ซะกาตฟิตเราะฮฺ

Page 1

ซะกาตฟตเราะฮฺ ความหมายของซะกาตฟตเราะฮฺ ซะกาตดานภาษาบงชี้ถึง การงอกเงย เพิ่มพูน ขัดเกลาใหสะอาด และความประเสริฐ (อันนิฮายะฮฺ เลม 2 หนา 307, ลิสานอัลอะร็อบ เลม 6 หนา 65, อัลกอมูส อัลมุหีฏ หนา 1667, อัตตะอฺรีฟาต หนา 152) สวนฟตรดานภาษาหมายถึง การเปดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือทําใหแตก และแยกออก (มะกอยีสลุเฆาะฮฺ เลม 4 หนา 510, ลิสานอัลอะร็อบ เลม 10 หนา 285) ซะกาตฟตริ หรือซะกาตฟตเราะฮฺ หมายถึง การบริจาคทานที่ที่ถูก กําหนดใหมุสลิมทุกคนตองจาย ไมวาจะเปนเด็กหรือผูใหญ เพศชายหรือ หญิง ไทหรือทาส อันเนื่องจากการสิ้นสุดของการถือศีลอดเดือนรอมฎอน เพื่อเปนการขัดเกลาผูถือศิลอดใหสะอาดบริสุทธิ์จากความหลงลืมและการ พูดที่โสมม เรียกชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา “เศาะดะเกาะฮฺฟตเราะฮฺ” หุกมการจายซะกาตฟตเราะฮฺ ซะกาตฟตเราะฮฺไดถูกบัญญัติขึ้นในปทสี่ องแหงฮิจเราะฮฺศักราช พรอมๆกับการบัญญัตขิ องการถือศิลอดเดือนรอมฎอน อัลลอฮฺตรัสวา

เรียบเรียงโดย

อุษมาน อิดรีส

l Õ Ô Ó Ò Ñm “แน แท ผู ที่ ขั ดเกลาตนเอง (ดวยการจ ายซะกาต) ยอมบรรลุ ความสําเร็จ” (อัลอะอฺลา 14) อิกริมะฮฺกลาววา “หมายความวา ชายผูหนึ่ งที่จายซะกาต (ฟต เราะฮฺ) กอนที่เขาจะละหมาด (อีด)”


และมีอุละมาอสะลัฟอีกหลายทานที่มีความเห็นวา ความหมายของ “ซะกาต” ในอายะฮฺนี้คือ “ซะกาตฟตเราะฮฺ” วัลลอฮุอะอฺลัม สวนหุกมของการจายซะกาตฟตเราะฮฺนั้น อุละมาอสวนใหญ ถือวา เปนวาญิบ (อัลมัจญมูอฺ 6/61) อัลบัยอะกีย และอิบนุลมุนซิร กลาววา “อุละมาอมีมติเห็นพองวา ซะ กาตฟตเราะฮฺเปนสิ่งที่วาญิบ” (อัลมัจญมูอฺ 6/62, อัลอิจญมาอ หนา 55) อิบนุอุมัรเลาวา ‫زﻛﺎة ﹾ ﹺ ﹾ ﹺ ﹺ‬ ‫أﻥ ﹶ ﹸ ﹶ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫)) ﹶ ﱠ‬ ‫رﻣﻀﺎﻥ ﹶ ﹶ‬ ‫ﻋﲆ‬ ‫ﻓﺮض ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫رﺳﻮﻝ اﷲﹺ‬ ‫اﻟﻔﻄﺮ ﹾ‬ ‫رﺟﻞ ﹶأﻭ ﹶ ﹴ‬ ‫ﻤﲔ ﺣﺮ ﹶأﻭ ﹶ ﹴ‬ ‫ﹺﹺ‬ ‫ﻛﻞ ﹶ ﹾ ﹴ ﹺ‬ ‫ﹸﱢ‬ ‫اﻣﺮأة‬ ‫ﻣﻦ ﹸاﳌ ﹾﺴﻠ ﹶ ﹸ ﱟ ﹾ ﹾ‬ ‫ﻧﻔﺲ ﹾ‬ ‫ﻋﺒﺪ ﹶ ﹾأﻭ ﹶ ﹸ ﹴ ﹾ ﹾ ﹶ‬ ‫ﲤﺮ ﹶأﻭ ﹰ ﹺ‬ ‫ﻛﺒﲑ ﹰ ﹺ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹺ ﹴ‬ ‫ﹶ ﹺ ﹴ‬ ((‫ﺷﻌﲑ‬ ‫ﺻﺎﻋﺎ ﹾ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹾ ﹴ ﹾ ﹶ‬ ‫ﺻﺎﻋﺎ ﹾ‬ ‫ﺻﻐﲑ ﹶ ﹾأﻭ ﹶ ﹺ ﹴ ﹶ‬ “แทจริง ทานรสูลุลลอฮฺไดกําหนดใหมุสลิมทุกคนวาญิบตองจาย ซะกาตฟตเราะฮฺจาก (การถือศิลอดใน) เดือนรอมฎอน ไมวาจะเปนไท หรือทาส ชายหรือหญิง เด็กเล็กหรือผูใหญ จํานวนคนละหนึ่งศออฺจากผล อินทผลัมแหง หรือหนึ่งศออฺจากขาวบาเล” (มุสลิม เลขที่ 1639)

ทําไมตองบัญญัติใหจา ยซะกาตฟตเราะฮฺ? สวนหนึ่งของเหตุผลที่อิสลามมีบัญญัติใหชาวมุสลิมตองจายซะกาต ฟตเราะฮฺ คือ 1.เพื่อขัดเกลาผู ถือศิลอดให สะอาดบริสุ ทธิ์จากสิ่งโสโครกโสมม ทั้งหลาย ขจัดความตระหนี่ถี่เหนียว และความรูสึกที่ต่ําทรามอื่นๆออกจาก จากจิตใจ 2.เพื่อเติมเต็มและเสริมสรางสวนที่สึกหรอจากการปฏิบัติอิบาดะฮฺ การถือศิลอด -ซึ่งอาจเกิดจากความหลงลืม พูดจาไมสุภาพ และอื่นๆ- ให สมบูรณยิ่งขึ้น

3.เพื่ อ ทํ า ให ผ ลบุ ญ ของการถื อ ศิ ล อดครบสมบู ร ณ และทํ า นุ บํารุงอะมัลศอลิหฺ 4.เพื่อใหความชวยเหลือแกบรรดาผูที่ขัดสนและอนาถา และปกปอง พวกเขาจากความต่ําตอยในวันอีด และการขอบริจาคทานจากผูอื่น อิบนุอับบาสกลาววา ‫ﻃﻬﺮة ﹺ ﹺ ﹺ ﹺ‬ ‫زﻛﺎة ﹾ ﹺ ﹾ ﹺ‬ ‫ﻓﺮض ﹶ ﹸ ﹸ‬ ‫ ﹶ ﹶ‬‫ﷲ‬ ‫ﻣﻦ‬ ‫رﺳﻮﻝ ا ﹺ‬ ‫)) ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫ﻟﻠﺼﺎﺋﻢ ﹾ‬ ‫اﻟﻔﻄﺮ ﹸ ﹾ ﹶ ﹰ ﱠ‬ ‫ﹶ ﹺ‬ ‫ﻭﻃﻌﻤﺔ ﹺ ﹾ ﹶ ﹶ ﹺ ﹺ‬ ‫ﻭاﻟﺮﻓﺚ ﹶ ﹸ ﹾ ﹶ ﹰ‬ ‫ﱠﹾ‬ ((‫ﻟﻠﻤﺴﺎﻛﲔ‬ ‫اﻟﻠﻐ ﹺﻮ ﹶ ﱠ‬

“รสูลุลลอฮฺไดกําหนด (ใหมุสลิม) จายซะกาตฟตเราะฮฺ เพื่อเปนการขัด เกลาใหผูถือศิลอดสะอาดบริสุทธิ์จากมลทินของการหลงลืม และการพูดจาที่ หยาบคาย และเพื่อเปนทานอาหารแกบรรดาผูยากไร” (อบูดาวูด 1317) 5.เพื่อแสดงความขอบคุณตอนิอฺมัตที่ของอัลลอฮฺที่ทําใหบาวของ พระองค สามารถปฏิบัติภารกิจการถื อศิลอดในเดือนรอมฎอนจนสําเร็ จ ลุลวงดวยดี รวมทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆที่ลนเหลือ ทั้งอาหารการ กิน และความแข็งแกรงของรางกายจนสามารถละหมาดในชวงกลางคืนและ ปฏิบัติอิบาดะฮฺอื่นๆไดครบครัน 6.แผ ค วามรู สึ ก รั ก และผู ก พั น สู สั ง คมมุ ส ลิ ม ด ว ยวิ ธี ก ารให ค วาม ชวยเหลือและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน เงื่อนไขของการจายซะกาตฟตเราะฮฺ อุ ล ะมาอมีม ติเ ปน เอกฉัน ท วา ซะกาตฟ ต เราะฮฺเ ปน ซะกาตทาง รางกาย และผูที่วาญิบตองจายซะกาตฟตเราะฮฺตองประกิบดวยเงื่อนไข ตางๆสามประการดังนี้ 1. เปนมุสลิม


มุสลิมทุกคนจําเปนตองจายซะกาตฟตเราะฮฺ ไมวาจะเปนชายหรือ หญิง เด็กเล็กหรือผูใหญ เปนไทหรือทาส และไมวาจะอาศัยอยูที่ชนบทหรือ ในเมือง อิบนุอุมัรกลาววา ‫اﻟﻔﻄﺮ ﹰ ﹺ‬ ‫ ﹶ ﹶ ﹶ ﹺ‬ ‫رﺳﻮﻝ اﷲﹺ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹾ ﹴ‬ ‫ﻓﺮض ﹶ ﹸ ﹸ‬ ‫ﺻﺎﻋﺎ‬ ‫ﲤﺮ ﹶ ﹾأﻭ ﹶ ﹰ‬ ‫)) ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫ﺻﺎﻋﺎ ﹾ‬ ‫زﻛﺎة ﹾ ﹾ ﹺ ﹶ‬ ‫ﻋﲆ ﹾ ﹺ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹺ ﹴ‬ ‫ﻭاﻟﺬﻛﺮ ﹶﻭاﻷﹸ ﹾ ﹶﻧﺜﻰ ﹶ ﱠ ﹺ ﹺ‬ ‫ﻭاﳊﺮ ﹶ ﱠ ﹶ ﹺ‬ ‫ﺷﻌﲑ ﹶ ﹶ‬ ‫ﻭاﻟﺼﻐﲑ‬ ‫ﹶﹾ‬ ‫ﹾ‬ ‫اﻟﻌﺒﺪ ﹶ ﹾ ﹸ ﱢ‬ ‫ﹾ ﹶﹺ ﹺ ﹺ‬ ((‫اﳌﺴﻠﻤﲔ‬ ‫ﻣﻦ ﹾﹸ ﹾ ﹺ ﹺ ﹶ‬ ‫ﻭاﻟﻜﺒﲑ ﹾ‬ ‫ﹶ‬

“ทานรสูลุลลอฮฺไดกําหนดใหชาวมุสลิมทุกคนจายซะกาตฟตเราะฮฺ จํานวนหนึ่งศออฺจากผลอินทผลัมแหง หรือหนึ่งศออฺจากขาวบาเล ไมวาจะเปน ทาสหรือไท ชายหรือหญิง และเด็กเล็กหรือผูใหญ” (อัลบุคอรีย 1407) อิบนุรุชดิ กลาววา “อุละมาอมีมติเปนเอกฉันทวามุสลิมทุกคนถูกสั่ง ใหจายซะกาตฟตเราะฮฺ ไมวาจะเปนชายหรือหญิง เด็กเล็กหรือผูใหญ ทาสหรือ ไท นอกจากทั ศนะที่ แปลกแยกเท านั้ น (ที่ มี ทั ศนะว าไม วาญิ บ)” (บิ ดายะ ตุลมุจญตะฮิด เลม 2 หนา 130) 2. มีความสามารถ หมายความว า มุ ส ลิ ม ที่ ว าญิ บ ต อ งจ า ยซะกาตฟ ต เราะฮฺ ต อ งมี ความสามารถด านทรั พย สิ นหรื ออาหารที่ เหลื อจากความจํ าเป นประจํ าวั น สําหรับตัวเองและผูอยูใตการดูแลเลี้ยงดูในคืนวันอีดและวันรุงขึ้นจํานวนหนึ่ง ศออฺ (อัลมุฆนีย เลม 4 หนา 307, มุฆนีย อัลมุหฺตาจญ เลม 1 หนา 403,) 3. ถึงกําหนดเวลา หมายความวา ซะกาตฟตเราะฮฺจะไมถือวาวาญิบตองจายจนกวาจะถึง กําหนดเวลาของมัน โดยจะเริ่มตั้งแตตะวันลับขอบฟาของวันสุดทายของเดือน รอมฎอน หรือคืนวันอีด จนถึงเวลากอนที่อิหมามจะเริ่มตักบีรเพื่อละหมาดอีด

ดังนั้น ผูใดแตงงาน หรือครอบครองทาส หรือเขารับอิสลาม หรือให กําเนิดบุตร กอนตะวันลับขอบฟาของวันสุดทายของเดือนรอมฎอน และมีชีวิต อยูจนถึงตะวันลับขอบฟาของคืนวันอีด ก็ถือวาญิบตองจายซะกาตฟตเราะฮฺ สําหรับตัวเขา และผูที่อยูภายใตการดูแลเลี้ยงดูของเขา แตถาเกิดขึ้นหลังจาก ตะวั นลั บขอบฟ าของคื นวั นอี ดไปแล วก็ ถื อว าไม วาญิ บ ขณะเดี ยวกั น ผู ที่ เสียชีวิตกอนตะวันลับขอบฟาของคืนวันอีด ถือวาไมวาญิบตองจายซะกาตฟต เราะฮฺ สํ าหรั บตั วเขา แต ถ าเสี ยชี วิ ตหลั งจากตะวั นลั บขอบฟ าไปแล ว ก็ จําเปนตองจายซะกาตฟตเราะฮฺสําหรับตัวเขา (อัลมุฆนีย เลม 4 หนา 298, อัล กาฟ เลม 2 หนา 170) เวลาสําหรับจายซะกาตฟตเราะฮฺ อุละมาอไดแบงเวลาสําหรับการจายซะกาตฟตเราะฮฺไวสามเวลา คือ 1. เวลาที่วาญิบ โดยจะเริ่ ม หลั ง จากตะวั น ลั บ ขอบฟ า ของวั น สุ ด ท า ยของเดื อ น รอมฎอน หรือคืนวันอีด ตามทัศนะใหมและถูกตองกวาในมัซฮับอัชชาฟอีย ไปจนถึงเวลาเริ่มละหมาดอีด (อัตตะฮฺซีบ ฟ ฟกฮฺ อัชชาฟอีย เลม 3 หนา 125, เราเฎาะฮฺ อัตฏอลิบีน 2 เลม หนา 153) โดยอางหลักฐานจากหะดีษ ของอิบนุอุมัรที่วา ‫ﺻﺪﻗﺔ ﹾ ﹺ ﹾ ﹺ ﹺ‬ ‫ﻓﺮض ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ((‫رﻣﻀﺎﻥ‬ ‫)) ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫اﻟﻔﻄﺮ ﹾ‬ “ท า นรสู ลุ ล ลอฮฺ ไ ด กํ า หนดให จ า ยซะกาตฟ ต เราะฮฺ จ ากเดื อ น รอมฎอน” อิหมามอันนะวะวียกลาววา “คําวา “จากเดือนรอมฎอน” เปนการ ใหสัญญาณถึงเวลาที่วาญิบตองจายซะกาตฟตเราะฮฺ ซึ่งอุละมาอมีทัศนะที่ ขัดแยงกัน แตทัศนะที่ถูกตองของอิหมามอัชชาฟอีย คือซะกาตฟตเราะฮฺวา


ญิบตองจายก็ตอเมื่อตะวันลับขอบฟาไปแลวและเริ่มเขาสวนหนึ่งของคืนวัน อีดฟตริ (ชัรหฺมุสลิม เลม 7 หนา 63 และดู อัตตะฮฺซีบ ฟ ฟกฮฺ อัชชาฟอีย เลม 3หนา /125, อัลมัจญมูอฺ 6 เลม หนา 84) 2. เวลาที่สงเสริม สวนเวลาที่สงเสริมและดีที่สุดสําหรับการจายซะกาตคือ เวลาเชาตรู ของวันอีด กอนที่จะออกเดินทางสูสนามละหมาดอีด หรือกอนละหมาดอีดเพียง เล็กนอย (อัลมัจญมูอฺ เลม 6หนา 88, อัลอิสติซการ เลม 9 หนา 365) เพราะท า นนบี ไ ด สั่ ง ให อ อกซะกาตฟ ต เราะฮฺ ก อ นเดิ น ทางไป ละหมาดอีดที่มุศ็อลลา ดังมีรายงานจากอิบนุอุมัร ทานเลาวา ‫ﹺ‬ ‫ﺧﺮﻭج ﱠ ﹺ‬ ‫ﺗﺆد￯ ﹶ ﹾ ﹶ‬ ‫أﻣﺮ ﹺ ﹶﲠﺎ ﹶ ﹾ‬ ‫ﻗﺒﻞ ﹸ ﹸ ﹺ‬ ((‫اﻟﺼﻼة‬ ‫اﻟﻨﺎس ﹺ ﹶإﱃ ﱠ‬ ‫أﻥ ﹸ ﹶ ﱠ‬ ‫ﹶﻭ ﹶ ﹶ ﹶ‬...))

“และทานรสูลไดสั่งจายซะกาตฟตเราะฮฺกอนที่ประชาชนจะเดินทาง ออกไปละหมาดอีด (ยังสนามละหมาด)” (อัลบุคอรีย 1407) 3. เวลาที่อนุญาต หมายความวาอนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺกอนถึงกําหนดเวลา ที่วาญิบ นั่นคือ อนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺตลอดทั้งปโดยไมจําเปนตองรอให เขาเดือนรอมฎอนกอน ตามทัศนะของมัซฮับหะนะฟย (อัลบะนายะฮฺ เลม 3 หนา 504) อนุ ญ าตให จ า ยซะกาตฟ ต เราะฮฺ ต ลอดช ว งเดื อ นรอมฎอน ตาม ทัศนะของมัซฮับอัชชาฟอีย (อัลมัจญมูอฺ เลม 6 หนา 87, เราเฎาะตุลฏอลิ บีน เลม2 หนา154) สวนอุละมาอสวนมัซฮับมาลิกียและหันบะลีย มีทัศนะวา อนุญาต ใหจายซะกาตฟตเราะฮฺกอนถึงกําหนดเวลาที่วาญิบประมาณหนึ่งหรือสอง วันกอนวันอีดเทานั้น และไมอนุญาตใหจายซะกาตกอนหนานั้น (อัซซะคี

เระฮฺ เลม 3 หนา 158, อัชชัรหฺ อัลกะบีร เลม 7 หนา 117, อัลอินศอฟ เลม 7 หนา 116, อัลมุฆนีย เลม 4 หนา 300) เพราะมีรายงานจากอิบนุอุมัร ทานกลาววา ‫ﻗﺒﻞ ﹾ ﹺ ﹾ ﹺ‬ ‫ﻳﻌﻄﻮﻥ ﹶ ﹾ ﹶ‬ ‫ﻛﺎﻧﻮا ﹸ ﹾ ﹸ ﹾ ﹶ‬ ‫اﻟﻔﻄﺮ ﹺ ﹶ ﹾ ﹴ‬ ((‫ﻳﻮﻣﲔ‬ ‫ﺑﻴﻮﻡ ﹶﹾأﻭ ﹶ ﹾ ﹺ ﹾ ﹶ‬ ‫)) ﹶ ﹸ ﹾ‬

“บรรดาเศาะหาบะฮฺจะจายซะกาตฟตเราะฮฺกอนวันอีดหนึ่งหรือ สองวัน” (อัลบุคอรีย 1415) ทัศนะหลังนี้นาจะมีน้ําหนักมากกวาเพราะเปนทัศนะที่สอดคลองกับ แบบอยางการปฏิบัติจริงของบรรดาเศาะหาบะฮฺ และสอดคลองกับเปาหมายของ ซะกาตฟตเราะฮฺที่สงเสริมใหทานอาหารแกผูยากไร และทําใหพวกเขามีกินใน เชาวันอีด วัลลอฮุอะอฺลัม (ฟะตาวา อัลลัจญนะฮฺ อัดดาอิมะฮฺ เลม 9 หนา 373) อนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺหลังละหมาดอีดหรือไม ไมอนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺหลังจากเลยเวลาที่ถูกกําหนดไว หรื อหลังจากละหมาดอี ดเสร็จเรีย บรอยแลว ดังนั้ น ผูใ ดจา ยซะกาตฟต เราะฮฺหลังละหมาดอีด จะถือวาซะกาตที่ไดจายไปนั้นเปนซะกาตทั่วๆไป ไมใชซะกาตฟตเราะฮฺ เพราะทานรสูลุลลอฮฺไดกลาวไวในหะดีษที่รายงาน โดยอิบนุอับบาสวา ‫ﹶﹺ‬ ‫أداﻫﺎ ﹶ ﹾ ﹶ‬ ‫زﻛﺎة ﹶ ﹾ ﹸ ﹶ ﹲ‬ ‫أداﻫﺎ‬ ‫ﻓﻬﻲ ﹶ ﹶ ﹲ‬ ‫ﻭﻣﻦ ﹶ ﱠ ﹶ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﱠ ﹶ‬ ‫ﻣﻘﺒﻮﻟﺔ ﹶ ﹶ ﹾ‬ ‫ﻗﺒﻞ ﱠ‬ ‫ ﹶ ﹾ‬...)) ‫اﻟﺼﻼة ﹶ ﹺ ﹶ‬ ‫ﹶﹶ ﹺ‬ ‫ﻓﻬﻲ ﹶ ﹶ ﹲ ﹺ‬ ‫ﹶﹺ‬ ((‫اﻟﺼﺪﻗﺎت‬ ‫ﹶﹾﹶ‬ ‫ﻣﻦ ﱠ‬ ‫ﺻﺪﻗﺔ ﹾ‬ ‫اﻟﺼﻼة ﹶ ﹺ ﹶ ﹶ‬ ‫ﺑﻌﺪ ﱠ‬

“...ผูใดจายซะกาตฟตเราะฮฺกอนละหมาดอีดมันก็จะเปนซะกาตที่ถูก รับ และผูใดจายซะกาตฟตเราะฮฺหลังจากละหมาดอีด มันก็จะเปนแคสวนหนึ่ง ของการบริจาคทานทั่วไปเทานั้น” (อบูดาวูด 1609, อิบนุมาญะฮฺ 1827)


เชคอุ ษั ยมี นได กล าวเกี่ ยวกั บผู ที่ จงใจจ ายซะกาตผิ ตเราะฮฺ หลั ง ละหมาดอีดวา “และที่ถูกตองคือ การจายซะกาตฟตเราะฮฺในเวลาดังกลาวเปน ที่ตองหาม (บาป) และเปนการจายที่ไมถูกรับ หลักฐานคือหะดีษของอิบนุอุมัร ที่วา “ทานนบีสั่งใหจายซะกาตฟตเราะฮฺกอนที่ประชาชนจะออกไปละหมาดอีด (ยังสนามละหมาด) ขณะเดียวกัน หะดีษอิบนุอับบาสก็ประกาศอยางชัดเจนวา “ผูใดจายซะกาตฟตเราะฮฺกอนละหมาด ดังนั้นมันคือซะกาตที่ถูกรับ และผูใด จายซะกาตหลังจากละหมาดัมันก็จะเปนเพียงสวนหนึ่งของการบริจาคทาน ทั่วๆไป” และนี่คือหลักฐานที่บงชี้วาการจายซะกาตฟตเราะฮิหลังละหมาดไม ถูกรับ (อัชชัรหฺ อัลมุมติอฺ เลม 6 หนา 171-172) ชนิดของซะกาตฟตเราะฮฺที่วาญิบตองจาย อุละมาอสวนใหญไดวางเงื่อนไขของสิ่งที่จะใชเปนซะกาตฟตเราะฮฺวา ตองเปนอาหารหลักที่สามารถประทังชีวิตได (อิ่ม) เชน ขาวสาร แปง ขาวบาเล เปนตน (อัลมัจญมูอฺ เลม 6 หนา 91-98) อบูสะอีด อัลคุดรียกลาววา ‫اﻟﻔﻄﺮ ﹰ ﹺ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﺨﺮج ﹺﰲ ﹶ ﹺ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﻣﻦ‬ ‫رﺳﻮﻝ ا ﹺ‬ ‫)) ﹸ ﱠ‬ ‫ﺻﺎﻋﺎ ﹾ‬ ‫ﻳﻮﻡ ﹾ ﹾ ﹺ ﹶ‬ ‫ﹾ‬ ‫ﻛﻨﺎ ﹸﻧ ﹾ ﹺ ﹸ‬ ‫ ﹶ ﹾ ﹶ‬‫ﷲ‬ ‫ﻋﻬﺪ ﹶ ﹸ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﻭاﻟﺰﺑﻴﺐ ﹶ ﹾ ﹶ ﹺ ﹸ‬ ‫ ﹶ ﹶ ﹶ‬,‫ﻃﻌﺎﻡ‬ ‫ﹶﹶ ﹴ‬ ((‫ﻭاﻟﺘﻤﺮ‬ ‫ﻭﻛﺎﻥ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫اﻟﺸﻌﲑ ﹶ ﱠ ﹺ ﹸ‬ ‫ﻭاﻷﻗﻂ ﹶ ﱠ ﹾ ﹸ‬ ‫ﻃﻌﺎﻣﻨﺎ ﱠ ﹸ‬ “พวกเราไดจาย (ซะกาตฟตเราะฮฺ) ในวันอีดฟตริสมัยของรสูลุลลอฮฺ จํานวนหนึ่งศออฺจากอาหาร และอาหารของเราในสมัยนั้นคือ ขาวบาเล องุน แหง นมเปรี้ยวแหง และอินทผลัมแหง” (อัลบุคอรีย 1414) อิบนุอุมัรเลาวา ทานนบีกลาววา ‫ ﹶأﻭ ﹰ ﹺ‬,‫ﺷﻌﲑ‬ ‫ﹺ‬ ‫اﻟﻔﻄﺮ ﹰ ﹺ‬ ‫)) ﹶ ﹶ ﹸ ﹺ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹾ ﹴ‬ ‫ ﹶﹾأﻭ‬,‫ﲤﺮ‬ ‫ﺻﺎﻋﺎ ﹾ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹴ ﹾ ﹶ‬ ‫ﺻﺎﻋﺎ ﹾ‬ ‫ﺻﺪﻗﺔ ﹾ ﹾ ﹺ ﹶ‬ ‫ﹶ‬ ‫ﺻﺎﻋﺎ ﹺﻣﻦ ﺳ ﹾ ﹴ‬ ((‫ﻠﺖﹴ‬ ‫ﹶ ﹰ ﹾ ﹸ‬

“ซะกาตฟตเราะฮฺตองจายจํานวนหนึ่งศออฺจากขาวบาเล หรือหนึ่งศออฺ จากผลอินทผลัมแหง หรือหนึงศออฺจากขาวบาเล (ชนิดหนึ่งมีสีขาวและไมมี เปลือก)” (อิบนุคุซัยมะฮฺ เลม 4 หนา 80, อัลหากิม เลม 1หนา 408) อุละมาอมีทัศนะที่ขัดแยงกันเกี่ยวกับความหมายของคําวา “อาหาร” ที่ มีรบุในหะดีษของอบูสะอีดอัลคุดรีย บางทานยืนยันวา คําวา “อาหาร” ในหะดีษ นี้หมายถึง เมล็ดขาวบาเล และอื่นๆ แตทัศนะที่คิดวานาจะมีน้ําหนักที่สุดคือ ทัศนะที่วา “อาหาร” ที่หมายถึงในหะดีษอบูสะอีดนี้ ครอบคลุมทุกๆประเภท อาหารหลักที่สามารถประทังชีวิตไดของแตละพื้นที่ วัลลอฮุอะอฺลัม ถึงแมวา “อาหาร” ในหะดีษขางตนจะครอบคลุมทุกๆอาหารหลักของแต ละพื้นที่ก็ตาม แตชนิดของอาหารที่ประเสริฐที่สุดที่จะนํามาจายเปนซะกาตฟต เราะฮฺคือชนิดของอาหารที่มีระบุในหะดีษตางๆ ตราบใดที่ยังสามารถหาอาหาร ประเภทเหลานั้นมาจายเปนซะกาตฟตเราะฮฺ และผูที่มีสิทธิรับซะกาต ประสงคที่ จะรับ อิหมามนะวะวียกลาววา “สิ่งที่ทุกคนจําเปนตองจายซะกาตฟตเราะฮฺ คือจํานวนหนึ่งศออฺจากชนิดใดขนิดหนึ่งของบรรดาอาหารหลัก ไมวาจะเปน แปงขาวบาเล ผลอินทผลัมแหง ผลองุนแหง เมล็ดขาวบาเล และอื่นๆที่อนุญาต ใหใชเปนซะกาตฟตเราะฮฺ (อัลมัจญมูอฺ เลม 6 หนา 110) อัตราที่ตองจายซะกาตฟตเราะฮฺ มีรายงานจากหะดีษเศาะหีหฺระบุวาอัตราอาหารที่ตองจายสําหรับซะ กาตฟตเราะฮฺคือจํานวนหนึ่งศออฺมะดานีย เพราะทานนบีกลาววา ‫أﻫﻞ ﹾﹶ ﹺ ﹶ ﹺ‬ ‫ﻣﻜﻴﺎﻝ ﹶ ﹾ ﹺ‬ ‫ﻭزﻥ ﹶ ﹾ ﹺ‬ ‫ﻭاﳌﻜﻴﺎﻝ ﹺ ﹾ ﹶ ﹸ‬ ‫ﻣﻜﺔ ﹶ ﹾﹺ ﹾ ﹶ ﹸ‬ ‫أﻫﻞ ﹶ ﱠ ﹶ‬ ‫اﻟﻮزﻥ ﹶ ﹾ ﹸ‬ ‫ﹾﹶﹾ ﹸ‬ ‫اﳌﺪﻳﻨﺔ‬

“ตราชั่งตองใชตราชั่งชาวมักกะฮฺ และการตวงตองใชเครื่องตวงของ ชาวมะดีนะฮฺ” (อบูดาวูด 2899)


หนึ่งศออฺมะดานียปจจุบันตวงขาวสารไดประมาณสี่ลิตรบานเรา หรือ ชั่งไดประมาณสองกิโลกรัมครึ่ง เชคอุ ษั ยมี นกล าวว า “ฉั นได หาค าของศออฺ นะบะวี ย ปรากฏว ามี น้ําหนักเทากับสองกิโลกรัมกับอีกสี่สิบกรัมของน้ําหนักขาวสาลี และเปนที่ ทราบกันดีวา สิ่งตางๆจะมีความแตกตางดานความหนักและเบา ดังนั้น เมื่อสิ่ง ใดที่หนักเราก็ควรจะเผื่อไวดวยการเพิ่มน้ําหนักใหมากขึ้น และสิ่งใดที่เบาเราก็ ลดน้ําหนักใหนอยลง...สวนมุด (ลิตร) นะบะวีย เราพบวาหนึ่งลิตรมีน้ําหนัก ประมาณ 510 กรัม” (อัชชัรหฺอัลมุมติอฺ เลม 6 หนา 177) ผูใดบางที่ตองจายซะกาตฟตเราะฮฺ? มุสลิมทุกคนจําเปนตองจายซะกาตฟตเราะฮฺสําหรับตัวเอง และ ทุกๆคนที่อยูภายใตการดูแลของเขา ไมวาจะเปนเด็กเล็กหรือผูใหญ ผูชาย หรือผูหญิง ทาสหรือไท อิบนุอุมัรเลาวา ‫ﹺ ﹺ‬ ‫اﻟﺼﹺﻐﹾﹺﲑ ﹶﻭﹾاﻟﹶﻜﺒﹺﹾﹺﲑ‬ ‫ ﺑﹺﹶﺼﹶﺪﹶﻗﺔ ﹾاﻟﻔﹾﻄﹺﺮ ﹶﻋﹺﻦ ﱠ‬ ‫))ﹶأﹶﻣﹶﺮ ﹶرﹸﺳﹾﻮﹸﻝ اﷲﹺ‬ ((‫اﳊﱢﺮ ﹶﻭﹾاﻟﹶﻌﹾﺒﹺﺪ ﹺﳑ ﱠﹾﻦ ﹶﲤ ﹸﹾﻮﹸﻧﹾﻮﹶﻥ‬ ‫ﹶﻭ ﹾ ﹸ‬ “ทานรสูลุลลอฮฺสั่งใหจายซะกาตฟตเราะฮฺแกเด็กเล็กและผูใหญ ผู เปนไทและทาส จากบรรดาผูที่อยูภายใตการดูแลของพวกทาน” (อัดดา เราะกุฏนีย 220, อัลบัยฮะกีย เลม 4 หนา 161) นาฟอฺเลาวา “อิบนุอุมัรจะจายซะกาตฟตเราะฮฺสําหรับครอบครัว ของทานทุกคน ไมวาจะเปนเด็กเล็ก หรือผูใหญ ทานจะจายซะกาตสําหรับ ผูที่อยูภายใตการดูแลของทาน และสําหรับทาสและทาสี” (อิบนุอะบีชัยบะฮฺ เลม 4 หนา 37)

จะจายซะกาตฟตเราะฮฺใหแกผูใด? อิบนุรุชดิ กลาววา “บรรดาอุละมาอมีมติเปนเอกฉันทวามีบัญญัติให จายซะกาตฟตเราะฮฺแกบรรดาผูยากไรและผูขัดสน (ฟุเกาะรออฺและมะสากีน) เพราะทานรสูลุลลอฮฺ ไดกลาวไววา ‫ﻋﻦ ﹶ ﹺ‬ ‫اﻟﺴﺆاﻝ ﹺﰲ ﹶ ﹶ‬ ‫ﻫﺬا ﹾ ﹶ ﹾ ﹺ‬ ((‫اﻟﻴﻮﻡ‬ ‫اﻏﻨﻮﻫﻢ ﹶ ﹺ ﱡ‬ ‫)) ﹾ ﹸ ﹾ ﹸ ﹾ‬

“พวกทานจงทําใหพวกเขา (บรรดาผูยากไร) ไมตองพึ่งพาการ ขอทานในวัน (อีด) นี้” (อัดดาเราะกุฏนีย 67, อัลบัยฮะกีย เลม 4 หนา 175 ดวยสายรายงานที่ออน) (บิดายะฮฺ อัลมุจญตะฮิด เลม 2 หนา 137) เพียงแต อุละมาอมีทัศนะที่ขัดแยงเกี่ยวกับบรรดาผูมีสิทธิ์รับซะกา ตอีกหกจําพวกอื่นจากนั้น วามีสิทธิ์รับซะกาตฟตเราะฮฺดวยหรือไม มัซฮับหะนะฟย และทัศนะที่ถูกตองของมัซฮับหันบะลีย มีทัศนะวา อนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺแกบรรดาผูที่มีสิทธิที่จะรับสวนแบงทั้งแปด ประเภท เพราะซะกาตฟตเราะฮฺเปนสวนหนึ่งของการบริจาคทานที่รวมอยู ในความหมายของอายะฮฺ w v u t s r qm

l¡ ~}|{zyx “แท จริ งทานทั้ งหลาย นั้ น สํ าหรั บบรรดาผู ที่ ยากจน ผู ที่ ขั ดสน เจาหนาที่ในการรวบรวมมัน ผูที่หัวใจไดรับการโนมนาว (สูอิสลาม) การไถทาส ผูมีหนี้สินลนตัว ในทางของอัลลอฮฺ และผูที่อยูในระหวางเดินทาง” (อัตเตาบะฮฺ 60) (ดู หะชิยะฮฺ อิบนุอาบิดีน เลม 2 หนา 79, อัลอินศอฟ เลม 7 หนา 137, อัลมุฆนีย เลม 4 หนา 314) มัซฮับอัชชาฟอีย มีทัศนะวา จําเปนตองแบงซะกาตฟตเราะฮฺใหแก บรรดาผู ที่ มี สิ ทธิ์ รั บซะกาตทั้ งแปดประเภท หรื อเท าที่ พบเจอ ในกรณี ที่


มอบหมายซะกาตใหอิหมามเปนผูแบงให แตถาประสงคจะจายซะกาตดวย ตนเอง เขาต องแบ งซะกาตออกเป นหกส วนสํ าหรั บผู มี สิ ทธิ์ รั บซะกาตหก ประเภท โดยตัดสวนของเจาหนาที่ผูรับผิดชอบดานซะกาต (อามิลีน) และผูที่ หัวใจไดรับการโนมนาว (มุอัลลัฟ กุลูบ) ออก และหากไมพบผูมิสิทธิ์ทั้งหก ประเภทก็ใหแจกจายแกบรรดาผูมีสิทธิ์เทาที่พบเจอ (อัลอุมมฺ เลม 2 หนา 69, อัลหาวีย อัลกะบีร เลม 4 หนา 430, อัลมุจญมูอฺ เลม 6 หนา 104) สวนมัซอับมาลิกียและรายงานหนึ่งจากอะหมัดระบุวา ซะกาตฟต เราะฮฺตองมอบใหแกผูที่ยากจนและผูที่ขัดสน (ฟุเกาะรออและมะสากีน) เทานั้น ไมอนุญาตใหจายแกอื่นจากทั้งสอง (อัตตัฟรีอฺ เลม 2 หนา 296, หา ชิยะฮฺ อัดดุสูกีย เลม 1 หนา 508, อัลฟุรูอฺ เลม 2 หนา 540) โดยตีความจากหะดีษอิบนุอับบาสที่กลาววา ‫ﻃﻬﺮة ﹺ ﹺ ﹺ ﹺ‬ ‫زﻛﺎة ﹾ ﹺ ﹾ ﹺ‬ ‫ﻓﺮض ﹶ ﹸ ﹸ‬ ‫ ﹶ ﹶ‬‫ﷲ‬ ‫ﻣﻦ‬ ‫رﺳﻮﻝ ا ﹺ‬ ‫)) ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫ﻟﻠﺼﺎﺋﻢ ﹾ‬ ‫اﻟﻔﻄﺮ ﹸ ﹾ ﹶ ﹰ ﱠ‬ ‫ﹶ ﹺ‬ ‫ﻭﻃﻌﻤﺔ ﹺ ﹾ ﹶ ﹶ ﹺ ﹺ‬ ‫ﱠﹾﹺ‬ ‫ﻭاﻟﺮﻓﺚ ﹶ ﹸ ﹾ ﹶ ﹰ‬ ((‫ﻟﻠﻤﺴﺎﻛﲔ‬ ‫اﻟﻠﻐﻮ ﹶ ﱠ‬

“รสูลุลลอฮฺไดกําหนด (ใหมุสลิม) จายซะกาตฟตเราะฮฺ เพื่อเปนการขัด เกลาใหผูถือศิลอดสะอาดบริสุทธิ์จากมลทินของการหลงลืม และการพูดจาที่ หยาบคาย และเพื่อเปนทานอาหารแกบรรดาผูยากไร” (อบูดาวูด 1317) ดังนั้น คําวากลาวที่วา “เพื่อเปนทานอาหารแกบรรดาผูยากไร” ทําให เขาใจว าการจ ายซะกาตฟ ตเราะฮฺนั้น ถูกเจาะจงเฉพาะสําหรับผูยากไร อัน หมายถึงฟุเกาะรออและมะสากีนเทานั้น สวนบรรดาผูมีสิทธิ์รับซะกาตทั่วไปอีก หกประเภทจะไมมีสิทธิ์รับซะกาตฟตเราะฮฺตามทัศนะของอุละมาอกลุมนี้ ทัศนะนี้ ได รั บการเห็ นชอบและสนั บสนุ นจากอุ ละมาอ ชั้นแนวหน า หลายทาน เชน อิบนุตัยมิยะฮฺ (มัจญมูอฺอัลฟะตาวา เลม 25 หนา 71-78) อิบ นุก็อยยิม (ซาดุลมะอาด เลม 2 หนา 44) และในบรรดาอุละมาอปจจุบันที่เห็น ดวยกับทัศนะนี้คือ เชคอับดุลอะซีซ บิน บาซ (มัจญมูอฺฟะตาวาอิบนุบาซ เลม

14 หน า 202, 215), เชคอุ ษั ยมี น (อั ชชั รหฺ อั ลมุ มติ อฺ เล ม 6 หน า 184) และเชคอัลบานีย เปนตน จากทัศนะที่ขัดแยงขางตน ผูเขียนเห็นวา ควรใหความสําคัญกับ บรรดาผูยากไร (ฟุเกาะรออและมะสากีน) เปนอันดับแรก แตถาไมมีคน เหล า นั้ น ก็ อ นุ ญ าตให จ า ยซะกาตแก บ รรดาผู มี สิ ท ธิ์ รั บ ซะกาตทั้ ง หก ประเภทที่เหลือ วัลลอฮุอะอฺลัม อนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺดวยเงินหรือไม? อุ ล ะมาอ ส ว นใหญ (มั ซ ฮั บ มาลิ กี ย ชาฟ อี ย และหั น บะลี ย ) ไม อนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺดวยเงินแทนอาหาร และผูใดจายซะกาตฟต เราะฮฺดวยเงิน ซะกาตฟตเราะฮฺของเขาจะไมถูกรับ เพราะไมมีหลักฐาน บงชี้ถึงการอนุญาต (อัลอุมม เลม 3 หนา 174, อัลมุฆนีย เลม 4 หนา 295) สวนมัซฮับหะนะฟย มีทัศนะวาอนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺดวยเงิน (อัลเมาสุอะฮฺ อัลฟตฮิยะฮฺ เลม 23 หนา 344) มีคนเลาใหอิหมามอะหมัดฟงวา “ฉันไดจายซะกาตฟตเราะฮฺดวย เงินดิรฮัม” ทานตอบวา “ฉันกลัววาการจายซะกาตฟตเราะฮฺเชนนั้นจะไมถูก รับ เพราะคานกับสุนนะฮฺของทานรสูลุลลอฮฺ” มีคนถามทานวา “มีคนกลุมหนึ่งอางวา อุมัร บิน อับดุลอะซีซเคย รับซะกาตฟตเราะฮฺดวยราคาของอาหาร?” ทานตอบวา “พวกเขาละทิ้งคําพูดของทานรสูลุลลอฮฺ แลวอางวา คน นั้น คนนี้กลาวอยางนั้นอยางนี้ กระนั้นหรือ” (อัลมุฆนีย เลม 4 หนา 295) อิบนุกุดามะฮฺกลาววา “ไมอนุญาตใหจายเปนราคา เพราะเปนการ ละทิ้งจากสิ่งที่ไดถูกระบุไวแลว” (อัลมุฆนีย เลม 4 หนา 295)


อัช เชากานี ยก ลาววา “ผูที่ มีทั ศ นะวา จํา เปน ตอ งจา ยซะกาตฟ ต เราะฮฺดวยประเภท (ใดประเภทหนึ่ง) ของประเภทอาหารที่จําเพาะเจาะจง ได ย กหะดี ษ ของอิ บ นุ อุ มั ร เป น หลั ก ฐาน และพวกเขาจะไม อ นุ ญ าตให เปลี่ ย นไปจ า ยด ว ยราคาของอาหารเหล า นั้ น นอกจากเมื่ อ ไม มี อ าหาร เหลานั้น หรืออาหารประเภทเดียวกัน” (นัยลุลเอาฏอร เลม 4 หนา 171) ทานยังกลาวอีกวา “ที่มีหลักฐานถูกตอง (เกี่ยวกับการจายซะกาต ฟตเราะฮฺ) ในสมัยของทานรสูลุลลอฮฺ คือ ซะกาตฟตเราะฮฺจะถูกเก็บจาก ทรัพยสิน (ไมใชเงินตรา) ที่ถูกกําหนดไว และสิ่งเหลานั้นเปนที่ทราบกันดี อยางไมตองสงสัย…” (สัยลุลญัรรอร) เชคอับดุลอะซีซ บิน บาซ กลาววา “และไมอนุญาตใหจายซะกาต ฟตเราะฮฺดวยราคาตามทัศนะของนักวิชาการสวนใหญ และมันคือทัศนะที่มี หลักฐานที่ถูกตองกวา ยิ่งกวานั้น สิ่งที่วาญิบตองจายซะกาตฟตเราะฮฺตอง มาจากอาหารหลักเทานั้น ดังที่ทานนบีและบรรดาเศาะหาบะฮฺไดปฏิบัติ” (มัจญมูอฺอัลฟะตาวา เลม 14 หนา 202) ทานยังกลาวอีกวา “....ซะกาตฟตเราะฮฺเปนอิบาดะฮฺอยางหนึ่งดวย มติเปนเอกฉันทของชาวมุสลิม และหลักการดั้งเดิมของอิบาดะฮฺตางๆตอง ตะวักกุฟ (หมายความวาตองพึ่งพาหลักฐานเทานั้น) ดังนั้น จึงไมอนุญาต ให ผู ใ ดปฏิ บั ติ อิ บ าดะฮฺ ใ ดๆ เว น แต มี ห ลั ก ฐานที่ ถู ก ต อ งจากท า นน บีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม” (มัจญมูอฺอัลฟะตาวา เลม 14 หนา 208) คณะกรรมการถาวรเพื่ อ การวิ จั ย ทางวิ ช าการและการฟ ต วา ประเทศซาอุดีอาระเบียกลาววา “และไมอนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺ ดวยเงิน เพราะหลักฐานทางศาสนบัญญัติไดบงชี้ถึงความจําเปน (วาญิบ) ที่จะตองจายซะกาตฟตเราะฮฺดวยอาหาร และไมอนุญาตใหละทิ้งหลักฐาน

ทางศาสนบัญญัติดวยคําพูดของผูใดก็ตาม” (มัจญมูอฺฟะตาวาอัลลัจญนะฮฺ อัดดาอิมะฮฺ เลม 9 หนา 379) ที่กลาวเชนนั้นเพราะมีเหตุผลสําคัญดังนี้ 1. ซะกาตฟตเราะฮฺเปนอิบาดะฮฺที่ถูกเจาะจงใหจายจากอาหารหลัก บางประเภทเปนการเฉพาะ เพราะฉะนั้น จึงไมอนุญาตใหจายดวยสิ่งอื่นจาก ประเภทของอาหารที่ถูกกําหนดไวเหลานั้น เชนเดียวกับที่ไมอนุญาตใหจาย ซะกาตนอกเวลาที่ถูกกําหนดไว 2. การจายซะกาตดวยราคาของอาหารเปนการปฏิบัติ ที่คานกั บ คําสั่งและการปฏิบัติของทานรสูลุลลอฮฺและบรรดาเศาะหาบะฮฺ เชคอุษัยมีนกลาววา “เนื่องจากการจายซะกาตฟตเราะฮิดวยราคา เปนการปฏิบัติที่คานกับการปฏิบัติของบรรดาเศาะหาบะฮฺ ซึ่งพวกทานจะ จายเปนอาหารจํานวนหนึ่งศออฺเปนประจํา และทานนบีก็ไดกลาวไววา ‫ﹺ‬ ‫اﳌﻬﺪﻳﲔ ﹺﻣﻦ ﹺ‬ ‫ﹺ‬ ‫اﳋﻠﻔﺎء ﹺ ﹺ‬ ‫ﺑﺴﻨﺘﻲ ﱠ ﹺ‬ ‫ﹺ‬ ((‫ﺑﻌﺪﻱ‬ ‫اﻟﺮاﺷﺪﻳﻦ ﹾﹶ ﹾ ﱢ ﹶ ﹾ ﹶ ﹾ‬ ‫ﹶ‬ ‫ﻭﺳﻨﺔ ﹾ ﹸ ﹶ ﹶ ﱠ‬ ‫ﻋﻠﻴﻜﻢ ﹺ ﹸ ﱠ ﹶ ﹸ‬ ‫)) ﹶ ﹶ ﹾ ﹸ ﹾ‬

“พวกทานจงดําเนินตามสุนนะฮฺของฉันและสุนนะฮฺของบรรดาเคาะ ลีฟะฮฺผูทรงธรรมหลังจากฉัน” (อบูดาวูด 3991) เชคอบูบะกัร อัลญะซาอิรียกลาววา “สิ่งที่จําเปนตองจายซะกาตปต เราะฮฺคือประเภทตางๆของอาหาร และจะไม (อนุญาตให) เปลี่ยนเปนอยางอื่น นอกจากในกรณีที่สุดวิสัยเทานั้น เพราะไมมีรายงานที่ถุกตองจากทานนบีวา ทานจายซาตฟตเราะฮฺดวยเงินแทนอาหาร อีกทั้งไมเคยมีรายงานจากบรรดา เศาะหาบะฮฺแมแตคนเดียววาพวกเขาเคยจายวะกาตฟตเราะฮฺดวยเงิน” (มิน ฮาจญอัลมุสลิม หนา 259) 3. ทานนบีไดกําหนดอัตราสวนและประเภทของอาหารสําหรับใชจาย ซะกาตฟตเราะฮฺอยางชัดเจน ในขณะที่อาหารแตละประเภทมีราคาที่แตกตาง กัน ดังนั้น หากแมนวา ราคาอาหารหรือเงินสามารถใชจายเปนคาซะกาตฟต


เราะฮฺได แนนอนวาสิ่งที่วาญิบตองจายตองเปนหนึ่งสออฺจากอาหารประเภทใด ประเภทหนึ่ง หรือราคาของอาหารประเภทใดประเภทหนึ่งเทานั้น อิหมามอันนะวะวียกล าววา “ทานนบีไดระบุถึงอาหารบางประเภท (สําหรับใชจายซะกาตฟตเราะฮฺ) ซึ่งมี่ราคาที่แตกตางกัน และทานไดกําหนดให จาย (ซะกาตฟตเราะฮฺ) จํานวนหนึ่งศออฺเทานั้นจากบรรดาอาหารเหลานั้น การ กําหนดเชนนั้นเปนการบงชี้สิ่งที่ตองคํานึงถึงคือ (อัตราของอาหาร นั่นคือหนึ่ง) ศออฺ โดยไมไดคํานึงถึงราคาของอาหาร (อัลมินฮาจญ ชัรหฺเศาะหีหมุสลิม เลม 7 หนา 60) อิ บนุ หะญั รกล าวว า “เสมื อนกั บว า (ได มี การเจาะจง) อาหารทุ ก ประเภทที่มีระบุในหะดีษของอบีสะอีด อัลคุดรีย (เปนการเฉพาะ) โดยที่ทุกๆ ประเภทของอาหารเหลานั้นมีอัตราสวน (ที่ตองจายซะกาตฟตเราะฮฺ) เทาๆกัน (นั่นคือหนึ่งศออฺ) พรอมกับความแตกตางดานราคาของอาหารเหลานั้น ดังนั้น จึงบงชี้วา ที่ (ทานนบี) ประสงค) คือจายซะกาตตามอัตราสวนดังกลาวจาก ประเภทใดประเภทหนึ่งของอาหาร (นั่นือหนึ่งสออฺ ถึงแมวาจะมีความแตกตาง ดานราคาของแตละประเภทก็ตาม)” (ฟตหุ ลบารี ย เล ม 4 หนา 437) วัลลอ ฮุอะอฺลัม สวนอบูหะนีฟะฮฺ อนุญาตใหจายซะกาตฟตเราะฮฺดวยเงินตราหรือราคา ของอาหารหลัก และถือวาการจายซะกาตดวยเงินตราประเสริฐกวา เพื่อใหผู ยากไรมีความสะดวกที่จะซื้อหาสิ่งตางๆที่พวกเขาตองการในวันอีด เพราะบางที พวกเขาอาจจะไมจําเปนตออาหารหลัก แตอาจจําเปนตอเสื้อผา หรือเนื้อ หรือ อื่ นๆ ดั งนั้ น การจ ายซะกาตด วยอาหารหลั กแก พวกเขาอาจทํ าให พวกเขา จําเปนตองเสาะหาคนที่จะรั บซื้ ออาหารหลักจากเขา และบางทีพวกเขาอาจ จํ าเป นต องขายอาหารเหล านั้ นด วยราคาที่ ต่ํ ากว าราคาจริ งตามท องตลาด ทั้งหมดนั้นจะพูดถึงในกรณีที่มีความสะดวก และอาหารหลักตามทองตลาดมี

จํานวนมากอยูแลว สวนเวลาที่ยากลําบากและตามทองตลาดมีอาหารหลักอยู นอย ในกรณีเชนนี้การจายซะกาตดวยอาหารหลักยอมประเสริฐกวาการจายดวย ราคาของอาหาร โดยคํานึงถึงประโยชนของผูยากไร (อัลมับสูฏ เลม 3 หนา 114, บะดาอิอฺ อัสเศาะนาอิอฺ เลม 2หนา 73, อัลบะนายะฮฺ เลม 3 หนา 494) จะอยางไรก็ตาม การปฏิบัติที่สอดคลองกับคําสั่งของทานนบีและการ ปฏิบัติของบรรดาเศาะหาบะฮฺยอมเปนการดีที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงทัศนะของอุ ละมาอสวนใหญที่ระบุวา การจายซะกาตดวยราคาอาหารจะไมถูกรับ วัลลอ ฮุอะอฺลัม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.