จุลสารพิธีกรรม3 2014

Page 1

สาสน์จากพระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช

ในพระสมณสาสน์ พระด�ำรัสเตือน เรื่อง ความชื่นชมยินดีแห่งพระวรสาร (EVANGELII GAUDIUM) สมเด็จ พระสันตะปาปาฟรังซิสได้ด�ำรัสไว้ว่า “จ�ำเป็นต้องให้การมีส่วนร่วมของกลุ่มเยาวชนในงานอภิบาลโดยรวมของ พระศาสนจักรนั้น มีความสม�่ำเสมอมากขึ้น” (EG 105) และพระองค์ยังด�ำรัสต่อไปว่า “เราซึ่งเป็นผู้ ใหญ่จึงต้อง ฟังพวกเขา (เยาวชน) และเรียนรู้ที่จะพูดกับเขาในภาษาที่พวกเขาเข้าใจได้” (EG 105) ซึ่งสอดคล้องกับ สังฆธรรมนูญว่าด้วยพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ที่ว่า “บรรดาผู้อภิบาลต้องมีความกระตือรือร้นและพากเพียรที่จะให้การอบรม ด้านพิธีกรรมแก่ผู้มีความเชื่อ เพื่อเขาจะร่วมพิธีกรรมได้อย่างแข็งขันทั้งในด้านจิตใจและภายนอก โดยค�ำนึงถึง อายุ สภาพความเป็นอยู่ วิถีชีวิต และระดับความรู้ทางศาสนาของผู้ ได้รับการอบรม” (SC 19) จึงเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรมได้จัดสัมมนาพิธีกรรม “เรื่องเยาวชนและพิธีกรรม” เมือ่ วันที่ 28-30 สิงหาคมนี้ โดยมีผนู้ ำ� เยาวชน ผูฝ้ กึ หัด ผูอ้ ภิบาลเยาวชนทัง้ คุณพ่อและซิสเตอร์ รวมทัง้ คุณพ่อผูร้ บั ผิดชอบ ด้านพิธีกรรมและดนตรีศักดิ์สิทธิ์เข้าร่วมสัมมนา จ�ำนวน 54 คน พ่อขอเป็นก�ำลังใจให้กับทีมงานวิทยากรและผู้เข้าร่วม สัมมนาทุกท่าน ในการร่วมมือร่วมใจกันเพื่ออภิบาลเยาวชนของเราให้มีชีวิตคริสตชนที่เข้มแข็งผ่านทางการอภิบาลด้าน พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ของพระศาสนจักร นอกจากนั้น ระหว่างวันที่ 27-31 ตุลาคมนี้ คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรมจะร่วมเป็นเจ้าภาพจัดสัมมนา ผู้ท�ำงานพิธีกรรมในระดับเอเชีย (Asian Liturgy Forum) ครั้งที่ 18 ในหัวข้อ “เยาวชนและพิธีกรรม” ที่บ้านผู้หว่าน โดยเชิญผู้รับผิดชอบงานด้านพิธีกรรม และเยาวชนของประเทศไทยของเราเข้าร่วมสังเกตการณ์ด้วย พ่อเชื่อว่า ประสบการณ์จากการเข้าร่วมสัมมนา และฟังการแบ่งปันงานอภิบาลด้านพิธีกรรมกับเยาวชนจากตัวแทนของประเทศ ต่างๆ ที่มาร่วมสัมมนาในครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่พระศาสนจักรในประเทศไทยในการท�ำงานอภิบาลด้าน พิธีกรรมกับเยาวชน ทั้งนี้ เพื่อพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ที่เราและเยาวชนเข้าร่วมจะไม่เพียงเป็นพิธีที่สง่างามและจบลง ในวัดเท่านั้น แต่จะครอบคลุมการด�ำเนินชีวิต และจะเปลี่ยนแปลงรูปแบบการด�ำเนินชีวิตทุกด้านของเรา (เทียบ SACRAMENTUM CARITATIS 71) ดังที่นักบุญเปาโลสอนเราว่า “เมื่อเราจะกิน จะดื่ม หรือจะท�ำอะไร ก็ตาม จงกระท�ำเพื่อถวายเกียรติแด่พระเจ้าเถิด” (1คร 10:31) ขอพระเจ้าทรงอ�ำนวยพระพรพี่น้องทุกท่าน

พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรม สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย


3. การท�ำส�ำคัญมหากางเขน

ของพระศาสนจักร ที่มาร่วมเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อ เมื่อขับร้องเพลงเริ่มพิธีจบแล้ว ประธานน�ำ เฉลิมฉลองธรรมล�้ำลึกปัสกา การท�ำส�ำคัญมหากางเขน เริ่มที่หน้าผาก ประชาสั ตบุ รุษท� ำส�ำคัญ มหากางเขน “เดชะ พระนามพระบิดา และพระบุตร และพระจิต” ต�ำแหน่งของความคิด ตามด้วยหน้าอก ต�ำแหน่ง ของหัวใจ ที่แห่งความรู้สึก และความรัก สุดท้าย แล้วทุกคนตอบรับพร้อมกันว่า “อาแมน” การท�ำส�ำคัญมหากางเขนนี้ ไม่ ใช่เป็นแค่ ที่ ไหล่ทั้งสอง ที่ยึดมือทั้งสองข้างไว้ เป็นที่แห่งการ อิริยาบถส�ำหรับเริ่มพิธี หรือเริ่มการภาวนา แต่มี ลงมือกระท�ำ ความหมายว่า เป็นการแสดงความเชื่อ 2 ประการ ด้วยกัน คือ 1. ความรอดของเรา มาจากธรรม 4. ค�ำทักทาย “พระเจ้าสถิตกับท่าน” พระสงฆ์ทักทายประชาสัตบุรุษด้วยถ้อยค�ำ ล�้ำลึกเรื่องไม้กางเขน และ 2. เรายังเอ่ย พระนาม “พระตรีเอกภาพ” ระหว่างการท�ำ ทีม่ คี วามหมายยิง่ ไม่ ใช่คำ� ทักทายทัว่ ไป แต่เป็นการ ส�ำคัญมหากางเขน เหมือนกับที่เราได้รับศีล ทั ก ทายพร้ อ มกั บ ยื น ยั น ถึ ง การประทั บ อยู ่ ข อง ล้างบาปในพระนามของพระตรีเอกภาพ การท�ำ พระเจ้าท่ามกลางที่ชุมนุม และประชาสัตบุรุษก็ ส� ำ คั ญ มหากางเขน จึ ง เป็ น การยื น ยั น การเป็ น ตอบรับค�ำทักทายนี้ด้วยการยืนยันถึงการประทับ คริสตชน เป็นประชากรของพระเจ้า และเป็นสมาชิก อยู่ของพระจ้าเช่นเดียวกัน

2 จุลสารพิธีกรรม


มีค�ำทักทายจากพระสงฆ์ อยู่หลายแบบ แต่ล้วนมีความหมายเดียวกัน อิริยาบถประกอบ การกล่าวถ้อยค�ำทักทายนี้ พระสงฆ์อาจจะแผ่มือ ทั้งสองข้างหาสัตบุรุษ (เหมือนการสวมกอดบุคคล ในครอบครัว หรือผู้ ใกล้ชิด) เป็นท่าทางที่ ให้ความ อบอุ่น แสดงถึงการต้อนรับ และการเป็นหนึ่ง เดียวกัน

5. ค�ำเกริ่นน�ำ

หลังจากกล่าวค�ำทักทายแล้ว พระสงฆ์ผเู้ ป็น ประธาน (หรือสังฆานุกร หรือศาสนบริกรท่านอื่นที่ ได้รับมอบหมาย) จะกล่าวเกริ่นน�ำสั้นๆ สู่การฉลอง ในวันนัน้ ๆ หรือแจ้งเจตจ�ำนงพิเศษเพือ่ การร่วมจิตใจ เป็นหนึ่งเดียวกันของประชาสัตบุรุษ

6. การสารภาพผิด

และกับกันและกัน และไม่ ใช่แค่การท�ำผิดด้วยกาย วาจา และใจเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการละเลยการ ท�ำความดีด้วย ในตอนท้ายของบทสวด นอกเหนือจากวอน ขอแม่พระ และบรรดานักบุญแล้ว เรายังขอให้ เพื่อนพี่น้อง คนข้างซ้าย-ข้างขวา ได้ภาวนาเพื่อตัว เราด้วย ท่าทีของการสวดบทสารภาพผิดนี้ จึงเรียกร้อง การแสดงออกมาจากใจ การตีอกตัวเองเป็นเครือ่ งหมาย ภายนอกทีย่ อมรับว่าเรามีขอ้ บกพร่อง ยังต้องการ พระหรรษทานจากพระ ยังต้องกลับใจ และเปลีย่ นแปลง ชีวิตให้ดีขึ้นเสมอ เมือ่ สวดบทสารภาพผิดแล้ว ประธานแต่ผเู้ ดียว จะสวดบทขออภัยบาป บทภาวนานี้ ไม่ใช่บทอภัยบาป บทเดียวกับที่พระสงฆ์สวดเมื่อเรารับศีลอภัยบาป เนือ้ หาของบทสวด คือ “ขอพระเจ้าผูท้ รงสรรพานุภาพ ทรงพระกรุณาอภัยบาป และน�ำเราไปสู่ชีวิต นิรันดร” ประธานสวดขอพระเจ้าอภัยบาปทุกคน รวมทั้งตัวท่านเองด้วย แทนการสารภาพผิด บางโอกาส ประธาน จะเสกน�ำ้ เสก และพรมตนเองก่อนทีจ่ ะพรมให้สตั บุรษุ ความหมายของการพรมน�้ำเสกก็คือ เพื่อระลึกถึง ศีลล้างบาป ขณะที่พระสงฆ์พรมน�้ำเสก เราจะก้ม ศีรษะรับการพรมน�้ำเสก และท�ำส�ำคัญมหากางเขน

ในพันธสัญญเดิม ได้กล่าวไว้ว่า ใครก็ตาม ที่อยู่เฉพาะพระพักตร์พระเจ้า เขาจะรู้สึกถึงความ ไม่เหมาะสมของตนเอง เขาจะก้มศีรษะจรดพื้นดิน ในพันธสัญญาใหม่ก็เช่นกัน มีข้อความหลายตอน ที่มุ่งย�้ำให้เราส�ำนึกถึงความผิดบกพร่องของเรา “ถ้ า เราพู ด ว่ า เราไม่ มี บ าปเราก� ำ ลั ง หลอกตนเอง และความจริงไม่อยู่ ในเรา พระองค์ทรงซื่อสัตย์ และเทีย่ งธรรม ถ้าเราสารภาพบาป พระองค์จะทรง อภัยบาปของเรา และจะทรงช�ำระเราให้สะอาด 7. บทร�่ำวิงวอน (กีรีเอ) จากความอธรรมทั้งปวง” (1ยน 1:8-9) เป็นบทร�่ำวิงวอนขอพระกรุณาจากพระเจ้า ประธานจะกล่ า วเชิ ญ ชวนเราให้ ส� ำ นึ ก ถึ ง ความผิดบกพร่องในชีวิตของเรา แล้วทุกคนสวดบท มาจากการร�ำ่ วิงวอนของชาวกรีกต่อเทพเจ้าหลายๆองค์ สารภาพผิดพร้อมกัน เป็นการสารภาพผิดกับพระเจ้า แต่ส�ำหรับคริสตชน จะมุ่งวอนขอพระกรุณาจาก

Liturgy Journal 3


องค์พระเยซู ผู้ทรงกลับคืนชีพ ค�ำว่า “กีรเี อ” คือการเอ่ยเรียกองค์พระผูเ้ ป็นเจ้า “เอเลอีซอน” คือการร้องขอพระกรุณา เช่นเดียวกับที่ ชายตาบอด คนพิการ คนโรคเรือ้ น และบรรดาคนบาป ทัง้ หลายร้องขอพระกรุณาจากพระเยซู จากเรือ่ งราว ในพระวรสาร

8. บทพระสิริรุ่งโรจน์ (กลอรีอา)

เป็นบทเพลง (Hymn) เก่าแก่ ที่ ใช้ขับร้อง เมื่อมีการฉลอง หรือสมโภช รวมทั้งทุกวันอาทิตย์ ยกเว้นในเทศกาลมหาพรต และเทศกาลเตรียมรับ เสด็จฯ เนื้อหาของบทเพลงนี้ แบ่งเป็น 3 ตอน คือ 1. บทเพลงสรรเสริญของชาวสวรรค์ 2. การเทิด พระสิริมงคลของพระเจ้า และ 3. การสรรเสริญ องค์พระเยซูคริสต์ ซึ่งบรรยายเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง กับธรรมล�้ำลึก ด้วยเหตุนี้ การประพันธ์บทเพลง “พระสิริรุ่งโรจน์” ควรรักษาเนื้อหาที่มีอยู่ ในบทพิธี จะดูมคี วามหมายกว่า ถ้าเราขับร้องบทเพลงนี้ อย่างไรก็ตาม ยังสามารถใช้การกล่าวแทนการ ขับร้องได้ ทัง้ โดยการกล่าวพร้อมกันทัง้ หมด หรือกล่าว สลับกับประธาน

9. บทภาวนาของประธาน (บทภาวนาเปิด) เมือ่ จบบทพระสิรริ งุ่ โรจน์ (หรือบทร�ำ่ วิงวอน) ประธานจะกล่าว “ให้เราภาวนา” และเงียบสักครู่ ก่อนที่จะภาวนาต่อไป แม้ประธานจะภาวนาเพียง คนเดี ยว แต่ ก็ ภาวนาแทนประชาสัตบุรุษทุ ก คน ค�ำว่า “ให้เราภาวนา” เป็นทั้งค�ำเชิญชวนให้ประชา

4 จุลสารพิธีกรรม

สั ต บุ รุ ษ ร่ ว มใจเป็ น หนึ่ ง เดี ย วในค� ำ ภาวนาของ ประธานแล้ ว ยั ง เชิ ญชวนให้ ป ระชาสั ต บุรุษน�ำ ค�ำภาวนาของตนรวมเข้ากับค�ำภาวนาของประธาน พร้อมๆ กันไปด้วย เนื้อหาของบทภาวนา ในวันอาทิตย์ และวัน ฉลองต่างๆ จะบ่งบอกถึงเนื้อหาหรือสาระส�ำคัญ ของการฉลองในวันนั้นๆ ดังที่กล่าวแล้วว่า ประธานสวดบทภาวนานี้ ในนามของทุกคน ประชาสัตบุรุษจึงถูกเรียกร้องให้ ตัง้ จิตอธิษฐานพร้อมกับประธานด้วย ไม่ ใช่เป็นเพียง ผู้รับฟังค�ำภาวนาเท่านั้น เมื่อประธานสวดจบแล้ว ทุกคนตอบรับ อย่างพร้อมเพียงว่า “อาแมน” แสดงถึงการมีส่วน ร่วม และเห็นชอบกับค�ำภาวนาดังกล่าว ยังเป็นการ ท�ำให้ค�ำภาวนานั้น เป็นค�ำภาวนาของตนเองด้วย เช่นกัน น. เยโรม ได้เล่าไว้วา่ ในมหาวิหารทีก่ รุงโรม เสียงประชาสัตบุรุษตอบรับว่า “อาแมน” ดังก้อง กังวานราวเสียงฟ้าร้อง เป็นเสมือนการร่วมลงนาม เห็นด้วยกับค�ำภาวนานั้น อิ ริ ย าบถหรื อ ท่ า ทางประกอบการภาวนา ของประธาน ก็มีความหมาย โดยเฉพาะท่าทาง การภาวนาแบบโบราณ ทีป่ ระธานจะยกมือทัง้ สองขึน้ ตั้งตรง เป็นเหมือนการยอมแพ้ ยอมแพ้ต่อพระเจ้า หวังพึ่งพระเมตตาและความช่วยเหลือจากพระองค์ (ส�ำหรับประเทศไทย ใช้การพนมมือ เป็นอิริยาบถ หรือท่าทางประกอบการภาวนา) (ยังมีต่อในฉบับหน้าครับ)


วาติกันให้รักษาการมอบเครื่องหมายแห่งสันติสุขแก่กัน แต่ขอร้องว่าต้องให้ความรู้ด้วย

วาติกัน (CNS) การมอบเครื่องหมายแห่ง สั น ติ สุ ข ในพิ ธี มิ ส ซาบ่ อ ยครั้ ง ก็ ไ ม่ ไ ด้ น� ำ ไปสู ่ สั น ติ สุ ข ในหมู่นักพิธีกรรมหรือในมวลสัตบุรุษที่มาชุมนุมกันใน วันอาทิตย์ที่ โบสถ์คาทอลิกทั่วโลก หลังจาก 9 ปีที่ ได้ศึกษาและปรึกษาหารือกัน สมณกระทรวงเพือ่ พิธกี รรมและศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ได้แจ้งให้แก่ บรรดาพระสั ง ฆราชในจารี ต ละติ น ทั่ ว โลกทราบว่ า เครือ่ งหมายแห่งสันติสขุ จะยังคงมีอยู่ในทีเ่ ดิมในพิธมี สิ ซา ข้อความของจดหมายเวียนเกีย่ วกับเรือ่ ง “การมอบ สั น ติ สุ ข ในพิ ธี มิ ส ซา” ได้ รั บ การอนุ มั ติ โ ดยสมเด็ จ พระสันตะปาปาฟรังซิส และได้รับการเผยแพร่เป็น ภาษาสเปนบนเว็บไซต์ของสภาพระสังฆราชแห่งสเปน คุณพ่อเฟเดอริโก ลอมบาร์ดี โฆษกของวาติกันได้ ยืนยันถึงเอกสารฉบับนี้เมื่อวันที่ 1 สิงหาคมที่ผ่านมา ข้อความของจดหมายเวียนฉบับนี้ มีดังนี้

ในปี 2005 สมาชิกของสมัชชาพระสังฆราช เกี่ยวกับพิธีบูชาขอบพระคุณได้เปิดรับประเด็นค�ำถาม ที่เสนอมาอย่างเป็นทางการว่า การมอบเครื่องหมาย แห่งสันติสุขควรจะน�ำไปไว้ ในช่วงเวลาใดของพิธีมิสซา อาทิเช่น ในตอนท้ายของบทภาวนาของมวลชน และก่อน การเตรียมถวายเครื่องบูชา พระคาร์ดินัล Antonio Canizares Llovera เจ้ากระทรวงพิธกี รรม และพระอัครสังฆราช Arthur Roche เลขาธิการของสมณกระทรวงพิธีกรรม ได้กล่าวว่า สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ทรงขอร้องให้ สมณกระทรวงฯ ศึกษาประเด็นนี้ และหลังจากนั้นในปี 2008 สมณกระทรวงก็ ได้สอบถามสภาพระสังฆราช ทั่วโลกว่า ควรรักษาการมอบเครื่องหมายแห่งสันติสุข เอาไว้ หรือย้ายไปไว้ ในช่วงเวลาอื่น “ด้วยการแสดง ความเห็นทีจ่ ะพัฒนาความเข้าใจและรักษาอากัปกริยานี”้

Liturgy Journal 5


ในจดหมายระบุว่า “หลังจากการไตร่ตรอง มาพอสมควร พิจารณาได้วา่ เป็นการเหมาะสมทีจ่ ะ รักษาพิธีมอบสันติสุขไว้ตามธรรมเนียมที่มีอยู่ ใน พิธีกรรมจารีตโรมัน และไม่แนะน�ำให้เปลี่ยนแปลง โครงสร้างใดๆ ในมิสซาจารีตโรมัน” จดหมายของสมณกระทรวงกล่าวว่า แต่นนั่ ไม่ ได้ ยกเว้นความจ�ำเป็นส�ำหรับความพยายามใหม่ๆ ที่จะ อธิบายความส�ำคัญของเครือ่ งหมายแห่งสันติสขุ เพือ่ ให้ สัตบุรษุ เข้าใจและมีสว่ นร่วมได้อย่างถูกต้อง “พระคริสตเจ้า ทรงเป็นสันติสุขของเรา เป็นสันติสุขที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้ รับการประกาศโดยบรรดาประกาศกและโดยบรรดา ทูตสวรรค์ พระคริสตเจ้าทรงน�ำมาสู่ โลกโดยพระธรรม ล�ำ้ ลึกปัสกาของพระองค์” ในจดหมายระบุไว้วา่ “สันติสขุ นี้ ของพระคริสตเจ้าผูท้ รงกลับคืนพระชนมชีพถูกเรียกหา เทศน์สอนและแผ่ขยายออกไปในพิธมี สิ ซา แม้โดยวิธกี าร ของท่าทางทีม่ นุษย์แสดงออก ซึง่ ได้รบั การยกขึน้ สูด่ นิ แดน แห่งความศักดิ์สิทธิ์”

ในบางธรรมประเพณี ท างพิ ธี ก รรมของ คาทอลิก การมอบเครื่องหมายแห่งสันติสุขเกิดขึ้น ก่อนการถวายเครือ่ งบูชา (เช่น จารีตของนักบุญอัมโบรส แห่งมิลาน ซึ่งยังคงถือปฏิบัติจนถึงปัจจุบัน) เพื่อให้ สอดคล้องกับค�ำแนะน�ำของพระเยซูเจ้า ในพระวรสาร ตามค�ำบอกเล่าของนักบุญมัทธิว บทที่ 5 ข้อ 23-24 ว่า “ขณะที่ท่านน�ำเครื่องบูชาไปถวายยังพระแท่น ถ้า ระลึกได้ว่าพี่น้องของท่านมีข้อบาดหมางกับท่านแล้ว จงวางเครื่องบูชาไว้หน้าพระแท่น กลับไปคืนดีกับพี่ น้องเสียก่อน แล้วจึงค่อยกลับมาถวายเครื่องบูชานั้น” ในจดหมายกล่าวว่า แต่ ในจารีตละติน การ แลกเปลี่ยนเครื่องหมายแห่งสันติสุขมาหลังจากการ เสกศีลมหาสนิท เนื่องจากเป็นการอ้างอิงถึง “การ จุมพิตปัสกาของพระคริสตเจ้าผู้ทรงกลับคืนพระชนม ชีพ ผู้ ได้ทรงถูกถวายบนพระแท่น” พิธีมอบสันติสุขมา ก่อนการบิแผ่นปัง ระหว่างที่สวดบท “ลูกแกะพระเจ้า โปรดประทานสันติสุขเทอญ” Catholic News Service

เพิ่มวันระลึกถึงนักบุญยอห์น ปอล ที่ 2 และยอห์นที่ 23 เข้าในปฏิทินพิธีกรรม

วาติกัน (CNS) เนื่องจากมีเสียงเรียกร้อง จากทุกมุมโลก สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสทรงอนุมตั ิ ให้ ใส่วันระลึกถึงไม่บังคับ นักบุญยอห์น ปอล ที่ 2 และยอห์นที่ 23 พระสันตะปาปา ลงในปฏิทินของ พระศาสนจักรสากล

6 จุลสารพิธีกรรม

ปฏิทนิ โรมันเป็นตารางก�ำหนดวันศักดิส์ ทิ ธิต์ า่ งๆ และวั น ฉลองส� ำ หรั บ จารี ต โรมั น ของพระศาสนจั ก ร คาทอลิก วันฉลองของนักบุญทั้งสององค์ ได้รับการ จัดล�ำดับเป็นระลึกถึงไม่บังคับ วันที่ 11 ตุลาคม ส�ำหรับนักบุญยอห์น ที่ 23 และ วันที่ 22 ตุลาคม


ส�ำหรับนักบุญยอห์น ปอล ที่ 2 หนั ง สื อ พิ ม พ์ L'Osservatore Romano ของวาติกัน ออกเผยแพร่กฤษฎีกาเมื่อวันที่ 11 กันยายน จากสมณกระทรวงพิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์ สมเด็จ พระสันตะปาปาทรงก�ำหนดให้ผู้ที่จัดท�ำปฏิทินสากล ปฏิ บั ติ ง านอยู ่ บ นพื้ น ฐานของข้ อ เสนอแนะจาก สมณกระทรวงพิธีกรรม ในปี ค.ศ. 2007 สมเด็จพระสันตะปาปา เบเนดิกต์ที่ 16 ทรงอนุมตั แิ นวทางส�ำหรับการก�ำหนดว่า นั ก บุ ญ องค์ ใดจะได้ รั บ การฉลองขั้ น ระลึ ก ถึ ง บั ง คั บ สมณกระทรวงแจ้งว่า บรรทัดฐานใหม่เป็นสิ่งที่จ�ำเป็น เพราะในหนึ่ ง ปี ไ ม่ มี จ� ำ นวนวั น ที่ เ พี ย งพอเพื่ อ บรรจุ

นักบุญทุกองค์ลงในปฏิทินสากล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อหักลบวันอาทิตย์และวันศักดิ์สิทธิ์อื่นๆ ออกไปแล้ว สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสผูท้ รงประกอบพิธี สถาปนานักบุญทัง้ สององค์ ในเดือนมิถนุ ายน ทรงอนุมตั ิ การระลึกถึงไม่บังคับ ในกฤษฎีการะบุว่า “ธรรมชาติที่ พิ เ ศษของสมเด็ จ พระสั น ตะปาปาทั้ ง สองพระองค์ ผู้ทรงเป็นแบบอย่างที่มีเอกลักษณ์เฉพาะแห่งคุณธรรม และน�ำเสนอชีวติ ของพระคริสตเจ้า ทัง้ แก่ผู้ได้รบั ศีลบวช และสัตบุรุษ เมื่อพิจารณาจากค�ำเรียกร้องจ�ำนวนมาก จากทุกหนแห่งของโลก สมเด็จพระสันตะปาปาจึง ทรงเห็นชอบตามความปรารถนาที่เป็นเอกฉันท์ของ ประชากรของพระเจ้า” Catholic News Service

ข่าวคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรม

สัมมนา “เยาวชนและพิธีกรรม” เตรียมสู่การเป็นเจ้าภาพ Asian Liturgy Forum คณะกรรมการคาทอลิกเพือ่ พิธกี รรม จัดสัมมนา พิธีกรรมประจ�ำปี ค.ศ. 2014 ในหัวข้อ “เยาวชนและ พิ ธี ก รรม” ระหว่ า งวั น ที่ 28-30 สิ ง หาคม 2014 ณ บ้านผูห้ ว่าน อ.สามพราน จ.นครปฐม โดยมีผเู้ ข้าร่วม ที่ท�ำงานด้านพิธีกรรมและเยาวชนจ�ำนวน 54 คน เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มสู ่ ก ารเป็ น เจ้ า ภาพการ สัมมนาของผู้ท�ำงานพิธีกรรมในระดับเอเชีย ครั้งที่ 18 (Asian Liturgy Forum) ซึ่งประเทศไทยได้รับความ ไว้วางใจให้ร่วมเป็นเจ้าภาพด้านสถานที่ การสั ม มนาเป็ น การให้ ค วามรู ้ จ ากวิ ท ยากร ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นพิ ธี ก รรมเกี่ ย วกั บ การจั ด พิ ธี ก รรม ส�ำหรับเยาวชน ตลอดจนตอบข้อสงสัยต่างๆ เกี่ยวกับ พิธีกรรม และผู ้ ร่วมสัมมนาแบ่ง ปัน ประสบการณ์ ท� ำ ง า น อ ภิ บ า ล ด ้ า น พิ ธี ก ร ร ม กั บ เ ย า ว ช น ข อ ง พระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย โดยข้อมูลที่มา

จากการแบ่ ง ปั น นี้ ท างคณะกรรมการคาทอลิ ก เพื่ อ พิธีกรรมจะน�ำมาประมวลผลและสรุปเป็นรายงานของ ประเทศไทยเพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุม Asian Liturgy Forum ซึ่งจะมีขึ้นในระหว่างวันที่ 27-31 ตุลาคม 2014 ณ บ้านผู้หว่าน อ.สามพราน จ.นครปฐม โดยจะมี ผู้ท�ำงานพิธีกรรมจากประเทศต่างๆ เช่น ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย กัมพูชา เมียนมาร์ ศรีลังกา ไต้หวัน มาเข้าร่วมประมาณ 50-60 คน ส�ำหรับผูเ้ ข้าร่วม คนไทยนั้ น นอกจากตั ว แทนของประเทศไทยที่ ค ณะ กรรมการคาทอลิกเพือ่ พิธกี รรมเป็นผูร้ บั ผิดชอบ ผูท้ ี่ ได้ เข้าร่วมการสัมมนาพิธกี รรมครัง้ นีก้ ็ ได้รบั เชิญให้มาร่วม การสัมมนา Asian Liturgy Forum ที่จะมาถึงนี้ด้วย ในฐานะผู้สังเกตการณ์ เพื่อจะเป็นโอกาสได้รับฟัง ประสบการณ์ท�ำงานอภิบาลพิธีกรรมกับเยาวชนจาก ผู้แทนของประเทศต่างๆ

Liturgy Journal 7


ความส�ำคัญ

เอกสารสภาสังคายนาวาติกันที่ 2 ว่าด้วย พิธกี รรมศักดิส์ ทิ ธิ์ Sacrosanctum Concilium (SC) ได้กล่าวถึงดนตรีศักดิ์สิทธิ์ว่า “เป็นสิ่งประเสริฐ เลิศยิ่งกว่าศิลปะใดๆ และเป็นส่วนที่จ�ำเป็น ท�ำให้พิธีกรรมครบถ้วน” (SC 112) “ดนตรี ” ถู ก จั ด ให้ เ ป็ น หนึ่ ง ในบรรดา เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ที่พระศาสนจักรใช้ เพื่อการฉลองความเชื่อ เป็นการแสดงออกที่ส�ำคัญ ประการหนึง่ ของพิธกี รรม บทเพลงศักดิส์ ทิ ธิแ์ ต่ละบท ที่ถูกขับร้อง เป็นองค์ประกอบที่จะขาดเสียไม่ ได้ ใน พิธกี รรม ดนตรีเป็นสิง่ จ�ำเป็นและเป็นการช่วยส่งเสริม ให้พิ ธี ก รรมมี ความสง่างาม และมีความหมาย สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทั้งช่วยให้บรรดาสัตบุรุษที่มาร่วม ชุ ม นุ ม ได้ แ สดงออกและแบ่ ง ปั น ความเชื่ อ ภายใน จิตใจ ช่ ว ยส่ งเสริมเพิ่มพูน ความเชื่อในตนเองให้ เข้มแข็งขึ้น ด้วยเหตุนี้ เนื้อความในแต่ละบทเพลงจึงมี ความส�ำคัญ ในการช่วยให้ผชู้ มุ นุมร่วมเป็นหนึง่ เดียวกัน กับหมู่คณะ การจัดท�ำนองเพลงและเสียงประสาน ทีด่ ี และเหมาะสมกับเนือ้ ร้องสามารถเพิม่ ความหมาย และบรรยายความรูส้ กึ ของบทเพลงให้ชดั เจนมากขึน้

8 จุลสารพิธีกรรม

เพราะเหตุ ว ่ า การถ่ า ยทอดโดยใช้ เ พี ย งถ้อยค�ำ อย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ จ�ำเป็นต้องใช้ดนตรีท�ำ หน้ า ที่ ช ่ ว ยเสริ ม สร้ า งบรรยากาศของพิ ธี ก รรม ในการเฉลิ ม ฉลองแต่ ล ะโอกาส หรื อ ในแต่ ล ะ เทศกาลอีกด้วย ดังข้อความจากเอกสารพระสังฆธรรมนูญ ว่าด้วยพิธีกรรม “ดนตรีศาสนา” (SC) บทที่ 6 ข้อที่ 112 และ 114 กล่าวไว้ว่า... “ยิ่งดนตรีศาสนามีความสัมพันธ์ ใกล้ชิด กับพิธีกรรมมากเพียงใด ก็ยิ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ มากขึ้นเพียงนั้น” (SC 112) “ดนตรี ศ าสนาเปรี ย บเหมื อ นขุ ม ทรั พ ย์ อันล�้ำค่า จึงต้องบ�ำรุงรักษาด้วยความเอาใจใส่ อย่างดีที่สุด” (SC 114)


ความส�ำคัญของดนตรี ในพิธีกรรม มิใช่เพื่อ การช่วยอภิบาลเท่านั้น แต่ช่วยสร้างความสัมพันธ์ กับพระเจ้าในหลายรูปแบบ มนุษย์สามารถใช้ความ ก้าวหน้าทางวิทยาการเทคโนโลยี น�ำความรู้สมัย ใหม่มาพัฒนาดนตรี ในพิธีกรรม เพื่อช่วยในการส่ง เสริมคริสตชน ให้เจริญความสัมพันธ์กับพระเจ้าใน แต่ละยุคสมัยได้เช่นเดียวกัน

วัตถุประสงค์

ไปในด้ า นอื่ น ๆ ที่ ไม่ ใช่ กิ จ การของพระ ผู้เลือก บทเพลงจึงต้องใช้ความละเอียด ให้ความส�ำคัญ ตลอดจนเพิ่ ม ความระมั ด ระวั ง ในการคั ด เลื อ ก บทเพลงส�ำหรับพิธีกรรมในแต่ละโอกาส เป้าหมายที่แท้จริงของดนตรีศักดิ์สิทธิ์ คือ “เพื่อถวายสิริมงคลแด่พระเจ้า และท�ำให้ คริสตชนเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์” (SC 112 ; MS 4) ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของบรรดาพระสงฆ์ ผู้อภิบาลสัตบุรุษ นักดนตรี และสัตบุรุษทั้งหลาย ในการร่วมมือร่วมใจกันเพื่อท�ำให้การปฏิบัติตาม แนวทางเหล่านี้ ไปสู่เป้าหมายที่แท้จริงของดนตรี ศักดิส์ ทิ ธิ์ ในพิธกี รรม ถ้าบทเพลงทีป่ ระพันธ์ขนึ้ มาใหม่ ไม่ก่อให้เกิดการถวายเกียรติแด่พระเจ้า และไม่ ได้ ท�ำให้คริสตชนเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์ บทเพลงนั้นไม่ถือว่า เป็นบทเพลงศักดิ์สิทธิ์

ดนตรีศักดิ์สิทธิ์ ในพิธีกรรม จึงหมายถึง บทเพลงที่แต่งขึ้น เพื่อช่วยส่งเสริมให้สัตบุรุษได้มี ส่ ว นร่ ว มในศาสนพิ ธี ก รรม สรรเสริ ญ พระเจ้ า ได้อย่างสง่างามและศักดิ์สิทธิ์ (SC 112) ทัง้ หมดนี้ เพือ่ ให้สตั บุรษุ ทีม่ าชุมนุมในคารวกิจ “มีส่วนร่วมในพิธีอย่างแข็งขัน เพื่อการภาวนา ขับร้องสรรเสริญพระเจ้าเป็นส�ำคัญ” ดนตรี ใน พิ ธี ก รรมจึ ง มี บ ทบาทในการสร้ า งบรรยากาศ ความเป็นหนึ่งเดียว เมื่อทุกคนร่วมร้องบทเพลง เดียวกัน จิตใจจะถูกผนวกให้เป็นหนึง่ การขับร้องทีม่ ี ความไพเราะและมีความหมาย จะก่อให้เกิดความ งดงามในพิธีกรรม ด้วยเหตุนี้ จึงควรหลีกเลี่ยง บทเพลงที่สัตบุรุษไม่สามารถมีส่วนร่วมพร้อมกัน ทุกคน เช่น ดนตรีศักดิ์สิทธิ์ที่ ใช้ ในพิธีกรรม จึงต่างจาก บทเพลงที่ ใช้เสียงร้องทีส่ งู หรือต�ำ่ เกินไป ดนตรีศักดิ์สิทธิ์ที่ ใช้บ�ำรุงศรัทธา กล่าวคือ ดนตรี ศักดิ์สิทธิ์ที่ ใช้ ในพิธีกรรม ต้องเหมาะสมส�ำหรับ การขับร้องร่วมกันเป็นหมู่คณะ มากกว่าที่จะเป็น (ตัวอย่างที่ 1 : การใช้ โน้ตที่มีช่วงเสียงกว้าง และมีระดับเสียงที่สูงเกินไป) การขับร้องเดี่ยว รวมทั้งมีความหมายของเนื้อร้อง เพลงทีป่ ระพันธ์ขนึ้ ใหม่ทยี่ งั ไม่ ได้มกี ารฝึก ตลอดจนท� ำ นองเพลงที่ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ขั บ ร้ อ ง เพราะสั ต บุ รุ ษ ส่ ว นใหญ่ ยั ง ร้ อ งไม่ ไ ด้ ขั้ น ตอนของพิ ธี ก รรมนั้ น ๆ ส่ ว นดนตรี ที่ ใช้ บ� ำ รุ ง หรื อ บทเพลงที่ ใช้ ท� ำ นองเพลงหรื อ จั ง หวะไปใน ศรัทธา อาจเป็นดนตรีส�ำหรับขับร้องส่วนบุคคล แนวทางเพลงทางโลก เพราะจะก่อให้เกิดความหมาย หรือเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น

. .

Liturgy Journal 9


ดั ง นั้ น พอจะสรุ ป ได้ ว ่ า ดนตรี ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ในพิธี ก รรม จึ งเป็น ดนตรีที่มีจิตตารมณ์ หรื อ มี จุดประสงค์เพื่อ 1. ส่งเสริมความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกันของ สัตบุรุษ ให้มีส่วนร่วมในการสรรเสริญพระเจ้า 2. ส่งเสริมการภาวนาฝ่ายจิตใจ สร้างความ ศรัทธา และสัมผัสถึงพระเจ้าได้อย่างมีชีวิตชีวา 3. ส่งเสริมจารีตพิธกี รรมให้มคี ณ ุ ค่า ความหมาย ความสง่างาม และมีบรรยากาศของความศักดิ์สิทธิ์

3. ควรมี ก ารฝึ ก ซ้ อ มร้ อ งบทเพลงอย่าง สม�่ำเสมอ (MS 18)

การบรรเลงดนตรี ในพิธีกรรม 1. ควรมีการเตรียมตัวอย่างดี ทั้งในด้าน ความพร้อมของเครือ่ งดนตรี อุปกรณ์เครือ่ งขยายเสียง รวมถึงการเตรียมบทเพลง และการฝึกฝนก่อนการ บรรเลงในพิธี (ไม่ควรมีการฝึกซ้อม หรือทบทวน บทเพลงในระหว่างพิธี) (MS 18) 2. หลีกเลี่ยงการบรรเลงด้วยเสียงที่ดังจน (SC 112) เกินไป รวมถึงจังหวะและลีลาที่ ไม่เหมาะสม (MS 6,64) 3. ไม่ควรอนุญาตให้นกั ดนตรีฝกึ หัดทีย่ งั ไม่มี การบรรเลง และการขับร้อง ความช�ำนาญเพียงพอ ท�ำหน้าที่บรรเลงดนตรี ใน พิธีกรรม (MS 8 ,21) (พึงระลึกไว้เสมอว่า การบรรเลงดนตรีและการขับร้อง บทเพลงในพิ ธี ก รรมนั้ นมีวัต ถุประสงค์ เพื่อส่ง เสริม ให้ สั ตบุ รุ ษ 4. กลุม่ ผูน้ ำ� การขับร้องและนักดนตรี ไม่ควร มีส่วนร่วมในพิธีอย่างแข็งขัน ไม่ ใช่เวทีแสดงความสามารถในทาง อยู่ ในต�ำแหน่งที่รบกวนสมาธิของสัตบุรุษในการ ดนตรี) ร่วมพิธี (MS 23) การคัดเลือกบทเพลงเพื่อใช้ ในพิธีกรรม 5. การบรรเลงเสียงประสานให้กับท�ำนอง 1. ควรเลือกใช้บทเพลงที่เป็นที่รู้จักอย่างดี ต้องมีความสมดุล ไม่ใช่เสียงประสาน และการเดินเบส ในหมู่สัตบุรุษ (SC 114) ทีท่ ำ� ลายโครงสร้างหลักของท�ำนองเพลง และไม่ควร 2. หลีกเลี่ยงบทเพลงที่ต้องใช้ความสามารถ ใช้คีตปฏิภาณ (Improvisation) ในการประดิษฐ์ ขั้นสูงในการขับร้อง (เสียงสูง/ต�ำ่ เกินไป หรือร้องยากเกินไป) ท�ำนอง และเสียงประสาน จนท�ำให้ผู้ขับร้องไม่ (MS 9) สามารถร้องตามได้ 3. ควรเลือกเพลงให้เหมาะสมกับแต่ละภาค ของพิธกี รรม และเทศกาลต่างๆ (MS 36) และเพือ่ ให้ เกิดผลที่ดียิ่งขึ้น ควรเลือกบทเพลงให้สอดคล้องกับ บทอ่านของวันในเทศกาลนั้น ๆ การขับร้องบทเพลงในพิธีกรรม 1. หลีกเลี่ยงลักษณะการขับร้องที่สัตบุรุษ ไม่สามารถมีส่วนร่วมได้ (MS 16) เอกสารอ้างอิง 2. ในกรณีที่มีผู้น�ำการขับร้อง ต้องมี ก าร SC Sacrosanctum Concilium, Second Vatican Council Constitution on the Sacred Liturgy, (4 December 1963). คัดเลือกและพิจารณาผู้ที่มีความสามารถในการน�ำ MS Musicam Sacram, Sacred Congregation of Rites อย่างแท้จริง (MS 8) Instruction on Music in the Liturgy, (5 March 1967).

10 จุลสารพิธีกรรม


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติเทคนิคการเล่นอิเล็กโทนประจ�ำปี 2557

แผนกดนตรีศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ในสภาพระสังฆราชคาทอลิกฯร่วมกับบริษทั สยามดนตรียามาฮ่า จ�ำกัด ได้เปิด โครงการอบรมเชิงปฏิบัติเทคนิคการเล่น อิ เ ล็ ก โทนประจ� ำ ปี 2557 เมื่ อ วั น ที่ 7 – 8 มิ ถุน ายน 2557 ณ อาคารสยามกลการ ปทุมวัน ด�ำเนินการอบรมโดย อาจารย์เรมีย์ นามเทพ และอาจารย์ยทุ ธพงศ์ แสงสมบูรณ์ ผู้เข้าร่วมอบรมจ�ำนวน 20 ท่าน

โครงการอบรมหลักสูตรการเรียนร้องเพลงและพืน้ ฐานทางดนตรีเบือ้ งต้น (8 สัปดาห์)

แผนกดนตรีศกั ดิส์ ทิ ธิฯ์ เปิดสอนหลักสูตรการเรียนร้องเพลงและพืน้ ฐานทางดนตรีเบือ้ งต้น (8 สัปดาห์) เพือ่ ใช้สำ� หรับขับร้องบทเพลงในพิธกี รรม สอนโดย อาจารย์พรเทพ วิชชุชยั ชาญ และ อาจารย์ศริ ารัตน์ สุขชัย ทุกวันอาทิตย์ เวลา 13.00–17.30 น. ตั้งแต่วันอาทิตย์ที่ 17 สิงหาคม – 5 ตุลาคม 2557 ณ วัดเซนต์หลุยส์ สาทร ตึกวันทามารีย์ ชั้น 2 โดยมีผู้เข้าอบรมจ�ำนวนทั้งสิ้น 32 คน

Liturgy Journal 11


โครงการอบรมสิ่งน่ารู้เรื่องดนตรี ในพิธีกรรม 7 ครั้ง 7 เรื่องราว - ครั้งที่ 1 หั ว ข้ อ เรื่ อ ง “วิ วั ฒ นาการดนตรี ศักดิ์สิทธิ์ ในพระศาสนจักรคาทอลิกไทย” โดย ดร.จิตตพิมญ์ แย้มพราย เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2557

โครงการอบรมสิ่งน่ารู้เรื่องดนตรี ในพิธีกรรม 7 ครั้ง 7 เรื่องราว - ครั้งที่ 2 หั ว ข้ อ เรื่ อง “ดนตรี ในพิธีกรรม และการเขียนเพลงวัด” โดยคุณพ่อเชษฐา ไชยเดช และคุณพ่ออนุสรณ์ แก้วขจร เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2557

โครงการอบรมสิ่งน่ารู้เรื่องดนตรี ในพิธีกรรม 7 ครั้ง 7 เรื่องราว - ครั้งที่ 3 หัวข้อเรื่อง “การฝึกซ้อมร้องเพลง วัดในพิธีอย่างมีชีวิตชีวา” โดยอาจารย์ พรเทพ วิชชุชัยชาญ และอาจารย์ศิรารัตน์ สุขชัย เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2557

ประชาสัมพันธ์

โครงการอบรมสิ่งน่ารู้เรื่องดนตรี ในพิธีกรรม 7 ครั้ง 7 เรื่องราว

ทุกวันอาทิตย์แรกของเดือน เริ่มเดือนสิงหาคม เป็นต้นไป ตั้งแต่เวลา 13.30–17.00 น. ณ ส�ำนักพระ สังฆราช ชั้นใต้ดิน อัสสัมชัญ (บางรัก) โปรดติดตามข่าวสารของแผนกต่อไป ครั้งที่1 –วิวัฒนาการดนตรีศักดิ์สิทธิ์ ในพระศาสนจักรคาทอลิกไทย– 3 สิงหาคม 2557 ครั้งที่2 –ดนตรี ในพิธีกรรมและการเขียนเพลงวัด – 7 กันยายน 2557 ครั้งที่3 – การร้องเพลงวัดในพิธีอย่างมีชีวิตชีวา – 5 ตุลาคม 2557 ครั้งที่4 – การอ่านเพลง และการน�ำซ้อมเพลง – 2 พฤศจิกายน 2557 ครั้งที่5 - การเล่นเครื่องดนตรีประกอบในพิธีกรรม – 7 ธันวาคม 2557 ครั้งที่6 –ความเป็นผู้น�ำและจิตตารมณ์นักดนตรีวัด – 11 มกราคม 2558 ครั้งที่7 –จิตตารมณ์ความหมายของบทเพลงศักดิ์สิทธิ์และการจัดเพลงในพิธี – 8 กุมภาพันธ์ 2558

12 จุลสารพิธีกรรม


ก่อนอืน่ ต้องน้อมคารวะผูเ้ ป็น “ปูชะนียาจารย์ ผูท้ รงคุณวุฒทิ างสถาปัตยกรรม” ซึง่ ในวงวิชาการ และวิชาชีพสถาปัตยกรรมรู้จักท่านในมิติของ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละเป็ น ปราชญ์ ท างด้ า น สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และท่านเป็นบุคคลแรก ที่ ใช้ค�ำว่า “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น”1 จากค�ำใน ภาษาอังกฤษว่า “Vernacular Architecture” ปัจจุบันได้ถูกใช้อย่างกว้างขวางในวงวิชาการ และวิ ช าชี พ สถาปั ต ยกรรมของประเทศไทย ท่านผูน้ นั้ คือ “รองศาสตราจารย์ วิวฒ ั น์ เตมียพันธ์” หรือ “อาจารย์จวิ๋ ” ของนักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรม เกือบทุกสถาบัน ผูเ้ ขียนได้คารวะครูแล้วจึงขออนุญาตท่าน น�ำค�ำว่า “สถาปัตยกรรมพืน้ ถิน่ ” มาใช้ ในบทความนี้

เนื่ อ งจากงานสถาปั ต ยกรรมพื้ น ถิ่ น ที่ ผูเ้ ขียนจะกล่าวถึงนี้ มีความสัมพันธ์กบั ศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก ผู้เขียนจึงขอน�ำข้อก�ำหนด ของสภาสังคายนาสากล วาติกันที่ 2 ในกฎ ทั่วไปส�ำหรับมิสซาตามจารีตโรมัน (Institutio Generalis Missalis Romani) บทที่ 5 ข้อ 289 เพราะฉะนั้น พระศาสนจักรจึงประสงค์ ให้ โบสถ์ มี ศิ ล ปะตกแต่ ง อย่ า งมี คุ ณ ค่ า แต่ ไม่ หรูหราจนเกินไป และยังอนุญาตให้น�ำศิลปะ ของทุกชนชาติหรือท้องถิน่ มาใช้ได้ดว้ ย ยิง่ กว่านัน้ ยังควรรักษางานศิลปะมีค่า ที่ ได้รับตกทอดมา จากศตวรรษก่อนๆ ไว้ และถ้าจ�ำเป็นยังส่งเสริม ให้ปรับปรุงแก้ไขสิง่ ต่างๆ ตามความต้องการใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับลักษณะของสมัยปัจจุบนั ได้ดว้ ย2

Liturgy Journal 13


บริเวณด้านหน้าของโบสถ์

บริเวณที่นั่งสัตบุรุษ (Congregation Area or Nave)

บริเวณสักการสถาน (Sanctuary) 14 จุลสารพิธีกรรม

จากข้ อ ก� ำ หนดดั งกล่ าว เห็ น ได้ ว่ า พระ ศาสนจักรคาทอลิกให้ความส�ำคัญกับศิลปะท้องถิน่ และสนั บ สนุ น ให้ น� ำ มาประยุ ก ต์ ใช้ ในการ ออกแบบและก่อสร้างโบสถ์ของพระศาสนจักร เพือ่ ให้ ได้ “อาคารศักดิส์ ทิ ธิ”์ ทีเ่ ป็นสถาปัตยกรรม พื้นถิ่นอันงดงามและทรงคุณค่า โอกาสนี้ผู้เขียนขอแนะน�ำให้ท่านผู้อ่านได้ รู้จักโบสถ์แห่งหนึ่งของพระศาสนจักรคาทอลิก ประเทศไทย คือ “วัดอัครเทวดามีคาแอล” บ้านซ่งแย้ หมู่ 3 ต�ำบลค�ำเตย อ�ำเภอไทยเจริญ จังหวัด ยโสธร สังฆมณฑลอุบลราชธานี ชาวบ้านจะ เรียกว่า “วัดซ่งแย้” โบสถ์ก็คือวัด ตามประมวล กฎหมายพระศาสนจักร หมวด 1 วัด มาตรา 1214 โบสถ์แห่งนี้เป็นหนึ่งใน UNSEEN ของการท่อง เที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย และมี อี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า “โบสถ์ ไม้มหัศจรรย์” โบสถ์ ไม้ที่ ใหญ่ที่สุดใน ประเทศไทย โบสถ์หลังนี้มีขนาดกว้าง 16 เมตร ยาว 57 เมตร โครงสร้างและส่วนประกอบเป็นไม้เนือ้ แข็ง ทั้งหมด เช่น ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้มะค่า ไม้เต็ง เป็นต้น ใช้เสาทั้งใหญ่และเล็กจ�ำนวน 360 ต้น ไม้แป้นเกล็ดมุงหลังคา 80,000 แผ่น สามารถ รองรับสัตบุรุษได้ประมาณ 500 คน โบสถ์หลังนี้ สร้ างเสร็ จและได้มี พิธี เสกวั ดโดยพระคุ ณเจ้ า บาเยต์ เมือ่ วันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2497 (ค.ศ.1954)3 จากประวัติของวัด โบสถ์หลังนี้สร้างด้วย แรงศรัทธาและความเชื่อในองค์พระผู้เป็นเจ้า ของคริสตชนในชุมชน ไม่มสี ถาปนิก วิศวกร ใช้ความรู้ ความช�ำนาญของช่างพื้นถิ่น ใช้ศิลปะพื้นบ้าน เป็นองค์ประกอบ


เมือ่ ประมาณเกือบ 10 ปีทผี่ า่ นมา คุณพ่อ บุญเลิศ พรหมเสนา คุณพ่อเจ้าวัด ได้ร้องขอ ให้ ค ณะกรรมการแผนกศิ ล ปะในพิ ธี ก รรมไป ส�ำรวจ และให้คำ� ปรึกษาในการบูรณะปรับปรุงโบสถ์ เนื่ อ งจากเริ่ ม ช� ำ รุ ด ทรุ ด โทรมตามกาลเวลา และเพื่อให้ถูกต้องตามข้อก�ำหนดทางพิธีกรรม เมือ่ คณะกรรมการอันประกอบด้วย คุณพ่อ ยอแซฟ ไพศาล อานามวัฒน์ ประธาน (ปัจจุบัน ท่ านมรณภาพแล้ว) คุณพ่อฟรังซิสเซเวี ยร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช (ปัจจุบันท่านเป็นพระ อัครสังฆราชแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ) คุณสุพจน์ โกวิทวานิชย์ (สถาปนิก) คุณมาโนช สุขชัย (สถาปนิก) และผู้เขียน เดินทางไปถึงวัด ซ่งแย้ ภาพที่เราเห็นคือ คุณพ่อเจ้าวัด คุณพ่อ ท่ านอื่นๆ สภาภิบาลและสัตบุรุษจ�ำนวนมาก ก�ำลังขะมักเขม้นปรุงแต่งขนาดต่างๆ บ้างก็กำ� ลัง เปลีย่ นแป้นเกล็ดไม้อยูบ่ นหลังคา ในชัน้ แรกผูเ้ ขียน เพี ย งนึก อยู่ ใ นใจว่า “นี่แหละมหัศ จรรย์ แห่ ง ความเชือ่ ” หลังจากนัน้ คุณพ่อบุญเลิศได้พาคณะ ของเราไปส�ำรวจ โดยทั่วไปหลังการส� ำ รวจ ผู ้ เ ขี ยนได้ก ล่าวกับคณะส�ำรวจว่า นี่ แหละ “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น” ทุกท่านเห็นด้วยและ

เสริมว่า “มหัศจรรย์แห่งความเชื่อ” หลังจากเดินทางกลับกรุงเทพฯแล้ว คุณสุพจน์ ได้รับภาระท�ำค�ำแนะน�ำและให้ค�ำปรึกษาการ บูรณะปรับปรุงโบสถ์ไม้มหัศจรรย์หลังนี้ ผูเ้ ขียน เชื่อว่า ณ วันนี้ วัดอัครเทวดามีคาแอล (วัดซ่ง แย้) มีแบบที่เป็น “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเพชรน�้ำงามที่ยโสธร” ขอพระเจ้าโปรดประทานพระพร เอกสารอ้างอิง 1. รศ.วิวัฒน์ เตมียพันธ์ “คติความเชื่อ บางประการในงานสถาปัตยกรรมไทย” พิมพ์ครัง้ ที่ 1, เมษายน 2557 (กรุงเทพฯ, บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จ�ำกัด) 2. สมณกระทรวงพิธกี รรมและศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ กรุงโรม “กฎทัว่ ไปส�ำหรับมิสซาตามจารีตโรมัน” พิมพ์ครั้งที่ 1, กุมภาพันธ์ 2548 (กรุงเทพฯ, คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรม) 3. สื่อมวลชนคาทอลิกแห่งประเทศไทย “ท�ำเนียบวัดคาทอลิกในประเทศไทย” พิมพ์ครัง้ ที่ 1, พ.ศ.2541 (กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์อัสสัมชัญ)

Liturgy Journal 15


สวัสดีครับ ผู้อ่านจุลสารพิธีกรรมทุกท่าน คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรม ได้จัดท�ำ จุลสารพิธีกรรมฉบับนี้ เป็นฉบับที่ 3 แล้ว โดยมีผู้ที่ ให้การสนับสนุน และติดตามอ่านเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ ทั้งในแบบสื่อออนไลน์และสิ่งตีพิมพ์ เนื่องจากเนื้อหาของจุลสารที่เกี่ยวกับพิธีกรรม ของคริสตชนทั้งด้านพิธีกรรมโดยตรง ดนตรีศักดิ์สิทธิ์ และศิลปะในพิธีกรรม ที่ประกอบด้วย บทความที่เป็นประโยชน์ ตลอดจนข่าวสารที่น่าสนใจในแวดวงพิธีกรรม ในช่วงปลายเดือนตุลาคมนี้ คณะกรรมการคาทอลิกเพือ่ พิธกี รรมได้รบั เกียรติรว่ มเป็นเจ้าภาพ จัดสัมมนาผู้ท�ำงานพิธีกรรมในระดับเอเชีย (Asian Liturgy Forum) ครั้งที่ 18 หัวข้อ “เยาวชน และพิธีกรรม” โดยมีผู้ท�ำงานพิธีกรรมจากประเทศต่างๆ มารายงานและแบ่งปันประสบการณ์ อภิบาลพิธีกรรมกับเยาวชน ถือเป็นโอกาสที่ดีส�ำหรับผู้ท�ำงานพิธีกรรมและอภิบาลเยาวชน ในประเทศไทยจะได้มารับทราบถึงวิธกี ารท�ำให้พธิ กี รรมเข้าถึงชีวติ ของเยาวชนได้อย่างมีความหมาย และตรงใจเยาวชนมากขึ้น ส�ำหรับต้นเดือนธันวาคม พระศาสนจักรก็จะเข้าสู่ปีพิธีกรรมใหม่ โดยเริ่มจากเทศกาล เตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการรอคอย ที่จะได้พบปะและรู้จักกับ พระคริสตเจ้า ซึ่งเราจะเฉลิมฉลองการประสูติของพระองค์ ในวันพระคริสตสมภพ ขอให้เรา แต่ละคนเตรียมจิตใจเพื่อรับเสด็จพระองค์อย่างดี ขอพระเจ้าอ�ำนวยพรผู้อ่านทุกท่าน คุณพ่ออันโตนี โอ วาลแซ็กกี O.F.M.Cap เลขาธิการคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพิธีกรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.