สารวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ ประจำวันอาทิตย์ที่ 6 กรกฏาคม 2014

Page 1

ฉบับที่ 534 วันอาทิตย์ที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 2014

ฉบับที่ 534 วันอาทิตย์ที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 2014

สั ปดาห์ ที่ 14 เทศกาลปัสกา (ปี A)

สั ปดาห์ ที่ 14 เทศกาลปัสกา (ปี A)

ท่ านทั้งหลายทีเ่ หน็ดเหนื่อย และแบกภาระหนัก จงมาพบเราเถิด เราจะให้ ท่านได้ พกั ผ่ อน

ท่ านทั้งหลายทีเ่ หน็ดเหนื่อย และแบกภาระหนัก จงมาพบเราเถิด เราจะให้ ท่านได้ พกั ผ่ อน

มธ 11:28

มธ 11:28


สั ปดาห์ ที่ 14 เทศกาลธรรมดา มธ 11:25-30

1. ทรงเปิดเผยแก่บรรดาผูต้ าํ่ ต้อย พระเยซูเ จ้าตรัสว่า “ข้าแต่พระบิดา เจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ข้าพเจ้าสรรเสริญ พระองค์ทที ่ รงปิ ดบังเรือ่ งเหล่านี้จากบรรดาผูม้ ปี รีชาและรอบรู้ แต่ทรงเปิ ดเผยแก่ บรรดาผูต้ าํ ่ ต้อย” (มธ 11:25) คําสรรเสริญนี้ออกมาจากประสบการณ์และชีวติ จริงของพระองค์เอง บรรดา ธรรมาจารย์ ฟาริส ี และผูม้ ปี รีชารอบรูท้ งั ้ หลายไม่ยอมรับพระองค์เป็ นพระเมสสิยาห์ แต่ประชาชนผูต้ ่าํ ต้อยกลับต้อนรับพระองค์ดว้ ยความปีตยิ นิ ดีเป็ นอย่างยิง่ ที่ตรัสเช่นนี้มไิ ด้หมายความว่าพระองค์ทรงรังเกียจ “พลัง” ของสติปญั ญา แต่เป็ น “ความหยิ ง่ จองหอง” ของสติปญั ญาต่ างหากที่พระองค์ทรงรังเกียจและ ตําหนิ ทัง้ นี้ เ ป็ นเพราะความหยิง่ จองหองนัน่ เองที่ฉุ ดรัง้ มนุ ษ ย์จากพระเจ้า ส่ว น ความเฉลียวฉลาดนัน้ ไม่เคยปิ ดกัน้ เราจากพระองค์ เราอาจเฉลียวฉลาดเทียบเท่ากษัต ริย์โซโลมอน แต่ถ้าขาดหัว ใจที่สุภาพ วางใจ และใสซื่อเหมือนเด็กเล็ก ๆ เราก็ปิดกัน้ ตัวเราจากพระองค์ ปราชญ์ทา่ นหนึ่งจึงกล่าวไว้วา่ “ทีพ่ าํ นักของข่าวดีคอื หัวใจ ไม่ใช่หวั คิด” พวกธรรมาจารย์เ องก็ต ระหนัก ดีถึง อัน ตรายของความหยิ่ง จองหองของ สติปญั ญา พวกเขาจึงเล่าเรื่องเตือนใจตัวเองว่า “ครัง้ หนึง่ เกิดโรคระบาดใหญ่ในเมือง สูรา (Sura) แต่ผทู้ อี ่ าศัยอยูใ่ นละแวกเดียวกับรับ (Rab) ซึง่ เป็ นธรรมาจารย์ผมู้ ี 2

อา. 6 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระตรี เอกภาพ และพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน ครอบครัวสุ วรรณจิต, อุชชิน, อาดัมส์ ด.ช.ลุคซ์ มูลเมือง อันนา ศิวารี ย,์ สเตฟาโน ทวี แซ่โค้ว และครอบครัว ครอบครัวสัณหพล เหลืองอร่ าม คุณมาลัย ชีวนิชพันธ์ คุณวศิน นิลกําแหง มารี อา ภาณุมาศ,เทเรซา ชนินทร์ มาศ, มารี อา ปนัดดา มารี อา กรรณิ การ์, คุณวริ นทร์, คุณชนาภา คุณนพ, คุณประมวล พลเอก พิจิตร, คุณหญิง วิมล กุลละวณิ ชย์ ครอบครัวสุ พร ศรี สุข อุทศิ แด่ มารี อา จันทรา สุ เสงี่ยม โรซาทัศนีย ์ บุญเจริ ญ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน แมทธิว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต, ดร.โทมัส อาดัมส์ อลิซาเบธ วัลลีย ์ บูรณพิมพ์ ยวง บัปติสตา คอยเซ็น, อันนา ชุน้ เจา, มารี อา ซิ้ว ยอแซฟ ง้วน ศรี สุข, คุณวิชยั โกศล ยอแซฟ ศรี รัตน์, มารี อา เจียมใจ กิตติคุณ คุณสมทรง วิริยะสุ วรรณ โรซา ราตรี ลี้ยาง, อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช, คุณด้วง ลี้ยาง คุณวิชยั สายแสง, คุณสอ ชูสอน, คุณพัฒนา ทองธิว ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑล, ลี้ยาง, ริ้ วงาม นักบวชชาย-หญิงที่ล่วงลับไปแล้ว วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณและไม่มีผใู้ ดนึกถึง

วิไลวรรณ กัลยาณี มุกดา ชุลีพร วิไลวรรณ มาลา มาลินี วีรยา วไลพร กัลยาณี กัลยาณี กัลยาณี กัลยาณี บัญญัติ มาลา วิภาภัสร์ 11


มิสซาสั ปดาห์ ที่ 14 เทศกาลธรรมดา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี ส. 5 ก.ค. 18.00 น.

รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว คุณพลเชษฐ์ ชีวนิชพันธ์ คุณอภิวฒั น์ รังสิ โรจน์ อุทศิ แด่ มารี อา ชมพูนุช ชัยสุ วรรณ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 6 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ ครอบครัวศรี เจริ ญ ครอบครัวบุญเลิศ ธนาพานิชย์ ยวง พิทิกษ์ชยั , คัทริ น สุ นีย ์ กําแพงแก้ว และครอบครัว ครอบครัวพันธุมจินดา อุทศิ แด่ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ เทเรซา สลับศรี ชมไพศาล บรู โน สมเกียรติ ตั้งถาวร, คุณกุลจิรา เจิดจรรยาพงศ์ ลูโดวีโก บุญช่วย, มารี อา กิมฮวย นงค์สวัสดิ์ ยอแซฟ เกียจั้ว แซ่คู ยอแซฟ ภิรมย์, มารี อา โยเซฟิ น รัตนา พันธุมจินดา ยวง พิสิษฐ์ พันธุมจินดา, คุณวิรัช พุทธโกษา มารี อา เทรซา นงลักษณ์ จินดากุล ผูล้ ่วงลับครอบครัวพุทธโกษา,พันธุมจินดา,นิลวิเศษ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง

10

ผู้ขอมิสซา มาลินี มาลินี รัชดาวัลย์ วีณา ปริ ญญา อัญชลี อัญชลี ขนิษฎา -/วีณา สุ ดารัตน์ สุ ดารัตน์ สุ ดารัตน์ สุ ดารัตน์ พรภัสสร

ชือ่ เสียง กลับไม่มผี ใู้ ดติดโรค ชาวบ้านพากันเชือ่ ว่าคงเป็ นเพราะคุณงามความดีของ รับ แต่พวกเขาได้รบั แจ้งในฝนั ว่าเป็ นเพราะชายคนหนึง่ ซึง่ เต็มใจให้เพือ่ นบ้านยืมจอบ และพลัวสํ ่ าหรับ ขุดหลุ มฝ งั ศพ และเมือ่ เกิดไฟไหม้ทีเ่ มืองโดรเคอเรท (Drokeret) เพือ่ นบ้านของรับบีฮนู าคิดว่าเป็ นเพราะคุณงามความดีของท่านรับบี บ้านของพวกเขา จึงรอดพ้นจากกองเพลิง แต่ในฝนั พวกเขาได้รบั แจ้งว่าเป็ นเพราะหญิงคนหนึง่ ซึง่ เต็ม ใจให้เพือ่ นบ้านใช้เตาอบ” ชายและหญิงที่กล่าวถึงมิได้มสี ติปญั ญาโดดเด่นดุจเดียวกับรับบีหรือธรรมา จารย์ แต่สงิ่ เล็ก ๆ น้อย ๆ ทีพ่ วกเขาทําด้วยหัวใจทีเ่ ต็มเปี่ ยมด้วยความรักและความ สุภาพถ่อมตนต่างหากทีท่ าํ ให้พระเจ้าทรงพอพระทัย ใช่ “พระองค์ทรงพอพระทัยเช่นนัน้ ” ! (มธ 11:26)

2. ไม่มีใครรูจ้ กั พระบิดานอกจากพระบุตร ชาวกรีกถือว่ายากทีจ่ ะรูจ้ กั พระเจ้า และเมือ่ รูจ้ กั แล้วยิง่ ยากทีจ่ ะอธิบายให้ผอู้ ่นื ฟงั โซฟาร์เพื่อนของโยบได้ช้ใี ห้เห็นความลํ้าลึกของพระเจ้าเมื่อเขาถามโยบว่า “ท่านคิดว่าจะหยังรู ่ ค้ วามลึกลับของพระเจ้า และรูจ้ กั พระผูท้ รงสรรพานุ ภาพได้อย่าง สมบูรณ์หรือ ?” (โยบ 11:7) แต่วนั นี้ พระเยซูเจ้าตรัสว่า “พระบิดาทรงมอบทุกสิง่ แก่ขา้ พเจ้า” (มธ 11:27) นี่คอื เอกสิทธิ ์ชนิดเบ็ดเสร็จเด็ดขาดของพระองค์แต่เพียงผูเ้ ดียว เอกสิทธิ ์อัน เป็ นศูนย์กลางความเชื่อของเราคริสตชน นัน่ คือ “ไม่มใี ครรูจ้ กั พระบิดา นอกจากพระ บุตร และผูท้ พี ่ ระบุตรเปิ ดเผยให้ร”ู้ (มธ 11:27) หรือตามสํานวนของนักบุญยอห์นว่า “ผูท้ เี ่ ห็นเรา ก็เห็นพระบิดาด้วย” (ยน 14:9) ความหมายของพระองค์ก็คอื หากเราต้องการรูว้ ่าพระบิดาทรงมีนิสยั ใจคอ ความรูส้ กึ นึกคิด จิตใจ ตลอดจนทัศนคติต่อเราอย่างไรแล้วละก็ ให้ดทู ีพ่ ระองค์ เป็ นความเชื่อมันสู ่ งสุดของเราคริสตชนว่า ในพระเยซูคริ สตเจ้าเท่ านัน้ ที ่ เราสามารถรู้จกั พระเจ้า และพระองค์เท่ านัน้ สามารถประทานความรู้น้ ี แก่ทุก คนทีม่ ีความสุภาพถ่อมตนพอทีจ่ ะน้ อมรับความรู้นัน้ 3


3. ท่านทัง้ หลายที่เหน็ดเหนื่ อยและแบกภาระหนัก จงมาพบเราเถิด พระเยซูเจ้าตรัสถึงบรรดาธรรมาจารย์และฟารีสวี ่าพวกเขา “มัดสัมภาระหนัก วางบนบ่าคนอืน่ ” (มธ 23:4) สัมภาระหนักทีพ่ วกเขาวางบนบ่าคนอื่นคือกฎระเบียบหยุมหยิมไม่รจู้ กั จบสิน้ พวกเขาทําให้คาํ ว่า “ท่านจะต้องไม่...ท่านจะต้องไม่...” กลายเป็ นหัวใจของศาสนา พวกธรรมาจารย์เองก็รบั รูป้ ญั หาเหล่านี้ พวกเขาเล่านิทานเปรียบเทียบอันน่ า สลดใจเพื่อแสดงว่าธรรมบัญญัตินัน้ ผูกพัน บีบรัด เรียกร้อง และเป็ นภาระหนักมาก เพียงใด หญิงหม้ายยากจนคนหนึ่งมีบุตรสาวสองคนพร้อมกับนาอีกแปลงหนึ่ง เมื่อ นางเริม่ ไถนา โมเสส (นันคื ่ อธรรมบัญญัตขิ องโมเสส) บอกนางว่า “ท่านจะต้องไม่ไถนา ด้วยวัวและลาพร้อมกัน” เมือ่ นางเริม่ หว่านเมล็ดพืช โมเสสพูดว่า “ท่านจะต้องไม่หว่าน นาของท่านด้วยเมล็ดพืชต่างชนิดกัน” ต่อมานางเริม่ เก็บเกีย่ วพืชผล โมเสสคนเดิมพูด อีกว่า “เมือ่ ท่านเก็บเกีย่ วพืชผลในทุ่งนาแล้วลืมฟอ่ นข้าวไว้ ท่านจะต้องไม่กลับไปเก็บ” (ฉธบ 24:19) และ “ท่านจะต้องไม่เกีย่ วรวงข้าวทีข่ อบนาจนหมด” (ลนต 19:9) เมื่อนาง นวดข้าว โมเสสกลับมาบอกนางว่า “ท่านต้องถวายสิบชักหนึง่ ” นางก็แสนดี ปฏิบตั ิ ตามคําสังของโมเสสทุ ่ กประการ แต่เพือ่ ความอยูร่ อด นางตัดสินใจขายนาแล้วนําเงินไปซือ้ แกะสองตัว โดยหวัง จะอาศัยขนแกะทําเครือ่ งนุ่งห่ม และขายลูกแกะเกิดใหม่หารายได้ปะทังชีวติ เมื่อลูกแกะถือกําเนิดขึน้ มา อาโรน (นัน่ คือข้อเรียกร้องของสมณะ) ตรงเข้ามา บอกนางว่า “ลูกแกะหัวปีตอ้ งเป็ นของเรา” นางก็ยอมให้ลูกแกะตัวแรกไป เมื่อถึงเวลา ตัดขนแกะ อาโรน กลับมาบอกว่า “ท่านจะต้องให้ผลิตผลแรกจากข้าวสาลี เหล้าองุ่น ใหม่และนํ้ามันมะกอก รวมทัง้ ขนแกะแก่สมณะ” (ฉธบ 18:4) นางสุดทนจึงคิดจะฆ่า แกะกิน แต่อาโรนก็ตามนางไม่เลิก “สมณะจะมีสทิ ธิร์ บั ขาหน้า เนื้อแก้ม และเนื้อท้อง” (ฉธบ 18:3) นางจึงพูดกับบุตรสาวว่า “ถึงเราจะฆ่าแกะก็ยงั ไม่รอดพ้นจากเงื้อมมือของ พวกเขาอยูด่ ี อย่ากระนัน้ เลย ให้เราถวายแกะเหล่านี้แด่พระเจ้าเถิด”

ยอดปรารถนาอย่างหนึ่งของมนุษย์ คือการได้คนที่รใู้ จมาอยู่ใกล้ตวั เช่น ได้ คูค่ รองที่รใู้ จ ได้ลกู น้องที่รใู้ จ หรือได้เพื่อนร่วมงานที่รใู้ จ ทัง้ นีเ้ พราะเชือ่ ว่า คนเหล่านีจ้ ะทําให้ชีวิตมีความสุข งานการประสบความสําเร็ จ แต่คนเหล่านี้ ใช่ว่าจะหามาได้งา่ ย ๆ ดังนัน้ เราจึงอดไม่ได้ที่จะเรียกร้องและคาดหวังให้ใคร ต่อใครมารูใ้ จเรา ถ้าเขาไม่รใู้ จเรา เราก็จะหงุดหงิด หัวเสีย และกราดเกรี้ยว แต่ในขณะที่เราเรียกร้องให้คนทั้งโลกมารูใ้ จเรานั้น เราเองเคยคิดที่จะรูใ้ จ ตัวเองบ้างหรือไม่ สังเกตไหมว่าวันหนึง่ ๆ เราปล่อยให้อารมณ์ตา่ ง ๆ เข้า มายํา่ ยีบีฑาจิตใจบ่อยครัง้ เพียงใด วันแล้ววันเล่าที่เราปล่อยให้ความคิดเตลิด เปิ ดเปิ งอย่างไม่รเู้ นือ้ รูต้ วั จนกินไม่ได้นอนไม่หลับ หาไม่ก็ปล่อยให้ความโกรธ เกลียดบงการชีวิตจิตใจจนเผลอทําสิ่งที่ตอ้ งเสียใจในภายหลัง ยังไม่ตอ้ งพูด ถึงความรูส้ ึกสับสนในตัวเอง ว่าในส่วนลึกของจิตใจเราต้องการอะไรกันแน่ แม้จะมีชวี ิตที่สะดวกสบาย มีบริษทั บริวารมากมาย แต่คนจํานวนไม่นอ้ ยก็ยงั มีค วามทุก ข์เ พราะถูก หลอกล่อ ให้อ ยากได้ไ ม่ร จู้ ัก พอ หรื อ พลัด จมอยู่กับ เรื่องราวในอดีต กังวลกับอนาคต ใช่หรือไม่ว่าความทุกข์ส่วนใหญ่เกิดขึ้น เพราะว่าเราไม่รใู้ จตัวเองต่างหาก มิใช่เป็ นเพราะคนรอบข้างไม่รใู้ จเรา ถึงแม้จะหาคนรูใ้ จไม่ได้เลย แต่หากเรารูใ้ จตัวเองอย่างลึกซึ้ง ชีวิตก็ย่อมเป็ น สุข ห่างไกลจากความทุกข์ เรารูใ้ จตัวเองได้เพราะมีสติ ทําให้รทู้ นั ความรูส้ ึก นึกคิดต่าง ๆ ไม่ตกอยู่ในการครอบงําของอารมณ์ตา่ ง ๆ จึงสามารถทรง ใจให้เป็ นปกติ ไม่หวัน่ ไหวหรือขึน้ ลงไปตามแรงกระทบกระแทกของสิ่งรอบตัว สติช่วยให้ระลึกรูใ้ นกายและใจ จึงเกิดความรูส้ ึกตัวอย่างฉับไว และเห็ นสิ่ง ต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ กับกายและใจอย่างที่มนั เป็ น จึงนําไปสู่ปัญญาอันเป็ นเครื่อง ไถ่ถอนความยึดติดถือมัน่ ในตัวตน ทําให้จิตเป็ นอิสระจากความทุกข์ได้ ส่ วนหนึ่งจากหนังสื อ “รู้ ใจไกลทุกข์ ”

4

9


หนึ่งครั้ งวันอาทิตย์

คุณพ่ อฉลองรั ฐ สั งขรั ตน์ www.facebook/charlongrath Sang Karat 6 กรกฎาคม 2014

บุ ญ ทิ ง้ กั บ บุ ญ หนั บ นั ด กั น จะไปเที่ ย วหั ว หิ น แล้ วก็ ร้ องรํ า ทํ า เพลง “หัว หิ น เป็ นถิ่ นวิ ไล ขาดเธอ เปลี ่ยวใจ เงี ยบเหงา มองรักเรา เลื อนราง คลื ่นยังครํ่ า ยังครวญ จัน ทร์ แ จ่ ม ยัง นวล เย้ า ยวน ไม่ ส ร่ า ง คอยชื ่ น ชู้ อยู่ เ มิ น หมาง ฟ้ าสว่ า ง เดื อ นค้า ง ดาวหล่น หมดอาลัย ปลอบใจตน ทุกข์ จน ใจห่วง” ตามประสาวัยคนเล่าความหลัง แต่ที่สนุกกว่าคือ การพยายามคัดคานความเห็นที่ไม่ตรงกันของทังสองคน ้ ที่ถกเถียง กัน เอาชนะกันไปเสียทุกเรื่ อง แม้ แต่เรื่ องที่ร้ ูไม่จริ ง ก็ท่มุ เถียงกันหัวควํ่าหัวคะมํา “ นีแ่ ก ครัง้ หน้าฉันไม่มากับแกแล้วหัวหิ น” บุญทิ ้งโพล่งขึ ้นมาทําเอาบุญหนับฉุน “ ทําไม ฉันน่ารังเกี ยจนักหรื อไง?” บุญหนับชักไม่พอใจ “ แกไม่ดูป้าย มาหัวหิน เดินมาได้ ” บุญทิ ้งทิ ้งปริ ศนา “ อะไรตัง้ ไกล แกจะเดิ นมา” บุญหนับชักงงปนฉุน “ นีแ่ กดูป้ายข้างทาง เขาเขี ยนว่า หัวหิน-กรุ งเทพฯ สองสามก้ าว” บุญทิ ้งอ่านออก เสียง เมื่อบุญหนับหันไปดู อ่านเป็ นตัวเลขว่า “กรุ งเทพฯ 239” “ใกล้แค่นี้ แกเดิ นเองละกัน” 1 ทธ.4:15-16 “จงเอาใจใส่ และอุทิศตนในเรื่ องเหล่านี้ เพื่อให้ทุกคนแลเห็นความก้ าวหน้ าของท่าน จงดูแลทั้งตนเองและคําสัง่ สอน จงมัน่ คงต่อไปในเรื่ องดังกล่าว เพราะเมื่อทําเช่นนี้ ท่านจะช่วยทั้งตนเองและผูท้ ี่ฟังท่านให้รอดพ้น” 8

เหลือเชื่อ อาโรนพูดกับนางว่า “ของทุกอย่างทีช่ าวอิสราเอลถวายขาดแด่พระ ยาห์เวห์จะเป็ นของฉัน” (กดว 18:14) แล้วก็ฉวยแกะไปทัง้ หมด ปล่อยให้นางร้องไห้อยู่ กับบุตรสาวทัง้ สอง แม้เป็ นเพียงนิทานเปรียบเทียบ แต่กช็ ใ้ี ห้เห็นว่าธรรมบัญญัตเิ ข้ามายุ่งเกี่ยวกับ ชีวติ ของมนุ ษย์ทุกแง่ทุกมุมและไม่รจู้ กั หยุดจักหย่อนเลย ช่างเป็ นภาระทีห่ นักหนาสาหัสสากรรจ์จริง ๆ ! สํา หรับ ผู้ท่ีเ ผชิญ กับ ภาระหนัก เช่นนี้ พระองค์ต รัสว่า “ท่า นทัง้ หลายทีเ่ หน็ ด เหนือ่ ย และแบกภาระหนักจงมาพบเราเถิด เราจะให้ทา่ นได้พกั ผ่อน” (มธ 11:28) พร้อมกันนี้ ทรงเชิญชวนทุกคนว่า “จงรับแอกของเราแบกไว้ เพราะว่าแอกของ เราอ่อนนุ่ม และภาระทีเ่ ราให้ทา่ นแบกก็เบา” (มธ 11:29-30) ชาวยิวใช้คาํ ว่า “แอก” เพือ่ หมายถึง “การยอมมอบตนต่อสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ” เช่น แอก ของกฎหมายหมายถึงการยอมมอบตนปฏิบตั ติ ามกฎหมาย แอกของอาณาจักรสวรรค์ หมายถึงการยอมมอบตนต่อข้อเรียกร้องของอาณาจักรสวรรค์ แอกของพระเจ้าหมายถึง การอุทศิ ตนมอบถวายแด่พระเจ้า เป็ นต้น แอกของพระเยซูเจ้าจึงหมายถึง “การยอมมอบตนเป็ นศิษย์ของพระองค์” ทีส่ าํ คัญแอกของพระองค์น่าแบกเพราะว่า “อ่อนนุ่ม” ! คํา “อ่อนนุ่ม” ตรงกับภาษากรีก chrēstos (เครสตอส) ซึง่ หมายถึง “เหมาะพอดี” ในปาเลสไตน์ ชาวยิวทําแอกเฉพาะอันให้ววั แต่ละตัว พวกเขานํ าวัวไปให้ช่าง วัดขนาด เมื่อช่างทําแอกเสร็จ พวกเขาจะนํ าวัวกลับไปลองแอกและปรับแต่งให้เหมาะ พอดีกบั คอวัวเพือ่ จะได้ไม่เกิดแผลเวลาใส่ หมายความว่า หากเราเป็ นศิษย์ของพระเยซูเจ้า พระองค์จะประทานแอกทีไ่ ม่ทาํ ร้ายเรา เพราะมันเหมาะพอดีกบั ความจําเป็ นและความสามารถของเราแต่ละคน และเมื่อตรัสว่า “ภาระทีเ่ ราให้ท่านแบกก็เบา” (มธ 11:30) พระองค์มไิ ด้ หมายความว่าภาระของพระองค์แบกได้ง่ายหรือสบาย แต่หมายความว่าพระองค์ทรง ประทานภาระแก่เราด้วย “ความรัก” ซึง่ จะทําให้ภาระทีห่ นักทีส่ ดุ กลายเป็ น “เบา” 5


มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งพบเด็กเล็ก ๆ คนหนึ่งกําลังแบกเด็กพิการที่เล็ก กว่าอีกไว้บนหลัง ชายผูน้ นั ้ กล่าวว่า “ภาระนันไม่ ่ หนักไปหน่อยหรือ พ่อหนุ่ ม ?” เด็ก คนนัน้ ตอบว่า “นีไ่ ม่ใช่ภาระ นีเ่ ป็ นพีน่ ้องตัวจิ๋วของผม” เมื่อเรารูซ้ ง้ึ ถึง “ความรักของพระเจ้า” และรูว้ ่าภาระทีพ่ ระองค์ทรงมอบแก่ เราคือ “รักพระเจ้าและรักเพือ่ นมนุษย์” ภาระอะไรๆ ก็เบาไปหมด !

รายงานกิจกรรมกลุ่มวินเซน เดอ ปอล คณะแม่ พระกุหลาบทิพย์ รายงานการเงินเดือนมิถุนายน 2014 บาท ยอดยกมา (พ.ค.2014) รายรับ คู่คณะต่างประเทศ รับจากกล่องรับบริ จาควันเสาร์แรกของเดือน รับจากกล่องรับบริ จาควันอาทิตย์แรกของเดือน รับจากสมาชิกรายเดือน รับบริ จาคค่าข้าวสาร รวมรายรับ รายจ่ าย เงินช่วยเหลือผูข้ อความช่วยเหลือประจําเดือน เงินช่วยเหลือผูข้ อความช่วยเหลือไม่ประจํา เงินช่วยเหลือค่าปลงศพคุณพ่อเจมส์คณะดอมิกนั เงินช่วยเหลือชาวต่างชาติ ค่าข้าวสารจํานวน 37 ถุงๆละ100 บาท รวมรายจ่าย ยอดคงเหลือยกไป 6

2,400.00 1,865.00 19,187.00 1,600.00 300.00

บาท 38,879.75

25,352.00 64,231.75

13,450.00 7,400.00 3,000.00 4,000.00 3,700.00 31,550.00 32,681.75

ท่านเคยสงสั ยไหมว่า ทุ กอาทิ ตย์ ต้นเดือน สมาชิกวินเซน เดอ ปอล คณะแม่พระ กุหลาบทิพย์ เค้าทําอะไรกัน ทําไมต้องมาถือกล่องรั บบริ จาคทุกต้นเดือน และเงิ น ช่วยเหลือเหล่านี้ ทางคณะฯ ได้นาํ ไปช่วยเหลืออย่างไร? ทางคณะฯ ได้รบั เงินจากผูม้ นี าํ้ ใจดี อยู่ 2 ช่องทาง 1. จากสมาชิกกิตติมศักดิ์ ที่บริจาคเป็ นรายเดือนทุกเดือน 2. จากกล่องรับบริจาคหน้าวัด สมาชิ ก ปฏิ บั ติ ง านเป็ นเครื่ อ งมื อ ของพระเจ้า ที่ จ ะคอยช่ ว ยเหลื อ ผูม้ าขอความ สงเคราะห์ และพิจารณาให้ความช่วยเหลือบนพื้นฐานของการดํารงชีพก่อน จะเห็น ได้ว่า ทางคณะฯ มีการบริจาคเป็ นข้าวสาร และเป็ นเงินที่ได้รับบริจาคจากผูม้ ีนาํ้ ใจดี เราจะพิจารณาอย่างเหมาะสมในแต่ละราย ทางคณะฯ มิได้เลือกว่าผูม้ าขอความ สงเคราะห์ จะเป็ นชนชาติใด เชื้อชาติใด ทางคณะฯจะช่วยทุกคนเท่าที่สามารถ และ ขึน้ อยู่กบั ยอดเงินบริจาคในเดือนนัน้ ๆว่าเราสามารถช่วยพวกเค้าเหล่านัน้ ได้อย่างไร แต่ละเดือนที่ผ่านมา จะเห็ นว่าผูม้ าขอความสงเคราะห์มีจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ ง ทางคณะฯ ถื อ ว่ า เป็ นพระพรที่ พ ระองค์ป ระทานมาให้พ วกเราได้มี โ อกาสเป็ น เครื่องมือของพระองค์ในการช่วยเหลือเพื่อนพี่นอ้ งของเรา ไม่ว่าจะเป็ นด้านปั จจัยสี่ หรือแม้แต่ทางด้านจิตใจ ที่เรามีการปลอบใจกัน ให้กาํ ลังใจกันและกัน แก่พี่นอ้ งที่มา วัดแม่พระกุหลาบทิพย์ เราถื อว่าเป็ นงานที่พระมอบหมายให้โดยผ่านทางพี่นอ้ ง สัตบุรษุ ที่มสี ว่ นร่วมในการทํางานของคณะฯ เมื่อประมาณ 2-3 เดือนที่ผ่านมา ท่านอาจได้เห็นคนเร่ร่อนจํานวนหนึ่งซึ่งดูไม่ค่อย เรียบร้อย ทางคณะฯ ได้แนะนําและตักเตือนบางคนที่วางตัวไม่เหมาะสม อย่างไรก็ดี เรายังคงต้องช่วยเหลือเพื่อนพี่นอ้ งของเราต่อไป เพราะเรายังคงเป็ นเครื่องมือใน การแพร่ธรรม โดยทํางานที่พระองค์ทรงมอบหมาย ขอขอบพระคุณพี่นอ้ งสัตบุรษุ ที่มนี าํ้ ใจดีในการสนับสนุนการทํางานของพวกเราด้วยดีเสมอมา ขอพระเจ้าทรงอํานวยพระพร 7


มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งพบเด็กเล็ก ๆ คนหนึ่งกําลังแบกเด็กพิการที่เล็ก กว่าอีกไว้บนหลัง ชายผูน้ นั ้ กล่าวว่า “ภาระนันไม่ ่ หนักไปหน่อยหรือ พ่อหนุ่ ม ?” เด็ก คนนัน้ ตอบว่า “นีไ่ ม่ใช่ภาระ นีเ่ ป็ นพีน่ ้องตัวจิ๋วของผม” เมื่อเรารูซ้ ง้ึ ถึง “ความรักของพระเจ้า” และรูว้ ่าภาระทีพ่ ระองค์ทรงมอบแก่ เราคือ “รักพระเจ้าและรักเพือ่ นมนุษย์” ภาระอะไรๆ ก็เบาไปหมด !

รายงานกิจกรรมกลุ่มวินเซน เดอ ปอล คณะแม่ พระกุหลาบทิพย์ รายงานการเงินเดือนมิถุนายน 2014 บาท ยอดยกมา (พ.ค.2014) รายรับ คู่คณะต่างประเทศ รับจากกล่องรับบริ จาควันเสาร์แรกของเดือน รับจากกล่องรับบริ จาควันอาทิตย์แรกของเดือน รับจากสมาชิกรายเดือน รับบริ จาคค่าข้าวสาร รวมรายรับ รายจ่ าย เงินช่วยเหลือผูข้ อความช่วยเหลือประจําเดือน เงินช่วยเหลือผูข้ อความช่วยเหลือไม่ประจํา เงินช่วยเหลือค่าปลงศพคุณพ่อเจมส์คณะดอมิกนั เงินช่วยเหลือชาวต่างชาติ ค่าข้าวสารจํานวน 37 ถุงๆละ100 บาท รวมรายจ่าย ยอดคงเหลือยกไป 6

2,400.00 1,865.00 19,187.00 1,600.00 300.00

บาท 38,879.75

25,352.00 64,231.75

13,450.00 7,400.00 3,000.00 4,000.00 3,700.00 31,550.00 32,681.75

ท่านเคยสงสั ยไหมว่า ทุ กอาทิ ตย์ ต้นเดือน สมาชิกวินเซน เดอ ปอล คณะแม่พระ กุหลาบทิพย์ เค้าทําอะไรกัน ทําไมต้องมาถือกล่องรั บบริ จาคทุกต้นเดือน และเงิ น ช่วยเหลือเหล่านี้ ทางคณะฯ ได้นาํ ไปช่วยเหลืออย่างไร? ทางคณะฯ ได้รบั เงินจากผูม้ นี าํ้ ใจดี อยู่ 2 ช่องทาง 1. จากสมาชิกกิตติมศักดิ์ ที่บริจาคเป็ นรายเดือนทุกเดือน 2. จากกล่องรับบริจาคหน้าวัด สมาชิ ก ปฏิ บั ติ ง านเป็ นเครื่ อ งมื อ ของพระเจ้า ที่ จ ะคอยช่ ว ยเหลื อ ผูม้ าขอความ สงเคราะห์ และพิจารณาให้ความช่วยเหลือบนพื้นฐานของการดํารงชีพก่อน จะเห็น ได้ว่า ทางคณะฯ มีการบริจาคเป็ นข้าวสาร และเป็ นเงินที่ได้รับบริจาคจากผูม้ ีนาํ้ ใจดี เราจะพิจารณาอย่างเหมาะสมในแต่ละราย ทางคณะฯ มิได้เลือกว่าผูม้ าขอความ สงเคราะห์ จะเป็ นชนชาติใด เชื้อชาติใด ทางคณะฯจะช่วยทุกคนเท่าที่สามารถ และ ขึน้ อยู่กบั ยอดเงินบริจาคในเดือนนัน้ ๆว่าเราสามารถช่วยพวกเค้าเหล่านัน้ ได้อย่างไร แต่ละเดือนที่ผ่านมา จะเห็ นว่าผูม้ าขอความสงเคราะห์มีจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ ง ทางคณะฯ ถื อ ว่ า เป็ นพระพรที่ พ ระองค์ป ระทานมาให้พ วกเราได้มี โ อกาสเป็ น เครื่องมือของพระองค์ในการช่วยเหลือเพื่อนพี่นอ้ งของเรา ไม่ว่าจะเป็ นด้านปั จจัยสี่ หรือแม้แต่ทางด้านจิตใจ ที่เรามีการปลอบใจกัน ให้กาํ ลังใจกันและกัน แก่พี่นอ้ งที่มา วัดแม่พระกุหลาบทิพย์ เราถื อว่าเป็ นงานที่พระมอบหมายให้โดยผ่านทางพี่นอ้ ง สัตบุรษุ ที่มสี ว่ นร่วมในการทํางานของคณะฯ เมื่อประมาณ 2-3 เดือนที่ผ่านมา ท่านอาจได้เห็นคนเร่ร่อนจํานวนหนึ่งซึ่งดูไม่ค่อย เรียบร้อย ทางคณะฯ ได้แนะนําและตักเตือนบางคนที่วางตัวไม่เหมาะสม อย่างไรก็ดี เรายังคงต้องช่วยเหลือเพื่อนพี่นอ้ งของเราต่อไป เพราะเรายังคงเป็ นเครื่องมือใน การแพร่ธรรม โดยทํางานที่พระองค์ทรงมอบหมาย ขอขอบพระคุณพี่นอ้ งสัตบุรษุ ที่มนี าํ้ ใจดีในการสนับสนุนการทํางานของพวกเราด้วยดีเสมอมา ขอพระเจ้าทรงอํานวยพระพร 7


หนึ่งครั้ งวันอาทิตย์

คุณพ่ อฉลองรั ฐ สั งขรั ตน์ www.facebook/charlongrath Sang Karat 6 กรกฎาคม 2014

บุ ญ ทิ ง้ กั บ บุ ญ หนั บ นั ด กั น จะไปเที่ ย วหั ว หิ น แล้ วก็ ร้ องรํ า ทํ า เพลง “หัว หิ น เป็ นถิ่ นวิ ไล ขาดเธอ เปลี ่ยวใจ เงี ยบเหงา มองรักเรา เลื อนราง คลื ่นยังครํ่ า ยังครวญ จัน ทร์ แ จ่ ม ยัง นวล เย้ า ยวน ไม่ ส ร่ า ง คอยชื ่ น ชู้ อยู่ เ มิ น หมาง ฟ้ าสว่ า ง เดื อ นค้า ง ดาวหล่น หมดอาลัย ปลอบใจตน ทุกข์ จน ใจห่วง” ตามประสาวัยคนเล่าความหลัง แต่ที่สนุกกว่าคือ การพยายามคัดคานความเห็นที่ไม่ตรงกันของทังสองคน ้ ที่ถกเถียง กัน เอาชนะกันไปเสียทุกเรื่ อง แม้ แต่เรื่ องที่ร้ ูไม่จริ ง ก็ท่มุ เถียงกันหัวควํ่าหัวคะมํา “ นีแ่ ก ครัง้ หน้าฉันไม่มากับแกแล้วหัวหิ น” บุญทิ ้งโพล่งขึ ้นมาทําเอาบุญหนับฉุน “ ทําไม ฉันน่ารังเกี ยจนักหรื อไง?” บุญหนับชักไม่พอใจ “ แกไม่ดูป้าย มาหัวหิน เดินมาได้ ” บุญทิ ้งทิ ้งปริ ศนา “ อะไรตัง้ ไกล แกจะเดิ นมา” บุญหนับชักงงปนฉุน “ นีแ่ กดูป้ายข้างทาง เขาเขี ยนว่า หัวหิน-กรุ งเทพฯ สองสามก้ าว” บุญทิ ้งอ่านออก เสียง เมื่อบุญหนับหันไปดู อ่านเป็ นตัวเลขว่า “กรุ งเทพฯ 239” “ใกล้แค่นี้ แกเดิ นเองละกัน” 1 ทธ.4:15-16 “จงเอาใจใส่ และอุทิศตนในเรื่ องเหล่านี้ เพื่อให้ทุกคนแลเห็นความก้ าวหน้ าของท่าน จงดูแลทั้งตนเองและคําสัง่ สอน จงมัน่ คงต่อไปในเรื่ องดังกล่าว เพราะเมื่อทําเช่นนี้ ท่านจะช่วยทั้งตนเองและผูท้ ี่ฟังท่านให้รอดพ้น” 8

เหลือเชื่อ อาโรนพูดกับนางว่า “ของทุกอย่างทีช่ าวอิสราเอลถวายขาดแด่พระ ยาห์เวห์จะเป็ นของฉัน” (กดว 18:14) แล้วก็ฉวยแกะไปทัง้ หมด ปล่อยให้นางร้องไห้อยู่ กับบุตรสาวทัง้ สอง แม้เป็ นเพียงนิทานเปรียบเทียบ แต่กช็ ใ้ี ห้เห็นว่าธรรมบัญญัตเิ ข้ามายุ่งเกี่ยวกับ ชีวติ ของมนุ ษย์ทุกแง่ทุกมุมและไม่รจู้ กั หยุดจักหย่อนเลย ช่างเป็ นภาระทีห่ นักหนาสาหัสสากรรจ์จริง ๆ ! สํา หรับ ผู้ท่ีเ ผชิญ กับ ภาระหนัก เช่นนี้ พระองค์ต รัสว่า “ท่า นทัง้ หลายทีเ่ หน็ ด เหนือ่ ย และแบกภาระหนักจงมาพบเราเถิด เราจะให้ทา่ นได้พกั ผ่อน” (มธ 11:28) พร้อมกันนี้ ทรงเชิญชวนทุกคนว่า “จงรับแอกของเราแบกไว้ เพราะว่าแอกของ เราอ่อนนุ่ม และภาระทีเ่ ราให้ทา่ นแบกก็เบา” (มธ 11:29-30) ชาวยิวใช้คาํ ว่า “แอก” เพือ่ หมายถึง “การยอมมอบตนต่อสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ” เช่น แอก ของกฎหมายหมายถึงการยอมมอบตนปฏิบตั ติ ามกฎหมาย แอกของอาณาจักรสวรรค์ หมายถึงการยอมมอบตนต่อข้อเรียกร้องของอาณาจักรสวรรค์ แอกของพระเจ้าหมายถึง การอุทศิ ตนมอบถวายแด่พระเจ้า เป็ นต้น แอกของพระเยซูเจ้าจึงหมายถึง “การยอมมอบตนเป็ นศิษย์ของพระองค์” ทีส่ าํ คัญแอกของพระองค์น่าแบกเพราะว่า “อ่อนนุ่ม” ! คํา “อ่อนนุ่ม” ตรงกับภาษากรีก chrēstos (เครสตอส) ซึง่ หมายถึง “เหมาะพอดี” ในปาเลสไตน์ ชาวยิวทําแอกเฉพาะอันให้ววั แต่ละตัว พวกเขานํ าวัวไปให้ช่าง วัดขนาด เมื่อช่างทําแอกเสร็จ พวกเขาจะนํ าวัวกลับไปลองแอกและปรับแต่งให้เหมาะ พอดีกบั คอวัวเพือ่ จะได้ไม่เกิดแผลเวลาใส่ หมายความว่า หากเราเป็ นศิษย์ของพระเยซูเจ้า พระองค์จะประทานแอกทีไ่ ม่ทาํ ร้ายเรา เพราะมันเหมาะพอดีกบั ความจําเป็ นและความสามารถของเราแต่ละคน และเมื่อตรัสว่า “ภาระทีเ่ ราให้ท่านแบกก็เบา” (มธ 11:30) พระองค์มไิ ด้ หมายความว่าภาระของพระองค์แบกได้ง่ายหรือสบาย แต่หมายความว่าพระองค์ทรง ประทานภาระแก่เราด้วย “ความรัก” ซึง่ จะทําให้ภาระทีห่ นักทีส่ ดุ กลายเป็ น “เบา” 5


3. ท่านทัง้ หลายที่เหน็ดเหนื่ อยและแบกภาระหนัก จงมาพบเราเถิด พระเยซูเจ้าตรัสถึงบรรดาธรรมาจารย์และฟารีสวี ่าพวกเขา “มัดสัมภาระหนัก วางบนบ่าคนอืน่ ” (มธ 23:4) สัมภาระหนักทีพ่ วกเขาวางบนบ่าคนอื่นคือกฎระเบียบหยุมหยิมไม่รจู้ กั จบสิน้ พวกเขาทําให้คาํ ว่า “ท่านจะต้องไม่...ท่านจะต้องไม่...” กลายเป็ นหัวใจของศาสนา พวกธรรมาจารย์เองก็รบั รูป้ ญั หาเหล่านี้ พวกเขาเล่านิทานเปรียบเทียบอันน่ า สลดใจเพื่อแสดงว่าธรรมบัญญัตินัน้ ผูกพัน บีบรัด เรียกร้อง และเป็ นภาระหนักมาก เพียงใด หญิงหม้ายยากจนคนหนึ่งมีบุตรสาวสองคนพร้อมกับนาอีกแปลงหนึ่ง เมื่อ นางเริม่ ไถนา โมเสส (นันคื ่ อธรรมบัญญัตขิ องโมเสส) บอกนางว่า “ท่านจะต้องไม่ไถนา ด้วยวัวและลาพร้อมกัน” เมือ่ นางเริม่ หว่านเมล็ดพืช โมเสสพูดว่า “ท่านจะต้องไม่หว่าน นาของท่านด้วยเมล็ดพืชต่างชนิดกัน” ต่อมานางเริม่ เก็บเกีย่ วพืชผล โมเสสคนเดิมพูด อีกว่า “เมือ่ ท่านเก็บเกีย่ วพืชผลในทุ่งนาแล้วลืมฟอ่ นข้าวไว้ ท่านจะต้องไม่กลับไปเก็บ” (ฉธบ 24:19) และ “ท่านจะต้องไม่เกีย่ วรวงข้าวทีข่ อบนาจนหมด” (ลนต 19:9) เมื่อนาง นวดข้าว โมเสสกลับมาบอกนางว่า “ท่านต้องถวายสิบชักหนึง่ ” นางก็แสนดี ปฏิบตั ิ ตามคําสังของโมเสสทุ ่ กประการ แต่เพือ่ ความอยูร่ อด นางตัดสินใจขายนาแล้วนําเงินไปซือ้ แกะสองตัว โดยหวัง จะอาศัยขนแกะทําเครือ่ งนุ่งห่ม และขายลูกแกะเกิดใหม่หารายได้ปะทังชีวติ เมื่อลูกแกะถือกําเนิดขึน้ มา อาโรน (นัน่ คือข้อเรียกร้องของสมณะ) ตรงเข้ามา บอกนางว่า “ลูกแกะหัวปีตอ้ งเป็ นของเรา” นางก็ยอมให้ลูกแกะตัวแรกไป เมื่อถึงเวลา ตัดขนแกะ อาโรน กลับมาบอกว่า “ท่านจะต้องให้ผลิตผลแรกจากข้าวสาลี เหล้าองุ่น ใหม่และนํ้ามันมะกอก รวมทัง้ ขนแกะแก่สมณะ” (ฉธบ 18:4) นางสุดทนจึงคิดจะฆ่า แกะกิน แต่อาโรนก็ตามนางไม่เลิก “สมณะจะมีสทิ ธิร์ บั ขาหน้า เนื้อแก้ม และเนื้อท้อง” (ฉธบ 18:3) นางจึงพูดกับบุตรสาวว่า “ถึงเราจะฆ่าแกะก็ยงั ไม่รอดพ้นจากเงื้อมมือของ พวกเขาอยูด่ ี อย่ากระนัน้ เลย ให้เราถวายแกะเหล่านี้แด่พระเจ้าเถิด”

ยอดปรารถนาอย่างหนึ่งของมนุษย์ คือการได้คนที่รใู้ จมาอยู่ใกล้ตวั เช่น ได้ คูค่ รองที่รใู้ จ ได้ลกู น้องที่รใู้ จ หรือได้เพื่อนร่วมงานที่รใู้ จ ทัง้ นีเ้ พราะเชือ่ ว่า คนเหล่านีจ้ ะทําให้ชีวิตมีความสุข งานการประสบความสําเร็ จ แต่คนเหล่านี้ ใช่ว่าจะหามาได้งา่ ย ๆ ดังนัน้ เราจึงอดไม่ได้ที่จะเรียกร้องและคาดหวังให้ใคร ต่อใครมารูใ้ จเรา ถ้าเขาไม่รใู้ จเรา เราก็จะหงุดหงิด หัวเสีย และกราดเกรี้ยว แต่ในขณะที่เราเรียกร้องให้คนทั้งโลกมารูใ้ จเรานั้น เราเองเคยคิดที่จะรูใ้ จ ตัวเองบ้างหรือไม่ สังเกตไหมว่าวันหนึง่ ๆ เราปล่อยให้อารมณ์ตา่ ง ๆ เข้า มายํา่ ยีบีฑาจิตใจบ่อยครัง้ เพียงใด วันแล้ววันเล่าที่เราปล่อยให้ความคิดเตลิด เปิ ดเปิ งอย่างไม่รเู้ นือ้ รูต้ วั จนกินไม่ได้นอนไม่หลับ หาไม่ก็ปล่อยให้ความโกรธ เกลียดบงการชีวิตจิตใจจนเผลอทําสิ่งที่ตอ้ งเสียใจในภายหลัง ยังไม่ตอ้ งพูด ถึงความรูส้ ึกสับสนในตัวเอง ว่าในส่วนลึกของจิตใจเราต้องการอะไรกันแน่ แม้จะมีชวี ิตที่สะดวกสบาย มีบริษทั บริวารมากมาย แต่คนจํานวนไม่นอ้ ยก็ยงั มีค วามทุก ข์เ พราะถูก หลอกล่อ ให้อ ยากได้ไ ม่ร จู้ ัก พอ หรื อ พลัด จมอยู่กับ เรื่องราวในอดีต กังวลกับอนาคต ใช่หรือไม่ว่าความทุกข์ส่วนใหญ่เกิดขึ้น เพราะว่าเราไม่รใู้ จตัวเองต่างหาก มิใช่เป็ นเพราะคนรอบข้างไม่รใู้ จเรา ถึงแม้จะหาคนรูใ้ จไม่ได้เลย แต่หากเรารูใ้ จตัวเองอย่างลึกซึ้ง ชีวิตก็ย่อมเป็ น สุข ห่างไกลจากความทุกข์ เรารูใ้ จตัวเองได้เพราะมีสติ ทําให้รทู้ นั ความรูส้ ึก นึกคิดต่าง ๆ ไม่ตกอยู่ในการครอบงําของอารมณ์ตา่ ง ๆ จึงสามารถทรง ใจให้เป็ นปกติ ไม่หวัน่ ไหวหรือขึน้ ลงไปตามแรงกระทบกระแทกของสิ่งรอบตัว สติช่วยให้ระลึกรูใ้ นกายและใจ จึงเกิดความรูส้ ึกตัวอย่างฉับไว และเห็ นสิ่ง ต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ กับกายและใจอย่างที่มนั เป็ น จึงนําไปสู่ปัญญาอันเป็ นเครื่อง ไถ่ถอนความยึดติดถือมัน่ ในตัวตน ทําให้จิตเป็ นอิสระจากความทุกข์ได้ ส่ วนหนึ่งจากหนังสื อ “รู้ ใจไกลทุกข์ ”

4

9


มิสซาสั ปดาห์ ที่ 14 เทศกาลธรรมดา (ปี A) วันอาทิตย์ ที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 2014 วัน เดือน ปี ส. 5 ก.ค. 18.00 น.

รายการมิสซา สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้าและพระแม่มารี ย ์ มารี อา ประทุม, คุณสมนึก ใช้สมบุญ และครอบครัว คุณพลเชษฐ์ ชีวนิชพันธ์ คุณอภิวฒั น์ รังสิ โรจน์ อุทศิ แด่ มารี อา ชมพูนุช ชัยสุ วรรณ สตีเฟน จํารู ญ, มารี อา ละมุด เจริ ญพานิช ผูล้ ่วงลับครอบครัวเจริ ญพานิช วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง อา. 6 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระเจ้า และพระแม่มารี ย ์ 08.00 น. อันนา เอื้อพันธ์ ศรี เจริ ญ ครอบครัวศรี เจริ ญ ครอบครัวบุญเลิศ ธนาพานิชย์ ยวง พิทิกษ์ชยั , คัทริ น สุ นีย ์ กําแพงแก้ว และครอบครัว ครอบครัวพันธุมจินดา อุทศิ แด่ ยวง บัปติสตา ก๊กเคี้ยง แซ่แพ้, มารี อา กิมฮวย แซ่ ต้ งั บรรพบุรุษครอบครัวธนาพานิชย์ เทเรซา สลับศรี ชมไพศาล บรู โน สมเกียรติ ตั้งถาวร, คุณกุลจิรา เจิดจรรยาพงศ์ ลูโดวีโก บุญช่วย, มารี อา กิมฮวย นงค์สวัสดิ์ ยอแซฟ เกียจั้ว แซ่คู ยอแซฟ ภิรมย์, มารี อา โยเซฟิ น รัตนา พันธุมจินดา ยวง พิสิษฐ์ พันธุมจินดา, คุณวิรัช พุทธโกษา มารี อา เทรซา นงลักษณ์ จินดากุล ผูล้ ่วงลับครอบครัวพุทธโกษา,พันธุมจินดา,นิลวิเศษ วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณที่ไม่มีผใู ้ ดนึกถึง

10

ผู้ขอมิสซา มาลินี มาลินี รัชดาวัลย์ วีณา ปริ ญญา อัญชลี อัญชลี ขนิษฎา -/วีณา สุ ดารัตน์ สุ ดารัตน์ สุ ดารัตน์ สุ ดารัตน์ พรภัสสร

ชือ่ เสียง กลับไม่มผี ใู้ ดติดโรค ชาวบ้านพากันเชือ่ ว่าคงเป็ นเพราะคุณงามความดีของ รับ แต่พวกเขาได้รบั แจ้งในฝนั ว่าเป็ นเพราะชายคนหนึง่ ซึง่ เต็มใจให้เพือ่ นบ้านยืมจอบ และพลัวสํ ่ าหรับ ขุดหลุ มฝ งั ศพ และเมือ่ เกิดไฟไหม้ทีเ่ มืองโดรเคอเรท (Drokeret) เพือ่ นบ้านของรับบีฮนู าคิดว่าเป็ นเพราะคุณงามความดีของท่านรับบี บ้านของพวกเขา จึงรอดพ้นจากกองเพลิง แต่ในฝนั พวกเขาได้รบั แจ้งว่าเป็ นเพราะหญิงคนหนึง่ ซึง่ เต็ม ใจให้เพือ่ นบ้านใช้เตาอบ” ชายและหญิงที่กล่าวถึงมิได้มสี ติปญั ญาโดดเด่นดุจเดียวกับรับบีหรือธรรมา จารย์ แต่สงิ่ เล็ก ๆ น้อย ๆ ทีพ่ วกเขาทําด้วยหัวใจทีเ่ ต็มเปี่ ยมด้วยความรักและความ สุภาพถ่อมตนต่างหากทีท่ าํ ให้พระเจ้าทรงพอพระทัย ใช่ “พระองค์ทรงพอพระทัยเช่นนัน้ ” ! (มธ 11:26)

2. ไม่มีใครรูจ้ กั พระบิดานอกจากพระบุตร ชาวกรีกถือว่ายากทีจ่ ะรูจ้ กั พระเจ้า และเมือ่ รูจ้ กั แล้วยิง่ ยากทีจ่ ะอธิบายให้ผอู้ ่นื ฟงั โซฟาร์เพื่อนของโยบได้ช้ใี ห้เห็นความลํ้าลึกของพระเจ้าเมื่อเขาถามโยบว่า “ท่านคิดว่าจะหยังรู ่ ค้ วามลึกลับของพระเจ้า และรูจ้ กั พระผูท้ รงสรรพานุ ภาพได้อย่าง สมบูรณ์หรือ ?” (โยบ 11:7) แต่วนั นี้ พระเยซูเจ้าตรัสว่า “พระบิดาทรงมอบทุกสิง่ แก่ขา้ พเจ้า” (มธ 11:27) นี่คอื เอกสิทธิ ์ชนิดเบ็ดเสร็จเด็ดขาดของพระองค์แต่เพียงผูเ้ ดียว เอกสิทธิ ์อัน เป็ นศูนย์กลางความเชื่อของเราคริสตชน นัน่ คือ “ไม่มใี ครรูจ้ กั พระบิดา นอกจากพระ บุตร และผูท้ พี ่ ระบุตรเปิ ดเผยให้ร”ู้ (มธ 11:27) หรือตามสํานวนของนักบุญยอห์นว่า “ผูท้ เี ่ ห็นเรา ก็เห็นพระบิดาด้วย” (ยน 14:9) ความหมายของพระองค์ก็คอื หากเราต้องการรูว้ ่าพระบิดาทรงมีนิสยั ใจคอ ความรูส้ กึ นึกคิด จิตใจ ตลอดจนทัศนคติต่อเราอย่างไรแล้วละก็ ให้ดทู ีพ่ ระองค์ เป็ นความเชื่อมันสู ่ งสุดของเราคริสตชนว่า ในพระเยซูคริ สตเจ้าเท่ านัน้ ที ่ เราสามารถรู้จกั พระเจ้า และพระองค์เท่ านัน้ สามารถประทานความรู้น้ ี แก่ทุก คนทีม่ ีความสุภาพถ่อมตนพอทีจ่ ะน้ อมรับความรู้นัน้ 3


สั ปดาห์ ที่ 14 เทศกาลธรรมดา มธ 11:25-30

1. ทรงเปิดเผยแก่บรรดาผูต้ าํ่ ต้อย พระเยซูเ จ้าตรัสว่า “ข้าแต่พระบิดา เจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ข้าพเจ้าสรรเสริญ พระองค์ทที ่ รงปิ ดบังเรือ่ งเหล่านี้จากบรรดาผูม้ ปี รีชาและรอบรู้ แต่ทรงเปิ ดเผยแก่ บรรดาผูต้ าํ ่ ต้อย” (มธ 11:25) คําสรรเสริญนี้ออกมาจากประสบการณ์และชีวติ จริงของพระองค์เอง บรรดา ธรรมาจารย์ ฟาริส ี และผูม้ ปี รีชารอบรูท้ งั ้ หลายไม่ยอมรับพระองค์เป็ นพระเมสสิยาห์ แต่ประชาชนผูต้ ่าํ ต้อยกลับต้อนรับพระองค์ดว้ ยความปีตยิ นิ ดีเป็ นอย่างยิง่ ที่ตรัสเช่นนี้มไิ ด้หมายความว่าพระองค์ทรงรังเกียจ “พลัง” ของสติปญั ญา แต่เป็ น “ความหยิ ง่ จองหอง” ของสติปญั ญาต่ างหากที่พระองค์ทรงรังเกียจและ ตําหนิ ทัง้ นี้ เ ป็ นเพราะความหยิง่ จองหองนัน่ เองที่ฉุ ดรัง้ มนุ ษ ย์จากพระเจ้า ส่ว น ความเฉลียวฉลาดนัน้ ไม่เคยปิ ดกัน้ เราจากพระองค์ เราอาจเฉลียวฉลาดเทียบเท่ากษัต ริย์โซโลมอน แต่ถ้าขาดหัว ใจที่สุภาพ วางใจ และใสซื่อเหมือนเด็กเล็ก ๆ เราก็ปิดกัน้ ตัวเราจากพระองค์ ปราชญ์ทา่ นหนึ่งจึงกล่าวไว้วา่ “ทีพ่ าํ นักของข่าวดีคอื หัวใจ ไม่ใช่หวั คิด” พวกธรรมาจารย์เ องก็ต ระหนัก ดีถึง อัน ตรายของความหยิ่ง จองหองของ สติปญั ญา พวกเขาจึงเล่าเรื่องเตือนใจตัวเองว่า “ครัง้ หนึง่ เกิดโรคระบาดใหญ่ในเมือง สูรา (Sura) แต่ผทู้ อี ่ าศัยอยูใ่ นละแวกเดียวกับรับ (Rab) ซึง่ เป็ นธรรมาจารย์ผมู้ ี 2

อา. 6 ก.ค. สุ ขสํ าราญ โมทนาคุณพระตรี เอกภาพ และพระแม่มารี ย ์ 10.00 น. สัตบุรุษวัดแม่พระกุหลาบทิพย์ทุกท่าน ครอบครัวสุ วรรณจิต, อุชชิน, อาดัมส์ ด.ช.ลุคซ์ มูลเมือง อันนา ศิวารี ย,์ สเตฟาโน ทวี แซ่โค้ว และครอบครัว ครอบครัวสัณหพล เหลืองอร่ าม คุณมาลัย ชีวนิชพันธ์ คุณวศิน นิลกําแหง มารี อา ภาณุมาศ,เทเรซา ชนินทร์ มาศ, มารี อา ปนัดดา มารี อา กรรณิ การ์, คุณวริ นทร์, คุณชนาภา คุณนพ, คุณประมวล พลเอก พิจิตร, คุณหญิง วิมล กุลละวณิ ชย์ ครอบครัวสุ พร ศรี สุข อุทศิ แด่ มารี อา จันทรา สุ เสงี่ยม โรซาทัศนีย ์ บุญเจริ ญ เปโตร ยรรยง, ลูซีอา ละออ, มารี อา นิตยา อุชชิน ยอแซฟ สมบัติ อุชชิน แมทธิว เกียรติศกั ดิ์ สุ วรรณจิต, ดร.โทมัส อาดัมส์ อลิซาเบธ วัลลีย ์ บูรณพิมพ์ ยวง บัปติสตา คอยเซ็น, อันนา ชุน้ เจา, มารี อา ซิ้ว ยอแซฟ ง้วน ศรี สุข, คุณวิชยั โกศล ยอแซฟ ศรี รัตน์, มารี อา เจียมใจ กิตติคุณ คุณสมทรง วิริยะสุ วรรณ โรซา ราตรี ลี้ยาง, อันนา ยีส่ ุ่ น พานิช, คุณด้วง ลี้ยาง คุณวิชยั สายแสง, คุณสอ ชูสอน, คุณพัฒนา ทองธิว ผูล้ ่วงลับครอบครัวจุลละมณฑล, ลี้ยาง, ริ้ วงาม นักบวชชาย-หญิงที่ล่วงลับไปแล้ว วิญญาณในไฟชําระและวิญญาณและไม่มีผใู้ ดนึกถึง

วิไลวรรณ กัลยาณี มุกดา ชุลีพร วิไลวรรณ มาลา มาลินี วีรยา วไลพร กัลยาณี กัลยาณี กัลยาณี กัลยาณี บัญญัติ มาลา วิภาภัสร์ 11


จ. 7 ก.ค. อุทศิ แด่ อ. 8 ก.ค. สุ ขสํ าราญ พ. 9 ก.ค. อุทศิ แด่ พฤ. 10 ก.ค. อุทศิ แด่ ศ. 11 ก.ค. อุทศิ แด่

โรซา ทัศนีย ์ บุญเจริ ญ เทเรซา วรณัน รักอารมณ์ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ วิญญาณในไฟชําระ

วไลพร มาลินี ลูกพระ, อาร์ต -

ฉบับที่ 534 วันอาทิตย์ที่ 6 มิถนุ ายน ค.ศ. 2014

สั ปดาห์ ที่ 14 เทศกาลธรรมดา (ปี A) กําหนดการฉลองวัด วันเสาร์ ที่ 12 กรกฎาคม 2014 (วันฉลองภายใน) 18.30 น. สวดสายประคําและบทเร้าวิงวอนพระแม่มารี ย ์ 19.00 น. พิธีบูชาขอบพระคุณ แห่ พระรู ปแม่พระกุหลาบทิพย์รอบวัด และถวายช่อดอกไม้ (หลังมิสซา เชิญรับประทานอาหารร่ วมกัน) วันอาทิตย์ ที่ 13 กรกฎาคม 2014 15.30 น. เทเซ่เตรี ยมจิตใจ / ศีลอภัยบาป 17.00 น. พิธีบูชาขอบพระคุณ โดย พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรี ยงศักดิ์ โกวิทวาณิ ช แห่ พระรู ปแม่พระกุหลาบทิพย์ และถวายช่อดอกไม้ (หลังมิสซา เชิญรับประทานอาหารร่ วมกัน) ** วันอาทิตย์ มีมิสซาเช้ า 8.00 น.ตามปกติ งดมิสซาสาย 10.00 น.** 12

ท่ านทั้งหลายทีเ่ หน็ดเหนื่อย และแบกภาระหนัก จงมาพบเราเถิด เราจะให้ ท่านได้ พกั ผ่ อน มธ 11:28


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.