิ เริ ม่ แผนการแห่งความรอด หลายครัง้ ศาสนาของเราได้รบั การนําเสนอราวกับว่า อับราฮัม โมเสส หรือบรรดาประกาศกต้องคอยทําให้พระบิดาสงบสติอารมณ์ ลง หรือต้องคอยชักนํ า พระองค์ให้ยกโทษแก่ชาวอิสราเอลบ่อยครัง้ บางคนพูดถึงพระบิดาว่าทรงเป็ นพระเจ้าทีน่ ่าเกรงขาม โกรธง่าย และ ชอบจดจําความผิด ส่ว นความอ่อนโยน ความรัก และการให้อภัยนัน้ เป็ นลักษณะ พิเศษเฉพาะของพระบุตร ยิง่ ไปกว่านัน้ บางคนถึงกับพูดว่าเป็ นพระบุตรนัน่ เองทีท่ รง เปลีย่ นทัศนคติของพระบิดาจากชอบลงโทษมาเป็ นให้อภัยมนุ ษย์ 4
มิสซาสมโภชพระตรีเอกภาพ (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี รายการมิสซา ส. 14 มิ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว 18.00 น. เซซี ลีอา นริ ศรา สุ ขวัฒนางกูร ซิ มป์ สัน คุณเกียรติศกั ดิ์ ไตรตรึ งษ์ทศั นา อุทศิ แด่ เทเรซา เชง จวง, ฟรังซิ สโก พูน สมพานิชและญาติ อันตน สําเริ ง โกญจนาท สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ยวง บัปติสตา ธนารัตน์ ผ่องบุรุษ ยวง บัปติสตา สําราญ สุ ภากิจ ฟรังซิ สเซเวียร์ จิรวัฒน์ เศวตรวิทย์ และบรรพบุรุษ ซี มอน สุ ชิน กิจบํารุ ง ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง อา.15 มิ.ย. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ และครอบครัว อันนา ชุลี วีระวัฒนาเดช มารี อา กรรณิ กา, มารี อา ปนัดดา ลี้ยาง, คุณประมวล เทเรซา ชนินทร์ มาศ, มารี อา ภาณุมาศ พงศ์พนั ธุ์พฒั น์ พลเอก พิจิตร, คุณหญิง วิมล กุลละวณิ ชย์ คุณวริ นทร์, คุณชนาภา เทียมจรัส ยอแซฟ สุ ชารี ย ์ แสงหาญ, มารี อา ธันยพร ศศิสุวรรณ ยอแซฟ ปัณณธร, ยอแซฟ ภัทรกร แสงหาญ มารี อา จินดา เส็งเจริ ญ ครอบครัวทรงสัตย์
ผู้ขอมิสซา ธนพร โรซา เริ งจิต มาริ สา จินดา คค.ศรี เจริ ญ 9
วัน เดือน ปี อา. 15 มิ.ย. 08.00 น.
อา.15 มิ.ย. 10.00 น.
10
รายการมิสซา อุทศิ แด่ คุณพ่อ เรย์มอนด์ อัลเล็น เบรนนัน C.Ss.R. คุณพ่อ ลอว์เล็นซ์ แพติน C.Ss.R. นักบวชชาย-หญิงที่ล่วงลับไปแล้ว อันนา ชูศรี ทรัพย์อาภารัตน์ มารี อา วิไลลักษ์ เอื้ออุณหกิจ เปาโล จงออน ตันติโกสิ ชฌน์ ยอแซฟ ทิวากร รักคิด และบรรพบุรุษ ซี มอน สุ ชิน กิจบํารุ ง ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั คุณพัสพัสษ์ วราเปล่งสิ นทวี บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ โรซา ราตรี ลี้ยาง, อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช คุณสอ ชูสอน, คุณพัฒนา ทองธิว, คุณวิชยั สายแสง ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑล, ลี้ยาง, ริ้ วงาม วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน เซซี ลีอา เพ็กล้วน แซ่เอี้ยว คุณยุพิน ศิริพิพฒั น์ และครอบครัว คุณสรวิศ, คุณพิมพ์ชนก, คุณสุ ชาดา รัตนพิเศษ เทเรซา ลัดดา วงศ์เสถียรโสภณ เปโตร ไพบูลย์ ดีสุดจิตร์ เทเรซา น้อย กังศิริกลุ อานาสตาซี อา ประนอม กาญจนธานินทร์ ครอบครัวอาดัมส์, ครอบครัวอุชชิน ครอบครัวสุ วรรณจิต ครอบครัวลิมาลัย
ผู้ขอมิสซา สมคิด สมคิด คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ คค.ธนาพานิชย์ วิไลวรรณ คค.รัตนพิเศษ วิษณุ -
5. เพราะความคิดของพระเจ้าก่อให้เกิดพระวจนาตถ์ ความสัมพันธ์ ระหว่างพระเจ้ากับพระวจนาตถ์จงึ ได้แก่ “พ่อ-ลูก” หรือ “พระบิดาและพระบุตร” จากภาษาเชิงเปรียบเทียบเหล่านี้ จึงนํ ามาสู่การยืนยันว่า “ข้าพเจ้าเชือ่ ว่า พระเยซูคริสตเจ้าทรงเป็ นพระบุตรองค์เดียวของพระเป็ นเจ้า ทรงบังเกิดจากพระบิดา ก่อนกัปก่อนกัลป์ เป็ นพระเป็ นเจ้าจากพระเป็ นเจ้า เป็ นองค์ความสว่างจากองค์ความ สว่าง เป็ นพระเป็ นเจ้าแท้จากพระเป็ นเจ้าแท้ มิได้ถูกสร้าง แต่ทรงบังเกิดร่วมพระ ธรรมชาติเดียวกับพระบิดา….” ดังได้กล่าวแล้วว่า พระเจ้าทรงมีสติ ปัญญาสําหรับคิ ด และอําเภอใจสําหรับ รัก 1. ตัง้ แต่นิรนั ดร พระบิดาทรงรักพระบุตรอย่างไม่มขี อบเขต 2. แต่ความรักของพระบิดาไม่ได้ก่อให้เกิดมโนภาพของพระบุตรผูเ้ ป็ นที่ รัก เพียงแต่โน้มน้าวให้ทงั ้ พระบิดาและพระบุตรมีความสัมพันธ์เป็ นหนึ่งเดียวกัน 3. ความรักซึ่งไม่มขี อบเขตของพระบิดาจึงไม่ได้เกิดจากพระบิดา แต่ “เนือ่ ง” มาจากพระบิดาและพระบุตรทรงรักกันและกัน 4. ความรัก อัน เนื่ อ งมาจากพระบิด าและพระบุ ต รนี้ เป็ น ผลงานของ “อําเภอใจ” หรือ “จิตใจ” ของพระเจ้า จึงได้รบั พระนามว่า “พระจิต” เราจึงยืนยันว่า “ข้าพเจ้าเชือ่ ว่า พระจิตทรงเป็ นพระเป็ นเจ้าผู้บนั ดาลชีวิต ทรงเนือ่ งมาจากพระบิดาและพระบุตร ทรงรับสักการะและพระสิรริ ุ่งโรจน์ร่วมกับพระ บิดาและพระบุตร พระองค์ดาํ รัสทางประกาศก” นักเทววิทยามักยกคุณสมบัติให้แต่ ละพระบุคคลแตกต่างกันไปทัง้ ๆ ที่ใน ความเป็ นจริง ทัง้ สามพระบุคคลต่างมีคุณสมบัตทิ งั ้ หมดร่วมกัน สิง่ ทีน่ ักเทววิทยายกให้เป็ นคุณสมบัตขิ องพระบิดาคือทรงสรรพานุ ภาพ และ ผลงานทีเ่ ด่นชัดคือการเนรมิตสร้างโลก ปรีช าญาณและผลงานทัง้ หมดของปรีช าญาณคือ คุ ณ สมบัติข องพระบุ ต ร เพราะว่าพระองค์ทรงบังเกิดจากสติปญั ญาของพระบิดา
3
สมโภชพระตรีเอกภาพ (ปี A) ยน 3:16-18
1. กําเนิดพระตรีเอกภาพ ในบท “ข้าพเจ้าเชือ่ ” ของสภาสังคายนาแห่งเมืองนีเชอา (ปี ค.ศ. 325)ได้ กล่าวถึงกําเนิดของพระบุตรไว้ ว่า “ทรงบังเกิ ดจากพระบิดา” ในขณะทีพ่ ระจิต “ทรง เนื อ่ งมาจากพระบิดาและพระบุตร” นักบุญโธมัส อะไควนัส อธิบายความแตกต่างระหว่าง “บังเกิด” และ “เนือ่ ง” ไว้ดงั นี้ 1. พระเจ้าทรงมีสติ ปัญญาสําหรับคิ ด และอําเภอใจสําหรับรัก 2. สิง่ ทีพ่ ระเจ้าทรงคิดตัง้ แต่นิรนั ดรคือ “ตัวพระองค์เอง” เพราะยังไม่มี สิง่ อื่นใดให้พระองค์ทรงคิดถึง 3. เมื่อทรงคิด “ย่อมก่อให้เกิดตัวแทน” ของสิง่ ทีท่ รงคิด (เช่น เวลาเรา คิดถึงมนุ ษย์ต่างดาว เรากําลังก่อให้เกิดตัวแทนหรือ “มโนภาพ” ของมนุ ษย์ต่างดาว ขึน้ ในความคิดของเรา) 4. เนื่องจากพระเจ้าไม่ทรงมีขอบเขต ความคิดของพระองค์ย่อมไม่มี ขอบเขต นันคื ่ อทรงคิด “ครัง้ เดียว” ก็ครบครันและครอบคลุมทุกสิง่ อีกทัง้ “ตัวแทน” ของสิง่ ที่ “เกิด” จากความคิดของพระองค์กย็ อ่ มไม่มขี อบเขตไปด้วย พระคัมภีรเ์ รียก “ตัว แทน” ที่เ กิด จากความคิด นี้ ว่ า “ภาพทีแ่ ลเห็น ได้ข องพระเจ้า ทีแ่ ลเห็น ไม่ไ ด้”, “พระวจนาตถ์”, “พระปรีชาญาณ” ฯลฯ
อา. 15 มิ.ย. 10.00 น.
อุทศิ แด่
ยอแซฟ สมัคร พงษ์เพิ่มมาศ มารี อา จันทรา สุ เสงี่ยม วีรยา ลูซีอา ดารุ ณี อมาตยกุล เทเรซา เชงจวง, ฟรังซิ สโก พูน สมพานิชและญาติ โรซา สรวิศ,พิมพ์ชนก ยอแซฟ เพียรจิตร ตรั่นวัน, คุณโหย เลวัน สรวิศ,พิมพ์ชนก คุณหมู่เอกแก้ว รัตนพิเศษ และญาติพี่นอ้ ง มารี ย ์ ต้ายไถ่ แซ่โฮ่, เปาโล จาง จือ กวง ภวิกา, พิศิษฎ์ ซี มอน สุ ชิน กิจบํารุ ง ระริ น เทเรซา พรทิพย์ พันธุ์รัตนไพฑูรย์ ฟรังซิ ส บอร์เยีย สมจิตต์ ศุภบรรพต คค.ศุภบรรพต ยวง บัปติสตา ธนารัตน์ ผ่องบุรุษ ยวง บัปติสตา สําราญ สุ ภากิจ เปโตร บ้วนฮง เตียวเจริ ญ และบรรพบุรุษ ฟรังซิ สเซเวียร์ จิรวัฒน์ เศวตรวิทย์ และบรพพบุรุษ มาริ สา ยอแซฟ อุดม, โรซา สมศรี ลิมาลัย โรซา ทัศนีย ์ บุญเจริ ญ วไลพร อันนา ทองสุ ข, ดอมินิโก บัวลา สร้อยสูงเนิน พรรณพัฒน์ เปโตร นิลลา ศรี ไพร ไพรจันทึก พรรณพัฒน์ ยากอบ อัมฤทธิ์ , สเตฟานโน นาตัน ยงบรรทม มุติสนา คําตัน ยงบรรทม อักแนส แช่มชร้อย สกลธวัฒน์ และญาติผลู้ ่วงลับ อันนา โกเล็ต ชาวประมง, เปโตร เพียร ภวนเวียงจันทร์ พรภัสสร เปาโล มงคล, เซซี ลีอา อานุช สวีรวงศ์ ลัดดา อักเนส ลดาวัลย์, คุณจารุ วรรณ สวีรวงศ์ ลัดดา คุณสอางค์ ชุ่มชื่น, คุณเซ่งกี, คุณคิ้ม แซ่ลิ้ม ลัดดา คุณกรรณิ การ์ สวีรวงศ์, คุณอรุ ณี เนตรวิจิตร ลัดดา เฟนันโด, ปั งซิ โด ซาเวียร์ ลัดดา ลัดดา โรซา บุญยิง่ , ซิ ลเวสเตอร์ สุ รพงษ์ กิจเจริ ญ 11
2
อา.15 มิ.ย. 10.00 น.
อุทศิ แด่
จ. 16 มิ.ย. อ. 17 มิ.ย.
อุทศิ แด่ อุทศิ แด่
ฟรังซิ สโก วิจิตร์ กาญจนธานินทร์ คาทารี นา วงศ์ประยูร เทวารุ ทธ, คุณเส่ ง วชิรจุติพงศ์ โทมัส อาดัมส์, มารี อา มยุรี ผลาวงศ์, มารี อา นิ ตยา ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน, อลิซาเบท วัลลีย ์ บูรณพันธ์ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู้ ดนึกถึง โรซา ทัศนีย ์ บุญเจริ ญ คุณเกียง ฮว่างวัน
วิษณุ วิษณุ นงเยาว์ นงเยาว์ จินดา/ลูกพระ วไลพร ธี ระ
ฉบับที่ 531 วันอาทิตย์ที่ 15 มิถนุ ายน ค.ศ. 2014
สมโภชพระตรีเอกภาพ (ปี A) วันอาทิตย์น้ ี หลังมิสซาสาย ขอเชิญพี่นอ้ งตรวจวัดความดันโลหิ ต ปรึ กษา ปั ญหาด้านสุ ขภาพกับทีมแพทย์ พยาบาลและผูเ้ ชี่ยวชาญด้านกายภาพบําบัด ณ ศาลาปี ติ การุ ณย์ วันอาทิตย์หน้า ( 22 มิถุนายน ศกนี้ ) เป็ นวันสมโภชพระวรกายและพระ โลหิ ตพระคริ สตเจ้า ขอเชิญพี่นอ้ งทุกท่านร่ วมเฝ้ าศีลมหาสนิทอย่างสง่า เวลา 9.00 – 9.45 น. (หลังมิ สซาเช้าจนถึ งเริ่ มมิ สซาสาย) และร่ วมแห่ ศีลมหาสนิ ทหลังมิ สซาสายโดย พร้อมเพรี ยงกัน ปี นี้ วัดของเรากําหนดจัดงานฉลองครบรอบ 13 ปี ของวัดในวันอาทิตย์ที่ 13 กรกฎาคม โดยมีพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรี ยงศักดิ์ โกวิทวาณิ ช เป็ นประธาน พิธีบูชาขอบพระคุณ ขอเชิญผูม้ ีจิตศรัทธาทุกท่านร่ วมมีส่วนในงานฉลองวัดปี นี้ ด้วยการ บริ จาคเงิน อาหาร ดอกไม้สาํ หรับถวายแม่พระ ฯลฯ เป็ นอาสาสมัครฝ่ ายต่าง ๆ ในการจัดงาน โปรดแจ้งความจํานงได้ที่สาํ นักงานวัด ตั้งแต่บดั นี้เป็ นต้นไป และขอขอบคุณพี่ น้องล่วงหน้ามา ณ ที่น้ ี 12
พระเจ้าทรงรักโลก ยน 3:16