คู่มือประเมินบุคลากรสายวิชาการ

Page 1

คู่มือการประเมินผล การปฏิบัติงานบุคลากร สายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา



คํานํา การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นกระบวนการหนึ่งของระบบบริหารทรัพยากรมนุษย์ในการพัฒนา บุคลากรให้มีความพร้อมและเหมาะสมในการปฏิบั ติงานของหน่ วยงาน คณะวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตระหนักถึงความจําเป็นและคุณค่าความสําคัญของบุคลากรทุกคนทุกระดับในการพัฒนาคณะให้เป็นไปตาม ทิศทางและเป้าหมายที่กําหนดร่วมกัน เพื่อให้บุคลากรมีความสามารถในการปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ เพิ่ม ศักยภาพในการทํางาน มีความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพที่เหมาะสม และเพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณา ความดีความชอบประจําปี โดยเน้นการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อการปรับปรุงพัฒนาสร้างสรรค์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีความเป็นธรรมกับผู้รับการประเมิน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ



สารบัญ คํานํา สารบัญ หลักการและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของบุคลากรสายวิชาการ (ป.FST.-1) แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานของบุคลากรสายวิชาการ (ป.FST.-2 ) แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ (ป.FST.-3) วิธีการคํานวณและกรอกเอกสาร(สายวิชาการ) - วิธีการกรอกแบบประเมินแบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของบุคลากรสาย วิชาการคณะวิทยาศาสตร์ ฯ (ส่วนที่ 1 แบบ ป.FST.-1) - วิธีการคํานวณส่วนที่1 แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานของบุคลากร สาย วิชาการ (ส่วนที่ 2 แบบ ป.FST.-2) - พจนานุกรมสมรรถนะหลักสายวิชาการ (ก) Core Competencies - พจนานุกรรมสมรรถนะเฉพาะสายวิชาการ (ข) Functional Competencies - พจนานุกรรมสมรรถนะการบริหารสายวิชาการ (ค) Managerial Competencies - การกําหนดมาตรฐานของสมรรถนะตามกลุ่มสายงาน

หน้า ก ข 1 5 7 9 13 19 20 24 27 30



หลักการและวิธีการประเมินผลการปฏิบัตงิ าน

1


หลักการของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. เน้นการประเมินเพื่อการพัฒนา 2. มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ 3. มีความเป็นธรรมกับผู้รับการประเมิน 4. บุคลากรส่วนใหญ่ทั้งผู้บริหาร ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินให้การยอมรับ วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. เพื่อพัฒนาบุคลากรและเพื่อปรับปรุงงาน 2. เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาความดีความชอบประจำาปี 3. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้สามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กร 4. เพื่อให้เห็นภาพปัญหาและอุปสรรคในการทางานเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงระบบและพัฒนาบุคลากร รูปแบบการประเมิน 1. ผู้ประเมินจะอยู่ในรูปคณะกรรมการที่คณะแต่งตั้ง 2. ผู้ประเมินต้องสามารถชี้จุดอ่อน/จุดแข็ง ของผู้รับการประเมินได้ 3. ผู้รับการประเมินต้องมีส่วนร่วมในการประเมินโดยการรับรู้ และยอมรับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเป้าหมาย ในการประเมิน และต้องทำาข้อตกลงร่วมกับผู้บังคับบัญชาเบื้องต้นก่อนถึงรอบการประเมิน 4. การประเมินประกอบด้วย 2 ส่วนคือการประเมินตามข้อตกลงและการประเมินความสามารถเชิง สมรรถนะตามที่กำาหนดของแต่ละสายของบุคลากร โดยเป็นการประเมินจากผู้บังคับบัญชาเบื้องต้นร้อย ละ 50 และผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอื่นอีกร้อยละ 50 องค์ประกอบ/ลักษณะของการประเมินผลการปฏิบัติงาน 1. ผู้รับการประเมิน เป็นบุคลากรทุกคนที่สังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยแบ่งเป็น 2 สาย ตามลักษณะของภารกิจ/ งานทีร่ ับผิดชอบดังนี้ 1.1. สายวิชาการ ได้แก่ อาจารย์ประจำา 1.2. สายสนับสนุน ได้แก่ บุคลากรสายสนับสนุนทั้งหมด 2. คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วยผู้บังคับบัญชาและกรรมการอื่นๆ จำานวนไม่น้อย กว่า 2 คน

2


องค์ประกอบกรรมการและผู้ให้ ข้อมูลการประเมินสายวิชาการ ระดับผู้รับ การประเมิน สายวิชาการ

กรรมการ ประเมิน

สอน

คณบดีหรือ ตามคำาสั่ง มอบหมาย ของคณบดี

ประธาน หลักสูตร นักศึกษา ผู้ร่วมงาน

ผูใ้ ห้ข้อมูล บริหาร วิจัย

บริการ วิชาการ ประธาน หลักสูตร ผู้ร่วมงาน ผู้รับบริการ

ผู้ที่เป็น หัวหน้าวิจัย องค์ประกอบ ผู้รว่ มวิจัย คณะกรรม การผู้ร่วมงาน

ให้คำาปรึกษา

งานพิเศษ อื่นๆ หัวหน้าผู้รับ ประธาน ผิดชอบหรือผู้ หลักสูตร ที่เกี่ยวข้อง ผู้ร่วมงาน

องค์ประกอบกรรมการและผู้ให้ข้อมูลการประเมินสายบริหารระดับคณะ ระดับผู้รับ การประเมิน

กรรมการ ประเมิน

ผูใ้ ห้ข้อมูล บริหาร วิจัย

สอน

บริการ

รองคณบดี

คณบดีหรือ ตามคำาสั่ง มอบหมาย ของคณบดี

ประธาน หลักสูตร นักศึกษา ผู้ร่วมงาน

ประธาน หลักสูตร ผู้ร่วมงาน ผู้รับบริการ

ผู้ที่เป็น หัวหน้าวิจัย องค์ประกอบ ผู้รว่ มวิจัย คณะกรรม การผู้ร่วมงาน

หัวหน้ากลุ่ม สาขา ประธาน หลักสูตรและ หัวหน้า หน่วยงาน เทียบเท่า

คณบดีหรือ ตามคำาสั่ง มอบหมาย ของคณบดี

กรรมการ หลักสูตร นักศึกษา ผู้ร่วมงาน

กรรมการ หลักสูตร ผู้ร่วมงาน ผู้รับบริการ

คณบดี ผู้ร่วมงาน

หัวหน้าวิจัย ผู้ร่วมวิจัย

ให้คำาปรึกษา

งานพิเศษ อื่นๆ หัวหน้าผู้รับ ประธาน ผิดชอบหรือผู้ หลักสูตร ที่เกี่ยวข้อง ผู้ร่วมงาน

หัวหน้าผู้รับ คณบดี ผิดชอบหรือผู้ ผู้ร่วมงาน ที่เกี่ยวข้อง

องค์ประกอบกรรมการและผู้ให้ข้อมูลการประเมินสายสนับสนุน ระดับผู้รับ การประเมิน ผู้ปฏิบัติงาน สายสนับสนุน

กรรมการ ประเมิน

ผลงานประจำา

คณบดีหรือตามคำาสั่งมอบหมายของ ผู้บังคับบัญชา คณบดี ผูร้ ่วมงาน

3

ผูใ้ ห้ข้อมูล ผลงานเชิงพัฒนา ผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน

งานอื่นๆ ผู้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน


รอบการประเมินผลการปฏิบัตงิ าน ประเมินตามปีการศึกษา มี 2 รอบการประเมินคือ การประเมินครั้ง ที่ 1 รอบการประเมิน 1 มิถุนายน - 31 ตุลาคม ของปีการศึกษานั้น ๆ การประเมินครั้ง ที่ 2 รอบการประเมิน 1 พฤศจิกายน - 31 พฤษภาคม ของปีการศึกษานั้น ๆ สัดส่วนการประเมินผลการปฏิบัติงาน สายของบุคลากร สายวิชาการ สายสนับสนุน สายบริหาร o ตำาแหน่งคณบดี o ตำาแหน่ง รองคณบดี o ตำาแหน่งหัวหน้ากลุ่มสาขาวิชา o ตำาแหน่งหัวหน้าสำานักงาน

ผลการประเมินผลงานตาม ข้อตกลง 80 70

พฤติกรรมการปฏิบัติงาน (Competency) 20 30

20 40 40 60

80 60 60 40

องค์ประกอบและสัดส่วนของการประเมิน องค์ประกอบ 1. ผลสัมฤทธิ์ของงาน - ปริมาณ/คุณภาพ/ความรวดเร็วตรงเวลา - ประหยัด/ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร 2. พฤติกรรมการปฏิบัติงาน (Competency) - สมรรถนะหลัก - สมรรถนะเฉพาะ หรือการบริหาร

สัดส่วน (ร้อยละ) 20-80%

20-80%

4


แบบ ป.FST.-1 แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของบุคลากรสายวิชาการ (ส่วนที่ 1) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ รอบการประเมิน  รอบที่ 1 1 มิถุนายน ..................... ถึง 31 ตุลาคม........................  รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม................ ชื่อผู้รับการประเมิน ………………………….…..………………………………………………………………………………...... ตำาแหน่ง ……………………………………….…….…...ตำาแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัดกลุ่มสาขา ………………………....................................................………………………......................................................... (1) กิจกรรม / โครงการ / งาน

(3) ค่าคะแนน ที่ได้

(2) ตัวชี้วัด / เกณฑ์การประเมิน

1 งานสอน

2 งานที่ปรากฏเป็นผลงานทางวิชาการ

3. งานที่สนับสนุนการปฏิบัติงานด้าน วิชาการ 4. งานอื่นๆ ตามภารกิจของ มหาวิทยาลัย

1.ภาระงานสอนเป็นไปตามมาตรฐานภาระงานทางวิชาการ ของผู้ดำารงตำาแหน่งอาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รอง ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ 2.คุณภาพการจัดการเรียนรู้เป็นไปตามแผนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำำคัญ 3. จำานวนผลงานทางวิชาการเป็นไปตามมาตรฐานภาระงาน ทางวิชาการของผู้ดำารงตำาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ 4. คุณภาพของผลงานทางวิชาการเป็นที่ยอมรับ o ด้านเอกสารประกอบการสอน o ด้านการวิจัย o ด้านบทความทางวิชาการ o ด้านงานวิจัยในชั้นเรียน 5.ปริมาณงานที่สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านวิชาการ 6. ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานสนับสนุนด้านวิชาการ 7. ปริมาณงานที่ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัย 8. ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจาก มหาวิทยาลัย

(7) สรุปคะแนนส่วนผลสัมฤทธิ์ของงาน

=

(4) นำ้าหนัก (ความสำาคัญ/ ความยากง่าย ของงาน)

(5)

ค่าคะแนนถ่วงนำ้า หนัก

(3)x (4) 80

15-20

20 10

10-15 2-4 0-10 2-6 0-10 8-10 8-10 0-2.4 0-1.6

80 (6) ผลรวม ผลรวมของค่าคะแนนถ่วงนำ้าหนัก = จำานวนระดับค่าเป้าหมาย = 5

หมายเหตุ สำาหรับประเภทวิชาการ ภาระงานให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ ว่าด้วย ภาระงานทางวิชาการของผู้ดำารงตำาแหน่ง อาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ..........ประกอบด้วย 1) งานสอน 2) วิจัยและผลงานทาวิชาการ 3) บริการ วิชาการ 4) พัฒนาศักยภาพนักศึกษา 5) งานบริหารและงานอื่น ๆ

5


(8) ผู้ประเมินและผูร้ ับการประเมินได้ตกลงร่วมกันและเห็นพ้องกันแล้ว (ระบุข้อมูลใน (1) (2) และ (4) ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อจัดทำาข้อตกลง)

ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (........................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................

ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (.....................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................

(9) ความเห็นเพิ่มเติมของผู้ประเมิน (ระบุข้อมูลเมื่อสิ้นรอบการประเมิน) 1) จุดเด่น และ/หรือ สิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไข....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีส่งเสริมและพัฒนา................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. (10) ผู้ประเมินและผูร้ ับการประเมินได้เห็นชอบผลการประเมินแล้ว (ระบุข้อมูลใน (3) (5) (6) (7) และ (9) ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อสิ้นรอบการประเมิน)

ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (.................................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................

ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (...............................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................

6


แบบ ป.FST.-2 แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานของบุคลากรสายวิชาการ (ส่วนที่ 2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ รอบการประเมิน  รอบที่ 1 1 มิถุนายน ....................... ถึง 31 ตุลาคม....................  รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม.............. ชื่อผู้รับการประเมิน ………………………….…..………………………………………………………………………………...... ตำาแหน่ง ……………………………………….…….…...ตำาแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัดกลุ่มสาขา ……………………….................................................... ………………………......................................................... ก. สมรรถนะหลัก 1. ความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ 2. จรรยาบรรณวิชาชีพ 3. ความสามารถในการสื่อสาร 4. ทักษะในการถ่ายทอดความรู้ 5. บุคลิกภาพ 6. การให้ความร่วมมือและทำางาน ที่ได้รับมอบหมาย 7. การมีความคิดริเริ่มและ นวัตกรรม

(1) ระดับ สมรรถนะที่คาด หวัง

ประเมินตนเอง

(2) ระดับ สมรรถนะที่ แสดงออก

ข. สมรรถนะเฉพาะ ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ

4 3 4 3 3 4

(3) ระดับ สมรรถนะที่คาด หวัง

1. ทักษะการสอน

(4) ระดับ สมรรถนะที่ แสดงออก

4 2

2. ทักษะการวิจยั และ นวัตกรรม 3. การบริการวิชาการ

3 4

4. ทักษะการให้คำา ปรึกษา

3

ประเมิน ตนเอง

สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติตามการตกลงของหลักสูตร/ศูนย์ผู้รับ การประเมินกรอกช่อง (3) และ (4) เอง

หมายเหตุ สมรรถนะในช่อง ก. และ ข. ให้เป็นไปตามที่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ กำาหนด (5) การประเมิน หลักเกณฑ์การประเมิน

จำานวน สมรรถนะ

คูณด้วย

จำานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ทีม่ ีระดับสมรรถนะ ทีแ่ สดงออก สูงกว่าหรือเท่ากับ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง x 3 คะแนน จำานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ทีม่ ีระดับสมรรถนะ ทีแ่ สดงออก ตำ่ากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 1 ระดับ x 2 คะแนน จำานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ทีม่ ีระดับสมรรถนะ ทีแ่ สดงออก ตำ่ากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 2 ระดับ x 1 คะแนน จำานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ทีม่ ีระดับสมรรถนะ ทีแ่ สดงออก ตำ่ากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 3 ระดับ x 0 คะแนน (6) ผลรวมคะแนน ผลรวมคะแนนใน (6) จำานวนสมรรถนะที่ใช้ในการ ประเมิน x 3 คะแนน

(7) สรุปคะแนนส่วนพฤติกรรมการปฏิบตั งิ าน (สมรรถนะ) =

(8) ผู้ประเมินและผูร้ ับการประเมินได้ตกลงร่วมกันและเห็นพ้องกันแล้ว (ระบุข้อมูลใน (1) และหรือ (3) ตามระดับสมรรถนะของตำาแหน่งที่กำาหนด ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อจัดทำาข้อตกลง)

ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (..................................................................)

ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (..............................................................) 7

คะแนน


วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................

วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................

(9) ความเห็นเพิ่มเติมของผู้ประเมิน (ระบุข้อมูลเมื่อสิ้นรอบการประเมิน) 1) จุดเด่น และ/หรือ สิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไข....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 2) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีส่งเสริมและพัฒนา เพื่อจัดทำาแผนพัฒนารายบุคคล..................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. (10) ผู้ประเมินและผูร้ ับการประเมินได้เห็นชอบผลการประเมินแล้ว (ระบุข้อมูลใน (2) และหรือ (4) และหรือ (5) (6) (7) และ (9) ให้ครบ) จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน (ลงนามเมื่อสิ้นรอบการประเมิน)

ลายมือชื่อ..................................................... (ผู้ประเมิน) (....................................................................) วันที่.............เดือน..............................พ.ศ....................

ลายมือชื่อ..................................................(ผู้รับการประเมิน) (......................................................................) วันที่.............เดือน.................................พ.ศ................

8


แบบ ป.FST.-3 แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ส่วนที่ 1 ข้อมูลผู้รับการประเมิน รอบการประเมิน  รอบที่ 1 1 มิถุนายน ....................... ถึง 31 ตุลาคม....................  รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม.............. ชื่อผู้รับการประเมิน ………………………….…..………………………………………………………………………………...... ตำาแหน่ง ……………………………………….…….…...ตำาแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัดกลุ่มสาขา ………………………....................................................……………………….........................................................

ส่วนที่ 2 การสรุปผลการประเมิน คะแนน (ก)

ส่วนการประเมิน ส่วนที่ 1 : ผลสัมฤทธิ์ของงาน ส่วนที่ 2 : พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ส่วนอื่น (ถ้ามี)

นำ้าหนัก (ข)

รวมคะแนน (ก) x (ข)

20-80% 20-80%

รวม

100%

สัดส่วนของนำ้าหนัก (ข) ตามประกาศของคณะฯ เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินฯ พ.ศ. 2554 ส่วนที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ของงานฯ ให้เป็นไปตามที่หน่วยงานกำาหนด โดยให้สัดส่วนฯไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการปฏิบัติงานให้สัดส่วนฯไม่เกินร้อยละ 30 ระดับผลการประเมิน  ระดับ 5  ระดับ 4  ระดับ 3  ระดับ 2  ระดับ 1

ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรแก้ไข

ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน ช่วงคะแนน

9

80 – 100 70 – 79.99 60 – 69.99 50 – 59.99 1 – 49.99


ส่วนที่ 3 แผนพัฒนาการปฏิบัติงานรายบุคคล แผนพัฒนาตนเอง (Individual development plan) ชื่อบุคลากร........................................................................................ สมรรถนะที่จะพัฒนา …...................................................................

ตำาแหน่ง .................................................................................... ระดับที่คาดหวัง : ระดับ .........................................................

เป้าหมายในการพัฒนา 1. .............................................................................................................................................................................................................. 2. .............................................................................................................................................................................................................. กิจกรรมการพัฒนา

รายละเอียดการพัฒนา

ผู้รบั ผิดชอบ

ระยะเวลา วันเริ่มต้น

ผลลัพธ์ที่คาดหวัง

วันสิ้นสุด ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................ ........................................................

10


ส่วนที่ 4 : การรับทราบผลการประเมิน ผูร้ ับการประเมิน :  ได้รับทราบผลการประเมินและแผนพัฒนา

ลงชื่อ ......................................................... (.................................................................) ตำาแหน่ง ................................................... วันที่ .........................................................

การปฏิบัติงานรายบุคคลแล้ว

ผู้ประเมิน : ได้แจ้งผลการประเมินและผู้รับการประเมินได้

ลงชื่อ ......................................................... (.................................................................) ตำาแหน่ง ................................................... วันที่ .........................................................

ลงนามรับทราบ  ได้แจ้งผลการประเมินเมื่อวันที.่ ................................. แต่ผู้รับการประเมินไม่ลงนามรับทราบผลการประเมิน โดยมี.......................................................เป็นพยาน ลงชื่อ ..................................................พยาน ตำาแหน่ง ...................................................... วันที่.............................................................

ส่วนที่ 5 : ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้รับการประเมิน :  เห็นด้วยกับผลการประเมิน  มีความเห็นต่าง ดังนี้

ลงชื่อ ......................................................... (.................................................................) ตำาแหน่ง ................................................... วันที่ .........................................................

.......................................................................... .......................................................................... ..........................................................................

ผู้บงคับบัญชาเหนือขึำ้นไปอีกชั้นหนึ่ง (ถ้ามี) :  เห็นด้วยกับผลการประเมิน  มีความเห็นต่าง ดังนี้ .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... ..........................................................................

ลงชื่อ ......................................................... (.................................................................) ตำาแหน่ง ................................................... วันที่ .........................................................

11


วิธีการคำานวณและกรอกเอกสาร สายวิชาการ

12


แบบ ป.FST.-1 แบบข้อตกลงการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของบุคลากรสายวิชาการ (ส่วนที่ 1) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ รอบการประเมิน  รอบที่ 1 1 มิถุนายน ..................... ถึง 31 ตุลาคม........................  รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม................ ชื่อผู้รับการประเมิน ………………………….…..………………………………………………………………………………...... ตำาแหน่ง ……………………………………….…….…...ตำาแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัดกลุ่มสาขา ………………………....................................................………………………......................................................... (1) กิจกรรม / โครงการ / งาน 1 งานสอน

2 งานที่ปรากฏเป็นผลงานทางวิชาการ

3. งานที่สนับสนุนการปฏิบัติงานด้าน วิชาการ

4. งานอื่นๆ ตามภารกิจของ มหาวิทยาลัย

(5)

(2) ตัวชี้วัด / เกณฑ์การประเมิน

(3) ค่าคะแนน ทีไ่ ด้

(4) นำ้าหนัก (ความสำาคัญ/ ความยากง่าย ของงาน)

1.ภาระงานสอนเป็นไปตามมาตรฐานภาระงานทางวิชาการ ของผู้ดำารงตำาแหน่งอาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รอง ศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ 2.คุณภาพการจัดการเรียนรู้เป็นไปตามแผนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำำคัญ

5

20

1.25 (5x20/80)

5

20

3. จำานวนผลงานทางวิชาการเป็นไปตามมาตรฐานภาระงาน ทางวิชาการของผู้ดำารงตำาแหน่งอาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ 4. คุณภาพของผลงานทางวิชาการเป็นที่ยอมรับ

5

10

1.25 (5x20/80) 0.625 (5x10/80)

5

10

o ด้านเอกสารประกอบการสอน o ด้านการวิจัย o ด้านบทความทางวิชาการ o ด้านงานวิจัยในชั้นเรียน 5.ปริมาณงานที่สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านวิชาการ

5

8

6. ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานสนับสนุนด้านวิชาการ

5

8

7. ปริมาณงานที่ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัย

5

2.4

8. ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจาก มหาวิทยาลัย

5

1.6

(7) สรุปคะแนนส่วนผลสัมฤทธิ์ของงาน

=

5 2 3

80 (6)ผลรวม ผลรวมของค่าคะแนนถ่วงนำ้าหนัก = จำานวนระดับค่าเป้าหมาย = 5

ค่าคะแนนถ่วงนำ้าหนัก

(3)x (4) 80

0.625 (5x10/80) 0.5 (5x8/80) 0.5 (5x8/80) 0.15 (5x2.4/80) 0.10 (5x1.6/80)

0.85 1.00 (5/5)

หมายเหตุ สำาหรับประเภทวิชาการ ภาระงานให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ ว่าด้วย ภาระงานทางวิชาการของผู้ดำารงตำาแหน่ง อาจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ..........ประกอบด้วย 1) งานสอน 2) วิจัยและผลงานทาวิชาการ 3) บริการ วิชาการ 4) พัฒนาศักยภาพนักศึกษา 5) งานบริหารและงานอื่น ๆ นำาคะแนนไปกรอกใน แบบสรุป (ป.FST.3)องค์ประกอบที่ 1 13


วิธีการคำานวณ (ส่วนที่ 1) ตัวอย่าง : อาจารย์ ก. หลักสูตรชีววิทยาประยุกต์ 1. ภาระงานสอนเป็นไปตามมาตรฐานภาระงานทางวิชาการของผู้ดารงตำาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ สูตรคำานวณ จำานวนชัว่ โมงการสอนต่อสัปดาห์ x ค่านำ้าหนักภาระงานสอนใน แบบ ป.FST-1* = ค่านำ้าหนักที่ได้ ตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง ชั่วโมงการสอนและค่าตอบแทน พ.ศ.2552 * 1. การกำาหนดค่านำ้าหนักภาระงานการสอน ควรอยู่ระหว่าง ร้อยละ 15-20

คำานำ้าหนักที่ได้ x 5 = ค่าคะแนนที่ได้ นำาไปกรอกใน(3)ป.FST-1 ค่านำ้าหนักภาระงานสอนใน แบบ ป.FST-1

ตัวอย่าง มีสอน 4 วิชาๆ คิดเป็นภาระงานสอน 15 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ รายวิชาที่สอน: ………………………………….. 3 (2-2-5) รายวิชาที่สอน: ………………………………….. 3 (2-2-5) รายวิชาที่สอน: ………………………………….. 3 (2-2-5) รายวิชาที่สอน: ………………………………….. 3 (3-0-4) คิดเป็นร้อยละ

15x20 15

= 20

ระดับคะแนนที่ได้

20x5 20

=5

มีผลระดับคะแนน 1-5 คะแนนที่ได้คือ 5 นำาค่าคะแนนที่ได้ไปกรอกในแบบ ป.FST.1 (หากคำานวณภารงานสอนได้มากกว่าระดับคะแนน 5 ให้ตัดค่าระดับคะแนนสูงสุดที่ระดับ 5)

14


2.คุณภาพการจัดการเรียนรู้เป็นไปตามแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ (รายวิชาที่รับผิดชอบทุกรายวิชา) มีผลการดำาเนินงานดังนี้ เกณฑ์ 1. มีแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ (มคอ.3,4) โดยระบุกิจกรรมที่หลากหลาย สื่อการเรียนการสอนมีการวัดและการประเมินผลการเรียนการเสนอที่อิงการ พัฒนาของผู้เรียนที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์รายวิชาและคุณลักษณะ บัณฑิตที่พึงประสงค์ทุกด้านมีเกณฑ์การวัดและการประเมินผลที่ชัดเจน 2. มีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ให้นักศึกษามีส่วนร่วมและเกิดการ เรียนรูด้ ้วยตนเอง 3. มีผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนโดยนักศึกษาในระดับ 3.51 4. มีการสร้างสื่อเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ 5.การประเมินผลมีประสิทธิภาพมีความน่าเชื่อถือและส่งผลคะแนนตาม เวลาที่กำาหนด 6. มีการสรุปผลการสอนตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย (มคอ.5,6) ภายในเวลาที่ กำาหนด 7. มีการนำาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนการสอน รวม

ค่านำ้าหนัก(1) ร้อยละ 30

คะแนนที่ได้ (2)

คะแนน (1)X(2)

5

5

25

3

5

15

5 5 3

5 5 5

25 25 15

5

5

25

4 30

5 150x5/150

20 150

คะแนนที่ได้

=5

มีผลระดับคะแนน 1-5 คะแนนที่ได้คือ 5 นำาค่าคะแนนที่ได้ไปกรอกในแบบ ป.FST.1 3. จำานวนผลงานทางวิชาการเป็นไปตามมาตรฐานภาระงานทางวิชารการของผู้ดำารง ตำาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ มีจำานวนผลงานทางวิชาการ ดังนี้ เกณฑ์

ค่านำ้าหนัก

ผลคะแนนดำาเนินงาน

1.5/1 รายวิชา

1.5

2. ตำาราหรือหนังสือที่ได้รับการเผยแพร่ตามเกณฑ์ที่คณะกำาหนด

5/1 เล่ม

5

3. บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารนานาชาติ

5/1 เรื่อง

4. บทความวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารระดับชาติ

4/1 เรื่อง

5. บทความวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

3/1 เรื่อง

1. เอกสารประกอบการสอนของรายวิชาที่รับผิดชอบที่สามารถใช้ขอตำาแหน่ง ทางวิชาการได้

6. งานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่และนำาไปใช้ประโยชน์ โดยองค์กร หน่วยงาน หรือชุมชน

5/1 โครงการ

7. บทความวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารระดับชาติ

2.5/1 เรื่อง ผลรวม

6.5

มีผลระดับคะแนน 1-5 คะแนนที่ได้คือ 5 (ตัดผลคะแนนสูงสุดที่ 5) นำาค่าคะแนนที่ได้ไปกรอกในแบบ ป.FST.1 15


4. คุณภาพของผลงานทางวิชาการเป็นที่ยอมรับ มีผลการดำาเนินงาน ดังนี้ เกณฑ์

ผลการดำาเนินงาน

เอกสารประกอบการสอน 1. เนื้อหามีความถูกต้องสมบูรณ์และทันสมัยสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของรายวิชา

☑มี ☐ไม่มี

2. มีระบบการอ้างอิงเอกสารที่ถูกต้องสมบูรณ์

☑มี ☐ไม่มี

3. มีการจัดทำาเป็นรูปเล่มที่สมบูรณ์

☑มี ☐ไม่มี

4. มีการตีพิมพ์เผยแพร่

☑มี ☐ไม่มี

5. มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

☑มี ☐ไม่มี เกณฑ์ (ค่านำ้าหนัก)

ผลการดำาเนินงาน

งานวิจัย 1. มีงานวิจัยที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากภายนอกมหาวิทยาลัย (2.5)

☐มี ☑ไม่มี

2. มีงานวิจัยที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากภายนอกมหาวิทยาลัยมากกว่า 80,000 บาท (2.5)

☐มี ☑ไม่มี

3. มีการตีพิมพ์เผยแพร่ (2.5)

☐มี ☑ไม่มี

4. มีการนำาไปใช้ประโยชน์ (2.5)

☐มี ☑ไม่มี

5. มีการนำาเสนอผลงานวิจัยในระดับชาติหรือนานาชาติ (2.5)

☐มี ☑ไม่มี

6. มีงานวิจัยที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากภายใน (1.5)

☐มี ☑ไม่มี

7. มีงานวิจัยที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากภายในมากกว่า 80,000 บาท (1.5)

☐มี ☑ไม่มี

เกณฑ์ (ค่านำ้าหนัก)

ผลการดำาเนินงาน

บทความทางวิชาการ 1. ได้รับการตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารทั่วไปหรือฐานข้อมูลของหน่วยงานในระดับ ท้องถิ่น (3)

☐มี ☐ไม่มี

2. ได้รับการตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือวารสารทั่วไปของหน่วยงานในระดับชาติ (3.5)

☐มี ☐ไม่มี

3. ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการของหน่วยงานในระดับชาติ (4)

☐มี ☐ไม่มี

4. ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มี peer review ในระดับชาติหรือเผยแพร่ในการประชุม วิชาการระดับชาติที่มี proceeding และเป็นวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏอยู่ในฐานข้อมูล ThaiJournal Citation Index Centre (TCI) หรือวารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสำานักงาน คณะ กรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)ให้เป็นวารสารระดับชาติและมีชื่อปรากฏในบัญชีรายชื่อที่เผยแพร่ (5)

☑มี ☐ไม่มี

16


5. ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มี peer review ในระดับนานาชาติหรือเผยแพร่ในการ ประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่มี proceeding และเป็นวารสารวิชาการที่ปรากฏอยู่ในฐาน ข้อมูลสากล เช่น ฐานข้อมูล ISI Web of Science (Science Citation Index Expand Social Sciences Citation Index, Art and Humanities Citation Index) หรือฐานข้อมูล Scopus หรือในฐานข้อมูลสากลอื่นๆที่ยอมรับในศาสตร์นั้นหรือวารสารวิชาการที่ยอมรับโดยสำานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) ให้ เป็นวารสารระดับนานาชาติและมีชื่อปรากฏอยู่ในบัญชี รายชื่อที่เผยแพร่ (5) เกณฑ์ (ค่านำ้าหนัก)

☐มี ☑ไม่มี

ผลการดำาเนินงาน

งานวิจัยในชั้นเรียน 1. มีแผนการดำาเนินงานวิจัยในชั้นเรียนและมีการดำาเนินการตามแผน (2.5)

☐มี ☑ไม่มี

2. มีการรายงานความก้าวหน้าอย่างสมำ่าเสมอ (2)

☑มี ☐ไม่มี

3. มีการจัดทารายงานการวิจัยในชั้นเรียนที่เป็นรูปเล่มสมบูรณ์และมีคุณภาพ (3)

☑มี ☐ไม่มี

4. มีการนำาไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการเรียนการสอน (2.5)

☐มี ☑ไม่มี

5. มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยแก่หน่วยงานภายในหรือภายนอก (5)

☐มี ☑ไม่มี

หมายเหตุ : พิจารณาจากคุณภาพของผลงานทางวิชาการที่มีผลการดำาเนินงานสูงสุดทังนี้ งานวิจัย มีผลการดำาเนินงานสูงสุด ค่า คะแนนที่ได้ คือ 5 นำาค่าคะแนนที่ได้ไปกรอกในแบบ ป.FST.1

5. ปริมาณงานที่สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านวิชาการ รายการ

ค่าคะแนน

1. คณบดี/รองคณบดี/หัวหน้ากลุ่มสาขาวิชา

3

2. อาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิชาการ

2

3. อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิจัยนักศึกษา

2

4. อาจารย์ผู้ดูแลรับผิดชอบกิจกรรมนักศึกษา

2

5. คณะกรรมการประกันคุณภาพของคณะ

2

6. ประธานคณะกรรมการต่างๆที่คณะมอบหมาย

2

7. คณะกรรมการต่างๆที่คณะหรือมหาวิทยาลัยมอบหมาย

1

อาจารย์ ก.ปฏิบตั ิหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ โครงงานวิจัยนักศึกษา และคณะกรรมการประกันคุณภาพของคณะ คะแนนที่ได้ คือ 6 (ตัดผลคะแนนสูงสุดที่ 5) นำาค่าคะแนนที่ได้ไปกรอกในแบบ ป.FST.1

17


6. ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานสนับสนุนด้านวิชาการมีผลการดำาเนินงาน ดังนี้ (ระบุงานสนับสนุนด้านวิชาการ) อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ เกณฑ์

ผลการดำาเนินงาน

1. มีแผนการดำาเนินงาน

☑มี ☐ไม่มี

2. มีการดำาเนินงานตามแผน

☑มี ☐ไม่มี

3. มีการสรุปประเมินผลการดำาเนินงาน

☑มี ☐ไม่มี

4. มีการนำาผลมาปรับปรุงการดำาเนินงาน

☑มี ☐ไม่มี

5. มีผลงานการประเมินในระดับดี

☑มี ☐ไม่มี

ค่าคะแนนที่ได้คือ 5 นำาค่าคะแนนทีได้ไปกรอกในแบบ ป.FST.1 (เลือกจากปริมาณงานที่สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านวิชาการที่มีค่า คะแนนสูงสุดและมีผลงานที่ดีที่สุด)

7. งานอื่นๆ ตามภารกิจของมหาวิทยาลัยที่ได้รับมอบหมาย

7.1 คณะกรรมการต่างๆที่คณะหรือมหาวิทยาลัยมอบหมาย (ค่าคะแนน 1/คำาสั่ง)

8. ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจของมหาวิทยาลัยที่ได้รับมอบหมาย ดังนี้ (ระบุเนื้องานจากข้อ (ข้อ 7) ……………………………………………………………………….. เกณฑ์

ผลการดำาเนินงาน

1. มีแผนการดำาเนินงาน

☑มี ☐ไม่มี

2. มีการดำาเนินงานตามแผน

☑มี ☐ไม่มี

3. มีการสรุปประเมินผลการดำาเนินงาน

☑มี ☐ไม่มี

4. มีการนำาผลมาปรับปรุงการดำาเนินงาน

☑มี ☐ไม่มี

5. มีผลงานการประเมินในระดับดี

☑มี ☐ไม่มี

ค่าคะแนนที่ได้คือ 5 นำาค่าคะแนนทีได้ไปกรอกในแบบ ป.FST.1

18


แบบ ป.FST.-2 แบบข้อตกลงการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานของบุคลากรสายวิชาการ (ส่วนที่ 2) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ รอบการประเมิน  รอบที่ 1 1 มิถุนายน ....................... ถึง 31 ตุลาคม....................  รอบที่ 2 1 พฤศจิกายน .................... ถึง 31 พฤษภาคม.............. ชื่อผู้รับการประเมิน ………………………….…..………………………………………………………………………………...... ตำาแหน่ง ……………………………………….…….…...ตำาแหน่งบริหาร.......................................................................................... สังกัดกลุ่มสาขา ………………………....................................................……………………….........................................................

ก. สมรรถนะหลัก 1. ความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ 2. จรรยาบรรณวิชาชีพ 3. ความสามารถในการสื่อสาร 4. ทักษะในการถ่ายทอดความรู้ 5. บุคลิกภาพ 6. การให้ความร่วมมือและทำางาน ที่ได้รับมอบหมาย 7. การมีความคิดริเริ่มและ นวัตกรรม

(1) ระดับ สมรรถนะที่คาด หวัง 4 5 4 4 5 4

ประเมินตนเอง

4

(2) ระดับ สมรรถนะที่ แสดงออก 4 5 4 3 5 2

ข. สมรรถนะเฉพาะ ตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ 1. ทักษะการสอน 2. ทักษะการวิจัยและ นวัตกรรม 3. การบริการวิชาการ 4. ทักษะการให้คำา ปรึกษา

4

(3) ระดับ สมรรถนะที่คาด หวัง 4 4

(4) ระดับ สมรรถนะที่ แสดงออก 4 4

ประเมินตนเอง

4 3

3 0

สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติตามการตกลงของหลักสูตร/ศูนย์ผู้รับ การประเมินกรอกช่อง (3) และ (4) เอง

หมายเหตุ สมรรถนะในช่อง ก. และ ข. ให้เป็นไปตามที่คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ กำาหนด (5) การประเมิน หลักเกณฑ์การประเมิน

จำานวน สมรรถนะ 7

จำานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ทีม่ ีระดับสมรรถนะ ทีแ่ สดงออก สูงกว่าหรือเท่ากับ ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง x 3 คะแนน จำานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ทีม่ ีระดับสมรรถนะ ทีแ่ สดงออก ตำ่ากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 1 ระดับ x 2 คะแนน จำานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ทีม่ ีระดับสมรรถนะ ทีแ่ สดงออก ตำ่ากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 2 ระดับ x 1 คะแนน จำานวนสมรรถนะหลัก/สมรรถนะเฉพาะ ทีม่ ีระดับสมรรถนะ ทีแ่ สดงออก ตำ่ากว่า ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง 3 ระดับ x 0 คะแนน

คูณด้วย

คะแนน

3

21

2

2

4

1

1

1

1

0

0

(6) ผลรวมคะแนน ผลรวมคะแนนใน (6) จำานวนสมรรถนะที่ใช้ในการ ประเมิน x 3 คะแนน

(7) สรุปคะแนนส่วนพฤติกรรมการปฏิบตั งิ าน (สมรรถนะ) =

26/(11X3) นำาคะแนนไปกรอกใน แบบสรุป (ป.FST.3) ส่วนที่ 2

19

26 0.87 0.79


พจนานุกรรมสมรรถนะหลักสายวิชาการ (ก) Core Competencies 1

ความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้

คำานิยาม มีความสามารถในการค้นคว้าหาความรู้เพื่อนำามารวบรวมวิเคราะห์และสังเคราะห์เป็นผลงานทางวิชาการ ตลอดจนสร้างความรู้ใหม่ด้วยกระบวนการวิจัยจนเป็นที่รับการยอมรับและนำาไปสูการพัฒนาวิชาชีพ ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

 มีการพัฒนาความรู้และทักษะเฉพาะอาชีพตลอดเวลาและมีผลงานที่ดีมากต่อคณะฯ

L4

 ไม่มีปัญหาด้านความรู้และทักษะเฉพาะอาชีพในการทางานและทางานได้ดี

L3

 มีความรู้และทักษะในการทางานตามภาระหน้าที่พอสมควร

L2

 ขาดความรู้และทักษะในการทำางานบางอย่างที่จำาเป็นต่อการทำางานต้องมีการพัฒนาตัวเองอีก

L1

 ขาดความรู้และทักษะในการทำางานจนก่อให้เกิดความเสียหายบ่อยครั้ง

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

2

จรรยาบรรณวิชาชีพ

คำานิยาม การประพฤติปฏิบัติที่ดีงามตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเพื่อรักษาส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงฐานะให้เหมาะสมตามลักษณะอาชีพ และลักษณะวิชาการ ทั้งต่อตนเอง และมหาวิทยาลัย ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

 เป็นแบบอย่างแก่ผู้ร่วมงานได้รับความชื่นชมเชื่อถือศรัทธาและยกย่องกระตุ้นและชักจูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติงานและปฏิบตั ิหน้าที่

ตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพร่วมกันได้มีความตั้ง ใจจริงใจและมีความรับผิดชอบสูงต่อการประพฤติปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณ L4

 ให้ เกียรติผู้บังคับบัญชาผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อนร่วมงาน นักศึกษา และผู้รับบริการ ช่วยเหลือเกื ำ้อกูลในทางที่ชอบยอมรับฟัง

ความคิดเห็นร่วมพัฒนางานสร้างความสามัคคีเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

L3

 พัฒนาตนเองเพิ่มพูนความรู้ความสามารถและทักษะการทำางานตลอดจนจริยธรรมในวิชาชีพ เพื่อให้การปฏิบ ำัติหน้าที่มี

ประสิทธิภาพประสิทธิผล L2

 ละเว้นการประพฤติมิชอบการนำาผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนใช้ความรู้ความสามารถปฏิบตั ิงานให้เกิดประสิทธิภาพด้วยความ

ขยัน รอบคอบรวดเร็ว ถูกต้องสมเหตุสมผล ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบความมีมารยาท ความเคารพนับถือตามอาวุโส การ เคารพกฎหมายดูแลรักษาและใช้ทรัพย์สินโดยคำานึงถึงประโยชน์ของหน่วยงานเป็นสำาคัญ

L1

 มีความเข้าใจและตระหนักถึงความสำาคัญของจรรยาบรรณบุคลากร โดยประพฤติปฏิบัติและแสดงออกอย่างเหมาะสมกับ บทบาทฐานะทั้งกาย วาจา ใจ ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตเสมอภาคและปราศจากอคติ

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

20


3

ความสามารถในการสื่อสาร

คำานิยาม ความสามารถในการสื่อสารให้ได้รับความเชื่อถือไว้วางใจ เชื่อใจ และเข้าใจได้ อย่างถูกต้อง ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

 สามารถให้คำาแนะนำาและเป็นตัวแทนในการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผล

L4

 สามารถให้และแลกเปลีำ่ยนข้อมูลตลอดจนการแสดงความคิดเห็นได้อย่างชัดเจนเหมาะสม

L3

 สามารถโน้มน้าว จูงใจ และกระตุ้นให้ผู้ฟังมีความคิดเห็นและปฏิบัตติ าม

L2

 สามารถสื่อสารและเตรียมข้อมูลได้ตามกรอบและแนวทางที่ถูกกำาหนดไว้แล้วได้และสามารถตอบข้อซักถาม

L1

 สามารถให้ข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจนในเรื่องที่รับผิดชอบแก่ผู้อื่นได้

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

4

ทักษะในการถ่ายทอดความรู้

คำานิยาม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการถ่ายทอดความรู้ปฏิบัติการสอนโดยใช้เทคนิคและสื่อการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนเพื่อ ให้การสอนมีประสิทธิภาพ ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

 มีทักษะและเทคนิคในการถ่ายทอดความรู้มีผลการประเมินในระดับดีมากจากผู้เรียน

L4

 ไม่มีปัญหาในการถ่ายทอดความรู้

L3

 มีทักษะในการถ่ายทอดความรู้

L2

 ขาดทักษะในการถ่ายทอดความรู้ ยังต้องมีการพัฒนาหรืออบรมเพื่อเพิ่มทักษะในการถ่ายทอด

L1

 ขาดทักษะในการถ่ายทอดความรู้ บางครั้งผู้เรียนมีการร้องเรียน

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

5

บุคลิกภาพ

คำานิยาม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพที่ดีตามหลักการอิสลามและสามารถนาความรู้พื้นฐานมาปฏิบัติได้รวมถึงการปฏิบัติตนต่อผู้ อื่นการวางตัวในที่ สาธารณะให้เหมาะสมกับสถานภาพ และการเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านบุคลิกภาพ ระดับ (Level) L5

รายละเอียด การเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านบุคลิกภาพ  เป็นที่ยอมรับขององค์กรหรือหน่วยงานเป็นอย่างน้อย 21


 สามารถส่งเสริมแนะนำาให้ผู้อื่นพัฒนาบุคลิกภาพให้ดีขึ้น L4

การวางตัวในที่สาธารณะให้เหมาะสมกับสถานภาพ  สามารถนามารยาทอิสลามและสากล มาปฏิบัติได้ อย่างกลมกลืนเหมาะสมตามสถานการณ์

L3

การปฏิบัตติ นต่อผู้อื่น  รู้จักกาลเทศะทั้งในเรื่องของการวางตัวคำาพูดและการแสดงออก  สามารถสร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีกับเพื่อนร่วมงานและผู้อื่น

L2

มีบุคลิกภาพพื้นฐาน  แต่งกายสะอาด สุภาพถูกต้องตามหลักการอิสลาม ดูน่าเชื่อถือ  ความสะอาดของร่างกายทั้งผม,ใบหน้า,เล็บมือ,เล็บเท้า, เสื้อผ้าสะอาด,รองเท้าสะอาดอยู่ในสภาพใช้งานได้  ความสะอาดของเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย และเครื่องประดับ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน กิริยา วาจา ทักษะการสื่อสาร  ยิม้ แย้มแจ่มใส่และทักทายเพื่อนร่วมงาน และผู้มาติดต่อ  การใช้นำ้าเสียงทีเป็นมิตรในการสื่อสาร การแสดงออกทางอารมณ์  แสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง และอารมณ์ที่เหมาะสมเมื่อมีการถกเถียงโต้แย้งกับผู้อื่น  รับฟังและแสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง และอารมณ์อย่างเหมาะสมเมื่อโดนต่อว่าหรือโดนตำาหนิ  มีวิธีการแก้ไขสถานการณ์ด้วยความละมุนละม่อม

L1

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพที่ดีตามหลักการอิสลาม  รู้และเข้าใจความสำาคัญของบุคลิกภาพที่ดีต่องานของตน

L0 6

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน การให้ความร่วมมือและทำางานที่ได้รับมอบหมาย

คำานิยาม ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายวิสัยทัศน์ของคณะให้ความร่วมมือกับกิจกรรมโครงการต่างๆของคณะด้วยความสมัครใจและ เต็มใจด้วยความสมัครใจและเต็มใจเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

 มีความกระตือรือร้นในการทำางานได้อย่างดีมากและมีผลที่ดีต่อคณะ

L4

 มีความกระตือรือร้นในการทำางานเป็นอย่างดี

L3

 ขาดความกระตือรือร้นในการทำางานเป็นบางครั้ง บางคราว

L2

 ไม่มีความกระตือรือร้นในการทำางานตามภาระหน้าที่

L1

 ไม่มีความกระตือรือร้นในการทำางานตามภาระหน้าที่ก่อให้เกิดความเสียหายบ่อยครั้ง

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน 22


7

การมีความคิดริเริ่มและนวัตกรรม (Innovation Thinking)

คำา การกล้าคิดอย่างแตกต่างและเปิดใจกว้างรับโอกาสและความเป็นไปได้อื่นๆพร้อมทั้งเรียนรู้และทดลองแนวคิดใหม่ๆ เพื่อนาไปปรับใช้ใน นิยาม การทำางานมีความกระตือรือร้นในการแสวงหาวิธีการที่จะพัฒนาการทำางานให้ดียิ่งขึ้นและร่วมสร้างสรรค์บรรยากาศแห่งความกล้าคิดริเริ่ม เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองและทีมงานได้อย่างต่อเนื่อง ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

พัฒนาความคิด/แนวทางเชิงนวัตกรรมสำาหรับองค์กร  สร้างบรรยากาศ และกำาหนดทิศทางการพัฒนาด้านความคิดริเริ่มและนวัตกรรม  นำาความคิดริเริ่มใหม่ๆ (เช่น ผลิตภัณฑ์ /กระบวนการ/วิธีปฏิบัติ /แบบจำาลองเป็นต้น) ที่มีเอกลักษณ์ก้าวลำ้ายุค หรือเป็นเรื่องใหม่ ภายในองค์กร มาแนะนำาให้เกิดนวัตกรรมอย่างแท้จริงเพื่อพัฒนาความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับองค์กร  นำาเสนอความคิดใหม่ๆ มาใช้ ในองค์กร โดยไม่จำาเป็นต้องเป็นเรื่องใหม่ของวิชาชีพแต่เป็นเรื่องที่ยังไม่เคยนำามาใช้ในองค์กรมา ก่อน

L4

พัฒนาแนวความคิดใหม่ๆ สำาหรับหน่วยงาน  ผลักดันให้มีการนำาความคิดใหม่ๆ มาใช้ ในหน่วยงานของตนเองและเสนอแนะแนวคิดให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร  วิเคราะห์เปรียบเทียบกับคู่แข่งอย่างต่อเนื่องเพื่อศึกษาว่าหน่วยงานตนควรจะต้องทำาการปรับปรุง/พัฒนาในด้านใดบ้าง  วิเคราะห์เปรียบเทียบการดำาเนินงานของหน่วยงานตนเองกับหน่วยงานภายนอกเพื่อคิดค้นทางเลือกทีดีกว่าในการปรับปรุงงานที่ ตนรับผิดชอบ  ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการดำาเนินการภายในหน่วยงานเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนการทำางานทีดยี ิ่งขึ้น

L3

แนะนำาสอนผู้อื่นให้ หน่วยงานตนในการพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ ในการทางาน  ส่งเสริม/สนับสนุนให้ เกิดการพัฒนาสิ่งใหม่ภายในทีมงานอยู่เสมอเช่น เปิดใจรับฟังวิธีการทำางานใหม่ๆ จากผู้ปฏิบัติงานเป็นต้น  แนะนำาและผลักดันให้ มีการนำาความคิดใหม่ๆ มาใช้ในการทำางาน  สามารถที่จะคิดนอกกรอบ ตัวอย่างเช่น คิดสิ่งที่แตกต่างจากเดิม และสามารถนำามาปฏิบัติได้ ,แก้ไขปัญหาหรือพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ เดิมได้อย่างสร้างสรรค์,นำาความคิดสร้างสรรค์มาปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ๆได้  วิเคราะห์ความเป็นไปได้ผลตอบแทนต้นทุนและความเสียงของแนวคิดที่จะนามาปฏิบัติตามข้อเท็จจริงโดยยึดผลประโยชน์ของ องค์กรเป็นหลัก

L2

พัฒนาแนวความคิด/วิธีการใหม่ให้กับการทางานของตน  นำาเสนอแนวคิดใหม่ๆ ในการปรับปรุงการทำางานที่ตนเองรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง  สนับสนุนแนวความคิดใหม่ๆ และนำาแนวคิดนั้นมาประยุกต์เพื่อพัฒนางานของตนเองที่รับผิดชอบอยู่ได้อย่างเหมาะสม  นำาแนวคิดใหม่ๆมาใช้งานที่ตนเองรับผิดชอบจนประสบความสำาเร็จ

L1

การมีทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับความคิดริเริ่มและนวัตกรรม  แสดงออกถึงการยอมรับแนวคิดของผู้อื่น  เปิดรับโอกาสในการค้นพบวิธีการ/ทางออกในการปรับปรุงการทำางานของตนเอง  ใส่ใจและให้ความร่วมมือในการปฏิบัตติ ามแนวคิดใหม่ๆ 23


L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

พจนานุกรรมสมรรถนะเฉพาะสายวิชาการ (ข) Functional Competencies 1

ทักษะการสอน (Teaching Skills)

คำานิยาม ปฏิบัติการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ตามเป้าประสงค์วางแผนการเรียนการสอนสร้างสื่อการสอนการวิจัยในชั้นเรียนและนำานวัตกรรม การเรียนการสอนที่ทันสมัยมาปรับใช้เพื่อสนับสนุนประสิทธิภาพการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

 ริเริ่มและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนสามารถเผยแพร่ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

L4

 มีเทคนิคการเรียนการสอนและงานวิจัยในชั้นเรียนที่สามารถพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมำีประสิทธิภาพ สามารถถ่ายทอดและนำา

ไปเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้

L3

 นำำความรู้ประสบการณ์และผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการเรียนการสอน มีเทคนิคการเรียนการสอนที่หลากหลายเหมาะ

สมกับผู้เรียน L2

 เลือกใช้เทคนิคการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี มีการนำาผลการประเมินผู้สอนมาปรับปรุงการเรียนการ

สอน

L1

 มีความรู้ในรายวิชาหลักสูตรที่สอนและเทคนิควิธีการสอน

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

2

ทักษะด้านการวิจัยและนวัตกรรม (Research Skills)

คำานิยาม ความรู้และเข้าใจในระเบียบวิธีวิจัยสามารถดำา เนินการวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพเผยแพร่องค์ความรู้ประยุกต์และพัฒนาไปสู่ นวัตกรรม ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

 คิดค้นพัฒนางานวิจัยจนเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ที่สามารถจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรหรือได้รับรางวัลงานวิจัยระดับประเทศ

L4

 ผลการวิจัยได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติ หรือสามารถสร้างทีมวิจัยที่มีความเป็นเลิศเฉพาะทาง

L3

 ผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ได้ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ

L2

 ดำำเนินการวิจัยได้ตามหลักวิชาการ และนำาผลการวิจัยมาพัฒนาด้านการเรียนการสอน หรือบริการวิชาการสู่ชุมชน

L1

 รู้และเข้าใจระเบียบวิธีวิจัย กำาหนดประเด็นปัญหาหัวข้องานวิจัยได้

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

24


3

การบริการวิชาการ

คำานิยาม ความสามารถในการดำา เนินภารกิจด้านการให้คำา ปรึกษาและข้อมูลแก่หน่วยงาน การเป็นวิทยากร การทำา กิจกรรมการพัฒนา บุคลากรและการเผยแพร่ผลงานวิชาการผ่านสื่อต่างๆ ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

ระดับคะแนน 9 – 10 คะแนน ได้ระดับสมรรถนะที่แสดงออก 5

L4

ระดับคะแนน 8 - 8.9 คะแนน ได้ระดับสมรรถนะที่แสดงออก 4

L3

ระดับคะแนน 7 – 7.9 คะแนน ได้ระดับสมรรถนะที่แสดงออก 3

L2

ระดับคะแนน 6 – 6.9 คะแนน ได้ระดับสมรรถนะที่แสดงออก 2

L1

ระดับคะแนนน้อยกว่า 6 คะแนน ได้ระดับสมรรถนะที่แสดงออก 1

การคิดคำานวณคะแนน ด้านการบริการวิชาการ คะแนน เกณฑ์การให้ระดับ สมรรถนะที่แสดงออก

กิจกรรม/โครงการ/งาน

1. เป็นผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการบริการวิชาการ 1.1 เป็นหัวหน้าโครงการบริการวิชาการที่ได้ทุนภายนอกคณะ 1.2 เป็นคณะทำางาน/กรรมการ/ผู้ร่วมโครงการบริการวิชาการที่ได้ทุนภายนอกคณะ 1.3 เป็นหัวหน้าโครงการบริการวิชาการที่ได้ทุนภายในคณะ 1.4 เป็นคณะทำางาน/กรรมการ/ผู้ร่วมโครงการบริการวิชาการที่ได้ทุนภายในคณะ 2. เป็นวิทยากร/ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ 2.1 ภายนอกคณะ - ได้รับเชิญมากกว่า 3 ครั้ง ขึ้นไป - ได้รับเชิญ 2 – 3 ครั้ง - ได้รับเชิญ 1 ครั้ง 2.2 ภายในคณะ - ได้รับเชิญมากกว่า 3 ครั้ง ขึ้นไป - ได้รับเชิญ 2 – 3 ครั้ง - ได้รับเชิญ 1 ครั้ง 3. อื่น ๆ ให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ประเมิน หมายเหตุ 1. การปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ประเมิน 2. ลำาดับความสำาคัญกรณีคะแนนเท่ากันให้นับตามจำานวนโครงการ หรือ หนังสือรับเชิญเป็นวิทยากร

25

10 7.5 5 2.5

10 7.5 5 5 2.5 1


4

ทักษะการให้คำำปรึกษา (Counseling / Advising Skills)

คำานิยาม สามารถสื่อสารให้ความรู้และข้อมูลวิชาการมีจิตวิทยาในการรับฟังเข้าใจผู้อื่นและพูดแนะนำา ในการให้คำา ปรึกษาแก่ผู้รับบริการ ภายนอกหรือนักศึกษา เพื่อกระตุ้นให้สามารถคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง นำาไปสู่การตัดสินใจที่ถกต้องและมีประสิทธิภาพ ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

 กระตุน้ ส่งเสริมยกระดับให้บุคลากรสามารถให้คำาปรึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงแนวทางการปฏิบัติงานให้ สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของหน่วยงานและมหาวิทยาลัย

L4

 เป็นแบบอย่างในการให้คำำปรึกษาที่ดีและมีความคิดริเริ่มกระบวนการให้คำาปรึกษาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

L3

 ติดตามและประเมินผลการให้ค ำำปรึกษา เพื่อนำามาปรับปรุงแนวทางการให้คำาปรึกษาและผู้รับบริการสามารถนำาไปปฏิบัติได้

ผลดี

L2

 รับฟังเข้าใจเข้าถึงข้อมูลสภาพปัญหาวิเคราะห์ปัญหาของผู้รับบริการและให้คำาปรึกษาได้อย่างเหมาะสม

L1

 มีความรู้เกี่ยวกับการให้คำำปรึกษา

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

26


พจนานุกรรมสมรรถนะการบริหาร (ค) Managerial Competencies 1

วิสัยทัศน์ (Visioning)

คำานิยาม ความสามารถให้ทิศทางที่ชัดเจนและก่อความร่วมแรงร่วมใจในหมู่ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนำาพางานขององค์กรไปสู่จุดหมายร่วมกัน ระดับ (Level) L5

รายละเอียด  แสดงสมรรถนะระดับที่ 4  คิดนอกกรอบ นำาเสนอความคิดใหม่เพื่อใช้กำาหนดนโยบายในงานเพื่อประโยชน์หรือโอกาสของมหาวิทยาลัยหรือสาธารณชน

โดยรวมอย่างที่ไม่มีผู้ใดคิดมาก่อน  กำาหนดเป้าหมายและทิศทาง เพื่องานขององค์กรด้วยความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งว่าเป้าหมายเหล่านี้สอดคล้องกับบริบทของ มหาวิทยาลัยอย่างไร L4

 แสดงสมรรถนะระดับที่ 3  ถ่ายทอดวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน ที่ดูแลรับผิดชอบอยู่ด้วยวิธีที่สร้างแรงบันดาลใจ ความกระตือรือร้น และความร่วมแรง

ร่วมใจให้บรรลุวิสัยทัศน์นั้น  ใช้วิสัยทัศน์นั้นในการกำาหนดจุดร่วมและทิศทางสำาหรับผู้คนทั้งหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะที่กำาลังเผชิญการ เปลี่ยนแปลง L3

 แสดงสมรรถนะระดับที่ 2  สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่วิสัยทัศน์โดยการสื่อสารในวงกว้างในหน่วยงานที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่  แบ่งปันข้อมูลแนวโน้มภายในและภายนอกหน่วยงาน ตลอดจนชี้ว่าข้อมูลเหล่านั้นจะนำามาเป็นพื้นฐานในการกำาหนดกลยุทธ์

ของหน่วยงาน ได้อย่างไร L2

 แสดงสมรรถนะระดับที่ 1  แบ่งปันความรับผิดชอบในการกำาหนดวิสัยทัศน์ระยะยาวโดยให้ผู้อื่นได้มีส่วนร่วมหรือแสดงความคิดเห็นด้วย

L1

 สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจว่าสิ่งที่ทำาอยู่นนั้ มีผลอย่างไรต่อสาธารณชน พยายามให้ภาพรวมชัดเจนและเข้าใจง่าย ช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจ

ว่าบทบาทของตนเกี่ยวข้องกับบริบทโดยรวมอย่างไร  เชื่อมโยงวิสัยทัศน์ขององค์กร กับเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย L0 2

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน การวางแผนและการจัดการ

คำานิยาม การกำาหนดแผนงานการประเมินสถานการณ์ได้อย่างเป็นระบบและกำาหนดแนวทางเลือกในการแก้ปัญหาตลอดจนพิจารณา แนวทางดำาเนินงานที่เหมาะสมกับสถานการณ์ สามารถประเมินสถานการณ์ โดยนำาความรู้ประสบการณ์ เงื่อนไข ข้อจำากัดมา กำาหนดแนวทางที่เหมาะสมในการดำาเนินการ ระดับ (Level)

รายละเอียด

L5

 มีการวางแผน การประเมินสถานการณ์ และกำาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ และดำาเนินการตามแผนงานที่

กำาหนดไว้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์พร้อมทั้งมีระบบการ ประเมินสถานการณ์ในการทำางาน และสามารถนำาความรู้ 27


ประสบการณ์ เงื่อนไข ข้อจำากัด กำาหนดแนวทางที่เหมาะสม เพื่อให้เป็นไปตามแผนที่กำาหนดไว้ L4

 มีการวางแผน การประเมินสถานการณ์ และกำาหนดแนวทางในการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบและดำาเนินการตามแผนงานที่

กำาหนดไว้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ พร้อมทั้งมีระบบการประเมินสถานการณ์ในการทำางานให้เป็นไปตามแผน

L3

 มีการวางแผน การประเมินสถานการณ์และกำาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและดำาเนินการตามแผนงานที่

กำาหนดไว้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ L2

 มีการวางแผน การประเมินสถานการณ์และกำาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ

L1

 ไม่มีการกำาหนดแผนงานและการจัดการอย่างเป็นระบบ

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

3

ทักษะในการแก้ปัญหา

คำานิยาม การระบุและวิเคราะห์ส าเหตุของปัญหารวมทั้งหาแนวทางเลือกและพิจารณาทางเลือกในการแก้ไขปัญ หาที่เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ ระดับ (Level) L5

รายละเอียด  คาดการณ์และแยกแยะปัญหาที่เกิดขึ้นจากหน่วยงานซึ่งอาจมีผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายและความสำาเร็จขององค์กร  กำาหนดแนวทางเลือกในการแก้ไขปัญหาเชิงกลยุทธ์และหาแนวทางเลือกที่ดีที่สุดในการแก้ปญ ั หา  ตัดสินใจภายใต้สถานการณ์และข้อจำากัดได้

L4

 กระตุน้ ให้บุคลากรในทีมมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา  วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย และแนวทางเลือกได้

L3

 เข้าใจปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้สำาเร็จด้วยตนเอง  ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลภายนอกและมีเหตุผลรองรับ

L2

 พยายามหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเองซึ่งอาจมีการปรึกษาบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องบ้าง  ตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลที่มีอยู่

L1

 รู้และเข้าใจวิธีการและแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำางานประจำาวันที่ไม่ยุ่งยาก  ตัดสินใจตามวิธีการและขั้นตอนที่กำาหนด

L0 4

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน การมอบหมายงาน ติดตามงานการสอนและแนะนำางาน

คำานิยาม การกระจายงานและความรับผิดชอบไปสู่ทีมงานได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับเวลา ปริมาณ และความสามารถ พร้อมกำาหนดวิธี การ แหล่ง ข้อ มู ลความถี่ ก ารติดตามงาน การกระตุ้น จูง ใจและการสอนแนะให้ ทีม งานสำา เร็ จ ตามเป้ า หมายที่ กำา หนดอย่ า งมี ประสิทธิภาพ ระดับ (Level)

รายละเอียด 28


L5

 มอบหมายได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานของเวลา ปริมาณ ทรัพยากรที่มีอยู่และความสามารถของบุคลากร  มีการจัดทำาแผนการติดตามงานไว้ล่วงหน้าเสมอ  อธิบายเทคนิคและวิธีการในการสอนแนะให้แก่ผู้อื่นจากหน่วยงานภายนอกได้

L4

 ให้คำาปรึกษาแนะนำาเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นจากงานที่ได้รับมอบหมาย  มีแนวทางในการแก้ปัญหาจากการติดตามงานไม่สำาเร็จ  มีเทคนิคและวิธีการสอนแนะที่เหมาะสมกับแต่ละคนได้

L3

 มอบหมายงานได้อย่างเหมาะสมตามความสามารถของบุคลากรภายในทีม  ติดตามงานที่มอบหมายและแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ  สามารถประเมินความเข้าใจและความรู ำ้ของผู้ใต้บังคับบัญชาได้

L2

 มอบหมายงานโดยขอคำาแนะนำาจากผู้เกี่ยวข้องในการจัดสรรงาน  ติดตามความก้าวหน้าของงานได้ตามระยะเวลาที่กำาหนด  อธิบายขั้นตอนและวิธีการทำางานได้อย่างละเอียด

L1

 มอบหมายงานโดยไม่คำานึงถึงความสามารถของผู้รับมอบ  ไม่สามารถติดตามความก้าวหน้าของงานที่มอบหมายได้  ไม่สามารถสอนลูกน้องได้เรียนรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเองได้

L0

 ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน

29


ที่ ตําแหน่ง

1 2 3 4 อาจารย์ หัวหน้ากลุ่มสาขาวิชา รองคณบดี คณบดี

Core Competencies

4 4 4 4 3 3 3 3 4 4 4 4 3 3 3 3 3 3 3 3

Functional Competencies

4 4 4 4 3 3 3 3 4 4 3 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 37 3 36 3 36 3 36 11 11 11 11

Average Competency Level

ความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้ จรรยาบรรณวิชาชีพ ความสามารถในการสื่อสาร ทักษะในการถ่ายทอดความรู้ บุคลิกภาพ การให้ความร่วมมือและทํางานที่ได้รับมอบหมาย การมีความคิดริเริ่มและนวัตกรรม ทักษะการให้คําปรึกษา ทักษะการสอน การบริการวิชาการ ทักษะด้านการวิจัยและนวัตกรรม วิสัยทัศน์ การวางแผนและการจัดการ ทักษะการแก้ไขปัญหา การมอบหมาย ติดตามงานการสอนและแนะนํางาน Total Total Issue

การกําหนดมาตรฐานของสมรรถนะตามกลุ่มสายงาน

กลุ่มสายงานวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา Managerial Competencies

3.36

3.27

3.27

3.27


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.