ข่าวประชาสัมพันธ์คณะ ฉบับที่ 2 วันที่ 1 กันยายน 2556

Page 1

ขาวประชาสัมพันธ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีคกอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย ฉบับที่ 2 /2556 วันที่ 1 กันยายน 2556

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา โทรศัพท/ โทรสาร 073-418584 มือถือ 086-4810720 Www.science.yiu.ac.th https://www.facebook.com/FSTYIU.THAILAND วิชาการคูคุณธรรม บูรณาการอิสลาม มาตราฐานสูความเปนเลิศ

ลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไดจัดโครงการพบปะ นักศึกษาใหม ชั้นปที่ 1 เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจและปรับพื้นฐานในการเรียน ณ บานโสรงแหงนี้ ในวันอังคาร ที่ 4 มิถุนายน 2556 ณ หองสัมมนา ชั้น 4 (5-404) มีนักศึกษาชั้นปที่ 1 หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ (อังกฤษ) เขา รวมจํานวน 50 คน โดยมีผูบริหารคณะตอนรับนักศึกษาโดยพรอมเพรียงกัน บรรยากาศอบอุน....

งานแนะแนวและใหคําปรึกษา กลุมงานพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม รวมกับ ฝายวิชาการคณะ ไดจัดโครงการนักศึกษาพบปะอาจารยที่ปรึกษา ประจําปการศึกษา 2556 ในวันอังคารที่ 11 มิถุนายน 2556 ณ หองประชุม ชั้น 3 คณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร เพื่อชี้แจงถึงรายละเอียดตางๆ รวมไปถึง ระเบียบที่เกี่ยวของ และการพบปะ การปรึกษาหารือ เพื่อใหอาจารยและนักศึกษาสามารถใหความชวยเหลือกันไดใน ระหวางการศึกษาในทุกๆปญหา โดย มีนักศึกษาทั้งคณะเขารวมและอาจารยที่ปรึกษาในแตละสาขาวิชา


ประมวลภาพกิจกรรมคณะ

ห น า 2

ดวยคณะกรรมการ 5ส.คณะ รวมกับงานอาคารและสถานที่ ไดจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการดานการปองกันอัคคีภัย ในวัน อังคารที่ 25 มิถุนายน 2556 โดยไดรับการอนุเคราะหวิทยากร จาก สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตตานีและองคการ บริหารสวนตําบลเขาตูม ซึ่งเปนกิจกรรมที่เนนการฝกปฏิบัติจริง มีการ สมมุติเหตุการณและการอพยพ และการปฐมพยาบาลเบื้องตนและ หลักการเอาตัวรอดเมื่อเกิดการณจริง เพื่อใหนักศึกษาและบุคลากร ของคณะ มีทักษะและมีความรูเพื่อใชในการปองกันตัวเองตอไป

คณะจากประเทศกาตาร ประกอบดวยเชค คอลิด ชาฮีน อัลฆอนิม อธิบดีกรมกิจการอิสลาม เชคหะสัน อับดุลลอฮ อัลมัรซูกีย อธิบดีกรมการลงทุนและนายมูฮัมมัด อัลมะนาอีย ผูอํานวยการฝายอิสลามสัมพันธ เยี่ยมพบปะ ดร.อิสมาอีลลุตฟ จะ ปะกียา อธิการบดีและคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา และคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในวันอาทิตยที่ 17 มิถุนายน 2556 ที่ผานมา

ดวยคณะกรรมการสหกิจศึกษาและพัฒนา อาชีพ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เดินทางไป พูดคุยกับบริษัทโชติวัฒนอาหารและบริษัทไทย เจริญอาหารสัตว ในวันอังคาร ที่ 2 กรกฎาคม 2556 เพื่อเปนสถานที่ฝกสหกิจ และประสบการณ วิชาชีพ อันจะทําใหนักศึกษาไดรับประโยชนและตอ ยอดจากการเรียนภายในหองเรียน มีต่อหน้ า 8 Update MADINATUSSALAM : เชิญทุกทานรวมบริจาคสนับสนุนโรงการเมืองแหงสันติ เมืองมีนะตุสสลาม ไดที่ ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย สาขาปตตานี ชื่อบัญชี MADINATUSSALAM FONDATION (WAKAF) เลขที่บัญชี 103-1-22533-1 ในวัน 27-28 กรกฎาคม 2556 เวลา 10.00-12.00 น. ไดจัดงาน รวมน้ําใจสู “วะกัฟซื้อที่ดินเนื้อที่ 800 ไร ในโครงการเมืองมะดีนะตุสสลาม” ณ มัสยิดอิบาดุรเราะหมาน บราโอ ต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปตตานีและมัสยิดตันมียะห สถาบันภาษานานาชาติ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา บานปารามีแต จ.ยะลา มีการถายทอดสดผานทาง 1. www.whitechannel.tv/ 3. www.taawoon.com/taawoontv/

2. www.yateemtv.muslimthai.com/

4.www.islamnara.com/

5.www.darussalampl.com/tv.html


ห น า 3

แนะนําผูบริหารและบุคลากร ประจําปการศึกษา 2556 รองศาสตราจารย นิแวเตะ หะยีวามิง รักษาการคณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 เมษายน 2556 - ปจจุบัน นายซบรี หะยีหมัด รองคณบดีฝายบริหารและแผน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 ธันวาคม 2551 - ปจจุบัน นายอนุวัตร วอลี รองคณบดีฝายวิชาการและวิจัย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 พฤษภาคม 2556 - ปจจุบัน ดร.อิบรอเฮม สือแม รองคณบดีฝายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 มกราคม 2556 - ปจจุบัน นายซอบรี อามาลีนา หัวหนากลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 มิถุนายน 2554 - ปจจุบัน นายรอมสรรค เศะ * วาที่หัวหนากลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี * ตามมติที่ประชุมกรรมการประจําคณะ ครั้งที่ 2/2556 วันที่ 22 สิงหาคม 2556 รอการอนุมัติและแตงตั้งจากมหาวิทยาลัย นายรอมลี เจะดอเลาะ * วาที่หัวหนากลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี * ตามมติที่ประชุมกรรมการประจําคณะ ครั้งที่ 2/2556 วันที่ 22 สิงหาคม 2556 รอการอนุมัติและแตงตั้งจากมหาวิทยาลัย นายนิซอยบูลดิน นิเงาะ หัวหนาสํานักงานคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 มกราคม 2556 - ปจจุบัน

มีต่อหน้ า 4


ฉ บั บ ที 2 / 2 5 5 6

ห น้ า 4

แนะนําผูบริหารและบุคลากรคณะ ประจําปการศึกษา 2556 กลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร นางสาวนูรุลฮุสนา อับดุลลาฏีฟ นางสาวสุอัยดา บือแน นางนูรฮุดา มะสาแม นายสาฮีดัน อับดุลมานะ นายอับดุลฟาตะห มะสาแม MR.TAM SAKIRIN นางสาวสัลวา ปุนยัง นายคอเละ ลังสารี นายมะรอนิง อุเซ็ง นายบูรฮาน สาและ

อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร (ลาศึกษาตอปริญญาโท) อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร (ลาศึกษาตอปริญญาโท) อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร อาจารยกลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร

กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต นายซอและห ตาเละ นายสะอาด อาแซ นายซูไฮมิน เจะมะลี นายยะโกะ ขาเร็มดาเบะ นางนัจญมีย สะอะ นางสาวรอปอะ กือจิ นางสุมิตรา แสงวนิชย นางสาวโซเฟย อับดุลลอฮฺ

อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต

กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ นายสุไลมาน หะยีสะเอะ ผศ. ดร.ซอบีเราะห การียอ นายซากี นิเซ็ง นายอดินันท หวังพิทยา นายปติ สันหีม ดร.ปนัสย นนทวานิช นางสาวกูซูซานา ยาวออาซัน

อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ (ลาศึกษาตอปริญญาเอก) อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ อาจารยกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ มีต่อหน้ า 5

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประกอบดวย 6 หนวยงาน 1. สํานักงานคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5. ศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี * 2. กลุมสาขาวิชาคอมพิวเตอร 6. ศูนยวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรอิสลาม * 3. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรธรรมชาติ 4. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรประยุกต * เปนหนวยงานใหมกําลังรอการอนุมัติจากมหาวิทยาลัย


ห น้ า

5

เรื่องราวนายินดีของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีคกอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย ขอแสดงความยินดี ก ั บ อาจารย์อนุ ว ั ตร วอลี รองคณบดี ฝ ่ ายวิ ชาการและวิ จ ั ย คณะวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิ ทยาลั ยอิสลามยะลา ทีได้ ร ั บรางวั ลการนําเสนอผลงานวิ จ ั ยดี เด่นด้ วยวาจา(Oral) Them วิ ทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตรเพือพั ฒนาท้องถิน หั วข้ อ “ กาวลาเท็กซ์ต้นทุนตํ าจากนํ ายางธรรมชาติ อิพอกซิ ไดซ์” จากประชุมวิ ชาการระดั บชาติ ครั งที2 ประจําปี 2556 ในวั นที 19 สิ งหาคม 2556 ณ อาคารคณะวิ ทยาการจั ดการ มหาวิ ทยาลั ยราชภั ฏยะลา

แนะนําผูบริหารและบุคลากรคณะ ประจําปการศึกษา 2556 ตอ) สํานักงานคณะ นายอีบาดุรอฮมาน การี นายอิบรอฮีม แวสะมะแอ นายฮาซัน มาหะมะ นางสาวนูรไลลา มูละซอ นางสาวอาบีร หะยีสาอิ นางสาวรุสนาณี เบ็ญลาเต็ฟ นางสาวแวอามีเนาะ สาแมงกานิง นายมูฮัมหมัดรอนี อาแวกะจิ

เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป เจาหนาที่หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

นายซารีฟ เจะแม นางสาวสัลมา หมาดมานัง นางสาวมารีเยาะ ดอเลาะ นางสาวสุฮัยลา อาแซ นางสาวฮัสนะห ยูโซะ นายมะลีกี สะมาแม นางสาวฮายาตี รอดิง

นักวิทยาศาสตร(ฟสิกส) (ลาศึกษาตอปริญญาโท) นักวิทยาศาสตร(เคมี) นักวิทยาศาสตร(เคมี) นักวิทยาศาสตร(จุลชีววิทยา) นักวิทยาศาสตร(จุลชีววิทยา) พนักงานรักษาความสะอาด พนักงานรักษาความสะอาด


ห น า 6

12 โอวาทแดครอบครัวชาวพิกุล โดย ดร.อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา โอวาทที่ 1 : ยําเกรงอัลลอฮฺ ขอใหทุกทานยําเกรงอัลลอฮฺ (ตักวา) ผูทรงรอบรูและผูทรงวิทยญาณ พระองคคือผูทรงเฝาสังเกต ตรวจสอบ เพง พินิจ รับฟง รับทราบ คิดคํานวณและทรงตอบแทนทุกอยางทั้งในดุนยาและอาคิเราะฮฺที่เปนกิจการบาวของพระองคในทุกเวลาและสถานที่ตักวา ที่ทําใหเกิดความบริสุทธิ์ใจ (อิคลาศ) สูการหลุดพนจากการตั้งภาคี (ชิริก) การโออวด (ริยาอฺ) การหลงระเริง การกระทําสิ่งที่เปนอบายมุข ทั้งหลาย การอุตริในศาสนา(บิดอะฮฺ) และความเชื่องมงายตางๆ ตักวาที่สรางจุดประกายใหเกิดความรักตออัลลอฮฺและรอซูล ดวยการยึดมั่นคํา สอนของพระองคและปฏิบัติตามซุนนะฮฺสูการพัฒนาตนเองและสรางครอบครัวเปยมสุข ตักวาที่คอยย้ําเตือนวามีมะลาอิกะฮฺคอยประกบเขา ตลอดเวลา และชัยฏอนคือศัตรูตัวฉกาจสําหรับเขา เพราะตักวาคือรากฐานแหงความสําเร็จและปจจัยหลักของการมีชีวิตที่มีเกียรติ ภายใตการ กําหนดสภาวการณของอัลลอฮฺ(กอฎอและกอดัร)ทั้งในดุนยาและอาคิเราะฮฺอันถาวรนิรันดร โอวาทที่ 2 : อามัลอิสลามีย ขอใหทุกทานที่เปนมุสลิมีนจงหมั่นละหมาดฟรฎหาเวลาทุกครั้งพรอมญะมาอะฮฺที่มัสยิด สวนมุสลีมะฮฺขอให ละหมาดในชวงตนเวลา ทุกครั้งดวยหัวใจที่สงบนิ่งและมีความสํารวม ขอใหอานอัลกุรอานเปนกิจวัตรประจําวัน อานอัซการฺนะบะวียะฮฺทุกเชา เย็น หมั่นอานบทซิกิรหลังละหมาด (เอาร็อด มะซูเราะฮฺ) อานดุอา ซิกิรประจําวันและปฏิบัติอะมัลที่อิสลามบัญญัติไว อาทิ ละหมาด สุนัตตางๆ เชน เราะวาติบ ตะฮัจจุด วิติรฺ ฎฮาและละหมาดเอาวาบีนชวงเชาตรู จงหมั่นรักษาศิยามสุนัตสามวันตอเดือน จงดํารงตนดวยอาภรณแหงน้ํา ละหมาดตลอดระยะเวลาชั่วโมงทํางานของเราในแตละวัน โอวาทที่ 3 : แสวงหาความรู ขอใหทุกทานมุงมั่นในการเพิ่มพูนความรูแกตนเอง ทั้งความรูที่เกี่ยวเนื่องกับการทําอีบาดะฮฺ หรือศาสตรที่เปน ความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง ขอใหทุกทานใหความสําคัญกับภาษาตางๆ ไมวาภาษาที่มีความจําเปนในระดับทองถิ่น ระดับชาติและนานาชาติ หรือ ภาษาที่มีความจําเปนทางศาสนา ทุกคนตองเปนผูใฝรู กระหายที่จะเรียนรู และแสวงหาความรูทั้งดานเทคโนโลยี และความรูที่เกี่ยวของกับความ เปนเลิศทางดานการใหบริการ อัลลอฮฺตรัสวา "และจงกลาวเถิดขาแตพระเจาของขาพระองคขอพระองคทรงโปรดเพิ่มพูนความรูแกขาพระองค ดวยเถิด") พึงทราบเถิดวา การใชชีวิตของนบีมูฮัมมัด (ขอความสันติจงมีแดทาน)ตลอดระยะเวลา 23 ป เปนการใชชีวิตที่ถูกประดับประดาเสริม แตงดวยคําวิวรณ(วะหฺยู) เพื่อเสริมสรางความรูอันลุมลึกที่เปนกุญแจสําคัญสูการปฏิบัติอะมัล เปนรัศมีของการทําอีบาดะฮฺ วิญญาณของการเผย แผ เสบียงอาวุธของการญิฮาด ตลอดจนเปนเงื่อนไขหลักแหงความสําเร็จและความเจริญทั้งดุนยาและอาคิเราะฮฺ โอวาทที่ 4 : ภารดรภาพ ขอใหทุกทานถักทอสายสัมพันธความเปนภราดรภาพในอิสลามที่พันผูกในครอบครัวอันเดียวกันอยางแนนแฟน บนหลักการวะลาอฺ (ความรักและใหความชวยเหลือ) ทําความรูจัก ถามไถทุกขสุขอยางใกลชิด ใหและรับสลามดวยใบหนาที่ยิ้มแยม ใหเกียรติซึ่ง กันและกัน มอบความรักและเอ็นดูแกผูนอย ใหเกียรติและเคารพตอผูอาวุโส มีกิริยามารยาทที่งดงาม มีความเอื้ออาทรและสามัคคีปรองดอง ปกปองซึ่งกันและกัน เยี่ยมเยียน ใหอภัยและขอดุอาทั้งตอหนาและลับหลัง จงหางไกลจากนิสัยที่ไมดีที่ทําใหสายสัมพันธฉันทพี่นองตองขาด สะบั้นลง พึงระวังพฤติกรรมที่นําไปสูการแตกแยกและการแบงพรรคแบงพวก นี่คือฐานแหงการสรางชีวิตที่เปยมสุขของประชาชาตินี้

โอวาทที่ 5 : เผยแผอิสลาม ขอใหทุกทานพึงตระหนักวา มนุษยทุกคนลวนเปนบาวของ อัลลอฮฺ ลูกหลานของนบีอาดัมและประชาชาติของนบีมู ฮัมมัด (ขอความสันติจงมีแดทาน) ดังนั้น จงพยายามเผยแผอิสลาม โดยเฉพาะอยางยิ่งแกบรรดาชนตางศาสนิกดวยวิทยปญญาอันลุมลึก ปลูกฝง วิญญาณการ ญิฮาดตามแนวทางของอัลลอฮฺที่ยึดมั่นหลักการสายกลางที่มีความสันติและวิทยปญญาอันนําไปสูความเมตตา ความสงบสุขและ ความเจริญแกสากลจักรวาล จงหางไกลจากแนวคิดสุดโตงและพฤติกรรมการใชความรุนแรงที่นําไปสูความเสียหายและความถดถอยลาหลัง ขอใหทุกทานฟนฟูบรรยากาศของการตักเตือนกันและกันในสิ่งที่เปนสัจธรรมและขันติธรรมในรูปแบบที่หลากหลายทั้งโดยตรงหรือผาน กระบวนการหะละเกาะฮฺอัลกุรอาน (การเสวนากลุม) ประจําสัปดาห นี่คือเสาหลักในการใชชีวิตอันเปยมสุขทั้งดุนยาและอาคีเราะฮฺ โอวาทที่ 6 : บริหารเวลา ขอใหทุกทานมุงมั่นและใหความสําคัญกับการบริหารจัดการเวลาอยางมีประสิทธิภาพ กระชับ เปยมดวยสิริมงคล (บา รอกัต) และมีความสมดุลในหนาที่ประจําวันตามภารกิจที่กําหนดไว โดยเฉพาะเวลาไป/กลับจากการเรียนการสอนและทํางานในมหาวิทยาลัย หามมาสายกลับเร็วจากเวลาที่กําหนดโดยเด็ดขาด อยาใหเวลาผานไปโดยเปลาประโยชน พึงรูวาเวลาคือชีวิต การบริหารจัดการเวลาในความเปน จริงแลว เปนการบริหารจัดการชีวิต ขณะที่การโจรกรรมเวลาแทจริงแลวคือการฆาตกรรมชีวิตทั้งชีวิตของตนเอง ชีวิตของมหาวิทยาลัยและชีวิต ของประชาชาติทั้งมวล มีต่อหน้ า 7


ห น้ า 7

โอวาทที่ 7 : จุดนัดพบประจําวัน จงหมั่นรักษาละหมาดซุฮรีพรอมญะมาอะฮ ณ มัสยิดอัลหะรอมัยนในมหาวิทยาลัย อันเปนศาสนสถานที่ เราสามารถรําลึกถึงอัลลอฮฺและเปนหวงเวลาที่เราสามารถถายทอดความรูสึกที่ดีๆระหวางกันภายใตบรรยากาศของความรูสึกสํานึกขอบคุณ(ชุโกร) และหัวใจที่สํารวม นอกจากนี้ยังเปนจุดพบปะประจําวันของครอบครัวชาว ม.อ.ย. ทั้งชายและหญิง ใหเกียรติมัสยิดและสรางบรรยากาศของการ เคารพภักดีดวยหัวใจที่นิ่งสงบและมั่นคง จงสดับรับฟงเทศนาธรรม (นะศิฮัต) หลังละหมาดซุฮรีจากอิมามนําละหมาดเพื่อปรับปรุงอีมาน และฟนฟู บรรยากาศของความรักและความเปนหวงเปนใยในอิสลาม โอวาทที่ 8 : มุงมั่นสูความเปนเลิศ พึงปฏิบัติตามและยึดมั่นตอกฎระเบียบตางๆ ใหเปนไปตามยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัย และดําเนินงานตาม ภาระหนาที่ที่เปยมดวยความรับผิดชอบ (อะมานะฮฺ) มีระเบียบ ประสิทธิภาพและเปนเลิศ โดยอาศัยความขยันหมั่นเพียร ทุมเท กระตือรือรน มี ความตอเนื่อง มุงมั่น ใฝสัมฤทธิ์ และตระหนักในหนาที่ เพราะอัลลอฮฺทรงพอพระทัยทุกกิจการงานที่มีความเปนเลิศและตอเนื่อง พระองคทรงมอบ วัตถุปจจัยตางๆ และทรงตอบแทนตามปริมาณและคุณภาพของงานนั้นๆ ขอใหทุกฝายขอลุแกโทษและสารภาพผิดตออัลลอฮฺใหมากตอการกระทํา ทุกอยางที่นําพาไปสูความลาหลังและความลมเหลว ขอใหกลาวสรรเสริญและกมกราบขอบคุณตออัลลอฮฺในความสําเร็จและความกาวหนาของ กิจการ ขอใหลูกๆนักศึกษาจําไววาลูกๆ กําลังแสวงหาความรู ไขวควาสัจธรรมและรวบรวม วิทยปญญาซึ่งปจจุบันไดอันตรธานหายไปจากการ ครอบครองของบรรดาผูศรัทธา ขอใหลูกๆ ประดับประดาตนเองดวยรัศมีแหงอีมาน ความรูและอะมัลศอลิหฺ เขารวมกิจกรรมตัรบียะฮฺและ กิจกรรมสาธารณประโยชนดวยการยึดมั่นในหลักการฮิจเราะฮฺและสรางจิตสํานึกแหงการเปลี่ยนแปลงสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีมีคุณธรรม ตลอดจนสรรคสรางบุคลิกภาพที่มีความสมดุลทั้งรางกายสติปญญา จิตวิญญาณ อารมณและสังคมเพื่อยกระดับการเปนวะลียที่แทจริงของอัลลอฮฺ โดยผานกระบวนการการเคารพเชื่อฟงที่เปยมลนและการพัฒนาความเชี่ยวชาญในศาสตรตางๆ ตามความถนัดของตนเอง ลูกๆ นักศึกษาตองรูจัก เก็บเกี่ยวประสบการณและความรูเพื่อสรางความเชี่ยวชาญเฉพาะดานนอกจากนี้ลูกๆ นักศึกษาควรตองติดตามขาวสาร และเหตุการณรวมสมัย อยางรูเทาทันและครอบคลุม พรอมตระหนักวาลูกๆคือความหวังของประชาชาติที่คอยขับเคลื่อนสูการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตนที่เต็มไปดวย ความทาทาย โอวาทที่ 9 : อาภรณอันทรงเกียรติ พึงสวมใสอาภรณตามบทบัญญัติของอิสลามที่เนนความสะอาด มีความสงางาม ความพอเพียงและปกปดเอา เราะฮฺไมคลอยตามแฟชั่นญาฮิลียะฮฺ ผูชายไมควรสวมเครื่องแตงกายที่ยาวเลยตาตุม โดยเฉพาะในเวลาละหมาด สําหรับ มุสลิมะฮฺพึงแตงฮิญาบที่ ตรงตามหลักศาสนบัญญัติ ไมสวมใสเสื้อผาที่มีสีฉูดฉาดและเปนที่ดึงดูดความสนใจ ไมใสผาคลุมที่เปดเผยสรีระรางกายและเครื่องประดับตางๆ ไมใส น้ําหอมที่มีกลิ่นฉุน และหลีกเลี่ยงจากการแตงหนา โอวาทที่ 10 : ทํางานเปนทีม ขอใหทุกทานรักษาประกาศ กฎระเบียบ ขอบังคับ และขอกําหนดของมหาวิทยาลัยอยางเครงครัด ตลอดจนให ความสําคัญกับกิจกรรมและคําเชิญชวนของมหาวิทยาลัย? เคารพเชื่อฟงผูนํา ใสใจคําตักเตือน ยึดมั่นหลักการปรึกษาหารือ (ชูรอ) และหลักการ ทํางานรวมกันเปนหมูคณะ (ญะมาอะฮฺ) ใชความวิริยะอุตสาหะ เสียสละเวลาและทรัพยสิน รวมทั้งหมั่น ดุอาเพื่อใหมหาวิทยาลัยและทุกฝายที่ เกี่ยวของประสบผลสําเร็จและรุดกาวไปขางหนาอยางมั่นคง รักษาชื่อเสียงมหาวิทยาลัยทุกวิถีทางตามโอกาสและความสามารถ เชิญชวนและบริการ คนอื่นเพื่อใหการสนับสนุนสาสนมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอยางยิ่งแขกผูมาเยี่ยมมาเยือนและบรรดาเพื่อนบาน ทั้งนี้ เพราะมหาวิทยาลัยคือ ศูนยกลางแหงการนําสังคมและพัฒนาประชาชาติ โอวาทที่ 11 : ใชชีวิตอยางพอเพียง ขอใหทุกทานรักษาความสะอาดเรียบรอย ความสงบและความสวยงามของมหาวิทยาลัยไมวาที่พักอาศัย สํานักงานและอาณาบริเวณ ใชชีวิตอยางพอเพียง ไมสุรุยสุราย โดยเฉพาะการใชจายรายวัน การใชพลังงานไฟฟา น้ํา อาคารตลอดจนอุปกรณและ ครุภัณฑโดยคํานึงถึงความประหยัด ประโยชนและประสิทธิภาพสูงสุดหลีกเลี่ยงพฤติกรรมฟุมเฟอยทั้งทรัพยสินและเวลาของมหาวิทยาลัย โอวาทที่ 12 : คุณภาพชีวิตที่ดี ขอใหทุกทานระมัดระวังความสัมพันธที่หะรอมระหวางชายหญิงอยางเครงครัด โดยเฉพาะการอยูสองตอสอง ระหวางชายหญิง การกระทําซินา และความสัมพันธที่ตองหามทั้งหลาย จงหางไกล ละ เลิกบุหรี่และยาเสพติดทุกประเภทเลี่ยงการบริโภคสิ่งทีห่ ะ รอมไมวาอาหาร เครื่องดื่มเสื้อผาอาภรณและทรัพยสินเงินทองทั้งหลาย จงหางไกลสิ่งอบายมุขทั้งปวง สนับสนุนและเขารวมกิจกรรมตางๆ ที่ เสริมสรางสุขภาพที่ดีและพลานามัยที่สมบูรณแข็งแรงภายใตกรอบคําสอนตามหลักศาสนบัญญัติ และซุนนะฮฺนบีมูฮัมมัด (ขอความสันติจงมีแดทาน) ขอเชิญชวนทุกทานปฏิบัติคุณงามความดี (อะมัลศอลิหฺ) ดวยวิญญาณของการทํางานรวมกันเปนหมูคณะ (ญะมาอะฮฺ) ดวยความบริสุทธิ์ใจ(อิคลาศ) มั่นคงตอเนื่อง(อิสติกอมะฮฺ) บนพื้นฐานโอวาททั้ง 12 ประการนี้ หวังวาอัลลอฮฺ ทรงประทานความพึงพอใจ ความสิริมงคล (บะรอกะฮฺ) ยกระดับ และฐานะพวกเราทั้งในดุนยาและอาคิเราะฮฺ พึงจําไววาเราคือกลุมชนที่อัลลอฮฺไดทรงทําใหเรามีเกียรติสูงสงเหนือกลุมชนอื่นเนื่องจากเรายึดมั่น ศรัทธาในอิสลาม ตราบใดที่เราแสวงหาเกียรติยศ และศักดิ์ศรีดวยแนวทางที่ไมใชอิสลามแลวไซร อัลลอฮฺจะทําใหเราเปนกลุมชนที่ต่ําตอยและไรคุณคา ณ วันที่ 7/6/1430 (1/6/2009)


ประมวลภาพกิจกรรมคณะ (ตอ)

ห น้ า 8

โครงการสายเชือกแหงอิสลาม ตอน อิฟฎอรสัมพันธ วันจันทร ที่ 22 กรกฎาคม 2556 ณ ลานอินทผาลัม คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี จัดโดยสโมสรนักศึกษา (มุสลิมะห) โดยมี บุคลากรและนักศึกษาเขารวมประมาณ 200 คน เพื่อเปน กระชับความสัมพันธและสรางเปนพี่นอง รวมทั้งไดมีการอิฟฎ อร (ละศิลอดรวมกัน)

ดวยงานสงเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากร กลุมงานบริหาร และธุรการ สํานักงานคณะ ไดสงบุคลากร จํานวน 4 ทาน เขา รวมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ ดําเนินกิจกรรมระบบเครือขายสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 7 (27 WUNCA) ระหวางวันที่ 15-17 กรกฎาคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ประกอบดวย นายมูฮัมหมัดรอนี อาแวกาจิ นายคอเลค ลังสารี นางสาวนูรุลฮุสนา อับ ดุลลาตีฟ และนางสาวสุอัยดา บือแน เพื่อใหผุเขารวม การอบรมไดรับความรูและนํามาพัฒนาและตอยอด ความรูใหบุคลากรภายในคณะ ที่สนใจไดรับรูตอไป

ผศ. ดร.ซอบีเราะห การียอ และอาจารยกูซูซานา ยาวออาซัน ไดเขารวมการอบรมเชิงปฏิบัติการนานาชาติ The 4th Khon Kaen MRI School on “Magnetic Resonance Imaging and Spectroscopy” ระหวางวันที่ 13-16 กรกฎาคม 2556 ณ ภาควิชารังสีวิทยา โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน


ห น้ า 9

ข า ว กิ จ ก ร ร ม ที่ กํา ลั ง จ ะ ต า ม ม า

กั นยายน 2013 จ.

อ.

พ.

พฤ.

ศ.

ส.

อา.

1 2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

30

YIU TODAY

26

27

28

29

กํา ห น ด ก า ร ข อ ง กิ จ ก ร ร ม

 วันที่ 2 ก.ย.2556 ขอเชิญคณาจารยเขารวมรับฟงการ ชี้แจงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมิน การปฏิบัติงานของบุคลากรฝายวิชาการของคณะประจํา ภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 ปการศึกษา 2556 ณ หอง ประชุมสัมนาชั้น 4 อาคารคณะวิทยระหวางเวลา 13.30 15.00 น.  วันที่ 9 ก.ย. 2556 ประชุมสาขาวิชา เวลา 13.30-15.00 ณ หองประชุม ชั้น 4 (5-401)  วันที่ 10 ก.ย.2556 อบรมการใชระบบอาจารยที่ปรึกษา ณ หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร (5-303) เวลา 10.00-12.00 น.  วันที่ 19 ก.ย.2556 กําหนดสงขอสอบวันสุดทาย ให สํานักบริการการศึกษา  วันที่ 24 ก.ย.2556 โครงการพบปะอาจารยที่ปรึกษา ครั้งที่ 2 เวลา 10.00-12.00 น. ณ หอประชุมวันมูหะมัด นอร มะทา


ห น้ า 1 0

ประมวลภาพรอบรั้ว YIU ตลอดเดือนรอมาฏอน อันประเสร็จ ป 1434 ฮฺ


27 กันยายน 2556 ครบการกอตั้งคณะ เปนปที่ 10

ห น้ า 1 1

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาเปน สถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแหงแรกใน ประเทศไทย โดยสถาปนาขึ้นเมื่อ ป พ.ศ.2541 ซึ่งมีเจตนาอันแนวแนในการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมที่สอดคลองกับหลักการอิสลาม โดยทําการผลิตบัณฑิตใหมีความรอบรู ศรัทธา และปฏิบัติตามอัล-กุรอาน และสุนนะฮฺ มีคุณธรรม จริยธรรมที่สูงสง มีวิสัยทัศนที่กวางไกล และเปนแบบอยางที่ดีในการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งของ ตนเอง ครอบครัว และสังคม โดยผานกระบวนการศึกษาคนควาหาความรูในสาขาวิชาตาง ๆ ที่วางอยูบนหลักสมดุล ครอบคลุม ตอเนื่อง และบูรณากดวยเหตุนี้ ในการประชุมสภาวิทยาลัยอิสลามยะลา วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2546 ไดมี มติอนุมัติหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) จึงไดจัดตั้ง “คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ชีคกอซิม บิน มุหัมมัด อาล-ษานีย” เพื่อจัดการเรียนการสอน ศึกษาคนควา วิจัย ทางดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ และวิทยาศาสตรสาขาอื่น ๆ ในแขนงวิทยาศาสตรบริสุทธิ์ วิทยาศาสตรบูรณาการ และวิทยาศาสตร ประยุกต โดยตอยอดภูมิปญญาเดิมและสรางความรูใหมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน วิจัยทางวิทยาศาสตร และอื่น ๆ ที่มี ความสอดคลองกับหลักการอิสลาม ในชวงแรกไดจัดตั้งสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรนานาชาติ)เปนสาขาวิชาแรกและสาขาวิชา เดียว และในปการศึกษา พ.ศ.2547 เปนปแรกที่ไดเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) หลักสูตรนานาชาติ ตอมาวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ.2549 ไดจัดตั้งสาขาวิชาวิทยาศาสตร ขึ้นเปนสาขาวิชาที่สองของคณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ในปการศึกษา พ.ศ.2549 เปนปแรกที่ไดเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร) และ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร)หลักสูตรปรับปรุง ในปเดียวกัน ปจจุบัน คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ไดแบงหนวยงานออกเปน 2 สาขาวิชาและ 1 หนวยงาน คือ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาศาสตร และสํานักงานคณะ เปดสอนหลักสูตรในระดับ ปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร) และหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร) หลักสูตรนานาชาติ สําหรับปการศึกษา 2556 ทางคณะ มีหลักสูตร ทั้งหมด 5 หลักสูตร หลักสูตรเกา 2 หลักสูตร 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร มีนักศึกษาอีก 2 รุน 2. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร มีนักศึกษา อีก 3 รุน หลักสูตรใหม 3 หลักสูตร 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554) 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต (หลักสูตรใหม พ.ศ.2554) 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรใหม พ.ศ.2554) ในปการศึกษา 2557 ทางคณะ ไดเสนอเปดหลักสูตรใหม จํานวน 2 หลักสูตร * 1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑฮาลาล (หลักสูตรใหม พ.ศ.2557) 2. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาดาราศาสตรอิสลาม (ป.บัณฑิต) (หลักสูตรใหม พ.ศ.2557) ตลอดระยะเวลาที่กอตั้งคณะ เราไดทําการสอน การวิจัย การบริการวิชาการและการบูรณาการอิสลาม เพื่อให คณะ ดําเนินไปตามวัตถุประสงคแหงการกอตั้ง ถึงแมวาจะเจอปญหาและอุปสรรคมา แตไมไดทําใหคนทํางานหยุดความ พยายาม เราตองการกําลังใจ กําลังกายจากทุกๆคน เพื่อมาชวยกันสรางสถาบันแหงนี้ใหเปนสถาบันของทุกคนและสราง ประโยชนตอลูกหลานเราในอนาคตตอไป อินชาอัลลอฮฺ * อยู่ในช่วงของการพั ฒนาหลั กสู ตร เพือเสนออนุม ั ติจากสภามหาวิทยาลั ย


ปรับพื้นที่สรางลานจอดรถ

ห น้ า 1 2

ตามที่สโมสรนักศึกษาและตัวแทนนักศึกษาไดมีการทําประชาคม เพื่อนําเสนอปญหาและ ขอรองเรียงจากตัวแทนนักศึกษาภายในคณะ เพื่อเสนอใหคณะไดดําเนินการแกไขและปรับปรุง การบริการของคณะ โดยนักศึกษาเสนอใหมีการจัดทําลานจอดรถ เนื่องปจจุบันไมมีพื้นที่เพียงพอ ในการจอดรถ ทําใหมีการจอดรถไมเปนระเบียบ ทางผูบริหารคณะ จึงไดมอบหมายใหงานอาคาร และสถานที่ ดําเนินการปรับพื้นที่รอบคณะ เพื่อสรางลานจอดรถ โดยใชงบประมาณรายไดคณะ เปนเงินจํานวน 36,000 บาท เพื่อบรรเทาความเดือดรอนของนักศึกษา

การประเมินคุณภาพในคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจําปการศึกษา 2555 คณะผูประเมินประกันคุณภาพภายใน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปการศึกษา 2555 โดยมี ผศ.อับดุลนาเซร ฮายีสาเมาะ จากมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา เปนประธาน คณะกรรมการประเมิน ระหวางวันที่ 24-25 กรกฎาคม 2556 ณ หองประชุม ชั้น 4 (5-401) คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ซึ่งมี รองศาสตราจารย นิแวเตะ หะยีวามิง รักษาการคณบดี และผูบริหารของคณะ ใหการ ตอนรับคณะกรรมการ

“อินชาอัลลอฮฺ เราพรอมที่จะสรางชีวิตกอนอาชีพ และเรามั่นใจวา ดวยยุทธศาสตรนี้ เราจะสามารถขับเคลื่อนสังคมไปสูสันติภาพที่แทจริง” ดร.อิสมาอีลลุตฟ จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ นิแวเต๊ะ หะยีวามิง นายซบรี หะยีหมั ด นายอนุว ั ตร วอลี ดร.อิบรอเฮม สือแม นายซอบรี อามาลีนา นายสุไลมาน หะยีสะเอะ

รักษาการคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองคณบดีฝ่ายบริ หารและแผน รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจ ัย รองคณบดีฝ่ายพั ฒนาศั กยภาพนักศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ อาจารย์ ประจํ ากลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ

ผูจัดทํา/ ตรวจทาน นายนิซอยบูลดิน นิเงาะ นางสาวนูรไลลา มูละซอ

หนวยงาน งานประชาสัมพั นธ์ กลุ่มงานบริ หารและธุรการ สํานักงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชีคกอซิม บินมุหัมมั ด อาล-ษานีย ์ มหาวิทยาลั ยอิสลามยะลา

สงขาวสารเพื่อประชาสัมพันธและขอเสนอ งานประชาสัมพันธ กลุมงานบริหารและธุรการ สํานักงานคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีคกอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 135/8 หมูที่ 3 ตําบลเขาตูม อําเภอ ยะรัง จังหวัดปตตานี 94160 โทรศัพท/โทรสาร 0-734-1584 มือถือ 0-8648-0720 EMAIL: sai_fu@yiu.ac.th , fstyiu09@gmail.com https://www.facebook.com/FSTYIU.THAILAND

ในเวลาทําการ (วันอาทิตย -วันพฤหัสบดี เวลา 08.00-16.00) เอกสารนี้จัดทําขึ้น เพื่อการเผยแพรขาวสาร กิจกรรมของหนวยงานตางๆภายในคณะและสโมสรนักศึกษา ทุกๆขอเสนอจะนําไปปรับปรุงในการจัดทําในฉบับตอไป อินชาอัลลอฮฺ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.