Ftustrategicplan2014 2018

Page 1


1

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ. 2014–2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018 2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


2

สารบัญ บทสรุปสําหรับผู้บริหาร บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานมหาวิทยาลัยฟาฏอนี บทที่ 3 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี บทที่ 4 กรอบแผนยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาหน่วยงานภายนอกที่ เกี่ยวข้องกับอุดมศึกษา บทที่ 5 แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ. 2014–2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ภาคผนวก - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม แห่งชาติ ฯ - ปฏิทินการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และ จัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปีการศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี - คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาแผนมหาวิทยาลัยฟาฏอนี

หน้า 3 9 11 16 24 29 42 44 48

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


3

р╕Ър╕Чр╕кр╕гр╕╕р╕Ыр╕кр╣Нр╕▓р╕лр╕гр╕▒р╕Ър╕Ьр╕╣р╣Йр╕Ър╕гр╕┤р╕лр╕▓р╕г р╕Ир╕▓р╕Бр╕Бр╕▓р╕гр╕Фр╣Нр╕▓р╣Ар╕Щр╕┤р╕Щр╕Зр╕▓р╕Щр╕Чр╕╡р╣Ир╕Ьр╣Ир╕▓р╕Щр╕бр╕▓ р╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕гр╕░р╕вр╕░р╣Ар╕зр╕ер╕▓ 2 р╕Ыр╕╡р╕Хр╕▓р╕бр╣Бр╕Ьр╕Щр╕вр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣Мр╕гр╕░р╕вр╕░р╕Чр╕╡р╣И 4 р╕Ю.р╕и.25542558 (р╕Д.р╕и. 2011 тАУ 2015) р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Яр╕▓р╕Пр╕нр╕Щр╕╡ р╕Хр╕▓р╕бр╕бр╕Хр╕┤р╕Чр╕╡р╣Ир╕Ыр╕гр╕░р╕Кр╕╕р╕бр╕кр╕ар╕▓р╣Др╕Фр╣Йр╕нр╕Щр╕╕р╕бр╕▒р╕Хр╕┤р╣Бр╕ер╕░р╣Ар╕лр╣Зр╕Щр╕Кр╕нр╕Ър╣Гр╕Щр╕Др╕гр╕▓р╕з р╕Ыр╕гр╕░р╕Кр╕╕р╕бр╕Др╕гр╕▒р╣Йр╕Зр╕Чр╕╡р╣И 39(2/2011) р╣Ар╕бр╕╖р╣Ир╕нр╕зр╕▒р╕Щр╕Чр╕╡р╣И 25 р╕Бр╕▒р╕Щр╕вр╕▓р╕вр╕Щ р╕Ю.р╕и.2554 р╕Лр╕╢р╣Ир╕Зр╕Ьр╕ер╕Ир╕▓р╕Бр╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕бр╕┤р╕Щр╕Ьр╕ер╕Бр╕▓р╕гр╕Фр╣Нр╕▓р╣Ар╕Щр╕┤р╕Щр╕Зр╕▓р╕Щ р╕Хр╕▓р╕бр╕Ьр╕Щр╕вр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣Мр╕пр╕Ыр╕гр╕░р╕Ир╣Нр╕▓р╕Ыр╕╡р╕Бр╕▓р╕гр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓ 2556 р╕Юр╕Ър╕зр╣Ир╕▓ р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╣Др╕Фр╣Йр╕Ър╕гр╕гр╕ер╕╕р╕ар╕▓р╕гр╕Бр╕┤р╕Ир╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Чр╕╡р╣Ир╕кр╣Нр╕▓р╕Др╕▒р╕Нр╕Хр╕▓р╕б р╣Бр╕Ьр╕Щр╕вр╕╕ р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣Мр╕Фр╕▒р╕Зр╕Бр╕ер╣Ир╕▓р╕зр╣Бр╕ер╣Й р╕з р╕нр╕╡р╕Бр╕Чр╕▒р╣Йр╕З р╣Гр╕Щр╕Ыр╕▒р╕Ир╕Ир╕╕р╕Ър╕▒ р╕Щр╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤ р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒ р╕вр╣Др╕Фр╣Йр╣А р╕Ыр╕ер╕╡р╣И р╕вр╕Щр╕Кр╕╖р╣Ир╕нр╕Ир╕▓р╕Б тАЭр╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤ р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒ р╕вр╕нр╕┤ р╕кр╕ер╕▓р╕б р╕вр╕░р╕ер╕▓тАЭр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щ тАЬр╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Яр╕▓р╕Пр╕нр╕Щр╕╡тАЭр╕Юр╕гр╣Йр╕нр╕бр╕Фр╣Йр╕зр╕вр╕Бр╕▓р╕гр╕Вр╕▒р╕Ър╣Ар╕Др╕ер╕╖р╣Ир╕нр╕Щр╕Бр╕▓р╕гр╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╣Гр╕Щр╕Ър╕гр╕┤р╕Ър╕Чр╣Гр╕лр╕бр╣И р╕Фр╣Й р╕зр╕вр╣Ар╕лр╕Хр╕╕ р╕Щр╕╡р╣Й р╕б р╕лр╕▓р╕зр╕┤ р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒ р╕в р╕Яр╕▓р╕Пр╕нр╕Щр╕╡ р╕Ир╕╢р╕З р╣Др╕Фр╣Й р╕Ир╕▒ р╕Фр╕Чр╣Н р╕▓р╣Бр╕Ьр╕Щр╕вр╕╕ р╕Ч р╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣М р╕Йр╕Ър╕▒ р╕Ъ р╣Гр╕лр╕бр╣И р╣Вр╕Фр╕вр╕Бр╣Н р╕▓р╕лр╕Щр╕Фр╣Ар╕Ыр╣З р╕Щ р╣Бр╕Ьр╕Щ р╕вр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣Мр╕гр╕░р╕вр╕░р╕Чр╕╡р╣И 5 (р╕Д.р╕и.2014-2018) р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Яр╕▓р╕Пр╕нр╕Щр╕╡ р╣Вр╕Фр╕вр╕бр╕╡р╕кр╕▓р╕гр╕░р╕кр╣Нр╕▓р╕Др╕▒р╕Нр╕кр╕гр╕╕р╕Ыр╣Др╕Фр╣Йр╕Фр╕▒р╕Зр╕Щр╕╡р╣Й р╕Ыр╕гр╕▒р╕Кр╕Нр╕▓ р╕Ыр╕гр╕▒р╕Кр╕Нр╕▓ : р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Ир╕░р╕вр╕╢р╕Фр╕бр╕▒р╣Ир╕Щ р╕ар╕▓р╕вр╣Гр╕Хр╣Йр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Др╣Нр╕▓р╕кр╕нр╕Щр╕нр╕▒р╕ер╕Бр╕╕р╕гр╕нр╕▓р╕Щ ┘б┘а┘з ┘О ┘Р ┘О ┘О ┘Т ┘Р┘С ┘Л ┘О ┘Т тАл┘Г ┘Р╪е ┘О╪▒тАм ┘О ┘О ┘Т ┘О ┘ТтАл┘О┘И ┘О ┘О╪г╪▒тАм тАЭр╣Бр╕ер╕░р╣Ар╕гр╕▓р╣Др╕бр╣Ир╣Др╕Фр╣Йр╕кр╣Ир╕Зр╣Ар╕Ир╣Йр╕▓р╕бр╕▓р╣Ар╕Юр╕╖р╣Ир╕нр╕нр╕╖р╣Ир╕Щр╣Гр╕Ф р╕Щр╕нр╕Бр╕Ир╕▓р╕Бр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕бр╕Хр╕Хр╕▓р╣Ар╕Юр╕╖р╣Ир╕нр╕Ыр╕гр╕░р╕Кр╕▓р╕Кр╕▓р╕Хр╕┤р╕Чр╕▒р╣Йр╕Зр╕бр╕зр╕етАЭ (р╕нр╕▒р╕ер╕Бр╕╕р╕гр╕нр╕▓р╕Щ р╕нр╕▒р╕ер╕нр╕▒р╕бр╕Ър╕┤р╕вр╕▓р╕нр╕║21 :107) р╕Ыр╕Ур╕┤р╕Шр╕▓р╕Щ р╕Ыр╕Ур╕┤р╕Шр╕▓р╕Щ : р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Ир╕░р╕бр╕╕р╣Ир╕Зр╕бр╕▒р╣Ир╕Щр╕Ыр╕Пр╕┤р╕Ър╕▒р╕Хр╕┤р╕Фр╣Йр╕зр╕вр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Др╣Нр╕▓р╕кр╕нр╕Щр╕нр╕▒р╕ер╕Бр╕╕р╕гр╕нр╕▓р╕Щ ┘б┘б┘д ┘Л ┘Т ┘Р ┘Р ┘ТтАл╪и ┘Р╪▓╪птАм ┘Р┘С тАл ╪▒тАм

"р╕Вр╣Йр╕▓р╣Бр╕Хр╣Ир╕Юр╕гр╕░р╣Ар╕Ир╣Йр╕▓р╕Вр╕нр╕Зр╕Йр╕▒р╕Щ р╕Вр╕нр╕Юр╕гр╕░р╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Чр╕гр╕Зр╣Вр╕Ыр╕гр╕Фр╣Ар╕Юр╕┤р╣Ир╕бр╕Юр╕╣р╕Щр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣р╣Йр╣Бр╕Бр╣Ир╕Йр╕▒р╕Щ"

(р╕нр╕▒р╕ер╕Бр╕╕р╕гр╕нр╕▓р╕Щ р╕Ор╕нр╕ор╕▓ 20:114) р╕зр╕┤р╕кр╕▒р╕вр╕Чр╕▒р╕ир╕Щр╣М р╕зр╕┤р╕кр╕▒р╕вр╕Чр╕▒р╕ир╕Щр╣М : тАЬр╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤ р╕Ч р╕вр╕▓р╕ер╕▒ р╕в р╕Яр╕▓р╕Пр╕нр╕Щр╕╡ р╣А р╕Ыр╣З р╕Щ р╕кр╕Цр╕▓р╕Ър╕▒ р╕Щ р╕нр╕╕ р╕Фр╕бр╕ир╕╢ р╕Б р╕йр╕▓р╕Чр╕╡р╣И р╕бр╕╡ р╕бр╕▓р╕Хр╕гр╕Рр╕▓р╕Щр╕гр╕░р╕Фр╕▒ р╕Ъ р╕кр╕▓р╕Бр╕е р╕Ьр╕ер╕┤ р╕Хр╕Ър╕▒ р╕У р╕Ср╕┤ р╕Хр╣Бр╕ер╕░ р╕Юр╕▒ р╕Т р╕Щр╕▓р╕нр╕Зр╕Др╣М р╕Д р╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣р╣Й р╕Чр╕╡р╣Ир╕Ър╕╣ р╕гр╕Ур╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕лр╕ер╕▒ р╕Бр╕Бр╕▓р╕гр╕нр╕┤ р╕кр╕ер╕▓р╕бр╕нр╕вр╣И р╕▓р╕Зр╕бр╕╡ р╕Фр╕╕р╕ер╕вр╕ар╕▓р╕Ю р╕кр╕гр╣Й р╕▓р╕Зр╕кр╕гр╕гр╕Др╣М р╕кр╕▒р╕З р╕Др╕бр╕Др╕╕ р╕У р╕Шр╕гр╕гр╕бр╣Бр╕ер╕░ р╕кр╕▒р╕Щр╕Хр╕┤р╕ар╕▓р╕Юр╕Чр╕╡р╣Ир╕вр╕▒р╣Ир╕Зр╕вр╕╖р╕ЩтАЭ

р╕Юр╕▒р╕Щр╕Шр╕Бр╕┤р╕И 1. р╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓р╕гр╕░р╕Фр╕▒р╕Ър╕нр╕╕р╕Фр╕бр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓ р╕Чр╕╡р╣Ир╕бр╕╕р╣Ир╕Зр╣Ар╕Щр╣Йр╕Щр╕бр╕▓р╕Хр╕гр╕Рр╕▓р╕Щр╣Бр╕ер╕░р╕Др╕╕р╕Ур╕ар╕▓р╕Юр╕Чр╕▓р╕Зр╕зр╕┤р╕Кр╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕нр╕▒р╕Щр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕Чр╕╡р╣Ир╕вр╕нр╕бр╕гр╕▒р╕Ър╣Гр╕Щ р╕гр╕░р╕Фр╕▒р╕Ър╕кр╕▓р╕Бр╕е р╣Вр╕Фр╕вр╣Гр╕лр╣Йр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╣Нр╕▓р╕Др╕▒р╕Нр╕Бр╕▒р╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╕Ър╕╣р╕гр╕Ур╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣р╣Йр╕Хр╕▓р╕бр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Бр╕▓р╕гр╕нр╕┤р╕кр╕ер╕▓р╕б р╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╣Вр╕нр╕Бр╕▓р╕к р╕Чр╕▓р╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓р╣Бр╕ер╕░р╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╣Ар╕ер╕┤р╕ир╕Чр╕▓р╕Зр╕зр╕┤р╕Кр╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕Др╕зр╕Ър╕Др╕╣р╣Ир╣Др╕Ыр╕Бр╕▒р╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╕бр╕╡р╕Др╕╕р╕Ур╕Шр╕гр╕гр╕бр╕Ир╕гр╕┤р╕вр╕Шр╕гр╕гр╕б

р╣Бр╕Ьр╕Щр╕вр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣М р╕гр╕░р╕вр╕░р╕Чр╕╡р╣И 5 (р╕Д.р╕и.2014-2018) р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Яр╕▓р╕Пр╕нр╕Щр╕╡


4

2. พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ งานวิ จั ย และนวั ต กรรม โดยมุ่ ง เน้ น การทํ า วิ จั ยในลั กษณะบู รณาการ หลั กการอิสลาม ความเป็ นสหวิทยาการ สามารถนํ าไปใช้ ป ระโยชน์ ในการพั ฒนาท้องถิ่ น ประเทศและสากล 3. ให้บริการวิชาการแก่สังคม นําพาสังคมสู่สังคมคุณธรรมและสันติภาพที่ยั่งยืนภายใต้หลักการ อิสลาม 4. ทํานุ บํ ารุ ง ศาสนาอิ สลาม การปฏิ บั ติตนของประชาคมมหาวิ ทยาลั ย ตามหลั กคํ าสอนของ ศาสนา ดําเนินกิจกรรมทางด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณีที่สอดคล้องกับหลักการอิสลาม 5. พัฒนาความสัมพันธ์และความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันวิชาการในต่างประเทศภูมิภาค อาเซียน เอเชียและนานาประเทศ การเป็นตัวแทนของประชาคมมุสลิมในประเทศไทยเพื่อ สร้างสัมพันธ์กับนานาประเทศ 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพด้วยการทํางานภายใต้บรรยากาศแห่งความเป็น ภราดรภาพอิสลามและหลักธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 :การเสริมสร้างมาตรฐานหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ เป้าประสงค์ 1. ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการในการจัดการเรี ยนรู้ กระตุ้นการ เรียนรู้ของนักศึกษาผ่านการประยุกต์ใช้ความรู้ที่สมดุล 2. ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การเรียนรู้ของนักศึกษาให้มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 3. การปรับปรุงคุณภาพของห้องเรียน สื่อการจัดการเรียนการสอนและห้องปฏิบัติเพื่อ การจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ 4. การกํากับติดตามและพัฒนากระบวนการดําเนินการบริหารจัดการหลักสูตรอย่างมี มาตรฐานสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคมพร้อมเปิดหลักสูตรใหม่ที่เป็นความต้องการ ของสังคม ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของสาขาวิชาที่เกิดนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน 2. จํานวนสาขาวิชาที่มีการดําเนินการปรับพื้นฐานและสร้างความพร้อมในการเรียนรู้ สําหรับนักศึกษา 3. ร้อยละของนักศึกษาตามหลักสูตรที่เข้าร่วมสหกิจศึกษา 4. ร้อยละของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ 5. จํานวนผลงานวิชาการหรืองานวิจัยของนักศึกษาจากการจัดการเรียนการสอนตาม รายวิชา 6. ร้ อยละของรายวิ ช าที่ เ ชื่ อมโยงการเรี ย นการสอนกั บ การประยุ ก ต์ ใ ช้ และการฝึ ก ภาคสนาม 7. ร้อยละของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ผลงานวิชาการ ในการนําเสนอผลงานวิชาการ การสัมมนาหรือวารสารวิชาการ 8. ร้ อ ยละของนั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ ห รื อ เผยแพร่ ผ ลงาน วิชาการในการสัมมนาวิชาการในระดับนานาชาติได้ 9. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อความพร้อมด้านการจัดการเรียนการสอนและ ห้องปฏิบัติการ

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


5

10. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการให้บ ริการห้องสมุดและระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ 11. ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทํา ศึกษาต่อ 12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2: การเสริมสร้างอัตลักษณ์และบัณฑิตพึงประสงค์ เป้าประสงค์ 1. ยกระดับกิจกรรมนักศึกษาเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์ และเชื่อมโยงสู่สังคม 2. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้านกีฬา การออกกําลังกาย นันทนาการของนักศึกษา เพื่อการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีและ มีคุณธรรมจริยธรรม 3. การแสวงหาแหล่งทุนและการจัดสรรทุนให้กับนักศึกษาที่มีความจําเป็น ตัวชี้วัด 1. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มศึกษา 2. จํานวนกิจกรรมโครงการของกลุ่มนักศึกษาในการพัฒนาสังคม 3. จํานวนศิษย์เก่า 5 ปีย้อนหลังที่มีบทบาทในการบําเพ็ญประโยชน์ต่อสาธารณะ 4. จํานวนกิจกรรม/โครงการของกลุ่มนักศึกษาที่มีการดําเนินกิจกรรมร่วมกับสถาบัน อื่นและหน่วยงานภายนอก 5. ร้ อ ยละของความสํ า เร็ จ ในการส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาและท่ อ งจํ า อั ล กรุ อ่ านสํ าหรั บ นักศึกษา 6. ร้อยละของความสําเร็จของการให้คําปรึกษาสําหรับนักศึกษากลุ่มเสี่ยง 7. ร้อยละของนักศึกษาที่มีคะแนนประเมินภายในกลุ่มศึกษาเกินร้อยละ 80 8. จํานวนครั้งในการเข้าร่วมแข่งขันของนั กศึกษาในการแข่งขันกีฬาระหว่างสถาบั น หรือระดับชาติ 9. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาในการสนับสนุนทางด้านกีฬา 10. ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับจัดสรรทุนจากนักศึกษาทั้งหมดที่แสดงความจํานง 11. จํานวนของนักศึกษาที่ได้รับทุนศึกษาต่อ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การยกระดับคุณภาพและการส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานวิจัย เป้าประสงค์ 1. พัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านการวิจัย 2. สร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาโจทย์วิจัยและสร้างการมีส่วน ร่วมในการวิจัยของนักศึกษา 3. ส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ และการนําไปสู่การใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัย 2. จํานวนงบประมาณที่ได้รับเพื่อการวิจัยเฉลี่ยต่ออาจารย์ 3. ร้อยละของงานวิจัยที่บูรณาการหลักการอิสลามในการวิจัย 4. จํานวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมในการสนับสนุนการวิจัย 5. จํานวนโครงการวิจัยที่บูรณาการร่วมกับการจัดการเรียนการสอนและสร้างการมี ส่วนร่วมของนักศึกษาในการวิจัย 6. จํานวนบทความวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


6

7. จํานวนงานวิจัยที่ถูกนําไปใช้ประโยชน์จาก หน่วยงาน องค์กร หรือสถานประกอบ 8. จํานวนบทความผลงานวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสังคมสันติสุข เป้าประสงค์ 1. การสร้างความเข้มแข็งและสังคมสันติสุขของชุมชนผ่านการให้บริการวิชาการที่มี ประสิทธิภาพ 2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเชี่ยน ตัวชี้วัด 1. ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการทางวิชาการ 2. จํานวนชุมชนที่เข้ารับประโยชน์จากการบริการวิชาการที่ต่อเนื่องจนเกิดความ เข้มแข็งและความสันติสุข 3. จํานวนชุมชนที่มีการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ชุมชนและ หลักการศาสนา 4. ระดับความพึงพอใจต่อการบริการวิชาการตามแบบอัตลักษณ์ของชุมชน 5. จํานวนบุคลากรที่ร่วมเป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของหน่วยงาน ชุมชน องค์กร 6. จํานวนโครงการบริการวิชาการที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย 7. จํานวนหน่วยงาน สถาบัน องค์กรที่ได้รับการบริการวิชาการเพื่อการเตรียมความ พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 8. ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมบริการวิชาการเพื่อการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 :การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมสู่การสร้างสรรค์สังคมสันติ เป้าประสงค์ 1. การพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมและการส่งเสริมการนําองค์ ความรู้ไปสู่การประยุกต์ใช้ 2. เผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านศิลปะ วัฒนธรรมที่สอดคล้องหลักคําสอนของศาสนา เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องของสังคม ตัวชี้วัด 1. จํานวนโครงการ กิจกรรมด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่บูรณากับการจัดการเรียนการ สอน การวิจัย บริการวิชาการและการบริหารจัดการหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย 2. จํานวนผลงานวิจัยเพื่อพัฒนามาตรฐานด้านศิลปะและวัฒนธรรม 3. จํานวนชิ้นผลงานเพื่อสร้างมาตรฐานทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม 4. จํานวนครั้งในการให้วินิจฉัย(ฟัตวา)ประเด็นปัญหาทางด้านศาสนา 5. ระดับความพึงพอใจในการดําเนินงานด้านการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 :การยกระดับประสิทธิภาพการบริหารจัดการและสวัสดิการ บุลากร เป้าประสงค์ 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและการขยายแหล่งรายได้. 2. การพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการ

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


7

3. การพัฒนาบุคลากรด้านคุณวุฒิ ตําแหน่งทางวิชาการและความก้าวหน้าในอาชีพ 4. การยกระดับคุณภาพด้านสวัสดิการ 5. การอนุรักษ์พลังงานและสิงแวดล้อม ตัวชี้วัด 1. จํานวนระบบการบริหารจัดการที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 2. ร้อยละของการเพิ่มรายได้จากการดําเนินงาน 3. ร้อยละของการลดต้นทุนของการดําเนินงาน 4. ร้อยละของการลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค 5. จํานวนนวัตกรรมจากการพัฒนาการปฏิบัติงานประจํา 6. จํานวนการลดลงของปัจจัยความเสี่ยงในการดําเนินงาน 7. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการประเมิน ร้อยละ 80 ขึ้นไป 8. ร้อยละของอาจารย์ที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก 9. ร้อยละของอาจารย์ที่มีตําแหน่งวิชาการ 10. ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ได้รับการพัฒนาสู่ตําแหน่งชํานาญการ 11. ร้อยละของการลดลงของการเกิดอุบัติเหตุและปัญหาด้านความปลอดภัยของ บุคลากรและนักศึกษา 12. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการสนับสนุนด้านที่พักอาศัยจากจํานวนบุคลากรที่แสดง ความจํานง 13. ร้อยละของการให้ทุนการศึกษาแก่บุตรของบุคลากร 14. ร้อยละของการลดการใช้พลังงาน 15. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพื้นที่ทางวัฒนธรรมและสุนทรียภาพ

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


8

วิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

การเสริมสร้าง มาตรฐานหลักสูตร และการจัดการ เรียนรู้ การยกระดับ ประสิทธิภาพการ บริหารจัดการและ สวัสดิการบุลากร

การทํานุบํารุงศิลปะ และวัฒนธรรมสู่ การสร้างสรรค์ สังคมสันติสุข

การเสริมสร้างอัต ลักษณ์และบัณฑิต พึงประสงค์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนีเป็น สถาบันอุดมศึกษาที่มีมาตรฐาน ระดับสากล ผลิตบัณฑิตและ พัฒนาองค์ความรู้ทบี่ ูรณาการ หลักการอิสลามอย่างมีดลุ ยภาพ สร้างสรรค์สังคมคุณธรรมและ สันติภาพที่ยั่งยืน” การยกระดับ คุณภาพและการ ส่งเสริมการใช้ ประโยชน์งานวิจัย การบริการวิชาการ เพื่อเสริมสร้าง สังคมสันติสุข

“ Garden of Knowledge towards the Righteous Society” Society

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018 2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


9

บทที่ 1 บทนํา 1. หลักการและเหตุผล แผนยุทธศาสตร์ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เป็นแผนระยะ 5 ปี และอยู่ ใ นฃ่ ว งปี ที่ 4 ของกรอบแผน 10 ปี มหาวิ ท ยาลั ย ฟาฏอนี (2011-2020) ที่ ผ่ า นมา มหาวิ ท ยาลั ย ฟาฏอนี ไ ด้ ดํ า เนิ น การตามแผนยุ ท ธศาสตร์ ระยะที่ 4 (ค.ศ.2 0 11-2 015) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี กอปรกับแผนยุทธศาสตร์ระยะที่ 4 ฯจะสิ้นสุดลงในปีการศึกษา 2015 อีกทั้งจาก การเปลี่ยนชื่อมหวิทยาลัยอิสลามยะลาเป็นมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ด้วยเหตุผลเพื่อการผลักดันและ ยกระดับคุณภาพการศึกษาที่ครอบคลุมและเอื้อประโยชน์ต่อประชาชนที่กว้างขึ้นตามหลักนโยบายของ การสร้าง”ประชาชาติเดียวกัน”หรือที่เรียกกันว่า “อุมมะตุลวาฮีดะฮ”มหาวิทยาลัยฟาฏอนีเห็นควรให้มี การจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 เพื่อปรับยุทธศาสตร์ กลยุทธ์การดําเนินงานให้ชัดเจนและเชิงรุก มากขึ้น โดยเน้นหลักนโยบายของอธิการบดี “การสร้างอุมมะตุลวาฮีดะฮฺ”เป็นแนวปฏิบัติการดําเนินงาน ของมหาวิทยาลัยและภายในหน่วยงานมหาวิทยาลัยให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีเอกภาพที่ชัดเจน ต่อไป การดําเนินงานจัดทําแผนยุทธศาสตร์ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ยังคงใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเช่นเดิมที่ผ่านมา โดยการมีส่วนร่วมของประชาคมมหาวิทยาลัยฟาฏอนีใน การร่วมประชุมสัมมนา ระดมสมอง ร่วมกันแสดงความคิดเห็นในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นบุคลากรทุกระดับ นักศึกษา ศิษย์เก่า ตลอดจนผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ใช้บัณฑิตของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี หลังจากที่ได้ประชุม ระดมสมองร่วมแสดงความคิดเห็น คณะกรรมการจัดทําและพัฒนาแผนได้ยกร่างและเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริ ห ารมหาวิ ท ยาลั ย พิ จ ารณาเห็ น ชอบและเสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการสภา มหาวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติและถ่ายทอดลงสู่หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยเพื่อเป็นแนวทางในการ จัดทําแผนของหน่วยงานต่อไป 2. แนวคิดและหลักการสร้างประชาชาติเดียวกัน เดิมทีมนุษย์ทุกคนเป็นประชาชาติเดียวกัน(อุมมะตัน วาหิดะฮฺ) ที่ตั้งอยู่บนเอกภาพแห่งความดี งามของอิสลามอันเป็นศาสนาของออัลลอฮฺสําหรับมวลมนุษย์ผู้เป็นบ่าวของพระองค์ ภายใต้การนําของน บีอาดัม อะลัยฮิสสลาม ต่อมาพวกเขาได้ขัดแย้งและแตกแยกเกี่ยวกับจุดยืนของพวกเขาต่อการดะวะฮฺ ของบรรดานบีและศาสนทูต ตามนิสัยโดยธรรมชาติของมนุษย์ที่ชอบขัดแย้งและแตกแยก เว้นแต่บรรดา ผู้ที่อัลลอฮฺทรงเมตตาให้พวกเขาเป็นประชาชาติเดียวกัน โดยผ่านหลักคําสอนของคัมภีร์ต่างๆที่พระองค์ ทรงประทานให้แก่บรรดาศาสนทูต จนสุดท้ายจึงบังเกิดกลุ่มชนที่ได้รับการขนานนามว่า“อุมมะตุน วาหิ ดะฮฺ” หรือ“ประชาชาติเดียวกัน” ที่ภักดีและยําเกรงต่ออัลลอฮ ส่วนหนึ่งของวิธีและแนวทางในการธํารงความเป็นประชาชาติเดียวกันไว้ คือ 1. ศึกษาและเพิ่มพูนความรู้ คุณลักษณะประการหนึ่งของความเป็นประชาชาติเดียวกันคือ การศึกษาด้วยการอ่าน เพราะประชาชาติเดียวกันได้ถูกก่อตั้งขึ้นด้วยดํารัสของอัลลอฮฺที่ว่า “อิกเราะอ์” (จงอ่าน) ที่ขึ้นอยู่กับพระนามของพระผู้อภิบาลของเจ้า ด้วยการเปิดกว้างที่สุดในสิ่งต่างๆ ที่จะอ่าน ซึ่ง แน่น อนว่ าทั้ งหมดนั้ นล้วนเป็ นสั ญญาณหรือเครื่องหมาย(อายาต)ของอัลลอฮฺ ไม่ว่าจะอยู ่ใ นรู ปของ โองการอัลกุรอานที่ถูกประทานลงมา หรือสัญญาณแห่งการสรรค์สร้างของอัลลอฮฺ อาทิ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ท้องฟ้า พื้น ดิน รวมทั้งตั วเราเองด้ วย และสิ่ง ที่ถูกสร้ างอื่ นๆ อีกมากมาย ทั้งหมดล้วนเป็ นเครื่องหมายของอัลลอฮฺที่ก่อให้เกิดความรู้และเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ยิ่ง ทั้งในด้านอิบาดะฮฺ การ ปฏิสัมพันธ์(มุอามะลาต) และกา ปกครอง(คิลาฟะฮฺ) บนโลกนี้ 2. มีความศรัทธา ปฏิบัติดี และสั่งเสียซึ่งกันและกันด้วยสัจธรรมและความอดทน

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


10

3. มีมารยาทที่สูงส่ง ส่วนหนึ่งของคุณลักษณะพื้นฐานของประชาชาติเดียวกันคือ การมี มารยาทที่สูงส่ง 4. ยึดมั่นในศาสนาของอัลลอฮ 5. เป็นพี่น้องและปรองดองกัน 6. มุอ์มินต้องวะลาอ์ต่อกัน 7. ให้ความร่วมมือในสิ่งที่ดีงาม ถึงแม้ว่าลักษณะของการให้ความร่วมมือจะเป็นผลของการวะ ลาอ์ แต่ทว่า มันกลับได้รับการกําชับจากอัลลอฮฺด้วยการเจาะจงแนวทางการให้ความร่วมมือที่อนุญาต และไม่อนุญาตอย่างชัดเจน 8. มีความบริสุทธิ์ใจ ให้การตักเตือน และชอบความปรองดอง 9. เปิดใจให้กว้าง และพยายามสร้างความใกล้ชิด พึงทราบว่า บางครั้งความขัดแย้งที่ เกิดขึ้นอาจจะเป็นเพียงความขัดแย้งด้านนามธรรมเท่านั้นไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะอย่า งยิ่งเกี่ยวกับปัญหาที่เปิดกว้าง ไม่คับแคบ 10. ไม่ประพฤติหยาบช้า/เป็นผู้ที่ให้อภัย 11. ดะอฺวะฮฺและเผยแผ่ความเมตตาสู่สากลโลก 3. วัตถุประสงค์ 3.1 เพื่อกําหนดสถานะและทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยในรอบ 5 ปี(ค.ศ.2014-2018 3.2 เพื่อเป็นกรอบแนวทางการดําเนินงานของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยในช่วงระยะ 5 ปี ข้างหน้า 3.3 เพื่ อสร้ างกระบวนการมี ส่วนร่ วมของทุ กผ่ ายในการขับ เคลื่ อนวิสัย ทั ศ น์ เ พื่อการพั ฒ นา มหาวิทยาลัย 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4.1 ได้แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฏอนีที่นําไปสู่การปฏิบัติ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) 4.2 สมารถนํามาเป็นกรอบแนวทางการดําเนินงานของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยในช่วง ระยะ 5 ปีข้างหน้า 4.3 บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์สู่การพัฒนามหาวิทยาลัย

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


11

บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี 1) ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแห่งแรกในประเทศไทย ที่ได้รับการ สถาปนาขึ้น โดยนักวิชาการมุสลิมและผู้ทรงคุณวุฒิด้านอิสลามศึกษาในภูมิภาค ซึ่งมีเจตนารมณ์อันแน่ว แน่ในการส่งเสริมและพัฒนาด้านอิสลามศึกษาและศาสตร์แขนงอื่นๆ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ คุณภาพตามมาตรฐานสากล เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม และความคาดหวังในการมีส่วน ร่ ว มในการแก้ ไ ขปั ญ หาและพั ฒ นาภู มิภ าค โดยเกิ ด ขึ้ น จากการรวมตั ว กั น ของนั กวิ ช าการมุ ส ลิ ม และ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านอิสลามศึกษาในภูมิภาค ซึ่งมีเจตนารมณ์อันแน่วแน่ร่วมกันในการส่งเสริมและพัฒนาการ ด้านอิสลามศึกษาให้ มีประสิ ทธิ ภาพและมี คุณภาพตามมาตรฐานสากล เพื่อตอบสนองความต้ องการ กําลังคนระดับปัญญาชนของท้องถิ่นและประเทศที่กําลังพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ตลอดจนให้สอดคล้องกับ ความเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัฒน์ รวมทั้งเป็นการสนองตอบนโยบายของรัฐ ตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ได้ผ่านการดําเนินการตามลําดับดังนี้ 1.1 การก่อตั้งสถาบันในฐานะวิทยาลัย แนวคิดในการสร้างสถาบั นการศึกษาอิ สลามระดับ อุดมศึกษาในประเทศไทยเกิ ดขึ้ นจากกลุ่ ม นักศึกษาที่กําลังศึกษาต่อระดับปริญญาโท-เอก อยู่ในประเทศซาอุดิอารเบีย อาทิ นายอิสมาอีลลุตฟี จะ ปะกียา นายอิสมาแอ อาลี นายอับดุลฮาลีม ไซซิง นายญิฮาด บูงอตาหยง นายอาหมัดอูมาร์ จะปะ เกีย โดยเห็นว่าสังคมมุสลิมในประเทศไทยมีความจําเป็นต้องมีสถาบันอุดมศึกษาอิสลามเพื่อทําหน้าที่ใน การผลิ ต บั ณ ฑิ ต ให้ มี ค วามรู้ คู่ คุ ณ ธรรม อั น จะเป็ น รากฐานสํ า คั ญ ในการพั ฒ นาประเทศสู่ ค วาม เจริญก้าวหน้าเจริญก้าวหน้าและมีความสงบสันติดั่งเจตนารมณ์ของอิสลามต่อไป หลังจากรวบรวมเงินได้ประมาณหนึ่งล้านบาท ในปี พ.ศ. 2526 จึงได้ทําการส่งเงินดังกล่าว กลับมายังประเทศไทย และได้ก่อตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่ง ให้ชื่อว่า “คณะกรรมการการต่อตั้ง โครงการวิทยาลัยอิสลามเอกชนภาคใต้” หลังจากได้พิจารณาความเหมาะสมของสถานที่ตั้งโครงการฯ แล้วคณะกรรมการชุดดังกล่าวได้ติดสินใจซื้อที่ดิน จํานวน 70 ไร่ 32 ตารางวา ณ บ้านโสร่ง หมู่ที่ 3 ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เพื่อเป็นสถานที่ก่อตั้งวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2532 การดําเนินการก่อสร้างสถาบันอิสลามศึกษาขั้นสูงแล้วเสร็จ อันประกอบด้วย อาคารเรี ย นและที่ ทําการฝ่ ายบริ หาร มั สยิ ด ห้ อ งสมุ ด หอพั กอาจารย์ หอพั กนั กศึ กษา และระบบ สาธารณูปโภคต่างๆ แต่การดําเนินงานโครงการฯ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2532-2539 ประสบกับความล่าช้า เนื่องจากขาดบุคลากรและงบประมาณ ในเดื อ นเมษายน 2541 ฯพณฯ นาวาโทนายแพทย์ เ ดชา สุ ข ารมณ์ รั ฐ มนตรี ว่ า การ ทบวงมหาวิทยาลัย โดยคําแนะนําของคณะกรรมการสถาบันอุดมศึกษาเอกชน อนุญาตให้มูลนิธิเพื่อการ อุดมศึกษาอิสลามภาคใต้จัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาประเภทวิทยาลัย ชื่อว่า “วิทยาลัยอิสลามยะลา” ตาม ใบอนุญาตเลขที่ 4/2541 และในเดือนกรกฎาคม ปีเดียวกัน ทบวงมหาวิทยาลัยได้มีคําสั่งที่ 114/2541 แต่งตั้งกรรมการสภาวิทยาลัยอิสลามยะลาชุดแรก และวิทยาลัยอิสลามยะลาได้จัดการประชุมกรรมการ สภาวิทยาลัย เป็นครั้งแรกในวันที่ 27 เดือนเดียวกัน โดยที่ประชุมมีมติเห็นชอบแต่งตั้ง ฯพณฯ วันมูหะ มัดนอร์ มะทา ดํารงตําแหน่งนายกสภาวิทยาลัย นายอารีย์ วงศ์อารยะ ดํารงตําแหน่งอุปนายก ดร.อิส มาอีลลุตฟี จะปะกียา ดํารงตําแหน่งอธิการ ดร.อัฮมัดอูมัร จะปะเกีย ดํารงตําแหน่งรองอธิการฝ่าย วิชาการและกิจการนักศึกษา และนายมัสลัน มาหะมะ ดํารงตําแหน่งเลขานุการสภาวิทยาลัย

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


12

เดือนสิงหาคม พ.ศ.. 2541 ทบวงมหาวิทยาลัยได้ มอบหมายให้ผู้แทนคณะกรรมการพิจารณาการขอเปิดดําเนินการ ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ก า ร รั บ ร อ ง ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเอกชน สาขาวิ ช านิ ติ ศ าสตร์ และสาขาวิ ช า ปรัชญา ศาสนาและประวั ะประวัติศาสตร์ เดินทางมายังวิทยาลัยเพื่อ พิ จ ารณาศั ก ยภาพความพร้ อ มและความเหมาะสมในการเปิ ด ดํ า เนิ น การสาขาวิ ช าชะรี อ ะฮ์ แ ละสาขาวิ ช าอุ ศู ลุ ด ดี น ซึ่ ง ทบวงมหาวิทยาลัยได้ให้ความเห็นชอบแก่วิทยาลัยอิสลามยะลา เปิดดําเนินการทั้งสองหลักสูตรได้ในปีเดียวกัน และมีการเปิดรับ นั กศึ กษารุ ารุ่ น แรกในเดื อนพฤศจิ กายน ในทั้ ง สองสาขาวิ ช าๆ ละ 100 คน และทางวิทยาลัยได้จัดงานวันสถาปนาวิทยาลัยขึ้น เพื่อ ประกาศการก่อตั้งสถาบั นอุดมศึ กษาเอกชนแห่ง แรกในประเทศ ไทยอย่างเป็นทางการ ปี พ.ศ. 2543 ด้วยการประสานงานของชีคอับดุลลอฮฺ บินหมัด อัลญาลาลีย์ กษัตริย์หัมดฺ บิน คอลีฟะฮฺ อาลษานีย์ ได้ ทรงมีพระราชสาสน์ถึงประธานมูลนิธิเพื่อการอุดมศึกษาอิสลาม ภาคใต้ แจ้งว่ าทรงมีพระราชประสงค์ จะบริจาคพระราชทรัพย์ ส่วนพระองค์ เป็นเงิน 43,000,000 บาท (สี่สิบสามล้านบาท) เพื่อเป็นงบก่อสร้างอาคารสํ านักงานอธิการ และอาคารเรียนรวม และรวมถึงระบบสาธารณู ระ ป โภคที่ จําเป็นต่าง ๆ 1.2 การเปลี่ยนประเภทเป็นมหาวิทยาลัย จากความพยายามในการสร้างคุณภาพให้กับการจัดการศึกษาของวิทยาลัยพบว่า สถานที่ตั้งของ วิทยาลัยมีข้อจํากัดในด้านการขยายตัว ด้วยเหตุนี้คณะผู้บริหารจึงได้ดําเนินการทบทวนสถานที่สําหรับ การขยายวิ ทยาลั ย โดยมีมติที่จะนําที่ ดิน ที่มีการจัดซื้อไว้ใ นตอนเริ่มโครงการครั้ง แรกมาพัฒ นาเพื่ อ รองรับการขยายตัวของวิทยาลัย โดยในวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2543 มูลนิธิเพื่อการอุดมศึกษาภาคใต้ ได้จัดพิธีวางศิลารากฐานเพื่อก่อสร้างอาคารสํานักงานอธิการ และอาคารเรียนรวม ณ โครงการจัดตั้ง เมืองมหาวิทยาลัย บ้านโสร่ง ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปัตตานีขึ้น ภายใต้ความช่วยเหลือของ กษัตริย์ หัมดฺ บิน คอลีฟะฮ อาลษานีย์ แห่งประเทศกาตาร์ โดยมีนายวันอาหมัด ปานากาเซ็ง ประธาน มูลนิธิฯ เป็นประธานในพิธี มี ดร. ดร อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา อธิการวิทยาลัย กรรมการมู กร ลนิธิเพื่อการ อุดมศึกษาอิสลามภาคใต้ กรรมการส่งเสริมกิจการวิทยาลัย อิสลามยะลา กรรมการบริหารวิทยาลั ย อิสลามยะลา คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา ผู้ นําชุมชน แขกผู้มีเกียรติ และชาวบ้านจากบริเวณ ใกล้เคียงร่วมเป็นสักขีพยานกว่า 200 คน 28 กันยายน 2546 วิทยาลัยอิสลามยะลาได้ สลามยะลาได้ใช้ที่จัดตั้งใหม่ในการจัดพิธีประสาทปริญญาแก่ ผู้สําเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2545 ซึ่งเป็นครั้งแรกของสถาบัน โดยมีผู้สําเร็จการศึกษาจํานวน 249 คน จาก 3 สาขาวิชา คือสาขาวิชาชะรีอะฮฺ สาขาอุศูลุดดีน และสาขาวิชาการสอนอิสลาม ศึกษา และได้รับเกียรติจากจุ กจุฬาราชมนตรี ฯพณฯ นายสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์ เป็นประธานในพิธี 10 มีนาคม 2547 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนิน พร้อมด้วยหม่อมศรีรัศมิ์ มหิดล ณ อยุธยา ทรงเปิดวิทยาลัยอิสลามยะลาอย่างเป็นทางการ ณ ตําบล เขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี โดยมี โดยมีคณะผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากรวิทยาลัยอิสลามยะลา

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018 2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


13

ข้าราชการ หน่ วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่ วไป พร้อมใจร่ วมให้การรับ เสด็ จฯ และได้ รับ เกียรติจากท่านจุฬาราชมนตรีได้เดินทางมาร่วมพิธีเปิดในครั้งนี้ด้วย 14 มิถุนายน 2550 วิทยาลัยอิสลามยะลาได้รับการอนุญาตเปลี่ยนชื่อและประเภท โดยได้รับ การอนุญาตให้ เปลี่ยนชื่อและประเภทเป็น “มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา” ตามใบอนุญาตเลขที่ 5/2550 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550 และในวันที่ 27 มิถุนายน 2550 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้ให้ เกียรติในพิธีมอบใบอนุญาต และเปิดป้ายมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา พร้อมกันนี้ได้จัดพิธีมอบปริญญา ศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่ ฯพณฯ ศ.ดร. อับดุลลอฮฺ บิน อัลมุหฺซิน อัตตุรกี เลขาธิการสันนิ บาติโลกมุสลิม 1.3 การเปลี่ยนชือ่ มหาวิทยาลัย 3 1 ตุ ล า ค ม 2 5 5 6 ม ห า วิ ท ย า ลั ย อิ ส ล าม ย ะ ล า ไ ด้ รั บ อ นุ ญ า ต ใ ห้ เป ลี่ ย น ชื่ อ เ ป็ น มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2556 ออกประกาศโดยกระทรวงศึกษาธิการ 4 พฤศจิกายน 2556 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ลงในราชกิจจา นุเบกษา ให้ทราบโดยทั่วกัน 2) ข้อมูลพื้นฐานของมหาวิทยาลัย 2.1 จํานวนนักศึกษาและผู้สําเร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2556 (ภาคการเรียนที่ 1) มหาวิทยาลัยฟาฏอนีมีนักศึกษาใหม่ทั้งสิ้น 1,186 คน จําแนกเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี 1,128 คน และระดับบัณฑิตศึกษา 58 คน คิดเป็นสัดส่วน ปริญญาตรีต่อปริญญาโทเท่ากับ 19 : 1 มีนักศึกษาทั้งหมด 3,517 คน โดยเป็นระดับปริญญาตรี 3,436 คน และระดับบัณฑิตศึกษา 81 คน คิดเป็นสัดส่วนปริญญาตรีต่อปริญญาโทเท่ากับ 42 : 1 ทั้งนี้เป็น นกศึกษาต่างชาติจํานวน 215 คน คิดเป็นร้อยละ 6.26 และมีผู้สําเร็จการศึกษา(รุ่นปีการศึกษา 2555) จํานวน 417 คน ระดับปริญญาตรี 399 คน และระดับบัณฑิตศึกษา 18 คน คิดเป็นสัดส่วนปริญญา ตรีต่อปริญญาโทเท่ากับ 22 : 1 2.2 จํานวนหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ในปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มีจํานวนหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ทั้ง ในระดับ ปริญ ญาตรี ปริ ญ ญาโทและปริ ญญาเอก รวมทั้ง สิ้ น 20 สาขาวิ ชา จําแนกเป็น หลักสู ตร ภาษาไทย 16 หลักสูตร หลักสูตรนานาชาติ 4 หลักสูตร ระดับการศึกษา

จํานวนหลักสูตร

จํานวนสาขาวิชา

ระดับปริญญาตรี ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท ปริญญาเอก รวมทั้งหมด

6 1 2 1 9

13 1 5 1 20

2.3 จํานวนบุคลากร ในปีการศึกษา 2556 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มีจํานวนบุคลากรทั้งสิ้น 459 คน เป็นบุคลากร สายวิชาการจํานวน 223 คน และบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการจํานวน 236 คน เป็นบุคลากรต่างชาติ แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


14

15 คน โดยบุ คลากรสายวิช าการมี ตําแหน่ งทางวิ ชาการทั้งสิ้น 18 คน แยกเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ จํานวน 16 คน รองศาสตราจารย์จํานวน 2 คน หน่วยงาน

1.สํานักงานอธิการบดี 2.สํานักบริการการศึกษา 3.สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา 4.สํานักแผนและประกันคุณภาพฯ 5.สถาบันอัสสลาม 6.สํานักงานจัดหาทุนการศึกษา 7.สํานักวิทยบริการ 8.บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจยั 9.สํานักฟัตวา 10.คณะอิสลามศึกษาฯ 11.คณะศิลปศาสตร์ฯ 12.คณะวิทยาศาสตร์ฯ 13.คณะศึกษาศาสตร์ 14.สถาบันภาษานานาชาติ 15 ศูนย์ประสานงาน

รวม

จํานวนบุคลากร (คน) บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสาย สนับสนุนวิชาการ

รวม

64 71 31 21 36 -

80 10 25 7 10 1 27 6 1 14 14 17 10 13 1

80 10 25 7 10 1 27 6 1 78 85 48 31 49 1

223

236

459

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


15 3.

อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และมาตรการส่งเสริ เ ม อัตลักษณ์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี “บับัณฑิตมีภาวะผู้นํา คุณธรรม จริยธรรม และมุ่งพัฒนาสังคมสันติสขุ ”

เอกลักษณ์มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ”นําสัจธรรม สร้างสังคมสันติสุข“

มาตรการส่งเสริม มหาวิทยาลัยฟาฏอนีคือ (ภายใน) “ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและบุคลากรด้วยกระบวนการกลุ่มศึกษา”

มาตรการส่งเสริมมหาวิทยาลัยฟาฏอนีคือ (ภายนอก) “บริการวิชาการแก่สังคมเพื่อเสริมสร้างสังคมอารยะ”

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018 2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


16

บทที่ 3 วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการประเมินคุณภาพของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี 1. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรคและโอกาส มหาวิทยาลัยได้มีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (แยกตามพันธกิจ) ไว้ ดังนี้ สภาพแวดล้อมภายใน Strength(S) Weakness (W) ด้านการผลิต 1.หลักสูตรเป็นไปตาม 1.จํานวนอาจารย์ที่ บัณฑิต กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มีคุณวุฒิปริญญา การศึกษาแห่งชาติและ เอกและอาจารย์ที่ มีหลักสูตรนานาชาติ ดํารงตําแหน่งทาง รองรับประชาคม วิชาการยังมี อาเซียน สัดส่วนน้อย พันธกิจ

สภาพแวดล้อมภายนอก Opportunity (O) Threat (T) 1.ได้รับทุนจาก 1.ความไม่สงบใน กองทุนกู้ยืมเพื่อ พื้นที่ทําให้ผู้ปกครอง การศึกษา เกินร้อย บางส่วนขาดความ ละ 50 มั่นใจในการส่งบุตร หลานเข้าเรียน

2.นักศึกษาได้รับรางวัล 2.เกียรตินิยมมี ด้านคุณธรรม มากเกินไป จริยธรรม และทาง วิชาการทุกปี

2. การประเมิน คุณภาพการศึกษา จากสกอ.และสมศ.

3.มีหลักสูตรที่เน้น การบูรณาการหลักคํา สอน คุณธรรม จริยธรรม และการใช้ เทคโนโลยี ในการเรียน การสอน 4..อาจารย์มีศักยภาพ ในการใช้ภาษาได้อย่าง หลากหลายและเป็น แบบอย่างที่ดี

3.การเข้าสู่ประชาคม อาเซียนของประเทศ ไทยเอื้อต่อการผลิต บัณฑิตของ มหาวิทยาลัย

3.นักศึกษาส่วน ใหญ่ที่สมัครเข้า เรียนมีผลการ เรียนปานกลาง

4. บางสาขาวิชามี จํานวนอาจารย์ ผู้สอนและ ห้องปฏิบัติการไม่ เพียงพอ 5.มีสารสนเทศด้าน 5.บัณฑิตยังขาด อิสลามศึกษาให้บริการ ทักษะด้านการ ปฏิบัติงานและ เทคโนโลยี สารสนเทศ

4. ความเชื่อมั่นของ คนต่างชาติในการส่ง บุตรหลานเข้าเรียน โดยเฉพาะประเทศ จีน 5.ผู้ใช้บัณฑิตโดย ภาพรวมมีความพึง พอใจต่อบัณฑิต

6.มีนักศึกษาค่างชาติ 6.กิจกรรมการ จํานวนมากเมื่อเทียบกับ พัฒนาศักยภาพ มหาวิทยาลัยในภูมิภาค นักศึกษาด้านกีฬา และสุขภาพยัง น้อย

6.หน่วยงานภายนอก ให้ความร่วมมือใน ด้านการสนับสนุน ส่งเสริมกิจกรรมด้าน กีฬา

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


17

พันธกิจ

ด้านการวิจัย

สภาพแวดล้อมภายใน Strength(S) Weakness (W) 7. มหาวิทยาลัยมี สถาบันภาษาเพื่อ เตรียมความพร้อมของ นักศึกษาในการเข้า ศึกษาสาขาวิชาที่เป็น หลักสูตรนานาชาติ 1.อาจารย์มีศักยภาพใน 1. ทุนสําหรับ การบูรณาการศาสตร์ อาจารย์ใหม่มีน้อย ทางด้านอิสลามศึกษาสู่ และการจัดสรรทุน งานวิจัย วิจันดําเนินการ ล่าช้า

สภาพแวดล้อมภายนอก Opportunity (O) Threat (T)

1.มีเครือข่าย สนับสนุนทุนการทํา วิจัยด้านการบูรณา การ ศาสตร์ด้านอิสลาม ศึกษาในภาคใต้ โลก มลายูและอาเซียน 2.อาจารย์มีเครือข่าย 2.จํานวนงานวิจัย 2.มีเครือข่ายและเวที ภายนอกที่สนับสนุน ของอาจารย์ได้รับ สําหรับเผยแพร่ งบประมาณสําหรับ การเผยแพร่และ ผลงานวิจัยระดับ งานวิจัยหลากหลาย นําไปใช้ประโยชน์ อาเซียน และ แหล่ง ยังมีจํานวนน้อย นานาชาติ 3.มหาวิทยาลัยมี 3.ผลงานวิจัยของ 3.ความก้าวหน้าทาง วารสารวิชาการใน อาจารย์ที่ได้ เทคโนโลยี ฐานข้อมูลระดับ TCI รับรองคุณภาพมี น้อย ด้านการ 1.มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 1. การเก็บ 1.ความร่วมมือจาก 1.ความนิยมของตัว บริการวิชาการ มีรูปแบบ/กิจกรรมการ หลักฐานในการ ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภาย บุคคล แก่สังคม บริการที่เข้มแข็งและ ให้บริการวิชาการ และต่างประเทศ หลากหลาย ต่างๆยังไม่เป็น ระบบเท่าที่ควร 2.บุคลากรมีความรู้ ความสามารถและ ความมุ่งมั่นในการ บริการวิชาการ 3. มีการบริการวิชาการ ในระดับนานาชาติ

2.การเผยแพร่ของมัจ 1.สถานการณ์ใน ลิสอิลมีย์ พื้นที่เป็นอุปสรรคใน การดําเนินกิจกรรม 3.เครือข่ายภายนอก ในการบริการวิชาการ

1.มหาวิทยาลัยเป็น 1.มหาวิทยาลัยไม่ ต้นแบบในการนํา มีศูนย์ ด้านทํานุบํารุง วัฒนธรรมอิสลามมาใช้ ศิลปวัฒนธรรม

1.มหาวิทยาลัยอยู่ใน 1.สถานการณ์ใน พื้นที่เอื้อต่อการ พื้นที่เป็นอุปสรรคใน ส่งเสริมด้านการทํานุ การดําเนินกิจกรรม

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


18

สภาพแวดล้อมภายนอก สภาพแวดล้อมภายใน Strength(S) Weakness (W) Opportunity (O) Threat (T) ศิลปวัฒนธรรม ในการดําเนินชีวิต บํารุงศิลปวัฒนธรรม อิสลาม พันธกิจ

ด้านบริหาร จัดการ

2.มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลามีนโยบายในการ ส่งเสริมให้บุคลากรและ นักศึกษารักษาไว้ซึ่ง วัฒนธรรมอิสลามอย่าง ยั่งยืน 1.ผู้บริหารมีภาวะผู้นํามี ความใกล้ชิดกับ บุคลากรทุกระดับและ สามารถสื่อสารกับ บุคลากรได้ตลอดเวลา

2.หน่วยงานทั้งใน และต่างประเทศให้ การสนับสนุน งบประมาณ

1.การจัดการระบบ สารสนเทศเพื่อ การจัดการยังไม่มี ประสิทธิภาพและ ไม่เชื่อมโยงทั่วทั้ง องค์กร 2.บุคลากรมีการพัฒนา 2.การจัดระบบ องค์ความรู้ในศาสตร์ และการวางแผน ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง อัตรากําลัง ยังไม่ ผ่านงานวิจัย เป็นระบบ เท่าที่ควร

1.ที่ตั้งมหาวิทยาลัย 1.ความไม่สงบใน อยู่ในพื้นที่พิเศษทําให้ พื้นที่ มีโอกาสได้รับการ สนับสนุนจากภาครัฐ และเอกชน

2.ระบบสารสนเทศ ภาครัฐ เอื้อโอกาสให้ สถาบันได้รับการ พัฒนาระบบ สารสนเทศได้ หลากหลาย 3.มหาวิทยาลัยได้รับ 3. .ขาดการ 3.ความก้าวหน้าทาง การประเมินคุณภาพ พัฒนาบุคลากรให้ เทคโนโลยี การศึกษาทั้งภายใน คลอบคลุมกับ และภายนอกอยู่ใน ภาระงานที่ ระดับดี รับผิดชอบตาม สายวิชาชีพ 4.มหาวิทยาลัยมีอาคาร 4.ห้องเรียน 4.ผู้ทรงคุณวุฒิจาก เทคโนโลยีสารสนเทศที่ ห้องปฏิบัติการ ภายนอกให้ความ เอื้อต่อการเรียนรู้ของ ประจําคณะ ยังไม่ ร่วมมือในการ นักศึกษาและบุคลากร เป็นมาตรฐาน แลกเปลี่ยนความ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คิดเห็นในการพัฒนา มหาวิทยาลัย 5.ระบบการรักษาความ ปลอดภัยยังไม่เป็น มาตรฐานเท่าที่ควร

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


19

สภาพแวดล้อมภายใน Strength(S) Weakness (W) ด้าน 1.บุคลากรมีบุคลิกภาพ 1.ไม่มีกลไกการ ความสัมพันธ์ เด่นที่ได้รับการยกย่อง สื่อสารกับ ระหว่าง ในระดับประเทศ ต่างประเทศ เช่น ประเทศ เว็บไซต์ 2.อาจารย์ส่วนใหญ่จบ 2.การบริหาร จากต่างประเทศ และมี จัดการด้านการ อาจารย์ผู้สอนจาก ต่างประเทศจะ ต่างประเทศ อาศัยตัวบุคคล มากกว่าองค์กร 3.การเป็นสมาชิก 3.เจ้าหน้าที่ สมาพันธ์มหาวิทยาลัย บางส่วนไม่ อิสลามโลก สามารถสื่อใน หลายภาษาได้ พันธกิจ

สภาพแวดล้อมภายนอก Opportunity (O) Threat (T) 1.การก่อเกิดของ 1.ประเทศไทยเป็น ประชาคมอาเซียน ประเทศที่เกิด อาชญากรรมบ่อย 2.ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี

2.สถานการณ์ ภาคใต้

3.วัฒนธรรม บุคลิกภาพโดยรวม ของชาวไทยในการ ต้อนรับ(สยามเมือง ยิ้ม)

3.คนในพื้นที่ยังไม่ให้ คุณค่ากับองค์ ความรู้การศึกษา)

4.การมีหลักสูตร นานาชาติและจํานวน นักศึกษาต่างชาติ

4. บุคลากรส่วน 4.การเป็นชนกลุ่ม ใหญ่ยังขาดทักษะ ใหญ่ในอาเซียน ทางด้านภาษา ทางด้านภาษา

5.มหาวิทยาลัยมีการ ทําMOU สถาบันอุดมศึกษาใน ต่างประเทศหลาย สถาบัน 6.อาจารย์ส่วนใหญ่มี ความสามารถด้าน ภาษาต่างประเทศ

5.การบริหาร จัดการด้านการ ต่างประเทศจะ อาศัยตัวบุคคล มากกว่าองค์กร

4.หน่วยความมั่นคง มีความหวาดระแวง

5.นโยบายรัฐบาลใน การสร้างสัมพันธ์ ไมตรีกับโลกอาหรับ 6.ต่างชาติมีความ ยินดีที่จะช่วยเหลือ ทุนการศึกษา 7. ได้รับความ ช่วยเหลือและ สนับสนุนจาก ต่างประเทศอย่าง ต่อเนื่อง และได้รับ ความไว้วางใจจาก ผู้ให้การสนับสนุน อย่างดียิ่ง

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


20

พันธกิจ

สภาพแวดล้อมภายใน Strength(S) Weakness (W)

สภาพแวดล้อมภายนอก Opportunity (O) Threat (T) 8.ได้รับความสนใจ จากต่างชาติเพราะ อยู่ใน 3 จังหวัด ภาคใต้ที่ได้ชื่อว่า ฟาฏอนีในอดีต

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


21

2. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอกพร้อมข้อเสนอแนะ 2.1 การประเมินคุณภาพภายใน ในปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในอยู่ในระดับดี คือ 4.26 และในปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในอยู่ในระดับดี เช่นกันคือ 4.35 โดยสรุปผลการประเมินดังนี้ มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2554 ปีการศึกษา 2555 คะแนนการ ผลการประเมิน ประเมิน เฉลี่ย

คะแนนการ ผลการประเมิน ประเมินเฉลี่ย

1. มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา (1)ด้านกายภาพ

การดําเนินงาน ระดับดีมาก (2)ด้านวิชาการ การดําเนินงาน 3.26 ระดับพอใช้ (3)ด้านการเงิน การดําเนินงาน 5.00 ระดับดีมาก (4)ด้านการบริหารจัดการ การดําเนินงาน 4.48 ระดับดี เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ 1 การดําเนินงาน 4.19 ระดับดี 2. มาตรฐานด้านการดําเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา (1)ด้านการผลิตบัณฑิต (2)ด้านการวิจัย (3)ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม

5.00

4.70

5.00

การดําเนินงาน ระดับดี การดําเนินงาน ระดับดีมาก

4.33

การดําเนินงาน ระดับดี

3.67

(4)ด้านการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ 2 เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของ ทุกมาตรฐาน

การดําเนินงาน ระดับดีมาก

4.40 4.26

การดําเนินงาน ระดับดี การดําเนินงาน ระดับดี

5.00 3.54 5.00 4.85 4.38

4.17

การดําเนินงาน ระดับดีมาก การดําเนินงาน ระดับดี การดําเนินงาน ระดับดีมาก การดําเนินงาน ระดับดีมาก การดําเนินงาน ระดับดี การดําเนินงาน ระดับดี

5.00

การดําเนินงาน ระดับดี การดําเนินงาน ระดับดีมาก

4.67

การดําเนินงาน ระดับดีมาก

3.94

4.55 4.35

การดําเนินงาน ระดับดีมาก การดําเนินงาน ระดับดี

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


22

พร้อมข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ควรพัฒนาหลักสูตรที่หลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการทางด้านวิชาการและวิชาชีพเพื่อ เปิดโอกาสให้ผู้สนใจได้เลือกเรียนตามความถนัด 2. ควรบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลจากการดําเนินชีวิตจริง 3. ควรจัดกิจกรรมให้นักศึกษาลงพื้นที่ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่และหลากหลายกิจกรรม 4. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการแสดงออกของนักศึกษาต่างชาติเช่นการสอนภาษาต่างชาติเหล่านั้น 5. จัดทําฐานขอมูลศิษย์เก่าโดยการรวบรวมจากการพบปะศิษย์เก่าหรืองานเลี้ยงบัณฑิต 6. จัดกิ จกรรมที่ส่ง เสริ มศั กยภาพนักศึ กษาเช่ นการจัดกิ จกรรมเน้น การพั ฒ นาทั กษะการใช้ ภาษา โดยเฉพาะภาษาไทยและมีการแนะนําการเข้าสังคม 7. จัดกิจกรรมให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิชาชีพเช่นการจัดกิจกรรมนัดพบแรงงานหรือตลาดนัดแรงงาน 8. ควรประเมินผลสําเร็จของปัจจัยการสนับสนุนงานวิจัย 10. ควรพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ให้เพิ่มมากขึ้นและควรพัฒนาอาจารย์ให้มีศักยภาพเขียนผลงานวิจัย เพื่อการตีพิมพ์ และบทความวิชาการ และเพื่อให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ 11. ควรมีกําดําเนินตามแผนการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการด้านคุณวุฒิปริญญาเอกและตําแหน่ง ทางวิชาการเพื่อให้บรรลุตามแผนที่ได้กําหนด 12. ควรส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมองค์กรด้านการประกันคุณภาพการศึกษาสู่หน่วยงานภายใน สถาบัน 2.2 การประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ. ในปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกระดับสถาบันอยู่ใน ระดับดี คือ 4.32 และผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับคณะสรุปได้ดังนี้ คณะ ผลการประเมินตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน 17 ตัวบ่งชี้ พันธกิจหลัก 11 ตัวบ่งชี้ คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ 1.คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ 4.43 ดี 4.39 ดี 2.คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ 4.23 ดี 4.18 ดี 3. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4.27 ดี 4.23 ดี 4. คณะศึกษาศาสตร์ ยังไม่มีผู้สําเร็จการศึกษา ทั้งนี้คณะกรรมการมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาดังนี้ 1. จั ด หาแหล่ ง ทุ น วิ จั ย ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การทํ า วิ จั ย ตามทิ ศ ทางการวิ จั ย ของคณะและ มหาวิทยาลัย ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และเผยแพร่งานวิจัยเพิ่มขึ้น 2. ส่งเสริมการเขียนหนังสือ ตํารา และบทความทางวิชาการเพื่อขอตําแหน่งทางวิชาการอย่างเป็น ระบบ 3. ควรจัดตั้ง กองทุนพั ฒนาการวิ จัยที่สามารถใช้ป ระโยชน์ เพื่อส่งเสริมการพั ฒนาเศรษฐกิจและ คุณภาพชีวิตของประชาชน 4. ปรั บ ปรุ ง กระบวนการพั ฒ นาคุ ณ ภาพของมหาวิ ท ยาลั ย โดยมุ่ ง เน้ น ให้ อ าจารย์ ไ ด้ ทํ า วิ จั ย ใน สาขาวิชาที่คณะต่างๆรับผิดชอบและสอนในระดับบัณฑิตศึกษาให้กว้างขวางครอบคลุมหลักสูตรที่รับผิดชอบ เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่ลึกซึ้งมากขึ้น ตลอดจนได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารหรือการประชุมวิชาการใน

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


23

ระดั บ ชาติ มากขึ้ น โดยเล็ ง เห็ น ว่ ามหาวิ ทยาลั ย มีอัตลั กษณ์ และเอกลั กษณ์ ที่โ ดดเด่ นในความเป็ น Islamic University อย่างชัดเจนและเป็นที่ยอมรับ 5. ควรจั ดทํ าแผนพั ฒ นาบุ ค ลากรเป็ น รายบุ ค คลทั้ งทางด้ านการศึ กษาต่ อและการขอตําแน่ ง ทาง วิชาการ และดําเนินการตามแผนที่กําหนดอย่างเป็นรูปธรรม

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


24

บทที่ 4 กรอบแผนยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาหน่วยงานภายนอกทีเ่ กี่ยวข้องกับอุดมศึกษา การจั ด ทํ า แผนมหาวิ ท ยาลั ย ฟาฏอนี ระยะที่ 5 (2014-2018) นอกจากมหาวิ ทยาลั ย ได้ ใ ห้ ความสําคัญและคํานึงถึงจุดเน้น จุดเด่น หรืออัตลักษณฺและเอกลักษณ์ในการปฏิบัติภารกิจในแต่ละด้านคือ ด้านการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมแล้ว มหาวิยาลัยยังคํานึงถึงสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ภายนอกและทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ ประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยอีกด้วย อันได้แก่ • ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) • แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) • กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) • ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย ในการเตรียมความพร้อม สู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ .ศ.2558 1) ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) การจัดทําแผนฯ 11 มีหลักการที่ยึดวิสัยทัศน์ประเทศไทยปี พ.ศ. 2570 เป็นหลัก ควบคู่ไปกับ การพัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ให้ ความสําคัญกับการเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามาร่วมกันพัฒนาประเทศ โดยได้กําหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” และได้ กําหนดพัธกิจไว้ 4 ประการ คือ 1) สร้างสังคมเป็นธรรมและเป็นสังคมที่มีคุณภาพ ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิต ได้รับการคุ้มครอง ทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอ ภาค ทุกภาคส่วนได้รับการเสริมพลังให้สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา ภายใต้ระบบบริหารจัดการ ภาครัฐที่โปร่งใส เป็นธรรม 2) พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีคุณธรรม เรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะและการดํารงชีวิตอย่าง เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง สามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการ เปลี่ยนแปลง 3) พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และภูมิปัญญา สร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน ปรับโครงสร้างการผลิตและการบริโภคให้เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม พร้อมสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม 4) สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ชุมชน รวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายหลักดังนี้ 1) ความอยู่เย็นเป็นสุขและความสงบสุขของสังคมไทยเพิ่มขึ้น ความเหลื่อมล้ําในสังคมลดลง สัดส่วนผู้อยู่ใต้เส้นความยากจนลดลง และดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชั่นไม่ต่ํากว่า 5 คะแนน 2) คนไทยมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีสุขภาวะดีขึ้น มีคุณธรรม จริยธรรม และสถาบันทาง สังคมมีความเข้มแข็งมากขึ้น 3) เศรษฐกิจเติบโตในอัตราที่เหมาะสมตามศักยภาพของประเทศ ให้ความสําคัญกับการเพิ่ม ผลิตภาพรวมไม่ต่ํากว่าร้อยละ 3 ต่อปี เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศเพิ่ม มูลค่าผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ให้มีไม่ต่ํากว่าร้อยละ 40 แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


25

4) คุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เพิ่มประสิทธิภาพการลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก รวมทั้งเพิ่มพื้นที่ป่าไม้เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ และเพื่อให้การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 นี้สามารถนําไปสู่ปฏิบัติได้จริง บรรลุเป้าหมายและวิสัยทัศน์แผนฯ 11 ที่ตั้งไว้ จึงได้กําหนดยุทธศาสตร์สําคัญในการพัฒนาประเทศ 6 ด้าน ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความสมดุลและมั่นคงของอาหารและพลังงาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และการสร้างปัจจัยแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร้างความเชื่อมโยงด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศและความมั่นคงของประเทศ ในภูมิภาค ยุทธศาสตร์ที่ 6 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 2) แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11ฯ ได้กําหนด.วิสัยทัศน์ ปี 2559 “อุดมศึกษาเป็น แหล่งองค์ความรู้และพัฒนากําลังคนระดับสูงที่มีคุณภาพเพื่อการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน สร้างสังคม การเรียนรู้ตลอดชีวิต ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) บนพื้ นฐานปรั ช ญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยง มี บทบาทสูง ในประชาคมอาเซี ยนและมุ่ ง สู่ คุณ ภาพ อุดมศึกษาระดับนานาชาติ” โดยมีจุดเน้นคือ ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ มีศักยภาพตรงตามความต้องการ ของสังคม มีความสามารถคิดวิเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะการสื่อสารและการทํางานร่วมกับ ผู้อื่น มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีสุข ภาวะทั้งร่างกายและจิตใจ เน้นการใช้กลยุทธ์ผ่านการนําองค์กรเชิง รุก และกลยุทธ์การเงิน รวมทั้งพัฒนาอาจารย์ให้มีความเชี่ยวชาญด้านการสอน และ การวิจัย เพื่อให้ได้ บัณฑิตที่พึงประสงค์ทําให้สังคมมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทั้งนี้มียุทธศาสตร์ 4 ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เปลี่ยนระบบการนําองค์กรให้ขับเคลื่อนอุดมศึกษาแบบองค์รวม กลยุทธ์ 1.1 กําหนดคุณค่าและสร้างวิสัยทัศน์ร่วมของอุดมศึกษาไทย กลยุทธ์ 1.2 บริหารอุดมศึกษา โดยยึดเป้าหมายอุดมศึกษาตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) อย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ 1.3 สร้างระบบการประเมินศักยภาพ และพัฒนาผู้บริหารระดับสูง กรรมการสภาของ สถาบันอุดมศึกษา กลยุทธ์ 1.4 สร้างระบบการปิดและยุบรวม หลักสูตร/ คณะวิชา / มหาวิทยาลัย กลยุทธ์ 1.5 พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานของสารสนเทศอุดมศึกษา กลยุทธ์ 1.6 ต่อยอดสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพให้เป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนําระดับโลก กลยุทธ์ 1.7 ยกระดับอุดมศึกษาไทยให้มีบทบาทสูงในประชาคมอุดมศึกษาอาเซียนโดยเฉพาะด้าน Higher Education Manpower Mobilization กลยุทธ์ 1.8 สร้างระบบและกลไกเพื่อรองรับความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งกับ หน่วยงาน ภาคการผลิตในด้านการเรียนการสอนและการวิจัย กลยุทธ์ 1.9 พัฒนาโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


26

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาอาจารย์ให้เป็นมืออาชีพ และพัฒนาผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพให้เป็นอาจารย์ กลยุทธ์ 2.1 เพิ่มปริมาณอาจารย์ให้ตรงตามความต้องการในการผลิตบัณฑิต กลยุทธ์ 2.2 พัฒนาอาจารย์ให้เป็นมืออาชีพอย่างเป็นระบบ กลยุทธ์ 2.3 พัฒนาคุณภาพอาจารย์ให้มีความแข็งแกร่งในการทําวิจัย กลยุทธ์ 2.4 ปฏิรูประบบค่าตอบแทนอาจารย์ กลยุทธ์ 2.5 พัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพบัณฑิตอย่างก้าวกระโดด กลยุทธ์ 3.1 พัฒนาระบบการเข้าศึกษา การเรียนรู้ และการสําเร็จการศึกษาที่ยืดหยุ่น หลากหลายตอบสนองในทุกกลุ่มวัย กลยุทธ์ 3.2 ยกระดับคุณภาพของหลักสูตร ให้ได้รับการรับรองในระดับอาเซียนและระดับโลก กลยุทธ์ 3.3 สร้างระบบและกลไก เพื่อจัดสอบใบรับรองคุณวุฒิเฉพาะสาขาแห่งชาติของทุก หลักสูตร กลยุทธ์ 3.4 ปรับปรุงระบบติดตาม และประเมินบัณฑิตรวมทั้งพัฒนาบัณฑิตหลังเข้าสู่ตลาดงาน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฎิรูปการบริหารการเงินอุดมศึกษา เพื่อขับเคลื่อนสถาบันอุดมศึกษาสู่ความเป็นเลิศ กลยุทธ์ 4.1 วิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายต่อหน่วยคุณภาพ กลยุทธ์ 4.2 จัดทําแผนกลยุทธ์การเงินให้สอดคล้องกับเป้าหมายของสถาบันอุดมศึกษา และ แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) กลยุทธ์ 4.3 จัดสรรทุนการศึกษาเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาโดยคํานึงถึงความต้องการ กําลังคนของประเทศ กลยุทธ์ 4.4 กํากับ ติดตามประเมินผลการใช้งบประมาณอย่างเหมาะสม (utilization management) ตามพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา 3) กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) เป้าหมายของกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่ 2 เมื่อสิ้นสุดแผนในปี พ.ศ.2565 คือ “ยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทย เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพสามารถปรับตัวสําหรับ งานที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต พัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัตน์ สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนของท้องถิ่นไทย โดยใช้กลไกของธรรมาภิบาล การเงิน การกํากับมาตรฐาน และเครือข่ายอุดมศึกษา บนพื้นฐานของ เสรีภาพทางวิชาการ ความหลากหลาย และเอกภาพเชิงระบบ” สาระสําคัญของกรอบแผนอุดมศึกษา ระยะฉบับที่สองครอบคลุมช่วงเวลา 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2551 – 2565 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ “ภาพ อนาคตที่มีผลกระทบต่ออุดมศึกษา”และทิศทางนโยบาย ซึ่งมีรายละเอียดโดยสรุปด้งนี้ 3.1 ภาพอนาคตที่มีผลกระทบต่ออุดมศึกษา เป็นนัยสําคัญที่เป็นปัจจัยแวดล้อม รุมเร้า ส่งผล กระทบต่อมนุษย์โลก ประเทศไทย จนถึงอุดมศึกษา ประกอบด้วย 7 เรื่อง ดังนี้ 1) ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากร 2) พลังงานและสิ่งแวดล้อม 3) การมีงานทําและตลาดแรงงานในอนาคต 4) การกระจายอํานาจการปกครอง 5) การจัดการความขัดแย้งและความรุนแรง 6) เยาวชน นักศึกษา และบัณฑิตในอนาคต และ 7) เศรษฐกิจพอเพียง

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


27

3.2 ทิศทางนโยบาย ซึ่งเป็นปัจจัยภายในของอุดมศึกษา ประกอบด้วย 9 เรื่อง ดังนี้ 1) รอยต่อกับการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอาชีวศึกษา 2) การแก้ปัญหาอุดมศึกษา (ในปัจจุบัน) 3) ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการอุดมศึกษา 4) การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 5) การเงินอุดมศึกษา 6) การพัฒนาบุคลากร 7) เครือข่ายอุดมศึกษา 8) การพัฒนาอุดมศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 9) โครงสร้างพื้นฐานการเรียนรู้ 4. ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย ในการเตรียมความพร้อม สู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ .ศ. 2558 ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558”ไว้ ทั้งหมด 3 ยุทธศาสตร์ สรุปได้ดังนี้ 1. การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล กําหนดกลยุทธ์ ดังนี้ 1.1 พัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยในระดับที่ใช้การทํางานได้ 1.2 พัฒนาสมรรถนะด้านการประกอบวิชาชีพและการทํางานข้ามวัฒนธรรมของบัณฑิตไทย 2. การพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาประชาคมอาเซียนกําหนด กลยุทธ์ดังนี้ 2.1 พัฒนาอาจารย์ให้มีสมรรถนะสากล 2.2 ส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาเซียนในสถาบันอุดมศึกษา 2.3 พัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนให้มีคุณภาพระดับสากล 2.4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพระดับสากล 2.5 พัฒนาวิชาการและการวิจัยสู่ความเป็นเลิศ 2.6 พัฒนาระบบอุดมศึกษาแห่งอาเซียน 3. การส่งเสริมบทบาทอุดมศึกษาไทยในประชาคมอาเซียน กําหนดกลยุทธ์ดังนี้ 3.1 ส่งเสริมบทบาทความเป็นผู้นําของสถาบันอุดมศึกษาไทยที่เกี่ยวข้องกับสามเสาหลักใน การสร้างประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเสาด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 3.2 สร้างความตระหนักในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนและบทบาทของอุดมศึกษาไทย ในการพัฒนาประชาคมอาเซียนทั้งในด้านบวกและด้านลบ 3.3 ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน 3.4 พัฒนาศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียน

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


28

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018 2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


29

р╕Ър╕Чр╕Чр╕╡р╣И 5 р╣Бр╕Ьр╕Щр╕вр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣М р╕гр╕░р╕вр╕░р╕Чр╕╡р╣И 5 (2014-2018) р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Яр╕▓р╕Пр╕нр╕Щр╕╡ р╕Ыр╕гр╕▒р╕Кр╕Нр╕▓ р╕Ыр╕гр╕▒р╕Кр╕Нр╕▓ : р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Ир╕░р╕вр╕╢р╕Фр╕бр╕▒р╣Ир╕Щ р╕ар╕▓р╕вр╣Гр╕Хр╣Йр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Др╣Нр╕▓р╕кр╕нр╕Щр╕нр╕▒р╕ер╕Бр╕╕р╕гр╕нр╕▓р╕Щ ┘б┘а┘з ┘О ┘Р ┘О ┘О ┘Т ┘Р┘С ┘Л ┘О ┘Т тАл┘Г ┘Р╪е ┘О╪▒тАм ┘О ┘О ┘Т ┘О ┘ТтАл┘О┘И ┘О ┘О╪г╪▒тАм тАЭр╣Бр╕ер╕░р╣Ар╕гр╕▓р╣Др╕бр╣Ир╣Др╕Фр╣Йр╕кр╣Ир╕Зр╣Ар╕Ир╣Йр╕▓р╕бр╕▓р╣Ар╕Юр╕╖р╣Ир╕нр╕нр╕╖р╣Ир╕Щр╣Гр╕Ф р╕Щр╕нр╕Бр╕Ир╕▓р╕Бр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕бр╕Хр╕Хр╕▓р╣Ар╕Юр╕╖р╣Ир╕нр╕Ыр╕гр╕░р╕Кр╕▓р╕Кр╕▓р╕Хр╕┤р╕Чр╕▒р╣Йр╕Зр╕бр╕зр╕етАЭ (р╕нр╕▒р╕ер╕Бр╕╕р╕гр╕нр╕▓р╕Щ р╕нр╕▒р╕ер╕нр╕▒р╕бр╕Ър╕┤р╕вр╕▓р╕нр╕║21 :107) р╕Ыр╕Ур╕┤р╕Шр╕▓р╕Щ р╕Ыр╕Ур╕┤р╕Шр╕▓р╕Щ : р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Ир╕░р╕бр╕╕р╣Ир╕Зр╕бр╕▒р╣Ир╕Щр╕Ыр╕Пр╕┤р╕Ър╕▒р╕Хр╕┤р╕Фр╣Йр╕зр╕вр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Др╣Нр╕▓р╕кр╕нр╕Щр╕нр╕▒р╕ер╕Бр╕╕р╕гр╕нр╕▓р╕Щ ┘б┘б┘д ┘Л ┘Т ┘Р ┘Р ┘ТтАл╪и ┘Р╪▓╪птАм ┘Р┘С тАл ╪▒тАм

"р╕Вр╣Йр╕▓р╣Бр╕Хр╣Ир╕Юр╕гр╕░р╣Ар╕Ир╣Йр╕▓р╕Вр╕нр╕Зр╕Йр╕▒р╕Щ р╕Вр╕нр╕Юр╕гр╕░р╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Чр╕гр╕Зр╣Вр╕Ыр╕гр╕Фр╣Ар╕Юр╕┤р╣Ир╕бр╕Юр╕╣р╕Щр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣р╣Йр╣Бр╕Бр╣Ир╕Йр╕▒р╕Щ"

(р╕нр╕▒р╕ер╕Бр╕╕р╕гр╕нр╕▓р╕Щ р╕Ор╕нр╕ор╕▓ 20:114) р╕зр╕┤р╕кр╕▒р╕вр╕Чр╕▒р╕ир╕Щр╣М р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Яр╕▓р╕Пр╕нр╕Щр╕╡р╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕кр╕Цр╕▓р╕Ър╕▒р╕Щр╕нр╕╕р╕Фр╕бр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓р╕Чр╕╡р╣Ир╕бр╕╡р╕бр╕▓р╕Хр╕гр╕Рр╕▓р╕Щр╕гр╕░р╕Фр╕▒р╕Ър╕кр╕▓р╕Бр╕е р╕Ьр╕ер╕┤р╕Хр╕Ър╕▒р╕Ур╕Ср╕┤р╕Хр╣Бр╕ер╕░р╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣р╣Йр╕Чр╕╡р╣И р╕Ър╕╣р╕гр╕Ур╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Бр╕▓р╕гр╕нр╕┤р╕кр╕ер╕▓р╕бр╕нр╕вр╣Ир╕▓р╕Зр╕бр╕╡р╕Фр╕╕р╕ер╕вр╕ар╕▓р╕Ю р╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╕кр╕гр╕гр╕Др╣Мр╕кр╕▒р╕Зр╕Др╕бр╕Др╕╕р╕Ур╕Шр╕гр╕гр╕бр╣Бр╕ер╕░р╕кр╕▒р╕Щр╕Хр╕┤р╕ар╕▓р╕Юр╕Чр╕╡р╣Ир╕вр╕▒р╣Ир╕Зр╕вр╕╖р╕ЩтАЭ р╕Юр╕▒р╕Щр╕Шр╕Бр╕┤р╕И 1. р╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓р╕гр╕░р╕Фр╕▒р╕Ър╕нр╕╕р╕Фр╕бр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓ р╕Чр╕╡р╣Ир╕бр╕╕р╣Ир╕Зр╣Ар╕Щр╣Йр╕Щр╕бр╕▓р╕Хр╕гр╕Рр╕▓р╕Щр╣Бр╕ер╕░р╕Др╕╕р╕Ур╕ар╕▓р╕Юр╕Чр╕▓р╕Зр╕зр╕┤р╕Кр╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕нр╕▒р╕Щр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕Чр╕╡р╣Ир╕вр╕нр╕бр╕гр╕▒р╕Ър╣Гр╕Щ р╕гр╕░р╕Фр╕▒р╕Ър╕кр╕▓р╕Бр╕е р╣Вр╕Фр╕вр╣Гр╕лр╣Йр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╣Нр╕▓р╕Др╕▒р╕Нр╕Бр╕▒р╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╕Ър╕╣р╕гр╕Ур╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣р╣Йр╕Хр╕▓р╕бр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Бр╕▓р╕гр╕нр╕┤р╕кр╕ер╕▓р╕б р╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕Зр╣Вр╕нр╕Бр╕▓р╕кр╕Чр╕▓р╕З р╕Бр╕▓р╕гр╕ир╕╢р╕Бр╕йр╕▓р╣Бр╕ер╕░р╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╣Ар╕ер╕┤р╕ир╕Чр╕▓р╕Зр╕зр╕┤р╕Кр╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕Др╕зр╕Ър╕Др╕╣р╣Ир╣Др╕Ыр╕Бр╕▒р╕Ър╕Бр╕▓р╕гр╕бр╕╡р╕Др╕╕р╕Ур╕Шр╕гр╕гр╕бр╕Ир╕гр╕┤р╕вр╕Шр╕гр╕гр╕б 2. р╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕нр╕Зр╕Др╣Мр╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╕╣р╣Й р╕Зр╕▓р╕Щр╕зр╕┤р╕Ир╕▒р╕вр╣Бр╕ер╕░р╕Щр╕зр╕▒р╕Хр╕Бр╕гр╕гр╕б р╣Вр╕Фр╕вр╕бр╕╕р╣Ир╕Зр╣Ар╕Щр╣Йр╕Щр╕Бр╕▓р╕гр╕Чр╣Нр╕▓р╕зр╕┤р╕Ир╕▒р╕вр╣Гр╕Щр╕ер╕▒р╕Бр╕йр╕Ур╕░р╕Ър╕╣р╕гр╕Ур╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Бр╕▓р╕г р╕нр╕┤р╕кр╕ер╕▓р╕б р╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕кр╕лр╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕Бр╕▓р╕г р╕кр╕▓р╕бр╕▓р╕гр╕Цр╕Щр╣Нр╕▓р╣Др╕Ыр╣Гр╕Кр╣Йр╕Ыр╕гр╕░р╣Вр╕вр╕Кр╕Щр╣Мр╣Гр╕Щр╕Бр╕▓р╕гр╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕Чр╣Йр╕нр╕Зр╕Цр╕┤р╣Ир╕Щ р╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕Чр╕ир╣Бр╕ер╕░ р╕кр╕▓р╕Бр╕е 3. р╣Гр╕лр╣Йр╕Ър╕гр╕┤р╕Бр╕▓р╕гр╕зр╕┤р╕Кр╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╣Бр╕Бр╣Ир╕кр╕▒р╕Зр╕Др╕б р╕Щр╣Нр╕▓р╕Юр╕▓р╕кр╕▒р╕Зр╕Др╕бр╕кр╕╣р╣Ир╕кр╕▒р╕Зр╕Др╕бр╕Др╕╕р╕Ур╕Шр╕гр╕гр╕бр╣Бр╕ер╕░р╕кр╕▒р╕Щр╕Хр╕┤р╕ар╕▓р╕Юр╕Чр╕╡р╣Ир╕вр╕▒р╣Ир╕Зр╕вр╕╖р╕Щр╕ар╕▓р╕вр╣Гр╕Хр╣Йр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Бр╕▓р╕г р╕нр╕┤р╕кр╕ер╕▓р╕б 4. р╕Чр╣Нр╕▓р╕Щр╕╕р╕Ър╣Нр╕▓р╕гр╕╕р╕Зр╕ир╕▓р╕кр╕Щр╕▓р╕нр╕┤р╕кр╕ер╕▓р╕б р╕Бр╕▓р╕гр╕Ыр╕Пр╕┤р╕Ър╕▒р╕Хр╕┤р╕Хр╕Щр╕Вр╕нр╕Зр╕Ыр╕гр╕░р╕Кр╕▓р╕Др╕бр╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Хр╕▓р╕бр╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Др╣Нр╕▓р╕кр╕нр╕Щр╕Вр╕нр╕Зр╕ир╕▓р╕кр╕Щр╕▓ р╕Фр╣Нр╕▓р╣Ар╕Щр╕┤р╕Щр╕Бр╕┤р╕Ир╕Бр╕гр╕гр╕бр╕Чр╕▓р╕Зр╕Фр╣Йр╕▓р╕Щр╕ир╕┤р╕ер╕Ыр╕зр╕▒р╕Тр╕Щр╕Шр╕гр╕гр╕б р╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕Юр╕Ур╕╡р╕Чр╕╡р╣Ир╕кр╕нр╕Фр╕Др╕ер╣Йр╕нр╕Зр╕Бр╕▒р╕Ър╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Бр╕▓р╕гр╕нр╕┤р╕кр╕ер╕▓р╕б 5. р╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕кр╕▒р╕бр╕Юр╕▒р╕Щр╕Шр╣Мр╣Бр╕ер╕░р╕Др╕зр╕▓р╕бр╕гр╣Ир╕зр╕бр╕бр╕╖р╕нр╕Чр╕▓р╕Зр╕зр╕┤р╕Кр╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╕Бр╕▒р╕Ър╕кр╕Цр╕▓р╕Ър╕▒р╕Щр╕зр╕┤р╕Кр╕▓р╕Бр╕▓р╕гр╣Гр╕Щр╕Хр╣Ир╕▓р╕Зр╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕Чр╕ир╕ар╕╣р╕бр╕┤р╕ар╕▓р╕Д р╕нр╕▓р╣Ар╕Лр╕╡р╕вр╕Щ р╣Ар╕нр╣Ар╕Кр╕╡р╕вр╣Бр╕ер╕░р╕Щр╕▓р╕Щр╕▓р╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕Чр╕и р╕Бр╕▓р╕гр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щр╕Хр╕▒р╕зр╣Бр╕Чр╕Щр╕Вр╕нр╕Зр╕Ыр╕гр╕░р╕Кр╕▓р╕Др╕бр╕бр╕╕р╕кр╕ер╕┤р╕бр╣Гр╕Щр╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕Чр╕ир╣Др╕Чр╕вр╣Ар╕Юр╕╖р╣Ир╕нр╕кр╕гр╣Йр╕▓р╕З р╕кр╕▒р╕бр╕Юр╕▒р╕Щр╕Шр╣Мр╕Бр╕▒р╕Ър╕Щр╕▓р╕Щр╕▓р╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕Чр╕и 6. р╕Юр╕▒р╕Тр╕Щр╕▓р╕гр╕░р╕Ър╕Ър╕Ър╕гр╕┤р╕лр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╣Гр╕лр╣Йр╕бр╕╡р╕Ыр╕гр╕░р╕кр╕┤р╕Чр╕Шр╕┤р╕ар╕▓р╕Юр╕Фр╣Йр╕зр╕вр╕Бр╕▓р╕гр╕Чр╣Нр╕▓р╕Зр╕▓р╕Щр╕ар╕▓р╕вр╣Гр╕Хр╣Йр╕Ър╕гр╕гр╕вр╕▓р╕Бр╕▓р╕ир╣Бр╕лр╣Ир╕Зр╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Ар╕Ыр╣Зр╕Щ р╕ар╕гр╕▓р╕Фр╕гр╕ар╕▓р╕Юр╕нр╕┤р╕кр╕ер╕▓р╕бр╣Бр╕ер╕░р╕лр╕ер╕▒р╕Бр╕Шр╕гр╕гр╕бр╕▓р╕ар╕┤р╕Ър╕▓р╕е

р╣Бр╕Ьр╕Щр╕вр╕╕р╕Чр╕Шр╕ир╕▓р╕кр╕Хр╕гр╣М р╕гр╕░р╕вр╕░р╕Чр╕╡р╣И 5 (р╕Д.р╕и.2014-2018) р╕бр╕лр╕▓р╕зр╕┤р╕Чр╕вр╕▓р╕ер╕▒р╕вр╕Яр╕▓р╕Пр╕нр╕Щр╕╡


30

รายละเอียดของแผนยุทธศาสตร์ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างมาตรฐานหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ค่าเป้าหมาย 2014 2015 2016 2017 2018 1. ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและการบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ กระตุ้นการ เรียนรู้ของนักศึกษาผ่านการประยุกต์ใช้ความรู้ที่สมดุล 1.1 ร้อยละของสาขาวิชาที่เกิดนวัตกรรมในการ 70 75 80 85 90 จัดการเรียนการสอน 1.2 จํานวนสาขาวิชาที่มีการดําเนินการปรับพื้นฐาน 7 9 11 13 15 และสร้างความพร้อมในการเรียนรู้สําหรับนักศึกษา 1.3 ร้อยละของนักศึกษาตามหลักสูตรที่เข้าร่วมสห 2 2.5 3 4 5 กิจศึกษา 1.4 ร้อยละของรายวิชาที่มีการจัดการเรียนการ 60 65 70 75 80 สอนแบบบูรณาการ 2. ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การเรียนรูข้ องนักศึกษาให้มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 2.1 จํ านวนผลงานวิ ช าการหรื องานวิ จัย ของ 5 10 15 20 20 นักศึกษาจากการจัดการเรียนการสอนตามรายวิชา 2.2 ร้อยละของรายวิชาที่เชื่อมโยงการเรียนการ 80 85 90 95 100 สอนกับการประยุกต์ใช้และการฝึกภาคสนาม 2.3 ร้อยละของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้รับ 0.2 0.5 0.8 1.0 1.2 การตี พิ ม พ์ ห รื อ เผยแพร่ ผ ลงานวิ ช าการในการ นํ า เ ส น อ ผ ล ง า น วิ ช า ก า ร ก า ร สั ม ม น า ห รื อ วารสารวิชาการ เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด

2.4 ร้อยละของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ได้รับ 10 10 15 20 20 การตี พิ ม พ์ ห รื อ เผยแพร่ ผ ลงานวิ ช าการในการ สัมมนาวิชาการในระดับนานาชาติได้ 3. การปรับปรุงคุณภาพของห้องเรียน สื่อการจัดการเรียนการสอนและห้องปฏิบัติเพื่อ การจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ 3.1 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อความ 3.51 3.51 3.51 3.51 3.51 พ ร้ อ ม ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล ะ ห้องปฏิบัติการ 3.2 ระดับ ความพึ งพอใจของนักศึกษาต่ อการ 3.51 3.51 3.51 3.51 3.51 ให้บริการห้องสมุดและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. การกํากับติดตามและพัฒนากระบวนการดําเนินการบริหารจัดการหลักสูตรอย่างมี แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


31

ค่าเป้าหมาย 2014 2015 2016 2017 2018 มาตรฐานสร้างความเชื่อมัน่ ให้กับสังคมพร้อมเปิดหลักสูตรใหม่ที่เป็นความต้องการของ สังคม 4.1 ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทํา ศึกษาต่อ 70 75 75 75 80 4.2 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 3.51 3.55 3.75 3.75 3.80 4.3 ร้อยละของหลักสูตรใหม่ที่สอดคล้องกับความ 60 65 70 75 80 ต้องการของชุมชนและการสร้างความเข็มแข็งทาง วิชาการ กลยุทธ์ และผู้รับผิดชอบ เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ 1. การพัฒนาอาจารย์ด้านการจัดการเรียนรู้และการวัด และประเมินผล 2. การส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ 3. การส่งเสริมการค้นคว้า ศึกษาอิสระและการฝึก ประสบการณ์ของนักศึกษา 4. การส่งเสริมการเรียนรู้สหกิจศึกษาในแต่ละหลักสูตร 5. การส่งเสริมการดําเนินกิจกรรมตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 6.การสนับสนุนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ 7. การสร้างประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนกลุ่ม วิชาทั่วไป GE 8. การพัฒนามาตรฐานห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ 9. การพัฒนาระบบและการซ่อมบํารุงสื่อและอุปกรณ์การ จัดการเรียนการสอน 10. การสร้างความพร้อมเพื่อการเปิดหลักสูตรกลุ่ม วิทยาศาสตร์สุขภาพ 11. การพัฒนาหลักสูตรด้านฮาลาล (products and research) 12. การพัฒนาหลักสูตรด้านบริหารธุรกิจและภาษา

ผู้รับผิดชอบ สํานักบริการการศึกษา/คณะ/สถาบัน ภาษานานาชาติ สํานักบริการการศึกษา/คณะ/สถาบัน ภาษานานาชาติ คณะ สํานักบริการการศึกษา/คณะ สํานักบริการการศึกษา/คณะ สํานักบริการการศึกษา/คณะ สํานักบริการการศึกษา/คณะ/สถาบัน ภาษานานาชาติ คณะ/สถาบันภาษานานาชาติ สํานักวิทยบริการ/คณะ สํานักบริการการศึกษา/คณะ สํานักบริการการศึกษา/คณะ สํานักบริการการศึกษา/คณะ

13.การพัฒนาหลักสูตรการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สํานักบริการการศึกษา/คณะ และภาษา 14. การกํากับติดตามการดําเนินงานตามระบบการบริหาร สํานักบริการการศึกษา/คณะ หลักสูตร

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


32

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างอัตลักษณ์และบัณฑิตพึงประสงค์ ค่าเป้าหมาย 2014 2015 2016 2017 2018 1. ยกระดับกิจกรรมนักศึกษาเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์ และเชื่อมโยงสู่สังคม 1.1 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเข้าร่วม 3.51 3.51 3.51 3.51 3.51 กิจกรรมกลุ่มศึกษา 1.2 จํานวนกิจกรรมโครงการของกลุ่มนักศึกษาใน 5 10 15 20 25 การพัฒนาสังคม 1.3 จํานวนศิษย์เก่า 5 ปีย้อนหลังที่มีบทบาทในการ 3 6 9 12 15 บําเพ็ญประโยชน์ต่อสาธารณะ 1.4จํานวนกิจกรรม/โครงการของกลุ่มนักศึกษาที่ มี 3 6 9 12 15 การดําเนินกิจกรรมร่วมกับสถาบันอื่นและหน่วยงาน ภายนอก 1.5 ร้อยละของความสําเร็จในการส่งเสริมการศึกษา 75 80 85 85 85 และท่องจําอัลกรุอ่านสําหรับนักศึกษา 1.6 ร้อยละของความสําเร็จของการให้คําปรึกษา 80 85 85 90 90 สําหรับนักศึกษากลุ่มเสี่ยง 1.7 ร้อยละของนักศึกษาที่มีคะแนนประเมินภายใน 75 80 85 90 95 กลุ่มศึกษาเกินร้อยละ 80 2. ส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้านกีฬา การออกกําลังกาย นันทนาการของนักศึกษาเพื่อการ เสริมสร้างสุขภาพที่ดีและ มีคุณธรรมจริยธรรม 2.1 จํานวนครั้งในการเข้าร่วมแข่งขันของนักศึกษาใน 2 2 3 3 3 การแข่งขันกีฬาระหว่างสถาบันหรือระดับชาติ 2.2 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาในการ 3.51 3.51 3.51 3.51 3.51 สนับสนุนทางด้านกีฬา 3. การแสวงหาแหล่งทุนและการจัดสรรทุนให้กับนักศึกษาที่มีความจําเป็น 3.1 ร้ อ ยละของนั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ จั ด สรรทุ น จาก 70 70 75 75 80 นักศึกษาทั้งหมดที่แสดงความจํานง 3.2 จํานวนของนักศึกษาที่ได้รับทุนศึกษาต่อ 10 15 20 25 30 เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ และผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ 1. การสนับสนุนการดําเนินงานกลุ่มศึกษาและ กิจกรรมนักศึกษา 2. ส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านสังคมพหุ วัฒนธรรม

ผู้รับผิดชอบ สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/คณะ/ สถาบันภาษานานาชาติ สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/คณะ/ สถาบันภาษานานาชาติ

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


33

กลยุทธ์ 3. ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้าง วินัยและจิตสาธารณะ 4. การพัฒนาศักยภาพแกนนํานักศึกษาและการ ส่งเสริมการดําเนินกิจกรรมนักศึกษา 5. การส่งเสริมการศึกษาและท่องจําอัลกรุอ่าน สําหรับนักศึกษา 6. การพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการแก่ศิษย์เก่า 7. การสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก เพื่อการส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬาสําหรับ นักศึกษา 8 ส่งเสริมกิจกรรมสุขภาวะที่สอดคล้องกับหลักคํา สอนของศาสนา 9. การให้บริการศูนย์กีฬาและสุขภาพ

ผู้รับผิดชอบ สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/คณะ/ สถาบันภาษานานาชาติ สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/คณะ/ สถาบันภาษานานาชาติ คณะ/ศูนย์อัลกรุอ่าน สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/คณะ สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/คณะ/ สถาบันภาษานานาชาติ สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/คณะ/ สถาบันภาษานานาชาติ สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา

10. การสร้างประสิทธิภาพการจัดสรรทุนสําหรับ นักศึกษา

สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/สถาบันภาษา นานาขาติ /คณะ 11. การสนับสนุนการแนะแนวและทุนการศึกษาต่อ สํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา/คณะ ของนักศึกษา ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพและการส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานวิจัย ค่าเป้าหมาย 2014 2015 2016 2017 2018 1. พัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านการวิจัย 1.1 ร้อยละของอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัย 30 35 40 45 50 1.2 จํานวนงบประมาณที่ได้รับเพื่อการวิจัยเฉลี่ย ต่ออาจารย์ 1.3 ร้ อ ยละของงานวิ จั ย ที่ บู ร ณาการหลั ก การ 30 40 50 60 60 อิสลามในการวิจัย 2. สร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการในการพัฒนาโจทย์วิจัยและสร้างการมีส่วน ร่วมในการวิจัยของนักศึกษา 2.1 จํานวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมในการ 3 5 5 7 7 สนับสนุนการวิจัย 2.2 จํานวนโครงการวิจัยที่บูรณาการร่วมกับการ 5 7 9 11 13 จัดการเรียนการสอนและสร้างการมีส่วนร่วมของ นักศึกษาในการวิจัย เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


34

ค่าเป้าหมาย 2014 2015 2016 2017 2018 3. ส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ และการนําไปสู่การใช้ประโยชน์ 3.1 จํานวนบทความวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ 20 25 30 35 40 3.2 จํานวนงานวิจัยที่ถูกนําไปใช้ประโยชน์จาก 10 15 20 25 30 หน่วยงาน องค์กร หรือสถานประกอบ 3.3 จํานวนบทความผลงานวิชาการที่ได้รับการ 5 10 15 20 25 เผยแพร่ กลยุทธ์ แผนงานกิจกรรม และผู้รับผิดชอบ เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ 1. การพัฒนาศักยภาพการวิจัยและการ ส่งเสริมทุนวิจัยสําหรับอาจารย์ใหม่ 2. การสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อสร้างความ เข้มแข็งทางวิชาการ 3. การสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพ นักศึกษา 4. การส่งเสริมการวิจัยร่วมกับหน่วยงาน องค์กร สถานประกอบการ 5. ส่งเสริมเครือข่ายการวิจัยและการเผยแพร่ ผลงานวิจัยและผลงานวิชาการ 6. การส่งเสริมวารสารวิชาการและการ ให้บริการวารสารออนไลน์ 7.การส่งเสริมการบูรณาการ งานวิจัยกับการ เรียนการสอนและการบริการวิชาการ

ผู้รับผิดชอบ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย/คณะ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย/คณะ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย/คณะ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย/คณะ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย/คณะ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย/คณะ บัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย/คณะ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสังคมสันติสุข ค่าเป้าหมาย เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด 2014 2015 2016 2017 2018 1. การสร้างความเข้มแข็งและสังคมสันติสุขของชุมชนผ่านการให้บริการวิชาการที่มี ประสิทธิภาพ 1.1 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการทาง 3.51 3.51 3.51 3.51 3.51 วิชาการ 1.2 จํานวนชุมชนที่เข้ารับประโยชน์จากการ 4 5 6 7 8 บริการวิชาการที่ต่อเนื่องจนเกิดความเข้มแข็ง และความสันติสุข 1.3 จํานวนชุมชนที่มีการเรียนรู้เพื่อการพัฒนา 3 4 5 6 7 ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ชุมชนและหลักการ ศาสนา

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


35

ค่าเป้าหมาย 2014 2015 2016 2017 1.4 ระดับความพึงพอใจต่อการบริการวิชาการ 3.51 3.51 3.51 3.51 ตามแบบอัตลักษณ์ของชุมชน 1.5 จํานวนบุคลากรที่ร่วมเป็นกรรมการหรือที่ 20 25 30 35 ปรึกษาของหน่วยงาน ชุมชน องค์กร 1.6 จํ านวนโครงการบริ การวิ ช าการที่ บู รณา 5 6 7 8 การกับการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย 2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเชี่ยน 2.1 จํานวนหน่วยงาน สถาบัน องค์กรที่ 3 5 7 9 ได้รับการบริการวิชาการเพื่อการเตรียมความ พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2.2 ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม 3.51 3.51 3.51 3.51 บริการวิชาการเพื่อการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด

2018 3.51 40 9 11 3.51

กลยุทธ์ และผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ 1. การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการบริการ วิชาการและการสร้างชุมชนเข้มแข็งโดย เครือข่ายอัสสลามและเครือข่ายศิษย์เก่า 2. การใช้หลักคําสอนของศาสนาในการบริการ วิชาการเพื่อเสริมสร้างสังคมสันติสุข 3 การเผยแพร่และสร้างความเข้าใจอุมมาตุลวาฮี ดะห์ (ประชาชาติเดียวกัน) 4 การจัดการความรู้ในการบริการวิชาการเพื่อ การพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย 5. การสร้างความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการ เตรียมความพร้อมสู่ AEC 6. การดําเนินงานตาม MOU กับ สถาบันอุดมศึกษาในอาเซียนและการขยายการ ทํา MOU ใหม่

ผู้รับผิดชอบ สถาบันอัสสลาม/คณะ สถาบันอัสสลาม/สํานักฟัตวา/คณะ สถาบันอัสสลาม/สํานักฟัตวา/คณะ คณะ สถาบันอัสสลาม/สํานักฟัตวา/สถบันภาษา นานาชาติ/คณะ สถาบันอัสสลาม/สํานักฟัตวา/สถบันภาษา นานาชาติ/คณะ

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


36

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมสู่การสร้างสรรค์สังคมสันติสุข ค่าเป้าหมาย 2014 2015 2016 2017 2018 1. การพัฒนาองค์ความรูท้ างด้านศิลปะและวัฒนธรรมและการส่งเสริมการนําองค์ ความรู้ไปสู่การประยุกต์ใช้ 1.1 จํานวนโครงการ กิจกรรมด้านศิลปะและ 5 7 9 11 13 วัฒนธรรมที่บูรณากับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย บริการวิชาการและการบริหารจัดการ หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย 1.2 จํานวนผลงานวิจัยเพื่อพัฒนามาตรฐานด้าน 2 3 4 5 5 ศิลปะและวัฒนธรรม 2. เผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านศิลปะ วัฒนธรรมทีส่ อดคล้องหลักคําสอนของอิสลาม เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องของสังคม 2.1 จํานวนชิ้นผลงานเพื่อสร้างมาตรฐานทางด้าน 2 4 6 8 10 ศิลปะและวัฒนธรรม 2.2 จํานวนครั้งในการให้วินิจฉัย(ฟัตวา)ประเด็น 5 6 7 8 9 ปัญหาทางด้านศาสนา 2.3 ระดับความพึงพอใจในการดําเนินงานด้านการ 3.51 3.51 3.51 3.51 3.51 ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด

กลยุทธ์ และผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ 1. การส่งเสริมการใช้วัฒนธรรมอิสลามสู่วิถี องค์กร 2. การพัฒนาองค์ความรู้และการเสริมสร้าง ความเข้าใจด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่สังคม 3. การรวบรวมและจัดแสดงองค์ความรู้ ทางด้านศิลปะวัฒนธรรมของท้องถิ่น

ผู้รับผิดชอบ สถาบันอัสสลาม/สถบันภาษา/สํานักงาน อธิการบดี/คณะ สถาบันอัสสลาม/สถบันภาษานานาชาติ/สํานัก พัฒนาศักยภาพนักศึกษา/คณะ/สนอ. สถาบันอัสสลาม/คณะ

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


37

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การยกระดับประสิทธิภาพการบริหารจัดการและสวัสดิการบุคลากร ค่าเป้าหมาย 2014 2015 2016 2017 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและการขยายแหล่งรายได้ 1.1 จํานวนระบบการบริหารจัดการที่ใช้เทคโนโลยี 3 4 5 6 สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 1.2 ร้อยละของการเพิ่มรายได้จากการดําเนินงาน 2.5 3 3.5 4 1.3 ร้อยละของการลดต้นทุนของการดําเนินงาน 1.5 2 2.5 3 1.4 ร้อยละของการลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค 1.5 1.5 2 2.5 2. การพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการ 2.1 จํานวนนวัตกรรมจากการพัฒนาการปฏิบัติงาน 5 5 6 7 ประจํา 2.2 จํานวนการลดลงของปัจจัยความเสี่ยงในการ 2 3 3 4 ดําเนินงาน 2.3 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการประเมิน ร้อยละ 15 20 25 30 80 ขึ้นไป 3. การพัฒนาบุคลากรด้านคุณวุฒิ ตําแหน่งทาง วิชาการและความก้าวหน้าในอาชีพ 3.1 ร้อยละของอาจารย์ที่มีวุฒิการศึกษาระดับ 20 25 30 35 ปริญญาเอก 3.2 ร้อยละของอาจารย์ที่มีตําแหน่งวิชาการ 20 25 30 35 3.3 ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ 2 3 4 5 ได้รับการพัฒนาสู่ตําแหน่งชํานาญการ 4. การยกระดับคุณภาพด้านสวัสดิการ 4.1 ร้อยละของการลดลงของการเกิดอุบัติเหตุและ 5 5 5 6 ปัญหาด้านความปลอดภัยของบุคลากรและนักศึกษา 4.2 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการสนับสนุนด้านที่ 20 30 40 50 พักอาศัยจากจํานวนบุคลากรที่แสดงความจํานง 4.3 ร้ อ ยละของการให้ ทุ น การศึ ก ษาแก่ บุ ต รของ 5 5 6 6 บุคลากร 5. การอนุรักษ์พลังงานและสิงแวดล้อม 5.1 ร้อยละของการลดการใช้พลังงาน 1.5 1.5 2 2.5 5.2 การเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพื้นที่ทางวัฒนธรรมและ 1.5 2 2.5 3 สุนทรียภาพ เป้าประสงค์/ตัวชี้วัด

2018 7 4.5 3.5 3 8 4 35

40 40 6 6 60 7 2.5 3.5

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


38

กลยุทธ์ แผนงานกิจกรรม และผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ 1. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ ยกระดับคุณภาพการให้บริการ 2. การลดต้นทุนการบริหารจัดการและเพิ่ม รายได้จากสินทรัพย์ 3. การสร้างมาตรฐานด้านการเงินและการ คลัง 4. การศึกษาและพัฒนาระบบโครงสร้าง องค์กร 5. การพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร

ผู้รับผิดชอบ สํานักวิทยบริการ/สํานักงานอธิการบดี ทุกหน่วยงาน สํานักงานอธิการบดี สํานักงานอธิการบดี/สํานักแผนและประกัน คุณภาพการศึกษา สํานักงานอธิการบดี (หลัก)/ทุกหน่วยงาน

6. การสร้างนวัตกรรมทางการประกันคุณภาพ สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา (หลัก)/ทุกหน่วยงาน 7. การพัฒนาสู่องค์การการเรียนรู้และการ สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา บริหารความเสี่ยงรองรับความเปลี่ยนแปลง (หลัก)/ทุกหน่วยงาน 8. การส่งเสริมศักยภาพบุคลากรสายสนับสนุน สํานักงานอธิการบดี (หลัก)/ทุกหน่วยงาน และการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพ 9. การส่งเสริมการศึกษาต่อและการพัฒนา สํานักงานอธิการบดี(กจ.)/คณะ ตําแหน่งวิชาการ 10. การพัฒนาความเป็นเลิศสําหรับอาจารย์ สํานักงานอธิการบดี(กจ.)/ทุกหน่วยงาน และบุคลากร 11. การพัฒนาระบบสวัสดิการบุคลากรและ สํานักงานอธิการบดี(กจ.) การสร้างขวัญกําลังใจ 12. การจัดการด้านสวัสดิการและคุณภาพ สํานักงานอธิการบดี(กจ.)/กองกิจการหอพัก หอพักนักศึกษา 13. กองทุนสวัสดิการบุคลากรหลังเกษียน สํานักงานอธิการบดี(กจ.) 14. การพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยสีเขียว สํานักงานอธิการบดี (หลัก)/ทุกหน่วยงาน

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


39

แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategies Map )

มิติ 4 พัฒนาองค์กรและการเรียนรู้

มิติ 3 กระบวนการภายใน

มิติ 2 คุณภาพ

มิติ 1 ประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์

วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนีเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีมาตรฐานระดับสากล ผลิตบัณฑิตและพัฒนาองค์ความรู้ที่บูรณาการหลักการอิสลามอย่างมีดุลยภาพ สร้างสรรค์สังคมคุณธรรมและสันติภาพที่ ได้รบั การรับรองคุณภาพตามมาตรฐานสากล การเสริมสร้างมาตรฐานหลักสูตรและการจัดการ เรียนรู้ การบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสังคมสันติสุข

บัณฑิตมีคุณภาพและ คุณธรรมและผู้ใช้บัณฑิต มีความพึงพอใจ ในคุณภาพของบัณฑิต

พัฒนาศักยภาพ นักศึกษาและศิษย์เก่า อย่างต่อเนื่อง

การยกระดับประสิทธิภาพการบริหารจัดการและ สวัสดิการบุลากร

มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งรวบรวมผลงาน องค์ความรู้และนวัตกรรม ตลอดจนนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยที่เป็นเลิศโดยเฉพาะด้านอิสลามศึกษา

ระบบและกลไกประกันคุณภาพ ที่มีประสิทธิผล

สร้างความเข้มแข็งให้กับทุนมนุษย์

การยกระดับคุณภาพและการส่งเสริมการใช้ ประโยชน์งานวิจัย

การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมสู่การสร้างสรรค์ สังคมสันติสุข

การบริการวิชาการมี คุณภาพ เป็นที่ยอมรับของ สังคม

พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ให้ได้มาตรฐานพร้อมตอบสนอง ต่อความต้องการของสังคม และประเทศ

พัฒนาระบบการบริหาร บุคคล

การเสริมสร้างอัตลักษณ์และบัณฑิตพึงประสงค์

พัฒนาระบบการบริการวิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ที่สอดคล้องกับหลักการอิสลาม และตอบสนองความต้องการ ของสังคม

พัฒนาระบบการสื่อสารองค์กร ภาพลักษณ์ การประชาสัมพันธ์ และการตลาด

สร้างความเข้มแข็งให้กับทุนเทคโนโลยีสารสนเทศและความรู้ พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและสิ่งแวดล้อม

พัฒนา กระบวนการ จัดการความรู้

นักศึกษาและบุคลากร มี บทบาทในการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้อง กับหลักการอิสลาม

พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศ เพื่อการจัดการ

มหาวิทยาลัยมีภาพลักษณ์ที่ ดีและมีชื่อเสียงใน ระดับชาติและระดับ นานาชาติ

พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ด้านการวิจัยและนักวิจัย ให้มีคุณภาพ สร้างความเข้มแข็งให้กับทุนองค์กร

สร้างวัฒนธรรม ค่านิยม องค์กร

พัฒนาระบบการบริหาร จัดการตามหลักการ อิสลาม

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


40

ภาคผนวก

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


41

ภาคผนวก ก แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11ฯ ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ .2558 และแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11ฯ 42 ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ .2558 และแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี แผนพัฒนาศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

กรอบแผนอุดมศึกษา ระยะยาว 15 ปี

แผนพัฒนาการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ยุทธศาสตร์อุดมศึกษา ไทย ในการเตรียมความ พร้อม สู่การเป็น ประชาคมอาเซียน ในปี พ .ศ.2558 แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

การสร้างความเป็น ธรรมในสังคม

การพัฒนาคนสู่สังคม แห่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิตอย่างยั่งยืน

การสร้างความสมดุล และมั่นคงของอาหาร และพลังงาน

ระบบการพัฒนา บุคลากร

เครือข่ายอุดมศึกษา

เขตพัฒนาเฉพาะภาคใต้

การสร้างเศรษฐกิจที่มี เสถียรภาพบน ฐานความรู้ การพัฒนานักศึกษาแบบ บูรณาการ

การสร้างความเชื่อมโยง ทางเศรษฐกิจและความ มั่นคงในภูมิภาค

การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

โครงสร้างพื้นฐานเพื่อ การเรียนรู้

การเงินอุดมศึกษา

รอยต่อการศึกษา การแก้ปญ ั หาอุดมศึกษาธรรมาภิบาลและการบริหาร การพัฒนาขีดความสามารถ เพื่อ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับอื่น การจัดกลุ่มอุดมศึกษา การแข่งขันระบบวิจยั และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 1 เปลี่ยนระบบการนําองค์กรให้ขับเคลื่อนอุดมศึกษาแบบองค์รวม ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาอาจารย์ให้เป็นมืออาชีพ และพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพให้เป็นอาจารย์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพบัณฑิตอย่างก้าวกระโดด

การเพิ่มขีดความสามารถของ บัณฑิต ให้มีคุณภาพมาตรฐานใน ระดับสากล

การพัฒนาความเข้มแข็งของ สถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนา ประชาคมอาเซียน

การเสริมสร้างมาตรฐานหลักสูตรและการจัดการ เรียนรู้ การบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสังคมสันติสุข

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ปฏิรูปการบริหารการเงินอุดมศึกษา เพือ่ ขับเคลื่อนสถาบันอุดมศึกษาสู่ความเป็นเลิศ

การส่งเสริมบทบาทของอุดมศึกษาไทย ในประชาคมอาเซียน

การเสริมสร้างอัตลักษณ์และบัณฑิตพึงประสงค์

การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมสู่การสร้างสรรค์ สังคมสันติสุข

การยกระดับคุณภาพและการส่งเสริมการใช้ ประโยชน์งานวิจัย การยกระดับประสิทธิภาพการบริหารจัดการและ สวัสดิการบุลากร

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


43

ภาคผนวก ข ปฏิทินการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปีการศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


44

ปฏิทินการจัดทําแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปีการศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี วันปี/เดือน/ กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ผลการดําเนินงานหลักฐาน/ ทบทวน ปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่/4 (2011-2013) 8มกราคม- ฯ ประชุมคณะกรรมการคณะอนุ ก รรมการ 1 . ป ฏิ ทิ น ก า ร ท บ ท ว น / 2557 กําหนดกรอบนโยบายการ ฝ่ายเลขานุการ ปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ฯ ดําเนินงานและแนวทางการ พัฒนาแผนยุทธศาสตร์ ระยะ ฯ 4 ที่ 16มกราคม2557

ประชุมรับฟังความคิดเห็นของ คณะอนุ ก รรมการ 1.รายงานสรุ ป ผลการรั บ ฟั ง หน่วยงานและบุคลากรภายใน ฝ่ า ย รั บ ฟั ง ค ว า ม ความคิ ด เห็ น ของบุ ค ลากร มหาวิทยาลัยทุกระดับ คิ ด เ ห็ น ภ า ย ใ น ) ภายในมหาวิทยาลัย (มหาวิทยาลัย

28มกราคม2557

ประเมิน สรุปและวิเคราะห์ ผลการดําเนินงานของแผน ยุทธศาสตร์ ระยะที่ 4ฯ ไตร มาส และแผนปฏิบัติการ 2-1 ฯ ประชุมรับฟังความคิดเห็นของ ศิษย์เก่า,ผู้ใช้บริการ ผู้ใช้ บัณฑิตและชุมชนภายนอกต่อ การดําเนินงานของ มหาวิทยาลัย

29มกราคม2557

คณะอนุ ก รรมการ 1 . ร า ย ง า น ส รุ ป ผ ล ก า ร ฝ่ า ยวิ เ คราะห์ ผ ล วิ เ คราะห์ ผ ลการดํ า เนิ น งาน การดํ า เนิ น งานของ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย คณะอนุ ก รรมการ ฝ่ า ย รั บ ฟั ง ค ว า ม คิ ด เห็ น ภายนอก ) (มหาวิทยาลัย

1.รายงานสรุ ป ผลการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว น เ สี ย ภ า ย น อ ก ) (มหาวิทยาลัย

กุมภาพันธ์ 2- คณะอนุกรรมการเสนอผลการ คณะอนุ ก รรมการ 1 . ร า ย ง า น ส รุ ป ผ ล ก า ร 2557 วิเคราะห์ผลการดําเนินงาน ฝ่ายเลขานุการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และผลการรับฟังคิดเห็นต่อ คณะกรรมการยกร่าง กุมภาพันธ์ 11-4 -2557

คณะกรรมการประชุมเพื่อยก คณะอนุ ก รรมการ ร่างแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ ฝ่ายเลขานุการ 5 วิเคราะห์ SWOT,ทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจฯ ,วิเคราะห์ ความเชื่อมโยงของแผน,การ กําหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ฯ

1.ผลการวิเคราะห์ SWOT 2.ร่ า งการกํ า หนดวิ สั ย ทั ศ น์ พันธกิจ 3.ร่างแผนยุทธศาสตร์ ระยะ ที่ 5 (2014-2018)ฉบับร่าง

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


45

วันปี/เดือน/ 20-16 กุมภาพันธ์ 2557

กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ผลการดําเนินงานหลักฐาน/ ชี้แจงตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย คณะอนุ ก รรมการ 1.ตัวขี้วัดและค่าเป้าหมาย ของแผนยุทธศาสตร์ต่อ ฝ่ายเลขานุการ หน่วยงาน

มีนาคม 11 2557

หน่วยงานเสนอแผนงาน ทุกหน่วยงาน โครงการตามแผนยุทธศาสตร์ ฯ ส่งต่อสํานักแผนและประกัน ฯ

1.โครงการตามแผน ยุทธศาสตร์

มีนาคม 13 2557

คณะกรรมการยกร่าง ประชุม คณะอนุ ก รรมการ 1.ผลการพิ จ ารณาโครงการ พิจารณาโครงการตาม ฝ่ า ย ย ก ร่ า ง แ ล ะ ตามแผนยุทธศาสตร์ฯ ประเด็นยุทธศาสตร์ ก ลั่ น ก ร อ ง แ ผ น + คณะอนุ ก รรมการ ฝ่ายเลขานุการ

มีนาคม 18 2557

คณะกรรมการพิจารณาแผน ยุทธศาสตร์ฯ

คณะกรรมการฝ่ า ย 1.แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 พั ฒ น า แ ผ น (2014-2018) ฉบับร่าง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร + คณะอนุ ก รรมการ ฝ่ า ย ย ก ร่ า ง แ ล ะ +ก ลั่ น ก ร อ ง แ ผ น คณะอนุ ก รรมการ ฝ่ายเลขานุการ

มีนาคม 25 2557

ประชุมชี้แจงการจัดทํา แผนปฏิบัติการประจําปีให้กับ ทุกหน่วยงาน

คณะอนุ ก รรมการ 1 . แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ทํ า ฝ่ายเลขานุการ แผนป ฏิ บั ติ ก าร ป ระจํ า ปี การศึกษา 2014

เมษายน 15 2557

หน่วยงานเสนอแผนปฏิบัติ การ ประจําปี 2014

ทุกหน่วยงาน

เมษายน 17 2557

คณ ะกรรมก ารกลั่ น กรอ ง โครงการ ประชุ ม พิ จ ารณา โ ค ร ง ก า ร กิ จ ก ร ร ม ต า ม / ประเด็นยุทธศาสตร์

ฝ่ า ย ย ก ร่ า ง แ ล ะ 1.ผลการกลั่นกรองแผนปฏิบัติ กลั่ น กรองแผนฯ+ การ คณะอนุ ก รรมการ ฝ่ายเลขานุการ

1 . แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ข อ ง ทุ ก หน่วยงาน

เมษายน 23-20 ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ฝ่ า ย คณะอนุ ก รรมการ 1.แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 2557 เลขานุการ สรุป พร้อมจัดทํา ฝ่ายเลขานุการ (2014-2018)

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


46

วันปี/เดือน/

กิจกรรม เล่ ม แผ น ยุ ท ธ ศา ส ตร์ แ ล ะ แผนปฏิบัติการ

ผู้รับผิดชอบ

ผลการดําเนินงานหลักฐาน/ 2.แผนปฏิ บั ติ ก าร ประจํ า ปี การศึกษา 2014 มหาวิ ท ยาลั ย ฟาฏอนี (ฉบั บ ร่าง)

เมษายน 28 2557

เสนอเข้าที่ประชุม คณะกรรมการบริหาร มหาวิทยาลัย

คณะอนุ ก รรมการ 1.แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 ฝ่ายเลขานุการ (2014-2018) ฉบับร่าง 2.แผนปฏิ บั ติ ก าร ประจํ า ปี การศึกษา 2014 มหาวิ ท ยาลั ย ฟาฏอนี (ฉบั บ ร่าง)

พฤษภาคม 2557

เสนอเข้าที่ประชุม คณะกรรมการสภา มหาวิทยาลัย

คณะอนุ ก รรมการ 1.แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 ฝ่ายเลขานุการ (2014-2018) ฉบับร่าง 2.แผนปฏิ บั ติ ก าร ประจํ า ปี การศึกษา 2014 มหาวิ ท ยาลั ย ฟาฏอนี (ฉบั บ ร่าง)

พฤษภาคม 2557

ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของ คณะอนุ ก รรมการ ฝ่ายเลขานุการ สภา และชี้แจงถ่ายทอดสู่ หน่วยงานพร้อมทั้งเผยแพร่ผู้ มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับทราบ ตามช่องทางที่มหาวิทยาลัย กําหนด

1.แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) 2.แผนปฏิ บั ติ ก าร ประจํ า ปี การศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


47

ภาคผนวก ค คําสั่งมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ที่ 002 /2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปีการศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


48

คําสั่งมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ที่ 002 /2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปีการศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี -----------------------------------------------------------------เพื่ อให้ แผนยุ ทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และแผนปฏิ บั ติการ ประจํ าปี การศึ กษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี สามารถปรับเปลี่ยนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวการณ์ และสามารถนําแผนไป ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และจัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําปีการศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ซึ่งประกอบด้วย 1. คณะกรรมการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย 1. อธิการบดี ประธาน 2. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา รองประธาน 3. รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร กรรมการ 4. รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ กรรมการ 5. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ กรรมการ 6. รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา กรรมการ 7. รองอธิการบดีฝ่ายโครงการพิเศษ กรรมการ 8. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์ กรรมการ 9. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย กรรมการ 10. คณบดีคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ กรรมการ 11. คณบดีคณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ กรรมการ 12. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ 13. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ กรรมการ 14. ผู้อํานวยการสถาบันภาษานานาชาติ กรรมการ 15. ผู้อํานวยการสถาบันอัสสลาม กรรมการ 16. ผู้อํานวยการสํานักวิทยบริการ กรรมการ 17. ผู้อํานวยการสํานักบริการการศึกษา กรรมการ 18. ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา กรรมการ 19. ผู้อํานวยการสํานักงานจัดหาทุนการศึกษาฯ กรรมการ 20. ผู้อํานวยการสํานักงานสภามหาวิทยาลัย กรรมการ 21. หัวหน้าฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา กรรมการและเลขานุการ 22. หัวหน้ากองอํานวยการสํานักงานอธิการบดี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ โดยมีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ 1. วางกรอบนโยบายและกําหนดทิศทางการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย 2. ดําเนินการพิจารณาทบทวนและปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และจัดทําแผนปฏิบัติ การ ประจําปีการศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


49

3. ส่ง เสริม สนับ สนุ นและประสานความร่ วมมือระหว่ างหน่ วยงานต่ างๆ ในมหาวิทยาลัย เพื่ อให้เ กิดการ พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง แผนยุ ท ธศาสตร์ และแผนปฏิ บั ติ ก าร ในระดั บ หน่ ว ยงานให้ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ มหาวิทยาลัย 4. สร้ างความรู้ ความเข้ าใจ ให้ กับ บุ ค ลากรในมหาวิ ทยาลั ย ฟาฏอนี เรื่ องแผนยุ ทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และแผนปฏิบัติการ ประจําปีการศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 5. สรุปและนําเสนอแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) และแผนปฏิบัติการ ประจําปีการศึกษา 2014 มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ต่อส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป 2. คณะอนุกรรมการฝ่ายรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงาน 1.รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร 2.รองคณบดีฝ่ายบริหารและวางแผน คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ 3.รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ 4.ผู้อํานวยการสถาบันภาษานานาชาติ 5.ผู้อํานวยการสํานักวิทยบริการ 6.ผู้อํานวยการสํานักงานจัดหาทุนการศึกษาฯ 7.หัวหน้าสํานักงานคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ 8.หัวหน้าสํานักงานคณะศึกษาศาสตร์ 9.หัวหน้ากองการเจ้าหน้าที่ 10.หัวหน้ากองอํานวยการสํานักงานอธิการบดี 11.หัวหน้าสํานักงานเลขานุการสํานักวิทยบริการ

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

โดยมีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ 1. จัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของบุคลากรทุกระดับและนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี 2. สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการรับฟังความคิดเห็นของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยฟาฏอนี 3. นําเสนอผลการลการรับฟังความคิดเห็นของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยฟาฏอนีต่อคณะกรรมการยกร่าง และคณะกรรมการพัฒนาแผนมหาวิทยาลัยฟาฏอนี 3. คณะอนุกรรมการฝ่ายรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(บัณฑิต ชุมชนฯ) 1. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ประธาน 2. รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ กรรมการ 3. รองคณบดีฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ กรรมการ 4. รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ กรรมการ 5. รองคณบดีฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ 6. ผู้อํานวยการสถาบันอัสสลาม กรรมการ 7. ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาศักยภาพนักศึกษา กรรมการ 8. รองผู้อํานวยการฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา สถาบันภาษานานาชาติ กรรมการ 9. หัวหน้าศูนย์ฟัตวา กรรมการ 10. หัวหน้ากองวิเทศและประชาสัมพันธ์ กรรมการ 11. หัวหน้ากองทรัพย์สินและสิทธิประโยชน์ กรรมการ 12. หัวหน้ากองรักษาความปลอดภัย กรรมการ 13. ผู้อํานวยการสํานักบริการการศึกษา กรรมการและเลขานุการ 14. หัวหน้าสํานักงานคณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


50

โดยมีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ 1. จัดประชุ มเพื่ อรับ ฟัง ความคิดเห็น ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้ แก่ ศิษย์ เก่า ผู้ใ ช้บ ริการ ผู้ ใช้บั ณฑิตหรื อ ผู้ประกอบการ และชุมชน 2. สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการรับฟังความคิดเห็น 3. นํ า เสนอผลการลการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ต่ อ คณะกรรมการยกร่ า งและคณะกรรมการพั ฒ นาแผน มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 4. คณะอนุกรรมการฝ่ายวิเคราะห์ผลการดําเนินงานของมหาวิทยาลัย 1. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา ประธาน 2. รองคณบดีฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ กรรมการ 3. รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ 4. รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ 5.. รองคณบดีฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพ คณะศึกษาศาสตร์ กรรมการ 6. รองคณบดีฝ่ายวิชาการและพัฒนาศักยภาพนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ กรรมการ 7. รองผู้อํานวยการฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพฯ สถาบันภาษานานาชาติ กรรมการ 8. หัวหน้าสํานักงานบัณฑิตวิทยาลัยและการวิจัย กรรมการ 9. หัวหน้าโครงการจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์ กรรมการ 10. หัวหน้าสํานักงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ 11.หัวหน้าสํานักงานสถาบันภาษานานาชาติ กรรมการ 12.หัวหน้ากองคลังและพัสดุ กรรมการ 13.หัวหน้าฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา กรรมการและเลขานุการ 14.หัวหน้าศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทางภาษา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ โดยมีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลเชิงสถิติทุกประเภทของมหาวิทยาลัยฟาฏอนี 2. ศึ ก ษา วิ เ คราะห์ ผ ลการดํ า เนิ น งานของมหาวิ ท ยาลั ย ในภาพรวมรวมทั้ ง ผลการดํ า เนิ น งานตามแผน ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ พร้อมทั้งศึกษาปัญหาอุปสรรคของการดําเนินงาน 3. นํ า เสนอผลการดํ า เนิ น งานรวมทั้ ง ข้ อ มู ล เชิ ง สถิ ติ ต่ อ คณะกรรมการพั ฒ นาแผนยุ ท ธศาสตร์ แ ละ คณะอนุกรรมการยกร่างแผนยุทธศาสตร์ 5. คณะกรรมการกลั่นกรองแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัยฟาฏอนี 1. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา 2. ผศ.ดร.ซอบีเราะห์ การียอ 3. ดร.มูฮํามัดดาวูด บิลร่าหมาน 4. ดร.อับดุลการีม สาแมง 4. อาจารย์อับดุลฟัตตาห์ จะปะกียา 5. หัวหน้าฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา 6. เจ้าหน้าสํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

โดยมีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห์ ความเป็นไปได้และความเหมาะสมของโครงการในแผนปฏิบัติการประจําปี 2. คัดสรร พิจารณา โครงการต่างๆลงในแผนปฏิบัติการประจําปี

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


51

3. เสนอผลการพิจารณาโครงการในแผนปฏิบัติการต่อคณะกรรมการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติ การมหาวิทยาลัย 6. คณะกรรมการฝ่ ะกรรมการฝ่ายเลขานุการ 1. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา 2. หัวหน้าฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา 3. เจ้าหน้าสํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา

ประธาน กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

โดยมีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ 1. ประสานน ดําเนินการจัดประชุม จัดทํารายงานการประชุม และอํานวยความสะดวกแก่คณะอนุกรรมการแต่ ละฝ่าย 2. จัดทําเอกสารยกร่ สารยกร่างแผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (2014-2018) ฉบับปรับปรุงประจําปีการศึกษา 2014 และแผนปฏิบัติการประจําปีการศึกษา 2014 3. รวบรวมข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น แผนพั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฯ กรอบแผนอุดมศึกษา 15 ปี คู่มือการประกันคุณภาพ เป็นต้น 4. จัดทํารูปเล่มแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการมหาวิทยาลัย 5. นําแผนเสนอต่อคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยและสภามหาวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติ 6. จัดทํ ารายงานสรุป ผลการดําเนิน งานโครงการปรับปรุง แผนยุ แผนยุทธศาสตร์และการจัดทํ าแผนปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 2 มกราคม 2557

(ผศ.ดร.อิอิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา) า อธิการบดี

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018 2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


52

Strategic Plan

สํานักแผนและประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี 135/8 หมู่ 3 ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 94160 โทรศัพท์: 073- 418614ต่อ1134โทรสาร: 073-418615-6 อีเมล์: qa.yiu.ac.th@gmail.com

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


53

แผนยุทธศาสตร์ ระยะที่ 5 (ค.ศ.2014-2018) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.