р╕Др╕╣р╣Ир╕бр╕╖р╕нр╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕бр╕┤р╕Щр╕Ьр╕е р╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕Пр╕┤р╕Ър╕▒р╕Хр╕┤р╕Зр╕▓р╕Щр╕Ър╕╕р╕Др╕ер╕▓р╕Бр╕г р╕кр╕▓р╕вр╕кр╕Щр╕▒р╕Ър╕кр╕Щр╕╕р╕Щр╕зр╕┤р╕Кр╕▓р╕Бр╕▓р╕г
คํานํา การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นกระบวนการหนึ่งของระบบบริหารทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนา บุคลากรให้มีความพร้อมและเหมาะสมในการปฏิบั ติงานของหน่ วยงาน คณะวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตระหนักถึงความจําเป็นและคุณค่าความสําคัญของบุคลากรทุกคนทุกระดับในการพัฒนาคณะให้เป็นไปตาม ทิศทางและเป้าหมายที่กําหนดร่วมกัน เพื่อให้บุคลากรมีความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ เพิ่ม ศักยภาพในการทํางาน มีความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพที่เหมาะสม และเพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณา ความดีความชอบประจําปี โดยเน้นการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อการปรับปรุงพัฒนาสร้างสรรค์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีความเป็นธรรมกับผู้รับการประเมิน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ
สารบัญ
คํานํา สารบัญ หลักการและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (ป.FST.-1) แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (ป.FST.-2 ) แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ (ป.FST.-3) วิธีการคํานวณและกรอกเอกสาร(สายสนับสนุนวิชาการ) - วิธีการกรอกแบบประเมินแบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของบุคลากรสาย สนับสนุนวิชาการคณะวิทยาศาสตร์ ฯ (ส่วนที่ 1 แบบ ป.FST.-1) - วิธีการคํานวณส่วนที่1แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานของบุคลากร สายสนับสนุน วิชาการ (ส่วนที่ 2 แบบ ป.FST.-2) - พจนานุกรมสมรรถนะหลักสายสนับสนุนวิชาการ (ก) Core Competencies - พจนานุกรรมสมรรถนะเฉพาะสายสนับสนุนวิชาการ (ข) Functional Competencies - พจนานุกรรมสมรรถนะการบริหารสายสนับสนุนวิชาการ (ค) Managerial Competencies - การกําหนดมาตรฐานของสมรรถนะตามกลุ่มสายงาน
หน้า ก ข 1 5 7 9 13 15 18 24 34 37
หลักการและวิธีการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน
1
หลักการของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. เน้นการประเมินเพื่อการพัฒนา 2. มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ 3. มีความเป็นธรรมกับผู้รับการประเมิน 4. บุคลากรส่วนใหญ่ทั้งผู้บริหาร ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินให้การยอมรับ วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. เพื่อพัฒนาบุคลากรและเพื่อปรับปรุงงาน 2. เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาความดีความชอบประจําปี 3. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้สามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กร 4. เพื่อให้เห็นภาพปัญหาและอุปสรรคในการทํางานเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงระบบและพัฒนาบุคลากร รูปแบบการประเมิน 1. ผู้ประเมินจะอยู่ในรูปคณะกรรมการที่คณะแต่งตั้ง 2. ผู้ประเมินต้องสามารถชี้จุดอ่อน/จุดแข็ง ของผู้รับการประเมินได้ 3. ผู้รับการประเมินต้องมีส่วนร่วมในการประเมินโดยการรับรู้ และยอมรับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเป้าหมาย ในการประเมิน และต้องทําข้อตกลงร่วมกับผู้บังคับบัญชาเบื้องต้นก่อนถึงรอบการประเมิน 4. การประเมินประกอบด้วย 2 ส่วนคือการประเมินตามข้อตกลงและการประเมินความสามารถเชิง สมรรถนะตามที่กําหนดของแต่ละสายของบุคลากร โดยเป็นการประเมินจากผู้บังคับบัญชาเบื้องต้นร้อย ละ 50 และผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอื่นอีกร้อยละ 50 องค์ประกอบ/ลักษณะของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ผู้รับการประเมิน เป็นบุคลากรทุกคนที่สังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยแบ่งเป็น 2 สาย ตามลักษณะของภารกิจ/ งานที่รับผิดชอบดังนี้ 1.1 สายวิชาการ ได้แก่ อาจารย์ประจํา 1.2 สายสนับสนุน ได้แก่ บุคลากรสายสนับสนุนทั้งหมด 2. คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วยผู้บังคับบัญชาและกรรมการอื่นๆ จํานวนไม่น้อย กว่า 2 คน
2
องค์ประกอบกรรมการและผู้ให้ ข้อมูลการประเมินสายวิชาการ ระดับผู้รับ การประเมิน สายวิชาการ
กรรมการ ประเมิน
สอน
คณบดีหรือ ตามคําสั่ง มอบหมาย ของคณบดี
ประธาน หลักสูตร นักศึกษา ผู้ร่วมงาน
บริการ วิชาการ ประธาน หลักสูตร ผู้ร่วมงาน ผู้รับบริการ
ผู้ให้ข้อมูล บริหาร วิจัย
ให้คําปรึกษา
ผู้ที่เป็น หัวหน้าวิจัย องค์ประกอบ ผู้รว่ มวิจยั คณะกรรม การผูร้ ่วมงาน
หัวหน้า ผู้รับผิดชอบ หรือผู้ที่ เกี่ยวข้อง
งานพิเศษ อื่นๆ ประธาน หลักสูตร ผู้ร่วมงาน
องค์ประกอบกรรมการและผู้ให้ข้อมูลการประเมินสายบริหารระดับคณะ ระดับผู้รับ การประเมิน
กรรมการ ประเมิน
ผู้ให้ข้อมูล บริหาร วิจัย
สอน
บริการ
ให้คําปรึกษา
รองคณบดี
คณบดีหรือ ตามคําสั่ง มอบหมาย ของคณบดี
ประธาน หลักสูตร นักศึกษา ผู้ร่วมงาน
ประธาน หลักสูตร ผู้ร่วมงาน ผู้รับบริการ
ผู้ที่เป็น หัวหน้าวิจัย องค์ประกอบ ผู้รว่ มวิจยั คณะกรรม การผูร้ ่วมงาน
หัวหน้า ผู้รับผิดชอบ หรือผู้ที่ เกี่ยวข้อง
หัวหน้ากลุ่ม สาขา ประธาน หลักสูตรและ หัวหน้า หน่วยงาน เทียบเท่า
คณบดีหรือ ตามคําสั่ง มอบหมาย ของคณบดี
กรรมการ หลักสูตร นักศึกษา ผู้ร่วมงาน
กรรมการ หลักสูตร ผู้ร่วมงาน ผู้รับบริการ
คณบดี ผู้ร่วมงาน
หัวหน้า ผู้รับผิดชอบ หรือผู้ที่ เกี่ยวข้อง
หัวหน้าวิจัย ผู้ร่วมวิจยั
งานพิเศษ อื่นๆ ประธาน หลักสูตร ผู้ร่วมงาน
คณบดี ผู้ร่วมงาน
องค์ประกอบกรรมการและผู้ให้ขอ้ มูลการประเมินสายสนับสนุน ระดับผู้รับ การประเมิน ผู้ปฏิบัติงาน สายสนับสนุน
กรรมการ ประเมิน
ผลงานประจํา
คณบดีหรือตามคําสั่งมอบหมายของ ผู้บังคับบัญชา คณบดี ผูร้ ่วมงาน
3
ผู้ให้ข้อมูล ผลงานเชิงพัฒนา ผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน
งานอื่นๆ ผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน
รอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินตามปีการศึกษา มี 2 รอบการประเมินคือ 1. การประเมินครั้ง ที่ 1 รอบการประเมิน 1 มิถุนายน - 31 ตุลาคม ของปีการศึกษานั้น ๆ 2. การประเมินครั้ง ที่ 2 รอบการประเมิน 1 พฤศจิกายน - 31 พฤษภาคม ของปีการศึกษานั้น ๆ สัดส่วนการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน สายของบุคลากร สายวิชาการ สายสนับสนุน สายบริหาร o ตําแหน่งคณบดี o ตําแหน่ง รองคณบดี o ตําแหน่งหัวหน้ากลุม่ สาขาวิชา o ตําแหน่งหัวหน้าสํานักงาน
ผลการประเมินผลงานตาม ข้อตกลง 80 70
พฤติกรรมการปฏิบัติงาน (Competency) 20 30
20 40 40 60
80 60 60 40
องค์ประกอบและสัดส่วนของการประเมิน องค์ประกอบ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงาน - ปริมาณ/คุณภาพ/ความรวดเร็วตรงเวลา - ประหยัด/ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร 2. พฤติกรรมการปฏิบัติงาน (Competency) - สมรรถนะหลัก - สมรรถนะเฉพาะ หรือบริหาร
สัดส่วน (ร้อยละ) 20-80%
20-80%
4
แบบ ปFST.-1 แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (ส่วนที่ 1) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ รอบการประเมิน รอบที่ 1 1 มิถุนายน ....................... ถึง 31 ตุลาคม.................... รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม.............. ชื่อผู้รับการประเมิน ………………………….…..………………………………………………………………………..…………………………...... ตําแหน่ง ……………………………………….…….…...ตําแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัด ………………………....................................................................………………………......................................................... (1) กิจกรรม / โครงการ / งาน 1. ภาระงานหลัก
2. คุณลักษณะการปฏิบัติงาน
3 ผลงานเชิงพัฒนา
(2) ตัวชี้วัด / เกณฑ์การประเมิน 1. ปริมาณผลงาน(พิจารณาจากปริมาณผลงานเปรียบเทียบกับ เป้าหมายข้อตกลงหรือมาตรฐานงาน) 2. คุณภาพของงาน(พิจารณาจากความถูกต้องครบถ้วน ความสมบูรณ์และความประณีตหรือคุณภาพอื่นๆ) 3. ความทันเวลา(พิจารณาจากเวลาที่ใช้ปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับเวลาที่กาํ หนดไว้ สําหรับการปฏิบัติงานหรือ ภารกิจนั้นๆ) 4. ความร่วมมือ (พิจารณาความสามารถในการทํางานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมอันเป็นผลทํางานให้งานลุล่วงไป ด้วยดี) 5. สภาพการปฏิบัติงาน(พิจารณาจากการตรงต่อเวลา การลา หยุดงาน การขาดงาน) 6 .ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร(พิจารณาจาก ความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรที่ใช้กับผลผลิตของงานหรือ โครงการ) 7. ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติ (พิจารณาจากผลผลิตหรือ ผลลัพธ์ของผลงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์ของงาน) 8. ความสามารถและความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน (พิจารณาจากความรอบรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับงานในหน้าที่ งานที่เกี่ยวข้องและเครื่องมือเครื่องใช้ ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งความขยันหมั่นเพียร ตั้งใจทํางานให้ สําเร็จโดยไม่ ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรค์) 9 .ความรับผิดชอบและการมีวินยั (พิจารณาจากการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มใจมุ่งมั่น ทํางานให้ สําเร็จลุล่วงปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการเคารพ กฎระเบียบต่างๆ รวมทั้งปฏิบัติตนอยู่ในกรอบจรรยาบรรณ และค่านิยมของหน่วยงาน) 10.ความคิดริเริ่ม(พิจารณาจากความสามารถในการคิดริเริ่ม ปรับปรุงงานให้ เกิดผลสําเร็จได้ อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กว่าเดิมและเป็นประโยชน์ตอ่ องค์กร) 5
(3) ค่าคะแนน ที่ได้ (เต็ม 5)
(4) น้ําหนัก (ความสําคัญ/ ความยากง่าย ของงาน) 10 10 10
10
10 10
10
10
10
10
(5) ค่าคะแนนถ่วง น้ําหนัก
(3)x (4) 100
(1) กิจกรรม / โครงการ / งาน
(2) ตัวชี้วัด / เกณฑ์การประเมิน
(5) สรุปคะแนนส่วนผลสัมฤทธิ์ของงาน
=
(3) ค่าคะแนน ที่ได้ (เต็ม 5)
(4) น้ําหนัก (ความสําคัญ/ ความยากง่าย ของงาน)
(5) ค่าคะแนนถ่วง น้ําหนัก
(3)x (4) 100
100 (4)ผลรวม ผลรวมของค่าคะแนนถ่วงน้ําหนัก = จํานวนระดับค่าเป้าหมาย = 5
(8) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้ตกลงร่วมกันและเห็นพ้องกันแล้ว (ระบุข้อมูลใน (1) (2) และ (4) ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อจัดทําข้อตกลง)
ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (........................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................
ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (.....................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................
(9) ความเห็นเพิ่มเติมของผู้ประเมิน (ระบุข้อมูลเมื่อสิ้นรอบการประเมิน) 1) จุดเด่น และ/หรือ สิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไข....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2) ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับวิธีสง่ เสริมและพัฒนา................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. (10) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เห็นชอบผลการประเมินแล้ว (ระบุข้อมูลใน (3) (5) (6) (7) และ (9) ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อสิ้นรอบการประเมิน)
ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (....................................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................
ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (......................................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................
6
แบบ ป.FST.-2 แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (ส่วนที่ 2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ รอบการประเมิน รอบที่ 1 1 มิถุนายน ....................... ถึง 31 ตุลาคม.................... รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม.............. ชื่อผู้รับการประเมิน ………………………………………………….…..………………………………………………………………………………...... ตําแหน่ง ……………………………………….……….…...ตําแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัด ……………………….....................................................................………………………......................................................... ก. สมรรถนะหลัก
(1) ระดับ สมรรถนะที่ คาดหวัง
ประเมิน ตนเอง
(2) ระดับ สมรรถนะที่ แสดงออก
1. การบริการ 2. ความกระตือรือร้น 3.จิตสานึกด้านคุณภาพ 4. บุคลิกภาพ 5. การทํางานเป็นทีม 6. การติดตามงาน 7. ความคิดริเริ่มและ นวัตกรรม
ข. สมรรถนะเฉพาะ ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
(3) ระดับ สมรรถนะที่ คาดหวัง
ประเมินตนเอง
(4) ระดับ สมรรถนะที่ แสดงออก
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบตั ิตามการตกลงของหลักสูตร/ศูนย์ผู้รับการ ประเมินกรอกช่อง (3) และ (4) เอง
หมายเหตุ สมรรถนะในช่อง ก. และ ข. ให้เป็นไปตามที่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ กําหนด (5) การประเมิน หลักเกณฑ์การประเมิน
จํานวน สมรรถนะ
คูณด้วย
คะแนน
จํานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ที่มีระดับสมรรถนะ ที่แสดงออก สูงกว่าหรือเท่ากับ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง x 3 คะแนน จํานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ที่มีระดับสมรรถนะ ที่แสดงออก ต่ํากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 1 ระดับ x 2 คะแนน จํานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ที่มีระดับสมรรถนะ ที่แสดงออก ต่ํากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 2 ระดับ x 1 คะแนน จํานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ที่มีระดับสมรรถนะ ที่แสดงออก ต่ํากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 3 ระดับ x 0 คะแนน (6) ผลรวมคะแนน ผลรวมคะแนนใน (6) จํานวนสมรรถนะที่ใช้ในการ ประเมิน x 3 คะแนน
(7) สรุปคะแนนส่วนพฤติกรรมการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) =
(8) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้ตกลงร่วมกันและเห็นพ้องกันแล้ว (ระบุข้อมูลใน (1) และหรือ (3) ตามระดับสมรรถนะของตําแหน่งที่กําหนด ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อจัดทําข้อตกลง)
ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (....................................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................
ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (......................................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................ 7
(9) ความเห็นเพิ่มเติมของผู้ประเมิน (ระบุข้อมูลเมื่อสิ้นรอบการประเมิน) 1) จุดเด่น และ/หรือ สิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไข....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2) ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับวิธีสง่ เสริมและพัฒนา เพื่อจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล..................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. (10) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เห็นชอบผลการประเมินแล้ว (ระบุข้อมูลใน (2) และหรือ (4) และหรือ (5) (6) (7) และ (9) ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อสิ้นรอบการประเมิน)
ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (....................................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................
ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (......................................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................
8
แบบ ป.FST.-3 แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ ส่วนที่ 1 ข้อมูลผู้รับการประเมิน รอบการประเมิน รอบที่ 1 1 มิถุนายน ....................... ถึง 31 ตุลาคม.................... รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม.............. ชื่อผู้รับการประเมิน ………………………….…..…….…………………………………………….…………………………………………………...... ตําแหน่ง ………………………………………….…….…...ตําแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัด ………………………....................................................…………………….…………………......................................................... ส่วนที่ 2 การสรุปผลการประเมิน คะแนน (ก)
ส่วนการประเมิน
น้ําหนัก (ข)
รวมคะแนน (ก) x (ข)
20-80%
ส่วนที่ 1 : ผลสัมฤทธิ์ของงาน ส่วนที่ 2 : พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ส่วนอื่น (ถ้ามี)
20-80%
รวม
100%
สัดส่วนของน้ําหนัก (ข) ตามประกาศของคณะฯเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินฯ พ.ศ. 2554 ส่วนที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ของงานฯ ให้เป็นไปตามที่หน่วยงานกําหนด โดยให้สัดส่วนฯไม่น้อยกว่าร้อยละ70 ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการปฏิบัติงานให้สัดส่วนฯไม่เกินร้อยละ30 ระดับผลการประเมิน ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรแก้ไข
ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน
9
80 – 100 70 – 79.99 60 – 69.99 50 – 59.99 1 – 49.99
ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาการปฏิบัติงานรายบุคคล แผนพัฒนาตนเอง (Individual development plan) ชื่อบุคลากร........................................................................................ สมรรถนะที่จะพัฒนา …...................................................................
ตําแหน่ง .................................................................................... ระดับที่คาดหวัง : ระดับ .........................................................
เป้าหมายในการพัฒนา 1. .............................................................................................................................................................................................................. 2. .............................................................................................................................................................................................................. กิจกรรมการพัฒนา
รายละเอียดการพัฒนา
ผู้รับผิดชอบ
ระยะเวลา วันเริ่มต้น
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
วันสิ้นสุด ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................
10
ส่วนที่ 4 : การรับทราบผลการประเมิน ผู้รับการประเมิน :
ลงชื่อ ......................................................... (.................................................................) ตําแหน่ง ................................................... วันที่ .........................................................
ได้รับทราบผลการประเมินและแผนพัฒนา การปฏิบตั ิงานรายบุคคลแล้ว
ผู้ประเมิน : ได้แจ้งผลการประเมินและผูร้ บั การประเมินได้
ลงชื่อ ......................................................... (.................................................................) ตําแหน่ง ................................................... วันที่ .........................................................
ลงนามรับทราบ ได้แจ้งผลการประเมินเมื่อวันที่.................................. แต่ผู้รับการประเมินไม่ลงนามรับทราบผลการประเมิน โดยมี.......................................................เป็นพยาน ลงชื่อ ..................................................พยาน ตําแหน่ง ...................................................... วันที่.............................................................
ส่วนที่ 5 : ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้รับการประเมิน : เห็นด้วยกับผลการประเมิน มีความเห็นต่าง ดังนี้
ลงชื่อ ......................................................... (.................................................................) ตําแหน่ง ................................................... วันที่ .........................................................
.......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... ผู้บงคับบัญชาเหนือขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง (ถ้ามี) : เห็นด้วยกับผลการประเมิน มีความเห็นต่าง ดังนี้ .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... ..........................................................................
ลงชื่อ ......................................................... (.................................................................) ตําแหน่ง ................................................... วันที่ .........................................................
11
วิธีการคํานวณและกรอกเอกสาร สายสนับสนุนวิชาการ
12
แบบ ปFST.-1 แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (ส่วนที่ 1) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ รอบการประเมิน รอบที่ 1 1 มิถุนายน ....................... ถึง 31 ตุลาคม.................... รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม.............. ชื่อผู้รับการประเมิน ……………………………………………..….…..………………………………………………………………………………...... ตําแหน่ง ………………………………………….…….…...ตําแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัด………………..………………………....................................................………………………......................................................... (1) กิจกรรม / โครงการ / งาน 1. ภาระงานหลัก
2. คุณลักษณะการปฏิบัติงาน
3 ผลงานเชิงพัฒนา
(5)
(2) ตัวชี้วัด / เกณฑ์การประเมิน
(3) ค่าคะแนน ที่ได้
(4) น้ําหนัก (ความสําคัญ/ ความยากง่าย ของงาน)
1. ปริมาณผลงาน(พิจารณาจากปริมาณผลงานเปรียบเทียบกับ เป้าหมายข้อตกลงหรือมาตรฐานงาน) 2. คุณภาพของงาน(พิจารณาจากความถูกต้องครบถ้วน ความสมบูรณ์และความประณีตหรือคุณภาพอื่นๆ) 3. ความทันเวลา(พิจารณาจากเวลาที่ใช้ปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับเวลาที่กาํ หนดไว้ สําหรับการปฏิบัติงานหรือ ภารกิจนั้นๆ) 4. ความร่วมมือ (พิจารณาความสามารถในการทํางานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างเหมาะสมอันเป็นผลทํางานให้งานลุล่วงไป ด้วยดี) 5. สภาพการปฏิบัติงาน(พิจารณาจากการตรงต่อเวลา การลา หยุดงาน การขาดงาน) 6 .ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร(พิจารณาจาก ความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรที่ใช้กับผลผลิตของงานหรือ โครงการ) 7. ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติ (พิจารณาจากผลผลิตหรือ ผลลัพธ์ของผลงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์ของงาน) 8. ความสามารถและความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน (พิจารณาจากความรอบรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับงานในหน้าที่ งานที่เกี่ยวข้องและเครื่องมือเครื่องใช้ ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งความขยันหมั่นเพียร ตั้งใจทํางานให้ สําเร็จโดยไม่ ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรค์) 9 .ความรับผิดชอบและการมีวินยั (พิจารณาจากการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มใจมุ่งมั่น ทํางานให้ สําเร็จลุล่วงปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการเคารพ กฎระเบียบต่างๆ รวมทั้งปฏิบัติตนอยู่ในกรอบจรรยาบรรณ และค่านิยมของหน่วยงาน) 10.ความคิดริเริ่ม(พิจารณาจากความสามารถในการคิดริเริ่ม ปรับปรุงงานให้ เกิดผลสําเร็จได้ อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กว่าเดิมและเป็นประโยชน์ตอ่ องค์กร)
5
10
0.50
5
10
0.50
5
10
0.50
5
10
0.50
5
10
0.50
5
10
0.50
5
10
0.50
4
10
0.40
5
10
0.50
4
10
0.40
13
ค่าคะแนนถ่วง น้ําหนัก
(3)x (4) 100
(1) กิจกรรม / โครงการ / งาน
(2) ตัวชี้วัด / เกณฑ์การประเมิน
(3) ค่าคะแนน ที่ได้
(4) น้ําหนัก (ความสําคัญ/ ความยากง่าย ของงาน)
100 (4)ผลรวม (5) สรุปคะแนนส่วนผลสัมฤทธิ์ของงาน = ผลรวมของค่าคะแนนถ่วงน้ําหนัก = จํานวนระดับค่าเป้าหมาย = 5 หมายเหตุ 1. สายสนับสนุน ผลสัมฤทธิ์ของงานให้เป็นไปตามข้อตกลงที่ลงนามไว้กับคณบดี/หัวหน้าหน่วยงาน
ค่าคะแนนถ่วง น้ําหนัก
(3)x (4) 100 4.80
นําคะแนนไปกรอกในแบบสรุป (ป.FST.1) (ส่วนที่ 1)
2. การคิดค่าคะแนนที่ได้
ระดับผลการประเมิน ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
(5)
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรแก้ไข
ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน
80 – 100 70 – 79.99 60 – 69.99 50 – 59.99 1 – 49.99
(8) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้ตกลงร่วมกันและเห็นพ้องกันแล้ว (ระบุข้อมูลใน (1) (2) และ (4) ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อจัดทําข้อตกลง)
ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (........................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................
ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (.....................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................
(9) ความเห็นเพิ่มเติมของผู้ประเมิน (ระบุข้อมูลเมื่อสิ้นรอบการประเมิน) 1) จุดเด่น และ/หรือ สิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไข....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2) ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับวิธีสง่ เสริมและพัฒนา................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. (10) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เห็นชอบผลการประเมินแล้ว (ระบุข้อมูลใน (3) (5) (6) (7) และ (9) ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อสิ้นรอบการประเมิน)
ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (....................................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................
ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (......................................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................
14
0.96 0.96 4.8/5
แบบ ป.FST.-2 แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ (ส่วนที่ 2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ รอบการประเมิน รอบที่ 1 1 มิถุนายน ....................... ถึง 31 ตุลาคม.................... รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม.............. ชื่อผู้รับการประเมิน ………………………….…..…………………………..………………………………………………………………………...... ตําแหน่ง ……………………………………….…….…...ตําแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัด ……………………….....................................................................………………………......................................................... ก. สมรรถนะหลัก 1. การบริการ 2. ความกระตือรือร้น 3.จิตสานึกด้านคุณภาพ 4. บุคลิกภาพ 5. การทํางานเป็นทีม 6. การติดตามงาน 7. ความคิดริเริ่มและ นวัตกรรม
(1) ระดับ สมรรถนะที่ คาดหวัง
5 5 5 4 5 5 4
ประเมิน ตนเอง
(2) ระดับ สมรรถนะที่ แสดงออก
5 4 5 4 5 4 2
ข. สมรรถนะเฉพาะ ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
(3) ระดับ สมรรถนะที่ คาดหวัง 5 3 4
ประเมินตนเอง
(4) ระดับ สมรรถนะที่ แสดงออก 5 3 2
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบตั ิตามการตกลงของหลักสูตร/ศูนย์ผู้รับการ ประเมินกรอกช่อง (3) และ (4) เอง
หมายเหตุ สมรรถนะในช่อง ก. และ ข. ให้เป็นไปตามที่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ กําหนด (5) การประเมิน หลักเกณฑ์การประเมิน
จํานวน สมรรถนะ 6
จํานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ที่มีระดับสมรรถนะ ที่แสดงออก สูงกว่าหรือเท่ากับ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง x 3 คะแนน จํานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ที่มีระดับสมรรถนะ ที่แสดงออก ต่ํากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 1 ระดับ x 2 คะแนน จํานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ที่มีระดับสมรรถนะ ที่แสดงออก ต่ํากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 2 ระดับ x 1 คะแนน จํานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ที่มีระดับสมรรถนะ ที่แสดงออก ต่ํากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 3 ระดับ x 0 คะแนน
คูณด้วย
คะแนน
3
18
2
2
4
2
1
2
-
-
-
(6) ผลรวมคะแนน 24 ผลรวมคะแนนใน (6) จํานวนสมรรถนะที่ใช้ในการ ประเมิน x 3 คะแนน
(7) สรุปคะแนนส่วนพฤติกรรมการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) =
0.8
0.8 24/(10*3)
นําคะแนนไปกรอกในแบบสรุป (ป.FST.3) (ส่วนที่ 2)
(8) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้ตกลงร่วมกันและเห็นพ้องกันแล้ว (ระบุข้อมูลใน (1) และหรือ (3) ตามระดับสมรรถนะของตําแหน่งที่กําหนด ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อจัดทําข้อตกลง)
ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (....................................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................
ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (......................................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................ 15
(9) ความเห็นเพิ่มเติมของผู้ประเมิน (ระบุข้อมูลเมื่อสิ้นรอบการประเมิน) 1) จุดเด่น และ/หรือ สิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไข....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2) ข้อเสนอแนะเกีย่ วกับวิธีสง่ เสริมและพัฒนา เพื่อจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล..................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. (10) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เห็นชอบผลการประเมินแล้ว (ระบุข้อมูลใน (2) และหรือ (4) และหรือ (5) (6) (7) และ (9) ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อสิ้นรอบการประเมิน)
ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (....................................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................
ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (......................................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................
16
กรอบการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี.............. ผลสัมฤทธิ์ของงาน ประเภทภาระงาน
ภาระงานที่ทําข้อตกลง
คุณภาพงาน/ความพึงปริมาณ พอใจ(ผลลัพธ์ )
ปริมาณ
ผลงานประจํา
-ภาระงานตาม Job description -ภาระงานที่ ได้รับมอบหมาย
คุณภาพการให้บริการ (จากการประเมินการ ให้บริการของหน่วยงาน)
ปริมาณงานที่ทํา
ความสําเร็จของงานตาม KPIs ของงาน การทํางานตามระเบียบวิธี ปฏิบัติ ความถูกต้องในการทํางาน ผลงานเชิงพัฒนา
การปรับปรุงและ พัฒนา งานในเชิง ระบบวิธ(ี เร็วขึ้นค่าใช้จ่าย ลดลงถูกต้อง ทันเวลาและปลอดภัย)
จํานวนผลงาน/หัวข้อ/ นวัตกรรมที่พัฒนาและการปรับปรุง
การคิดค้น นวัตกรรมใหม่ การมีผลงานวิจัย สถาบัน หมายเหตุ
1. ภาระงานประจําที่ตกลงเป็นภาระงานตาม Job description และภาระงานที่ได้รับมอบหมาย 2. คุณภาพของงานให้เป็นไปตาม KPIs ของหน่วยงานกําหนด
17
หมายเหตุ
พจนานุกรรมสมรรถนะหลักสายสนับสนุนวิชาการ (ก) Core Competencies การบริการ
1
คํานิยาม ความตั้งใจและความพยายามของบุคลากรในการให้บริการเพื่อความต้องการของผู้รับบริการ ทั้งภายในและภายนอกตลอดจนของ หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรวมถึงการรับฟังความต้องการของผู้รับบริการ ความรวดเร็วในการตอบสนองความต้องการของ ผู้รับบริการ และมีใจที่จะให้บริการที่ดี (Service Minds) ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สามารถเข้าใจและให้บริการตรงตามความต้องการและเกินความคาดหมายของผูร้ ับบริการได้ ให้เวลาแก่ผรู้ ับบริการ โดยเฉพาะเมื่อผู้รับบริการประสบความยากลําบาก เช่นให้เวลาและความพยายามพิเศษในการ ให้บริการเพื่อช่วยผูร้ ับบริการแก้ปญ ั หา คอยให้ข้อมูลข่าวสารความรู้ที่เกี่ยวข้องกับงานที่กําลังให้บริการอยู่ซงึ่ เป็นประโยชน์แก่ผู้รับบริการแม้ว่าผู้รับบริการจะไม่ได้ ถามถึงหรือไม่ทราบมาก่อน
L4
ให้บริการได้ ตามความคาดหมายของผู้รับบริการ เข้าใจความจําเป็นหรือความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการและหรือใช้เวลาแสวงหาข้อมูลและทําความเข้าใจเกี่ยวกับความ จําเป็นหรือความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการ ให้คําแนะนําที่เป็นประโยชน์แก่ผู้รบั บริการเพื่อตอบสนองความจําเป็นหรือความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการ
L3
เต็มใจช่วยแก้ปัญหาให้กับผูร้ ับบริการได้ รับเป็นธุระช่วยแก้ปัญหาหรือหาแนวทําแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแก่ผู้รบั บริการอย่างรวดเร็ว เต็มใจ ไม่บ่ายเบี่ยง ไม่แก้ตัวหรือปัด ภาระ คอยดูแลให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจและนําข้อขัดข้องใดๆในการให้บริการ(ถ้ามี) ไปพัฒนาการให้บริการให้ดียิ่งขึ้น รับฟังข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการอย่างตั้งใจโดยไม่แสดงความไม่พอใจ แก้ไขข้อร้องเรียนและปัญหาของผูร้ ับบริการทันที
L2
สามารถให้บริการตามหน้าที่และแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นให้ผู้รับบริการต้องการได้ ให้ข้อมูลข่าวสารของการบริการที่ถูกต้องชัดเจนแก่ผู้รับบริการได้ตลอดการให้บริการ แจ้งให้ผู้รับบริการทราบความคืบหน้าในการดําเนินเรื่องหรือขั้นตอนงานต่างๆ ที่ให้บริการอยู่ ประสานงานภายในหน่วยงานและกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้รบั บริการได้รับบริการที่ต่อเนื่องและรวดเร็ว
L1
แสดงความเต็มใจในการให้บริการ ให้บริการที่เป็นมิตรสุภาพเต็มใจต้อนรับ ให้บริการด้วยอัธยาศัยไมตรีอันดีและสร้างความประทับใจให้แก่ผรู้ ับบริการ ให้คําแนะนําและคอยติดตามเรื่องเมื่อผู้รบั บริการมีคําถามข้อเรียกร้องที่เกี่ยวกับภารกิจของหน่วยงาน แสดงพฤติกรรมท่าทําและคําพูดและน้ําเสียงที่เหมาะสมกับผูร้ ับบริการ เมื่อผูร้ ับบริการร้องเรียน
18
2
ความกระตือรือร้น
คํานิยาม ความสามารถในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ อย่างจริงจังเปิดใจรับฟังความคิดเห็นใหม่ๆ จากผู้อื่นมีการวางแผนงานการติดตามงานอย่าง ต่อเนื่องมีความมุ่งมั่นและพยายามหาหนทําไปสู่เป้าหมายความตื่นตัวและขวนขวายที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ความมุ่งมั่นที่จะทํางานให้ ประสบผลสําเร็จ รวมทั้งการกระตุน้ จูงใจให้ผู้อื่นเกิดความรู้สึกตื่นตัวในการทํางาน ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
ชักชวน/กระตุ้นให้ผู้อื่นหรือสมาชิกมีส่วนร่วม เต็มใจและรับอาสาในการทํางานทีน่ อกเหนือจากงานประจําของตน สร้างบรรยากาศให้สมาชิกในทีมมีความรูส้ ึกตื่นตัวกับการทํางาน พร้อมที่จะให้คําปรึกษาแนะนําและแก้ ไขปัญหาแก่สมาชิกภายในและภายนอกทีมอยู่เสมอ
L4
มีความตั้งใจในการทํางานอย่างมีเป้าหมาย วางแผนงานและติดตามงานอย่างต่อเนื่อง วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้นในการทํางานได้ด้วยตนเอง หาโอกาสในการรับฟังประสบการณ์ใหม่ๆจากการเข้ากลุ่มหรือสมาคม มุ่งมั่นที่จะทํางานให้สําเร็จและส่งมอบผลงานก่อนระยะเวลาที่กําหนด
L3
มีความพยายามในการประยุกต์ใช้ความรู้ นําแนวคิดและวิธีการใหม่ๆมาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงงานได้สาํ เร็จ แสวงหาความรู้ใหม่ๆจากแหล่งข้อมูลต่างๆจากหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมาประยุกต์ใช้กับงานที่ได้รับมอบหมายได้ ทํางานที่ได้รับมอบหมายได้สําเร็จตามระยะเวลาที่กําหนด
L2
L1
ไม่แสดงพฤติกรรมดังกล่าว
3
สนใจเรียนรู้สิ่งใหม่ๆอยู่เสมอ พยายามเรียนรู้ขั้นตอนการทํางานต่างๆด้วยตนเอง ชอบเรียบรูส้ ิ่งใหม่ๆแต่ไม่สามารถนํามาประยุกต์ใช้กับงานได้ ส่งมอบงานที่ได้รบั มอบหมายล่าช้าบ้างเป็นครั้งคราว
จิตสานึกด้านคุณภาพ
คํานิยาม ความสามารถในการกําหนดมาตรฐานคุณภาพของงานการวิเคราะห์กระบวนการที่เกีย่ วข้องกับคุณภาพของการทํางานการเอาใจใส่ และติดตามผลการทํางานที่เน้นคุณภาพ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สามารถปรับปรุงกระบวนการทํางานให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ปรับปรุงวิธีการที่ทําให้ทํางานได้ดขี ึ้น เร็วขึ้นมีคุณภาพดีขึ้นหรือประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตระหนักถึงผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองหรือหน่วยงานจากความผิดพลาดในการปฏิบัติของตน เสนอหรือทดลองวิธีการทํางานแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิมเพื่อให้ได้ผลงานตามที่กําหนดไว้
L4
สามารถทํางานได้ผลงานที่มีคณ ุ ภาพตามมาตรฐานและบรรลุตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ 19
รับรู้และเข้าใจถึงเป้าหมายและมาตรฐานของงานที่มีคุณภาพ หมัน่ ติดตามผลงาน และประเมินผลงานของตนโดยใช้เกณฑ์ที่กําหนดขึ้น โดยไม่ได้ถูกบังคับ เช่น ถามว่าผลงานดีหรือยัง หรือ ต้องปรับปรุงอะไรจึงจะดีขึ้น สืบเสาะปัญหาหรือสถานการณ์อย่างลึกซึ้งกว่าการตั้งคําถามตามปรกติธรรมดา ทํางานได้ตามผลงานตามมาตรฐานและบรรลุตามเป้าหมายที่ผู้บังคับบัญชากําหนดหรือเป้าหมายของหน่วยงานที่รับผิดชอบ L3
แสดงความพยายามในการทํางานให้ดีรวมถึงพยายามค้นหาข้อมูลระดับต้น มีความพยายาม และความตั้งใจในการทํางานในหน้าที่ให้ ดีสะอาดเรียบร้อย ถูกต้องตามขั้นตอน กฎ ระเบียบที่วางไว้ โดยมี การตรวจสอบความถูกต้องของงานอยู่เสมอ มีความมานะอดทนขยันหมันเพียรรับผิดชอบในการทํางาน และสามารถส่งงานได้ ตรงต่อเวลา แสดงออกว่าต้องการทํางานให้ได้ดีขึ้น เช่น ถามถึงวิธีการหรือขอคําแนะนําอย่างกระตือรือร้นสนใจใคร่รู้ แสดงความเห็นในเชิงปรับปรุงพัฒนาเมื่อเห็นสิ่งที่ก่อให้เกิดการสูญเปล่าหรือหย่อนประสิทธิภาพ หาข้อมูลโดยการถามจากผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ใช้ข้อมูลที่มีอยู่หรือหาจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
L2
ตระหนักและสามารถอธิบายถึงความสําคัญของคุณภาพในการทํางานและคุณภาพของผลงานได้
L1
ไม่แสดงพฤติกรรมดังกล่าว บุคลิกภาพ
4
คํานิยาม มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับบุคลิกภาพที่ดีและสามารถนาความรู้พนื้ ฐานมาปฏิบัตไิ ด้รวมถึงการปฏิบตั ิตนต่อผู้อื่นการวางตัวในที่ สาธารณะให้เหมาะสมกับสถานภาพ และการเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านบุคลิกภาพ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
การเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านบุคลิกภาพ เป็นที่ยอมรับขององค์กรหรือหน่วยงานเป็นอย่างน้อย สามารถส่งเสริมแนะนําให้ผู้อื่นพัฒนาบุคลิกภาพให้ดีขึ้น
L4
การวางตัวในที่สาธารณะให้เหมาะสมกับสถานภาพ สามารถนํามารยาทอิสลามและสากล มาปฏิบตั ิได้ อย่างกลมกลืนเหมาะสมตามสถานการณ์
L3
การปฏิบัตติ นต่อผู้อื่น รู้จักกาลเทศะทั้งในเรื่องของการวางตัวคําพูดและการแสดงออก สามารถสร้างสัมพันธ์ภาพทีด่ ีกับเพื่อนร่วมงานและผู้อื่น
L2
มีบุคลิกภาพพื้นฐาน สามารถประยุกต์ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพที่ดีให้เหมาะสมกับลักษณะงานของตน แต่งกายสะอาด สุภาพถูกต้องตามหลักการอิสลาม ดูน่าเชื่อถือ ความสะอาดของร่างกายทั้งผม,ใบหน้า,เล็บมือ,เล็บเท้า,กลิ่นดี,เสื้อผ้าสะอาด,รองเท้าสะอาด อยู่ในสภาพใช้งานได้ ความสะอาดของเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย กิริยา วาจา ทักษะการสื่อสาร 20
ยิ้มแย้มแจ่มใส่และทักทายเพื่อนร่วมงาน และผูม้ าติดต่อ การใช้น้ําเสียงที่เป็นมิตรในการสื่อสาร การแสดงออกทางอารมณ์ แสดงออกทําสีหน้า ท่าทางและอารมณ์ทเี่ หมาะสมเมื่อมีการถกเถียงโต้แย้งกับผู้อื่น รับฟังและแสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง และอารมณ์อย่างเหมาะสมเมื่อโดนต่อว่าหรือโดนตําหนิ มีวิธีการแก้ไขสถานการณ์ด้วยความละมุนละม่อม L1
มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับบุคลิกภาพที่ดี รู้และเข้าใจความสําคัญของบุคลิกภาพที่ดีต่องานของตน การทํางานเป็นทีม
5
คํานิยาม ความตั้งใจที่จะทํางานร่วมกับผู้อื่นเป็นส่วนหนึ่งในทีมงานหน่วยงานหรือองค์กร โดยผูป้ ฏิบัติฐานะเป็นสมาชิกในทีมมิใช่ฐานะหัว หน้าทีม และความสามารถในการสร้างและดํารงรักษาสัมพันธ์ภาพกับสมาชิกในทีม รวมถึงการมีส่วนร่วมและสนับสนุนการทํางาน ของเพื่อนร่วมทีมการประสานงานกับทีมงานการให้ความสําคัญต่อเป้าหมายของทีมมากกว่าเป้าหมายส่วนตัว ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สามารถนําทีมให้ปฏิบตั ิภารกิจให้ได้ผลสําเร็จ ส่งเสริมความสามัคคีเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกันในทีมโดยปราศจากอคติส่วนตัว ช่วยประสานรอยร้าวหรือคลี่คลายแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นในทีม สร้างขวัญกําลังใจของทีมเพื่อรวมพลังในการปฏิบัตภิ ารกิจ ให้บรรลุผลสําเร็จ
L4
สนับสนุนและช่วยเหลืองานเพื่อนร่วมทีมคนอื่นๆ เพื่อให้งานประสบความสําเร็จ กล่าวชื่นชมในกําลังใจเพื่อนร่วมงานได้อย่างจริงใจ แสดงน้ําใจและให้ความช่วยเหลือแก่เพื่อนร่วมงาน สนับสนุนให้สมาชิกในทีมช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อให้งานประสบความสาเร็จ
L3
ประสานความร่วมมือของสมาชิกในทีมโดยการใช้ศิลปะการจูงใจ รับฟังความเห็นของสมาชิกในทีมเต็มใจเรียนรู้จากผู้อื่นรวมถึงผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงาน ประมวลความคิดเห็นต่างๆมาใช้ประกอบการตัดสินใจหรือวางแผนร่วมกันในทีม ประสานและส่งเสริมสัมพันธ์ภาพอันดีในทีม เพื่อสนับสนุนการทํางานร่วมกันให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ใช้เทคนิคและวิธีการที่เหมาะสมกับความสนใจและระดับของผู้ฟังในการสร้างความร่วมมือให้กับสมาชิกในทีม โดยคาดการณ์ ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับผู้ฟัง
L2
ให้ความร่วมมือกับเพื่อนร่วมงาน สร้างความสัมพันธ์เข้ากับผู้อื่นในกลุ่มได้ดี กล่าวถึงเพื่อนร่วมงานในเชิงสร้างสรรค์
L1
ทําหน้าที่ของตนเองในทีมให้สําเร็จ ทํางานในส่วนที่ตนได้รับมอบหมายได้สําเร็จ สนับสนุนการตัดสินใจในกลุ่ม รายงานให้ สมาชิกทราบความคืบหน้าของการดําเนินงานในกลุม่ หรือข้อมูลอื่นๆที่เป็นประโยชน์ตอการทํางานอย่างต่อเนื่อง 21
การติดตามงาน
6
คํานิยาม การกําหนดวิธีการแหล่งข้อมูลและความถี่ในการติดตามงาน(กรณีทมี่ ีการกําหนดไว้)รวมทั้งการกระตุน้ จูงใจให้ผู้อื่นทํางานให้ประสบ ผลสําเร็จตามเป้าหมายที่กําหนดตลอดจนการแจ้งผลความก้าวหน้าของงานได้อย่างครบถ้วนถูกต้องรวมถึงการให้ความสําคัญกับ การติดตามงานการกระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานเคร่งครัดต่อแผนงานที่กําหนดไว้ การเลือกใช้แหล่งข้อมูลในการติดตามงาน การบันทึกผล การติดตามงาน ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
พัฒนาระบบการติดตามงานโดยนําเทคนิคที่มีประสิทธิภาพมาใช้และมุ่งเน้นการติดตามเชิงกลยุทธ์
L4
จัดทําแผนการติดตามงานจากบุคคลหรือหน่วยงานที่เกีย่ วข้องไว้ล่วงหน้าเสมอ ประเมินผลการติดตามงานของตนเองและทีมงาน โน้มน้าวชักจูงใจให้ผู้อื่นทํางานให้สําเร็จตามเป้าหมายที่กําหนด เสนอแนะแนวทําในการแก้ไขปัญหาให้กับบุคคลหรือหน่วยงานอื่นซึง่ ปัญหาที่เกิดขึ้นจะมีผลทําให้การทํางานของตนล่าช้าไป
L3
วางแผนการติดตามงานให้กับสมาชิกในทีม ประชุมเพื่อติดตามความคืบหน้าของงานจากบุคคลที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้ผู้ปฏิบตั ิงานเคร่งครัดต่อแผนงานที่กําหนดไว้ เสนอแนวทําในการแก้ไขปัญหาจากการติดตามไม่สําเร็จของทีมงาน
L2
จัดทําตารางและกําหนดการในการติดตามงาน บันทึกและสรุปผลการติดตามงานทุกครั้ง รายงานผลการติดตามงานให้หัวหน้าและทีมงานรับทราบเสมอ ให้ข้อมูลและตอบข้อซักถามจากการติดตามงานได้อย่างครบถ้วนถูกต้อง
L1
ติดตามความก้าวหน้าของงานได้ตามระยะเวลาที่กําหนด เลือกใช้แหล่งข้อมูลหรือบุคคลที่ตอ้ งติดตามงานได้อย่างเหมาะสม ให้ขอ้ มูลจากการติดตามงานไม่ครบถ้วน
7
การมีความคิดริเริ่มและนวัตกรรม (Innovation Thinking)
คํานิยาม การกล้าคิดอย่างแตกต่างและเปิดใจกว้างรับโอกาสและความเป็นไปได้อื่นๆพร้อมทั้งเรียนรู้และทดลองแนวคิดใหม่ๆ เพื่อนําไปปรับ ใช้ในการทํางานมีความกระตือรือร้นในการแสวงหาวิธีการที่จะพัฒนาการทํางานให้ดียิ่งขึ้นและร่วมสร้างสรรค์บรรยากาศแห่งความ กล้าคิดริเริม่ เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองและทีมงานได้อย่างต่อเนือ่ ง ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
พัฒนาความคิด/แนวทางเชิงนวัตกรรมสําหรับองค์กร สร้างบรรยากาศ และกําหนดทิศทางการพัฒนาด้านความคิดริเริ่มและนวัตกรรม นําความคิดริเริม่ ใหม่ๆ (เช่น ผลิตภัณฑ์ /กระบวนการ/วิธีปฏิบัติ /แบบจําลอง เป็นต้น) ที่มีเอกลักษณ์ก้าวล้ํายุค หรือเป็นเรื่อง ใหม่มาแนะนําให้เกิดนวัตกรรมอย่างแท้จริงเพื่อพัฒนาความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับองค์กร 22
นําเสนอความคิดใหม่ๆ มาใช้ในองค์กร โดยไม่จําเป็นต้องเป็นเรื่องใหม่ของวิชาชีพแต่เป็นเรื่องที่ยังไม่เคยนํามาใช้ในองค์กรมา ก่อน L4
พัฒนาแนวความคิดใหม่ๆ สําหรับหน่วยงาน ผลักดันให้มีการนําความคิดใหม่ๆ มาใช้ในหน่วยงานของตนเองและเสนอแนะแนวคิดให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร วิเคราะห์เปรียบเทียบกับคู่แข่งอย่างต่อเนื่องเพื่อศึกษาว่าหน่วยงานตนควรจะต้องทําการปรับปรุง/พัฒนาในด้านใดบ้าง วิเคราะห์เปรียบเทียบการดําเนินงานของหน่วยงานตนเองกับหน่วยงานภายนอกเพื่อคิดค้นทางเลือกทีด่ ีกว่าในการปรับปรุง งานที่ตนรับผิดชอบ ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการดําเนินการภายในหน่วยงานเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนการทํางานที่ดียิ่งขึ้น
L3
แนะนําสอนผู้อื่นในการพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ ในการทํางาน ส่งเสริม/สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาสิ่งใหม่ภายในทีมงานอยูเ่ สมอ เช่น เปิดใจรับฟังวิธีการทํางานใหม่ๆ จากผู้ปฏิบัติงานเป็น ต้น แนะนําและผลักดันให้ มีการนําความคิดใหม่ๆ มาใช้ในการทํางาน สามารถที่จะคิดนอกกรอบ ตัวอย่างเช่น คิดสิ่งที่แตกต่างจากเดิม และสามารถนํามาปฏิบัติได้,แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาสิ่งที่มี อยู่เดิมได้อย่างสร้างสรรค์,นําความคิดสร้างสรรค์นํามาปฏิบตั ิจริงเพือ่ ให้เกิดสิ่งใหม่ๆได้ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ผลตอบแทนต้นทุนและความเสีย่ งของแนวคิดที่จะนํามาปฏิบัตติ ามข้อเท็จจริงโดยยึดผลประโยชน์ ขององค์กรเป็นหลัก
L2
พัฒนาแนวความคิด/วิธีการใหม่ให้กับการทํางานของตน นําเสนอแนวคิดใหม่ๆ ในการปรับปรุงการทํางานที่ตนเองรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนแนวความคิดใหม่ๆ และนําแนวคิดนั้นมาประยุกต์เพื่อพัฒนางานของตนเองที่รับผิดชอบอยู่ได้อย่างเหมาะสม นําแนวคิดใหม่ๆมาใช้งานที่ตนเองรับผิดชอบจนประสบความสําเร็จ
L1
การมีทัศนคติที่ถูกต้องเกีย่ วกับความคิดริเริม่ และนวัตกรรม แสดงออกถึงการยอมรับแนวคิดของผู้อื่น เปิดรับโอกาสในการค้นพบวิธีการ/ทํางออกในการปรับปรุงการทํางานของตนเอง ใส่ใจและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามแนวคิดใหม่ๆ
23
พจนานุกรรมสมรรถนะเฉพาะสายสนับสนุนวิชาการ (ข) Functional Competencies 1
ทักษะงานสารบรรณ (Documentation Skills)
คํานิยาม มีความรูร้ ะเบียบงานสารบรรณ สามารถร่างโต้ตอบเอกสารทางราชการ การจัดทํารายงาน การบริหารและจัดระบบการจัดเก็บ เอกสาร และการใช้งานระบบ E-document ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
คิดพัฒนาระบบงานสารบรรณใหม่ ที่เป็นประโยชน์ในระดับหน่วยงาน หรือมหาวิทยาลัย
L4
สอนถ่ายทอดความรู้ทักษะงานสารบรรณไปสูผ่ ู้อื่นได้เป็นอย่างดี
L3
มีการพัฒนาทักษะงานสารบรรณเพื่อนํามาใช้ในการปรับปรุงงานของตนให้ดีขึ้นได้ และมีการติดตามผลการปฏิบัติงาน
L2
มีทักษะงานสารบรรณสามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
L1
มีทักษะงานสารบรรณ แต่ยังปฏิบัติได้ไม่ครบทุกด้าน
2
ทักษะการประเมินโครงการ (Monitoring and Evaluation Skills)
คํานิยาม สามารถติดตามความก้าวหน้าการดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และสาเหตุต่างๆ ที่ทําให้การดําเนินงานไม่บรรลุเป้าหมาย รวมทั้ง ประเมินผลสัมฤทธิ์ ์ของโครงการ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
คิดและพัฒนาระบบการประเมินโครงการ ที่ก่อให้เกิดผลดีต่อองค์กร
L4
ให้คําแนะนําและถ่ายทอดทักษะการประเมินโครงการ ให้ผรู้ ่วมงานได้เป็นอย่างดี
L3
นําทักษะการประเมินโครงการมาพัฒนางานของตนเองหรือหน่วยงานให้ดีขึ้น
L2
นําทักษะการประเมินโครงการ มาปฏิบัติได้เป็นอย่างดี
L1
มีความรู้ในการประเมินโครงการ แต่ยังปฏิบัตไิ ม่ได้
3
ทักษะในการใช้กฎระเบียบหลักเกณฑ์ในหน้าที่ที่รับผิดชอบ (Obedience to Duty and Following Regulations)
คํานิยาม มีความถูกต้องและแม่นยําในกฎระเบียบ หลักเกณฑ์ และหลักวิชาการที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าทีท่ ี่รับผิดชอบ หรือภารกิจอื่นที่ ได้รับมอบหมาย และสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สร้างและพัฒนากฎระเบียบ หลักเกณฑ์ในหน้าที่ที่รับผิดชอบใหม่ ที่เป็นประโยชน์ในระดับหน่วยงานหรือ มหาวิทยาลัย
L4
สอนถ่ายทอดความรู้ ทักษะในการใช้กฎระเบียบหลักเกณฑ์ในหน้าทีท่ ี่ที่รับผิดชอบไปสู่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
L3
มีการพัฒนาทักษะในการใช้กฎระเบียบหลักเกณฑ์ในหน้าที่ที่รับผิดชอบ 24
เพื่อนํามาใช้ในการปรับปรุงงานของตนให้ดีขึ้นได้
และมีการติดตามผลการปฏิบัติงาน L2
มีทักษะในการใช้กฎระเบียบหลักเกณฑ์ในหน้าที่ที่รับผิดชอบ สามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
L1
มีทักษะในการใช้กฎระเบียบหลักเกณฑ์ในหน้าที่ที่รับผิดชอบ สามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4
ทักษะการบริหารงานบุคคล (Human Resource Development Skills)
คํานิยาม ความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการบริหารงานบุคคล การประยุกต์ทฤษฏีใหม่ ๆ นํามาใช้ในการเพิ่มศักยภาพบุคลากรในองค์กร ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
คิด และพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กร
L4
ให้คําแนะนําและถ่ายทอดความรูก้ ารบริหารงานบุคคลไปสู่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
L3
นําประสบการณ์และข้อผิดพลาดมาปรับปรุงงานให้ดีขึ้นได้
L2
มีทักษะในการบริหารงานบุคคลและสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัตไิ ด้เป็นอย่างดี
L1
มีความรู้และเข้าใจกระบวนการบริหารงานบุคคลแต่ยังไม่สามารถปฏิบัติได้
5
ความละเอียดรอบคอบและถูกต้อง (Attention to Detail and Ability to See a Task through to Completion)
คํานิยาม ความละเอียดถี่ถ้วน ช่างสังเกต เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความถูกต้องและสัมฤทธิผ์ ล ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
กําหนดวิธีการการปฏิบัติงานเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมคนส่วนใหญ่ให้มคี วามละเอียดถี่ถ้วน ถูกต้องและแม่นยํา
L4
แนะนําหรือเป็นแบบอย่างให้ผู้อื่นในหน่วยงานเปลี่ยนพฤติกรรมในการปฏิบัติงานให้มีความละเอียดถี่ถว้ น ถูกต้อง และ แม่นยํา
L3
ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดถี่ถ้วนถูกต้องแม่นยําเป็นที่ยอมรับเชื่อถือได้ และไม่มีข้อผิดพลาด
L2
ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดถี่ถ้วนเป็นประจํา มีความผิดพลาดไม่เกินร้อยละ 10
L1
ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดถี่ถ้วนเป็นครั้งคราว
6
ทักษะด้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง (Internal Quality Control and Risk Management Skills)
คํานิยาม มีทักษะการปฏิบตั ิงานในการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริต เพื่อให้เกิดความเชื่อถือได้ของรายงาน สามารถวิเคราะห์โอกาสหรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ หรือ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงที่อาจกีดกันองค์กรจากการบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย ระดับ (Level)
รายละเอียด
25
L5
คิด และพัฒนาระบบการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยงที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กร
L4
ให้คําแนะนําและถ่ายทอดความรูด้ ้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยงไปสู่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
L3
นําประสบการณ์และข้อผิดพลาดมาปรับปรุงงานให้ดีขึ้นได้
L2
มีทักษะการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยงสามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
L1
มีความรูด้ ้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง แต่ปฏิบตั ิยังไม่ได้
7
การคิดค้นนวัตกรรมทางด้าน ICT (ICT Invention)
คํานิยาม ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัย และใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เพื่อช่วยให้การทํางานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
คิดค้นนวัตกรรมเพื่อเปลี่ยนระบบงานขององค์กร และมหาวิทยาลัย
L4
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคนรอบข้าง ให้ใช้ระบบ ICT มาสนับสนุนงานขององค์กร
L3
มีการคิดค้นนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนระบบงานของหน่วยงานเกินความคาดหมาย
L2
มีการคิดค้นนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนระบบงานของหน่วยงานเป็นประจํา
L1
มีการคิดค้นนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนระบบงานของหน่วยงานเป็นครั้งคราว
8
ทักษะในการเลือกใช้เครื่องมือ (Tool usage Skills)
คํานิยาม มีทักษะความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
คิด และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์
L4
สอน และถ่ายทอดทักษะในการเลือกใช้เครื่องมือ ไปสู่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
L3
ใช้ความรู้และทักษะในการเลือกใช้เครื่องมือ ปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
L2
มีความรู้และทักษะในการเลือกใช้เครื่องมือ สามารถปฏิบัตไิ ด้เป็นอย่างดี
L1
มีความรู้ความเข้าใจ แต่ยังปฏิบัตไิ ม่ได้
9
ความรู้ในงานบริการการศึกษา (Knowledge of Educational Services)
คํานิยาม สามารถอธิบายแนวคิด หลักการ วิธีการและขั้นตอนการทํางานในขอบเขตงานเฉพาะด้านที่รับผิดชอบ การทํางานบริการการศึกษา รวมทั้งตอบข้อซักถามในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน ระดับ (Level)
รายละเอียด 26
L5
คิดพัฒนารูปแบบการบริการการศึกษาใหม่ที่เป็นประโยชน์
L4
สอน ถ่ายทอดความรู้ ไปสูผ่ ู้อื่นได้เป็นอย่างดี
L3
ใช้ความรู้ ปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
L2
มีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบตั ิงานได้ครบทุกด้าน เป็นอย่างดี
L1
มีความรู้ ความเข้าใจแต่ปฏิบัติงานได้ไม่ครบทุกด้าน ทักษะการให้คําปรึกษา (Counseling)
10
คํานิยาม สามารถสื่อสารให้ความรู้และข้อมูลวิชาการ มีจิตวิทยาในการรับฟัง เข้าใจผู้อื่น และพูดแนะนําในการให้คําปรึกษาแก่ผู้รับบริการ หรือนักศึกษา เพื่อกระตุ้นให้สามารถคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง นําไปสูก่ ารตัดสินใจที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
กระตุ้น ส่งเสริม ยกระดับให้บุคลากรสามารถให้คําปรึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และเชื่อมโยงแนวทางการปฏิบัติงานให้ สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของหน่วยงานและมหาวิทยาลัย
L4
เป็นแบบอย่างในการให้คําปรึกษาที่ดีและมีความคิดริเริ่มกระบวนการให้คําปรึกษาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
L3
ติดตามและประเมินผลการให้คําปรึกษา ได้ผลดี
L2
รับฟัง เข้าใจ เข้าถึงข้อมูลสภาพปัญหา วิเคราะห์ปญ ั หาของผู้รับบริการ และให้คําปรึกษาได้อย่างเหมาะสม
L1
มีความรูเ้ กี่ยวกับการให้คาํ ปรึกษา
11
เพื่อนํามาปรับปรุงแนวทางการให้คําปรึกษาและผูร้ ับบริการสามารถนําไปปฏิบตั ิ
ทักษะการปฏิบัติงานด้านช่วยวิชาการ
คํานิยาม การปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการ การใช้เครื่องมือ การทดสอบ การวิเคราะห์ ตัวอย่าง การรวบรวมข้อมูล การ จัดทํารายงานผลการปฏิบตั ิงานที่เป็นระบบ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สร้างและพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานช่วยวิชาการในหน้าที่ที่รับผิดชอบใหม่ที่เป็นประโยชน์ในระดับหน่วยงานหรือ มหาวิทยาลัย
L4
สอนถ่ายทอดความรู้ ทักษะการปฏิบัติงานช่วยวิชาการในหน้าที่ที่รบั ผิดชอบไปสู่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
L3
มีการพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานช่วยวิชาการในหน้าที่ที่รับผิดชอบ นํามาใช้ในการปรับปรุงงานของตนให้ดีขึ้นได้ และมีการ ติดตามผลการปฏิบัติงาน
L2
มีทักษะการปฏิบตั ิงานช่วยวิชาการที่รับผิดชอบ สามารถปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
L1
มีทักษะการปฏิบตั ิงานช่วยวิชาการ แต่ยังปฏิบัติงานได้ไม่ครบทุกด้าน
27
การใช้ภาษา
12
คํานิยาม มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ภาษาในงานหนังสือราชการได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทุกประเภท ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
มีความเชี่ยวชาญในการใช้ภาษาได้อย่างสละสลวย และถ่ายทอดความรู้ให้แก่หน่วยงานต่างๆ ได้
L4
มีการใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามประเภทของหนังสือราชการ อย่างมีประสิทธิภาพจนเป็นแบบอย่างแก่เพื่อน ร่วมงาน
L3
มีความเข้าใจในการใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม ตามประเภทของหนังสือราชการ อย่างมีประสิทธิภาพ
L2
มีความเข้าใจในการใช้ภาษาได้ถูกต้อง แต่ยังต้องผ่านการตรวจสอบโดยหัวหน้างาน
L1
มีความเข้าใจในการใช้ภาษา ภายใต้การกํากับของหัวหน้างาน
13
ความรู้เกี่ยวกับองค์กร วัฒนธรรมองค์กร และกระบวนการวางแผน
คํานิยาม มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับองค์กร วัฒนธรรมองค์กร และกระบวนการวางแผนสําหรับดําเนินงานทุกด้าน ตลอดจนสามารถ นําความรู้ดังกล่าวมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ และกระบวนการวางแผนของหน่วยงาน ที่สังกัด ระดับ (Level)
รายละเอียด สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์กร วัฒนธรรมองค์กร และการวางแผน เพื่อปฏิบตั งิ าน และให้คําแนะนํา แก่บุคลากรทั้งภายในและภายนอกได้อย่างดี
L5
L4
สามารถถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับองค์กร และกระบวนการวางแผนให้กับบุคคลและหน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง ภายในและภายนอกได้ สามารถนําความรู้ ความเข้าใจตามสภาพแวดล้อมขององค์กร วัฒนธรรมองค์กร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาผ่าน กระบวนการคิด ผนวกกับสถานการณ์ปัจจุบัน ไปสู่การปฏิบัติงาน และแก้ปัญหางานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ให้คําแนะนําเกี่ยวกับองค์กร และกระบวนการวางแผน แก่บุคลากรภายในหน่วยงานได้ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์กรมาใช้ในการจัดทําแผนของหน่วยงานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
L3
L2
รู้และเข้าใจรายละเอียดของแผน และสามารถเชื่อมโยงแผน เป้าหมาย ผลผลิตที่หน่วยงานงานรับผิดชอบสอดคล้องกับแผน ของมหาวิทยาลัย สํานักงานคณะการการอุดมศึกษา และกระทรวงศึกษาธิการในส่วนที่เกี่ยวข้องได้ มีความรู้ ความเข้าใจในองค์กร ทั้งทีเป็นหน่วยงานที่ตนสังกัด หน่วยงานที่บังคับบัญชา หน่วยงานที่กํากับดูแล และหน่วยงาน เกี่ยวข้องอื่นๆ มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับแผนฯ รวมถึงติดตามรับรู้ การปรับเปลีย่ นแผน/งานใหม่ๆ ภายในองค์กรที่สังกัด รู้และเข้าใจในบริบทและสภาพแวดล้อมขององค์กร รวมถึงวัฒนธรรมองค์กรในหน่วยงานที่สังกัด
L1
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการวางแผน รวมถึงรายละเอียดแผนฯขององค์กรที่สังกัด 28
14
ทักษะในการประสานงาน
คํานิยาม ทักษะในการรับและส่งต่อข้อมูลและชิ้นงานได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา ตรงตามวัตถุประสงค์ของงาน ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
มีทักษะระดับที่ 4 และสามารถออกแบบระบบ วางแผนการประสานงาน และแนวทางในการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ และสามารถติดต่อประสานงานเรือ่ งสําคัญๆ ระดับองค์กร กับทั้งภายในและภายนอกองค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
L4
มีทักษะระดับที่ 3 และสามารถนําเสนอแนวทางการปรับปรุง พัฒนาวิธีการติดต่อประสานงานให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้ง สามารถวิเคราะห์ ปรับปรุง และแก้ไขจุดบกพร่อง ข้อจํากัดและความซ้ําซ้อนของการสื่อสารและการประสานงานของ หน่วยงานได้
L3
มีทักษะระดับที่ 2 และสามารถติดตามงานจากหน่วยงานต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถจัดการแก้ไขปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้น หรือลดความขัดแย้งจากการติดต่อประสานงานได้
L2
มีทักษะระดับที่ 1 และสามารถจัดลําดับความสําคัญของเรื่องที่ต้องการติดต่อประสานงานได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม และสามารถปรับปรุงวิธีการสื่อสารและการประสานงานให้ทันสมัยตรงตามความต้องการอยูเ่ สมอ
L1
รู้และเข้าใจเป้าหมาย และผลลัพธ์ที่ต้องการจากการประสานงาน และมีทักษะในการให้ข้อมูล และรายละเอียดต่างๆ แก่ผู้อื่น ให้ดําเนินการต่อในเบื้องต้นได้ และสามารถซักถาม และสอบถามความต้องการของผู้มาติดต่อในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
15
ความตระหนักในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
คํานิยาม การค้นหา วิเคราะห์ความต้องการของนักศึกษาและสังคมเพื่อนํามาจัดให้บริการและพัฒนานักศึกษาเพื่อตอบสนองความพึงพอใจ ของนักศึกษาและสังคม ระดับ (Level)
รายละเอียด กําหนดแผนงานการให้บริการนักศึกษาและผู้ทีเกี่ยวข้อง ซึ่งครอบคลุมถึงงบประมาณ การใช้ทรัพยากร บุคคลที่รับผิดชอบ ฯลฯ
L5
หาช่องทางใหม่ๆ ในการให้บริการและพัฒนานักศึกษา กระตุ้นจิตสํานึกในการให้บริการ (Service Mind) และการพัฒนานักศึกษา แก่สมาชิกในทีม/ นอกทีม ได้ แลกเปลีย่ นประสบการณ์และปัญหาต่างๆ ที่พบในการให้บริการและพัฒนานักศึกษากับบุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ ได้ ตอบข้อซักถามของนักศึกษาและผูท้ ี่เกี่ยวข้องที่นอกเหนือจากการให้บริการหรือพัฒนานักศึกษาของตนเองได้
L4
หาวิธีการในการปรับปรุงการให้บริการและพัฒนานักศึกษา แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากนักศึกษาหรือผู้เกีย่ วข้องกับสมาชิกในทีม ชักจูงและจูงใจให้นักศึกษาเห็นความสําคัญของการพัฒนานักศึกษา วิเคราะห์ความต้องการของนักศึกษาและสังคมที่เกี่ยวข้องกับงานรับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง 29
L3
ติดตามผลการให้บริการและพัฒนานักศึกษาอย่างสม่ําเสมอ ให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการให้บริการและพัฒนานักศึกษากับผู้ทเี่ กีย่ วข้องได้อย่างชัดเจน ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการให้บริการและโครงการพัฒนานักศึกษาของตนเองได้
L2
ตอบข้อซักถามของนักศึกษาและเกี่ยวข้องในการให้บริการหรือโครงการพัฒนานักศึกษาของตนเองได้ ไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของการให้บริการหรือโครงการพัฒนานักศึกษาของตนเอง ไม่สามารถตอบข้อซักถามของนักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องในการให้บริการหรือโครงการพัฒนาของตนเองได้
L1
รับฟังปัญหาและข้อร้องเรียนจากนักศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง ไม่สามารถสรุปหรือแยกแยะความต้องการของนักศึกษาหรือผู้เกีย่ วข้องที่มีต่อการให้บริการหรือโครงการพัฒนานักศึกษาของ ตนเอง ทักษะในการใช้โสตทัศนูปกรณ์
16
คํานิยาม มีความสามารถติดตั้งและใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง ตามมาตรฐานที่กําหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ระดับ (Level)
รายละเอียด สามารถติดตั้งและใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ได้เป็นอย่างชํานาญ
L5
สามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน รวดเร็ว ได้อย่างชํานาญ สามารถให้คําแนะนํา ให้คําปรึกษากับผู้อื่นได้ สามารถติดตั้งและใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ได้เป็นอย่างดี
L4
สามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว สามารถติดตั้งและใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ได้ดี
L3
สามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้ สามารถติดตั้งและใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ได้
L2
สามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้
L1
สามารถติดตั้งและใช้งานโสตทัศนูปกรณ์ได้ ภายใต้การกํากับดูแล
17
ทักษะทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
คํานิยาม มีความรู้ความสามารถในการตรวจเช็ค ซ่อม และบํารุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็คทรอนิกส์ให้ใช้งานได้ ระดับ (Level) L5
รายละเอียด สามารถตรวจเช็ค ซ่อม บํารุงรักษา และประยุกต์ อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็คทรอนิกส์ สามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี และให้คําปรึกษาแนะนําได้ 30
L4 L3 L2 L1 18
สามารถตรวจเช็ค ซ่อม บํารุงรักษา และประยุกต์ อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็คทรอนิกส์ สามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้เป็นอย่างดี สามารถตรวจเช็ค ซ่อม บํารุงรักษา อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็คทรอนิกส์พื้นฐานได้ดี สามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้ สามารถตรวจเช็ค ซ่อม บํารุงรักษา อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็คทรอนิกส์พื้นฐานได้ สามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้ สามารถตรวจเช็ค ซ่อม บํารุงรักษา อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็คทรอนิกส์พื้นฐานได้ ความรอบรู้ด้านวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือ
คํานิยาม มีความรู้ความเข้าใจในการใช้วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องในงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนสามารถผลิตชิ้นงานได้ เป็นผลสําเร็จตามเป้าหมายที่กําหนด ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สามารถถ่ายทอดหรือกระตุ้นให้ผอู้ ื่นใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ได้อย่างถูกต้อง
L4
มีความสามารถในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนเป็นแบบอย่างให้กับผู้อื่นได้
L3
มีความสามารถในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้ครอบคลุมงานทั้งหมด อย่างมีประสิทธิภาพ
L2
มีความรู้ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในงานที่รับผิดชอบ
L1
มีความรู้ความเข้าใจ ในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้ระดับหนึ่ง
19
การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
คํานิยาม มีความรู้ความเข้าใจในระบบและขั้นตอนการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสําเร็จได้ตามเป้าหมาย ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สามารถถ่ายทอดประสบการณ์ในการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ให้บคุ คลภายนอกรับรูไ้ ด้ หรือสามารถประยุกต์หรือสร้าง นวัตกรรมขึ้นมาได้
L4
สามารถประยุกต์แก้ไขปัญหาและอุปสรรคจากการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้ด้วยตนเอง ได้อย่างถูกต้องตามเป้าหมายที่ ต้องการ
L3
สามารถใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้ด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถเขียนวิธีปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
L2
สามารถใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ได้ด้วยตนเอง หรือต้องปรึกษาหัวหน้างานเป็นบางครั้ง
L1
มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับขั้นตอนการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ โดยสามารถใช้เครื่องมือได้ภายใต้ การควบคุมของหัวหน้างาน
31
20
เทคนิคการเตรียมตัวอย่างทดลอง
คํานิยาม มีความรู้และทักษะในการเตรียมตัวอย่างทดลอง สามารถนําไปใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สามารถพัฒนา ออกแบบ หรือสร้างนวัตกรรมในการเตรียมตัวอย่างทดลอง
L4
สามารถประยุกต์ แก้ไขปัญหา และอุปสรรคจากการเตรียมตัวอย่างทดลองได้เป็นอย่างดี
L3
สามารถถ่ายทอดแนะนําความรู้ถึงวิธีการเตรียมตัวอย่างทดลอง
L2
สามารถเตรียมตัวอย่างทดลองและอธิบายหลักการ ทฤษฎี วิธีการเตรียมตัวอย่างทดลองและสามารถนําไปใช้งานได้อย่าง ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
L1
สามารถเตรียมตัวอย่างทดลองได้ตามวิธีการเตรียม อยู่ภายใต้การแนะนํา
21
ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการจัดทําหลักสูตร
คํานิยาม มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทําหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และกฎระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรใหม่เกิดผลสําเร็จได้อย่างถูกต้องของ สกอ. ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทําหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และกฎระเบียบอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วน ทันตามกําหนดเวลา สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้เกิดผล สําเร็จได้อย่างถูกต้องทุกครั้ง กระตุ้นให้ผู้เกี่ยวข้องปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบเวลาของ สกอ. สามารถให้คําแนะนําและ ถ่ายทอดความรู้ให้อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และผูเ้ กี่ยวข้องมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
L4
มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทําหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และกฎระเบียบอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วน ทันตามกําหนดเวลา สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้เกิดผล สําเร็จได้อย่างถูกต้องทุกครั้ง กระตุ้นให้ ผู้เกี่ยวข้องปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบเวลาของ สกอ. สามารถให้คําแนะนําและ แก้ปัญหาเกี่ยวกับหลักสูตรให้แก่ผเู้ กี่ยวข้องได้
L3
มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทําหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และกฎระเบียบอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วน ทันตามกําหนดเวลา สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะต่าง ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้เกิดผล สําเร็จได้อย่างถูกต้องทุกครั้ง กระตุ้นให้ผู้เกี่ยวข้องปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบเวลาของ สกอ.
L2
มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทําหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และกฎระเบียบอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องได้ถูกต้องครบถ้วน ตามกําหนดเวลา และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะต่างๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้เกิดผล สําเร็จได้อย่างถูกต้องทุกครั้ง กระตุ้นให้ผู้เกี่ยวข้องปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบเวลาของ สกอ. โดยอยูภ่ ายใต้ การกํากับดูแล จากหัวหน้างาน
L1
มีความรู้พื้นฐานในกระบวนการจัดทําหลักสูตร และมีความสามารถในการประสานงาน และดําเนินการเกี่ยวกับหลักสูตรตาม ขั้นตอน โดยอยู่ภายใต้ การกํากับดูแลจากหัวหน้างานอย่างใกล้ชิด 32
22
มีความรู้ความเข้าใจในระเบียบวิธีวิจัย
คํานิยาม มีความรู้ความเข้าใจในระเบียบวิธวี ิจัยและสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะต่างๆ ในการจัดระเบียบให้เกิดผลสําเร็จได้ ตามวัตถุประสงค์และสามารถถ่ายทอด แนะนําให้ผู้เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องและสําเร็จตามเป้าหมาย ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และประสบการณ์มาถ่ายทอดแก่ผรู้ ่วมงานและผูเ้ กี่ยวข้อง เพื่อให้การดําเนินงานด้านระเบียบวิธี วิจัยมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
L4
สามารถดําเนินงานวิจัยและประยุกต์ระเบียบและขั้นตอนวิจัยได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปฏิบัตติ ามแผนการดําเนินงานจนประสบผลสําเร็จ
L3
สามารถดําเนินงานวิจัยตามระเบียบและขั้นตอนได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ งานวิจัย
L2
มีความเข้าใจในระเบียบและขั้นตอนการดําเนินงานวิจัย และสามารถปฏิบัติตามแผนการดําเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
L1
มีความเข้าใจในระเบียบและขั้นตอนการดําเนินงานวิจัยขั้นพื้นฐาน ยังต้องมีการเรียนรู้และพัฒนาต่อไป
23
ประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงค์ของ
งานประกันคุณภาพ
คํานิยาม มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพมีความเข้าใจระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยและในระบบสากลรวมถึง สามารถกําหนดกลไกการขับเคลื่อนงานประกันคุณภาพได้อย่างเป็นระบบ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
สามารถประเมินผลระบบและกลไกประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยได้ เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหา/พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพได้
L4
เสนอแนะแนวทางพัฒนาระบบประกันคุณภาพที่สอดคล้องกับบริบทขององค์กรได้อย่างเหมาะสม สามารถดําเนินงาน/ติดตามงานตามมติของคณะกรรมการทีเ่ กี่ยวข้อง กําหนดแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรในงานประกันคุณภาพทั้งระดับปฏิบตั ิและระดับบริหารได้เป็นอย่างดี
L3
สามารถถ่ายทอดวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพให้เพื่อนร่วมงานได้ สามารถอธิบายระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยให้เพื่อนร่วมงานได้ เข้าใจกลไกการขับเคลื่อนงานประกันคุณภาพทั้งระบบและจัดประชุมคณะกรรมการที่เกีย่ วข้องกับระบบประกันคุณภาพได้ ตามแผนงาน
L2
กําหนดแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กรต่อระบบประกันคุณภาพได้เป็นอย่างดี เข้าใจกลไกการประกันคุณภาพทีช่ ่วยให้ระบบประกันคุณภาพดําเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยอาศัยการมีส่วนร่วมจาก ทุกฝ่ายในองค์กร
L1
เข้าใจวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพ และระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยเป็นอย่างดี
33
พจนานุกรรมสมรรถนะการบริหาร (ค) Managerial Competencies 1
วิสัยทัศน์ (Visioning)
คํานิยาม ความสามารถให้ทิศทางที่ชัดเจนและก่อความร่วมแรงร่วมใจในหมู่ผใู้ ต้บังคับบัญชา เพื่อนําพางานขององค์กรไปสู่จดุ หมายร่วมกัน ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
แสดงสมรรถนะระดับที่ 4 คิดนอกกรอบ นําเสนอความคิดใหม่เพื่อใช้กําหนดนโยบายในงานเพื่อประโยชน์หรือโอกาสของมหาวิทยาลัยหรือสาธารณชน โดยรวมอย่างที่ไม่มีผู้ใดคิดมาก่อน กําหนดเป้าหมายและทิศทาง เพื่องานขององค์กรด้วยความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งว่าเป้าหมายเหล่านี้สอดคล้องกับบริบทของ มหาวิทยาลัยอย่างไร
L4
แสดงสมรรถนะระดับที่ 3 ถ่ายทอดวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน ที่ดูแลรับผิดชอบอยู่ด้วยวิธีที่สร้างแรงบันดาลใจ ความกระตือรือร้น และความร่วมแรงร่วม ใจให้บรรลุวิสัยทัศน์นั้น ใช้ วิ สั ยทั ศ น์ นั้ นในการกํ า หนดจุ ด ร่ วมและทิศ ทางสํ า หรั บผู้ ค นทั้ งหลาย โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ งในสภาวะที่ กํา ลั ง เผชิ ญ การ เปลี่ยนแปลง
L3
แสดงสมรรถนะระดับที่ 2 สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่วิสัยทัศน์โดยการสื่อสารในวงกว้างในหน่วยงานที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ แบ่งปันข้อมูลแนวโน้มภายในและภายนอกหน่วยงาน ตลอดจนชี้ว่าข้อมูลเหล่านั้นจะนํามาเป็นพื้นฐานในการกําหนดกลยุทธ์ ของหน่วยงาน ได้อย่างไร
L2
แสดงสมรรถนะระดับที่ 1 แบ่งปันความรับผิดชอบในการกําหนดวิสัยทัศน์ระยะยาวโดยให้ผู้อื่นได้มีส่วนร่วมหรือแสดงความคิดเห็นด้วย
L1
สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจว่าสิ่งที่ทําอยู่นั้นมีผลอย่างไรต่อสาธารณชน พยายามให้ภาพรวมชัดเจนและเข้าใจง่าย ช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจ ว่าบทบาทของตนเกี่ยวข้องกับบริบทโดยรวมอย่างไร เชื่อมโยงวิสัยทัศน์ขององค์กร กับเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย
2
การวางแผนและการจัดการ
คํานิยาม การกําหนดแผนงานการประเมินสถานการณ์ได้อย่างเป็นระบบและกําหนดแนวทางเลือกในการแก้ปัญหาตลอดจนพิจารณา แนวทางดําเนินงานที่เหมาะสมกับสถานการณ์ สามารถประเมินสถานการณ์ โดยนําความรู้ประสบการณ์ เงื่อนไข ข้อจํากัดมา กําหนดแนวทางที่เหมาะสมในการดําเนินการ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
มีการวางแผน การประเมินสถานการณ์ และกําหนดแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ และดําเนินการตามแผนงานที่ กําหนดไว้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์พร้อมทั้งมีระบบการ ประเมินสถานการณ์ในการทํางาน และสามารถนําความรู้ ประสบการณ์ เงื่อนไข ข้อจํากัด กําหนดแนวทางที่เหมาะสม เพื่อให้เป็นไปตามแผนที่กําหนดไว้
L4
มีการวางแผน การประเมินสถานการณ์ และกําหนดแนวทางในการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบและดําเนินการตามแผนงานที่ 34
กําหนดไว้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ พร้อมทั้งมีระบบการประเมินสถานการณ์ในการทํางานให้เป็นไปตามแผน L3
มีการวางแผน การประเมินสถานการณ์และกําหนดแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและดําเนินการตามแผนงานที่ กําหนดไว้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
L2
มีการวางแผน การประเมินสถานการณ์และกําหนดแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
L1
ไม่มีการกําหนดแผนงานและการจัดการอย่างเป็นระบบ
3
ทักษะในการแก้ปัญหา
คํานิยาม การระบุและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหารวมทั้งหาแนวทางเลือกและพิจารณาทางเลือกในการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
คาดการณ์และแยกแยะปัญหาที่เกิดขึ้นจากหน่วยงานซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายและความสําเร็จขององค์กร กําหนดแนวทางเลือกในการแก้ไขปัญหาเชิงกลยุทธ์และหาแนวทางเลือกที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหา ตัดสินใจภายใต้สถานการณ์และข้อจํากัดได้
L4
กระตุ้นให้บุคลากรในทีมมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย และแนวทางเลือกได้
L3
เข้าใจปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้สําเร็จด้วยตนเอง ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลภายนอกและมีเหตุผลรองรับ
L2
พยายามหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองซึ่งอาจมีการปรึกษาบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องบ้าง ตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลที่มีอยู่
L1
รู้และเข้าใจวิธีการและแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทํางานประจําวันที่ไม่ยุ่งยาก ตัดสินใจตามวิธีการและขั้นตอนที่กําหนด
4
การมอบหมายงาน ติดตามงานการสอนและแนะนํางาน
คํานิยาม การกระจายงานและความรับผิดชอบไปสู่ทีมงานได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับเวลา ปริมาณ และความสามารถ พร้อมกําหนด วิธีการ แหล่งข้อมูลความถี่การติดตามงาน การกระตุ้นจูงใจและการสอนแนะให้ทีมงานสําเร็จตามเป้าหมายที่กําหนดอย่างมี ประสิทธิภาพ ระดับ (Level)
รายละเอียด
L5
มอบหมายได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของเวลา ปริมาณ ทรัพยากรที่มีอยู่และความสามารถของบุคลากร มีการจัดทําแผนการติดตามงานไว้ล่วงหน้าเสมอ อธิบายเทคนิคและวิธีการในการสอนแนะให้แก่ผู้อื่นจากหน่วยงานภายนอกได้
L4
ให้คําปรึกษาแนะนําเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นจากงานที่ได้รับมอบหมาย มีแนวทางในการแก้ปัญหาจากการติดตามงานไม่สําเร็จ 35
มีเทคนิคและวิธีการสอนแนะที่เหมาะสมกับแต่ละคนได้ L3
มอบหมายงานได้อย่างเหมาะสมตามความสามารถของบุคลากรภายในทีม ติดตามงานที่มอบหมายและแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ สามารถประเมินความเข้าใจและความรู ้ของผู้ใต้บังคับบัญชาได้
L2
มอบหมายงานโดยขอคําแนะนําจากผู้เกี่ยวข้องในการจัดสรรงาน ติดตามความก้าวหน้าของงานได้ตามระยะเวลาที่กําหนด อธิบายขั้นตอนและวิธีการทํางานได้อย่างละเอียด
L1
มอบหมายงานโดยไม่คํานึงถึงความสามารถของผู้รับมอบ ไม่สามารถติดตามความก้าวหน้าของงานที่มอบหมายได้ ไม่สามารถสอนลูกน้องได้เรียนรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเองได้
36
ความคิดริเริ่มและนวัตกรรม
3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 2 2 2 2 2 2 2 2 2 3 1 2 3 3 3
2
3 3
3
3 4 4 4 4
3
4 4
3 3
3 3 3
3 3 3
3 3
3
4 3
4 4 3 3
29 29 29 30 30 30 30 32 29 30 23 3 29 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 8 10
Average Competency Level
Total Issue
3
Total
Functional Competencies
การวางแผนและการจัดการ ทักษะการแก้ไขปัญหา การมอบหมาย ติดตามงานการสอนและแนะนํางาน
งานประกันคุณภาพ
มีความรู้ความเข้าใจในระเบียบวิจัย
ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการจัดทําหลักสูตร
เทคนิคการเตรียมตัวอย่างทดลอง
การใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
ความรอบรู้ด้านวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ
ทักษะทางไฟฟ้าและอิเลิกทรอนิกส์
ทักษะในการใช้โสตทัศนูปกรณ์
ความตระหนักในการพัฒนศักยภาพนักศึกษา
ทักษะในการประสานงาน
ความรู้เกี่ยวกับองค์กร วัฒนธรรมองค์กร และกระบวนการวางแผน
ทักษะการปฏิบัติงานด้านช่วยวิชาการ
ทักษะการให้คําปรึกษา
Core Competencies
ความรู้ในงานบริการการศึกษา
ทักษะในการเลือกใช้เครื่องมือ
การคิดค้นนวัตกรรมทางด้าน ICT
ทักษะด้านการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง
ความละเอียดรอบคอบและถูกต้อง
ทักษะในการใช้กฏระเบียบหลักเกณฑ์ในหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ทักษะการบริหารงานบุคคล
ทักษะการประเมินโครงการ
การใช้ภาษา
การติดตามงาน
3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 ทักษงานสารบรรณ
การทํางานเป็นทีม
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 1(บูลดิน) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 2(ฮาซัน) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 3(นานี) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 4(กะลา) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 5 เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 6(อาบีร) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 7(อีบาต) เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 8 (แบแอ) นักวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ พนักงานทําความสะอาด หัวหน้าสํานักงาน บุคลิกภาพ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 จิตสํานึกด้านคุณภาพ
ตําแหน่ง
ความกระตือรือร้น
ที่
การบริการ
การกําหนดมาตรฐานของสมรรถนะตามกลุ่มสายงาน
กลุ่มสายงานสนับสนุนวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Managerial Competencies
2.90
2.90
2.90
3.00
3.00
3.00
3.00
3.20
2.90
3.00
2.88
2.90