คู่มืออิอฺติกาฟ

Page 1

คูมืออิอฺติกาฟ

1. นิยามดานภาษา อิอฺติกาฟ ผันมาจากคําวา “อะกะฟะ” แปลวา “อยูประจํากับสิ่งใด สิ่งหนึ่ง หรือกักขังตัวเองอยูกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไมวาสิ่งนั้นจะดีหรือเลวก็ ตาม”1 ดังคําตรัสของอัลลอฮฺที่วา z KJIHGFE{ “แลวพวกเขาก็มายังกลุมชนหนึ่ง ซึ่งกําลังประจําอยูที่บรรดาเจว็ดของพวก เขา” (อัลอะอฺรอฟ, อายะฮฺที่ 138) และคํากลาวของอิบรอฮีมที่วา z £ ¢ ¡ ~ } | {{ “นี่มันรูปปนอะไรหรือ พวกทานจึงไดกักตัวบูชามัน (อยางไมลดละ)” (อัลอันบิ ยาอ อายะฮฺที่ 52) อิบนุตัยมียะฮฺกลาววา “ตาอฺ” ใน “อิอฺติกาฟ” สื่อความหมายถึงความ เพียรพยายามประเภทหนึ่ง เพราะในการอิอฺติกาฟจะมีความยากลําบาก (ที่ จําเปนตองใชความเพียรพยายาม)”2 อิอฺติกาฟยังมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา “ญิวาร” แปลวา “ใกลชิด” ดัง มีระบุในหลายๆหะดีษดวยกัน3 เพราะผูที่ทํ าอิอฺติ กาฟจะปลีกตั วอยูอยาง 1

เขียนโดย อุษมาน อิดรีส ปาวัง 1

อิบนุฟาริส, มะกอยีส อัลลุเฆาะฮฺ, เลม 4 หนา 108, อิบนุ มันซูร, ลิสาน อัลอะร็อบ, เลม 9 หนา 255, อัลฟยยูมีย, มิศบาหฺ อัลมุนีร, เลม 2 หนา 424 2 ชัรหฺอุมดะตุลอะหฺกาม, เลม 2 หนา 707 3 ดูหะดีษอาอิชะฮฺในเศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2028, 2029, หะดีษอบีสะอีด ในเศาะ หีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2018, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1167, คําพูดของอิบนุอุมัรและอิบนุอับ บาสใน มุศ็อนนัฟอับดุรร็อซซาก, เลม 4 หนา 353, สุนันอัลบัยฮะกีย, เลม 4 หนา 318 2


สันโดษและหางไกลจากสังคม ดวยการอยูใกลชิดกับมัสยิดตลอดเวลา เพื่อทํา การอิบาดะฮฺตออัลลอฮฺและใกลชิดพระองค4 ดังนั้น อิบนุหะญัรจึงกลาววา “ญิวารและอิอฺติกาฟเปนสิ่งเดียวกัน”5 1.2 นิยามดานนิติศาสตร บรรดาฟุเกาะฮาอฺตางมีมติเปนเอกฉันทวา นิยามของอิอฺติกาฟดาน นิติบัญญัตินั้น หมายถึง “การกักตัวอยูในมัสยิดเพื่อการภักดีตออัลลอฮฺ” ถึงแมวาจะมีความแตกตางและเหลื่อมล้ํากันบางในดานสาระปลีกยอยสวน อื่นๆระหวางคํานิยามของแตละฝาย ดังนี้ - หะนะฟย นิยามวา “คือการพักอยูในมัสยิดพรอมกับถือศิลอดและ นิยัตอิอฺติกาฟ”6 - มาลิกีย นิยามวา “คือการที่มุสลิมผูบรรลุศาสนภาวะบังคับตัวเองอยู ในมั สยิ ดที่ อนุ มั ติ ด วยการถื อศิ ลอด พร อมกั บยั บ ยั้ งจากการมี เพศสัมพันธกับภรรยาและบทเริ่มตนของการมีเพศสัมพันธเปนเวลา หนึ่ งวั นกั บหนึ่ งคื นหรื อมากกว านั้ นเพื่ อทํ าการภั กดี ด วยการตั้ ง เจตนา (นิยัต)”7 - ชาฟอีย นิยามวา “คือการพักอยูในมัสยิดของเฉพาะบุคคลดวยการ ตั้งเจตนา”8

4

อัตฏ็อนฏอวีย, อัลอิอฺติกาฟ อะหฺกามุฮุ วะฟะฎออิลุฮุ วะอาดาบุฮุ, หนา 9 ฟตหุลบารีย, เลม 4 หนา 273 6 อัลฮิดายะฮฺ, เลม 2 หนา 390 (พิมพคูกับฟตหุลเกาะดีร) 7 อัชชัรหุลกะบีร ของอัดดัรดีร พรอมเชิงอรรถ, เลม 1 หนา 541 8 มุฆนิลมุหฺตาจญ, เลม 1 หนา 449 3

- หันบะลีย นิยามวา “คือการบังคับตัวเองของมุสลิมผูมีสติสัมปชัญญะ ถึงแมวาจะเปนผูที่บรรลุศาสนภาวะก็ตาม อยูในมัสยิด ถึงแมวาจะ เปนเพียงชวงเวลาหนึ่ง เพื่อการภักดีตออัลลอฮฺดวยลักษณะวิธีที่เปน การเฉพาะ”9 - อิบนุหัซมิน นิยามวา “คือการอยูในมัสยิดดวยเจตนาเพื่อสรางความ ใกลชิดตออัลลอฮฺในชวงเวลาหนึ่งหรือมากกวานั้น ไมวาจะเปนเวลา กลางวันหรือกลางคืนก็ตาม”10 2. หลักฐานดานศาสนบัญญัติ 2.1 หลักฐานจากอัลกุรอาน อัลลอฮฺตรัสวา ÂÁÀ¿¾ ½ ¼»{

zÆ Å ÄÃ “และเราไดสั่งเสียแกอิบรอฮีม และ อิสมาอีลวา เจาทั้งสองจงทําความสะอาด บานของขา เพื่อบรรดาผูทําการเฏาะวาป และบรรดาผูทําอิอฺติกาฟ และบรรดา ผูที่ทํารุกัวะและสุูด” (อัลบะเกาะเราะฮฺ, อายะฮฺที่ 187) z |{ z y x w v { “ละพวกเจาจงอยารวมหลับนอนกับพวกนางขณะที่พวกเจากําลังพํานักกักตัว (อิอฺติกาฟ) อยูในมัสยิด” (อัลบะเกาะเราะฮฺ, อายะฮฺที่ 187)

5

9

มุนตะฮาอัลอิรอดาต, เลม 1 หนา 167 อัลมุหัลลา, เลม 5 หนา 175

10

4


อัลสิร็อคสียืกลาววา “ที่มาแหงบัญญัติอิอฺตาฟคือการที่อัลลอฮฺทรง พาดพิงการอิอฺติกาฟยังมัสยิดอันเปนสถานที่เฉพาะสําหรับการอิบาดะฮฺ และ ทรงสั่งใหละทิ้งจากการรวมหลับนอนกับภรรยาเพื่อการนั้น นี่คือหลักฐานที่ แสดงใหเห็นวาอิอฺติกาฟเปนอิบาดะฮฺและการภักดีตออัลลอฮฺอยางหนึ่ง”11 2.2 หลักฐานจากสุนนะฮฺ สวนหลักฐานจากสุนนะฮฺคือการปฏิบัติอยางตอเนื่องของทานนบี  โดยไมเคยละทิ้งเลยตลอดชวงชีวิตของทาน อิบนุอะมัรเลาวา ‫اﻟﻌﴩ اﻷﹶ ﹺ ﹺ‬ ‫ﻛﺎﻥ ﹶ ﹸ ﹸ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫)) ﹶ ﹶ‬ ((‫رﻣﻀﺎﻥ‬ ‫ ﹶ ﹾ ﹶ ﹺ ﹸ‬ ‫رﺳﻮﻝ اﷲﱠﹺ‬ ‫ﻭاﺧﺮ ﹾ‬ ‫ﻳﻌﺘﻜﻒ ﹾ ﹶ ﹾ ﹶ ﹶ ﹶ‬

“ทานรสูลุลลอฮฺ  จะทําการอิอฺติกาฟในสิบวันสุดทายของเดือนรอมฎอน”12 อาอิชะฮฺเลาวา ‫اﻟﻌﴩ ﹶ ﹺ ﹺ‬ ‫)) ﹶ ﱠ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫ ﹶ ﹶ‬ ‫اﻟﻨﺒﻲ‬ ‫ﺣﺘﻰ‬ ‫ﻛﺎﻥ ﹶ ﹾ ﹶ ﹺ ﹸ‬ ‫رﻣﻀﺎﻥ ﹶ ﱠ‬ ‫اﻷﻭاﺧﺮ ﹾ‬ ‫أﻥ ﱠ ﹺ ﱠ‬ ‫ﻳﻌﺘﻜﻒ ﹾ ﹶ ﹾ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫اﻋﺘﻜﻒ ﹶ ﹾأزﻭاﺟﻪ ﹺﻣﻦ ﹺ ﹺ‬ ((‫ﺑﻌﺪﻩ‬ ‫ﺛﻢ ﹾ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ ﹸ ﹸ ﹾ ﹶ ﹾ‬ ‫ﹶﹶﱠ ﹸ‬ ‫ﺗﻮﻓﺎﻩ اﷲﹸ ﹸ ﱠ‬

“ท านรสู ลุ ลลอฮฺ  จะทํ าอิ อฺ ติ กาฟในสิ บวั นสุ ดท ายของเดื อนรอมฎอน จนกระทั่งทานเสียชีวิต หลังจากที่ทานไดจากไปแลว บรรดาภรรยาของทาน ยังคงดํารงการอิอฺติกาฟตอไป”13 อบูสะอีดเลาวา ‫اﻟﻌﴩ ﹾ ﹶ ﹶ ﹺ‬ ‫إﻥ ﹶ ﹸ ﹶ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫)) ﹺ ﱠ‬ ((...‫رﻣﻀﺎﻥ‬ ‫ ﹾ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫رﺳﻮﻝ اﷲﱠﹺ‬ ‫اﻷﻭﻝ ﹾ‬ ‫اﻋﺘﻜﻒ ﹾ ﹶ ﹾ ﹶ ﱠ‬ 11

อัลสิร็อคสีย, อัลมับสูฏ, เลม 3 หนา 114 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2025, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1171 13 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2026, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 2018 5 12

“แทจริงทานรสูลุลลอฮฺ  จะทําอิอฺติกาฟในสิบวันแรกของเดือนรอมฎอน...”14 กอฎี ยอิยาฎกล าววา “หะดี ษตางๆเหลานี้แสดงถึงการอนุญาตให ทําอิอฺติกาฟในเดือนรอมฎอน และเชาวาล และสามารถอุปมาน (กิยาส) กับ เดือนอื่นๆ และอนุญาตทั้งชวงแรกของเดือน ชวงกลาง และชวงสุดทาย เพราะ มีแบบอยางการปฏิบัติของทานนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมดังกลาว”15 อิบนุอับดิลบัรกลาววา “หะดีษเศาะหีหฺบทนี้เปนหลักฐานวาอิอฺติกาฟ ในเดือนรอมฏอนเปนสุนนะฮฺที่มีแบบอยาง เพราะทารสูลุลลอฮฺ  ไดทําอิอฺติ กาฟในเดือนรอมฎอน และไดกระทํามันเปนประจํา และสิ่งใดที่ทานกระทําเปน เปนประจํายอมเปนสุนนะฮฺสําหรับประชาชาติของทานดวย”16 อิบนุลมุลักกินกลาววา “หะดีษนี้บงบอกวาสงเสริม (อิสติหฺบาบ) ใหมี การอิอฺติกาฟ และเนนหนัก (ตะอฺกีด) เพราะนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได ปฏิบัติอยางตอเนื่องจนกระทั่งทานเสียชีวิต”17 2.3 อิจญมาอฺอุละมาอฺ บรรดาอุ ละมาอฺ มี มติ เป นเอกฉั นท ว าการอิ อฺ ติ กาฟเป นสุ นนะฮฺ ที่ สงเสริมใหปฏิบัติ และไมเปนวาญิบบนผูใด นอกจากเขาผูนั้นจะนําตัวเองไป อยูในขายของผูที่วาญิบตองปฏิบัติ เชนการใหปฏิญาณบนบานตออัลลอฮฺ (นะซัร) เปนตน ดังนั้น การอิอฺติกาฟจึงเปนวาญิบบนตัวเขา18 14

เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2018, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1167 อิกมาล อัลมุอฺลิม, เลม 4 หนา 151 16 อัลตัมฮีด, เลม 23 หนา 52 17 อัลอิอฺลาม บิฟะวาอิด อุมดะตุลอะหฺกาม, เลม 5 หนา 428 18 อัลอิจญมาอฺ ของอิบนุลมุนซิร, หนา 53, มะรอติบอัลอิจญมาอฺ ของอิบนุหัซมิน, หนา 41, อัลมัจญมูอฺ ของอันนะวะวีย, เลม 6 หนา 407, อัลตัมฮีด ของอิบนุอับดิลบัร เลม 23 6 15


3. เปาหมายและประโยชนของการอิอฺติกาฟ อิอฺติกาฟเปนอิบาดะฮฺที่ทรงคุณคาและประเสริฐสุดประเภทหนึ่ง ที่อัลลอฮฺไดบัญญัติไว และไดรับการปฏิบัติเปนแบบอยางโดยทารสูลุลลอฮฺ  อยางตอเนื่องจวบจนวาระสุดทายของชีวิต การอิอฺติกาฟเปนการมอบหมายตัวเองตออัลลอฮฺ และทําจิตใจให วางเปลาและปลอดโปรงจากเรื่องทางโลก โดยการกักตัวเองอยูแตในมัสยิด และปลีกตัวออกจากความตรากตรําทางกายและจิตใจดวยการประกอบอิบา ดะฮฺตางๆอยางเต็มรูปแบบและจริงจังเพื่อขัดเกลาจิตใจและขออัภัยโทษตอ พระองค อะฏออ บิน มุสลิม อัลคุรอสานีย (ต.135 ฮ.ศ.) ไดเปรียบเทียบ เปาหมายของการอิอฺติกาฟวา “อุปมาของผูทําอิอฺติกาฟอุปมัยดังผูที่นําพา ตัวเองไปอยูตอหนาอัลลอฮฺ หรืออุมัยดังชายผูหนึ่งที่จําเปนตองพึ่งพาผูมี บารมี แลวเขาก็ไปนั่งลงหนาประตูบานของผูมีบารมีทานนั้น และกลาววา “ฉันจะไมจากไปจนกวาทานจะจัดการใหลุลวงในสิ่งที่ฉันปรารถนา” ผูทําอิอฺ ติกาฟก็เชนเดียวกัน เขาจะนั่งลงในบานของอัลลอฮฺ แลวกลาววา “ฉันจะไม จากไปจนกวาฉันจะไดรับการอภัยโทษจากพระองค”19 อิ บนุ เราะญั บกล าววา “แท จริ ง เหตุ ที่ ทานนบี ศ็ อลลั ลลอฮุ อะลั ยฮิ วะสัลลัม ทําอิอฺติกาฟในสิบวัน (สุดท ายของเดือนรอมฎอน) นี้ ซึ่งเปนคื น ต างๆที่ ท านพยายามเสาะหาคื นอั ลก็ อดรฺ ก็ เพื่ อตั ดขาดจากการงานและ ภารกิจตางๆ เพื่อทําจิตใจใหวางเปลาและปลอดโปรง (จากความเหนื่อยลา

หนา 52, อัลมุฆนีย ของอิบนุกุดามะฮฺ, เลม 4 หนา 456, อัลอิฟศอหฺ ของอิบนุหุบัยเราะฮฺ, เลม 1 หนา 255, บิดายะฮฺ อัลมุจญตะฮิด ของอิบนุรุชดิ, เลม 1 หนา 312 19 ดู อัลมับสูฏ, เลม 3หนา 115, อัลบะดาอิอฺ, เลม 1หนา 163 7

และวุนวายทั้งหลาย) และเพื่อปลีกตัวสูการพักพิงและใกลชิดอัลลอฮฺ กลาว รําลึกถึงพระองค และออนวอนรองขอ (ความคุมครอง) ตอพระองค”20 อิบนุก็อยยิม กลาววา “เนื่องจากวาความมีสุขภาพดีอยางตอเนื่อง ของจิตใจในแนวทางสูอัลลอฮฺนั้น ขึ้นอยูกับการเขาสมาคมกับอัลลอฮฺ และ รวบรวม (สมาธิและความฟุงซานตางๆ) ที่กระจัดกระจายใหเปนหนึ่งเดียวเพื่อ จะไดหันหนาเขาหาอัลลอฮฺอยางเต็มรูปแบบ เพราะความฟุงซานและกระจัด กระจายของจิตใจไมสามารถรวบรวมใหเปนหนึ่งไดนอกจากดวยการมุงหนา เขาหาอัลลอฮฺเทานั้น การหมกมุนอยูกับอาหารและเครื่องดื่ม การคลุกคลีกับ ผูคนมากเกินไป การพูดจาที่มากมายและการนอนอยางเต็มอิ่ม เปนสวนหนึ่ง ที่จะทําใหเกิดการสับสนและฟุงซานของจิตใจ ทําใหมันกระจัดกระจายไปทั่ว ทุกหนแหง และทําใหเขาตัดขาดจาก (การภักดีตอ) อัลลอฮฺ หรือทําใหออนแอ ลง หรือมาสกัดกั้น หรือสรางความยุงยากในการทําการภักดี ดังนั้นดวยความ เมตตากรุณาของพระผูทรงอํานาจที่มีตอปวงบาวของพระองค จึงไดบัญญัติ ใหมีการถือศีลอดแกพวกเขา ทําใหความเลยเถิดของการกินดื่มไดอันตระทาน หายไป...และไดบัญญัติใหพวกเขามีทําการอิอฺติกาฟ ซึ่งเปาหมายและจิต วิญญาณของมันคือ การทําใหจิตใจหมกมุนและสมาคมอยูกับอัลลอฮฺ ตลอดเวลา และตัดขาดจากกิจกรรมตางๆดานสังคมโดยสิ้นเชิง ขณะเดียวกัน ก็นึกคิดวาจะทําออยางไรใหไดมาซึ่งความโปรดปราน ความผูกพัน และความ ใกลชิดตอพระองค แทนความสนิทสนุมที่มีตอเพื่อนมนุษย นี่คือเปาหมาย และจิตวิญญาณที่ยิ่งใหญของการอิอฺติกาฟ”21

20 21

ละฏออิฟ อัลมะอาริฟ, หนา 288 ซาดุลมะอาด, เลม 2 หนา 86-87 8


4. ความประเสริฐของการอิอฺติกาฟ การกลาวถึงของอัลกุรอาน การปฏิบัติอยางตอเนื่องของทานนบี  และการสงเสริมของทานใหบรรดาเศาะหาบะฮฺรวมกันทําอิอฺติกาฟพรอมกับ ทาน เปนการตอกย้ําถึงความประเสริฐและความมีสถานะที่สูงสงของกิจกรรม อิอฺติกาฟอยางปฏิเสธไมได แตอาจจะมีคนถามวา “มีหะดีษหรือหลักฐานใดบางที่บงบอกอยางชัดเจนถึงความประเสริฐ และผลบุญของการทําอิอฺติกาฟ?” คําตอบคือ ถึงแมวาจะมีหะดีษมากมายที่กลาวถึงการอิอฺติกาฟ แต กลับไมมีหะดีษบทใดเลยที่พอจะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับอางอิงถึงความ ประเสริฐของการอิอฺติกาฟ อบูดาวูดไดถามอิหมามอะหมัดวา “ทานรูจักหะดีษเกี่ยวกับความ ประเสริฐของการอิอฺติกาฟบางไหม?” อิหมามอะหมัดตอบวา “ไมเลย นอกจาก นิดหนอยที่มีแตหะดีษออน”22 สวนหนึ่งของหะดีษที่ระบุถึงความประเสริฐของการทําอิอฺติกาฟคือ 1. อิบนุอับบาสเลาวา ทานนบี  กลาวแกผูอิอฺติกาฟวา ‫ﻛﻌﺎﻣﻞ ﹾ ﹶ ﹺ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﻭﳚﺮ￯ ﹶﻟﻪ ﹺﻣﻦ ﹾ ﹶ ﹺ‬ ((‫ﻛﻠﻬﺎ‬ ‫ﻫﻮ ﹶ ﹾ ﹺ ﹸ‬ ‫اﳊﺴﻨﺎت ﹸ ﱢ ﹶ‬ ‫ﻳﻌﻜﻒ ﱡ ﹸ ﹶ‬ ‫)) ﹸ ﹶ‬ ‫اﳊﺴﻨﺎت ﹶ ﹶ ﹺ ﹶ ﹶ‬ ‫ ﹶ ﹸ ﹾ ﹶ ﹸ ﹾ ﹶ ﹶ‬,‫اﻟﺬﻧﻮب‬

“ผูอิอฺติกาฟกําลังยับยั้งบาปตางๆ และความดีตางๆไดถูกดําเนินการสําหรับ เขา เสมือนกับผูที่ปฏิบัติความดีตางๆทั้งหมด”23

‫ﲔ اﻟﻨﱠﹺﺎر‬ ‫اﻋﹶﺘﹶﻜ ﹶ‬ ‫ﻒ ﹶﻳﹾﻮﹰﻣﺎ ﹾاﺑﺘﹺﹶﻐﹶﺎء ﹶﻭﹾﺟﹺﻪ اﷲﹺ ﹶﺟﹶﻌﹶﻞ اﷲﹸ ﹶﺑﹾﻴﻨﹶﹸﻪ ﹶﻭﹶﺑ ﹾ ﹶ‬ ‫))ﹶﻣﹾﻦ ﹾ‬ ‫ث ﹶﺧﻨﹶ ﹺ‬ ‫اﳋﺎﻓﹺﹶﻘ ﹾ ﹺ‬ ‫ﻼ ﹶ‬ ‫ﹶﺛ ﹶ‬ ((‫ﲔ‬ ‫ﺎدﹶﻕ ﹶأﹾﺑﹶﻌﹸﺪ ﹺﳑ ﱠﺎ ﹶﺑ ﹾ ﹶ‬ ‫ﲔ ﹾﹶ‬

“ผูใดทําอิอฺติกาฟหนึ่งวันเพื่อหวังความโปรดปรานจากอัลลอฮฺ อัลลอฮฺจะทรง กั้น (กําแพง) ระหวางเขากับไฟนรกสามสนามเพลาะซึ่งมีระยะหางยิ่งกวา ระหวางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก”24 3. อาอิชะฮฺเลาวา นบี  กลาววา ((‫اﺣﺘﹺﹶﺴﹰﺎﺑﺎ ﹸﻏﹺﻔﹶﺮ ﹶﻟﹸﻪ ﹶﻣﺎ ﹶﺗﹶﻘﱠﺪﹶﻡ ﹺﻣﹾﻦ ﹶذﹾﻧﺒﹺﹺﻪ‬ ‫اﻋﹶﺘﹶﻜ ﹶ‬ ‫))ﹶﻣﹾﻦ ﹾ‬ ‫ﻒ إﹺﹾﻳﹶﲈﹰﻧﺎ ﹶﻭ ﹾ‬

“ผูใดอิอฺติกาฟ (ในสิบวันสุดทายของเดือนรอมฎอน) ดวยเปยมศรัทธาและหวัง ในผลบุญ เขาจะไดรับการอภัยโทษจากความผิดบาปที่ผานมา25” 4. หุเสน บิน อะลีเลาวา นบี  กลาววา ‫ﲔ ﹶﻭﹸﻋﹾﻤﹶﺮﹶﺗ ﹾ ﹺ‬ ‫ﺎﻥ ﹶﻛﹶﺤﱠﺠﹶﺘ ﹾ ﹺ‬ ‫ﺎﻥ ﹶﻛ ﹶ‬ ‫ﴩا ﹺﰲ ﹶرﹶﻣﹶﻀ ﹶ‬ ((‫ﲔ‬ ‫اﻋﹶﺘﹶﻜ ﹶ‬ ‫))ﹶﻣﹾﻦ ﹾ‬ ‫ﻒ ﹶﻋ ﹾ ﹰ‬

“ผูใดทําอิอฺติกาฟสิบวันในเดือนรอมฎอน เขาจะไดรับผลบุญเทากับทําหัจญ สองครั้งละอุมเราะฮฺอีกสองครั้ง”26

5. อบูอัดดัรดะฮฺเลาววา นบี  กลาววา

2. อิบนุอับบาสเลาวา นบีศ็อลลัลลออุอะลัยฮิวะสัลลัม กลาววา 24 22

มะสาอิล อบีดาวูด, หนา 96 เฎาะอีฟ, สุนันอิบนุมาญะฮฺ, เลขที่ 1781, ชุอะบุลอีมานของอัลบัยฮะกีย, เลม 3 หนา 523 (ดู มิชกาตอัซซุญาญะฮฺของอัลบูศีรีย, เลม 2 หนา 45) 9

23

เฎาะอีฟ, อัตเฏาะบะรอนีย, อัลหากิม, อัลบัยฮะกีย (อัลสัลสะละฮฺ อัดเฎาะอีฟะ, เลขที่ 5345) 25 เฎาะอีฟ, อัดดัยละมีย, (อัลสิลสิละฮฺ อัดเฎาะอีฟะฮฺ, เลขที่ 5442) 26 เมาฎอฺ, อัลบัยฮะกียในชุอะบุลอีมาน, (อัลสัลสะละฮฺ อัดเฎาะอีฟะ, เลขที่ 518) 10


‫ﻒ ﹶﻟﹾﻴﹶﻠﹶﺘ ﹾ ﹺ‬ ‫ﻒ ﹶﻟﹾﻴﹶﻠﹰﺔ ﹶﻛ ﹶ‬ ‫ﲔ‬ ‫اﻋﹶﺘﹶﻜ ﹶ‬ ‫اﻋﹶﺘﹶﻜ ﹶ‬ ‫ ﹶﻭﹶﻣﹾﻦ ﹾ‬,‫ﺎﻥ ﹶﻟﹸﻪ ﹶﻛﹶﺄﹾﺟﹺﺮ ﹸﻋﹾﻤﹶﺮﹴة‬ ‫))ﹶﻣﹾﻦ ﹾ‬ ‫ﹶﻛﺎﹶﻥ ﹶﻟﹸﻪ ﹶﻛﹶﺄﹾﺟﹺﺮ ﹸﻋﹾﻤﹶﺮﹶﺗ ﹾ ﹺ‬ ((...‫ﲔ‬ “ผูใดทําอิอฺติกาฟหนึ่งคืน เขาจะไดรับผลบุญเทากับทําอุมเราะฮฺหนึ่งครั้ง และ ผูใดทําอิอฺติกาฟสองคืน เขาจะไดรับผลบุญเทากับทําอุมเราะฮฺสองครั้ง...”27 5. บัญญัติ (หุกม) การอิอฺติกาฟ 5.1 หุกมการอิอฺติกาฟสําหรับผูชาย อุละมาอฺมีมติเห็นพองกันวา “ อิอฺติกาฟ ” เปนอิบาดะฮฺที่สุนัตไมใช วาญิบ นอกจากในกรณีที่มีการนะซัร (บนบาน) ไววาจะทําการอิอฺติกาฟ จึงจะ กลายเปนวาญิบบนผูบนบานคนนั้นที่จะตองปฏิบัต28ิ อาอิชะฮฺเลาจากทานนบี  กลาววา ‫))ﹶﻣﹾﻦ ﹶﻧﹶﺬﹶر ﹶأﹾﻥ ﹸﻳﻄﹺﹾﻴﹶﻊ اﷲﹶ ﹶﻓﹾﻠﹸﻴﻄﹺﹾﻌﹸﻪ ﹶﻭﹶﻣﹾﻦ ﹶﻧﹶﺬﹶر ﹶأﹾﻥ ﹶﻳﹾﻌﹺﺼﹶﻴﹸﻪ ﹶﻓ ﹶ‬ ((‫ﻼ ﹶﻳﹾﻌﹺﺼﹺﻪ‬

“ผูใดบนบานวาจะภักดีตออัลลอฮฺ เขาจงทําการภักดีนั้นเสีย และผูใดบนบาน วาจะฝาฝนตอพระองค ก็จงอยาฝาฝน”29 และสงเสริมพรอมทั้งเนนหนัก (สุนัตมุอักกะดะฮฺ) ในสิบวันสุดทาย ของเดือนรอมฎอนเพื่อแสวงหาคืนอัลก็อดรฺ30

อิหมามอะหมัดกลาววา “ฉันไมทราบวามีอุละมาอฺทานใดไมเห็นดวย วาการอิอฺติกาฟเปนสิ่งสุนัต”31 5.2 หุกมการอิอฺติกาฟสําหรับสตรี อุ ละมาอฺ ส วนใหญ มี ทั ศนะว าการอิ อฺ ติ กาฟเป นสุ นั ตสํ าหรั บสตรี เชนเดียวกับผูชาย32 เพราะหลักฐานที่สงเสริมใหมีการอิอฺติกาฟครอบคลุมทั้ง ชายและหญิง33 ผนวกกั บหะดี ษ อาอิ ชะฮฺ ที่ ระบุ ว าท านนบี ศ็ อลลั ลลอฮุ อะลั ยฮิ วะสัลลัมไดอนุญาตใหนางและหัฟเศาะฮฺรวมอิอฺติกาฟ34 6. เงื่อนไขของการอิอฺติกาฟ ดังที่ไดกลาวมาแลวในความหมายดานนิติศาสตรของอิอฺติกาฟวา อุ ละมาอฺมีความขัดแยงเนื่องจากมุมมองที่แตกตางกันในดานเงื่อนไขปลีกยอย ขององคประกอบการอิอฺติกาฟ ดังรายละเอียดตอไปนี้ 6.1 เปนมุสลิม ผูทําอิอฺติกาฟตองอยูในสภาพของความเปนมุสลิมเทานั้นจึงจะถือ วาการอิอฺติกาฟของเขาใชได เพราะอัลลอฮฺจะไมทรงรับการอิบาดะฮฺของผู ปฏิเสธศรัทธา (กาฟร) หรือผูที่ตกศาสนา (มุรตัด) 31

27

เฎาะอีฟ, อิบนุตัยมิยะฮฺระบุในชัรหฺกิตาบอัสศิยามมินอุมดะตุลอะฮฺกาม, เลม 2 หนา 712 28 อัลอิจญมาอฺ ของอิบนุลมุนซิร, หนา 47 29 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 6696 30 อัลมัจญมูอฺ, เลม 6 หนา 501 11

มะสาอิลอิหมามอะหมัด, หนา 97 อัลมับสูฏ, เลม 3 หนา 119, อัลมุเดาวะนะฮฺอัลกุบรอว, เลม 1 หนา 200 พิมพคูกับมุก็ อดดิมาตอิบนุรุชดิ, มุฆนีอัลมุหฺตาจญ, เลม 1 หนา 451, อัลมุบดิอฺ, เลม 3 หนา 65, อัลมุ หัลลา, เลม 5 หนา 175 33 กลับไปดูหลักฐานจากสุนนะฮฺ หนา 34 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2041, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1173 12 32


พระองคตรัสวา zº¹¸¶µ´³²±°¯{ “ไมมีสิ่งใดขัดขวางพวกเขา ไมใหสิ่งบริจาคตางๆของพวกเขาถูกรับ นอกเสีย จากวา พวกเขาปฏิเสธศรัทธาตออัลลอฮฺ และตอรสูลของพระองคเทานั้น” (อัต เตาบะฮฺ, อายะฮฺที่ 54) 6.2 มีสติสัมปชัญญะที่ครบสมบูรณ 6.3 มีอายุในวัยที่รูสึกรับผิดชอบ (มุมัยยิซ) ผูทําอิอฺติกาฟตองอยูในสภาพที่มีสติสัมปชัญญะที่ครบสมบูรณ จึงจะ ถือวาอิบาดะฮฺการอิอฺติกาฟของเขาใชได ไมใชผูที่อยูในสภาพที่วิกลจริต ไม รูสึกตัว มึนเมา หรือขาดสติ และถาเปนเด็กตองอยูในวัยที่รูสึกรับผิดชอบแลว ดังนั้นการอิอฺติ กาฟของเด็กที่ยั งไมสามารถแยกแยะและรูสึกรับผิดชอบจึงถือวาใช ไมได เพราะพวกเขาเหลานี้ไมอยูในสภาพของผูที่สามารถตั้งเจตนา (เนียต) สําหรับ การประกอบอิบาดะฮฺ ทานนบี  กลาววา ‫ﻼ ﹴ‬ ‫))ﹸرﻓﹺﹶﻊ ﹾاﻟﹶﻘﹶﻠﹸﻢ ﹶﻋﹾﻦ ﹶﺛ ﹶ‬ ‫ ﹶﻭﹶﻋﹺﻦ‬,‫ ﹶﻋﹺﻦ اﻟﻨﱠﹺﺎﺋﹺﻢ ﹶﺣﱠﺘﻰ ﹶﻳﹾﺴﹶﺘﹾﻴﹺﻘﹶﻆ‬:‫ث‬ ((‫ ﹶﻭﹶﻋﹺﻦ ﹾﹶاﳌﹾﺠﻨﹸﹾﻮﹺﻥ ﹶﺣﱠﺘﻰ ﹶﻳﹾﻌﹺﻘﹶﻞ‬,‫ﳛﹶﺘﹺﻠﹶﻢ‬ ‫ﱠ‬ ‫اﻟﺼﺒﹺﱢﻲ ﹶﺣﱠﺘﻰ ﹶ ﹾ‬

“ปากกาจะถูกยก (จะไมมีการบันทึกความดีและความชั่ว) จาก (การกระทําของ) คนสามประเภท คื อ ผู ที่ นอนหลั บจนกว าเขาจะตื่ น เด็ กน อยจนกว าเขาจะ บรรลุศาสนภาวะ และผูที่วิกลจริตจนกวาสติสมัปชัญญะของเขาจะกลับคืนมา”35

35

มุสนัดอะหมัด, เลม 6 หนา 101, สุนันอบูดาวูด, เลขที่ 4398, สุนันอันนะสาอีย, เลขที่ 3432 13

อนึ่ งการกํ าหนดว าเด็ กต องมี อายุ เ ท าไหร จึ งจะเข าข ายวั ยที่ มี ความรู สึ กรั บผิดชอบนั้ น อิ หมามอันนะวะวีย กล าวว า “ที่ ถู กต องเกี่ยวกั บ สภาพที่แทจริงของเด็กที่ (อยูในวัยที่) สามารถรับผิดชอบ (มุมัยยิซ) คือ เด็ก ที่ฟงเขาใจ และสามารถตอบคําถามไดดี และเขาใจเปาหมายของคําพูด โดย ไมมีการกําหนดอายุแบบตายตัว (วาตองมีอายุตั้งแต 7 ขวบขึ้นไป หรืออื่นๆ) แตจะมีความแตกตางตามความแตกตางของความเขาใจ (สมอง)”36 อัลอะดะวียกลาวเพิ่มเติมวา “หมายความวา ถามีใครพูดคุยเกี่ยวกับ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ผูมีสติปญญาทั่วไปสามารถเขาใจ เขาก็จะเขาใจและสามารถ โตตอบไดเปนอยางดี ไมใช (เพียงแค) วา เมื่อมีคนเรียกเขาก็ตอบรับ”37 เงื่อนไขทั้งสามขอขางตนเปนเงื่อนไขที่อุละมาอฺมีมติเห็นพองอยาง เป นเอกฉั นท ว า การอิ อฺ ติ กาฟจะไม ถู กรั บและใช ไม ได ถ าหากปราศจาก เงื่อนไขขอใดขอหนึ่งที่กลาวขางตน38 6.4 ปลอดจากหะดัษใหญ อุละมาอฺสวนใหญมีทัศนะวาไมอนุญาต (หะรอม) ใหผูที่อยูในหะดัษใหญ (มีญะนาบะฮฺ มีประจําเดือน และนิฟาส) ทําอิอฺติกาฟในมัสยิด และถือวาการอิอฺติ

36

อัลมัจญมูอฺ เลม 7 หนา 23 หาชิยะฮฺ อัลอะดะวีย เลม 1 หนา 584 38 บะดาอิอฺอัสเศาะนาอิอฺ, เลม 2 หนา 108, ตับยีนอัลหะกออิก, เลม 1 หนา 348, ญะวาฮิร อัลอิกลีล, เลม 1 หนา 156, อัลมัจญมูอฺ, เลม 6 หนา 501, เราเฎาะฮฺอัตฏอลิบีน, เลม 2 หนา 396, มุฆนีอัลมุหฺตาจญ, เลม 2 หนา 454, อัลมุบดิอฺ, เลม 3 หนา 63, ฆอยะฮฺอัลมุน ตะฮา, ลเม 1 หนา 364, มานะรุสสะบีล, เลม 1 หนา 232 14 37


กาฟของเขาใชไมได39 นอกจากมัซฮับซอฮิรียเทานั้นที่มีทัศนะวาอนุญาตใหผทู มี่ ี หะดัษใหญทําอิอฺติกาฟในมัสยิด และการอิอฺติกาฟของเขาใชได40 อุละมาอฺสวนใหญอางหลักฐานจากคําตรัสของอัลลอฮฺที่วา {zy xwvuts{

z¦¥¤£¢¡ ~}|

“โอผูศรัทธาทั้งหลาย! พวกเจาจงอยาเขาใกลการละหมาด ขณะที่พวกเจา กําลังมันเมาอยู จนกวาพวกเจาจะรูสึกตัวในสิ่งที่พวกเจาพูดออกมา และจง อยาเขาใกล (สถานที่ละหมาด) ขณะที่อยูในญะนาบะฮฺ นอกจากผูที่ผานทาง ไปเทานั้น จนกวาพวกเจาจะอาบน้ํา” (อันนิสาอฺ, อายะฮฺที่ 43) อิหมามอัชชาฟอียกลาววา “อุละมาอฺดานอัลกุรอานบางทานกลาววา ความหมายของมันคือ พวกเจาจงอยาเขาใกลสถานที่ละหมาด... เพราะในการ ละหมาดจะไมมีการเดินผานทาง แทจริงเสนทางนั้นอยูในสถานที่ของมันอยู แลว นั่นคือมัสยิด”41 สวนมัซฮับซอฮิรียไดอางหลักฐานจากหะดีษอาอิชะฮฺที่เลาวา “สาว ใชของเสาดะฮฺเปนทาสีของหมูบานชาวอาหรับแหงหนึ่ง ตอมาพวกเขาได ปลอยนางใหเปนอิสระ แลวนางก็เดินทางมาพบทานรสูลุลลอฮฺ  และเขารับ อิสลาม นางจะมีเต็นทเล็กๆหรือหองเล็กๆอยูในมัสยิด”42

อิบนุหัซมินกลาววา “ผูหญิงทานนี้ไดอาศัยอยูในมัสยิดของทานนบี และเปนที่รูกันวาสตรีนั้นยอมมีประจําเดือน ถึงกระนั้นนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัมก็ไมไดกีดกันและหามนางอาศัยอยูในมัสยิด ดังนั้นทุกๆสิ่งที่ทาน ไมไดหามยอมเปนสิ่งที่อนุมัติ (ในศาสนา)”43 สวนหะดัษเล็กนั้น อิบนุตัยมิยะฮฺระบุวา “ไมวาญิบตองอยูในสภาพที่ ปลอดจากหะดัษเล็กสําหรับผูทําอิอฺติกาฟอยางเปนเอกฉันทในหมูชาวมุสลิ มีน”44 วัลลอฮุอะอฺลัม 6.5 สตรีตองไดรับอนุญาตจากสามี อุละมาอฺมีมติเห็นพองกันวาการอิอฺติกาฟของสตรีใชได45 โดยยึด หลั กฐานจากหะดี ษอาอิ ชะฮฺ ที่ วา “นางได ขออนุ ญาตทํ าการอิอฺ ติ กาฟจาก ทานนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ดังนั้นทานนบีอนุญาตใหแกนาง...”46 และความหมายโดยรวมจากหลักฐานอื่นๆดังที่ไดกลาวมาแลว เพียงแตวา ไม อนุญาตใหภรรยาทําการอิอฺติกาฟ นอกจากดวยการยินยอมของสามีเทานั้น อิบนุลมุนซิรกลาววา “หะดีษอาอิชะฮฺขางตนเปนหลักฐานที่บงบอกวา 1. อนุญาตใหสตรีทําอิอฺติกาฟ เพราะนบี  ไดอนุ ญาตใหอาอิชะฮฺ และหัฟเศาะฮฺทําอิอตฺ ิกาฟ 2. เมื่อสตรีประสงคจะทําอิอฺติกาฟ นางไมควรทําอิอฺติกาฟจนกวาจะ ไดรับอนุญาตจากสามีเสียกอน

39

หะชิยะฮฺอิบนุอาบิดีน, เลม 2 หนา 442, อัชชัรหฺอัสเศาะฆีร, เลม 2 หนา 290, อัลมัจญ มูอฺ, เลม 6 หนา 519, อัชชัรหฺอัลกะบีร, เลม 7 หนา 605 พิมพคูกับอัลอินศอฟ, มัจญ มูอฺอัลฟะตาวียของอิบนุตัยมิยะฮฺ, เลม 26 หนา 123, 215 40 อัลมุหัลลา, เลม 2 หนา 250, เลม 5 หนา 286 41 อัลอุมม, เลม 1 หนา 54 42 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เรื่องการนอนของสตรีในมัสยิด, เลขที่ 439 15

43

อัลมุหัลลา, เลม 2 หนา 253 มัจญมูอฺอัลฟาตาวีย, เลม 26 หนา 126 45 อัลมับสูฏ, เลม 3 หนา 119, มุก็อดดิมาตอิบนุรุชดิ, เลม 1 หนา 200, อัลอุมม, เลม 2 หนา 108, อัลมุฆนีย, เลม 4 หนา 485 46 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2041, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1173 16 44


3. การปฏิบัติที่ประเสริฐกวาและสูงสงกวาสําหรับสตรีคือการพํานักอยู ในบานของนาง และละทิ้งการอิอฺติกาฟ ถึงแมวาจะเปนสิ่งที่อนุมัติ สําหรับนาง เพราะการที่นบีไลพวกนางและหามพวกนางไมใหทําอิอฺ ติกาฟ บงบอกวาการพํานักอยูในบานของพวกนางยอมประเสริฐกวา การทําอิอฺติกาฟ”47 อุละมาอฺไดยกอางหะดีษอบูหุร็อยเราะฮฺเปนหลักฐานประกอบ ซึ่ง ทานไดเลาวา ทานรสูลุลลอฮฺ  กลาววา ‫ﺷﺎﻫﺪ ﹺ ﱠإﻻ ﹺ ﹺ ﹾ ﹺ ﹺ‬ ‫ﳛ ﱡﻞ ﹺ ﹾ ﹶ ﹺ‬ ‫)) ﹶﻻ ﹶ ﹺ‬ ‫ﻟﻠﻤﺮأة ﹶ ﹾ‬ ((‫ﺑﺈذﻧﻪ‬ ‫ﻭزﻭﺟﻬﺎ ﹶ ﹺ ﹲ‬ ‫ﺗﺼﻮﻡ ﹶ ﹶ ﹾ ﹸ ﹶ‬ ‫أﻥ ﹶ ﹸ ﹶ‬ ‫ﹶﹾ‬

“ไมอนุญาตใหสตรีถือศีลอดในขณะที่สามีของนางอยูดวย นอกจากดวยการ อนุญาตของสามี”48 กอฎีอิยาฎกลาววา “นี่เปนกรณีของอิบาดะฮฺสุนัต เพราะสิทธิของ สามีบนตัวนางนั้นเปนสิ่งที่วาญิบ ดังนั้นจึงไมอนุญาตใหละทิ้งสิ่งที่เปนวาญิบ เพื่อไปปฏิบัติในสิ่งที่เปนสุนัต”49 อิหมามอันนะวะวียกลาววา “คําสั่งหามดังกลาวใหความหมายหะรอม เหตุผลเพราะเปนสิทธิของสามีที่จะมีความสุขกับนางในทุกๆเวลาที่ประสงค และสิทธิของสามีเปนสิ่งที่วาญิบทันทีทันใด ดังนั้นจึงไมอนุญาตใหละเลยดวย สิ่งที่เปนสุนัต”50 เชนเดียวกับการอิอฺติกาฟ

ทานยังกลาวอีกวา “ไมอนุญาต (หะรอม) ใหสตรีทําอิอฺติกาฟโดย ไมไดรับอนุญาตของสามีกอน แตถานางไปทําอิอฺติกาฟโดยไมไดรับอนุญาต การอิอฺติกาฟของนางถือวาใชไดพรอมกับมีบาปติดตัว”51 6.6 ตั้งเจตนา (เนียต) บรรดาอุละมาอฺมีมติเปนเอกฉันทวา การตั้งเจตนาหรือเนียตเปน เงื่อนไขหลักอยางหนึ่งที่จะทําใหการอิอฺติกาฟถูกรับและไมเปนโมฆะ52 เพราะ ทุกๆอิบาดะฮฺจําเปนตองเริ่มตนดวยการตั้งเจตนาเสมอ และการงานใดที่ไมมี การการตั้งเจตนาเพื่อการอิบาดะฮฺ การงานนั้นก็ไมถูกรับ และถือวาเปนโมฆะ ดังที่มีระบุในหะดีษของอุมัรที่วา ‫))إﹺﱠﻧﲈ ﹾاﻷﹶﹾﻋﲈﹸﻝ ﺑﹺﺎﻟﻨﻴﱢ ﹺ‬ ((‫ﺎت‬ ‫ﱠ‬ ‫ﹶ‬ ‫ﹶ‬

“แนแทวา ทุกๆการงานนั้นตองขึ้นอยูกับการตั้งเจตนา”53 อิหมามอันนะวะวียกลาววา “ในหะดีษนี้เปนหลักฐานที่แสดงวา การ ทําความสะอาด นั่นคือ การอาบน้ําละหมาด การอาบน้ํา และการตะยัมมุมจะ ไมเศาะหฺ (ถูกรับ) นอกจากดวยการตั้งเจตนา เชนเดียวกับการละหมาด การ จายซะกาต การอิอฺติกาฟ และการปฏิบัติอิบาดะฮฺอื่นๆ”54 เนื่องจากวา การพํานักอยูในมัสยิด อาจจะมีเปาหมายเพื่อการอิอฺติ กาฟ หรือเปาหมายอื่นจากนั้น ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองมีการตั้งเจตนาเพื่อ 51

อัลมัจญมูอฺ, เลม 6 หนา 501 บะดาอิอฺอัสเศาะนาอิอฺ, เลม 2 หนา 108, สิรอุลมะสาลิก, เลม 1 หนา 203, บิดายะ ตุลมุจญตะฮิด, เลม 1 หนา 315, เราเฎาะฮฺอัตฎอลิบีน, เลม 2 หนา 396, มะฏอลิบอุลินนุ ฮา, เลม 2 หนา 227, อัลอิฟศอหฺ, เลม 1 หนา 255 53 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 1689, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1907 54 ชัรหฺเศาะหีหฺมุสลิม, เลม 13 หนา 54 18 52

47

ชัรหฺอิบนุบัตฏอลอะลาเศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลม 4 หนา 170 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 5195 ละสํานวนเปนของทาน, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1026 49 อิกมาลอัลมุอฺลิม, เลม 3 หนา 553 50 ชัรหฺเศาะหีหฺมุสลิม, เลม 7 หนา 115 17 48


แยกแยะระหว างเป าหมายดั งกล าว”55 นั่ นคื อ การตั้ งเจตนาเมื่ อเริ่ มเข าสู ชวงเวลาของการอิอฺติกาฟ เชนกลาวในใจวา “ฉันตั้งใจจะทําอิอฺติกาฟในสิบวันสุดทายของเดือนรอมฎอนดวยความ บริสุทธิ์ใจเพื่ออัลลอฮฺ” เพียงแตวา มัซฮับมาลิกีย56 ชาฟอีย57 และอิบนุตัยมิยะฮฺ58 ถือวา การตั้งเจตนาหรือเนียตสําหรับการอิอฺติกาฟจะอยูในสวนขององคประกอบ (รุ กน) ของอิอฺติกาฟ ไมใชเงื่อนไข วัลลอฮุอะอฺลัม 6.7 ถือศิลอด อุละมาอฺมีทัศนะที่แตกตางกันในเรื่องเงื่อนไขของการทําอิอฺติกาฟที่ ถูกรับวา จําเปนตองอยูในสภาพที่ ถือศิ ลอดดวยหรือไม สาเหตุของความ ขั ดแย งเพราะการทํ าอิ อฺ ติ กาฟของท านนบี  เกิ ดขึ้ นในเดื อนรอมฎอน ดังนั้นผูที่มองวา การถือศิลอดของทานที่ควบคูกับการอิอฺติกาฟ คือเงื่อนไข ของการทําอิอฺติกาฟ ถึงแมวาการถือศิลอดไมไดเปนสิ่งเดียวกันกับการทํา อิอฺติกาฟก็ตาม ดังนั้น อุละมาอกลุมนี้จึงกลาววา “จําเปนตองมีการถือศิลอด ควบคูกับการอิอฺติกาฟไปดวย จึงจะถือวาการทําอิอฺติกาฟของเขาใชได” สวนอุละมาอผูที่มองวา การถือศิลอดที่ควบคูไปกับการอิอฺติกาฟของ ทานนบี เปนเพียงความสอดคลองที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันเทานั้นเอง ทาน ไมไดมีเปาหมายที่จะเจาะจงวา จําเปนตองมีการถือศิลอดควบคูไปกับการอิอฺ

55

ฟกฮุลอิอฺติกาฟ ของคอลิด อัลมุชัยกิหฺ, หนา 70 อัลคุลาเศาะฮฺอัลฟกฮิยะฮฺ ของอัลเกาะเราะวีย, หนา 257, 57 เราเฎาะฮฺอัตฏอลิบีน, เลม 2 หนา 395 58 ชัรหฺอุมดะตุลอะหฺกาม, เลม 2 หนา 751 19 56

ติกาฟดวย ดังนั้นอุละมาอฺกลุมนี้จึงกลาววา “การถือศิลอดไมไดอยูในเงื่อนไข ของการทําอิอฺติกาฟ ประเด็นตอมาคือ การตีความหมายของอายะฮฺอัลกุรอาน ซึ่งจะพบวา อั ลลอฮฺ ได กล าวเกี่ ยวกั บการอิ อฺ ติ กาฟควบคู กั บการถื อศิ ลอดในอายะฮฺ เดียวกัน59 จากจุดนี้ อุละมาอฺจึงมีทัศนะที่แตกตางกันออกเปนสามทัศนะ คือ ทัศนะที่ 1 การถือศิลอดไมใชเงื่อนไขของการอิอฺติกาฟ ผูที่มีทัศนะเชนนี้ไดแก อาลี, อิบนุมัสอูด, สะอีด บิน อัลมุ สัยยิ บ, อุมัร บิน อับดุลอะซีซ, อัลหะสัน, อะฏออฺ, และฏอวูส60, ทัศนะของอุละมาอฺ สวนหนึ่งในมัซฮับมาลิกีย61, มัซฮับชาฟอีย62, ฮันบาลีย63 และอิบนุหัซมิน64, อัชเชากานีย65 และอิบนุอุษัยมีน66 สวนหนึ่งของหลักฐานที่กลุมนี้ใชพาดพิงคือ หะดีษที่เลาโดยอิบนุ อุมัร วา "อุมัรไดถามทานรสูลุลลอฮฺ  วา "ฉันเคยบนบานในสมัยญาฮิลิยะฮฺ (กอนอิสลาม) วาฉันจะทําอิอฺติกาฟหนึ่งคืนในมัสยิดหะรอม" ทานนบีตอบเขา วา " เจาจงปฏิบัติตามที่เจาไดบนบานไว"67

59

ดู บิดายะฮฺ อัลมุจญตะฮิด, เลม 1 หนา 317 อัลมุหัลลา, เลม 5 หนา 181, อัลมุฆนีย, เลม 4 หนา 459 61 อัลญามิอฺลิอะหฺกามอัลกุรอาน, เลม 2 หนา 334 62 อัลอุมม, เลม 2 หนา 107 63 อัลมุสเตาอับ, เลม 3 หนา 478, อัลมุฆนีย, เลม 4 หนา 459 64 อัลมุหัลลา, เลม 5 หนา 268 65 อัสสัยลุลญัรรอรฺ, เลม 2 หนา 134 66 อัชชัรหฺอัลมุมมติอฺ, เลม 6 หนา 509 67 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2032, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1656 20 60


อิ หม ามอั นนะวะวี ย กล าวว า "นั ยยะของหะดี ษ นี้ เ ป นหลั กฐาน สําหรับมัซฮับชาฟอียและบรรดาผูที่เห็นดวยวา การอิอฺติกาฟสามารถกระทํา โดยไมจําเปนตองถือศิลอด"68 อิบนุหะญัรกลาววา "ไดมีการนําหะดีษนี้มาเปนหลักฐานวา อนุญาตให มีการอิอฺติกาฟโดยไมจําเปนตองถือศิลอด เพราะกลางคืนไมใชชวงเวลาสําหรับ การถือศิ ลอด ดังนั้นหากแมนวาการถื อศิลอดเปนเงื่อนไขของการอิอฺติกาฟ แนนอนวา ทานนบี  ยอมตองสั่งใหอุมัรถือศิลอดควบคูตามไปดวย"69 และเนื่องจากวาทั้งสองประเภทเปนอิบาดะฮฺที่เปนเอกเทศตอกันและ ไม มีความเกี่ ยวพั นกั น ดั งนั้ นจึ งไม สามารถสร างเงื่อนไขสํ าหรับอิบาดะฮฺ ประเภทหนึ่งวาตองมีอิบาดะฮฺอีกประเภทหนึ่งควบคูตามไปดวย"70 ทัศนะที่ 2 การถือศิลอดเปนเงื่อนไขของอิอฺติกาฟที่เปนวาญิบ นี่เปนทัศนะของมัซฮับหะนะฟย71 ทัศนะที่ 3 การถือศิลอดเปนเงื่อนไขของการอิอฺติกาฟ ทั้งที่เปน วาญิบ และสุนัต นี่เป นทั ศนะของมั ซฮั บมาลิ กีย 72 ส วนหนึ่ งของอุ ละมาอฺชาฟอี ย73 รายงานหนึ่งจากอิหมามอะหมัด74 และเปนทัศนะที่อิบนุตัยมิยะฮฺ และอิบนุ ก็อยยิมเห็นดวย75

สวนหนึ่งจากหลักฐานที่กลุมนี้ใชพาดพิงคือ คําตรัสของอัลลอฮฺที่วา z{zyxwvuts rq p{ "แลวพวกเจาจงถือศีลอดใหครบสมบูรณจนถึงพลบค่ํา และพวกเจาจงอยาสม สูกับพวกนาง ขณะที่พวกเจากําลังออิอฺติกาฟอยูในมัสยิด" (อัลบะเกาะเราะฮฺ, อายะฮฺ 187) พวกเขากล าววา "อายะฮฺ นี้บงชี้วา การถือศิลอดเป นเงื่อนไขของ การอิอฺติกาฟ เพราะอัลลอฮฺไดกลาวถึงมันหลังจากที่พระองคกลาวถึงการ ถือศิลอด ดังนั้น จึงสรุปไดวา การอิอฺติกาฟสามารถกระทําในทุกเวลา ยกเวน วันเวลาที่หามไมใหถือศิลอด"76 คําวิพากษ 1. ไมจําเปนเสมอไปวาทุกครั้งที่มีการกลาวถึงหุกมหนึ่งหลังจากอีก หุกมหนึ่ง จะทําใหหุกมใดหุกมหนึ่งตองผูกพันกับอีกหุกมหนึ่ง เพราะถาเปน เชนนั้น จําเปนตองกลาววา "การถือศิลอดจะไมถูกรับนอกจากตองมีการอิอฺติ กาฟควบคูกันไปดวย" ซึ่งแนนอนวาไมมีอุละมาอฺทานใดกลาวเชนนี77้ 2. ทัศนะนี้ยังอางอิงหลักฐานจากหะดีษที่เลาโดยอาอิชะฮฺวา ทาน นบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกลาววา ((‫ﺎﻑ إﹺﻻﱠ ﺑﹺﹶﺼﹾﻮﹴﻡ‬ ‫اﻋﺘﹺﹶﻜ ﹶ‬ ‫))ﻻﹶ ﹾ‬

68

ชัรหฺเศาะหีหฺมุสลิม, เลม 11 หนา 124 ฟตหุลบารีย, เลม 4 หนา 322 70 อัชชัรหฺอัลมุมมติอฺ, เลม 6 หนา 509 71 อัลมับสูฏ, เลม 3 หนา 115, บะดาอิอฺ อัสเศาะนาอิอฺ, เลม 2 หนา 109 72 อัลมุวัตเฏาะอฺ, เลม 1 หนา 27, อัลมุเดาวะนะฮฺ, เลม 1 หนา 195 พิมพคูกับมุก็อดดิมา ตอิบนุรุชดิ 21 69

73

อัลมัจญมูอฺ, เลม 6 หนา 485 อัลอินศอฟ, เลม 3 หนา 360 75 ซาดุลมะอาด, เลม 2 หนา 88 76 อัลมุวัตเฏาะอฺ, เลม 1 หนา 315 77 อัลมุหัลลา, เลม 5 หนา 182 74

22


"ไมมีการอิอฺติกาฟนอกจากดวยการถือศิลอด"78 แตหะดีษนี้เปนหะดีษที่เฎาะอีฟไมสามารถใชเปนหลักฐานพาดพิง 3. ถาหากว าการถือศิลอดเปนสิ่งที่จําเปนสําหรับการอิ อฺติกาฟ ก็ เทากับวา การอิอฺติกาฟในชวงกลางคืนใชไมไดและเปนโมฆะ เพราะไมมีการ ถือศิลอดควบคูไปดวย ผลของความขัดแยง สําหรับทัศนะที่เห็นวาการถือศิลอดเปนเงื่อนไขสําหรับการอิอฺติกาฟ จะมีผลที่ตามมาดังนี้ คือ 1. ไมอนุญาตใหทําอิอฺติกาฟในวันตางๆที่หามไมใหถือศิลอด อาทิ วันอีด และวันตัชรัก (วันที่ 11,122,13 ของเดือนซุลหิจญะฮฺ) 79 2. ไมอนุญาตใหทําอิอฺติกาฟเฉพาะเวลากลางคืนเทานั้น เพราะไมมี การถือศิลอดในเวลาดังกลาว80 3. การอิอฺติกาฟไมสามารถกระทําในเวลาที่นอยกวาหนึ่งวัน81 6.8 ตองอิอฺติกาฟในมัสยิด 6.8.1 หลักฐานจากอัลกุรอาน อัลลอฮฺตรัสวา

"และพวกเจาจงอยาสมสูกับพวกนาง ขณะที่พวกเจากําลังออิอฺติกาฟอยูใน มัสยิด" (อัลบะเกาะเราะฮฺ, อายะฮฺ 187) อัลกุรฏบียกลาววา "บรรดาอุละมาอฺมีมติเปนเอกฉันทวา การอิอฺติ กาฟตองกระทําในมัสยิดเทานั้น"82 อิบนุหะญั รกลาวว า "ดั งนั้ นจึ งไดทราบจากการกลาวถึ งมั สยิ ดว า แทจริงการอิอฺติกาฟไมสามารถกระทํานอกจากในมัสยิด"83 อัชเชากานียกลาววา "ผูประสาทชะริอะฮฺ  ไดนําบัญญัติการ อิอฺติ กาฟมาประกาศโดยที่ทานเองไมเคยปฏิบัตินอกจากในมัสยิด และไมเคยมี บัญญัติอิอฺติกาฟสําหรับประชาชาติของทานนอกจากในมัสยิด..."84 6.8.2 หลักฐานจากสุนนะฮฺ อาอิชะฮฺเลาวา ‫رأﺳﻪ ﻭﻫﻮ ﹺﰲ ﹾﹶاﳌﺴ ﹺ ﹺ‬ ‫ﻛﺎﻥ ﹶ ﹸ ﹸ‬ ‫ ﹶ ﹸ ﹾ ﹺ ﹸ‬‫ﷲ‬ ‫ﻭإﻥ ﹶ ﹶ‬ ‫)) ﹶ ﹺ ﹾ‬ ‫رﺳﻮﻝ ا ﱠﹺ‬ ‫ﺠﺪ‬ ‫ﻋﲇ ﹶ ﹾ ﹶ ﹸ ﹶ ﹸ ﹶ‬ ‫ﹾ‬ ‫ﻟﻴﺪﺧﻞ ﹶ ﹶ ﱠ‬ ‫اﻟﺒﻴﺖ ﹺ ﱠإﻻ ﹺ ﹴ‬ ‫ﻭﻛﺎﻥ ﹶﻻ ﹶ ﹾ ﹸ ﹸ‬ ‫ﻛﺎﻥ ﹸ ﹾ ﹶ ﹺ ﹰ‬ ‫ﳊﺎﺟﺔ ﹺ ﹶإذا ﹶ ﹶ‬ ‫ﻓﺄرﺟﻠﻪ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ((‫ﻣﻌﺘﻜﻔﺎ‬ ‫ﻳﺪﺧﻞ ﹾ ﹶ ﹾ ﹶ‬ ‫ﹶ ﹶ‬ ‫ﹶﹸﹶ ﱢ ﹸﹸ‬ "“และทานรสูลุลลอฮฺ เมื่อยามที่ทานทําอิอฺติกาฟอยูในมัสยิด ทานไดเอาศีรษะ ของทานเขามาในหองของฉัน แลวฉันก็จะชวยหวีผมใหแกทาน และทานจะ ไมเขาไปในบาน เวนแตเมื่อมีความจําเปน”85 และหะดีษอื่นๆ

z{zyxwv{ 78

สุนันอัดดาเราะกุฏนีย, เลม 2 หนา 199, สุนันอัลบัยอะกีย, เลม 4 หนา 317 ในสาย รายงานมีนักรายงานชื่อ สุวายด เปนนักรายงานที่ออนมาก 79 มุก็อดดิมาตอิบนุรุชดิ, เลม 1 หนา 200 80 ฟกฮุลอิอฺติกาฟ, หนา 109 81 อางแลว 23

82

อัลญามิอฺ ลิอะหฺกาม อัลกุรอาน, เลม 2 หนา 333 ฟตหุลบารีย, เลม 4 หนา 272 84 อัสสัยลุลญัรรอร, เลม 2 หนา 136 85 เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2029, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 297 24 83


6.8.3 หลักฐานจากอิจญมาอฺ อิบนุบัตฏอลกลาววา "บรรดาอุละมาอฺมีมติเปนเอกฉันทวา อิอฺติกาฟ และดู คํ าพู ดของอิ บ ไม สามารถกระทํ านอกจากในมั สยิ ดเท านั้ น"86 87 88 89 นุอิ บดิ ลบั รร อั ลกรุ ฏ บี ย อิ บนุ ตั ยมิ ยะฮฺ อิ บนุ รุชดิ90 อิ บนุ หะญั ร91 และอัซซุรกอนีย92 ในความหมายเดียวกันนี้ • เงื่อนไขที่วาตองอิอฺติกาฟในมัสยิดทั้งสามเทานั้น ไมมีอุละมาอฺ ท านใดที่ สร างเงื่อนไขวาการอิอฺติกาฟตองกระทําใน มั สยิ ดทั้งสามเทานั้ น นอกจากสะอี ด บิน มุ สัยยิบ93 และเชคอั ลบานีย94 อุ ละมาอฺสมัยปจจุบัน โดยอางหลักฐานจากหะดีษหุซัยฟะฮฺที่กลาวแกอับดุลลอฮฺ บิน มัสอูดวา "ประชาชนที่พากันอิอฺติกาฟระหวางบานของทานและบานของอ บีมูซา ไมมีปญหาหรือ?" เพราะทานก็ทราบวา แทจริงทานรสูลุลลอฮฺ ได กลาวไววา ‫ﺎﻑ إﹺﻻﱠ ﹺﰲ ﹾﹶاﳌﺴ ﹺ‬ ‫ﺎﺟﹺﺪ ﱠ‬ ‫اﻟﺜ ﹶ‬ ((‫ﻼﹶﺛﹺﺔ‬ ‫اﻋﺘﹺﹶﻜ ﹶ‬ ‫))ﻻﹶ ﹾ‬ ‫ﹶ‬ "ไม มี การอิ อฺ ติ กาฟ นอกจากในมั สยิ ดทั้ งสามเท านั้ น" (หะรอม, นะบะวี ย และอัลอักศอว)

86

ชัรหฺอิบนุบัตฏอลอะลาเศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลม 4 หนา 161 อัตตัมฮีด, เลม 8 หนา 235 88 อัลญามอิอฺลิอะหิกาม อัลกุรอาน, เลม 2 หนา 333 89 มัจญมูอฺ อัลฟะตาวีย, เลม 26 หนา 123 90 บิดายะฮฺ อัลมุจญตะฮิด, เลม 1 หนา 312 91 ฟตหุลบารีย, เลม 4 หนา 372 92 ชัรหฺอัซซุรกอนีย ลิลมุวัตเฏาะอฺ, เลม 2 หนา 206 93 มุศ็อนนัฟอิบนุอบีชัยบะฮฺ, เลม 3 หนา 91, อัลมุหัลลา, เลม 5 หนา 194 94 กิยามรอมฎอน, หนา 37 25

ดังนั้นอับดุลลอฮฺจึงกลาวแกเขาวา "บางทีทานอาจจะหลงลืมไป และ พวกเขาจดจํา หรือ ทานผิดพลาดไป และพวกเขาถูกตอง"95 แตทัศนะของบรรดาเศาะหาบะฮฺทั้งหลาย และตาบิอีน คืออนุญาตให ทําอิอฺติกาฟในทุกๆมัสยิดที่มีการละหมาดญะมาอะฮฺ ตามความหมายรวมของ อายะฮฺอัลกุรอาน และตอบหะดีษหซัยฟะฮฺขางตนวา ที่ถูกตองคือหะดีษเมา กูฟ พรอมกับคําตอบอื่นๆที่เต็มอิ่ม96 อิบนุตัยมิยะฮฺกลาววา "นี่เปนทัศนะของบรรดาตาบิอีนทั้งหลาย และ ไม มี รายงานจากเศาะหาบะฮฺ ที่ ค านจากนี้ นอกจากทั ศนะของผู ที่ เจาะจง สถานที่อิอฺติกาฟวาตองเปนมัสยิดทั้งสามเทานั้น หรือมัสยิดนบี97 • มัสยิดที่ประเสริฐที่สุดสําหรับการอิอฺติกาฟ เป นที่ แน นอนว ามั สยิ ดที่ ประเสริ ฐที่ สุ ดสํ าหรั บการอิ อฺ ติ กาฟคื อ มัสยิดหะรอม มัสยิดนะบะวีย และมัสยิดอัลอักศอว ตามลําดับ98 เพราะเปน มัสยิดที่ประเสริฐกวามัสยิดใดๆ อบูฮุร็อยเราะฮฺเลาวา นบี  กลาววา ‫ﻣﺴﺎﺟﺪ ﹾﹶ ﹺ ﹺ‬ ‫اﻟﺮﺣﺎﻝ ﹺ ﱠإﻻ ﹺ ﹶإﱃ ﹶ ﹶ ﹶ ﹺ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﺗﺸﺪ ﱢ ﹶ ﹸ‬ ‫اﳌﺴﺠﺪ ﹾ ﹶ ﹶ ﹺ‬ ‫اﳊﺮاﻡ‬ ‫)) ﹶﻻ ﹸ ﹶ ﱡ‬ ‫ﺛﻼﺛﺔ ﹶ ﹶ ﹶ ﹾ‬ ‫ﹺﹺ‬ ‫ﹺﹺ‬ ‫ﹺ‬ ((‫اﻷﻗﴡ‬ ‫ﻭﻣﺴﺠﺪ ﹾ ﹶ ﹾ ﹶ‬ ‫ ﹶ ﹶ ﹾ‬ ‫اﻟﺮﺳﻮﻝ‬ ‫ﻭﻣﺴﺠﺪ ﱠ ﹸ‬ ‫ﹶﹶﹾ‬

87

95

มุชกิล อัลอาษาร, เลม 7 หนา 201, สุนันอัลบัยฮะกีย, เลม 4 หนา 316, อัลมุหัลลา, เลม 5 หนา 192 96 ดูใน ชัรหฺอัลอุมดะฮฺของอิบนุตัยมิยะฮฺ, เลม 2 หนา 724-726, อัชชัรหฺอัลมุมติอฺของอิบ นุอุษัยมีน, เลม 6 หนา 504-505, ฟกฮฺ อัลอิอฺติกาฟของ อัลมุชัยกิหฺ, หนา 122 97 ชัรหฺอัลอุมดะฮฺของอิบนุตัยมิยะฮฺ, เลม 2 หนา 734 98 อัลมับสูฏ, เลม 3 หนา 115, หาชิยะฮฺ อัลอะดะวีย, เลม 1 หนา 410, อัลอุมม,เลม 1 หนา 107, อัลมุสเตาอิบ, เลม 3 หนา 480 26


"จะไมมีการจัดเตรียมการเดินทาง นอกจากการเดินทางไปยัง 3 มัสยิดเทานั้น นั่นคือ มัสยิดหะรอม มัสยิดของฉันแหงนี้ และมัสยิดอัลอักศอว"99 ‫ﺻﻼة ﹺ ﹺ‬ ‫ﹴ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﻫﺬا ﹶ ﹺ‬ ‫ﺻﻼة ﹺﰲ ﹺ ﹺ‬ ((‫اﳊﺮاﻡ‬ ‫ﺳﻮاﻩ ﹺ ﱠإﻻ ﹾﹶ ﹾ ﹺ ﹶ‬ ‫ﻓﻴﲈ ﹶ ﹸ‬ ‫ﺧﲑ ﹾ‬ ‫اﳌﺴﺠﺪ ﹾ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹾأﻟﻒ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫)) ﹶ ﹶ ﹲ ﹶ ﹾ‬ ‫ﻣﺴﺠﺪﻱ ﹶ ﹶ ﹾ ﹲ‬

“การละหมาดในมัสยิดของฉันนี้ยอมประเสริฐกวาการละหมาดในมัสยิดอื่น 1000 ครั้ง นอกจากมัสยิดหะรอม”100 ส วนอื่ นจากมั สยิ ดทั้งสามข างตน ตามทั ศนะของหะนะฟยระบุว า "สงเสริมใหทําอิอฺติกาฟในมัสยิดญามิอฺ ตอมาก็เปนมัสยิดใหญที่มีสัปบุรุษ มาก"101 สวนมัซฮับชาฟอียและหันบาลียระบุวา "ที่ประเสริฐที่สุดคือ การอิอฺติ กาฟที่มัสยิดญามิอฺสําหรับผูที่วาญิบตองละหมาดวันศุกร เมื่อจําเปนตองทํา ละหมาดวันศุกรในชวงที่กําลังการอิอฺติกาฟอยู เพื่อที่จะไดไมตองออกจาก มัสยิดเพื่อเดินทางไปละหมาดวันศุกร"102 7. มารยาทในการอิอฺติกาฟ อาลีกลาววา “ผูใดก็ตามที่ทําการอิอฺติกาฟ เขาก็จงอยาบริภาษดาทอ อยาพูดจาหยาบคาย และสั่งครอบครัวของเขาใหนําสิ่งของจําเปนมาให และจง อยานั่งกับพวกเขา”103 อิหมามอะหมัดกลาววา “ผูทําอิอฺติกาฟจําเปน (วาญิบ) ตองรักษา (มารยาท) การพูดจา ไมนอนพักสํารับอิอฺติกาฟนอกจากบนหลังคา (ดาดฟา) 99

เสาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 1189, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1397 100 เสาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 1190, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 1394 101 บะดาอิอฺ อัสเศาะนาอิอฺ, เลม 3 หนา 113 102 อัลมัจญมูอฺ, เลม 6 หนา 481, ชัรหฺอัลอุมดะฮฺของอิบนุตัยมิยะฮฺ, เลม 2 หนา 749-750 103 มุศ็อนนัฟอับดุรร็อซซาก, เลม 4 หนา 356, มุศ็อนนัฟอิบนุอบีชัยบะฮฺ, เลม 2 หนา 334 27

มัสยิด ละไมเปนการสมควรสําหรับเขาที่จะทําการเย็บปก หรือทํางานใดๆ ขณะที่กําลังทําอิอฺติกาฟอยู”104 อิบนุตัยมิยะฮฺกลาววา “สิ่งที่ผูทําอิอฺติกาฟสมควรที่จะปฏิบัติในชวง การอิอฺติกาฟคือหมกมุนอยูกับการอิบาดะฮฺที่อยูระหวางเขากับอัลลอฮฺเทานั้น เชน อานอัลกุรอาน กลาวซิกรุลลอฮฺ วิงวอนขอดุอาอฺ กลาวขออภัยโทษ (อิส ติฆฟาร) และใครครวญ และอื่นๆ” 105 อิบนุก็อยยิมไดกลาวหลังจากที่ไดสาธยายถึงแบบอยางการอิอฺติกาฟ ของทานนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม วา “...อิบาดะฮฺประเภทตางๆเหลานั้น ลวนนํามาซึ่งเปาหมายของการอิอฺติกาฟและจิตวิญญาณของมัน ซึ่งตรงขามกับสิง่ ที่ผูไมประสาหลายๆคนที่มักจะนําเอาสถานที่อิอฺติกาฟเปนแหลงจับกลุมสนทนา กัน เปนแหลงชุมนุมของแขกที่มาเยี่ยมเยียน และพูดคุยกันในหมูพวกเขา การ ปฏิบัติแบบนี้เปนสีสันอยางหนึ่ง สวนการอิอฺติกาฟของทาน นบีศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัมเปนสีสันอีกอยางหนึ่ง (ที่แตกตางกันอยางสิ้นเชิง)”106 8. เวลาเขาสถานที่อิอฺติกาฟและเวลาออก 8.1 เวลาเขาสถานที่อิอฺติกาฟ เริ่ มเข าสถานที่ อิ อฺ ติ กาฟก อนตะวั นลั บขอบฟ าของบ ายวั นที่ 20 รอมฎอนตามทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญ107ตามหะดีษที่เลาโดยอบูสะอีดที่วา ‫))ﹶﻓﹾﻠﻴﻌﹶﺘﹺﻜ ﹺ‬ ‫ﻒ ﹾاﻟﻌ ﹾﴩ ﹾاﻷﹶﻭ ﹺ‬ ((‫اﺧﹺﺮ‬ ‫ﹶﹾ‬ ‫ﹶ ﹶ ﹶ‬ 104

ชัรหฺอัลอุมดะฮฺของอิบนุตัยมิยะฮฺ, เลม 2 หนา 792 ชัรหฺอัลอุมดะฮฺของอิบนุตัยมิยะฮฺ, เลม 2 หนา 787 106 ซาดุลมะอาด, เลม 2 หนา 90 107 หาชิยะฮฺอิบนุอาบิดีน, เลม 2 หนา 452, อัลมุเดาวะนะฮฺ, เลม 2 หนา 238, ชัรหฺเศาะ หีหฺมุสลิม, เลม 8 หนา 68, อัลฟุรูอฺ, เลม 3 หนา 170 28 105


“ดังนั้นเขาจงอิอฺติกาฟในสิบคืนสุดทาย”108 หะดีษนี้บงชี้วา “เวลาสําหรับเขาอิอฺติกาฟคือเวลากอนตะวันลับขอบ ฟาของคืนวันที่ 21 รอมฎอน (เย็นวันที่ 20) เพราะคําวา ((‫اﻟﻌﴩ‬ ‫( )) ﹾ ﹶ ﹾ ﹶ‬ไมมีฮาอฺ ขางหลัง) เปนจํานวนนับของกลางคืน และคืนแรกของสิบวันสุดทายก็คือ คืน ที่ 21”109 และเนื่องเพราะในค่ําคืนที่ 21 นี้เปนหนึ่งในค่ําคืนคี่ของสิบวันสุดทาย ของเดือนรอมฎอนที่เปนที่คาดหวังวาจะเปนค่ําคืนอัลก็อดรฺ ดังนั้นผูทําอิอฺติ กาฟจึงควรเริ่มเขาสถานที่อิอฺติกาฟของเขาหลังจากที่ตะวันลับขอบฟาของ วันที่ 20 และยางเขาค่ําคืนวันที่ 21110 8.2 เวลาออกจากสถานที่อิอฺติกาฟ มี อุละมาอฺ จํานวนมากที่ ส งเสริ มใหออกจากสถานที่อิอฺติ กาฟหรื อ มัสยิดในชวงเชาของวันอีด พรอมๆกับการเดินทางสูสนามละหมาดอีด111 และ หากผูใดจะออกจากสถานที่อิอฺติกาฟกอนหนานั้นก็ถือวาเปนที่อนุญาต112 อิหมามมาลิกเลาวา “มีรายงานมาถึงฉันจากผูรูบางทานในอดีต เมื่อ พวกเขาทํ าอิ อฺ ติ กาฟในสิ บวั นสุ ดท ายของเดื อนรอมฎอน พวกเขาจะไม

108

อางแลว อัชชัรหุ อัลกะบีร, เลม 2 หนา 67 110 อัลฟุรูอฺ, เลม 3 หนา 170 111 อัลอิสติซการ, เลม 10 หนา 296, อัลมุจญมูอฺ, เลม 6 หนา 491, อัชชัรหฺอัลกะบีร ของอิบนุกุดามะฮฺ, เลม 2 หนา 67 112 อัลมุวัตเฏาะอฺ, เลม 1 หนา 351, มุศ็อนนัฟอิบนุอบีรชัยบะฮฺ, เลม 3 หนา 92, อัล มุฆนีย, เลม 4 หนา 490 29 109

เดินทางกลับไปยังครอบครัวของพวกเขาจนกวาพวกเขาจะรวมเปนสักขีพยาน ในวันอีดพรอมๆกับชุมชน”113 อิหมามอิบรอฮิม อันนะเคาะอียกลาววา “พวกเขา (หมายถึงบรรดา ตาบิ อี น) ชอบที่ จะให บรรดาผู ทํ าอิ อฺ ติ กาฟนอนพั กในมั สยิ ดในคื นวั นอี ด จนกวาเขาจะเดินทางออกจากสถานที่อิอฺติกาฟมุงสูการละหมาดอีด (ที่มุศ็อล ลา)” 114 สวนอิหมามอัลเอาซาอียกลาววา “ใหผูทําอิอฺติกาฟออกจากสถานที่ อิ อฺ ติ กาฟเมื่ อพบว าตะวั นได ลั บขอบฟ าไปแล วในวั นสุ ดท ายของสิ บวั น สุดทาย” 115 และเนื่องเพราะสิบวันสุดทายจะสิ้นสุดลงดวยการสิ้นสุดของเดือน และเดือนจะสิ้นสุดลงดวยการลับขอบฟาของตะวันในค่ําคืนของวันอีด” 116 9. อิอฺติกาฟไมเต็ม 10 วัน สําหรับผูที่มีภารกิจรัดตัวจริงๆ หรือบานอยูไกลจนไมสามารถปลีก ตั วเพื่ อทํ าอิ อฺ ติ กาฟอย างต อเนื่ องจนครบสิ บวั น หรื อเป นข าราชการที่ ไม อนุญาตใหลาพักจากงานในชวงสิบวันสุดทาย อนุญาตใหพวกเขาทําอิอฺติกาฟ ไมครบสิบวัน หรืออิอฺติกาฟแบบไมตอเนื่องเชนการอิอฺติกาฟเพียงหนึ่งหรือ สองวัน หรืออิอฺติกาฟวันเวนวัน หรืออิอฺติกาฟเฉพาะในเวลากลางคืนเทานั้น อับดุลลอฮฺ บิน อุนัยส อัลุฮะนียเล าว า “ฉันไดกลาวแกทานรสู ลุลลอฮฺ วา “โอทานรสูลุลลอฮฺ แทจริงฉันเปนคนที่อาศัยอยูที่หมูบานแถว ชนบท และฉันไดดํารงละหมาดที่นั่น - อัลหัมดุลิลลาฮฺ - ดังนั้นทานจงสั่งแก 113

อัลมุวัตเฏาะอฺ, เลม 1 หนา 315, อัลมุเดาวะนะฮฺ เลม 2 หนา 85 มุศ็อนนัฟอิบนุอบีชัยบะฮฺ, เลม 2 หนา 338 115 อัลอิสติซการ, เลม 10 หนา 297 116 อัลญามิอฺลิอะหฺกาม อัลกุรอาน, เลม 2 หนา 337 30 114


ฉันดวยคืนใดคืนหนึ่งเพื่อที่ฉันจะไดเดินทางออกจากหมูบานเพื่อลงมา (อิอฺติ กาฟและละหมาด) ยังมัสยิดแหงนี้?” ดังนั้นทานจึงสั่งวา ‫ﻼ ﹴ‬ ‫ث ﹶﻭﹺﻋ ﹾ ﹺ‬ ‫))اﹺﹾﻧﹺﺰﹾﻝ ﹶﻟﹾﻴﹶﻠﹶﺔ ﹶﺛ ﹶ‬ ((‫ﴩﹾﻳﹶﻦ‬

“เจาจงลงมา (อิอฺติกาฟและประกอบอิบาดะฮฺ) ในค่ําคืนที่ยี่สิบสาม (ของเดือนรอมฎอน)” ฉัน (ผูรายงานหะดีษ) จึงถามบุตรชายของอับดุลลอฮฺวา “บิดาของทาน ทําเชนไรละ?” เขาตอบวา “ทานจะเขามัสยิดเมื่อมีการละหมาดอัศริ แลวทานก็ จะไมออกจากมัสยิดเพื่อความเปนใดๆอีกเลย จนกวาจะเสร็จจากการละหมาด ศุบหิ หลังจากที่ทานละหมาดศุบหิเรียบรอยแลว ทานก็จะไปหาพาหนะของทาน ที่หนาประตูมัสยิดแลวทานก็จะขึ้นนั่งแลวก็เดินทางกลับไปยังหมูบาน”117 10. สิ่งที่ทําใหเสียการอิอฺติกาฟ 10.1 การรวมประเวณี อัลลอฮฺทรงตรัสวา z |{ z y x w v { "และพวกเจาจงอยาสมสูกับพวกนาง ขณะที่พวกเจากําลังออิอฺติกาฟอยูใน มัสยิด" (อัลบะเกาะเราะฮฺ, อายะฮฺ 187) อั ลกรุ ฏ บี ย กล าวว า “อั ลลอฮฺ ทรงชี้ แจงว าการร วมประเวณี ทํ าให เสียอิอฺติกาฟ และบรรดาอุละมาอฺตางมีมติเปนเอกฉันทวาผูใดรวมประเวณี

117

สุนันอบูดาวูด, เลขที่ 1380 31

กับภรรยาขณะที่เขากําลังทําอิอฺติกาฟอยู โดยมีเจตนาที่จะทําเชนนั้น ดังนั้น การอิอฺติกาฟของเขาเสื่อมเสียทันที” 118 อิ บนุ ฮุ บั ยเราะฮฺ กล าวว า “อุ ละมาอฺ มี มติ เป นเอกฉั นท ว าผู ใดร วม ประเวณีกับภรรยาของเขาโดยเจตนา การอิอฺติกาฟของเขาจะเปนโมฆะทันที ทั้งการอิอฺติกาฟที่บนบาน (วาญิบ) และอิอฺติกาฟที่เปนสุนัต”119 10.2 ออกจากมัสยิดโดยปราศจากความจําเปน อิบนุลมุนซิรกลาววา “อุละมอมีมติเปนเอกฉันทวอนุญาตใหผูทําอิอฺ ติกาฟออกจากสถานที่อิอฺติกาฟ (มัสยิด) เพื่อทําธุระเบา (ปสสาวะ) และหนัก (อุจจาระ) เพราะมันเปนสิ่งที่จําเปน และไมสามารถกระทําในมัสยิด ดังนั้น ถา หากการออกไปปฏิบัติภารกิจดังกลาวทําใหการอิอฺติกาฟเปนโมฆะ แนนอน วาไมมีผูใดทําอิอฺติกาฟไดถูกตอง”120 เช นเดี ย วกั บ ที่ อุ ละมาอฺ มี มติ เ ห็ นพ องว า ผู ใดออกจากสถานที่ อิอฺติกาฟหรือมัสยิดโดยเจตนาดวยทุกสวนของรางกาย การอิอฺติกาฟของเขา จะเสียและเปนโมฆะทันที ถึงแมวาจะเปนเวลาเพียงชวงสั้นๆก็ตาม เพราะจะ ทําใหขาดความตอเนื่องของการเก็บตัว อันเปนเงื่อนไขหลักอยางหนึ่งของ การอิอฺติกาฟ121

118

อัลญามิอฺลิอะหฺกาม อัลกุรอาน, เลม 2 หนา 332, ดูคําพูดของอิบนุลมุนซิร ในอัลอิจญ มาอฺ, หนา 54, อิบนุหัซมิน ในมะรอติบ อัลอิจญมาอฺ, หนา 41 119 อัลอิฟศอหฺ, เลม 1 หนา 358 120 อัลอิจญมาอ หนา 48 121 ฟตหุลเกาะดีร, เลม 2 หนา 396, อัชชัรหฺ อัลกะบีร ของอัดดัรดีร, เลม 1 หนา 543, อัล อุมม, เลม 2 หนา 108, กัชชาฟ อัลเกาะนาอฺ, เลม 3 หนา 362, อัลมุหัลลา, เลม 5 หนา 188 32


อาอิชะฮฺเลาวา ‫اﻟﺒﻴﺖ ﹺ ﱠإﻻ ﹺ ﹴ‬ ‫ ﹶﻻ ﹶﻳ ﹾ ﹸ ﹸ‬ ‫ﻭﻛﺎﻥ‬ ‫ﻛﺎﻥ ﹸ ﹾ ﹶ ﹺ ﹰ‬ ‫ﳊﺎﺟﺔ ﹺ ﹶإذا ﹶ ﹶ‬ ‫ ﹶ ﹶ ﹶ‬...)) ((‫ﻣﻌﺘﻜﻔﺎ‬ ‫ﺪﺧﻞ ﹾ ﹶ ﹾ ﹶ‬ ‫ﹶ ﹶ‬

"และทานรสูลุลลอฮฺ จะไมเขาไปในบานเมื่อยามที่ทานทําอิอฺติกาฟ เวนแตเมื่อ มีความจําเปน”122 อัลค็อตฏอบียกลาววา “ในหะดีษนี้ไดชี้แจงวา ผูทําอิอฺติกาฟจะไม เขาไปยังบานของเขานอกจากเพื่อการขับถาย ถาหากเขาเขาไปในบานเพื่อ การอื่นจากทั้งสอง เชนทานอาหาร หรือดื่มน้ํา การอิอฺติกาฟของเขาก็จะเสียที นที”123 อิบนุหัซมิ นกล าววา “อุ ละมาอฺมีมติเปนเอกฉันทวา ผูใดออกจาก สถานที่อิอฺติกาฟ (มัสยิด) โดยปราศจากความจําเปน หรืออันตราย หรือการ ทํ าความดี ที่ ถู กสั่ งหรื อส งเสริ มให ปฏิ บั ติ การอิ อฺ ติ กาฟของเขาก็ จะเป น โมฆะ”124 เชคอิบนุอุษัยมีนไดแบงประเภทของการออกจากสถานที่อิอฺติกาฟ เปนสามกรณี คือ - กรณีที่หนึ่ง ออกจากสถานที่อิอฺติกาฟเนื่องเพราะมีธุระจําเปนทั้ง ทางธรรมชาติและทางศาสนบัญญัติ เชนออกเพื่อไปถายทุกขและ ปสสาวะ อาบน้ําละหมาดที่วาญิบ อาบน้ํายกหะดัษใหญ หรือออก เพื่ อไปกิ นดื่ ม การออกจากสถานที่ อิ อฺ ติ กาฟในกรณี เช นนี้ เป นที่ อนุญาตเมื่อไมสามารถกระทําในมัสยิด แตถาหากวาสามารถกระทํา ในมัสยิด สิ่งตางๆดังกลาวก็ไมเปนที่อนุมัติ เชน ในกรณีที่มีหองน้ํา

อยูขางในมัสยิด ซึ่งเขาสามารถที่จะใชบริการหองน้ําดังกลาวในการ ทําธุระสวนตัวและอาบน้ํา หรือมีคนนําอาหารและเครื่องดื่มมาบริการ ให ดังนั้นจึงไมควรออกไป เนื่องจากไมมีความจําเปนที่จะตองออก - กรณีที่สอง ออกจากสถานที่อิอฺติกาฟเพื่อทําการภักดีอยางใดอยาง หนึ่ง เชนออกไปเยี่ยมคนปวย ออกไปสงญะนาซะฮฺ ถึงกุโบร ฯลฯ ดังนั้นเขาจงอยากระทํา นอกเสียจากวาเขาไดทําขอแมใหกับตัวเอง ไวเมื่อครั้งที่เริ่มเขาอิอฺติกาฟ - กรณีที่ สาม ออกจากสถานที่ อิอฺ ติ กาฟเพื่อกิจการใดๆที่ ออกจาก ความหมายเดิมของอฺติกาฟ เชน ออกเพื่อทําการคาขาย รวมหลับ นอนกับภรรยา ดังนั้นในกรณีนี้ หามเขากระทําเปนอันขาด ไมวาเขา จะทําขอแมแลวตั้งแตตนหรือไมทําก็ตาม เพราะเปนการกระทําที่ทํา ใหเสียการอิอฺติกาฟและคานกับเปาหมายหลักของมัน”125 11. การจัดกิจกรรมการอิอฺติกาฟ ดั งที่ ได ทราบมาแล วว า เป าหมายหลั กของการอิ อฺ ติ กาฟ คื อการ พํานักอยูในมัสยิดเพื่อปลีกตัวจากสังคมสูการภักดีตออัลลอฮฺอยางตอเนื่อง ดวยอิบาดะฮฺตาง เชน การละหมาดสุนัต อานอัลกุรอาน ซิกิร การขออภัยโทษ และการวิงวอนขอดุอาอฺ แตเนื่องจากวาความหมาย “การภักดีตออัลลอฮฺ” มี ความหมายที่กวางขวางครอบคลุมทุกๆกิจกรรมการภักดีตางๆ เชนการศึกษา ทบทวนบทเรียน การเรียนอานอัลกุรอาน การนั่งฟงการบรรยายศาสนา ฯลฯ ดังนั้ นอุ ละมาอฺจึงมีทัศนะที่ขัดแย งกั นวา สงเสริ มใหมีการกิจกรรมในช วง

122

เศาะหีหฺอัลบุคอรีย, เลขที่ 2029, เศาะหีหฺมุสลิม, เลขที่ 297 มะอาลิม อัสสุนัน, เลม 3 หนา 341 124 มะรอติบอัลอิจญมาอฺ, หนา 41 33 123

125

มะญาลิส ชะฮฺรุรอมฎอน, หนา 245-246 34


การอิอฺติกาฟอื่นจากการอิบาดะฮฺเฉพาะ เชน ละหมาดสุนัต อานอัลกุรอาน ซิ กิร การขออภัยโทษ และการวิงวอนขอดุอาอฺดวยหรือเปลา - ทัศนะที่หนึ่ง ไมสงเสริมใหมีกิจกรรมอื่นจากอิบาดะฮฺเฉพาะ เชน การอ านอั ลกุ รอานให ผู อื่ นฟ ง การสอนและศึ กษาความรู การถก ปญหาและการสนทนาดานนิติศาสตร การเขียนหะดีษ และอื่นที่เปน ประโยชนตอผูอื่น ถึงแมจะเปนการภักดีอยางหนึ่งก็ตาม เพราะไม เคยมีรายงานจากทานนบีศ็ อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมวาท านเคย ปฏิบัติในสิ่งดังกลาว นอกจากกิจกรรมที่เปนอิบาดะฮฺเฉพาะเทานั้น และจะทําใหเวลาทําการอิบาดะฮฺเฉพาะซึ่งเปนเปาหมายหลักและ หัวใจของการอิอฺติกาฟลดนอยลง126 - ทัศนะที่ สอง อนุ ญาตให มีกิ จกรรมการอ านอัลกุ รอานให ผูอื่ นฟ ง ศึกษาหาความรูและสั่งสอนผูอื่น และไมเปนการมักรูหฺ (นารังเกียจ) แตอยางใด เนื่องจากวากิจกรรมดังกลาวมีความประเสริฐกวาการ ละหมาดสุนัต เพราะการใชเวลาใหหมดไปกับกิจกรรมการศึกษาหา ความรูเปนฟรฎกิฟายะฮฺ ซึ่งเปนสิ่งที่ประเสริฐกวาการละหมาดสุนัต และเนื่องเพราะผูอื่นจะไดรับประโยชนจากมันดวย127 อิบนุอุษัยมีนกลาววา “ไมเปนที่สงสัยวาการศึกษาหาความรูนั้นเปน การภักดีตออัลลอฮฺอยางหนึ่ง เพียงแตวาการอิอฺติกาฟเปนประเภทของการ ภักดีที่มีรูปแบบเฉพาะ เชนการละหมาด การซิกิร การอานอัลกุรอาน และ อื่นๆ แตถาจะมีการสอนหนังสือบางเพียงหนึ่งหรือสองเวลาตอวันหรือตอคืน

ก็ไมเปนไรถึงแมวาทานจะเปนผูที่กําลังทําอิอฺติกาฟอยู เพราะการกระทํา ดังกลาวไมทําใหอิอฺติกาฟเสื่อมเสีย แตถาหากวามีมัจลิสสอนหนังสือจํานวน มากและบอยครั้งจนทําใหเวลาสําหรับทําอิบาดะฮฺเฉพาะลดนอยลงหรือขาด หายไป ย อมทํ าให (เป าหมายของ) การทํ าอิ อฺ ติ กาฟไม สมบู รณ และขาด หายไป แตไมไดทําใหเสียอิอฺติกาฟ”128 วัลลอฮุอะอฺลัม

126

ดู อัลฟุรูอฺของอิบนุมิฟละหฺ, เลม 3 หนา 196-197, อัลมุฆนียของอิบนุกุดามะฮฺ, เลม 3 หนา 76 127 ดู อัลมัจญมูอฺ, เลม 6 หนา 559-560, ฏ็อรหฺอัตตัษรีบ ของอัลอิรอกีย, เลม 4 หนา 175 และอางอิงที่ผานมา 35

128

อัชชัรหฺ อัลมุมติอฺ เลม 6 หนา 507 36


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.