วิชาฟิกฮฺ หลักสูตร 01

Page 1

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

0

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หลักสูตรสันติศึกษา

ระดับ ชั้น 01 วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

1

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

1. มาตรฐานการเรียนรู ผูเรียนมีจรรยามารยาทที่ดีงาม มีความเปนมุสลิมเปนฐานหลัก ไมวางตัวเปนปรปกษกับหลักคําสอนของอิสลาม ระยะเวลาเรียน หนึ่งปการศึกษา (สองภาคเรียน) คุณลักษณะอันพึงประสงค มีความรูความเขาใจในอุดมการณของอิสลามโดยรวมทั้งทางดานหลัก ความเชื่อ กฎหมายอิสลาม และคุณธรรมจริยธรรม. 2 จุดประสงคปลายทาง 1 ผูเรียนบอกความหมายของคําวา “อิบาดะฮฺ”ในอิสลามได บอกหลักการบัญญัติทางกฏหมาย อิสลามเกี่ยวกับอิบาดะฮฺ วิธีการทางศาสนาบัญญัติเกี่ยวกับอิบาดะฮฺในแตละเรื่อง และสามารถบอกผลที่จะ เกิดขึ้นทั้งกับบุคคลและสังคมได 3 จุดประสงคนําทาง 1. บอกความเขาใจเกีย่ วกับ อิบาดะฮ (ศาสนกิจ) การปฏิสัมพันธและกฏหมายเกีย่ วกับครอบครัวได 2. บอกความหมายของขอกฎหมายเกีย่ วกับการเมืองการปกครองได 3. นักเรียนบอกแหลงที่มาหรือแหลงอางอิงของกฎหมายอิสลามได 4. นักเรียนบอกประเภทของบัญญัติตาง ๆ ทางศาสนา (‫ )ﺍﺣﻜﺎﻡ ﺷﺮﻋﻴﺔ‬ได 5. บอกพัฒนาการเกี่ยวกับวิชาฟกฮฺได 6. นักเรียนระบุประเภทของน้ําสะอาดได 7. นักเรียนรูจักนายิสและแยกประเภทของนายิสได 8. นักเรียนบอกคํานิยามของ “ฮัยฏ ,นิฟาสและยานาบะฮฺ” และสาเหตุจําเปนที่จะตองอาบน้ําชําระ รางกายได 9. นักเรียนบอกขอแตกตางระหวางการอาบน้าํ ซูนัตกับวายิบได 10. นักเรียนบอกหลักการทําวุฎอ ฺและสามารถแยกแยะซูนัต วายิบและวิธกี ารทําวุฎอฺได 11. นักเรียนบอกสิ่งที่ทําใหเสียวุฎอฺ และชวงเวลาที่วายิบหรือซูนัตในการทําวุฎอฺได 12. บอกวิธีการเช็ดรองเทาบูต ถุงเทา ผาพันแผลและระยะเวลาสิ้นสุดการอนุญาตได 13. นักเรียนบอกวิธีการตะยัมมุมพรอมอางหลักฐานอางอิงและบอกสิ่งที่ทําใหเสียการตะยัมมุมได 14. บอกบัญญัติ (หุกมฺ)เกี่ยวกับการละหมาด คุณคาของการละหมาดและบทลงโทษแกผูละทิ้งการ ละหมาดพรอมหลักฐานอางอิงประกอบ 15. ระบุเวลาละหมาด การอาซานและอิกอมะฮฺได 16. บอกรายละเอียดเกีย่ วกับคุณสมบัติกอนการละหมาด หลักการละหมาด และซูนัตตาง ๆ ของการทํา ละหมาด ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

2

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

17. บอกสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง และสิ่งที่ทําใหเสียละหมาดและสิ่งที่สามารถกระทําไดขณะละหมาด 18. บอกชนิดการละหมาดที่เปนฟรฎและซูนตั ได 19. บอกคุณคาของการละหมาดเปนหมูคณะและสามารถอางหลักฐานอางอิงจากฮาดิษได 20. สามารถบอกวิธีการปฏิบัติ (พอสังเขป)ในประเภทอิบาดะฮฺดังตอไปนี้ได • การละหมาดรวม • การละหมาดของผูปวย • การละหมาดชด (ทดแทนละหมาดที่ขาดไป) • การซูยุดซะฮฺวยี  • การซูยุดติลาวะฮฺ (ซูยดุ เมื่ออานกุรอานถึงอายะฮฺทกี่ ลาวถึงการซูยุด) • หลักการทางกฏหมายอิสลามเกี่ยวกับมัสยิด จุดประสงคเชิงพฤติกรรม (ทักษะพิสัย) 1. สามารถทําวุฎอฺและอาบน้ําทําความสะอาดไดอยางถูกวิธี 2. สามารถเช็ดรองเทาบูตเช็ดถุงเทาและเช็ดบนผาพันแผล(แทนการลางเทาขณะทําวุฎอฺ ) ไดอยางถูก วิธี 3. สามารถทําการละหมาดแตละประเภทไดอยางถูกตอง จุดประสงคดานพุทธิพิสัยและเจตพิสัย 1. ตื่นแตเชาเพื่อทําการละหมาดซุบฮฺ 2. มีความมุงมั่นที่จะออกไปอาซานบอกเวลาละหมาด 3. มีความมุงมั่นตั้งใจที่จะออกไปละหมาดที่มัสยิด 4. ตั้งใจหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่ไมควรปฏิบัติขณะละหมาด 5. สามารถลุกขึ้นละหมาด(ซูนัต)ยามค่ําคืนไดอยางนอยสัปดาหละครั้ง 6. สามารถอานกุรอานไดอยางตั้งใจ 7. มีความมุงมั่นที่จะทองจําอัลกุรอานเทาที่สามารถกระทําได 8. หมั่นขอดุอาในเวลาที่เปนชวงเวลาที่ดีที่สุด 9. กอนนอนหมั่นขอกุลาโทษตออัลลอฮดวยการเตาบะฮฺ 10.มีการตั้งเจตดีไวกับทุกการกระทําที่จะกระทํา 11.ยึดมั่นกับการกลาวซิกริลละฮฺทั้งเชาและเย็น 12.ระลึกถึงอัลลอฮอยูเสมอในทุกที่ทุกเวลา 13.แปรงฟนทําความสะอาดฟนสม่ําเสมอ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

3

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

14.รักษารางกายใหสะอาดดวยการมีน้ําละหมาดตลอดเวลา 15.มีความตั้งใจที่จะใหตนเองหางไกลสิ่งที่ไมดีไมงาม สิ่งตองหาม และสถานที่ที่เปนแหลงอบายมุข 5.เนื้อหาสาระและเอกสารประกอบการเรียน หนังสือฟกฮฺ อิบาดะฮฺ ของ ชัยคฺ ฟยซอล มลาวียฺ • ฟกฮฺอิบาดะฮฺ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

4

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

บทนํา ‫ ﻭﻣﻦ ﺩﻋﺎ ﺑﺪﻋﻮﺗـﻪ‬، ‫ ﻭﻋﻠﻰ ﺁﻟﻪ ﻭﺻﺤﺒﻪ‬، ‫ ﻭﺍﻟﺼﻼﺓ ﻭﺍﻟﺴﻼﻡ ﻋﻠﻰ ﺳﻴﺪﻧﺎ ﳏﻤﺪ‬، ‫ﺍﳊﻤﺪ ﷲ ﺭﺏ ﺍﻟﻌﺎﳌﲔ‬ . ‫ﻭﺳﺎﺭ ﻋﻠﻰ ﺳﻨﺘﻪ ﺇﱃ ﻳﻮﻡ ﺍﻟﺪﻳﻦ‬ หากยอนไปศึกษาประวัติศาสตรอิสลามก็จะพบวา ฟกฮฺ อิบาดะฮฺ มีความสําคัญยิ่ง นักวิชาการได เขียนตํารับตําราออกมากมาย บางเลมเขียนไวอยางละเอียดถี่ถวน บางเลมเขียนไวพอสังเขป แตก็ครบถวน ดวยหลักฐานอางอิงทั้งจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ หนังสือบางเลมเขียนเฉพาะบางสํานักคิด(มัซฮับ) แตอีก บางเลมมีการนําเสนอในรูปแบบของการเปรียบเทียบระหวางสํานักคิด หรือไมก็อางตรงไปยังอัลกุรอานและ ซุนนะฮฺ จึงพบวาตําราบางเลมก็เปนที่ยอมรับและอีกบางสวนก็ไมเปนที่ยอมรับอยูบาง หลายคนคิดวาหนังสือเกี่ยวกับฟกฮฺอิบาดะฮฺนั้นไมจําเปนที่จะตองมีมากจนเกินไป เพราะจะเปนการ ซ้ําซอนกับตําราที่มีอยูกอนแลว หนังสือหรือตําราที่เกิดขึ้นใหมเปนแคนํามาเปลี่ยนชื่อ จัดสารบัญและ เปลี่ยนแปลงสํานวนเทานั้น แตสาระตาง ๆ ยังคงคลายคลึงกับของเกา แตทางที่ดีหนังสือประเภทนี้นาจะมี การปรับปรุงสํานวนภาษาใหสามารถทําความเขาใจและเรียนรูไดงายขึ้น โดยใหมีสาระครอบคลุมเนื้อหา ของกฏหมายอิสลามทั้งหมดที่ปรากฏอยูในวิชาฟกฮฺ (ซึ่งสวนหนึ่งก็คือฟกฮฺอิบาดะฮฺ) สอดคลองกับสภาพ การเปนอยูของอิสลามและมุสลิม เพื่อใหฟกฮฺเปนปจจัยหลักสําหรับการสรางสรรคสังคมมุสลิม เพื่อใหฟกฮฺ เขามามีบทบาทในการกระตุนใหอิสลามเขาทันยุคทันเหตการณ และนี่คือสิ่งที่เปนวัตถุประสงคของหนังสือ เลมนี้ จึงขอวิงวอนจากอัลลอฮใหพระองคตอบรับตอคําการวอนขอของพวกเราดวยเทอญ ผูเขียนไดพิจารณาแลวเห็นวาหนังสื่อเลมนี้นาจะนําเสนอในเรื่องของสาระที่จําเปน ๆทั้งหมด และ ไมใชเพียงเพื่อสรางความเขาใจในสวนของสํานวนภาษาทางวิชาฟกฮฺเทานั้น แตควรจะเปนการกําหนด จุดยืนในรูปแบบที่ดีกวา คือรูปแบบที่เหมาะสําหรับผูที่ทํางานเพื่ออิสลาม ผูที่เรียกรองสูอัลลอฮสามารถ นํามายึดถือยึดมั่นถือปฏิบัติไดทามกลางกระแสความเขาใจอื่น ๆ ที่หลากหลายซึ่งสอดแทรกเขามา เพื่อมิให บทบาทของนั ก เผยแพร ศ าสนาหรื อ ผูที่ ทํา งานเพื่ อ อิส ลามลดนอ ยถอยลง ในการที่จ ะให บั ญ ญั ติ ต าง ๆ ของอัลลอฮดํารงอยูตอไปบนผืนแผนดิน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

5

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

สํานวนภาษาที่ใชในวิชาฟกฮฺ ฟกฮฺ หมายถึงมวลกฏหมายอิสลามที่ประชาชาติมุสลิมจะตองถือปฏิบัติในชีวติ ประจําวัน ซึ่งบัญญัติ เหลานี้ทั้งหมดจะครอบคลุมกิจการทุกอยางของสวนบุคคลและสังคม ซึ่งจะประกอบดวยบัญญัตทิ ี่เกี่ยวของ กับเรื่องราวดังนี้ อิบาดะฮฺ(‫ـﺎﺩﺍﺕ‬ ‫ )ﺍﻟﻌﺒـ‬หมายถึงขอบัญญัติเกี่ยวกับการละหมาด การประกอบพิธิหัจญ การจายซากาต ซึ่งจะเปนเรื่องราวที่จะนํามากลาวถึงในหนังสือเลมนี้ อะฮวาลชักซียะฮฺ(‫ )ﺍﻷﺣﻮﺍﻝ ﺍﻟﺸﺨﺼﻴﺔ‬หมายถึงหลักบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องกฎหมายครอบครัว โดยเริ่ม ทั้งแตแรกเกิดจนกระทั่งจบชีวิตลง มุอามะลาต (‫ )ﺍﳌﻌﺎﻣﻼﺕ‬เปนบัญญัติเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธระหวางผูคนดวยกัน เชนเรื่องของสัญญา เรื่องของสิทธิ์และอื่น ๆ อะฮฺกามซุลฏอนียะฮฺ (‫ )ﺍﻷﺣﻜــﺎﻡ ﺍﻟــﺴﻠﻄﺎﻧﻴﺔ‬คือบัญญัติที่เกี่ยวของกับการเมืองการปกครอง เรื่อง เกี่ยวกับผูปกครองกับราษฎรษ อะฮฺกาม ซิลมฺ วัลฮัรบฺ (‫ )ﺍﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺴﻠﻢ ﻭﺍﳊـﺮﺏ‬คือบัญญัติหรือขอปฏิบัติระหวางประเทศมุสลิมกับ ประเทศอื่น(ในยามสงบและยามศึก) ซึ่งฟกฮฺอิสลามจะมีสาระกฎหมายหรือขอบัญญัติครอบคลุมเรื่องนี้และ เรื่องอื่น ๆ ทั้งหมด จึงสามารถมั่นใจไดวาอิสลามคือแนวทางในการดําเนินชีวิต อิสลามคือศาสนจักรและ อาณาจักรซึ่งอยูในระบบเดียวกัน กฎหมายอิสลามหรือหลักการกฏหมายอิสลามอิสลามมีที่มาจากไหน ? มุสลิมทุกคนตางยอมรับและเห็นพองตองกันวาหลักการทางกฏหมายอิสลามหรือกฏหมายของ อิสลามนั้นมีที่มาหลักมาจากคัมภีรอัลกุรอานและซุนนะฮฺ(แนวทาง)ของทานรอซูลุลลอฮ () สวนที่มา แหลงอื่น ๆ นอกเหนือจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ ก็มีที่มาอื่น ๆ ที่หลากหลาย เชน อิจฺมะฮฺ (ทัศนะของ นักวิชาการมุสลิม) กียาส(การเทียบเคียง) อิสตะฮฺซาน ,อัลมะซอลิฮฺอัลมุรซะละฮฺและอัลอุรุฟ 1 แมวาแหลงที่มาอื่น ๆ นอกเหนือจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺดังที่กลาวมาแลวจะแตกตางกัน แต ทั้งหมดเหลานี้ก็ลวนแลวแตตองอางอิงหรือยึดตามหลักการของอัลกุรอานและซุนนะฮฺน ทั้งหมด ซึ่งก็ สอดคลองกับคําพูดของนักวิชาการที่พูดไววา “แทจริงแลวอัลกุรอานและซุนนะฮฺของทานนบีคือแหลง อางอิงหลักสําหรับมุสลิมที่ประสงคจะเรียนรูขอบัญญัติตางๆ ของอิสลาม แตนั่นก็ไมไดหมายความวาเราเอง จะปฏิเสธแหลงอางอิงอื่นๆ แตหมายถึงเราเองยอมรับยอมจํานนตออัลกุรอานและซุนนะฮฺของทานนบี นั่นเอง 1

ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดจากคําอธิบายในหนังสือฟกฮฺที่พูดถึงเรื่องนี้ เพราะหากจะอธิบายในหนานี้จะยืดยาว

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


6

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ประเภทของกฎหมายอิสลาม กฎหมายหรือบัญญัติแหงอิสลามมีอยู 2 ประเภท ประเภทที่ 1 ชัดเจนเด็ดขาด คือบัญญัติที่มีหลักฐานอางอิงยืนยันจากอัลกุรอานหรือซุนนะฮฺไวอยาง ชัดเจน เชน บัญญัติเกี่ยวกับการละหมาด ซึ่งอัลลอฮทรงตรัสไววา (.. ‫)ﻭﺃﻗﻴﻤﻮﺍ ﺍﻟﺼﻼﺓ‬ บัญญัติเกี่ยวกับการถือศีลอด อัลลอฮทรงตรัสไววา (‫)ﻓﻤﻦ ﺷﻬﺪ ﻣﻨﻜﻢ ﺍﻟﺸﻬﺮ ﻓﻠﻴﺼﻤﻪ‬ บัญญัติเกี่ยวกับการจายซากาตอัลลอฮทรงตรัสไววา (‫)ﻭﺁﺗﻮﺍ ﺍﻟﺰﻛﺎﺓ‬ บัญญัติเกี่ยวกับวายิบประกอบพิธีหัจญอัลลอฮทรงตรัสไววา (‫ ﻭﷲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻨﺎﺱ ﺣﺞ ﺍﻟﺒﻴﺖ‬.) หาม(ฮารอม)การกินดอกเบี้ยอัลลอฮทรงตรัสไววา (‫)ﻭﺫﺭﻭﺍ ﻣﺎ ﺑﻘﻲ ﻣﻦ ﺍﻟﺮﺑﺎ‬ หาม(ฮารอม)การผิดประเวณีอัลลอฮทรงตรัสไววา (‫)ﻭﻻ ﺗﻘﺮﺑﻮﺍ ﺍﻟﺰﻧﺎ‬ หาม(ฮารอม)ดื่มสุราเมรัย อัลลอฮทรงตรัสไววา (‫)ﻓﺎﺟﺘﻨﺒﻮﻩ ﻟﻌﻠﻜﻢ ﺗﻔﻠﺤﻮﻥ‬ เกี่ยวกับการตั้งเจตนา (ประกอบการกระทํา)ทานรอซูล  ไดตรัสไววา (‫)ﺇﳕﺎ ﺍﻷﻋﻤﺎﻝ ﺑﺎﻟﻨﻴﺎﺕ‬ บัญญัติที่มีหลักฐานชี้แจงไวอยางชัดเจนและเด็ดขาดนั้น จะไมมีความเขาใจที่ขัดแยงเลย ไมวาจะ เปนมุสลิมทั่วไป นักวิชาการ สํานักคิด และบุคคลทั่วไป เพราะจากหลักฐานดังกลาวเปนที่เขาใจกันได โดยงาย เมื่อเปรียบเทียบกับ บัญญัติที่เรียกวา ซอนนียะฮฺ (ْ‫( )ﻇﱢﻨﻲ‬ไมชัดเจน) ประเภทที่ 2 ซอนนีย (ْ‫ ) ﹶﻇﱢﻨﻲ‬ดังนี้ 1. หลักการกฏหมายอิสลามที่มีหลักฐานจากอัลกุรอานหรือซุนนะฮฺ แตเปนหลักฐานที่ให ความหมายไมชัดเจน (‫)ﻇﻨﱢﻲ‬ 2. หลักการทางกฏหมายอิสลามซึ่งนักกฎหมายอิสลาม(‫ )ﻓﻘﻬــﺎﺀ‬ตีความออกมาจากแหลงที่มาของ กฎหมายอื่นดวยการศึกษาคนควา(‫)ﺍﻹﺟﺘﻬﺎﺩ‬ดวยตนเอง ตัวอยางกฎหมายประเภทที่ 1 ขอบเขตของการเช็ ด ศี ร ษะขณะอาบน้ํ า ละหมาด ซึ่ ง ตามทั ศ นะของท า นอี ห ม า มมาลิ ก และอี หมามอะหมัดกําหนดไววา จะตองเช็ดศีรษะทั้งหมด ในขณะที่ทัศนะของทานอีหมามชาฟอียและอาบีฮะนี ฟะฮฺ กลับใหทัศนะไววา ใหเช็ดเพียงบางสวนของศีรษะ นั่นก็เปนเพราะวาการตีความ พยัญชนะ ‫ ب‬ในอา ยะฮฺที่วา “‫ ”ﻭﺍﻤﺴﺤﻭﺍ ﺒﺭﺅﻭﺴﻜﻡ‬ไดหลายความหมายหลายนัย ไมไดมีความหมายที่ชัดเจนเพียงความหมาย เดียว ระยะทางในการเดินทางที่อนุญาตใหละศิลอดและทําการละหมาดยอได ซึ่งมีหลักฐานปรากฏวา จะตองมีระยะทาง 4 บุรุด (คําวา “‫ )” ُﺑﺮُد‬มีการตีความออกมาในหลายนัย ดังนี้ ทานอีหมามมาลิก ชาฟอียและ ฮะนาบิละฮฺไดตีความวา คือระยะทาง 90 กิโลเมตร โดยการอางหลักฐานจากฮาดิษซึ่งบันทึกโดย อัลบุคอรีย ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

7

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ที่วา “ทานอิบนุ อุมัรและทานอิบนุ อับบาส ไดทําการยอละหมาด (จากสี่รอคอะฮฺเปนสองรอคอะฮฺ) และละ การถือศีลอดในระยะทาง 4 บุรุด” ในทัศนะของฮานะฟย ไดกําหนดวาจะตองใชเวลาในการเดินทาง 3 วัน (ซึ่งจะมีระยะทางประมาณ 82 – 85 กม.) โดยอางหลักฐานจากฮาดิษของบุคอรียที่วา “ไมอนุญาตใหสตรีที่มี ใจศรัทธาตออัลอฮและวันกียามะฮฺเดินทางในระยะทางไกลที่ตองใชเวลาเดินทางถึง 3 วันนอกเสียจากวา จะตองมีผูปกครองรวมทางไปดวย) ซึ่งการอางถึงหลักฐานทั้งสองฮาดิษที่กลาวมานั้นความหมายไมชัดเจน ตัวอยางกฎหมายประเภทที่ 2 ในกรณีที่สามีหายสาบสูญ ไมรูวาเปนตายรายดีอยางไร ตามทัศนะของอัลฮะนาฟยและชาฟอียได ตัดสินวา นาง (ภรรยา)จะตองรอจนกวาคนรุนราวคราวเดียวกันจะเสียชีวิตและสามารถคาดคะเนไดวาเขาคง จะเสียชีวิตไปแลว กอฎียจึงจะตัดสินไดวา (ผูเปนสามีเสียชีวิตไปแลว) นางสามารถ หรืออนุญาตใหแตงงาน กับสามีใหมได โดยอางหลักฐานวา คนที่หายสาบสูญนั้นเดิมทียังมีชีวิตอยู เมื่อเดิมทีเขายังมีชีวิต (ครั้นเมื่อยัง ไมมีอะไรบงชี้วาเสียชีวิตแลว) ฉะนั้นเขาก็จะยังคงมีชีวิตอยูตอไปจนกวาจะมีสิ่งบงชี้วาเขาเสียชีวิตแลว หลักฐานในลักษณะนี้เรียกวา หลักฐานที่ไดมาจากการศึกษาคนควาทําความเขาใจแลวจึงตีความออกมาเปน หลักการ (‫)ﺍﺟﺘﻬﺎﺩ ﻇﻨﱢﻲ‬ สวนทัศนะของอัลมาลิกีย ไดตัดสินระหวางภรรยากับสามีที่หายสาบสูญ โดยกําหนดเวลาไว 4 ป หลังจากวันที่หายสาบสูญไป ในภาวะที่สงบไมใชชวงที่มีการทําศึกสงคราม แตหากเปนชวงที่มีศึกสงคราม จะทานกําหนดเวลาไวแคเพียง 1 ป นับจากวันที่หายสาบสูญไป สวนหลักฐานและหลักการของทานคือ การ ปกปองประโยชนของผูเปนภรรยา และเพื่อเปนการปกปองผลรายที่จะเกิดขึ้นกับผูเปนภรรยา ซึ่งอาจจะเกิด เรื่องของความเสื่อมเสียหากคงไวในสภาพที่นางไมมีสามี หลักการและลักฐานในลักษณะนี้ก็เรียกวาเปนการ คนควาทําความเขาใจเพื่อตีความดวยเชนกัน จึงเรียกหลักการลักษณะนี้วา “‫”ﺍﺟﺘﻬﺎﺩ ﹶﻇﻨﱢﻲ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


8

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

พัฒนาการทางประวัติศาสตรของฟกฮฺอิสลาม ชวงที่ 1 ยุคสมัยของทานรอซูลุลลอฮ  ในสมัยที่ทานรอซูลุลลอฮ  ยังมีชีวิตอยู ทานคือที่พึ่งพิงและเปนแหลงอางอิงเกี่ยวกับกฎหมาย ขอบัญญัติตาง ๆทั้งหมดของมุสลิม ไมวาหลักการนั้นจะมาจากอัลกุรอานหรือจากซุนนะฮฺ ซึ่งหมายถึง การ กระทํา คําพูดที่ทานบอกเลา หรือการยอมรับของทานรอซูลุลลอฮ  บัญญัติใดขอบังคับใดที่ทานใชให ปฏิ บั ติ บั ญญั ตินั้ น ถื อ วา มาจากอั ล ลอฮและเป น บั ญญั ติ ที่เ ด็ ด ขาด แม ว า จะเป น การตี ค วามหรือ เป น การ อรรถาธิบายความมาจากอัลกุรอานก็ตาม เพราะหนาที่หลักของทานคือการอธิบายความและอรรถาธิบายอัล กุรอานใหเปนที่เขาใจ อัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา . . . ‫ ﻭﻧﺰﱠﻟﻨﺎ ﺇﻟﻴﻚ ﺍﻟﺬﻛﺮ ﻟﺘُﺒﲔ ﻟﻠﻨﺎﺱ ﻣﻦ ُﻧﺰﱢﻝ ﺇﻟﻴﻬﻢ‬. . . ถึงแมวาทานรอซูลุลลอฮคือที่พึงพาหรือแหลงอางอิงทางกฎหมาย แตซอฮาบะฮฺของทานบางคน ไมไดอยูกับทานหรืออยูใกลทานตลอด บางคนก็อยูบางคนก็ตองออกเดินทางไกล จึงไมอาจจะที่เรียนถาม ปญหาเกี่ยวกับกฎหมายหรือบัญญัติตาง ๆ ได เมื่อเกิดปญหาขึ้นพวกเขาจะปฏิบัติอยางไร ? บรรดาซอฮาบะฮฺก็จะทุมเทความพยายามคนควาเพื่อใหไดมาซึ่งหลักการทางกฏหมายอิสลามและ อุดมการณแหงอิสลามทั่วไป เทาที่จะกระทําไดจนกวาจะมีโอกาสพบปะกับทานรอซูลุลลอฮ  และเมื่อมี โอกาสไดพบปะกับทานรอซูลุลลอฮ  พวกเขาก็จะเรียนถามทาน ในสิ่งที่พวกเขาประสบมา เมื่อเรียนแก ทานแลวก็จะมีเพียงสองทางคือ ทานยอมรับวาถูกตองหรือไมก็จะแนะนําแกไขใหในกรณีที่ไมถูกตอง โดยที่ ทานจะไมปฏิเสธการคนควาหาคําตอบของพวกเขาที่ไดกระทํามา ตัวอยางเชน ในฮาดิษของทานอัมมาร บิน ยาซีร  ซึ่งไดรายงานไววา “ทานรอซูลุลลอฮ  ไดแตงตั้งฉันใหไปปฏิบัติงาน (ชิ้นหนึ่ง) แตมาฉันเกิดมียู นุบและไมมีน้ําสําหรับอาบน้ําชําระรางกาย ฉันเลยใชฝุนดินแทนน้ํา โดยคลุกฝุนเหมือนที่พวกสัตวกระทํา กัน ครั้นเมื่อฉันกลับมาหาทานรอซูลุลลอฮ  ฉันก็เลาใหทานฟง ทานก็ตอบฉันวา เพียงแคทานนํามือของ ทานมาทําอยางนี้.. ก็เพียงพอแลว (แสดงวิธีตะยัมมุมใหดู) ทานก็เอามือทุบลงไปที่ฝุนดินหนึ่งครั้งแลวนํามา เช็ดที่มือขางซายและขางขวา แลวก็ทุบลงไปอีกครั้งหนึ่งแลวนํามาลูบที่ใบหนา บันทึกโดยบุคอรียและ มุสลิม ในบางครั้งการศึกษาคนควาหาคําตอบเกี่ยวกับบัญญัติบางเรื่องของซอฮาบะฮฺอาจจะไดคําตอบ ออกมาไมเหมือนกัน พวกเขาก็จะนําผลของการศึกษาคนควาไปเสนอตอทานรอซูลุลลอฮ  และทานก็จะ ยอมรับคําตอบที่ถูกตอง และจะชี้นําอธิบายคําตอบใหกับสวนที่ไมถูกตอง อยางเชนมติในเรื่องของคําสั่งที่มี การประกาศออกมาวาใหมุสลิมบุกเผากุรอยซอฮฺ ซึ่งประกาศวา “พวกทานทุกคนอยาไดละหมาดอัศริ์ ที่ใด นอกจากใน(หมูบาน)ของเผากุรอยซอฮฺ2 2

ฮาดิษ รายงานโดยบุคอรีย ในหนังสือ “‫”اﻟﻤﻐﺎزي‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

9

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

(เมื่อไดยินประกาศ) มุสลิมทุกคนตางกระตือรือรนที่จะออกไปเพื่อบุกเผากุรอยซอฮฺ ซึ่งขณะนั้น เวลาละหมาดอิศริก็ใกลจะหมดลงไป โดยที่พวกเขายังเขาไปไมถึงหมูบานของเผากุรอยซอฮฺ ซอฮาบะฮฺบาง ทานก็เริ่มที่จะทําความเขาใจความหมายของความที่กลาวมา บางคนก็ทําการละหมาดระหวางทาง เพื่อให ทันเวลาละหมาดอัศริ์ โดยที่พวกเขากลาววา ทานรอซูลุลลอฮ  มิไดอนุญาตใหเราทอดเวลาการละหมาด อัศริ์ ไปจนหมดชวงเวลาของมัน (พวกเขาก็เลยรีบละหมาด) อีกกลุมหนึ่ง ไมยอมทําการละหมาดอัศริ์ใน เวลานั้น แตจะไปละหมาดที่หมูบานของเผากุรอยซอฮฺ ตามที่ทานรอซูลุลลอฮ สั่งไว พวกเขาจึงทําการ ละหมาดหลังเวลาอีชาในเวลาตอมา เมื่อเรื่องราวของความขัดแยงในเรื่องของการตีความดังกลาวทราบถึง ทานรอซูลุ ลลอฮ  ท า นก็ ยอมรั บ ในการกระทํา ของทั้งสองฝ าย นั่ น ก็ แสดงวาคํ า ตอบในบางป ญ หาที่ เกี่ยวกับบัญญัตินั้นอาจจะมีหลายคําตอบในเรื่องเดียวกัน ชวงที่ 2 เริ่มตนจากภายหลังจากที่ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลับคืนสูพระเมตตาแหงอัลลอฮไปแลว ไป จนกระทั่งถึงยุคสมัยของอิหมามทั้งสี่ทาน (ขอความเมตตาจากอัลลอฮจงมีแดทาน) หลัง จากที่ท า นรอซูลุลลอฮ  ไดเ สี ย ชีวิ ต ไปแลว อิส ลามก็ ไ ด แ ผ ข ยายอาณาเขตออกไปอยา ง กวางขวาง บรรดาซอฮาบะฮฺก็เริ่มการศึกษาคนควาทําความเขาใจในเรื่องราวประเด็นปญหาตาง ๆ มากมาย โดยมีสาเหตุสําคัญ ๆดังนี้ 1.เมื่ออิสลามขยายอาณาเขตออกไปมาก ก็จะพบสังคมใหมกับสภาพปญหาทางสังคมใหม ๆ หลาย ประเด็นที่ไมเคยเกิดขึ้นในสมัยของทานรอซูลุลลอฮ  ซึ่งเปนชวงนั้น อัลวะหฺยูยังไดรับการประทานลงมา (ครั้นเมื่อวะหฺยูหยุดไปแลว) จึงจําเปนที่จะตองรูขอบัญญัติทางศาสนาเพื่อเปนคําตอบและเปนทางปฏิบัติ ใหกับผูคนในชวงนั้น เวลานั้น 2.ซอฮาบะฮฺแตละทานไมไดมีความรูเกี่ยวกับซุนนะฮฺทั้งหมด เพราะบางครั้งทานรอซูลุลลอฮ  จะ บอกกลาวหรือเสี้ยมสอนสาธิตการปฏิบัติตามขอกฎหมายใหกับซอฮาบะฮฺบางทานหรือบางครั้งแคเพียงหนึ่ง ทานเทานั้น ซุนนะฮฺของทานก็ไมไดมีการเก็บรวบรวมไวเพื่อใหเหลาซอฮาบะฮฺคนอื่น ๆ ไดดูเปนแหลง อางอิง (เหมือนการรวบรวมอัลกุรอาน) ดวยเหตุนี้เองจึงเปนแรงผลักดันใหซอฮาบะฮฺบางทานตองทุมเท พยายามศึกษาหาคําตอบในประเด็นปญหาที่พวกเขายังไมไดรับคําตอบจากทานรอซูลุลลอฮ  ขณะที่ซอ ฮาบะฮฺอีกบางทานกลับไดรับคําตอบจากทานรอซูลุลลอฮ  มาแลว อีกปจจัยหนึ่งคือซอฮาบะฮฺหลายทาน ตองละถิ่นฐานหางไกลออกไปในตางเมือง โดยเฉพาะอยางยิ่ง หลังจากที่ทานอุมัร  ไดเสียชีวิตลง ก็ยิ่งจะหางไกลออกไปอีก จนถึงขนาดเกิดมีสํานัก(ทางความคิด)สอง สํานักที่มีลักษณะการศึกษาทางฟกฮฺที่แตกตางกันขึ้น คือ สํานักฮาดิษ(‫)ﻣﺪﺭﺳﺔ ﺍﳊﺪﻳﺚ‬ที่ฮิยาซ สาเหตุที่มีการตั้งชื่อไวเชนนี้เพราะสวนใหญซอฮาบะฮฺซึ่งเปน ชาวฮิยาซตางเปนที่ยอมรับในเรื่องของการรายงานฮาดิษ และเมืองฮิยาซก็เปนศูนยกลางอิสลามแหงแรก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

10

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ชาวฮิยาซแตละคนก็จะมีฮาดิษอยางนอยหนึ่งฮาดิษหรือมากกวา และที่สําคัญสภาพสังคมของเมืองฮิยาซ ยังคงสภาพเดิมไมมีอะไรเปลี่ยนแปลงมากนัก จึงไมมีอะไรที่จะตองศึกษาคนควาหาคําตอบใหม สํานักทางความคิด(‫)ﻣﺪﺭﺳﺔ ﺍﻟﺮﺃﻱ‬ที่เมืองกูฟะฮฺ สาเหตุที่มีชื่อเรียกอยางนี้ก็เพราะวา นักวิชาการชาว กูฟะฮฺสวนใหญจะใชความคิดใชทัศนะในการตีความและทําความเขาใจหลักการทางกฏหมายอิสลาม นั่นก็ เปนเพราะวามีซอฮาบะฮฺอยูนอยและมีการรายงานฮาดิษไวนอยมาก และที่นั่นมักจะมีประเด็นปญหาใหม ๆ เกิดขึ้นอยูเสมอ อันเนื่องมาจากที่นั่นเปนสังคมใหม ซึ่งไมมีตัวบทฮาดิษเดิมที่ใหคําตอบเกี่ยวกับปญหาไว ในยุคแรก ๆ ความแตกตางระหวางสองสํานักคอนขางจะมีอยูมาก แตตอมาก็เริ่มที่จะลดนอยลงตาม กาลเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีการบันทึกและเก็บรวบรวมฮาดิษเปนหนังสือหลายตอหลายเลม โดยที่ นักวิชาการมุสลิมไดทุมเทความพยายามชี้แจงวาฮาดิษไหนเปนฮาดิษซอเหียะฮฺฮาดิษไหนเปนฮาดิษฎออีฟ และฮาดิษที่เปนฮาดิษโกหก โดยที่ไมตองใชความคิดอีกตอไป นอกเสียจากวากับปญหาที่ไมมีตัวบทมาเปน หลักฐานชี้แจงเทานั้น สวนความพยายามในการตีความในกรอบของตัวบทเองนั้น จะมีอยูเปนปกติทั่วไปใน สํานักฮาดิษและมีอยูในสํานักความคิด ชวงนี้เปนชวงที่ฟกฮฺอิสลามยิ่งใหญมาก นักวิชาการผูเชี่ยวชาญดาน วิชาฟกฮฺกลายเปนนักวิชาการที่แยกออกมาเฉพาะ มีนักวิชาการคนสําคัญ ๆ ที่เปนที่รูจักเกิดขึ้นหลายตอ หลายทาน อยางเชน อีหมามทั้งสี่ทาน ทานอาบูฮะนียฟะฮฺ อันนุมาน บิน ซาบิด (มีชีวิตอยูระหวางป 80 - 150 ) ทานไดรับการขนานนาม วาเปนอีหมามผูยิ่งใหญ ทานเปนชาวเปอรเซียแตกําเนิด ดวยความเชี่ยวชาญของทาน ทานจึงกลายเปนที่ ยอมรับของนักคิดในกลุมของทานทั้งหมด ทานคือเจาของความคิดในเรื่องของอิสติฮซาน (‫)ﺍﻹﺳﺘﺤﺴﺎﻥ‬และ ใหอิสติฮซานเปนแหลงกําเนิดหรือที่มาของกฎหมายอิสลาม และทานคือตนตระกูลของสํานักคิด( ‫ﻣﺬﻫﺐ‬ ‫)ﺍﳊﻨﻔﻲ‬ ทานอีหมามมาลิก บิน อะนัส อัลอัสบะฮีย (มีชีวิตอยูระหวางป 93 – 179) ทานเปนอีหมามชาวเมือง มาดีนะฮฺ แนวทางของทาน ทานไดรวบรวมไวซึ่งหลักการที่มาจากอัลฮาดิษและความคิดเห็น ทานคือเจาของ ความคิดเกี่ยวกับมุสลิหะฮฺ อัลมุรซะละฮฺ (‫ )ﺍﳌﺼﺎﱀ ﺍﳌﺮﺳﻠﺔ‬และนับวาเปนแหลงกําเนิดของกฎหมายอิสลามขอ หนึ่ง และทานคือตนตระกูลของมัซฮับอัลมาลิกีย มูฮําหมัด บิน อิดริส อัชชาฟอีย อัลกุรชีย (มีชีวิตอยูระหวางป 150 -204) สํานักคิดของทาน( ‫)ﺍﳌﺬﻫﺐ‬ เปนสํานักคิดที่ใกลเคียงกับแนวคิดของชาวฮาดิษ(ผูชํานาญอาดิษ) ทั้ง ๆที่ทานเองไดรับแนวคิดเกี่ยวกับฟกฮฺ มาจากสานุศิษยของอาบีฮานียฟะฮฺและจากทานอีหมามมาลิก และทานคือตนตระกูลของสํานักคิดอัชชาฟอีย อะหฺ มั ด อิ บน ฮัมบั ล อัชชั ย บานี ย (มีชีวิตอยูระหว างป 164 – 241) ทา นเป น ลู ก ศิ ษ ย ของท า นอี หมามอัชชาฟอีย และสํานักคิดของทานแนวคิดเกี่ยวกับวิชาฟกฮฺของทานใกลเคียงกับแนวคิดของชาวฮาดิษ ดวยเชนกัน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

11

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ความจริงแลว ทั้งกอนและหลังยุคสมัยของอิหมามทั้งสี่ก็มีนักวิชาการผูเชี่ยวชาญดานฟกฮฺอิสลามที่ สําคัญ ๆ ไดถือกําเนิดขึ้นมากมายหลายทาน ซึ่งแตละทานก็ความสําคัญไมนอยกวาอีหมามทั้งสี่ อยางเชน นักวิชาการที่เปนซอฮาบะฮฺ อยางเชน ทานอับดุลลอฮ บิน มัสอูด ทานอับดุลลอฮ บิน อับบาส ทานอับ ดุลลอฮ บิน อุมัร ซัยดฺ บิน ซาบิต และนักวิชาการฟกฮฺ ในยุคตาบิอีน (ยุคหลังจากซอฮาบะฮฺ) เชนทาน ซะอีด บิน อัลมุซัยยิบ ทานอฏออฺ บิน รอบาฮฺ ทานอิบรอฮีม อัลนะคออีย ทานอัลฮะซัน อัลบะซอรีย ทานมักฮูล ทาน ฏอวุส จากนั้นก็เปนอีหมามทั้งสี่ และนักวิชาการยุคใหม เชน อีหมามยะฟร อัซซอดิก ทาน อัลเอาซาอีย และทานอิบนุ ชับรอมะฮฺ และทานอัลลัยซฺ บิน ซะอัด และคนอื่น ๆ อีกหลายทาน และเพื่อใหแนวคิดหรือทัศนะของอีหมามทั้งสี่ทานสามารถนํามาเรียนรูไดอยางงาย สานุศิษยของ ทานไดรวบรวมทัศนะของทานเหลานี้ทั้งหมด และนําแนวคิดของทานเหลานี้มาเรียบเรียง อรรถาธิบายและ ยอความแลวนําเสนอตอบรรดามุสลิม เพื่องายตอการนํามาศึกษาและนํามาปฏิบัติ มุสลิมจึงสามารถที่จะ นําเอาสาระทางกฎหมายขอบัญญัติที่เกี่ยวของกับตนเองไดงายขึ้น ตอมาไดมีการนํามาสอนหรือเผยแพรใน มัสยิดผานยุคผานสมัยสืบตอกันมา จนสามารถฝงเขาสูชีวิตการเปนอยูของมุสลิมไปในที่สุด ซึ่งเปนเรื่องงาย ตอการศึกษาเรียนรูโดยไมตองกลับไปศึกษาจากหนังสือตัฟซีรและหนังสือฮาดิษ เพื่อทําความเขาใจหลัก กฎหมายที่เคยมีการนําเสนอตอผูคนผานทางสํานักคิด ซึ่งกลายเปนสูตรสําเร็จและงายตอการนํามาปฏิบัติ ชวงที่ 3 หลังจากที่อีหมามทั้งสี่เสียชีวิต ไปจนถึงยุคสมัยของคอลีฟะฮฺอัลอุสมานีย มุสลิมไดรับแนวคิดเกี่ยวกับฟกฮฺมาจากอีหมามทั้งสี่ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) ซึ่งกลายเปนเสาหลักของฟกฮฺอิสลาม นักวิชาการเริ่มที่จะนําเอาฟกฮฺเหลานี้มาเผยแพรสั่งสอนและศึกษา คนควา และต อมาวิชาฟก ฮฺ ก็ไ ด ข ยายตัว โดยเปลี่ย นจากการแกป ญหาเฉพาะไปเปน การแก ป ญหาผ าน สมมุติฐาน และทฤษฎีทางวิชาฟกฮฺ และเกิดชาตินิยมตอสํานักคิดจนถึงขนาดยกยองยึดถือเจาของสํานักคิด เหมือนจะเปนอิสลามเสียเอง แทนที่จะคิดวามันเปนเพียงหลักการหลักการหนึ่งภายใตกรอบของอิสลามที่ กวางไกล ตอมานักวิชาการเจาของสํานักคิดก็ไดออกฟตวาเปนคําตัดสินออกมาวาประตูแหงการคนควา ศึกษาไดปดลงแลว เพื่อไมใหบุคคลทั่วไปที่ไมมีความเชี่ยวชาญเขามาศึกษาคนควาอีก ซึ่งก็พบวามีหลายตอ หลายคน(ซึ่งเปนคนทั่วๆ ไป)พยายามเลียนแบบจนเลยเถิดถึงขนาดทําลายกรอบที่อีหมามทั้งสี่ไดวางไว ผูคน ก็กลายมาเปนนักลอกเลียนแบบแทนที่จะศึกษาหาความรูดวยตนเอง เมื่อเปนเชนนั้นนักวิชาการหลายทานก็ พยายามทุมเทความพยายามนําเอาหลักฐานอางอิงและทัศนะของแตละสํานักคิด และแนวทางการศกึษา คนความของพวกเขามานําเสนอ อีกทั้งยังมีการเลือกแนวคิดที่มีน้ําหนักมากที่สุดมานําเสนอในกรณีที่ทัศนะ ของสํานักคิดเดียวกันมีความแตกตางกัน จนกลายเปนวาวิชาฟกฮฺไดหมุนเวียนอยูเฉพาะกับเรื่องของฟกฮฺ มี การอธิบายเพิ่มเติมในหนังสือของอีหมามอยางละเอียด จนกลายเปนตําราขนาดใหญที่มีหลายเลม ตอมาก็มี นักวิชาการทําการยอสาระใหนอยลงเปนฉบับยอ เมื่อมีฉบับยอก็มีการอธิบายเพิ่มเติมในฉบับยอ อธิบายบาง ประเด็นที่ยังไมชัดเจน ใหกระจางและเขาใจงายขึ้น มีการเขียนอธิบายบางสวนไวในเชิงอรรถ จากนั้นก็ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

12

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

กลับมาอธิบายเพิ่มเติมอยางละเอียด กลับไปกลับมา จนฟกฮฺอิสลามกลับไปกลับมาเหมือนเปนการย่ําอยูกับที่ จนไมสามารถที่จะแกปญหาที่เกิดขึ้นจริงในแตละยุคแตละสมัยที่เกิดขึ้นใหม ๆ ได สาระสวนใหญจะเปน การกลาวถึงเรื่องของอิบาดะฮฺ แตเรื่องของการเมืองการปกครองเรื่องของขอกฎหมายกลับไมไดรับการ แกปญหาพัฒนา นอกจากนั้นก็ยังมีการพูดถึงเรื่องปญหาเกี่ยวกับมุอามะลาต (‫ )ﺍﳌﻌﺎﻣﻼﺕ‬ไปจนกระทั่งเขาสู ยุคสงครามระหวางประเทศมุสลิมกับชาติตะวันตกในปลายศตวรรษที่ 19 จึงพบวามีหลายคนพายแพทาง ความคิดกับแนวคิดที่ขัดแยงกับหลักกฎหมายอิสลาม ถึงขนาดตองถอดเอาความเปนอิสลามออกไปทั้งหมด ถึงขนาดนักวิชการ(ที่อางวาเปนนักวิชาการ)อิสลามไดฟตวา(ตัดสิน)อนุญาตใหเด็กกําพรากินดอกเบี้ยได มี การสนับสนุนใหชายมีสิทธิ์เสรีภาพเทากับหญิงในเรื่องของสิทธิ์ในการรับมรดก ดวยเหตุเพราะการยึดติดกับมัซฮับ(ใดมัซฮับหนึ่ง)แบบชาตินยม จึงเปนเหตุใหวิชาฟกฮฺไมมีการ พัฒนาจนเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหอาณาจักรออตโตมาน หรืออุสมานียะฮฺสิ้นอํานาจ และในชวงระยะเวลานี้ เชน ไดเกิดมีนักวิชาการ นักวิจัยศึกษาคนควาที่สําคัญ ๆหลายทานที่ออกมา เรียกรองใหสละการยึดติดอยูกับการลอกเลียนแบบผูอื่น และนักวิชาการในสังกัดมัซฮับ (สํานักคิด) หลาย สํานักที่ออกมาศึกษาคนควาและมีผลการคนควาที่แตกตางไปจากมัซฮับเดิมของพวกเขา และหันมาให น้ําหนักแหงความถูกตองกับทัศนะของมัซฮับอื่น แตถึงกระนั้นการยึดติดตามแนวของมัซฮับก็ยังอยูกับ มุสลิมสวนใหญในยุคนั้นสมัยนั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงระยะหนึ่งซึ่งมีผูที่ยึดติดอยูกับมัซฮับบางคนถึง ขนาดออกมากลาววา การเปลี่ยนมัซฮับนั้นเปนสิ่งตองหาม (ฮารอม) ชวงที่ 4 เริ่มจากการลมสลายของคอลีฟะฮฺอุสมานียะฮฺ มาจนถึงปจจุบัน ความแตกตางของชวงระยะเวลานี้ก็คือ ความขัดแยงทางทัศนะระหวางสองสํานักคิดเกี่ยวกับฟกฮฺ เริ่มที่จะขยายวงกวางมากยิ่งขึ้น สํานักที่สังกัดมัซฮับ(‫ )ﺍﳌﺪﺭﺳﺔ ﺍﳌﺬﻫﺒﻴﺔ‬หมายถึงสํานัก(หรือสถาบันทางการศึกษา) ที่เปดสอนตาม แนวทางของมัซฮับทั้งสี่ ซึ่งพวกเขาเหลานี้มีแนวคิดวา ประตูแหงการศึกษาคนควานั้นไดปดลงแลว มุสลิม ทุกคนจําเปน ที่จะตองยึดมั่นตามมัซฮับหนึ่งมัซฮับใดจากสี่มัซฮับ สํานักซะลัฟ (‫ )ﺍﳌﺪﺭﺳﺔ ﺍﻟﺴﻠﻔﻴﺔ‬คือสํานักตาง ๆที่ตองการที่จะยึดเอาอัลกุรอานและซุนนะฮฺมาเปน แหลงอางอิง พวกเขาเหลานี้หามมิใหมุสลิมเลียนแบบ(ตามแบบลอกเลียนแบบ) มัซฮับใดมัซฮับหนึ่งในเรื่อง ของประเด็นปลีกยอยของวิชาฟกฮฺ พวกเขาบังคับใหทุกคนตองศึกษาคนควาหาหลักฐานอางอิงจากตัวบท โดยตรง ความจริงแลวความขัดแยงเกี่ยวกับแนวทางระหวางสองสํานักไดมีมาตั้งแตระยะกอน ๆ แลว แตใน ระยะนี้ชวงนี้ก็เริ่มที่จะขยายวงกวางมากยิ่งขึ้น จนกลายเปนเรื่องที่มักจะนํามาพูดและกลาวถึงกันอยาง ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

13

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

กวางขวางในวงสนทนาของนักวิชาการและนักเรียนนักศึกษา หรือแมกระทั่งระหวางกลุมคนทั่วๆ ไป ทําให สานุศิษยของแตละสํานักตางออกมาเขียนตําราและเผยแพรแนวคิดของตนเองผานบทความหรือตํารา แต ดวยการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกัน ทําใหสานุศิษยของบางสํานักถึงกลับตองกลับมาทบทวน ความคิดของตนเองใหม ทําใหความขัดแยงในเรื่องของความคิดก็เริ่มที่จะแคบลง ไดมาก จนเกือบจะไมมี เหลือ หากไมมีกลุมคนที่ยึดติดอยูกับมัซฮับถึงขนาดกลายเปนชาตินิยม กับสํานักนั้นสํานักนี้ ซึ่งพวกเขา เหลานี้พยายามที่จะนําเอาแนวคิดของตนเองมาหักลางแนวคิดของอีกฟากหนึ่ง แตตอไปเราก็จะพยายามหา วิธีในการวางกฎกติกาทางกฎหมายทั้งสองสํานักที่มีความคิดเห็นตางกันสามารถยึดถือมาเปนแนวทาง เพื่อที่จะไดลดการแบงฝกแบงฝาย และการยึดติดดวยความเปนชาตินิยมอยางผิด ๆ เราจึงอยากจะชี้แจงวา กฏเกณฑขอที่ 1 เรื่องของการเลียนแบบ ที่อนุญาตใหกระทําได(ตามหลักศาสนา) การเลี ยนแบบ คื อการปฏิบัติตามคําพูดหรื อทัศนะของนั ก วิ ชาการท านใดท านหนึ่ งโดยไมรูว า นักวิชาการทานนั้นมีหลักฐานในการตัดสินขอปฏิบัติอยางไร ซึ่งเปนเรื่องที่สามารถกระทําได กับมุสลิม โดยทั่วไปในเรื่องที่เกี่ยวกับปญหาปลีกยอยทางกฏหมายอิสลาม เพราะมีหลักฐานยืนยันไวดังนี้ 1 อัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา .(43) ‫ﺴﻭﺭﺓ ﺍﻟﻨﺤل‬

 ‫ ﻓﺎﺳﺄﻟﻮﺍ ﺃﻫﻞ ﺍﻟﺬﻛﺮ ﺇﻥ ﻛﻨﺘﻢ ﻻ ﺗﻌﻠﻤﻮﻥ‬

ดังนัน้ พวกเจาจงสอบถามผูม ีความรูเถิด หากแมนพวกเจาไมรู และนี่คือบัญชาจากอัลลอฮ ซึ่งทรงบัญชามายังผูที่ไมรูเกี่ยวกับหลักการทางศาสนา โดยใหพวกเขา สอบถามผูรูหรือนักปราชญ ซึ่งเปนระดับการอนุญาตที่ต่ําที่สุด เปนการอนุญาตใหกับบุคคลทั่ว ๆ ไปให สอบถามผูรูหรือนักวิชาการและปฏิบัติตามคําแนะนําของพวกเขา 2. อัลลอฮทรงตรัสไววา ‫ ﻓﻠﻮﻻ ﻧﻔﺮ ﻣﻦ ﻛﻞ ﻓﺮﻗﺔ ﻣﻨﻬﻢ ﻃﺎﺋﻔﺔ ﻟﻴﺘﻔﻘﻬﻮﺍ ﰲ ﺍﻟﺪﻳﻦ ﻭﻟﻴﻨﺬﺭﻭﺍ ﻗـﻮﻣﻬﻢ ﺇﺫﺍ‬، ‫ ﻭﻣﺎ ﻛﺎﻥ ﺍﳌﺆﻣﻨﻮﻥ ﻟﻴﻨﻔﺮﻭﺍ ﻛﺎﻓﺔ‬ .(122) ‫ﺳﻮﺭﺓ ﺍﻟﺘﻮﺑﺔ‬

 ‫ﺭﺟﻌﻮﺍ ﺇﻟﻴﻬﻢ ﻟﻌﻠﻬﻢ ﳛﺬﺭﻭﻥ‬

และบรรดาศรัทธาชนทั้งหลายไมบงั ควรทีจ่ ะออก (ไปสูส มรภูมิรบ) พรอมกันทั้งหมด ดังนั้นไฉน เลาจึงไมใหแตละกลุมยอยจากพวกเขาทั้งหมดออกไป (สมรภูมิ) เพื่อ (พวกที่เหลือ) จะไดศึกษาใหเขาใจใน ศาสนา และเพื่อพวกนี้จะไดชี้แจงแกพวกพองของเขา (ที่ออกไปสมรภูม)ิ เมื่อพวกเขาตองกลับมายังพวกตน เพื่อพวกเขาจะไดสังวรตน (ในบทบัญญัติของอัลลอฮ) อายะฮฺนี้เปนตัวบทที่สามารถเปนหลักฐานที่บงบอกไวอยางชัดเจนวา มุสลิมทุกคนไมสามารถที่จะ มุงไปสูการเรียนรูหลักการทางกฏหมายอิสลามได แตพระองคทรงบัญชาใหแบงออกเปนกลุมเล็ก ๆ โดยให กลุมที่เรียนมากลับไปสั่งสอนพี่นองของเขา หากการเรียนรูสาระปลีกยอยเปนเรื่องจําเปนสําหรับมุสลิมทุก คน อัลลอฮคงจะไมมีบัญญัติหามไวแตอยางใด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

14

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ความจริงแลวชวงสมัยของบรรดาซอฮาบะฮฺ นับไดวาเปนยุคสมัยที่ดีที่สุด แตในยุคนั้นสมัยนั้นกลับ วิชาการทางวิชาฟกฮฺกลับมีนอยมาก เพราะเมื่อเกิดมีปญหาพวกเขาก็จะถามคนกลุมนี้ (นักวิชาการทางฟกฮฺ) ซึ่งมีอยูเพียงไมกี่ทาน (ในยุคนั้น) พวกเขาจะขอคําตัดสินเกี่ยวกับปญหาทางศาสนา และยึดถือเอาคําตัดสิน นั้นมาเปนหลักในการปฏิบัติ โดยไมตองสอบถามอะไรมาก วามีหลักฐานยืนยันไวอยางไร จะมีบางก็เพียง สวนนอย และทานรอซูลุลลอฮก็ไดแตงตั้งผูเชี่ยวชาญดานฟกฮฺ (กฎหมายและหลักศาสนาบัญญัติ) และ ผูเชี่ยวชาญดานการอานจากกลุมของซอฮาบะฮฺ เพื่อใหเปนทูตไปยังเผาใดเผาหนึ่ง เพื่อใหทําการสั่งสอนคน ในเผานั้น ๆ ใหมีความเขาใจเกี่ยวกับอิสลามและการอานอัลกุรอาน และพวกเขาเหลานั้นก็ยอมรับเอามาถือ ปฏิบัติโดยไมมีใครสอบถามถึงหลักฐานยืนยัน และบรรดาซอฮาบะฮฺตางก็เห็นพองตองกันวาปฏิบัติตาม (ลอกเลียนแบบ)นักวิชาการที่ทําการศึกษาคนควา(‫)ﺍﺠﻤﻟﺘﻬﺪﻳﻦ‬ของคนทั่วไปนั้นสามารถกระทําได เหตุผลและขอเท็จจริงในเรื่องดังกลาวก็เปนเรื่องที่สามารถรับได (สมเหตุสมผล) เพราะบุคคลทั่วไป จะปฏิบัติอยางไร ในเมื่อเขาเองตองใชเวลาอยูกับการประกอบอาชีพ ? หรือมุสลิมที่มีหนาที่เปนนายแพทย เปนสถาปนิค เขาจะทําอยางไร หากเขาพบกับปญหาปลีกยอยทางศาสนาที่เขาเองไมรูคําตอบ ? หรือวา จะตองใหเขากลับไปศึกษาหาคําตอบเอาเองจากหนังสือตัฟเซร (หนังสือที่อรรถาธิบายอัลกุรอาน) หรือ หนังสือฮาดิษวามีหลักฐานหรือไมอยางไร ? หากพบวามีหลักฐานปรากฏอยูเขาก็จะตองไปศึกษาทําความ เขาใจความหมายผานหนังสือที่เปนเรื่องของภาษาเพื่อทําความเขาใจความหมายอีกทอดหนึ่ง.. หรือหาก พบวามีหลักฐานเปนตัวบทอยูหลายตัวบท เขาก็จะตองชั่งน้ําหนักวาหลักฐานตัวใดมีน้ําหนักมากกวากัน ซึ่ง การกระทําเชนนั้นจะตองใชเวลายาวนาน จะไดคําตอบก็ตอเมื่อผานการเรียนรูที่ละเอียดถี่ถวน จะตองรู เกี่ยวกับเรื่องวาอายะฮฺไหนถูกยกเลิกอายะฮฺไหนเปนตัวยกเลิก (‫)ﺍﻟﻨﺎﺳﺦ ﻭﺍﳌﻨﺴﻮﺥ‬อยางละเอียด หรือหากไม ปรากฏวามีตัวบทเปนหลักฐานปรากฏอยู เขาจะตองทําการศึกษาคนควา ซึ่งเปนเรื่องที่เปนไปไมได เพราะ เขาไมสามารถที่จะเปนนักคนควาได เพราะผูที่จะมาเปนนักคนควา เขาเองจะตองมีคุณสมบัติเฉพาะทาง ซึ่ง ผูคนสวนใหญยังไมสามารถเขาถึงระดับนั้นได ดังที่ปรากฏ เมื่อเปนเชนนั้นก็อยาไดทะเลาะกันในเรื่องนี้เลย เพราะมีแตจะนําความเสื่อมเสียเขามา หรือหากอนุญาตใหใครบางคนศึกษาคนควาไดดวยตนเอง โดยไมตอง มีก ฎ มีกรอบมี ก ติกาทางศาสนาเขามาควบคุม คนควาโดยไมตองมีความรู ก็ ยิ่ งจะอันตรายเข าไปใหญ อันตรายกวาที่จะใหเขาพึงพาผูรูที่มีความพรอมในการคนควาหาคําตัดสินเกี่ยวกับหลักการทางกฏหมาย อิสลามอีกเปนไหน ๆ ความจริงแลวสานุศิษยของสํานักซะละฟยะฮฺ(‫)ﻣﺪﺭﺳﺔ ﺳﻠﻔﻴﺔ‬เอง ตางก็เปนที่รูกันอยูวา นักวิชาการ ของสํานักเองก็ยังมีความเห็นไมตรงกันในหลายตอหลายเรื่องที่เปนปญหาปลีกยอยทางศาสนา ซึ่งอาจจะ เปนเพราะการอรรถาธิบายความหมายของพวกเขา หรือเพราะการตรวจสอบฮาดิษ หรือไมก็จากวิธีการนํา หลักการออกมาจากตัวบท ซึ่งเราเองยังพบวาแตละคนก็จะมีผูที่เห็นดวยและถือปฏิบัติตามทัศนะของเขาอยู แตบางครั้งพวกเขาอาจจะอางวา นี่ไมใชเปนการตามแบบลอกเลียนแบบ แตเปนการปฏิบัติตามเพราะพึง พอใจในการอางหลักฐานอางอิง ซึ่งเราก็จะถามพวกเขาตอไปวา แลวทําไมนักวิชาการบางทานจึงไมรูใน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

15

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หลักฐานและไมยอมรับตอหลักฐานขอนี้ ? หรือวาการที่นักศึกษาหรือบุคคลทั่วไปยอมรับในหลักฐานของ นักวิชาการทานหนึ่ง ในขณะที่ไปขัดแยงกับอีกทานหนึ่ง จะเปนเรื่องที่ดี ? ถาอยางนั้น ขอแตกตางระหวาง การที่ไปยอมตามโดยยึดถือเอาหลักการวาพอใจในหลักฐาน ทั้ง ๆ ที่หลักฐานนั้นไมถูกตอง กับการที่ไปยอม ตามแบบลอกเลียนแบบ โดยไมตองถามวาเอาหลักฐานมาจากไหนอยางไร ? เพราะเขาเองรูดีวาตัวเองไม สามารถที่จะรับหรือปฏิเสธหลักฐานนั้นได (เพราะเขาไมมีความรูในการเลือกหลักฐาน) สุดทายนักวิชาการ ตางเห็นพองตองกันวา การเลียนแบบ(ดวยการเดินตามรอยนักวิชาการ)นั้นมีมา ตั้งแตยุคสมัยเกากอนแลว และเห็นวาอนุญาตใหสามารถกระทําได แมวาบางคนโดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมที่ เปนสานุศิษยของสํานักซะลัฟ(‫)ﻣﺪﺭﺳﺔ ﺳﻠﻔﻴﺔ‬จะมีความเห็นขัดแยงอยูบางก็ตาม แตความจริงแลวพวกเขาเอง ก็ยอมรับแตยอมรับในอีกรูปแบบหนึ่ง การที่พวกเขาออกมาคัดคานไมไดประโยชนอะไร จะมีแตเฉพาะการ ตัดเอาสิ่งที่ยังประโยชนอีกมากมายออกไปโดยใชเหตุ หลักเกณฑประการที่ 2 การเลียนแบบไมใชเรื่องวายิบ(จําเปน)ที่ตองกระทํา เปนเรื่องที่ไมถูกตองนักในยุคของการมีความเปนชาตินิยมในการตามมัซฮับ เฟองฟู กับการที่พวก เขาจะมาแบงกลุมคนมุสลิม ออกเปน 2 กลุม คื อนัก คน ควา (‫ )ﺍﺠﻤﻟﺘﻬﺪ‬และผูตาม ( ‫ )ﺍﳌﻘﻠﺪ‬หลังจากนั้น ก็มา ประกาศปดประตูการศึกษาคนควา จนทําใหในเวลาตอมาผูคนก็กลายเปนพวกที่ตองเปนผูตามทั้งหมด ทั้ง นักวิชาการ ทั้งนักเรียนนักศึกษา นี่คือจุดออน ที่เปนเหตุใหทุกคนยุติการศึกษาคนควา เรียนรู เปนเหตุใหไม มีแรงผลักดันใหเกิดการรวมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อหาความเขาใจที่ถูกตอง ทําใหนักวิชาการเอง กลายมาเปนผูตามแบบลอกเลียนแบบ ทานอิซ บิน อับดุสลาม ไดเขียนไวในหนังสือของทาน ชื่อ กอวาอิ ดุลอะฮฺกาม (‫ )ﻗﻮﺍﻋﺪ ﺍﻷﺣﻜﺎﻡ‬โดยมุงที่จะกลาวถึงนักวิชาการที่ยึดมั่นอยูกับหลักฐานที่ไดรับมาจากผูเปน อาจารยทั้งๆ ที่เปนหลักฐานออน และเหตุผลที่นํามาอางก็ฟงไมขึ้น แตถึงกระนั้นก็ยังยอมตาม โดยละทิ้งอัล กุรอาน ยอมทิ้งซุนนะฮฺ และการเทียบเคียงที่ถูกตอง แตกลับไปยึดติดอยูกับการเลียนแบบตามรอยของผูเปน ครูแทน ความมุงหมายของเราในที่นี้ไมไดหมายความวาเราจะเปดประตูแหงการคนควาขึ้นมาเพื่อใหเกิด ความขัดแยง ที่จะใหใครก็ไดเดินเขามาทั้ง ๆ ที่ตนเองไมมีคุณสมบัติพอ แตเราตองการจะบอกวาความจริง แลวการถือปฏิบัติตามนักวิชาการ (‫)ﺍﻟﺘﻘﻠﻴﺪ‬และความจําเปนของการปฏิบัติตามนักวิชาการนั้นยังคงมีอยู ยังอยู ในกรอบที่อนุญาตใหกระทําได และไมถึงขนาดตองกลาววาวายิบ นอกจากกับบุคคลธรรมดาทั่วไป (ที่ไมมี ความรู) ที่ไรความสามารถในการศึกษาคนควาหาหลักฐานไดดวยตนเอง แตสําหรับผูที่มีความสามารถ พอที่จะศึกษาคนควาหาหลักฐานทําความเขาใจหลักฐานไดดวยตนเอง เขาเองก็ควรที่จะแยกตัวเปลี่ยน แนวทางออกมาจากการเปนผูลอกเลียนแบบที่ปฏิบัติตามรอยของผูอื่น(คือปฏิบัติตามทัศนะของนักวิชาการ โดยไมรูวาหลักฐานอางอิงเปนอยางไร) มาเปนการปฏิบัติตาม (พรอมๆ กับรูดวยวาทัศนะของนักวิชาการที่ เขาปฏิบัติตามนั้นมีหลักฐานยืนยันอยางไร นอกจากจะตองรูจักหลักฐานแลวเขาเองจะตองพอใจกับหลักฐาน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

16

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

นั้น ๆ ไดดวย แมวาเขาเองยังไมมีคุณสมบัติถึงระดับที่จะตองคนควาดวยตนเอง แตในบางครั้งก็อนุญาตให เขาศึกษาคนควาไดในบางเรื่องบางประเด็น ดวยการศึกษาทําความเขาใจหลักฐานของแตละมัซฮับ วาทัศนะ ไหนมีหลักฐานออนทัศนะไหนมีน้ําหนักกวากัน เพื่อที่จะไดเปลี่ยนไปยึดถือตามทัศนะที่มีหลักฐานหนัก แนนกวา ผูที่มีความสามารถในระดับนี้ทานอีหมามฮะซัน อัลบะนา ไดเรียกบุคคลประเภทนี้วา ผูที่อยูใน ระดับที่สามารถพิจารณาทบททวนความถูกตองของหลักฐานยืนยันเกี่ยวกับหลักการกฏหมายอิสลามได (‫)ﺩﺭﺟﺔ ﺍﻟﻨﻈﺮ ﰲ ﺍﻷﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺸﺮﻋﻴﺔ‬3 คือระดับที่สามารถทําความเขาใจเกี่ยวกับหลักการทางกฏหมายอิสลามและ หลักฐานอางอิงที่กลาวถึงการบัญญัติในแตละเรื่อง และสามารถที่จะกลับไปศึกษาหลักฐานอางอิงหรือ แหลงที่มาหลัก ๆ ไดดวยตนเอง เพื่อประเมินความถูกตองวาเปนอยางไร มีน้ําหนักมากนอยแคไหน หลักเกณฑขอที่ 3 การปฏิบัติตามนักวิชาการ(‫ )ﺗﻘﻠﻴﺪ‬ไมไดจํากัดอยูที่มัซฮับทั้งสี่ ในชวงหนึ่ง ซึ่งเปนชวงของการยึดติดแบบชาตินิยมกับมัซฮับ (สํานักคิด) มีการกําหนดวาจะตอง ยึดถือตามเจาของมัซฮับทั้งสี่(ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) แตเพียงอยางเดียว การออกมา กลาวอางอยางนี้เปนการกลาวอางอยางลอย ๆ โดยปราศจากหลักฐานยืนยันวาหามตามทัศนะของคนอื่น ๆ ทั้ง ๆ ที่ความจริงแลวเดิมทีที่ตองตามทัศนะของอีหมามทั้งสี่ก็ดวยเหตุวา ทัศนะของทานเหลานี้การบันทึก มี การบรรยายไวอยางครบถวน และนักวิชาการที่ศึกษาทัศนะของพวกเขาเหลานี้ก็มีอยูครบถวน จึงทําใหมี ความมั่นใจไดในหลักฐานประกอบการอางอิงวาถูกตอง เชื่อถือได มีการอางอิงเจาของทัศนะหรือมัซฮับไว อยางชัดเจน สวนทัศนะอื่น ๆ กลับเปนเรื่องยากที่สรางความมั่นใจใหกับผูคน ไมวาจะเกี่ยวกับเรื่องของการ อางอิงถึงที่มา หรือเจาของทัศนะ ทําใหทัศนะบางทัศนะไมไดรับการยอมรับ ไมมีลูกศิษยลูกหาที่จะมา อธิ บ ายต อ ในกรณี ที่ ทั ศ นะบางเรื่ อ งที่ ยั ง ต อ งการคํ า อธิ บ ายต อ ด ว ยเหตุ นี้ เ อง (ด ว ยความ ฉลาดของ)นักวิชาการจึงมีการกําหนดไววาการยึดถือปฏิบัตินั้นใหจํากัดอยูแคมัซฮับทั้งสี่ แตในยุคปจจุบัน หลังจากที่ไดมีการตีพิมพหนังสือเกี่ยวกับอิสลามที่เปนมรดกตกทอดสืบตอกันมา ซึ่งไดรวบรวมเอาทัศนะ ทางวิชาการของนักคิดทั้งจากซอฮาบะฮฺและตาบิอีน (คนในยุคหลังจากซอฮาบะฮฺ)และทัศนะของอีหมามนัก คนนควา ไมวาจะเปนอีหมามทั้งสี่หรือคนในรุนราวคราวเดียวกัน หรือนักวิชาการในยุคตอ ๆ มา มีการพิมพ และเผยแพร จนสามารถรูไดวาทัศนะไหนเปนของใคร ซึ่งทําใหขอจํากัดเดิมซึ่งมีอยูหมดไป จนสามารถทีจ่ ะ เลือกไดวาในเรื่องนี้ประเด็นนี้จะเลือกตามทัศนะใดของใคร (มุสลิมสามารถที่จะพิจารณาหลักฐานประกอบ หลักการปฏิบัติได) สามารถพิจารณาไดวาหลักฐานของใครหนักแนนกวากัน ทานอัลอิซ บิน อับดุสลาม ได กลาวไววา เมื่อพิจารณาแลวเห็นวาหลักฐานประกอบของนักวิชาการหรืออีหมามทานใดหนักแนนกวา ก็ สามารถที่จะนํามายึดถือปฏิบัติได แมวาอีหมามทานนั้นจะไมใชเจาของมัซฮับทั้งสี่ก็ตาม

. ‫ﺭﺳﺎﻟﺔ ﺍﻟﺘﻌﺎﻟﻴﻢ ﻟﻺﻣﺎﻡ ﺍﻟﺸﻬﻴﺪ ﺣﺴﻦ ﺍﻟﺒﻨﺎ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

3


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

17

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หลักเกณฑที่ 4 สําหรับบุคคลทั่วไปอนุญาตใหยึดตามมัซฮับใดมัซฮับหนึ่งไดเพียงมัซฮับเดียว นับวาเปนความเขาใจที่ไมถูกตองนัก ที่ในชวงหนึ่งซึ่งเปนยุคสมัยที่มีการยึดติดอยูกับมัซฮับแบบ ชาตินิยม มีการแพรหลายแนวคิดในหมูชนมุสลิมออกมาวา หามเปลี่ยนมัซฮับ หากยึดถือตามมัซฮับใดก็ให ยึดถือตามมัซฮับนั้นไปตลอด จึงใครขอชี้แจงวาแนวคิดทั้งสองแนวคิด(ใหยึดถือแคเพียงมัซฮับเดียวและหาม เปลี่ยนเปนมัซฮับอื่น)นั้นไมมีหลักฐาน สําหรับที่บอกวาใหยึดมั่นตามมัซฮับใดมัซฮับหนึ่งแตเพียงมัซฮับเดียวและหามเปลี่ยนเปนมัซฮับอื่น นั้น ไมวาจะเปนเรื่องของหลักการทั้งหมดหรือบางเรื่องบางประเด็นปญหา ทั้งกอนและหลังการยึดถือมา ปฏิบัติ ทัศนะเหลานี้ทั้งหมดเปนการกลาวอางที่ปราศจากหลักฐานอางอิงที่ถูกตองตามหลักการทั้งหมด นั่น ก็เปนเพราะวา เพราะบัญชาแหงอัลลอฮและรอซูลของพระองคมีอยูวาใหพวกเรายึดมั่นตามหลักการทางศาส นบัญญัติ (‫ )ﺍﻷﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺸﺮﻋﻴﺔ‬และในกรณีที่เราเองไมมีความรู ไมมีความสามารถที่จะเรียนรูโดยตรงจากอัลกุร อานหรื อ ซุ น นะฮฺ ก็ ใ ห เ ราถามผู รู โดยไม จํ า กั ด ว า จะเป น ใครมั ซ ฮั บ ใด บรรดาซอฮาบะฮฺ ไ ด เ รี ย นถาม นักวิชาการหรือนักกฎหมาย (‫ )ﻓﻘﻬﺎﺀ‬ของพวกเขา และพวกเขาก็ไดรับคําตอบ และนักวิชาการนักกฎหมายซอ ฮาบะฮฺเหลานี้ก็ไมไดหามไวแตอยางใดวา อยาไดไปถามคนอื่น ๆ อีก นอกจากตัวเขาเอง ไมวาจะเปน ประเด็นปญหาเดียวกันหรือประเด็นปญหาอื่น ๆ และวิธีปฏิบัติของมุสลิมในทุกยุคทุกสมัยก็จะเปนเชนนี้ จน สืบสานตอกันมาจนกระทั่งถึงยุคสมัยของอีหมามทั้งสี่ ทานเหลานี้ก็ไมไดหามสานุศิษยของทานวาอยาไดไป ยึดถือตามทัศนของคนอื่น ๆ นอกเหนือจากทานแตอยางใด ไมเคยปรากฏวาจะมีแนวคิดที่วาจําเปน (วายิบ) ตองยึดมั่น และหามเปลี่ยนมัซฮับจากมัซฮับหนึ่งไปเปนอีกมัซฮับหนึ่ง ความจริงแลวแนวคิดในลักษณะนี้ เพิ่งจะเกิดขึ้นในภายหลังนี่เอง เชนเดียวกับแนวคิดที่บอกวาหาม (ฮารอม)ยึดตามมัซฮับใดมัซฮับหนึ่ง หากยึดมั่นตามมัซฮับ ก็จะ กลายเปนการตั้งภาคีประเภทหนึ่ง ซึ่งทัศนะนี้ก็ไมมีหลักฐานอางอิงดวยเชนกัน เพราะหากมุสลิมรูสึกพอใจ กั บ ความรู ห รื อ หลั ก ฐานอ า งอิ ง ของนั ก วิ ช าการท า นใดท า นหนึ่ ง ก็ ไ ม ป รากฏว า จะมี ก ฏหมายของใด ของอัลลอฮวาหามเขายึดถือมาปฏิบัติตาม ไมวาผูรูหรือนักวิชาการทานนั้นจะมาจากมัซฮับทั้งสี่หรือทานอื่น ๆ แตการยึดถือปฏิบัติตามอยาไดเขาใจไปวาเปนสิ่งวายิบตามหลักศาสนา และเมื่อตองการที่จะเปลี่ยนไป ตามอีกมัซฮับหนึ่งก็ไมไดมีหลักฐานหามไวแตอยางใด (ซึ่งรายละเอียดจะนําเสนอในอันดับตอไป) หลักเกณฑขอที่ 5 จําเปนที่จะตองยึดมั่นตามหลักฐานหากผูตามเปนนักคิดนักวิเคราะห สํา หรั บมุสลิ มซึ่ง เปน ผูต ามที่มี ฐ านัน ดรถึง ระดั บที่สามารถพิ จ ารณาเกี่ ย วกับ หลั ก การกฏหมาย อิสลาม(‫ )ﺍﻷﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺸﺮﻋﻴﺔ‬ได เขาจะตอง(วายิบ)ยึดถือตามหลักฐานในทุกเรื่องทุกประเด็น เขาจะตองเรียนรู ศึกษาคนควาทําความเขาใจอยางลึกซึ้ง และทัศนะใดที่มีความเห็นแตกตางกันไมสอดคลองกัน เขาจะตอง พิจารณาทําความเขาใจชั่งน้ําหนักทางหลักฐานวาหลักฐานของใครมีน้ําหนักมากกวากัน จากนั้นก็ใหเลือก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

18

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ทัศนะที่ใกลเคียงกับหลักฐานจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ แมวาการกระทําดังกลาวจะนําไปสูการยึดเอาทัศนะ ของมั ซ ฮั บ ใดมั ซ ฮั บ หนึ่ ง ก็ ไ ม เ ป น ไร หรื อ แม ก ระทั่ ง ว า จะต อ งค น คว า ศึ ก ษาในประเด็ น ป ญ หาใหม ที่ นักวิชาการรุนเกากอนไมเคยคนความากอนก็ไมเปนไร เพราะไมปรากฏวาจะมีหลักฐานขอใดหามไว หรือ กับการที่ผูตามจะยังคงยึดมั่นตามหลักการของมัซฮับใดมัซฮับหนึ่งเพียงมัซฮับเดียว โดยศึกษาคนควาเรียนรู ในทุกประเด็นปญหา ที่จะใหไดมาซึ่งหลักฐานที่มั่นคงและมีน้ําหนักกวา โดยยึดถือหลักการทุกประเด็น ปญหาตามแนวทางหลักของมัซฮับที่เขาเองเลือก นั่นก็เปนเพราะวาอัลลอฮจะไมบังชีวิตใดในนอกจากใน กรอบความสามารถของเขาเทานั้น ในบางครั้ งมุสลิมเองจะตองศึกษาในประเด็ นปญหาใดป ญหาหนึ่ง จนกระทั่งสามารถเขาใจในหลักฐานที่เขมแข็งพอที่จะทําใหเขาสบายใจและมั่นใจได จึงจําเปนที่จะตองยึด มั่นตามแนวทางของอีหมามคนใดคนหนึ่งเพื่อใหสามารถยึดเปนหลักการในการเรียนรูทางออกของประเด็น ปญหาได หากเขาเองพบวามีหลักฐานสอดคลองกับหลักฐานของอีหมามที่เขายึดตามอยู ก็สามารถที่จะ ยึดถือตามนั้นไดตอไป หรือหากเขาเองศึกษาคนควาไปแลวเกิดพบหลักฐานใหมที่ตางไปจากอีหมามที่เขา ยึดถือ ก็สามารถที่จะเปลี่ยนไปยึดตามทัศนะใหมที่ตางออกไปได4 หลักเกณฑขอที่ 6 อนุญาตใหผสมผสาน(ระหวางทัศนะของมัซฮับที่ตางกัน) ได หมายถึงการยึดเอาทัศนะแนวคิดจากหลาย ๆ มัซฮับ(หลายสํานักคิด) ในประเด็นปญหาเดียวกัน เพื่อใหถึงไปยังวิธีการที่ไมเปนของมัซฮับใดมัซฮับหนึ่ง รายละเอียดเกี่ยวกับการผสมผสานดวยวิธีดังกลาว จะนําเสนอเปนอันดับตอไป ในกรณีที่ประเด็นปญหาหนึ่งยึดถือตามมัซฮับนี้ อีกปญหาหนึ่งกลับยึดถือตามอีกมัซฮับหนึ่ง ไมมี อะไรผูกพันเกี่ยวของกับปญหาแรก การยึดถือในลักษณะนี้ นักวิชาการสวนใหญ (‫)ﲨﻬﻮﺭ ﺍﻟﻌﻠﻤﺎﺀ‬ซึ่งมีทัศนะ วาไมจําเปนตองยึดตามมัซฮับใดมัซฮับหนึ่ง นักวิชาการกลุมนี้ใหทัศนะไววาอนุญาตใหกระทําได เชน การ ที่มุสลิมทานหนึ่งเวลาละหมาด ละหมาดตามแนวของชาฟอีย แตเวลาจายซากาตกลับจายตามแนวทาง ของมัซฮับอาบีฮานียฟะฮฺ หรืออาจจะถือศีลอดตามแนวทางของมัซฮับมาลิกีย การยึดมั่นในเรื่องของปญหาทางศาสนาตามแนวทางของมัซฮับใดมัซฮับหนึ่ง ตอมากลับเปลี่ยนใจ ไปตามแนวทางของอีกมัซฮับหนึ่งในประเด็นปญหาเดียวกัน เชน ทําละหมาดซุฮฺริ ตามแนวของมัซฮับหนึ่ง แตพอละหมาดอัศริ์ กลับตามแนวทางของอีกมัซฮับหนึ่ง การกระทําในลักษณะนี้ตามทัศนะของนักวิชาการ สวนใหญ (‫)ﲨﻬﻮﺭ ﺍﻟﻌﻠﻤﺎﺀ‬ก็ยังสามารถกระทําได ดวยเชนกันเพราะตามทัศนะของนักวิชาการกลุมนี้ ไม จําเปนที่จะตองยึดตามมัซฮับใดมัซฮับหนึ่งเพียงมัซฮับเดียว สําหรับรูปแบบของการผสมผสานที่ยังมีความคิดเห็นที่ขัดแยงกันอยู วาทําไดหรือไมได คือการ

. ‫ ﻭﻗﻮﺍﻋﺪ ﺍﻷﺣﻜﺎﻡ ) ﻟﻠﻌﺰ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺴﻼﻡ ( ﻭﻏﲑﻫﺎ ﻣﻦ ﻛﺘﺐ ﺍﻷﺻﻮﻝ‬، ( ‫ ﻭﺍﻹﺣﻜﺎﻡ ﰲ ﺃﺻﻮﻝ ﺍﻷﺣﻜﺎﻡ ) ﻟﻶﻣﺪﻱ‬، ‫ﺭﺍﺟﻊ ) ﺍﻟﺘﺤﺮﻳﺮ ( ﻟﻠﻜﻤﺎﻝ ﺑﻦ ﺍﳍﻤﺎﻡ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

4


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

19

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ผสมผสานป ญ หาเดี ย วกั น เชน การที่มุ ส ลิ มท า นหนึ่ ง อาบน้ํ า ละหมาดแล ว เช็ด บางส ว นของศี ร ษะตาม แนวทางของมัซฮับชาฟอีย แตกลับไปยึดถือวากระทบกับผูหญิงไมทําใหเสียน้ําละหมาด โดยยึดหลักตาม แนวทางของอาบียฮานีฟะฮฺและมาลิค ซึ่งใหทัศนะไววาการกระทบหรือสัมผัสคนตางเพศไมทําใหเสียวุฎฮฺ จากนั้นเขาก็เขาไปทําการละหมาด นักวิชาการในยุคหลังซึ่งเปนนักวิชาการสังกัดมัซฮับไดแสดงทัศนะไววา การทํ าวุฎอฺดังกล า วไม ถูก ตอง เพราะตามทัศนะของชาฟอีย การกระทบหรื อสัมผัสเพศตรงกัน ข า มจะ เสียวุฎอฺ สวนทัศนะของอาบีฮะนีฟะฮฺ ก็ไมถูกตองเพราะมัซฮับของทานการเช็ดศีรษะจะตองเช็ดอยางนอย หนึ่งในสี่ของศีรษะ และทัศนะของทานอีหมามมาลิกก็ไมถูกตองดวยเชนกัน เมื่อไมไดเช็ดศีรษะทั้งหมด การผสมผสานในที่นี้ทําใหเปนการปฏิบัติดวยวิธีการใหม ที่ไมมีมัซฮับใดแสดงทัศนะไว วิธีการในลักษณะ นี้จึงไมอนุญาตใหปฏิบัติ (‫ )ﻏﲑ ﺟﺎﺋﺰ‬เพราะประเด็นดังกลาวยังเกี่ยวของผูกพันกันอยู แตมีกรณีที่สามารถ พิจารณาไดดังนี้ 1. ในกรณีที่การผสมผสานระหวางมัซฮับ หากดําเนินไปบนพื้นฐานของความเห็นพองตามหลักฐาน ของผูที่มีคุณสมบัติเพียงพอที่จะศึกษาคนควาพิจารณาดวยตนเองไดจากหลักฐานทางศาสนา ก็สามารถ กระทําได เพราะวายิบสําหรับผูที่มีคุณสมบัติครบถวนตองทําการศึกษาคนควาดวยตนเอง แตจะอยางไรก็ ตามจะตองยอมรับไวดวยวา ทัศนะเกี่ยวกับเรื่อง(การผสมผสานระหวางมัซฮับ)นั้น นักวิชาการบางทานยังมี ความเห็นที่ขัดแยงกันอยู (บางก็วาได บางก็วาไมได) 2.แตการผสมผสานระหวางมัซฮับของบุคคลทั่วไป (ที่ไมมีคุณสมบัติพอที่จะศึกษาไดดวยตนเอง) เปนเรื่องที่อนุญาตใหทําได เพราะไมไดบังคับใหบุคคลทั่วไปศึกษาทําความเขาใจทุกมัซฮับ ไมไดบังคับให เรียนรูในสวนที่แตละมัซฮับมีทัศนะแตกตางกันอยู (อยางละเอียด)แตหากเขาสามารถกระทําได (เรียนรู ศึกษาคนควาได) เขาก็คงจะไมตองเปนผูตาม (ที่ปฏิบัติตามผูอื่น) เพราะบรรดาซอฮาบะฮฺเอง ขณะเมื่อพวก เขาเองสอบถามเรื่องของปญหาทางศาสนาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง พวกเขาก็ไมเคยถามเรื่องของเหตุผลเกี่ยวกับ เรื่องที่ไ ดรับคําตอบนั้น ๆ และผูที่ใหคําตอบก็ไ มเคยเตือนวา เมื่อรั บหลั กการมาจากเขาแล ว อย าไดไ ป สอบถามคนอื่น ๆ อีก นั่นก็หมายความวา ในชวงยุคสมัยที่ดีที่สุดอยางสมัยของซอฮาบะฮฺก็มีการผสมผสาน เกิดขึ้น ตราบใดที่ทัศนะตาง ๆ ของพวกเขาไมไดเก็บรวบรวมไวเปนบันทึก มุสลิมในยุคนั้นสมัยนั้นจะ สอบถามใครก็ได เมื่อรับเอาทัศนะมาแลวจะไปเรียนถามซอฮาบะฮฺอีกทานหนึ่งก็ได โดยไมตองไปศึกษา คนควาวาทั้งสองปญญาจะมีความสัมพันธเชื่อโยงกันหรือไมอยางไร 3. สําหรับตัวอยางเรื่องของการทําวุฎอฺ ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนนั้น คําตอบก็คือ หากทําวุฎอฺตามแบบ ของมัซฮับชาฟอีย ก็หมายความวา วิธีการนั้นก็ถูกตองตามหลักกฏหมายอิสลาม เพราะมัซฮับชาฟอียไมไดมีรูปแบบ ของหลักการทางกฏหมายอิสลามที่แยกออกไปแตอยางใด แตประตูที่มุสลิมใชสําหรับเดินเขาสูหลักการกฏหมาย อิสลามของอัลลอฮ (‫ )ﺷﺮﻳﻌﺔ ﺍﷲ‬เมื่อเดินเขามาแลว การทําวุฎอฺก็จะถูกตองตามหลักการ แตเมื่อไปสัมผัสหรือกระทบ กับเพศตรงกันขามตามมัซฮับของฮานะฟย วุฎอฺเดิม(ที่อาบมาตามแบบของชาฟอีย)ก็ยังถูกตองอยูตามหลักการ กฏหมายอิสลามของอิสลาม (‫)ﺷﺮﻳﻌﺔ ﺍﺳﻼﻣﻴﺔ‬เพราะมัซฮับฮานะฟย ก็เปนสวนหนึ่งของหลักกฏหมายอิสลามแหง อิสลาม (‫ )ﺷﺮﻳﻌﺔ ﺍﺳﻼﻣﻴﺔ‬ไมไดแยกสวนหรือแตกตางออกไปแตอยางใด ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

20

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

4.ดวยเหตุนี้เองการอนุญาตใหผสมผสานระหวางมัซฮับนั้นก็จะขึ้นอยูกับความพอใจตอหลักฐานที่ใช ยืนยัน (ของเจาของทัศนะนั้น ๆ) การที่จะหามมิใหบุคคลทั่วไปกระทบ (ผสมผสาน)ก็จะกลายเปนวาในปญหา เดียวกัน คนหนึ่งกระทําไดอีกคนหนึ่งกลับไมอนุญาตใหกระทํา สําหรับเรื่องของหลักการทางกฏหมายอิสลามแลว เปนเรื่องที่ไมถูกตองเพราะเปนที่รับรูกันอยูวา หากฮาลาล ก็ฮาลาลใหกับทุก ๆคน หากฮารอมก็ตองฮารอมกับทุก คน

5. ทาน ชัย ค อัฏฏัรซูซีย ทานอาบู อัซซะอัด ทาน อิ บนุ นะยีม ทานอิบนุ อะรอฟ ต อัลมาลิกี ย ทานอัลอะดูวีย และนักวิชาการอีกหลายทานไดใหการตัดสิน (ฟตวา)วา อนุญาตใหสามารถผสมผสาน ระหวางมัซฮับได 5

5

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจากหนังสือ . ‫ ﺃﺼﻭل ﺍﻟﻔﻘﻪ ﺍﻹﺴﻼﻤﻲ ﻟﻠﺩﻜﺘﻭﺭ ﻭﻫﺒﺔ ﺍﻟﺯﺤﻴﻠﻲ‬:

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

21

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

การผอนปรนอนุญาตใหผสมผสานระหวางมัซฮับ บุคคลทั่วไปบางคนพยายามหาความสะดวกดวยการหันไปปฏิบัติตามทัศนะที่ตางไปจากทัศนะอื่น คือนักวิชาการที่พยายามหาวิธีการปฏิบัติที่งายที่สุด การปฏิบัติเชนนี้จะไดหรือไมอยางไร ? การผสมผสานในลักษณะเชนนี้ (พยายามหาวิธีการที่งายที่สุด) นักวิชการสวนใหญไดหามการ ปฏิบัติในลักษณะนี้ เพราะจะเปนการเอนเอียงไปทางการประพฤติตามอารมณ และหลักการทางศาสนาก็ หามการปฏิบัติตามอารมณราย ซึ่งทานอิบนุ อับดุลบิร ก็เห็นพองดวยเชนกัน เพราะจะเปนการปฏิบัติที่ไม แนนอนไมมั่นคง แตก็ยังมีรายงานจากนักวิชาการบางคนวา อนุญาตใหปฏิบัติตามขอผอนปรน(เลือกวิธีที่งายที่สุด) ของมัซฮับใดมัซฮับหนึ่งได เพราะไมมีหลักการทางศาสนาขอใดที่เปนขอหามในเรื่องนี้ปรากฏอยูเลย ทาน อัลกะมาล บิน อัลฮุมาม ไดกลาวไววา “ผูที่ปฏิบัติตามผูอื่น สามารถที่จะเลือกปฏิบัติตามนักวิชาการทานใดก็ ได หากบุคคลทั่วไปจะยึดถือปฏิบัติตามทัศนะของนักวิชาการที่ศึกษาคนควาทานใดทานหนึ่งในทุกประเด็น ปญหาก็จะเปนเรื่องง ายสําหรับเขา และไมปรากฏวาจะมีหลักฐานจากอัลกุรอานและฮาดิษ หรือแมแ ต หลักฐานทางดานสติปญญาปรากฏอยู และมนุษยก็จะปฏิบัติตามแนวทางที่งายที่สุดสะดวกที่สุดสําหรับเขา และขาพเจาเองก็ไมเคยรูวาจะมีขอตําหนิจากหลักการทางศาสนา และในสมัยของทานนบี  เองก็พอใจที่ จะใหประชาชาติของทานปฏิบัติในสิ่งที่สะดวกและงายตอการปฏิบัติ” และสิ่งที่เราสามารถเขาใจไดในขณะนี้ก็คือ ในหลักบัญญัติทางศาสนา (‫)ﺍﻷﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺸﺮﻋﻴﺔ‬ไมมีขอ แตกตางระหวางการผอนปรนกับความตั้งใจปฏิบัติ ตราบใดที่หลักบัญญัติทางศาสนามีหลักฐานที่ถูกตอง และเมื่อการผสมผสาน(ระหวางมัซฮับ) อนุญาตใหทําไดมาตั้งแตตน ก็จะไมมีอะไรเปนขอหาม ในการที่จะ ปฏิบัติตามขอผอนปรน หากขอผอนปรนนั้นมีหลักฐานทางศาสนายืนยันปรากฏอยู (วาสามารถกระทําได) เราจะมาพูดวาที่นั่นนาเกลียด(ไมควรปฏิบัติ) (‫)ﻛﺮﺍﻫﺔ‬หากไมมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุจําเปน ที่นี่อนุญาตให ปฏิบัติไดโดยไมเปนเรื่องนาเกลียด นาตําหนิ หากพบวามีเหตุฉุกเฉินหรือมีเหตุจําเปน นั้นไมได และทานนบี  ไดเคยกลาวไววา “หากเรื่องใดมีทางเลือก(ที่สามารถเลือกได)ถึงสองทาง ฉันเองก็จะเลือกทางที่งายที่สุด หากทางเลือกนั้นไมเปนบาป” เดิมทีมุสลิมสามารถที่จะเลือกแนวทางหรือทัศนะตางๆ ของนักวิชาการที่ ทําการศึกษาคนควา(ทานใดทานหนึ่งได) เพราะแทจริงแลวทัศนะเหลานี้ไมใชทางเลือกที่เปนบาปแตอยาง ใด6 อินชาอัลลอฮ ขอควรจําประการหนึ่งที่จะนํามากลาวถึงในที่นี้คือ การผสมผสานระหวางทัศนะของนักวิชาการที่ สามารถกระทําไดก็คือปญหาที่มีการศึกษาและไดหลักฐานออกมาในลักษณะที่ไมชัดเจนเด็ดขาด ( ‫ﺍﻹﺟﺘﻬﺎﺩ‬ 6

หลักฐานที่มีความหมายเดียวกันนี้มีอยูมากมาย แตสํานวนอาจจะตางกัน เชนในซอเหียะฮฺบุคอรีย มุสลิม ,มุวัฏฏออฺของทานมาลิก มุสนัดของ ทานอีหมามอะฮฺมัด บิน ฮัมบัล ซุนันของดารียมีย เปนตน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

22

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

‫ )ﺍﻟﻈﻨﻴﺔ‬เทานั้น สวนปญหาที่มีหลักฐานชี้แจงไวอยางชัดเจนเด็ดขาดนั้นจะไมอนุญาตใหผสมผสานหรือ อนุโลมผอนปรนการปฏิบัติแตอยางใด หลักฐานชี้นําไวอยางไรก็ใหปฏิบัติอยางนั้น จะไมมีที่สําหรับการ ผอนปรนและผสมผสานวิธีการปฏิบัติใหเลือกแตอยางใด ซึ่งจะตางไปจากการปฏิบัติตามขอผอนปรนหรือ การผสมผสาน เมื่อพบวาทางหนึ่งอาจจะผิดพลาดนําไปสูขอหามทางศาสนา เชนหากปฏิบัติไปแลวถึงขนาด ทําใหบัญญัติการดื่มสุราหรือการผิดประเวณีเปลี่ยนไปเปนเรื่องที่ทําได ทั้งๆ ที่ทั้งสองเปนสิ่งตองหามที่มี หลักฐานยืนยันไวชัดเจน เปนไปไมไดที่จะกลายมาเปนสิ่งที่อนุมัติ ไมวาจะดวยแนวทางใด ผูที่ปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับอิสลาม....และวิชาฟกฮฺ หลังจากที่อาณาจักรอุสมานียะฮฺลมสลาย ในยุคตนของศตวรรษนี้นักวิชาการ นักเผยแพรศาสนา หลายตอหลายทานเริ่มเคลื่อนไหวเพื่อที่จะฟนฟูกฏหมายอิสลามใหกลับคืนมาสูชีวิตประจําวันของมุสลิมอีก ครั้งหนึ่ง ผลจากการเคลื่อนไหวของนักวิชาการเหลานี้ทั้งหมดจึงกอใหเกิด กลุมกอนของการเคลื่อนไหวใน รูปของพลพรรค องคกร สมาคม ชมรมและมีนักวิชาการถือกําเนิดขึ้นหลายตอหลายทาน ทั้งหมดเหลานี้ลวน แลวแตออกมาเคลื่อนไหวในเปาหมายเดียวกัน โดยตางก็ยึดมั่นวาเปนความจําเปน(‫)ﻓﺮﻳﻀﺔ ﺷﺮﻋﻴﺔ‬ที่จะตอง ฟนฟู ใหกฎหมายอิสลามกลับคืนมาสูสังคม และผลจากการเคลื่อนไหวในครั้งนี้กอใหเกิดการตื่นตัวทาง อิสลามที่กวางขวางแผขยายครอบคลุมสังคมมุสลิมเปนวงกวาง ทําใหบรรดาพลพรรคหรือนักการเมืองอื่น ๆ ที่พยายามยกสัญลักษณของตนเองไดรับผลกระทบเปนอยางมาก แตถึงกระนั้นความตื่นตัวที่เกิดขึ้นหลายตอหลายดานเปนเพียงแรงผลักดันที่ยังออนไหว ยังตองการ การปกปองดูแลผลักดันเพื่อใหเกิดศักยภาพในอีกหลายตอหลายดาน และการปกปองดูแลเอาใจใสที่ดีที่สุด คือความเขาใจที่ถูกตอง สอดคลองกับยุคและสมัย ทันโลกทันเหตุการณ การนําอิสลามมาสูการปฏิบัติใน สถานการณที่เปนปจจุบัน ดวนเหตุนี้เองการสรางความเขาใจในหลักกฏหมายอิสลามที่ถูกตองจึงเปนเรื่องที่ อยากจะนํามาเสนอและใหความกระจางในหลายประเด็นที่สําคัญ ๆ ดังนี้ ประเด็นปญหาที่ 1 การจัดการเรียนการสอนและการเรียนรูวิชาฟกฮฺ การจัดการเรียนการสอนและการเรียนรูฟกฮฺอิสลามนับไดวาเปนสิ่งจําเปนเปนอยางยิ่ง สําหรับผูที่ ตองทํางานเพื่ออิสลาม สําหรับผูที่ทําหนาที่เรียกรองเชิญชวนหรือเผยแพรอิสลาม ผูที่ตองการทํางานใน ลักษณะของการฟนฟูชีวิตการเปนอยูแบบอิสลาม สิ่งแรกที่เขาควรกระทําก็คือการเริ่มตนดวยตัวเอง ดวยการ เรียนรูวา เขาเองจะตองทําตัวเปนมุสลิมไดอยางไร ? ชีวิตการเปนอยูสวนตัวของมุสลิมเปนอยางไร ? จะตอง ยึดมั่นเกี่ยวกับเรื่องของฮาลาล ฮารอม (ตองรูวาสิ่งใดเปนที่ตองหาม สิ่งใดเปนที่อนุมัติ) โดยเฉพาะในเรื่อง ของอิบาดะฮฺ เรื่องของมุอามะลาต (การปฏิสัมพันธตาง ๆ)ในชีวิตประจําวัน ซึ่งสิ่งเหลานี้ทั้งหมดจะไม สามารถเกิดขึ้นไดหากไมมีการศึกษาเรียนรูวิชาฟกฮฺ ดวยเหตุนี้เองเราจึงพูดวา การเคลื่อนไหวเพื่ออิสลาม จําเปนที่จะตองเกิดจากรากเงาของแนวทางแหงอิสลาม จําเปนที่จะตองเรียนรูสาระของวิชาฟกฮฺใหครบถวน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

23

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

จากนั้นหลังจากที่ไดเรียนรูแลว จําเปนที่จะตองมีสวนในการเผยแพรหรือสั่งสอนมุสลิมใหมีความรูดวย การ เรียนรูหลักกฎหมายอิสลาม (‫ )ﺍﻷﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺸﺮﻋﻴﺔ‬คือกาวแรกของการที่จะนํามายึดถือ ยึดมั่นปฏิบัติ การที่จะให แตละคนยึดถือยึดมั่นปฏิบัติตามหลักการกฏหมายอิสลามนั้นเปนขั้นตอนที่จําเปน กอนที่จะใหประชาชาติ ทั้งหมดมายึดมั่นยึดถือปฏิบัติในทุกเรื่องทุกประเด็น เพื่อใหการดําเนินชีวิตทั้งหมดเปนไปตามหลักกฎหมาย ของอัลลอฮทั้งหมด บางคนอาจจะเขาใจผิดเกี่ยวกับทัศนะของทานชะฮีด ซัยยิดกุฏบ (ขอความเมตตาจากอัลลอฮจงมีแด ทาน) เกี่ยวกับเรื่องนี้ (ซึ่งทานไดปฏิเสธที่จะออกคําตัดสินเกี่ยวกับปญหาทางสังคมที่กําลังเกิดขึ้นในปจจุบัน โดยเฉพาะสังคมที่ปฏิเสธการนํากฏหมายอิสลามมาบังคับใชตั้งแตตน) ทานเองพิจารณาแลวเห็นวา (ความ พยายามที่จะพัฒนาฟกฮฺอิสลามเพื่อรับการเผชิญหนากับปญหา ความตองการที่เกิดขึ้นในสังคมปจจุบัน เปน การกระทําที่เรียกไดวาสูญเปลา เปนการตําน้ําพริกละลายแมน้ํา)ทานกลับเห็นวา (สิ่งที่ควรปฏิบัติ) ประการ แรกจะตองใหสังคมเหลานี้ทั้งหมดยอมจํานนตอคําตัดสินหรือกฎของอัลลอฮเสียกอน หลังจากนั้นจึงจะเริ่ม พัฒนาฟก ฮฺ (กฎหมาย) เพื่อ ใหสอดรั บกับความต องการที่กํ าลัง เกิ ด ขึ้ น ที่แ ท จ ริ ง และช ว ยกั นหาทางแก ทางออก7จากคําพูดของทานนี่เองทําใหบางคนสรุปความเขาใจออกมาวา ทานซัยยิดกุฏบ ไมใหความสําคัญ กับฟกฮฺอิสลาม และปลอยเลยตามเลย ทั้ง ๆ ที่ความจริงแลว หากทานใดที่วางตัวเปนกลางแลวศึกษาคําพูด ของท า นซั ย ยิ ด กุ ฏ บ พร อ มกั บ ทํ า ความเข า ใจอย า งละเอี ย ด ก็ จ ะพบว า ท า นเองที่ พ ยายามฟ น ฟู พั ฒ นา โดยเฉพาะอยางยิ่งฟกฮฺที่เปนมรดกตกทอดของนักวิชาการรุนเกากอน ซึ่งเปนมรดกที่ไดใหรายละเอียด เกี่ ย วกั บ ฮาลาลฮารอม เป น มรดกตกทอดที่ อ า งอิ ง อยู กั บ อั ล กุ ร อานและซุ น นะฮฺ โ ดยตรง นั บ ได ว า เป น เอกลักษณแหงยุค ซึ่งมรดกอันสําคัญนี้มุสลิมทุกคนจะตองยึดมั่นเรียนรูหากตองการที่จะเขาใจหลักการทาง กฏหมายอิสลามและนํามายึดถือยึดมั่นปฏิบัติ ซึ่งทานซัยยิดกุฏบไดกลาวไววา “ ความจําเปนในการยึดมั่น ยึดถือมาปฏิบัติ(ตามหลักการกฏหมายอิสลาม) ยังคงอยูเหนือมุสลิมทุกคนที่อาศัยอยูในสังคมญาฮีลียะฮฺ เขา จําเปนที่จะตองเคลื่อนไหวตอตานและเผชิญหนากับสังคมญาฮีลียะฮฺ เพื่อฟนฟูระบบอิสลามขึ้นมาใหได” 8

เมื่อการยึดมั่นตอหลักการทางกฏหมายอิสลาม (‫ )ﺍﻷﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺸﺮﻋﻴﺔ‬เปนเรื่องจําเปนที่จะตองปฏิบัติ การเรียนรูการใหความสําคัญและการสอนฟกฮฺก็เปนสิ่งจําเปนดวยเชนกัน และความจําเปนนี้ก็จะเดินควบคู ไปกับความพยายามในการสรางสังคมอิสลามและการนํากฎหมายของอัลลอฮกลับคืนมาสูโลก ซึ่งก็ไมมี อะไรที่ขัดแยงกันแตอยางใด

7 8

.

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจากหนังสือ . ‫ﻛﺘﺎﺏ ) ﺍﻹﺳﻼﻡ ﻭﻣﺸﻜﻼﺕ ﺍﳊﻀﺎﺭﺓ ( ﻟﺴﻴﺪ ﻗﻄﺐ‬ 21 ‫ ﺹ‬13 ‫ﰲ ﻇﻼﻝ ﺍﻟﻘﺮﺁﻥ ﺟـ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

24

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ประเด็นปญหาที่ 2 รูปแบบการเรียนการสอนฟกฮฺ จึงไมตองสงสัยเลยวาระหวางรูปแบบการจัดการเรียนการสอนฟกฮฺตามวิธีการของมัซฮับและ รูปแบบของซะละฟยจะตองมีขอแตกตางกันอยางแนนอน แตเราก็เชื่อวาประเด็นความแตกตางนี้นี่เองที่ พวกที่ออกนอกลูนอกทางกลับนํามาเปนประเด็นใหญ เกินความเปนจริงจนถึงขนาดบางครั้งถึงขนาดนําไปสู การกลาวหาซึ่งกันและกันวาเปนกาเฟรหรือหลงผิด และเราเองก็เชื่อมั่นวาการที่มีฟกฮฺและมีแคเพียงบทบาท อยูแคกับวิถีชีวิตของมุสลิม ทุกอยางจะไมสมบูรณ แตจะสมบูรณครบถวนไดก็ตอเมื่อฟกฮฺเขามาอยูภายใต รัฐอิสลาม ฉะนั้นความพยายามในการกอตั้งรัฐอิสลามจึงเปนประเด็นหลักสําหรับมุสลิม สวนความแตกตาง ในการแลกเปลี่ยนเรียนรูวิชาฟกฮฺของทั้งสองสํานัก ทั้งของมัซฮับและของซะละฟยะฮฺ จะตองอยูในกรอบ การแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางฉันพี่นอง เพื่อใหสามารถเขาถึงผลที่ดีที่สุด สวนการที่มุสลิมปลอยใหศัตรูเขามา หลอกลวงถอนตัวออกมาจากหลักกฎหมายอิสลามที่มีอยูทั้งหมด แลวหันมาทะเลาะกันเอง ดวยการทุมเท พละกําลังออกไปอยางไมรูทิศทาง การกระทําดังกลาวไมมีอะไรเปนประโยชนกับอิสลามเลย ไมมีใครได ประโยชน เพราะหากฝายหนึ่งฝายไดชนะ ชัยชนะที่ไดก็ไมไดเกิดผลอันใดตอฟกฮฺอิสลามมี ไมไดชวยให ชีวิตการเปนอยูของมุสลิมสามารถเอาชนะกฎหมายของกาเฟรที่จัดตั้งขึ้นได เราเองควรจะยอมรับวา ทั้งสอง รูปแบบทั้งสองวิธีการ (ทั้งวิธีการของมัซฮับและของซะละฟยะฮฺ) ลวนแลวแตเปนที่ยอมรับและมีประโยชน ทั้งสอง แตนั่นก็หมายความวาฟกฮฺของมัซฮับจะตองยืนยันไดวาหลักการทั้งหมดไมไดเปลี่ยนหรือหันเห ออกไปจากความเขาใจที่ไดมาจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ แตเปนเพียงการเพิ่มเติมในรายละเอียดปลีกยอย เทานั้น ในสวนที่เปนฐานหลักหรือหลักการที่มาจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺนั้นก็จะยังคงอยู เจาสํานักซะ ละฟยะฮฺก็เชนกัน เขาจะตองตระหนักเสมอวาความเขาใจในการตีความอัลกุรอานและซุนนะฮฺที่แตกตางกัน นั้นเปนเรื่องที่เกิดขึ้นจริง และเปนไปไมไดที่จะใหทุกคนมีความเขาใจที่เปนไปในทิศทางเดียวกันหมด และ ความสามารถของมนุษยก็เชนกัน เปนไปไมไดที่จะใหทุกคนเขาใจเหมือนกัน ดวยเหตุนี้เองจึงอนุญาตใหผูที่ ไมสามารถทําความเขาใจดวยตนเองไดใหหันไปพึ่งพานักวิชาการ พึ่งพาความเขาใจของอีหมามเหลานี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งอีหมามเจาของมัซฮับทั้งสี่ ซึ่งเปนผูรูเจาของมัซฮับที่เปนที่ยอมรับของประชาชาติ หรือจะ เปนผูรูทานอื่น ๆ นอกเหนือจากอีหมามทั้งสี่ที่เปนครอบครัวของทานนบี หรือนักวิชาการในยุคซอฮาบะฮฺ หรือตาบิอีน หากปรากฏเปนที่ชัดเจนแลววาทัศนะนั้นๆ เปนทัศนะที่ไดรับการถายทอดมาจากทานจริง เราเองจึงเห็นวากรอบการทํางานเพื่ออิสลามจําเปนที่จะตองครอบคลุมสานุศิษยของทั้งสองสํานัก เพื่อสรางความรักความเขาใจ สรางความเชื่อมั่นใหเกิดขึ้น จะตองหมายรวมทุกกลุมเขาทั้งหมดเพื่อใหการ เคลื่อนไหวครั้งใหญทุกคนจะไดมุงหนาไปในทิศทางเดียวกันในการตอสูกับศัตรูของอิสลาม ดวยเหตุนี้เอง เราจึงตองมาปรับเปลี่ยนในเรื่องดังตอไปนี้ คือ การเรียนการสอนฟกฮฺอิสลามตามแนวทางของมัซฮับทั้งสี่เปนเรื่องที่ถูกตอง แตเราเองจะตองเตือน ตัวเองเสมอวา ทัศนะตาง ๆของมัซฮับจะตองอางอิงมาจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ ผูเรียนจะตองศึกษาทํา ความเข า ใจทั ศ นะของมั ซ ฮั บ อื่ น ๆ ด ว ยหากสามารถกระทํ า ได นั่ น ก็ เ ป น เพราะว า ทั ศ นะอื่ น ๆ ที่ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

25

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

นอกเหนือไปจากทัศนะของมัซฮับทั้งสี่ ก็ถูกตองเชนกัน หากเปนไปไดก็สามารถที่จะเปลี่ยนไปตามทัศนะ เหลานี้ดวยหากพบวาหลักฐานอางอิงที่นํามาประกอบนั้นเปนที่นาพอใจ (ซึ่งเจาของมัซฮับเองนั้นพอใจอยู แลว) โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อคราวจําเปน การที่นักเผยแพรศาสนาใสใจที่จะมาพิจารณาในสวนของความ คิดเห็นที่แตกตางในเรื่องที่เปนประเด็นเดียวกัน จะยิ่งทําใหผูคนรูสึกผอนคลายและยืดหยุนไดมากกวากับ การที่จะหยิบยื่นทัศนะใหแคเพียงทัศนะเดียว อีกทั้งยังไปเรียกทัศนะอื่น ๆที่ตางออกไปวาเปนความหลงผิด ก็มีแตจะสรางความราวฉานใหเกิดขึ้นระหวางกัน ซึ่งไมมีอะไรดีเลย การเรียนการสอนวิชาฟกฮฺโดยตรงจากคัมภีรอัลกุรอานและซุนนะฮฺนั้นเปนเรื่องที่ถูกตองและเปน บัญญัติดวยเชนกัน และนั่นคือที่มาหลัก แตการเรียนรูผานทัศนะของผูรูหรือนักวิชาการ ผานมัซฮับตางๆ ก็ เปนเรื่องจําเปนกวา เพราะจะทําใหสามารถเขาใจตัวบทไดดียิ่งขึ้น และยิ่งจะเปนเรื่องจําเปนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกับนักเผยแพรศาสนา (‫ )ﺍﻟﺪﺍﻋﻲ‬ที่ตองทํางานกับกลุมชนมุสลิมเปนผูปฏิบัติตามแนวทางของมัซฮับ ใดมัซฮับหนึ่ง ประเด็นปญหาหลักของนักเผยแพรศาสนาไมไดอยูที่การนําพาผูคนออกมาจากการปฏิบัติตาม ทัศนะหนึ่งไปยังอีกทัศนะหนึ่งซึ่งเกี่ยวกับปญหาปลีกยอยทางกฎหมาย แตที่ตองกระทําคือการนําพาผูคน ออกมาจากความพอใจกับกฎหมายซึ่งมนุษยสรางขึ้นมาเอง แลวนําพาพวกเขาเพื่อใหออกมาตอสูเพื่อให กฎหมายของอัลลอฮเกิดขึ้นในสังคม ฉะนั้นจึงไรประโยชนหากจะขอใหผูคนละทิ้งการปฏิบัติตามทัศนะ ของมัซฮับ แลวหันมาสรางใหพวกเขาสามารถศึกษาคนควาดวยตนเอง โดยใหเหตุผลวาหลักการทั้งหมด ลวนแลวแตมาจากอัลกุรอานและซุนนะฮฺ ซึ่งเขาก็รูอยู (และเปนเรืองที่จําเปนจะตองรูดวย) หรือดวยเหตุผล ที่วา หลักฐานอางอิงตางๆ ที่ใชอางอิงลวนแลวแตมาจากความเขาใจอัลกุรอานและซุนนะฮฺ เมื่อเปนเชนนั้นก็ ไมมีขอหามที่จะมีอีกความเขาใจหนึ่งที่ตางออกไป และทัศนะตาง ๆของแตละมัซฮับ อยางนอยที่สุดจะตอง มีอีกหลากหลายความเขาใจซึ่งแตละความเขาใจก็จะมีหลักฐานประกอบทั้งหมด จะเปนการดียิ่งหากผูที่ทํางานเพื่ออิสลามหรือผูที่ทําหนาที่เรียกรองเชิญชวนศาสนาของอัลลอฮ สามารถที่จะพิจารณาศึกษากฎหมายอิสลามและหลักฐานยืนยันทั้งหมด และหากสามารถที่จะจัดสัมมนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกันได โดยเฉพาะในเรื่องของปญหาที่มีความคิดเห็นที่แตกตางกัน โดยยึด มั่นบนพื้นฐานของความรักและความผูกพันตอกัน ก็จะเปนเรื่องที่ดีเยี่ยม การจัดประชุมสัมมนาจะชวยใหวิสัยทัศนของแตละคนกวางไกลออกไปไดมากยิ่งขึ้น บางครั้งอาจ รวมทัศนะที่แตกตางกันใหมาเปนเอกภาพได แตคงจะไมใชเปนทัศนะที่เปนหนึ่งเดียวสําหรับมุสลิมทั้งหมด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

26

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ประเด็นปญหาที่ 3 ฟกฮฺอิสลามเพื่อการปฏิบัติที่ทันกับยุคสมัย และฟกฮฺที่มีการเปลี่ยนแปลง การปฏิบัติการแบบอิสลามในรูปแบบที่ทันสมัย มีวัตถุประสงคเพื่อการสรางสังคมอิสลามและรัฐ อิสลามขึ้นมาใหม ประเด็นนี้จะยังคงเปนประเด็นหลัก เปนวายิบในระดับตน ๆ ที่จะตองปฏิบัติสําหรับวิถี ชีวิตของมุสลิมทุกคน เพราะเรื่องนี้เปนหนาที่ที่เปนบัญญัติทางศาสนาที่สําคัญ เพราะหากประเด็นนี้ประสบ ความสําเร็จเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องของกฎหมายอิสลามก็จะบรรลุกิจไปดวย แตหากประเด็นหลักนี้ยังไม ประสบความสําเร็จกฎหมายอิสลามก็จะยังคงเปนเรื่องไกลตัวอีกตอไป การที่มุสลิม นักวิชาการ ขบวนการตาง ๆไดทุมเทความพยายามเพื่อกอตั้งรัฐอิสลามขึ้นมา และ ความพยายามอันนี้ถูกตัดสินวาเปนขอบัญญัติทางศาสนา ไมวาจะดวยการกําหนดระดับขั้นตอน รูปแบบ หรืออะไรก็ตามที่เกี่ยวของ ก็ลวนแลวแตเปนเรื่องของฟกฮฺ แตเปนเรื่องที่นักวิชาการอิสลามของเราในยุค สมัยที่ผานมาไมไดกลาวถึงไว (อาจจะเปน)เพราะวาในยุคสมัยของทานเรื่องนี้ประเด็นนี้ยังไมเปนที่ตองการ (เพราะสภาพสังคมที่ตางออกไปจากปจจุบัน) และสิ่งนี้นี่เองที่ทานซัยยิดกุฏบเรียกวา “ฟกฮุลฮะรอกะฮฺ” หมายถึงวิชาฟกฮฺที่ขยับขับเคลื่อนได ซึ่งก็ตรงกันขามกับคําวา “ฟกฮุลเอารอก”ซึ่งหมายถึงฟกฮฺที่เปนเพียง ขอความในกระดาษ แตไมไดหมายถึงหนังสือฟกฮฺที่เปนมรดกตกทอดอยางที่หลายคนเขาใจ แตหมายถึง บางส ว นของฟ ก ฮฺ นั้ น ยั ง คงเป น แค คํ า พู ด ที่ อ ยู ใ นหน า กระดาษ ที่ ไ ม ส ามารถนํ า มาสู ก ารปฏิ บั ติ ใ น ชีวิตประจําวันได สวนฟกฮฺที่เกี่ยวกับฮาลาลฮารอมที่มีการนําใชในชีวิตประจําวันของบุคคลนั้น ทานก็ไมได เรียกวา ฟกฮฺในหนากระดาษ และทานเองก็พยายามเรียกรองใหมีการนํามายึดมั่นและถือปฏิบัติดวยเชนกัน และสิ่งที่ผูทําหนาที่เพื่ออิสลามจะตองเรียนรูใหมากในยุคนี้เวลานี้ คือหลักการหรือขอกฏหมายที่ จําเปนสําหรับยุคปจจุบัน ไมวาจะเปนในเรื่องของระดับความสัมพันธระหวางอิสลามกับกลุมศาสนิกอื่น ๆ ซึ่งในเรื่องนี้จะประกอบไปดวยหลักการหรือขอปฏิบัติเกี่ยวกับ เรื่องของความมั่นคง เรื่องของการทําศึก สงคราม เรื่องของการทําพันธสัญญาตาง ๆ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพื่อใหอิสลามสามารถดําเนินไปไดอยาง ราบรื่น และมีหลักการที่ชัดเจน ความเขาใจในวิชาฟกฮฺในลักษณะนี้ไมมีอะไรแตกตางไปจากฟกฮฺอิบาดะฮฺ ฟกฮฺมุอามะลาต ทุกบททุกเรื่องของฟกฮฺ ก็จะเปนเรื่องที่เรียกวาฟกฮฺ ตักลีดีย (‫ )ﺍﻟﻔﻘﻪ ﺍﻟﺘﻘﻠﻴﺪﻳﺔ‬และฟกฮฺที่ เกี่ยวกับเรื่องนี้ก็เปนสวนหนึ่งของฟกฮฺตักลีดะยะฮฺดวยเชนกัน ซึ่งที่ผานมาในอดีตผูเชี่ยวชาญ (ฟุกอฮะฮฺ) ของเราไดพยายามศึกษาคนควาในกรอบสถานการณสภาพแวดลอมของพวกเขาเทานั้น ซึ่งปจจุบันจําเปนที่ จะตองกลับมาทบทวนศึกษาคนควาหาคําตอบใหเหมาะสมกับกรอบสภาพแวดลอมที่ทันกับยุคทันกับสมัย ตามสภาพปจจุบันของพวกเรา แตความจริงแลวทั้งฟกฮฺที่เปนมรดกตกทอดและฟกฮฺที่เปนฟกฮฺที่ขยับเขยื้อนไดตางก็เปนที่ตองการ ของพวกเราทั้งหมด แตฟกฮฺที่เปนแคขอเขียนที่ปรากฏอยูในกระดาษไมไดมีการนํามาใชปฏิบัติ ตางก็เห็น พองตองกันวาเปนเรื่องที่รับไมได เพราะไมเกิดประโยชน นั่นมันเปนฟกฮฺที่เรียกวาเปนสมมุติฐาน ซึ่งอี หมาม ๆ ของพวกเราเคยปฏิเสธมาแลว ถึงขนาดวา หากมีคนถามปญหาหนึ่งซึ่งยังไมเกิดขึ้น ก็ใหปลอยไว

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

27

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

อยางนั้น จนกวาปญหาจะเกิด และประเด็นในลักษณะนี้มันเกิดขึ้นจริงแลวในสังคมอิสลาม เมื่อเกิดขึ้นแลว เราจะเพิกเฉยไมสนใจที่จะหาคําตอบ ทั้งๆ ที่เปนประเด็นที่สําคัญอันดับตน ๆสําหรับอิสลาม ประเด็นปญหาที่ 4 ลักษณะพิเศษที่สําคัญและความครบถวนสมบูรณของฟกฮฺอิสลาม ความสมบูรณครบถวนของฟกฮฺอิสลามสามารถที่จะแกปญหาของมุสลิมทั้งของสวนบุคคลและ สั ง คมได ทั้ ง หมด เพราะฟ ก ฮฺ อิ ส ลามคื อ ผลแห ง ความสมบู ร ณ ข องอิ ส ลามทั้ ง ระบบ การที่ ฟ ก ฮฺ จ ะให ความสําคัญในดานใดดานหนึ่งจึงไมไดเปนสิ่งตองหามแตอยางใด หากมุสลิมจําเปนและมีความตองการใน ดานนั้น ๆ มากวาดานอื่น ๆ แตการที่จะไปปลอยปละละเลยโดยไมใหความสําคัญเลยนั้นไมได ดังนั้นการที่ เราพบวาในประวัติศาสตรอิสลามที่ผานมามีการใหความสําคัญกับเรื่องของอีบาดะฮฺมากกวาดานอื่น ๆ เพราะสถานการณในยุคนั้นตางเปนที่รูกัน แตเปนเรื่องที่ไมถูกตองหากจะใหพวกเราละเลยในประเด็นอื่น ๆ ของฟกฮฺ ทางที่ดีในยุคนี้สมัยนี้สิ่งที่ตองพัฒนาก็คือเรื่องของฟกฮฺฮะรอกะฮฺ (ฟกฮฺที่เปนการปฏิบัติที่สามารถ ขยับเขยื้อนได)จึงจะเหมาะสมกับยุคของเราในปจจุบัน โดยพัฒนาไปพรอมๆ กับฟกฮฺอิบาดะฮฺ ความจริงแลวฟกฮฺอิสลามเปนความตระหนักเบื้องตน และฟกฮฺ ดังที่ไดกลาวมาแลว วา หมายถึง ประมวลหลักการทางศาสนบัญญติ(กฎหมายอิสลาม) ที่มุสลิมทุกคนจะตองถือปฏิบัติในชีวิตประจําวัน นั่นก็ หมายความวา ฟกฮฺไมใชสมมุตฐานทางวิชาการ ขอเท็จจริงเกี่ยวกับวิชาฟกฮฺอิสลามนั้นเปนสมมุติฐานที่ กําหนดขึ้นมาเพื่อใหรายละเอียดเกี่ยวกับหลักการทางศาสนาในทุกเรื่องทุกปญหาที่เกิดขึ้น และปญหาที่ สําคัญที่สุดของมุสลิมในปจจุบันก็คือความพยายามที่จะการปกครองแบบอิสลามกลับคืนมาใหม ฉะนั้นจึง จําเปนที่จะตองใหรายละเอียดเกี่ยวกับฟกฮฺที่เปนความรูความเขาใจในเรื่องของกฏหมายอิสลามที่ใชสําหรับ ตัดสินในเรื่องที่พวกเขากําลังพยายามอยูในขณะนี้ แทจริงแลวความครบถวนสมบูรณของฟกฮฺอิสลามและขอเท็จจริงทั้งหมดของฟกฮฺอิสลามที่มีอยู ในทุกวันนี้ควรจะเปนความรับผิดชอบทั้งสองดาน ทั้งฟกฮฺในสวนที่เปนมรดกตกทอดและฟกฮฺที่ตองมีการ ขยับเขยื้อนเคลื่อนไหว เพราะทั้งสองดานลวนแลวแตมีความสมบูรณอยูในตัวแลวทั้งหมด จึงไมควรที่จะละ ทิ้งดานใหดานหนึ่ง แลวหันไปใสใจแตเพียงดานเดียว และในสวนของนักเผยแพรอิสลามหากเขาไมมีความ เขาใจเกี่ยวกับฟกฮฺอิสลามแลว ก็เหมือนคนเดินทางที่เดินไปในทะเลทรายโดยไมมีเสบียงไปกับตัว และ ผูเชี่ยวชาญดานวิชาฟกฮฺที่ไมมีสวนรวมกับพี่นองของเขาในการรับภาระอันหนักหนวง ในการที่จะกูรัฐอิส ลาใหคืนกลับมา (ทั้ง ๆ ที่ตัวเองรูดีวานั้นคือหนาที่ที่ตองปฏิบัติ) เขาก็จะไมสามารถเปนแบบอยางที่ดีใหกับ โลกของผูที่ทํางานเพื่ออิสลามได

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

28

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

แนวทางการนําเสอนของหนังสือเลมนี้ แนวทางการนําเสนอของเราในหนังสือเลมนี้ จะเปนแนวทางเฉพาะโดยจะยึดถือหลักการตาม แนวทางดังตอไปนี้ คือ 1.ยึดถืออางอิงตามพระมหาคัมภีรอัลกุรอานและซุนนะฮฺเทาที่สามารถจะกระทําได เพื่อใหหลักการ ทางศาสนบัญญัติหรือกฎหมายอิสลามเชื่อโยงกับที่มาหลักไดอยางตอเนื่อง และเพื่อใหผูที่ประสงคจะเรียนรู ในหลักฐานสามารถยึดถือปฏิบัติไดอยางมัน่ ใจ 2. เราจะกลาวถึงทัศนะที่สําคัญ ๆ ในประเด็นปญหาที่นักวิชาการเห็นตางกัน โดยเราจะยึดถือเอา ทัศนะที่มีหลักฐานยืนยันที่ชัดเจนและจะสนับสนุนความคิดเห็นในลักษณะนี้ดวย แตเราก็จะนําทัศนะอื่น ๆ มานําเสนอดวย ซึ่งอาจจะนําเสนอมาในรูปของขอมูลทั่วไปในหนาเดียวกัน หรืออาจจะนําเสนอไวเปน เชิงอรรถทายหนา 3. เราจะนําเอาทัศนะของมัซฮับทั้งสี่มากลาวถึงใหไดมากที่สุด หากสามารถกระทําได เพื่อใหผูที่ ประสงคจะยึดถือตามแนวทางของมัซฮับเหลานี้ไดรับประโยชนจากหนังสือเลมนี้ดวย 4. บางครั้ง (แตอาจจะไมบอยนัก) เราก็จะนําทัศนะของอิ่หมามทานอื่นๆ นอกเหนือจากอีหมามทั้งสี่ มากลาวถึง พรอมกับระบุวาทัศนะของทานใดมีน้ําหนักในความถูกตองมากวา และสามารถที่จะปฏิบัติตาม ได แมวาจะไมใชอีหมามทั้งสี่ก็ตาม 5. เราจะพยายามใหหนังสือเลมนี้เปนตําราเบื้องตนสําหรับผูที่ทํางานเกี่ยวกับอิสลามที่เริ่มเรียน เกี่ยวกับฟกฮฺ เพื่อใหแนวคิดหลัก ๆ ที่เราไดกลาวถึงมาแลวในบทนําบรรลุผล ซึ่งอาจจะเปนไปไดวาการ เรียนการสอนอาจจะทํากันในรูปแบบของการเรียนรูของผูเริ่มเรียนที่เรียนกันเปนกลุม เปนชวงเปนตอน ไม วาผูสอนจะเปนผูสอนแบบมัซฮับหรือแบบสะละฟย ซึ่งผูที่เรียนรูหนังสือเลมนี้แลว สามารถที่จะขยับไป เรียนรูหนังสือฟกฮฺเลมอื่น ๆ ที่สามารถเปดหูเปดตาใหมีความเขาใจมากยิ่งขึ้น เพื่อจะไดไมออกนอกลูนอก ทาง เพื่อที่จะไดผอนคลายยืดหยุนได และหากเราประสบความสําเร็จไดก็นับไดวาเปนความชวยเหลือ จากอัลลอฮอยางแทจริง แตหากขอใดเปนความผิดพลาด เราหวังเปนอยางยิ่งวา เราจะไดรับการอภัยโทษจาก พระเมตตาธิคุณแหงอัลลอฮ เพื่อพระองคจะทรงใหอภัยในความผิดพลาดของเรา .‫ﻭﺼﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﺴﻴﺩﻨﺎ ﻤﺤﻤﺩ ﻭﻋﻠﻰ ﺁﻟﻪ ﻭﺼﺤﺒﻪ ﻭﺴﻠﻡ‬

ผูแตง / / ญามาดิลอูลา 1405 ฮ. ตรงกับ กุมภาพันธ 1985

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

29

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

คําอธิบายศัพท คําวา “‫ ﺃﻭ ﻣﺘﻔﻖ ﻋﻠﻴﻪ‬،‫ ”ﺭﻭﺍﻩ ﺍﻟﺸﻴﺨﺎﻥ‬หมายถึง บุคอรียและมุสลิม ฮาดิษที่บันทึกโดยผูเ ชี่ยวชาญทั้ง สองนับวาเปนฮาดิษที่มีน้ําหนักของความถูกตองเปนอันดับหนึ่ง คําวา “‫ ”ﺭﻭﺍﻩ ﺍﳉﻤﺎﻋﺔ‬หมายถึงกลุมนักบันทึกฮาดิษ ซึ่งประกอบดวย บุคอรีย มุสลิม อาบูดาวุด ตัรมี ซีย อัลนะซาอียและ อิบนุมายะฮฺ คําวา “‫ ”ﺭﻭﺍﻩ ﺃﺻﺤﺎﺏ ﺍﻟﺴﻨﻦ‬หมายถึง ผูบันทึกฮาดิษที่ประกอบดวย ทานอาบูดาวุด อัตตัรมีซีย อับนะ ซาอีย และอิบนุมายะฮฺ คําวา “‫ ”ﺭﻭﺍﻩ ﺍﳋﻤﺴﺔ‬หมายถึงผูบันทึกฮาดิษที่ประกอบดวยทานอาบูดาวุด อัตตัรมีซีย อัลนะซาอีย อิบ นุมายะฮฺ และทานอะหมดั อิบนุฮัมบัล

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

30

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

บทที่ 1 ศาสบัญญัติความสะอาด หมวดที่ 1 หลักการเกี่ยวกับน้ํา 1) น้ําแบงออกเปน 4 ประเภท 1. น้ําทั่วไป(‫ )ﺍﳌﺎﺀ ﺍﳌﻄﻠﻖ‬เชน น้ําฝน น้ําที่เกิดจากตาน้ํา น้ําจากหนอง คลอง บึง น้ําทะเล น้ําเหลานี้เปน น้ําที่สะอาดสามารถนํามาใชทําความสะอาดสิ่งอื่นๆ ได 2. น้ําที่ใชแลว (‫ )ﺍﳌﺎﺀ ﺍﳌﺴﺘﻌﻤﻞ‬คือน้ําที่ผานการชําระลางอวัยวะของผูอาบน้ําละหมาด หรือผูที่อาบน้ํา โดยที่ไมมีสิ่งโสโครกที่เปนนายิสอื่นปะปนมา น้ําประเภทนี้นักวิชาการเห็นตรงกันวาเปนน้ําสะอาดแต นักวิชาการสวนใหญ(ุมฮูร)ใหทัศนะไววาจะใชทําความสะอาดสิ่งอื่นไมได 3. น้ํา ซึ่ ง ปะปนกั บ สิ่ง ที่ ส ะอาด เช น สบู น้ํา ส ม หากการปนเป อ นเป น การปนเป อนเพี ย งเล็ ก น อ ย ลักษณะของน้ํายังไมเปลี่ยน น้ําประเภทนี้เปนน้ําสะอาด และฮานาฟยไดใหทัศนะไววาสามารถใชทําความ สะอาดสิ่งอื่นได แตชาฟอียและทานมาลิกกลับใหทัศนะไววา ใชทําความสะอาดสิ่งอื่นไมได 4. น้ําที่ปนเปอนนายิส หากรส กลิ่นหรือสีเปลี่ยนไปจากเดิม ก็ใหถือวาน้ํานั้นเปนนายิส นักวิชาการมี ความเห็นตรงกันวาไมอนุญาตใหนํามาใชทําความสะอาด แตหากลักษณะเดิมของน้ําไมเปลี่ยน ทานมาลิกยัง นับวาน้ํายังเปนน้ําสะอาด ไมวาน้ําจะนอยหรือมาก แตอัลอะฮฺนาฟ (มัซฮับฮานาฟย) ใหทัศนะวาน้ําประเภท นี้ใชทําความสะอาดไมได แตทานชาฟอีย กลับบอกวาหากน้ํามีปริมาณครบ 2 กอลอฮ9 พื้นที่ของพาชนะใส น้ําจะตองปริมาณกวางยาวและลึกอยางนอย 60 ซ.ม. โดยประมาณ 2) น้ําที่เหลือในพาชนะหลังดื่ม 1. น้ําที่เหลือในพาชนะหลังการดื่มของคน ไมวาผูดื่มจะเปนใคร เปนกาเฟรหรือมุสลิม เปนคนที่มียู นุบ หรือสตรีที่มีประจําเดือน จัดวายังเปนน้ําสะอาด น้ําที่เหลือจากแมวหรือสัตวกินเนื้อดื่มก็เปนน้ําที่สะอาด ,น้ําที่เหลือจากการดื่มของมา ลา ลอ หรือ สัตวดุราย หรือสัตวปก ก็นบั วายังเปนน้ําสะอาด ยกเวนทัศนะของ ฮานาฟย ที่เห็นวาเปนน้ําไมสะอาด สวน น้ําที่เหลือจากการดื่มของสุนัข หรือสุกรนักวิชาการทุกคนเห็นตรงกันวาเปนนายิส

9

มีน้ําหนักเทากับ 63 ปอนด หรือ 157.5 กิโลกรัม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

31

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 2 นายิสและการชําระลาง นายิส หมายถึงสิ่งสกปรกโสโครกที่มุสลิมจําเปนตองชําระลางหากมีการสัมผัส ประเภทของนายิส 1. ปสสาวะ อุจาระของมนุษย ปสสาวะและมูลของสัตวที่ไมกินเนื้อสัตวอื่นเปนอาหาร สวนมูลของ สัตวที่กินเนื้อสัตวเปนอาหาร มัซฮับฮานาฟย ชาฟอยี  ใหความเห็นวาเปนนายิส สวนมากียะฮฺและฮานาบิละฮฺ กลับเห็นวาไมเปนนายิส 2.น้ําเมือก(มะซีย)ที่เกิดจากการมีอารมณทางเพศ 3.น้ําสีขาวที่ออกมาพรอมกับน้ําปสสาวะ 4. เลือดที่ไหลริน หากมีบริมาณนอย ก็ไมเปนไร(อนุโลม) ตามทัศนะของชาฟอีย หากเปนเลือดที่มา จากตัวริน้ หรือยุงนั้นไมเปนไร (อนุโลม) หากเลือดที่เห็นมีจํานวนเพียงเล็กนอย (ไมตอ งชําระลาง) 5.สุนัขและสุกร 10 6. อาเจียน 7. ซากสัตวที่ตายโดยไมไดเชือด ยกเวนซากของมนุษย ปลาและตั๊กแตน หรือสัตวที่ไมมีเลือดไหล ริน การชําระลางนายิส เมื่อรางกายหรือเสื้อผาเครื่องนุงหมของเราสัมผัสกับนายิส วายิบตองชําระลางทําความสะอาด หาก เปนนายิสที่มองเห็นก็ใหทําความสะอาดชําระลางตัวนายิสใหหมดไป หากเปนนายิส ที่มองไมเห็นจะตอง ชําระลางที่ที่ถูกนายิส จนกระทั่งรูสึกวาสะอาดแลว สวนพาชนะที่สุนัขเลีย วายิบใหชําระลางเจ็ดครั้ง หนึ่ง ในเจ็ดตองเปนน้ําที่ผสมกับดิน(คําวาเลียในที่นี้หมายถึงการแหยลิ้นลงไปในน้ําหรือในของเหลวชนิดอื่น ๆ ) ในกรณีที่สุขันมาสัมผัสกับหรือถูกับตัวของมนุษย ก็ใหทําความสะอาดตามปกติ11 สวนนายิสที่มีปริ มาณเพียงเล็กนอยนั้นอนุโลมใหไมตองชําระลาง ซึ่งสัมผัสแลวไมรูสึกตัว เชน เลือดหรืออาเจียนเพียง เล็กนอย สวนน้ําปสสาวะของทารกที่ยังไมรับประทานอาหารอื่นนอกเหนือจากนมมารดา การทําความ สะอาด ใหประพรมน้ําในบริเวณที่ถูก โดยไมตองลางแตอยางใด

10

สุนัข นักวิชาการทุกคนเห็นตองกันวาเปนนายิส โดยมีหลักฐานจากฮาดิษที่วา “ ‫ﺇﺫﺍ ﻭﻟﻎ ﺍﻟﻜﻠﺐ ﰲ ﺇﻧﺎﺀ ﺃﺣﺪﻛﻢ ﻓﻠﻴُﺮﻗﹾﻪ ﰒ ﻟﻴﻐﺴﻠﻪ ﺳﺒﻊ ﻣﺮﺍﺕ ( ﺭﻭﺍﻩ‬

. ‫ ”ﻣﺴﻠﻢ‬น้ําลายของสุนัขเปนนายิส น้ําลายเปนสวนหนึ่งของปาก เมื่อน้ําลายเปนนายิส สุนัขเองก็เปนนายิส 11

ตามทัศนะของยุมฮูร แตสําหรับมาลิกียะฮฺและฮานาฟย ไมตองลางทําความสะอาดแตอยางใด เพราะรางกายของสุนัขในทัศนะของพวกเขาไม เปนนายิส

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

32

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

มารยาทในการขับถาย เมื่อมุสลิมตองการขับถายควรปฏิบัติดังนี้ 1.ไมควรมีเครื่องมือเครื่องใชที่มีพระนามของอัลลอฮติดตัวขณะขับถาย ยกเวนวากลัวจะสูญหาย 2.ใหกลาววาบิสมิลละฮฺและอะอูซุบิลละฮฺขณะเขาหองสุขา และใหระงับการพูดหลังเขาหองสุขา 3. ไมหั นหนาหรื อหั นหลังไปทางกิบลัตขณะขับถาย มุสลิมควรตระหนั กในเรื่องนี้ ขณะสราง หองน้ําภายในบานควรระมัดระวังในเรื่องนี้ 4.ไมควรขับถายในทางเดิน ในรมไมและควรขับถายใหไกลจากคอกสัตว 5. ไมควรยืนถายปสสาวะ นอกเสียจากวาถายแลวจะไมกระเซ็นไปยังที่อื่น 6.ควรทําความสะอาดอวัยวะขับถายดวยน้ําหรือของแข็งที่ไมใชสิ่งที่เปนที่เคารพ (เชนกระดูก) การ ทําความสะอาดไมควรทําความสะอาดดวยมือขางขวา เมื่อทําความสะอาดแลวใหลางมือใหสะอาดดวยสบู หรือน้ํายา หากสามารถกระทําได 7. เมื่อตองกาวเขาหองน้ํา ควรเริ่มดวยเทาซายอานดุอาวา “ ‫ﺍﻟﻠﻬ ّﻢ ﺇﱐ ﺃﻋﻮﺫ ﺑﻚ ﻣﻦ ﺍﳋﺒﺚ ﻭﺍﳋﺒﺎﺋﺚ‬ ،‫ ”ﻭﺃﻋﻮﺫ ﺑﻚ ﺭﰊ ﺃﻥ ﳛﻀﺮﻭﻥ‬เมื่อตองการออกจากหองน้ําใหเริ่มดวยเทาขวา และอานดุอาวา “‫”ﻏﻔﺮﺍﻧﻚ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

33

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

กิจกรรม การทําความสะอาด 1. อะไรคือกรอบของการตัดสินวาน้ําเปนน้าํ สะอาดหรือน้าํ ไมสะอาด ? 2. ตัวบทในซูเราะฮฺอัลอันอาม มีการกลาวถึงนายิสไวหลายประเภท มีอะไรบาง ? ในกรณีที่นายิส ปะปนกับน้ําถึงขนาดทําใหนา้ํ เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติเดิม ควรปฏิบัติอยางไร 3. เหตุการณทอี่ าหรับเบดุอินถายปสสาวะในมัสยิด มีขอตัดสินอยางไร ? โดยยึดหลักการวิเคราะห วา “ปสสาวะของมนุษยเปนนายิสหรือไมอยางไร ? มีวธิ ีการชําระลางพื้นดินที่ถูกน้ําปสสาวะไวอยางไร” 4. จงบอกหลักฐานที่ยืนยันวา สิ่งที่มนุษยขบั ถายออกมานัน้ เปนนายิส เชน น้ําปสสาวะ อุจจาระ อาเจียน และเมื่อสิ่งเหลานี้ถูกเสื้อผาหรือน้าํ ที่ไมไหล น้ําก็จะกลายเปนน้ําที่ไมสะอาด เสื้อผาก็จะสกปรก จําเปนตองทําความสะอาด 5. จงบอกหลักฐานที่ยืนยันวา หลักการทางศาสนบัญญัติหรือหลักกฏหมายของอิสลามนั้นเปนเรื่อง ที่สามารถปฏิบัติไดอยางงาย ๆ โดยพิจารณาจากสถานการณดังที่ทานนบี ไดเคยชี้นาํ ไว 2. ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาหัวขอที่ถูกตอง 1 ปสสาวะของทารกเพศชายและเพศหญิงไมเปนนายิส 2 ปสสาวะของทารกเพศชายไมเปนนายิสแตเพศหญิงเปนนายิส 3 ปสสาวะของทารกทั้งสองเปนนายิส 4 ปสสาวะของทารกเพศชายที่ยังไมรับประทานอาหารอื่น (นอกจากนมมารดาเปนอาหาร) เปนนายิส ที่เบากวาปสสาวะของทารกเพศหญิง 5 หลังจากที่ทารกรับประทานอาหารอื่นตามปกติระดับความหนักเบาของนายิสในปสสาวะจะเทากัน 6 ปสสาวะของทารกเพศชายที่ยังไมรับประทานอาหารใหทําความสะอาดดวยการประพรมน้ํา สวน ทารกเพศหญิงใหลางตามปกติ 7. จงวิเคราะหตามหลักการทางศาสนบัญญัติเกี่ยวกับน้ําตอไปนี้ โดยใหเหตุผลประกอบพรอมหลักฐาน ยืนยันที่ถูกตอง 1. น้ําที่สุนัขหรือสุกรเลีย 2. น้ําซึ่งปะปนกับปสสาวะหรือมูลของสัตวที่ไมกินเนื้อสัตวเปนอาหาร 3.น้ําซึ่งมีซากสัตวเสียชีวิตและเปอยเนาอยูขางใน ก. ใหศึกษาประเด็นตอไปนี้ เพื่อหาคําตอบ 1. ใหชวยกันคนหาแหลงที่ตั้งของบอ ที่มีชื่อวา “บอบิฏออะฮฺ” วาตั้งอยูที่ไหน และการใชน้ําจากบอ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

34

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

มาทําความสะอาดจะไดหรือไมอยางไร ? โดยศึกษาทําความเขาใจเพิ่มเติมไดจากหนังสือ “‫ ”ﻓﻘﻪ ﺍﻟـﺴﻨﺔ‬ใน หัวขอเรื่อง “น้ําและประเภทของน้ํา” 2.ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไวในฮาดิษหนึ่งวา “‫ ”ﺍﻟﻤﺎﺀ ﻁﻬﻭﺭ ﻻ ﻴﻨﺠﺴﻪ ﺸـﻲﺀ‬หลักการทางศา สนบัญญัติในฮาดิษนี้มีอะไรบาง ? 3. ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย9หนาคําตอบที่ถูกที่สุด 1) ความหมายของฮาดิษ “‫ ”ﺍﻟﻤﺎﺀ ﻁﻬﻭﺭ ﻻ ﻴﻨﺠﺴﻪ ﺸﻲﺀ‬คือขอใด o น้ํานั้นสะอาดอยูเสมอ แมวาคุณสมบัติเดิมของน้ําจะเปลี่ยนเพราะถูกนายิสไปแลวก็ตาม o น้ําจะสะอาดเสมอตราบใดที่นายิสไมทําใหคุณสมบัติอยางหนึ่งอยางใดของน้ําเปลี่ยนไป o นายิสไมสามารถทําใหน้ําเปลี่ยนสภาพได 2) เลือดประจําเดือนสะอาดหรือเปนนายิส เพราะเหตุใด ? 3) ผูที่เสื้อผาเปอนเลือดประจําเดือนควรปฏิบัติอยางไร ? 4)ในกรณีตอไปนี้มุสลิมควรปฏิบัติอยางไร ? 1.หนูตกลงในกระปองเนยแข็ง และปรากฏวามันเสียชีวิตอยูในกระปอง 2. ลูกแมวตกลงไปในกระปองน้ํามันและตายอยูในกระปอง 3. เหยียบกอนอุจจาระดวยรองเทา 4. กระจก มีด ตกลงในน้ําปสสาวะ อุจจาระหรือเลือด 5. ตองการนําหนังสัตวที่ตายแลวมาใชประโยชน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

35

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 3 เลือดประจําเดือน น้ําคาวปลาและญะนาบะฮฺ 1. เลือดประจําเดือน(‫ )ﺍﳊﻴﺾ‬หมายถึงเลือดรอบเดือนที่ออกมาจาก(มดลูกของ)สตรีเพศในภาวะที่ รางกายเปนปกติ ตามทัศนะของชาฟอียระยะเวลาที่นอยที่สุดของการมีรอบเดือนคือ หนึ่งคืนกับหนึ่งวัน สวนฮานะฟยก ลาววา นอยที่สุดของการมีรอบเดือนคือ 3 วัน ปกติจะมีระยะเวลาประมาณ 7 วัน ตามทัศนะ ของฮานาฟย ระยะเวลามากทีส่ ุดของการมีรอบเดือนคือ 10 วัน แตชาฟอยี เห็นวามากทีส่ ุดคือ 15 วัน เมื่อผานพนเลยเขตระยะเวลาที่นับวามากทีส่ ุดใหถือวาเปนความผิดปกติของรางกาย ซึ่งจะเรียกวา อิสฏิหาฎอฮฺ 2. น้ําคาวปลา (‫ )ﺍﻟﻨﻔﺎﺱ‬หมายถึงเลือดที่ออกมาจากสตรีเพศเพราะการคลอดบุตร ระยะเวลาที่นอย ที่สุด ไมมีการกําหนดไว แตมากที่สุดประมาณ 40 วัน เพราะมีฮาดิษของทาน อุมซะลามะฮฺ ซึ่งไดบันทึกไว วา “สตรีที่มีน้ําคาวปลาตองใชเวลานานถึง 40 วัน จึงจะหมด รายงานโดยผูรายงานทั้งหาคน ยกเวนทานนะ ซาอีย แตอัชชาฟอียใหทัศนะวา เวลาที่นานที่สุดคือ 60 วัน โดยนับวา 40 วันนัน้ เปนภาวะปกติทวั่ ไปของ สตรี 3. ภาวการณมยี ุนุบของผูคนคือ หลังการมีเพศสัมพันธ หรือการหลั่งอสุจิ ไมวาจะเปนขณะนอน (ฝน)หรือขณะตื่นนอน 4.ขอปฏิบัติสําหรับผูที่มีประจําเดือนและมีน้ําคาวปลา คือไมตองถือศีลอด แตจะตองถือศีลอด ชดเชยในสวนที่ขาด และไมตองทําการละหมาด และไมตองละหมาดชดเชยละหมาดที่ขาดดวย และหาม นางและสามีของนางรวมประเวณี หามทําการตอวาฟ และแตะตองคัมภีรอัลกุรอาน หามพกพาหรืออาน นอกจากในสวนที่เปนดุอา หรือกลาว บิสมิลละฮฺ หามหยุดพักในมัสยิด แตผูที่มียนุ บุ จะหามเฉพาะการ ละหมาด สวนการถือศีลอดสามารถกระทําได กิจกรรม ขอปฏิบตั ิที่เปนที่ตองหามของผูมียนุ ุบและมีประจําเดือน 1. ผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับวิชาฟกฮฺบางทานใหทศั นะวา การสัมผัสคัมภีรอัลกุรอาน ไมเปนที่ตองหามแต อยางใดสําหรับผูที่มียุนุบ โดยยึดตามหลักฐาน ซึ่งหลักฐานก็เปนที่รูกนั วาทานรอซูลุลลอฮ  ไดสง สารไปยังพวกกาเฟร ซึ่งในสารนั้นก็มีอายะฮฺอัลกุรอานปรากฏอยูหลายอายะฮฺ และพวกเขาก็สัมผัส สารเหลานี้ทั้งหมด จงอภิปรายในประเด็นนี้ 2. ผูที่มียุนุบหามทําการตอวาฟ มีการใชหลักฐานอางอิงจากฮาดิษของทานนบีหลายฮาดิษ พวกเขามี หลักการในการอางอิงอยางไร ? ...ระบุฮาดิษและหลักฐาน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

36

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

3. การสัมผัสคัมภีรอัลกุรอานไมไดเปนสิ่งตองหามสําหรับผูที่มีฮาดัษเล็ก เราจะอธิบายอยางไรกับค พระดํารัสแหงอัลลอฮซึ่งมีความหมายวา “อยาไดสัมผัสอัลกุรอานยกเวนผูที่สะอาดบริสุทธิ์เทานั้น” 4. อัลลอฮทรงตรัสไววา “‫ ”ﻭﻻ ﺟﻨﺒﹰﺎ ﺇﻻ ﻋﺎﺑﺮﻱ ﺳﺒﻴﻞ ﺣﱴ ﺗﻐﺘﺴﻠﻮﺍ‬ใหนกั เรียนศึกษาทําความเขาใจอายะฮฺ จากหนังสือตัฟเซร โดยศึกษาทําความเขาใจเกีย่ วกับ สาเหตุของการประทานอายะฮฺ หลักการ ทางศาส นบัญญัติที่ไดรับจากอายะฮฺ โดยเฉพาะเรื่องของการเขาสูมัสยิดของผูที่มียุนบุ กิจกรรม เรื่อง เลือดประจําเดือน น้ําคาวปลาและเลือดอิสติฮาฎอฮฺ 1. ศึกษาธรรมชาติของเลือดประจําเดือน น้ําคาวปลาและเลือดอิสติฮาฎอฮฺ โดยศึกษาจากหนังสือฟกฮฺ ที่

มีอยูในหองสมุดของโรงเรียน 2. เลือดที่เปนเลือดประจําเดือนอาจจะปะปนกับเลือดที่เกิดจากภาวะผิดปกติทางรางกายของสตรี ฉะนั้น จะแยกแยะไดอยางไรวาเปนเลือดประจําเดือนหรือเลือดอิสติฮาฎอฮฺ 3. กอนที่สตรีจะเริ่มประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ทางศาสนา นางจะตองมั่นใจกอนวาสิ้นสุดระยะของการมี ประจํ า เดื อ นแล ว ....จงบอกหลั ก ฐานที่ บง บอกเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ และจงอธิบ ายวิ ธีที่ จ ะทํ าให มั่ น ใจได ว า ประจําเดือนสิ้นสุดแลว 4. ในกรณีที่สตรีมีเลือดไหลออกมาไมหยุด ในภาวะดังตอไปนี้จะปฏิบัติอยางไร ? ก. จะกําหนดระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดประจําเดือนไดอยางไร ? ข. เมื่อตองการละหมาดเขาจะตองปฏิบัติอยางไร ? ค. สตรีเพศจะมีน้ําคาวปลาเมื่อใด และระยะเวลาที่สั้นที่สุดและนานที่สุดกี่วัน ? (ศึกษาเพิ่มเติมได จากหนังสือฟกฮฺ) 5. อิสลามไดใหเกียรติ์ตอสตรีเพศมาตลอดแมกระทั่งในชวงที่นางมีรอบเดือน ใหนักเรียนอธิบาย เหตุการณที่เคยเกิดขึ้นกับนางในอดีตในยุคที่ยิวเรืองอํานาจวามีการปฏิบัติตอนางอยางไร โดยเฉพาะในชวง ที่นางมีรอบเดือน 6. ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาการกระทําที่สามารถกระทําไดขณะที่สตรีอยูในภาวะที่มี ประจําเดือน หรือมีน้ําคาวปลา 1) อานอัลกุรอาน 2) สัมผัสหรือจับตองคัมภีรอัลกุรอาน 3) ทําละหมาด 4) ถือศีลอด ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

37

5) กลาวตัสบิฮฺ 6) รับฟงการเทศนาธรรม 7) รวมงานเลี้ยง 8) สัมผัสมือระหวางผูหญิงดวยกัน 9) เดินผานดานในมัสยิดเพื่อขามไปยังอีกฟากหนึ่ง ---------------------------------------------

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

38

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 4 การอาบน้ํา การอาบน้ําในที่นี้หมายถึงการอาบน้ําชําระรางกายดวยน้ําสะอาดที่สามารถใชทําความสะอาดสิ่ง สกปรกได โดยรดน้ํ า ให เ ป ย กทั่ ว เรื อ นร า ง หลั ก ฐานที่ ยื น ยั น ว า เป น บั ญ ญั ติ ท างศาสนาคื อ พระดํ า รั ส แหงอัลลอฮที่ทรงตรัสไววา .[6 :‫ﻁ ﱠﻬﺭَﻭﺍ ]ﺍﻟﻤﺎﺌﺩﺓ‬ ‫ﺠﻨﹸﺒﹰﺎ ﻓﹶﺎ ﱠ‬ ُ ‫ﻥ ﹸﻜ ﹾﻨ ﹸﺘ ْﻡ‬ ْ ‫ﻭَﺇ‬

และหากพวกเจามียะนาบะฮฺ (สภาพหลังการประเวณี หรือการหลั่งอสุจิ) พวกเจาก็จงชําระ (รางกาย) ใหสะอาด 1. สาเหตุที่ตองอาบน้ําวายิบ 1) หลั่งอสุจิเพราะมีความรูสึกทางเพศไมวาจะเปนขณะนอนหลับหรือกําลังตื่น ทั้งหญิงและชาย เพราะมีฮาดิษของทานนบี  ไดกลาวไววา “น้ํานั้นมาจากน้ํา” รายงานโดยมุสลิม ซึ่งอีหมามทั้งสามทาน ตางเห็นตองกัน แตในกรณีที่หลั่งอสุจิโดยไมมีอารมณทางเพศ ก็ไมจําเปนตองอาบน้ําวายิบ เชนการหลั่ง อสุจิเพราะอาการปวย หรือหนาวเย็น ทานอีหมามชาฟอียกลับใหทัศนะไววา จําเปนตองอาบน้ําละหมาดทุก กรณีที่หลั่งอสุจิ ไมวาจะมีอารมณเพศหรือไมมีก็ตาม 2) หลังการรวมประเวณี แมวาจะไมมีการหลั่งอสุจิก็ตาม เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “เมื่อเขา มานั่งทางแยกของนางทั้งสี่ จากนั้นอวัยวะทั้งสองสัมผัสกัน ก็วายิบใหอาบน้ํา” รายงานโดยอะหฺมดั มุสลิม และอัตตัรมีซีย 3)เมื่อสิ้นสุดการมีรอบเดือนหรือการมีน้ําคาวปลาของสตรีเพศ อัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา £èδθç/tø)s? Ÿωuρ ( ÇÙŠÅsyϑø9$# ’Îû u!$|¡ÏiΨ9$# (#θä9Í”tIôã$$sù “]Œr& uθèδ ö≅è% ( ÇÙŠÅsyϑø9$# Çtã štΡθè=t↔ó¡o„uρ =Ïtä†uρ tÎ/≡§θ−G9$# =Ïtä† ©!$# ¨βÎ) 4 ª!$# ãΝä.ttΒr& ß]ø‹ym ôÏΒ ∅èδθè?ù'sù tβö£γsÜs? #sŒÎ*sù ( tβößγôÜtƒ 4®Lym .[222 :‫ ∪⊄⊄⊄∩ ]ﺍﻟﺒﻘﺭﺓ‬šÌÎdγsÜtFßϑø9$#

และพวกเขาทั้งหลายจะถามเจาเกี่ยวกับ (ปญหาของ) ระดู เจาจงตอบเถิดวา อันระดูนั้นเปนความ สกปรกอยางหนึ่ง ดังนัน้ เจาทั้งหลายจงแยกตัวออกจากสตรี (ผูเปนภริยา) ในชวงมีระดู และพวกเจาจงอยา เขาใกลพวกนางจนกวาพวกนางจะสะอาด ดังนั้นเมื่อพวกนามมีความสะอาดแลว พวกเจาก็จงเขาหานางเถิด ตามที่อัลเลาะฮฺไดทรงบัญชาแกพวกเจา แทจริงอัลเลาะฮฺทรงรักบรรดาผูหมั่นทําการสารภาพผิดและทรงรัก บรรดาผูมคี วามสะอาดทั้งหลาย 4) ศพของมุสลิม วายิบใหผูที่ยังมีชีวิตอยูจัดการอาบน้ําใหกับผูตาย เพราะทานรอซูลุลลอฮ  ....จง ชําระรางกายใหกับเขา(ผูตาย)ดวยน้ําและน้ําผสมใบพุดทรา” บันทึกโดยบุคอรียและมุสลิม ยกเวนผูที่ตาย ชะฮีด ไมตองอาบน้ําชําระรางกายให ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

39

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

5) คนกาเฟรเมื่อเขารับนับถือศาสนาอิสลามวายิบตองอาบน้ําชําระรางกาย เพราะมีหลักฐานปรากฏ ในฮาดิษของทานกีส บิน อาซิม ครั้งเมื่อทานเขารับนับถืออิสลาม ทานนบี  ไดสั่งใหทานอาบน้ําและน้ําใบ พุดทรา”รายงานโดยนักรายงานทั้งหา ยกเวนอิบนุมายะฮฺ 2. การอาบน้ําซูนัต ซูนัตใหมุสลิมอาบน้ําในกรณีดังตอไปนี้ 1) ในวันศุกร เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “หากคนหนึ่งคนใดจากพวกทานจะออกไปละหมาด ในวันศุกร ก็ควรจะอาบน้ําชําระรางกายใหเรียบรอย” รายงานโดยอัลยะมาอะฮฺ ซูนัตใหอาบน้าํ กอนการ ละหมาดในวันศุกร 2) การอาบน้ําในวันตรุษทั้งสอง (อีดิลอัฎฮาและอีดิลฟตรี) นักวิชาการทุกคนเห็นตรงกันวาซูนัตให อาบน้ําชําระรางกาย และในเรื่องนี้มีฮาดิษหลายฮาดิษแตเปนฮาดิษฎออีฟ และยังมีรายงานจากบรรดาซอ ฮาบะฮฺปรากฏอยูดวย 3) ผูที่อาบน้ําใหกับศพ เมื่ออาบน้ําศพเรียบรอยแลวก็ซูนัตใหอาบน้าํ ชําระรางกายตัวเอง เพราะ ทานนบี  ไดกลาวไววา “ผูใดที่อาบน้ําใหกับศพ เขาก็ควรอาบน้ําชําระรางกายตัวเองดวย” รายงาน โดยอะหฺมัด และอัซฮาบุซซุนัน 4) การอาบน้ําเพื่อเขาสูพิธีเอียะหรอม สําหรับผูที่ประสงคจะประกอบพิธีหัจยหรืออุมเราะฮฺ เพราะมี หลักฐานปรากฏในฮาดิษของทานซัยดฺ บิน ซาบิต ซึ่งรายงานวา ทานนบี  ทานไดเปลี่ยนเสื้อผาและทําการ อาบน้ําชําระรางกาย ..รายงานโดย ฎารุลกุฏนีย อัลบัยฮะกีย และอัตตัรมีซีย 5) อาบน้ําเมื่อตองการเขาสูเมืองเมกกะ ซึ่งทานนบี  ไดปฏิบัติไวเชนนั้น ดังปรากฏในฮาดิษซอ เหียะทั้งสอง และการอาบน้ําเพื่อวุกูฟที่อารอฟต 3.หลักการในการอาบน้ํา 1.ตั้งเจตนา (‫ )ﺍﻟﻨﱠﻴﺔﹸ‬เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “การกระทําทั้งหมดจะขึ้นอยูกบั การตั้งเจตนา” ดวยการตั้งเจตนาจะเปนตัวแบงแยกระหวางอีบาดะฮฺกับการอาบน้ําตามปกติ การตั้งเจตนาไมจําเปนตองอาน ออกเสียง เพราะที่ของการตัง้ เจตนาอยูทใี่ จ 2. อาบน้ําใหเปยกทัว่ เรือนราง เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา 4 (#θè=Å¡tFøós? 4®Lym @≅‹Î6y™ “ÌÎ/$tã ωÎ) $·7ãΨã_ Ÿωuρ

การอาบน้ําที่ถูกวิธีคือการอาบน้ําใหเปยกทั่วเรือนรางทั้งหมด 3.มัซฮับฮานะฟย ไดเพิ่มอีกหลักการหนึ่งคือ เอาน้ําเขาปากแลวบวนทิ้ง สูบน้ําเขาจมูก สวนอีหมาม ทานอื่น กลับเห็นวาทั้งสองเปนเพียงซุนัต ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

40

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

4 ซูนัตในการอาบน้ํา 1) อานบิสมิลละฮฺและลางมือทั้งสองขาง 3 ครั้ง 2) ชําระลางในสวนที่เปนนายิสใหหมดหากพบวามีนายิสอยู 3) อาบน้ําละหมาด (พรอมกับบวนปากและสูบน้ําเขาจมูก) 4) การลางอวัยวะตาง ๆ ใหลาง 3 ครั้ง โดยเริ่มตนจากทางดานขวาไปทางดานซาย 5) อาบน้ําใหเปยกทั่วเรือนราง เช็ดถูกระหวางนิ้ว สรางผม ทําความสะอาดรักแร ใบหูดานในและ สะดือ 6) ลางอวัยวะตางๆ ติดตอกันโดยไมหยุดใหขาดตอน 5 วิธีการอาบน้ํา ทานหญิงอาอีชะฮฺและทานหญิงมัยมูนะฮฺ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทานทั้งสอง) รายงานวา ทานรอซูลุลลอฮ  เมื่อทานตองการอาบน้ํา เพื่อทําความสะอาดจากยะนาบะฮฺ ทานก็จะเริ่มตน ดวยการลางมือทั้งสองขาง 2 หรือ 3 ครั้ง จากนั้นที่ก็จะรดน้ําจากทางขวามือไปทางซายมือ และชําระลาง อวัยวะ จากนั้นก็จะอาบน้ําละหมาด เหมือนอาบน้ําละหมาดเพื่อทําการละหมาด จากนั้นทานก็จะเอาน้ํา มาแลวสรางผมดวยนิ้วของทาน โดยทําการลางศีรษะถึง 3 ครั้ง จากนั้นก็จะนําน้ําเต็มฝามือมาชะโลมทั่วราง ของทาน จากนั้นทานก็จะตามมาดวยการลางเทาทั้งสองขาง ก็เสร็จสิ้น กิจกรรม การอาบน้ํา 1.การอาบน้ําชําระรางกายมีหลักฐานใดเปนสิ่งยืนยันวาเปนหลักการทางศาสนบัญญัติ 2.อายะฮฺทวี่ า “‫ ”ﻭﺇﻥ ﻛﻨﺘﻢ ﺟﻨﺒﹰﺎ ﻓﺎﻃﻬﺮﻭﺍ‬การทําความสะอาดในที่นหี้ มายถึงการอาบน้ําหรือการทําวุฎอฺ 3.ใหนกั เรียนศึกษาจากหนังสือตัฟเซร(อรรถาธิบายอัลกุรอาน) ที่อธิบายอายะฮฺในซูเราะฮ อัลนิซาอฺ ซึ่งกลาวถึงการยกเวนไวในอายะฮฺวาเปนการยกเวนในเรื่องใด ?(อธิบาย) 4. ชายคนหนึ่งฝนในตอนกลางคืนแตปรากฏวาไมมีรองรอยของการหลัง่ อสุจิ เขาจําเปนตองอาบน้ํา วายิบหรือไม เพราะเหตุใด ? 5. เมื่อชายคนหนึ่งหลั่งอสุจิ 5.1 จําเปนตองอาบน้ําวายิบเสมอ 5.2 ไมจําเปนตองอาบน้ําวายิบเสมอไป 5.3 ตองอาบน้ําวายิบหากมีการหลั่งอสุจิดวยอารมณเพศ (เลือกคําตอบที่ถูกตอง โดยศึกษาทําความเขาใจเพิ่มเติมไดจากหนังสือฟกฮซุนนะฮฺ)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


41

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 5 การทําวุฎอฺ 1.คํานิยาม การบัญญัติและคุณคาของการทําวุฎอฺ การทําวุฎอฺ (‫ )ﺍﻟﻮﺿﺆ‬คือการทําความสะอาดดวยน้ําดวยวิธีการเฉพาะ โดยมีหลักฐานปรากฏอยาง ชัดเจน คือพระดํารัสแหงอัลลอฮซึ่งตรัสไววา ‫ﺴﺤُﻭﺍ‬ َ ‫ﻕ ﻭﺍﻤْـ‬ ِ ‫ﺴﻠﹸﻭﺍ ُﻭﺠُﻭ َﻫﻜﹸﻡ ﻭﺃَﻴ ِﺩ َﻴﻜﹸﻡ ﺇﻟﹶﻰ ﺍﻟ َﻤﺭَﺍﻓِـ‬ ِ‫ﻏ‬ ‫ﺼﻠﹶﺎ ِﺓ ﻓﹶﺎ ﹾ‬ ‫} ﻴَﺎ ﺃﻴﱡﻬﺎ ﺍﱠﻟﺫِﻴﻥ ﺁﻤﻨﹸﻭﺍ ﺇﺫﹶﺍ ﹸﻗ ْﻤﺘﹸﻡ ﺇﻟﹶﻰ ﺍﻟ ﱠ‬ [6 :‫ﺠﻠﹶﻜﻡ ﺇﻟﹶﻰ ﺍﻟ ﹶﻜ ْﻌﺒَﻴﻥ { ]ﺍﻟﻤﺎﺌﺩﺓ‬ ُ ‫ﺴﻜﹸﻡ ﻭَﺃ ْﺭ‬ ِ ‫ﺒِﺭﺅﻭ‬

โอบรรดาผูศรัทธาทั้งหลาย ! เมื่อพวกเจามุงหมายที่จะทําละหมาด พวกเจาก็จงทําการ(วุฏอกอน โดย) ลางหนาของพวกเจา, มือของพวกเจาจนถึงขอศอก, และพวกเจาจงเช็ดศรีษะ และ (จงลาง) เทาของ พวกเจาจนถึงตาตุม และทานนบี  ไดกลาวไววา “อัลลอฮจะไมทรงรับการละหมาดของคนใดคนหนึ่งจากพวกเจาหาก พวกเจามีฮะดัษ จนกวาเขาจะอาบน้ําละหมาดเสียกอน” รายงานโดย ชัยคอน มีรายงานจากทานอาบีฮุรอยเราะฮฺ  ในเรื่องเกี่ยวกับคุณคาของการทําวุฎอฺวา ทานนบี ไดเคย กลาวไววา “ฉันไมไดแนะนําพวกทานในสิ่งที่ทําไปแลวอัลลอฮจะทรงลบลางความผิดและยกฐานันดรให ดอกหรือ ? พวกเขากลาววา หาไม โอทานรอซูลุลลอฮ ทานก็กลาววา อาบน้ําละหมาดใหสมบูรณ หมั่นเดิน ไปมัสยิด รอการละหมาดหลังการละหมาดหนึ่งเสร็จสิ้นไปแลว และนั่นคือขอผูกพันมัด และนั่นคือขอ ผูกมัดของพวกทาน นั่นคือขอผูกมัดของพวกทาน12 (กับอัลลอฮ) รายงานโดย มาลิก มุสลิม อัตตัรมีซีย และอัลนะซาอีย 2 ฟรฎวุฎอฺ 1.ลางหนา ขอบเขตของการลางหนาจะเริ่มที่ฟนผมไปจนกระทั่งถึงปลายคาง จากหูดานหนึ่งไปยังหู อีกดานหนึ่ง 2. ลางมือทั้งสองขางไปจนถึงขอศอก ขอศอกก็คือรอยตอของชวงบนของแขนกับชวงลาง 3. เช็ดศีรษะทั้งหมด (ตามทัศนะของมาลิกและอะหฺหมัด) หรือบางสวน(ตามทัศนะของอาบีฮานี ฟะฮฺและอัชชาฟอีย) 4.ลางเทาทั้งสองขางถึงตาตุม เพราะทานนบี  เคยชี้นําไว ซึ่งครั้งหนึ่งทานเห็นซอฮาบะฮฺของทาน ทําการเช็ดเทา ทานก็กลาวกับพวกเขาวา “ความหายนะจะเกิดขึ้นเพราะสนเทาที่เปนสวนหนึ่งของนรก” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม และนี่คือฟรฎของการทําวุฎอฺทั้งสี่ ที่หลักฐานเปนตัวบทกลาวถึงไวในอายะฮฺที่พูดถึงการทําวุฎอฺ 12

ขอผูกมัด ที่จะผูกมัดกับการญีฮาดในหนทางของอัลลอฮ คือผูกมัดการทําวุฎอฺที่สมบูรณกับการอีบาดะฮฺตออัลลอฮ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

42

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

และมีการเพิ่มเติมไวอีก 2 ประการ 1. การตั้งเจตนา (‫( )ﺍﻟﻨﻴﺔ‬ตามทัศนะของชาฟอีย มาลิกและทานอะหฺมัด) เพราะทานนบี  กลาวไวใน ฮาดิษหนึ่งวา “แทจริงแลวการกระทํา(ทั้งหมด)จะขึ้นอยูกับการตั้งเจตนา” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม นั่น ก็เพื่อเปนการแยกแยะระหวางอีบาดะฮฺกับการกระทําปกติทั่วไป การตั้งเจตนาไมตองกลาวออกมาเปนคําพูด เพราะที่ของการตั้งเจตนาคือในใจ 2. การลําดับขั้นตอนกอนหลังอยางตอเนื่อง (‫ )ﺍﻟﺘﺮﺗﻴﺐ‬นั่นคือการเริ่มตนดวยการลางหนา จากนั้นก็ ตามมาดวยการลางมือ เช็ดศีรษะและลางเทาทั้งสองขาง 3. ซูนัตของการทําวุฎอฺ 1. อานบิสมิลละฮฺ เพราะเปนสิ่งที่ซูนัตใหกระทํามีบัญญัติใหอานขณะเริ่มตนการกระทําทุกการ กระทํา เพราะทานนบี  ไดเคยกลาวไวในฮาดิษหนึ่งวา “ทานทั้งหลายจงทําการวุฎอฺ ดวยบิสมิลละฮฺ..” รายงานโดยบัยฮะกีย 2.แปรงฟ น เพราะท า นนบี  ได เ คยกล า วไว ใ นฮาดิ ษ หนึ่ ง ว า “หากไม เ ป น การสร า งความ ยากลําบากใหกับประชาชาติของฉัน ฉันก็จะสั่งใหพวกเขาแปรงฟนในทุกครั้งที่จะทําวุฎอฺ” รายงานโดย มา ลิก อัชชาฟอีย อัลบัยฮะกีย และทานอัลฮากิม ซูนัตใหทําการแปรงฟนแมกระทั่งคนที่กําลังถือศีลอด เพราะมี หลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษของทาน อามิร บิน รอบีอะฮฺ วา “ฉันเห็นทานรอซูลุลลอฮ  แปรงฟนหลายตอ หลายครั้ง (นับไมถวน) ขณะที่ทานกําลังถือศีลอดอยู” รายงานโดย อะหฺมัด อาบูดาวุด และอัตตัรมีซีย แต สําหรับอัชชาฟอีย ไดใหทัศนะไววา สําหรับคนที่ถือศีลอด หลังตะวันคลอยไปแลว ไมควรแปรงฟน 3. ลางฝามือทั้งสองขาง 3 ครั้ง ในตอนเริ่มตนทําวุฎอฺ เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษของทาน เอาส บิน เอาส อัซวะกอฟย  วา “ฉันเห็นทานรอซูลุลลอฮ  ทําวุฎอฺ โดยที่ทานไดลางฝามือทั้งสองขาง 3 ครั้ง” รายงานโดยอะหฺมัด และอัลนะซาอีย 4.บวนปากและสูบน้ําเขาจมูก (แลวสั่งทิ้ง) 13 เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษหลายฮาดิษ และ ซุนนะฮฺอีกประการหนึ่งคือการทําตามลําดับกอนหลังและใหทํา 3 ครั้ง และใหใชน้ําใหมทุกครั้ง วิธีทําใหเอา น้ําเขาดวยมือขวาแลวสั่งออกดวยมือซาย ควรทําแรง ๆ ยกเวนผูที่กําลังถือศีลอด ขณะนําน้ําเขาปากก็ควร กลั้วน้ําแรง ๆ กอนบวนทิ้ง 5. สางหนวดเคราและถูระหวางนิ้วมือนิ้วเทา เพราะมีรายงานจากทานอัตตัรมีซีย และทานอิบนุมา ยะฮฺ รายงานจากทานอุสมาน และอิบนุ อับบาส (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทานทั้งสอง) ไว เชนนี้ 6. ใหลางอวัยวะทุกสวน 3 ครั้ง เพราะมีฮาดิษปรากฏเปนหลักฐานอยูมากมายหลายฮาดิษ และการ

13

ตามทัศนะของอีหมามอะหฺมัด การบวนปากและสูบน้ําเขาจมูกเปนวายิบเพราะเปนสวนหนึ่งของใบหนาดวย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

43

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ลางควรเริ่มตนจากทางดานขวากอนดานซาย เมื่อตองลางมือและเทา เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษ ของทานหญิงอาอีชะฮฺ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) วา “ทานรอซูลุลลอฮ  รักการเริ่มตน ทางขวา ในการสวมใสรองเทา หวีผมและการชําระรางกาย (ทําวุฎอฺและอาบน้ํา) และในอิริยาบถอื่น ๆ ทั้งหมด” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม 7. ขัดถูตัวและกระทําอยางตอเนื่องตามขั้นตอนโดยไมขาดตอน หรือแทรกดวยการกระทําอื่นๆ เพราะมีฮาดิษปรากฏเปนหลักฐานหลายฮาดิษ สวนการขัดถู ตามทัศนะของอัลมาลิกียะฮฺ นับวาเปนฟรฎ สวนการ ความตอเนื่อง (‫ )ﺍﻟﺘﺮﺗﻴﺐ‬ตามทัศนะของ อัลมาลิกียะฮฺ และอัลฮะนาบิละฮฺเปนฟรฎ 8. เช็ดใบหูทั้งสองขาง มีหลักฐานรายงานจากทานอาบูดาวุด ทานอะหฺมัด และอัฏฮาวีย จากทานอิบ นุอับบาส และทานกุดดาม บิน มะอฺดีกะริบไวเชนนั้น 9.ลางใหเกินเลยเขตที่กําหนด เชน ฟนผม ขอศอก ตาตุม เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “สําหรับ ประชาชาติของฉันในวันกียามะฮฺพวกเขาจะมากันในลักษณะที่รองรอยสีขาว เพราะรองรอยของการทําวุฎอ ”ฺ รายงานโดยชัยคอน 10. อานดุอาหลังการทําวุฎอฺ เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษของทานอุมัร  วาทานนบี  ได กลาวไววา “ ไมมีคนใดจากพวกทานที่ทําการวุฎอฺอยางสมบูรณแบบ จากนั้นก็อานดุอาวา “ ‫ﺃَﺸ َﻬ ُﺩ َﺃ ْﻥ ﻟﹶﺎ ﺇﻟﻪ‬ ‫ﻋ ْﺒ ُﺩ ُﻩ َﻭ َﺭﺴُﻭﻟﻪ‬ َ ‫ﺤﻤﱠﺩ ﹰﺍ‬ َ ‫ﻥ ُﻤ‬ ‫ﺸ َﻬ ُﺩ ﺃ ﱠ‬ ‫ ﻭﺃ ﹾ‬،‫ﻙ ﻟﻪ‬ َ ‫ﺸﺭِﻴ‬ ‫ﺤ َﺩ ُﻩ ﻻ ﹶ‬ ْ ‫ ” ﺇ ﻟﹼﺎ ﺍﻟﻠﱠ ُﻪ َﻭ‬นอกเสี ย จากว า อั ล ลอฮจะทรงเป ด ประตู สวรรคทั้งแปดดานให และเขาก็จะเขาสูสวรรคตามตองการ” รายงานโดยมุสลิม สวนการอานดุอาขณะทํา การวุฎอฺ ไมมีหลักฐานใดปรากฏ 11.ละหมาดสองรอคอะฮฺซูนัตหลังวุฎอฺ เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษของทาน อุกบะฮฺ บิน อามิร  วาทานนบี  ไดกลาวไววา “ไมมีผูใดจากพวกทานเมื่อที่ทําการวุฎอฺอยางสมบูรณแลว จากนั้นมา ทําการละหมาด(ซูนัต)สองรอคอะฮฺ โดยมีจิตใจมุงมั่นสูอัลลอฮ นอกเสียจากวา (ผูที่กระทําเชนนั้น) เขาผูนั้น วายิบตองไดเขาสวรรค” รายงานโดยมุสลิม อาบูดาวุด และอิบนุมายะฮฺ 4. รูปแบบหรือวิธิการทําวุฎอฺ ทานฮุมรอน คนรับใชของทานอุสมาน บิน อัฟฟาน (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทานทั้ง สอง) กลาววา “ทานอุสมาน จะอานดุอาเมื่อเริ่มตนทําวุฎอฺ จากนั้นทานก็จะลางฝามือทั้ง 2 ขาง 3 ครั้ง จากนัน้ ทานก็จะบวนปาก สูบน้ําเขาจมูก แลวสั่งออก จากนั้นทานก็ลางหนา 3 ครั้ง แลวตามดวยการลางมือขางขวา จนถึงขอศอก และลางมือขางซายดวยวิธีเดียวกัน จากนั้นที่ก็เช็ดศีรษะ แลวตามดวยการลางเทาขวาไปจนถึง ตาตุม 3 ครั้ง แลวมาลางเทาซายดวยวิธีเดียวกัน และทานอุสมานก็กลาววา ฉันเห็นทานรอซูลุลลอฮ  ทํา การวุฎอฺเชนเดียวกับที่ฉันทํา และทาน (รอซูลุลลอฮ) ก็กลาววา “ใครก็ตามที่ทําการวุฎอฺ เหมือนอยางที่ฉันทํา นี้ จากนั้นก็ไปทําการละหมาด 2 รอคอะฮฺ เขาก็จะไดรับการอภัยโทษ จากการกระทําผิดผานมา” รายงานโดย บุคอรียและมุสลิม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

44

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

5. สิ่งที่ทําใหวุฎอฺเสีย 1.มีสิ่งหนึ่งสิ่งใดออกมาจากทวารทั้งสองทาง (อุจาระ ปสสาวะ เมือก น้ําสีขาว ลม) ยกเวนอสุจิ เพราะเมื่อมีน้ําอสุจิออกมาวายิบตองอาบน้ํา เพราะอัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา ،[6 :‫{ ]ﺍﻟﻤﺎﺌﺩﺓ‬...‫ ﺃَﻭ ﺠﺎﺀ ﺃﺤ ٌﺩ ﻤﻨﻜﻡ ﻤﻥ ﺍﻟﻐﺎﺌِﻁ‬...}

หรือคนใดจากพวกเจา (มา) จาก ที่ถายทุกข (คือพวกเขาปสสาวะ, อุจจาระหรือมีสิ่งใดๆ ออกจากทวารทั้ง สองของเขา) และทานรอซูลุลลอฮ  ก็ไดกลาวไววา “อัลลอฮจะไมทรงรับการละหมาดของคนหนึ่งคนใดจากพวกทาน เมื่อเขามีฮะดัษ จนกวาเขาจะไปทําวุฎอ”ฺ รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม คําวาฮาดัษในที่นี้หมายถึง ลมที่ออกมาทางทวารจะมีกลิ่นมีเสียงหรือไมก็ตาม สวนมะซีย(น้ําเมือก) เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “ตองทําวุฎอ ฺ” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม สําหรับน้ําสีขาว วะดีย เพราะมี หลักฐานจากทานอิบนุ อับบาสวา “จงชําระลางอวัยวะเพศของทาน แลวทําวุฎอฺ เพือ่ ทําการละหมาด” 2. การนอน ที่เปนการนอนหลับสนิท โดยไมรูสึกตัวเลย เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษของ ซัฟวาน  วา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดสั่งใหพวกเราขณะเมื่อเราอยูในภาวการณเดินทางวา อยาไดถอด รองเทาบูตของพวกเรา 3 วัน 3 คืน ยกเวนคนที่มียุนุบ ผูที่ถายทุกข (อุจจาระและปสสาวะ)และนอนหลับ (นั้นไมเปนไร)” รายงานโดย อะหฺมัด อัลนะซาอีย และอัตตัรมีซีย รายงานวาฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอเหียะหฺ ในรายงานมี การกลาวถึง การนอนมาพรอมกับผูที่ถายอุ จจาระและปสสาวะ ซึ่งเปนสิ่งที่ทําให เสียวุฎอฺ สวนการนั่งหลับ นั้นไมทําใหเสียวุฎอฺแตอยางใด หากสะโพกของเขาราบกับพื้นที่นั่ง เพราะมี หลักฐานปรากฏในฮาดิษของทานอานัส  ซึ่งรายงานโดยอัชชาฟอีย มุสลิม และทานอาบูดาวุด วา “มีซอ ฮาบะฮฺของทานรอซูลุลลอฮ  นั่งรอเพื่อละหมาดอีชา จนศีรษะตก (หลับ) จากนั้น (เมื่อไดเวลา)พวกเขาก็ทํา การละหมาดโดยไมไดทําวุฎอฺใหม” 3.เสียสติ ไมวา จะดวยการเปนบา เปนลมหมดสติ หรือเมา เพราะภาวะดังกลาวมีลักษณะคลายกับ การนอนหลับ เพราะจะไมรสู ึกตัว ทั้ง 3 ประการนี้คือสิ่งที่ทําใหเสียวุฎอฺที่นกั วิชาการสวนใหญ(‫)ﲨﻬﻮﺭ ﺍﻟﻌﻠﻤﺎﺀ‬เห็นตองกัน แตที่มี ความเห็นแตกตางกันมีดังนีค้ ือ 1.การสัมผัสอวัยวะเพศ14 โดยไมมีสิ่งรองรับ ตามทัศนะของชาฟอีย และทานอะหฺมดั เห็นวาทําให เสียวุฎอฺ เพราะมีหลักฐานปรากฏในฮาดิษของทานบุสรอฮฺ  วาทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ผูใด

14

สัมผัสอวัยวะเพศโดยไมมีสิ่งรองรับ ตามทัศนะของอัลอะฮฺนาฟ ไมทําใหเสียวุฎอฺ เพราะมีหลักฐานปรากฏในฮาดิษของ ฏอลัก บิน อาลี

รายงานจากวา มีชายคนหนึ่งเรียนถามทานรอซูลลุลลอฮ  วามีชายคนหนึ่งสัมผัสอวัยวะของตัวเอง เขาก็ถามวา ทําใหเสียวุฎอฺหรือไม? ทานน บีก็ตอบวา “ไม” ฟงดูแลวดูเหมือนวาทั้งสองฮาดิษจะขัดแยงกัน ทานมาลิกจึงใหทัศนะวา ทางที่ดีหากสัมผัสโดยไมมีสิ่งรอง ก็ควรทําวุฎอฺใหม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

45

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

สัมผัสอวัยวะเพศของตนเอง ก็ใหทําการวุฎอฺ” บันทึกโดยนักบันทึกทั้ง 5 คน และทานอัตตัรมีซียและอิบนุ ฮัมบัลก็ใหทัศนะวาฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอเหียะฮฺ ทานบุคอรียกลาววา ฮาดิษนี้เปนฮาดิษที่ถูกตองที่สุดในเรื่อง นี้ และมีรายงานสนับสนุนฮาดิษนี้จากซอฮาบะฮฺมากกวา 17 คน 5. เลือเสียจํานวนมากที่ไหลริน ตามทัศนะของอัลอะฮนาฟ หากเลือดไหลก็จะทําใหเสียวุฎอฺ เพราะ มีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษของทานหญิงอาอิชะฮฺ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) ซึ่ง รายงานวา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ ใครที่สัมผัสกับอาเจียนหรือเลือดกําเดา...ก็จงออกมา...แลว ไปทําวุฎอฺใหม...บันทึกโดยอิบนุมายะฮฺ แตทานอะหฺมัดและอัลบัยฮะกีย กลาววาฮาดิษนี้ฎออีฟ เพราะเปน ฮาดิษมุรซัล สวนชาฟอียและมาลิก ไดใหทัศนะไววา การมีเลือดไหลออกมานั้น ไมทําใหเสียวุฎอฺ เพราะไม มีหลักฐานยืนยันดังฮาดิษทีกลาวมา แตในฮาดิษของทาน อนัส ไดกลาวไววา “ทานนบี  ไดทําการกอก เลือด และเมื่อเสร็จแลวทานก็ไมไดทําวุฎอฺแตอยางใด” แมวาฮาดิษนี้จะไมถึงขั้นซอเหียะฮฺแตก็มีฮาดิษอีก หลายฮาดิษซึ่งรายงานโดยซอฮาบะฮฺหลายทานมาสนับสนุนฮาดิษนี้ และทานอัลฮะซัน ก็เคยกลาวไววา มุสลิมหลายทานไดทําการละหมาดทั้ง ๆ ที่ตัวเองกําลังบาดเจ็บ (มีเลือดไหล) รายงานโดยบุคอรีย 5. อาเจียนหากเกิดจากความผิดปกติและมีจํานวนมาก เพราะมีหลักฐานจากฮาดิษของ มะอฺดาน บิน อะบี ฏอลฮะฮฺ จากทานอาบีดัรดะอฺ วา “ทานรอซูลุลลอฮ  อาเจียนและทานก็ทําวุฎอฺใหม และเขายัง รายงานไวอีกวา “ฉันเองไดพบกับทานเซาบานที่มัสยิดเมืองดามัสกัส ฉันเลยถามเขา เขาก็ตอบวา จริง ฉัน เองเป น คนริ น น้ํ า ให แ ละท า นก็ ทํ า วุ ฎ อฺ ” รายงานโดย อั ต ตั ร มี ซี ย และบอกวาฮาดิ ษ นี้ ซ อเหี ย ะหฺ และนี่ คือมัซฮับอัลอะหฺนาฟ สําหรับชาฟอีย และมาลิกกลับมีความเห็นวา อาเจียนไมไดทําใหเสียน้ําวุฎอฺแตอยาง ใด เพราะในฮาดิษไมปรากฏวาจะมีการสั่งใหทําวุฎอฺใหมปรากฏอยู อาจจะเปนไปไดวา เรื่องของทานมะ ดานนั้นเปนเรื่องซูนัต 6. การสัมผัสกับสตรีเพศ หรือจับมือทักทาย ตามทัศนะของชาฟอียะฮฺทําใหเสียน้ําละหมาด เพราะมี หลักฐานปรากฏอยูในอัลกุรอานวา “.[6 :‫ ”}ﺃَﻭ ﻻﻤَﺴﺘﻡ ﺍﻟﻨﱢﺴﺎﺀ{ ]ﺍﻟﻤﺎﺌﺩﺓ‬สวนยุมฮูรอุลามะอฺ กลับใหทัศนะวา ไมทําใหเสียวุฎอฺ เพราะมีฮาดิษมากมายหลายฮาดิษรายงานไววาไมทําใหเสียวุฎอฺ เชน ฮาดิษของทานหญิง อาอิชะฮฺ ซึ่งไดรายงานไววา “ทานนบี  ไดจุมพิตภริยาของทานคนหนึ่งแลวออกไปทําละหมาด โดยไมได ทําวุฎอฺใหม” รายงานโดย ทานอะหฺมัด และกลุมอัรบะอะฮฺ และทานหญิงไดกลาวไวอีกวา “ฉันเองนอนอยู ขางหนาของทานรอซูลุลลอฮ  และบังเอิญขาของฉันไปอยูทางดานหนาของทาน เมื่อทานตองการจะซูยุด ทานก็ยกขยับขาของฉันออกไป” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม ทัศนะที่บอกวาการสัมผัสกับสตรีทําใหเสียวุฎอฺ ไมไดแยกวาสตรีนั้นเปนภริยาหรือคนนอก แตหาก เปนสตรีทแตงานที่หามแตงงานกันนั้น การถูกตองตัวกันไมทําใหเสียวุฎอฺ แตอยางใด 8. การหัวเราะในละหมาดที่มีการโคงรอเกาะอฺและซูยุด ตามทัศนะของอัลอะฮฺนาฟจะทําใหเสียวุฎอฺ เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษที่วา “...ยกเวนคนหนึ่งคนใดจากพวกทานที่หัวเราะ ก็ใหเขาไปทําวุฎอฺ ใหม และทําละหมาดกันทั้งหมด” สําหรับยุมฮูรอุลามะอฺ กลับใหทัศนะวา การหัวเราะในละหมาดทําใหเสีย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

46

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ละหมาด แตไมทําใหวุฎอฺเสีย เพราะฮาดิษที่บอกวาทําใหเสียวุฎอฺนั้นไมถูกตอง เพราะทานนบี  ไดกลาว ไววา “การหัวเราะจะทําใหเสียละหมาดแตไมทําใหเสียวุฎอฺ แตอยางใด” ทานบุคอรียไดกลาวถึงฮาดิษนี้และ ไดอธิบายวาเปนฮาดิษเมากูฟอยูกับทาน ญาบิร เพราะการที่บอกวาหัวเราะทําใหเสียวุฎอฺนั้นยังตองการ หลักฐาน แตปรากฏวาไมมีหลักฐานนั้นปรากฏ 9. หากผูที่มีน้ําละหมาดอยูเกิดสงสัยวา มีฮาดัษหรือไมมีฮาดัษ (เสียวุฎอฺหรือไมเสีย) จะไมทําให เสียวุฎอฺจนกวาจะแนใจวาเกิดการเสียวุฎอฺขึ้น เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “หากคนใดคนหนึ่งจากพวก ทานรูสึกวามีอะไรปนปวนอยูในทอง และรูสึกวาเหมือนจะมีอะไรออกมาหรือไมออกมา ก็อยาเพิ่งออกไป จากมัสยิด จนกวาจะไดยินเสียงหรือไดกลิ่น” รายงานโดยมุสลิม อาบูดาวุดและตัรมีซีย แตหากสงสัยวา ทําวุฎอฺหรือยัง ก็จงไปทําเสียใหม 6. เมื่อใดที่จําเปน(วายิบ) ตองทําวุฎอฺ และเมื่อใดซูนัตใหทําวุฎอฺ ก. วายิบตองทําวุฎอฺ ในภาวะดังตอไปนี้ 1. เมื่อตองการทําละหมาด ไมวาจะเปนละหมาดซูนัตหรือละหมาดฟรฎ หรือแมกระทั่งการละหมาด ญานาซะฮฺ เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา [6 :‫ ]ﺍﳌﺎﺋﺪﺓ‬.{...‫ ﺇﺫﺍ ﹸﻗ ْﻤُﺘ ْﻢ ﺇﱃ ﺍﻟﺼﱠﻼ ِﺓ ﹶﻓﺎ ﹾﻏ ِﺴﻠﹸﻮﺍ‬...} 2.เมื่อตองการตอวาฟบัยติลละฮฺ เพราะมีหลักฐานเปนฮาดิษกลาวไววา “การตอวาฟ คือการละหมาด ....” รายงานโดยอัตตัรมีซีย และอัลฮากิม และใหฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอเหียะหฺ 3. การสัมผัสคัมภีรอัลกุรอาน เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “อยาไดสัมผัสอัลกุรอานยกเวนผูที่ สะอาดบริสุทธิ์เทานั้น” รายงานโดย อัลนะซาอีย และทานดารุลกุฏนียและนี่คือความเห็นของ ยุมฮูรุลอุลา มะอฺ สวน ทานอิบนุอับบาส ทานฮัมมาด และอะฮฺลุซซอฮีร และอีกหลาย ๆ ทานมีความเห็นวา การสัมผัส คัมภีรอัลกุร อานนั้น ไมจําเปนตองมีวุฎอฺ หากเขาสะอาดปราศจากฮาดัษใหญก็สามารถสัมผัสได สวนการ อานอัลกุรอานโดยไมตองสัมผัส นักวิชาการตางเห็นตองกันวาสามารถกระทําได ข. ซูนัตทําวุฎอฺ 1. ขณะเมื่อตองการกลาวซิริลละฮฺ เพราะมีชายคนหนึ่งไดมาใหสลามตอทานรอซูลุลลอฮ  ขณะที่ ทานกําลังทําวุฎอฺอยู ทานก็ไมไดตอบสลามของชายคนนั้น จนกระทั่งทําวุฎอฺเสร็จ และทานก็กลาวกับชาย คนนั้นวา “ ไมไดมีอะไรหามฉันไมใหตอบสลามทานดอก แตฉันไมอยากที่จะกลาวพระนามของอัลลอฮ จนกวาฉันจะอยูในภาวะที่สะอาดเสียกอน” รายงานโดยนักรายงานทั้งหา ยกเวน อัตตัรมีซีย 2 ขณะตองการนอน เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา เมื่อทานไดเวลานอน ก็จงทําวุฎอฺ เหมือนการ ทําวุฎอฺเพื่อละหมาด” รายงานโดย อะหฺมัด ทานบุคอรียและอัตตัรมีซีย 3 เมื่อตองการรับประทานอาหาร ดื่มน้ํา หรือตองการรวมประเวณีอีกครั้ง หรือตองการนอน มี รายงานไวเชนนี้จากทานรอซูลุลลอฮ  โดยชัยคอน และนักรายงานฮาดิษหลายตอหลายทาน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

47

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

4 กอนเริ่มตนอาบน้ําควรทําวุฎอฺกอน ตามที่มีปรากฏอยูในฮาดิษของทนหญิงอาอิชะฮฺซึ่งเปนฮาดิษ ที่รายงานโดยบุคอรียและมัสลิม 5.ควรทําวุฎอฺใหมทุกครั้งที่ตองการทําละหมาด รายงานโดยบุคอรีย มุสลิมและอีกหลายทาน 7. การเช็ดบนรองเทาบูตถุงเทาและผาพันแผล 1. การเช็ดบนรองเทาบูต มีหลักฐานปรากฏเปนหลักการทางศาสนบัญญัติดวยหลักฐานจากซุนนะฮฺ ที่ถูกตอง และอีหมามทั้งสี่ทานและนักวิชาการอื่นก็เห็นตรงกัน และหลักฐานที่สําคัญคืออาดิษของทานอัล มุฆีเราะฮฺ บิน ชุอฺบะฮฺ  ไดรายงานไววา “ฉันเองไดอยูพรอมกับทานนบี  และทานก็ทําวุฎอฺ สวนฉัน พยายามที่จะถอดรองเทาบูตของทานออก ทานก็กลาวกับฉันวา ปลอยไว ฉันใสมันตอนที่มันทั้งสองสะอาด แลวทานก็เช็ดบนรองเทาทั้งสองขาง” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม อีกฮาดิษหนึ่งเปนฮาดิษของทานยาบีร บิน อับดุลลอฮ อัลบะยะลีย ทานไดถายปสสาวะ แลวทานก็ ทําวุฎอฺ และทําการเช็ดบนรองเทาบูตทั้งสองของทาน มีคนหนึ่งพูดกับทานวา ทานทําอยางนั้นหรือ ทานก็ ตอบวาใชแลว ฉันเองเห็นทานรอซูลุลลอฮ  ปสสาวะและทําวุฎอฺ และเช็ดบนรองเทาบูตทั้งสอง 2. หลักการเกี่ยวกับการเช็ดรองเทาบูต ถุงเทาและผาพันแผล ก. มีหลักเกณฑการเช็ดบนรองเทาบูตทั้งสองขาง • จะตองสวมใสรองเทาบูตขณะที่ยังอยูในภาวะที่สะอาด ดังหลักฐานจากฮาดิษของทานมุฆีรอฮฺที่ กลาวมาขางตน • รองเทาทั้งสองขางจะตองสะอาด เพราะหากมีนายิสอยูก็จะสวมใสเพื่อทําละหมาดไมได • รองเทาทั้งสองขางจะตองปดเทาทั้งสองขางมาจนกระทั่งถึงตาตุม 15และนี่คือรองเทาบูตที่ทานนบี เช็ดขณะทําวุฎอฺ ข.สิ่งที่ทําใหการเช็ดรองเทาบูตเปนโมฆะ • หมดชวงระยะเวลาที่กําหนด (ยกเวนอัลมาลิกียะฮฺ ซึ่งไมกําหนดระยะเวลา) • ผูใชถอดรองเทาบูตออกทั้งสองขางหรือขางใดขางหนึ่ง • มีเหตุจําเปนตองอาบน้ําวายิบ ซึ่งมีหลักฐานจากฮาดิษของทานซอฟวาน บิน อะซาลวา “อยาไดถอด รองเทาบูต ของพวกเรา 3 วั น 3 คืน ยกเวน ผู ที่ มี ยุ นุบ เทานั้น ” รายงานโดยนะซาอี ย อัตตัรมีซี ย และอิบนุคุซัยมะฮฺ • ทุกสิ่งทําใหเสียน้ําละหมาด เมื่อหมดชวงระยะเวลาที่อนุญาตให หรือผูสวมใสถอดรองเทาบูตออก เมื่อเขามีวุฎอฺอยูแลว ใหเขา ล า งเท า ทั้ ง สองข า งเท า นั้ น นี่ คื อ ทั ศ นะของฮานาฟ ย ะฮฺ และชาฟ อี ย ะฮฺ เพราะการปฏิ บั ติ ติ ด ต อ กั น

15

ชาฟอียเพิ่มเติมอีกวา จะตองสวมใสเดินไปไหนมาไหนไดสามวันสําหรับผูที่อยูในภาวะเดินทางไกล หนึ่งวันกับหนึ่งคืนสําหรับผูที่อยูกับบาน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

48

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

(‫)ﺍﳌﻮﺍﻻﺓ‬เปนเพียงซุนนะฮฺเทานั้น สวนมาลิกียะฮฺ และฮานาบิละฮฺ กลับใหทัศนะวาใหทําวุฎอฺใหมทั้งหมด เพราะการปฏิบัติติดตอกันนั้นเปนวายิบ ค.สวนที่ตองเช็ด ใหเช็ดดานบนของรองเทาทั้งสองโดยไมตองกําหนดวาขอบเขตเพียงใด เพราะฮาดิษของ ทานมุฆีเราะฮฺ บิน ชุอบะฮฺ ไดรายงานไววา “ ฉันเห็นทานรอซูลุลลอฮ  เช็ดดานบนของรองเทาบูตทั้งสอง ขาง” รายงานโดยทาอะหฺมัด อาบูดาวุด และทานอัตตัรมีซีย ง. ระยะเวลาที่อนุญาตใหเช็ด (โดยไมตองลางเทา) สําหรับผูที่อยูกับบานใหเวลา 1 วันกับ 1 คืน สวนผูที่อยู ระหวางการเดินทางใหระยะเวลา 3 วัน กับ 3 คืน เพราะมีฮาดิษของทานอาลี  16ปรากฏเปนหลักฐานวา “ทานนบี  ไดกําหนดใหผูที่เดินทางเช็ดรองเทาบูตได 3 วัน กับ 3 คืน สําหรับผูที่อยูในภาวะเดินทาง และ หนึ่งคืนกับหนึ่งวันสําหรับผูที่อยูกับบาน โดยใหเช็ดบนรองเทาบูตทั้งสองขาง” รายงานโดย มุสลิม 3 การเช็ดบนถุงเทา ก. มี ห ลัก ฐานปรากฏถึง การอนุญ าตใหเ ช็ด ถุง เทา โดยมี ห ลัก ฐานจากซุ น นะฮฺ และฮาดิ ษ ที่ เ ป น หลักฐานมีดังนี้ ฮาดิษอัลมุฆีเราะฮฺ บิน ชุอฺบะฮฺ รายงานวา “ทานรอซูลุลลอฮ  ทําวุฎอฺและเช็ดบนถุงเทาทั้งสอง ขางและรองเทาทั้งสองขาง” รายงานโดยอะหฺมัด อาบูดาวุด อิบนุมายะฮฺ และทานอัตตัรมีซีย และทานก็กลาว วาฮาดิษนี้เปนฮาดิษฮะซัน ฮาดิษของทานอาบียมูซา อัลอัชอารีย ซึ่งรายงานมาในสํานวนเดียวกัน รายงานโดยอิบนุมายะฮฺ ข. มีรายงานวาอนุญาต(‫)ﺟﻮﺍﺯ‬ใหเช็ดบนถุงเทาทั้งสองขางได โดยหลักฐานจากซอฮาบะฮฺหลายทาน ไดรายงานเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว เชน ทาน อาบีฏอลิบ ทานอิบนุ มัสอูด ทานอิบนุอุมัร ทานอานัส บินมาลิก ทาน อัมมาร บิน ยาซีร ทานบิลาล ทานบัรรออฺ บิน อาซิบ ทาน อาบู อุมามะฮฺ ทานซะฮฺล บิน ซะอัด ทาน อัมรฺ บิน ฮุรัยซ และทาน ซะอัด บิน อาบี วะกอซ มัซฮับอัลอะฮฺนาฟ และฮานาบิละฮฺ อนุญาตใหเช็ดได แตชาฟอียะฮฺ มีขอกําหนดไววา ถุงเทาจะตองเปนถุงเทาที่แข็งแรงทนทาน สามารถใชสวมใสเดินไปไหนมาไหนได ค. เมื่อเปนที่แนนอนแลววาอนุญาตใหเช็ดถุงเทาได สวนหลักการก็เปนหลักการเดียวกับการเช็ด รองเทาบูต 4. การเช็ดบนผาพันแผล ผาพันแผลคือผาที่ใชผูกอวัยวะสวนที่บาดเจ็บของผูปวย เมื่อผูปวยตองการจะ อาบน้ํา ก็จะเปนการยากลําบากหรืออาจใหโทษกับแผลที่เจ็บ หรืออาจจะมีเหตุจําเปนกับผาพันแผลที่ผูกไว จึงใหทดแทนดวยการเช็ดบนผาพันแผลแทน สวนหลักฐานในเรื่องดังกลาวคือฮาดิษของทานเซาบาน  ซึ่งทานไดกลาวไววา “ทานรอซูลุลลอฮ

16

มัซฮับมาลิกียะฮฺ ไมไดกําหนดระยะเวลา แตซูนัตใหถอดในวันศุกร

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

49

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

 ไดสงกองทัพออกไป และเกิดประสบกับอากาศหนาว เมือพวกเขากลับมา ก็มารองเรียนกับทานรอซู ลุลลอฮ  ในอากาศหนาวเย็นที่พวกเขาประสบมา และทานก็สั่งกับพวกเขาวา ใหพวกเขาเช็ดบนผาพันแผล และบนรองเทาหุมสน” รายงานโดยอะหฺมัด อาบูดาวุด อัลฮากิม ในหนังสืออัลมุสตัดริก และทานมุสลิมก็ กลาววาฮาดิษซอเหียะหฺ และทานอัซซะฮบียก็เห็นดวยกับทาน การเช็ดบนผาพันแผลจะเปนโมฆะ หากแกะผาพันแผลออกจากที่ของมัน หรืออวัยวะที่บาดเจ็บหาย เปนปกติ 17

17

สําหรับอัชชาฟอียะฮฺมีหลักการวา จะตองพันแผลขณะทีส่ ะอาด (ไมมีฮะดัษ) ตองไมใชอวัยวะตะยัมมุม หากขาดคุณสมบัติเหลานี้จะตอง ละหมาดใหม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

50

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 6 การตะยัมมุม 1. นิยามของการตะยัมมุม และหลักฐานการบัญญัติของตะยัมมุม การตะยัมมุมคือการใชฝุนดินที่สะอาด ดวยวิธีการและลักษณะเฉพาะโดยตั้งเจตนาเพือ่ ใหสามารถ ทําการละหมาดได อัลลอฮทรงตรัสไววา ‫ﺴﺘُﻢ ﺍﻟﻨﱢﺴﺎﺀ ﹶﻓﻠﹶﻢ ﺗَﺠﺪﻭﺍ ﻣﺎ ًﺀ ﻓﺘﻴ ﱠﻤﻤُﻮﺍ ﺻَـﻌﻴﺪﹰﺍ ﻃﻴﱢﺒـﹰﺎ‬ ْ ‫ ﻭﺇﻥ ﹸﻛْﻨﺘُﻢ ﻣﺮﺿﻰ ﺃﻭ ﻋَﻠﻰ ﺳَﻔ ٍﺮ ﺃﻭ ﺟَﺎﺀ ﺃﺣ ٌﺪ ﻣﻨﻜﹸﻢ ﻣﻦ ﺍﻟﻐﺎﺋِﻂ ﺃﻭ ﻻ َﻣ‬...} .[44 :‫ﻓﺎﻣﺴﺤﻮﺍ ﺑﻮﺟﻮﻫﻜﻢ ﻭﺃﻳﺪﻳﻜﻢ ﺇ ﱠﻥ ﺍﷲ ﻛﺎ ﹶﻥ ﻋﻔﻮﹰﺍ ﻏﹶﻔﻮﺭﹰﺍ{ ]ﺍﻟﻨﺴﺎﺀ‬

และหากพวกเจาปวยไข หรือกําลังเดินทาง หรือคนใดของพวกเจามาจากสถานที่ถายทุกข (คือเขา ถายปสสาวะ ถายอุจจาระ) หรือพวกเจาสัมผัสหญิง และพวกเจาก็หาน้ําไมได แนนอนใหพวกเจาจงมุง (ทํา ตะยัมมุม) ดินที่ดี (สะอาด) แลวพวกเจาจงเช็ดใบหนา และมือของพวกเจา แทจริงอัลลอฮทรงยกโทษให และ อภัยให การตะยัมมุมนั้นเปนการแทนการทําวุฎอฺ และการอาบน้ํา 2. สาเหตุที่อนุญาตใหทําการตะยัมมุมได เหตุที่อนุญาตใหสามารถตะยัมมุมได คือ ไมมีน้ําสําหรับทําวุฎอฺ เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา ،{...‫ ﻓﹶﻠ ْﻢ ﺗَﺠﺪﻭﺍ ﻣﺎ ًﺀ ﻓﹶﺘﻴﻤﱠﻤﻮﺍ‬...} (ทําตะยัมมุม) แนนอนใหพวกเจาจงมุง และพวกเจาก็หาน้ําไมได คําวาไมมีน้ําในที่นี้ หมายถึงหาน้ําไมไดจริง ๆ หรืออาจจะเกีย่ วของการหลักการศาสนบัญญัติ ซึ่งเราจะ อธิบายในสวนนี้พอสังเขป ดังนี้ ไมมีน้ําจริง ผูที่มีฮาดัษ หาน้ําไมได ไมวาเขาจะอยูกับบานหรืออยูในภาวะเดินทาง หรืออาจจะอยูใน เมืองแตน้ําเกิดหมด อันดับแรกเขาจะตองหาน้ําจากที่ที่ใกลที่สุดกอน 18 หากคิดวาในบริเวณนี้นาจะมีน้ํา และ นี่คือทัศนะของอัลอะหฺนาฟ สวนชาฟอียและอัลฮะนาบิละฮฺ วายิบจะตองออกคนหาจนกวาจะแนใจแลววา ไมมีจึงจะหยุด มีน้ําอยูแตไมเพียงพอกับการทําความสะอาด หรือมีน้ําแตประสงคจะใชสําหรับเปนน้ําดื่มสําหรับ คนและสัตวเลี้ยง หรือมีไวสําหรับปรุงอาหาร ทานอีหมามอะหฺมัดไดกลาวไววา “ซอฮาบะฮฺหลายทานทํา การตะยัมมุม โดยที่พวกเขาเก็บน้ําไวสําหรับบริโภค” ไมมีตามหลักศาสนบัญญัติ(‫ )ﻋﺪﻡ ﺣﻜﻤﻲ‬หมายถึงน้ํามีอยูครบถวนแตไมสามารถใชน้ําได เชนใน กรณีที่มีอาการปวยไขที่นายแพทยไมอนุญาตใหใชน้ํา เกรงวาจะทําใหอาการปวยทรุดหนัก หรือหายชา หรือ 18

คําวาน้ําอยูไกล สําหรับมัซฮับอัลอะหฺนาฟ คือระยะทางประมาณ 1847 เมตร จากที่พัก หรือประมาณ 1 ไมลครึ่ง สวนชาฟอีย กําหนดระยะไว ประมาณ 2771 เมตร หรือ 2 ไมล สวนมาลิกียะฮฺ ประมาณ 3694 เมตร

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

51

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

เกิดอาการเจ็บ หรือในกรณีที่น้ําเย็นจนเกินไป อาจถึงขนาดใหโทษตอรางกาย หากใชน้ํา และไมสามารถทํา ใหน้ําอุนได แมจะดวยการวาจางก็ตาม มีหลักฐานปรากฏวา “ทานอัมรฺ บิน อาส ไดทําการละหมาดโดยการ ตะยัมมุม ในเวลาละหมาดซุบฮฺ เพราะเกรงวาหากอาบน้ําเย็นจะทําใหไมสบาย เหตุเกิดเมื่อครั้งทําสงคราม สมรภูม ซาตซะลาซิล และทานรอซูลุลลอฮ  ยอมรับในการกระทําของทาน” รายงานโดยทานอะหฺมัด อาบูดาวุด และทานอัลฮากิมและอิบนุ ฮิบบาน ก็ใหฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอเหียะหฺ แตทานบุคอรียกลาววาเปน ฮาดิษมุอัลลัค ทานอัลมุนซิรียบอกวาเปนฮาดิษฮะซัน และทานอัลฮาฟส อิบนุ ฮะยัรบอกวาเปนฮาดิษที่มีน้ําน หนักพอ หรืออาจจะมีแหลงน้ําอยูใกล แตไมสามารถไปถึงแหลงน้ําได อาจจะเปนเพราะอยูในเขตของศัตรู หรืออาจจะไมมีเครื่องมือในการตักน้ํามาจากบอ หรือกลัววาหากรอใชน้ําจะหมดเวลา หากทําการตะยัมมุมก็จะทัน ก็ใหทําการตะยัมมุมและทําการ ละหมาด โดยที่อัลมาลิกียะฮฺบอกวาไมตองกลับมาละหมาดใหม แตอัลฮะนาฟยะฮฺกลับมีความเห็นวาตอง กลับมาละหมาดใหม ตามทัศนะของฮะนาบิละฮฺและชาฟอียะฮฺ หากเลยเวลาไปแลวไมจะทําการตะยัมมุม ไมไดอีกตอไป 3.ดินที่ใชสําหรับตะยัมมุม ดินในที่นี้หมายถึงหนาดิน ดวยเหตุนี้เองจึงสามารถใชฝุนดินที่สะอาดทําตะยัมมุมได และดินทุก ชนิดเชน ทราย กอนหิน ปูนซิเมนต ยิบซั่ม แตตามทัศนะของชาฟอียฺสิ่งที่จะใชสําหรับการตะยัมมุมนั้นคือ ฝุนดินหรือทรายที่มีฝุนเทานั้น 4. วิธีการตะยัมมุม ผูที่ตองการทําตะยัมมุม จะตองตั้งเจตนาและกลาวบิสมิลละฮฺ จากนั้นใหใชมือทั้งสองขางทุบลงไป ที่หนาดินที่สะอาดหนึ่งหรือสองครั้ง จากนั้นใหยกขึ้นมาสะบัดออกเล็กนอย หรือจะใชวิธีเปาก็ได เพื่อใหฝุน กระจายออกไป จากนั้นใหนํามาลูบที่ใบหนา และฝามือถึงขอมือทั้งสองขาง เพราะมีหลักฐานจากฮาดิษของ ทานอัมมารฺ บิน ยาซีรซึ่งทานไดกลาวไววา “ทานรอซูลุลลอฮ  ไดแตงตั้งฉันไปทํางานอยางหนึ่ง และฉันก็ เกิดมียุนุบขึ้นมา แตไมมีน้ําฉันก็เลยคลุกฝุนเหมือนสัตวทํา ตอมาฉันก็มาหาทานรอซูลุลลอฮ  และเลาให ทานฟง ทานก็บอกกับฉันวา ความจริงแลว แคทานใชมือของทานทําอยางนี้ วาแลวทานก็ใชมือทั้งสองของ ทานทุบลงไปที่หนาดินหนึ่งครั้ง แลวนํามาลูกจากทางซายไปทางขวา คือลูกที่หลังมือและหนาของทาน” ฮาดิษรายงานโดยบุคอรียและมุสลิม และนี่คือทัศนะของมัซฮับ อัลฮะนาบิละฮฺ และมาลิกียะฮฺ สวนมัซฮับฮา นะฟยะฮฺ และชาฟอียะฮฺกลับเห็นวาจะตองลูกมือทั้งสองขางไปจนถึงข อศอก แตฮาดิษ ที่นํามาอางเปน หลั กฐานนั้ นเปนฮาดิ ษ ฎออีฟ มีความหมายขัดแยงกับฮาดิษของทานอัมมารฺ และท านนะวาวีย เจาของ หนังสือ มัจมุอฺ ชัรฮฺ อัลมุฮัซซับ(‫)ﺍﺠﻤﻟﻤﻮﻉ ﺷﺮﺡ ﺍﳌﻬﺬﺏ‬ยและทานอัซซอลอานีย เจาของหนังสือ ซุบุลุสสลาม ก็ใหน้ําหนักกับทัศนะแรก และทั้งสองทานก็เปนสานุศิษยของมัซฮับชาฟอียดวย ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

52

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

5. สิ่งที่อนุมัตใิ หผูมีฮะดัษกระทําไดดวยการตะยัมมุม การตะยัมมุม เปนการแทนการทําวุฎอฺ และการอาบน้ําวายิบ สิ่งที่อนุมัติใหทําไดหลังการตะยัมมุม หรือหลังวุฎอฺคือการละหมาด การตอวาฟ การสัมผัสคัมภีรอัลกุรอาน ซึ่งมัซฮับอัลอะฮฺนาฟ เห็นวาเมื่อตะยัม มุมแลวจะทําการละหมาดกี่ครั้งก็ได และทําไดไปจนกวาจะหมดหรือเสียตะยัมมุม แตสําหรับชาฟอียะฮฺ กลับเห็นวาใหละหมาดฟรฎไดเวลาเดียว สวนละหมาดซูนัตทําไดตามตองการ 6. สิ่งที่ทําใหตะยัมมุมเสีย • สิ่งใดที่ทําใหเสียวุฎอฺ ก็จะทําใหเสียตะยัมมุมดวย • และเมื่อเหตุผลของการอนุญาตหมดไปการตะยัมมุมก็จะตองยุติ เชน เมื่อพบน้ําในปริมาณที่สามารถ

นํามาใชได แตหากทําการละหมาดไปดวยการตะยัมมุม แลวเกิดพบน้ําขึ้นมา ก็ใหทําการละหมาด ใหม19 ผูที่ทําการตะยัมมุมจากยุนุบ วายิบตองอาบน้ําหากพบน้ําในภายหลัง20

ตามทัศนะมัซฮับชาฟอียะฮฺ และมาลิกยี ะฮฺ เพราะมีหลักฐานวาทานรอซูลุลลอฮ  ไดบอกกับผูที่ไมละหมาดใหมหลังพบน้ํา ใหละหมาด ใหม 19

20

เพราะมีหลักฐานจากฮาดิษของทานอัมรอน  รายงานวา ทานนบี  ไดนําละหมาดใหกับผูคน และเมื่อละหมาดเสร็จทานก็หันมาพูดกับ ชายคนหนึ่งซึ่งละหมาดแยกออกไปไมละหมาดรวมกับคนอื่น ๆ วา อะไรทําใหทานตองละหมาดคนเดียว ไมละหมาดพรอมกับคนอื่น ๆเลา ชาย คนนั้นก็ตอบวา ฉันมียะนาบะฮฺ และไมมีน้ําที่จะอาบ ทานก็ตอบวา ทานก็ใชดินซึ่งก็เพียงพอกับทานแลว จากนั้นอัมรอนก็เลาตอไปวา ในเวลา

ตอมาเมื่อพวกเขาพบน้ํา ทานรอซูลลุลลอฮ  ก็ใหน้ําเต็มพาชนะกับคนที่มยี ุนุบ แลวก็บอกวา “รับไปแลวไปชําระรางกายเสีย” รายงานโดยบุ คอรีย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

53

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

กิจกรรม ฟรฎวุฎอฺ 1. ก. อายะฮฺที่กลาวถึงการทําวุฎอฺ เริ่มตนดวยการเรียกรองบรรดาผูมีศรัทธา การเรียกรองในลักษณะนี้มี วัตถุประสงคใด ? (จงอธิบาย) ข. เพราะเหตุใดจึงกําหนดใหการตั้งเจตนาเปนหลักการหนึ่งของฟรฎวุอฺ ? ค.หลักการ(รุกน) ของการทําวุฎอฺซึ่งกลาวถึงไวในอายะฮฺมีอะไรบาง ? ง.บัญญัติที่สั่งใหอาบน้ําชําระรางกายและการเช็ด ที่กลาวถึงไวในอายะฮฺเปนวายิบหรือซูนัต จงอธิบายพรอม ระบุหลักฐานอางอิง 2.การที่ทานรอซุลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “เมื่อคนหนึ่งคนใดจากพวกทานมีฮะดัษ ก็อยาไดเขาสูการละหมาด จนกวาจะทําวุฎอฺเสียกอน” เหตุใดฮาดิษนีเ้ ปนหลักฐานวาวายิบจะตองทําวุฎอฺ ? (จงอธิบาย) 3.ทานรอซูลุลลอฮ  สนับสนุนใหมวี ุฎออฺ ยูเสมอ ทุกครั้งที่จะทําการละหมาดทานก็จะทําวุฎอฺใหม เกี่ยวกับ เรื่องนี้มีอะไรเปนปรัชญา(‫)ﺍﳊﻜﻤﺔ‬อยูเบื้องหลัง (จงอธิบาย) 4.ใหนกั เรียนทําความเขาใจเกี่ยวกับฮาดิษที่กลาวถึงการลบลางความผิดใหกับผูมีศรัทธาผานการชําระอวัยวะ ที่ตองชําระขณะทําวุฎอฺ แลวตอบคําถามดังตอไปนี้ ก. การทําวุฎอมฺ ีผลตอการลบลางความผิดและชําระจิตใจใหสะอาดไดอยางไร ? (จงอธิบาย) ข. ในเมื่อการทําวุฎอฺก็มีผลตอการชําระลางความผิดใหกับผูศรัทธา การเดินทางไปมัสยิดและทํา ละหมาดจะมีผลในดานใดอีก (จงอธิบาย) ค.การเดินไปทําละหมาดทีม่ ัสยิดและการละหมาดซูนัต :(เลือกคําตอบที่ถูกตองจากคําตอบตอไปนี้ โดยการทําเครือ่ งหมาย 9หนาหัวขอที่ถูกตอง) 1. เพราะการทําวุฎอฺมีผลกับทุกผลบุญ การเดินทางไปมัสยิดเพื่อทําละหมาดซูนัตเทานัน้ ไมใชฟรฎ 2.การเดินทางไปยังมัสยิดเพือ่ ทําละหมาดก็จะชวยเพิ่มความดีและฐานันดรใหมากและสูงสงยิ่งขึ้น 3.เมื่อมีการรับรองแลววาความผิดทั้งหมดไดรับการชําระลางใหสะอาดไปแลว หลังจากนั้นก็ไมตอ ง ไปมัสยิดและไมตองทําละหมาดอีก 5. ก. การรอเวลาละหมาดหลังจากละหมาดแรกเสร็จสิ้นแลว , การไปละหมาดที่มัสยิด, การทําวุฎอฺ อยางถูกตองสมบูรณ การกระทําทั้งหมดนี้ การกระทําใดที่มีคุณคาเทากันสําหรับอัลลอฮ ? ข. คําวา “‫ ”ﻓﺬﻟﻜﻢ ﺍﻟﺮﺑﺎﻁ‬ซึ่งถูกกลาวไวถึง 3 ครั้ง มีอะไรเปนปรัชญาอยูเบื้องหลัง 6. ฮาดิษที่วา “การกระทําตาง ๆจะขึ้นอยูก บั การตั้งเจตนา” ก.ทําไมจึงนําฮาดิษนี้มากลาวถึงไวในบทนี้ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

54

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ข. หากทําอิบาดะฮฺโดยไมตั้งเจตนาจะเปนอยางไร ? (อธิบาย) 7. เกี่ยวกับการเช็ดศีรษะมีการอางหลักฐานจากฮาดิษของทานนบี  ไวมากมายหลายฮาดิษ และรูปแบบการ เช็ดศีรษะในการทําวุฎอฺของทาน(ที่ไดรับรายงานมา)ก็ตางกัน รายงานตาง ๆ ที่หลากหลายเหลานี้บงบอกถึง สิ่งใด ? 8. จงตอบวา “ถูกตอง หรือ ไมถูกตอง”ในการกระทําตอไปนี้ พรอมเหตุผล ก. ชายคนหนึง่ ทําวุฎอฺแตจะใชวิธีเช็ดบนผาซัรบานแทนการเช็ดศีรษะ ข.ลางหนาในวุฎอฺจากคิว้ ทั้งสองถึงปลายคาง ค.ลางหนาในวุฎอฺจากตําแหนงผมงอกไปจนถึงปลายคางเพียงครั้งเดียว ง.ลางมืออยางเดียวโดยไมลางไปถึงแขน จ.ลางเทาถึงหนาแขง ฉ.ลางมือโดยเริ่มจากขอมือไปถึงแขน ช. นํามือเปยกน้ําไปวางบนศีรษะโดยไมตองเช็ด หรือลูบ (ก็เพียงพอสําหรับการเช็ดศีรษะวุฎอ)ฺ 9. การรีบเรงทําวุฎอฺใหเสร็จสิ้น โดยที่ทําวุฎอฺไดไมสมบูรณ ผูกระทําจะถูกลงโทษ (จงบอกหลักฐานยืนยัน ในเรื่องนี้ ) 10. ใหนกั เรียนบอกฮาดิษทีก่ ลาวถึงคุณคาของการทําวุฎอ ฺมาสองฮาดิษ 11. ใหนกั เรียนบอกฟรฎวุฎอ ฺ ที่มีกลาวไวในอายะฮฺและฮาดิษ (ทีก่ ลาวมาแลวขางตน) 12. การเรียงลํากับตอเนื่อง (‫ )ﺍﻟﺘﺮﺗﻴﺐ‬นักวิชาการบางทานบอกวาไมใชฟร ฎ .ใหนักเรียนบอกเหตุผลที่เปน ทัศนะของนักวิชาการมาทั้งหมด กิจกรรม 1. การอานบิสมิลละฮฺขณะเริม่ วุฎอฺจัดอยูในซูนัตของการทําวุฎอฺหรือไม เพราะเหตุใด ? 2.การแปรงฟนมีประโยชนมากมาย ใหนกั เรียนบอกประโยชนของการแปรงฟนมาพอสังเขป 3.ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาหัวขอที่ถูกตอง และทําเครื่องหมาย X หนาหัวขอที่ผิด ในประเด็น ตอไปนี้ ก.การแปรงฟนตามที่ทานนบี  แนะนําไว • ซูนัตใหแปรงฟนไดในทุกกรณี ทุกเวลา • การแปรงฟนอนุญาตเฉพาะผูท ี่ไมถือศีลอดเทานั้น • แปรงฟนซูนัตทั้งผูถือศีลอดและผูละศีลอด • ซุนัตเฉพาะกับเพศชายเทานั้น ข. ซูนัตใหลางแปรงหลังจากใชงานทุกครั้ง • เพื่อเปนการเดินตามอุดมการณเกีย่ วกับความสะอาดที่อิสลามสนับสนุน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

55

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• เปนการปฏิบัตติ ามแบบอยางของทานนบี  • เพื่อความสวยงาม ค. ซูนัตใหบวนปากและสูบน้ําเขาจมูก : • สําหรับผูที่ถือศีลอดเทานั้น • สําหรับผูที่ไมไดถือศีลอด • ไดทุกคนทั้งผูถ ือศีลอดและผูที่ไมถือศีลอด 4. ก.ลางมือถึงขอมือ ,บวนปาก,สูบน้ําเขาจมูก เปนซุนัตของวุฎอฺ จงบอกหลักฐานยืนยันในหลักการ เหลานี้ ข. ชายคนหนึง่ มีน้ําอยูเล็กนอยในสระ และบังเอิญมือของเขาสกปรก เมื่อเขาตองการทําวุฎอฺ เขาควร ปฏิบัติอยางไร ? ค. หากชายคนเดิมพบวามีน้ําอยูเปนจํานวนมากในสระเขาตองเปลี่ยนวิธีการหรือไม เพราะเหตุใด ? 5. คําวา “สูดน้าํ เขาจมูก” ทานนบี  มีวิธีปฏิบัติอยางไร ? (ดูหนังสือ ‫) ﻧﻴﻞ ﺍﻷﻭﻃﺎﺭ ﻟﻠﺸﻮﻛﺎﱐ‬ 6. วุฏอฺเปนการกระทําที่ทําใหใกลชิดตออัลลอฮ แตการกระทําที่ทานนบี  สอนไวเปนแนวทางเพื่อใหมี สุขภาพที่ดี จงอธิบายแนวทางที่ทานนบีชี้นาํ เพื่อใหบรรลุจุดประสงคดังกลาว 7. ก. การสรางเคราและการลางสามครั้ง มีวิธีการอยางไร ? การลางในสวนใดของวุฎอฺที่ซูนัตให กระทํา ? ข. เมื่อใดที่การถูระหวางนิว้ จําเปนตองกระทําขณะทําการวุฎอฺ 8.จงบอกฮาดิษที่ยืนยันวาทานนบี  เรียกรองใหทําวุฎอ ฺโดยเริ่มตนจากอวัยวะทางขวา 9 ใหนกั เรียนแสดงหลักฐานที่บงบอกววาทานนบี  แนะนําใหทําการวุฏอฺติตตอกันตามลําดับ(‫)ﺍﳌﻮﺍﻻﺓ‬ 10. การลางใหเกินเขตทีก่ ําหนด หมายความวาอยางไร ? มีหลักฐานใดที่บงบอกวาเปนซูนัตในการทําวุฏอฺ ? 11.การทําวุฎอเฺ ปนการกระทําที่มีผลบุญที่ยิ่งใหญมาก เพราะเปนการกระทําที่จะนําไปสูการทําละหมาด ให นักเรียนบอกหลักฐานจากฮาดิษที่สนับสนุนในเรื่องดังกลาว สิ่งที่ไมควรปฏิบัติ และสิ่งทีท่ ําใหเสียวุฎอฺ ก.การกระทําตอไปนี้ถูกตองหรือไมอยางไร ? 1) ใชน้ําอยางสุรุยสุราย โดยลางมากวา 3 ครั้งที่กําหนด ในที่ที่ตองเช็ด ก็ใหเช็ดเพียง 2 ครั้ง 2) คนที่ทําวุฏอ ฺเขามายืนในที่สกปรกขณะทําวุฏอฺ 3) พูดในสิ่งที่ไมอยูในเรื่องของซิกริลละฮฺ ขณะทําการวุฏอฺ โดยไมมีเหตุจําเปน 4) การบวนปากและสูบน้ําเขาจมูกแรงๆ ของผูที่กําลังถือศีลอด 5) คําวา “‫ ”ﺍﻟﻐﺎﺋﻂ‬ในอายะฮฺที่กลาวมาแลวมีความหมายวาอยางไร ? ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

56

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

6) ฮาดิษใดที่แสดงใหเปนเปนหลักฐานวาหากมีลมออกมาจากทวารจะทําใหเสียวุฎอ ฺ 7) ใหนักเรียนสรุปทัศนะของนักวิชาการมุสลิมเกี่ยวกับการนอนที่ทําใหเสียวุฎอฺ โดยศึกษาเพิ่มเติม ไดจากหนังสือ “‫ ”ﻧﻴﻞ ﺍﻷﻭﻃﺎﺭ‬ของทาน อัชเชากานีย 8) การนอนจะทําใหเสียวุฎอฺ แตในฮาดิษของทานอานัส ซึ่งรายงานวาซอฮาบะฮฺของทานนบีนั่งรอ เพื่อละหมาดอีชาจนคอตก(หลับ) จากนั้นเมือ่ ไดเวลาก็พวกเขาก็ลุกขึ้นไปละหมาด โดยไมทําวุฎอใหม นักเรียนจะอธิบายฮาดิษนี้วาอยางไร ? 9) นักวิชาการที่อธิบายวาการนอนจะทําใหเสียวุฎอฺ พวกเขามีหลักฐานใดมาอางอิง (จงระบุ) 10) ใหนักเรียนระบุการกระทําตอไปนี้ วา “ถูกตอง หรือ ไมถูกตอง” • นอนเลน ๆ จะไมทําใหเสียวุฎอฺ ยกเวนนอนนาน ๆ • นอนหลับแบบไมรูสึกตัวทําใหเสียวุฎอฺ • นั่งในลักษณะที่สะโพกราบกับพื้นไมทําใหเสียวุฎอฺ • เสียสติ (เปนบา เปนลม เมา) แมจะยังนั่งราบกับพื้นได ก็จะทําใหเสียวุฎอฺ 11)ใหนักเรียนบอกหลักฐานที่บงบอกวาการเสียสติ ดวยการเปนบา เปนลม หรือเมาไมไดสติทําให เสียวุฎอฺ 12) คนที่สลบเพราะยาสลบฉีดเขาเสนจะเสียวุฎอหฺ รือไมอยางไร ? 13) ผูเชี่ยวชาญทางฟกฮฺของมัซฮับฮานาฟยะฮฺมีความเห็นวา การสัมผัสอวัยวะเพศ ไมทําใหเสียวุฎอฺ พวกเขามีสิ่งใดเปนหลักฐานอางอิง ? (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจาก ฟกฮุซซุนนะฮฺ หรือหนังสือฟกฮฺ ของฮานาฟย) ข. ใหนกั เรียนระบุวาถูกตองหรือไมถูกตองพรอมแสดงหลักฐานประกอบจากฮาดิษในประเด็นตอไปนี้ • สัมผัสอวัยวะเพศทําใหเสียวุฎอฺ • สตรีสัมผัสอวัยวะเพศของตนเองทําใหเสียวุฎอฺ • นายแพทยหากสัมผัสอวัยวะเพศของคนไขจะทําใหเสียวุฎอฺ • สัมผัสอันทะทําใหเสียวุฎอฺ ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาหัวขอที่ถูกตองดังตอไปนี้ • ผูละหมาดทําการละหมาดในขณะที่ตนเองบาดเจ็บ o เพราะไมมีน้ําสําหรับทําวุฎอ ฺ o เพราะยุงอยูกบั การทําสงครามไมสามารถเอาเวลาไปทําวุฎอฺได o เพราะการทําวุฏอฺของพวกเขาถูกตองไมมีอะไรทําใหเสียวุฎอฺ • นักวิชาการที่ใหทัศนะวาการกระทบหรือสัมผัสกับสตรีเพศทําใหเสียวุฎอฺ ทั้งๆ ที่มีหลายฮาดิษจาก ทานรอซูลุลลอฮ  หลายฮาดิษที่แสดงวาไมทําใหเสียวุฎอฺแตอยางใด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

57

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• ในฮาดิษของทานยาบีร บิน ซัมเราะฮฺ มีการสั่งใหทําวุฎอสฺ ําหรับผูที่รับประทานเนื้ออูฐ คําสั่งในที่นี้ มีความหมายวาอยางไร ? การเช็ดบนรองเทาบูต 1. ฮาดิษซึ่งรายงานโดย ฮัมมาม อัลนะคออีย วาอนุญาตใหเช็ดบนรองเทาบูตได แตในตัวบทอัลกุร อานกลับมีหลักฐานชี้แจงวาวายิบตองลางเทาทั้งสองขาง ในสวนนี้เราจะอธิบายวาอยางไร ? 2. จงอธิบายความหมายของฮาดิษกับเมื่อเปรียบเทียบกับความหมายของอายะฮฺอัลกุรอาน(จากขอ 1) (ศึกษาจากฟกฮุซซุนนะฮฺ) 3. ใหนกั เรียนอธิบายเปรียบเทียบระดับความสําคัญระหวางฮาดิษกับอัลกุรอานมาพอสังเขป 4.หลักการเกีย่ วกับการอนุญาตใหเช็ดบนรองเทาบูต มีหลักการมาจากแหลงใด (อัลกุรอาน อัซซุน นะฮฺ , อิจมะฮฺ หรือกียาส) 5. กฏเกณฑในการเช็ดบนรองเทาบูตมีอะไรบาง มีหลักฐานที่มาจากฮาดิษใด ? 6. ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย หนาหัวขอที่กลาวถูกตอง และทําเครือ่ งหมาย X หนาหัวขอที่ผิด พรอมใหเหตุผล • อนุญาตใหเช็ดเทาทั้งสองขางได แมวาจะไมไดสวมใสรองเทาบูตก็ตาม • ผูที่ประสงคจะใสรองเทาบูต จะตองเขาหองน้ําถายปสสาวะและทําวุฎอ ฺใหเรียบรอยแลวจึงมาเช็ด บนรองเทาบูต • อนุญาตใหเช็ดบนรองเทาบูตและทําตะยัมมุมพรอมกันได • การเช็ดบนรองเทาบูตอนุญาตใหทั้งผูหญิงและผูชาย • เช็ดบนรองเทาบูตอนุญาตใหทั้งขณะอยูกับบานและขณะเดินทาง • ผูที่สวมใสรองเทาบูตแลวแมวาจะไมไดทาํ วุฎอฺมากอนก็อนุญาตใหเช็ดบนรองเทาบูตได 7.เมื่อใดเริ่มอนุญาตใหเช็ดบนรองเทาบูตได ทั้งผูที่อยูกบั บานและผูที่เดินทางไกล 8. ใหนกั เรียนบอกสิ่งที่ทําใหการเช็ดรองเทาบูทเปนโมฆะ • ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาคําตอบที่ถูกตอง 1) เมื่อชวงเวลาที่อนุญาตใหเช็ดบนรองเทาบูตสิ้นสุดลง ผูสวมใสไดทําการวุฎอฺกอนที่จะหมดเวลาเพื่อให สามารถทําละหมาดได เขาเองจะตองปฏิบัติอยางไร ? o ลางเทาทั้งสองขางอยางเดียว o ทําวุฎอฺอยางสมบูรณแบบ o ไมตองทําวุฎอแฺ ละไมตองลางเทา • ใหนกั เรียนอธิบายหลักการตอไปนี้พอสังเขป

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

58

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

1) จงระบุตําแหนงการเช็ดรองเทาบูตในกรอบความเขาใจตามคําพูดของทาน อัลมุฆีเราะฮฺ  ซึ่ง ไดกลาวไววา “ฉันเห็นทานรอซูลุลลอฮ  เช็ดดานบนของรองเทาบูตของทาน” 2) นักเรียนมีความคิดเห็นอยางไรกับคําพูดของทาน อาลี  ซึ่งไดกลาวไววา “หากศาสนาเปนเพียง ความคิดเห็น แนนอนที่สุดการเช็ดรองเทาบูตจะตองเช็ดดานลางเหมาะสมกวาที่จะเช็ดดานบน” 3) ผูที่กําหนดบัญญัติตาง ๆ แกมวลมนุษยคือใคร ? ผูที่ละเมิดดวยการบัญญัติหลักกฏหมายขึ้นมา ใหมอีกทั้งยังขัดแยงกับกฎหมายของอัลลอฮและรอซูล เขาควรไดรับการตัดสินวาอยางไร ? 4) ใหนักเรียนสาธิตวิธีการเช็ดที่ถูกตอง โดยใชมือขางขวาเช็ดเทาขางขวา มือขางซายเช็ดเทาขางซาย 5) นักวิชาการบางทานอนุญาตใหเช็ดบนถุงเทาได พวกเขามีหลังฐานอางอิงวาอยางไร ? และ ลักษณะของถุงเทาที่อนุญาตใหเช็ดไดเปนอยางไร ? 6) ในกรณีที่ผทู ีบาดแผลไมสามารถอาบน้ําหรือใชน้ําได เขาควรปฏิบัติอยางไรกับอวัยวะวุฎอฺที่มี บาดแผล 7) ใหนักเรียนศึกษาทําความเขาใจเกีย่ วกับสิ่งที่ทําใหการเช็ดบนผาพันแผลเปนโมฆะ อานและ บันทึกลงในสมุด 8)ใหนักเรียนบันทึกความสะดวกในการปฏิบัติศาสนกิจที่อิสลามอนุญาตเพื่อใหเกิดความสะดวกใน การปฏิบัติ ตามที่อัลลอฮไดทรงตรัสไววา .(21) ‫ﻭﻤﺎ ﺠﻌل ﻋﻠﻴﻜﻡ ﻓﻲ ﺍﻟﺩﻴﻥ ﻤﻥ ﺤﺭﺝ‬ การตะยัมมุม ก. ตอบคําถามตอไปนี้ใหถูกตอง 1. จงระบุหลักฐานทางศาสนบัญญัติจากอัลกุรอาน และซุนนะฮฺเกี่ยวกับการอนุญาตใหทําการตะยัม มุมแทนการทําวุฎอฺได 2. ใหนกั เรียนบอกสาเหตุทมี่ ีหลักการใหทําการตะยัมมุม และบทบาทของทานหญิงอาอิชะฮฺเกีย่ วกับ เรื่องนี้ (ดูรายละเอียดจากหนังสือ ซุนนะฮฺ) 3. ตามหลักศาสนบัญญัติของอิสลามไดอนุญาตใหทําการตะยัมมุม(แทนการวุฎอฺได) และสาระ ธรรมของทานนบีมูฮําหมัดก็เปนสาระธรรมสําหรับคนทั่วไปซึ่งก็สามารถเขากันไดกับบัญญัติการตะยัมมุม ใหนกั เรียนอธิบายความสอดคลองลงตัวในเรื่องนี้พอสังเขป 4.ใหนกั เรียนบอกสาเหตุทอี่ นุญาตใหทําการตะยัมมุมมาทั้งหมด 6. ขณะที่ไมมนี ้ําสําหรับวุฎอ ฺ ระหวางการกลั้นปสสาวะไวเพื่อรักษาวุฎอฺไมใหเสียแลวทําละหมาด กับการไปปสสาวะและทําการตะยัมมุม ทางเลือกใดจะดีกวากัน เพราะเหตุใด ? 7.อัลลอฮทรงตรัสไววา “‫ ”ﻓﺘﻴﻤﻤﻭﺍ ﺼﻌﻴﺩﹰﺍ ﻁﻴﺒﹰﺎ‬คําวา “‫ ”ﺼﻌﻴﺩ‬ในที่นหี้ มายถึงอะไร และคําวา “‫ ”ﻁﻴﺒﹰﺎ‬มีความหมายวาอยางไร ? . 78 : ‫ﺴﻭﺭﺓ ﺍﻟﺤﺞ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

(21)


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

59

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• ตอบคําถามตอไปนี้ใหถกู ตอง 1. สิ่งใดทีน่ ับไดวาเปนความโปรดปรานที่อัลลอฮทรงประทานใหกับศาสนทูตคนสุดทายของพระองค ซึ่งเปนความโปรดปรานที่ไมเคยประทานใหกับผูใดมากอน 2. ความสัมพันธระหวางผูศรัทธากับอัลลอฮมีอยูอยางไพศาล ทั่วทั้งแผนดินสามารถเปนมัสยิดได และ ดินทั้งหมดก็สะอาดบริสุทธิ์ คุณคาอันยิ่งใหญของความโปรดปรานนี้คืออะไร ? 3. มีตัวบทใดเปนหลักฐานที่สามารถยืนยันไดวาการตะยัมมุมนั้นสามารถแทนการอาบน้ําและการวุฎอ ฺ ไดทั้งหมด 4. ฮาดิษซึ่งรายงานโดยทาน อัมรฺ บิน อัลอาส ซึ่งบงบอกถึงการยอมรับของทานนบี ตอการกระทําของ ทานเกี่ยวกับการตะยัมมุมซึ่งเรียกเปนภาษาอาหรับวา ซุนนะฮฺตักรีรยี ะฮฺ(‫ )ﺍﻟﺴﻨﺔ ﺍﻟﺘﻘﺮﻳﺮﻳﺔ‬...จงอธิบาย 5. ใหนกั เรียนอานและทําความเขาใจฮาดิษของทาน อัมมารฺ  และตอบคําถามตอไปนี้ใหถูกตอง 1) ขณะที่ทานอัมมารฺมียุนุนทานปฏิบัติอยางไร ? และทานรอซูลุลลอฮ  แนะนําทานไวอยางไร ? 2) ในอายะฮฺอลั กุรอานมีการบัญญัติความเกี่ยวกับการเช็ดมือทั้งสองขางไวอยางกวาง ๆ ตอมาก็มี ฮาดิษมาจํากัดคําวา “เช็ด”ใหไดความหมายที่แคบลง ...จงอธิบาย 6. ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย หนาหัวขอที่กลาวถูกตอง จากหลักการศาสนบัญญัติตอไปนี้ o การตะยัมมุมหมายถึงการเช็ดอวัยวะวุฎอฺดว ยดินที่สะอาด o ผูที่ตะยัมมุมแลวสามารถจับตองคัมภีรอัลกุรอานได o การตะยัมมุมหนึ่งครั้งจะละหมาดไดเพียงหนึ่งเวลา o ผูที่ตะยัมมุมแลวทําการละหมาด และหลังละหมาดเขากลับพบน้ํา ในขณะทีย่ ังมีเวลา ละหมาดอยู การละหมาดของเขาใชไมได ตองละหมาดใหม o หากคนที่ทําการตะยัมมุมมียะนาบะฮฺแตเขาสามารถอาบน้ําได วายิบตองอาบน้ํา o อีหมามที่ทําการตะยัมมุมเพือ่ ละหมาด ไมสามารถเปนอีหมามใหกับผูท ําวุฎอฺปกติได o หากใชน้ําเกรงวาจะทําใหอาการปวยทรุดหนักขึ้น ก็อนุญาตใหตะยัมมุมได ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาหัวขอที่กลาวถูกตอง 1) สิ่งที่ทําใหตะยัมมุมเสีย o มีน้ําพอสําหรับใชกอนไดเวลาละหมาด o ทุกสิ่งที่ทําใหเสียวุฎอฺกจ็ ะทําใหเสียตะยัมมุม o สาเหตุที่อนุญาตใหตะยัมมุมสิ้นสุดลง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

60

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

บทที่ 2 ศาสนบัญญัติการละหมาด หมวดที่ 1 บัญญัติ คุณคาและขอตัดสินสําหรับผูที่ละทิ้งการละหมาด การละหมาดเปนหลักปฏิบัติขอหนึ่งของหลักการ(ปฏิบัติ)อิสลามทั้ง 5 ขอ การละหมาดนับไดวา เปนเสาหลักของศาสนา ศาสนาจะดํารงอยูได(ในตัวบุคคล)ดวยการละหมาด การละหมาดเปนอิบาดะฮฺ ประการแรกที่อัลลอฮทรงบัญญัติวายิบมา และเปนสิ่งแรกที่อัลลอฮจะสอบสวนในวันกียามะฮฺ และเปนเรื่อง สุดทายที่ทานรอซูลุลลอฮ  สั่งเสียประชาชาติของทาน กอนที่ทานจะเสียชีวิต อัลลอฮไดทรงบัญชากําชับ ไวในทุกสถานการณ ขณะอยูกับบานหรือออกนอกบานเดินทางไกล ยามศึก ยามสงบ »ω$y_Ìsù óΟçFøÅz ÷βÎ*sù ∩⊄⊂∇∪ tÏFÏΨ≈s% ¬! (#θãΒθè%uρ 4‘sÜó™âθø9$# Íο4θn=¢Á9$#uρ ÏN≡uθn=¢Á9$# ’n?tã (#θÝàÏ≈ym .[239 ،238 :‫]ﺍﻟﺒﻘﺭﺓ‬

∩⊄⊂∪ šχθãΚn=÷ès? (#θçΡθä3s? öΝs9 $¨Β Νà6yϑ¯=tæ $yϑx. ©!$# (#ρãà2øŒ$$sù ÷ΛäΨÏΒr& !#sŒÎ*sù ( $ZΡ$t7ø.â‘ ÷ρr&

พวกเจาทั้งหลายจงหมั่นรักษาการละหมาดไวใหดีเถิด(โดยทําละหมาดไมขาดและทําอยางเรียบรอย สมบูรณ มีจิตสํารวมโดยแทจริง) โดยเฉพาะการละหมาดกลาง (คือละหมาดอัศริ) และพวกเจาทั้งหลายจงยืน อยูกับอัลลอฮ โดยความคาราวะ แตถาพวกเจาบังเกิดความหวาดกลัว (เพราะกําลังอยูระหวางอันตราย) ก็ให ทําการละหมาดพลางเดินหรือพลางขี่พาหนะได ครั้นเมื่อพวกเจาปลอดภัยแลวพวกเจาก็จงกลาวรําลึก ถึงอัลลอฮฺ เชนที่พระองคไดทรงสอนพวกเจา ในสิ่งที่พวกเจาไมเคยรูมากอน (คือใหทําละหมาดตามวิธีการ ปกติ) และอัลลอฮไดทรงชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการละหมาดในภาวะสงครามไว เพื่อยืนยันวาการ ละหมาดจะไมมีวันตกไปไดอยางเด็ดขาดไมวาจะอยูในภาวะใด อัลลอฮทรงตรัสไววา βr& ÷ΛäøÅz ÷βÎ) Íο4θn=¢Á9$# zÏΒ (#ρçÝÇø)s? βr& îy$uΖã_ ö/ä3ø‹n=tæ }§øŠn=sù ÇÚö‘F{$# ’Îû ÷Λäö/uŸÑ #sŒÎ)uρ ãΝßγs9 |Môϑs%r'sù öΝÍκÏù |MΖä. #sŒÎ)uρ ∩⊇⊃⊇∪ $YΖÎ7•Β #xρ߉tã ö/ä3s9 (#θçΡ%x. tÍÏ≈s3ø9$# ¨βÎ) 4 (#ÿρãxx. tÏ%©!$# ãΝä3uΖÏFøtƒ öΝà6Í←!#u‘uρ ÏΒ (#θçΡθä3uŠù=sù (#ρ߉y∨y™ #sŒÎ*sù öΝåκtJysÎ=ó™r& (#ÿρä‹äzù'u‹ø9uρ y7tè¨Β Νåκ÷]ÏiΒ ×πxÍ←!$sÛ öΝà)tFù=sù nο4θn=¢Á9$# zƒÏ%©!$# ¨Šuρ 3 öΝåκtJysÎ=ó™r&uρ öΝèδu‘õ‹Ïn (#ρä‹è{ù'uŠø9uρ y7yètΒ (#θ=|Áã‹ù=sù (#θ=|ÁムóΟs9 2”t÷zé& îπxÍ←!$sÛ ÏNù'tGø9uρ yy$oΨã_ Ÿωuρ 4 Zοy‰Ïn≡uρ \'s#ø‹¨Β Νà6ø‹n=tæ tβθè=‹ÏϑuŠsù ö/ä3ÏGyèÏGøΒr&uρ öΝä3ÏFysÎ=ó™r& ôtã šχθè=àøós? öθs9 (#ρãxx. 3 öΝä.u‘õ‹Ïn (#ρä‹è{uρ ( öΝä3tGysÎ=ó™r& (#þθãèŸÒs? βr& #yÌö¨Β ΝçFΖä. ÷ρr& @sÜ¨Β ÏiΒ “]Œr& öΝä3Î/ tβ%x. βÎ) öΝà6ø‹n=tã #YŠθãèè%uρ $Vϑ≈uŠÏ% ©!$# (#ρãà2øŒ$$sù nο4θn=¢Á9$# ÞΟçFøŠŸÒs% #sŒÎ*sù ∩⊇⊃⊄∪ $YΨ‹Îγ•Β $\/#x‹tã tÌÏ≈s3ù=Ï9 £‰tãr& ©!$# ¨βÎ)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

61

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

$Y7≈tFÏ. šÏΖÏΒ÷σßϑø9$# ’n?tã ôMtΡ%x. nο4θn=¢Á9$# ¨βÎ) 4 nο4θn=¢Á9$# (#θßϑŠÏ%r'sù öΝçGΨtΡù'yϑôÛ$# #sŒÎ*sù 4 öΝà6Î/θãΖã_ 4’n?tãuρ [103 - 101 :‫ ∪⊂⊃⊇∩ ]ﺍﻟﻨﺴﺎﺀ‬$Y?θè%öθ¨Β

และเมื่อเจาทั้งหลายไดออกเดินทางไปในแผนดิน ก็ยอมไมเปนบาปแกพวกเจาที่จะตัดทอนละหมาด (จากจํานวน 4 รอกาอะฮฺใหเหลือเพียง 2 รอกาอะฮฺ) หากพวกเจากลัววาบรรดาผูเนรคุณจะกอกวนพวกเจา แทจริงบรรดาผูเนรคุณนั้นเปนศัตรูอันชัดแจงสําหรับพวกเจาและเมื่อเจา (มุฮํามัด) อยูในกลุมพวกเขา (บรรดาสาวกขณะทําสงคราม) แลวเจาก็ยืนทําละหมาดนําพวกเขา เจาก็จงใหมคี นนกลุม หนึง่ จากพวกเขายืน (ละหมาด) พรอมกับเจา และพวกเขาตองถืออาวุธไวดวย ตอมาเมื่อพวกเขาลงไปกราบ ก็จงใหพวกเขาถอย ออกมาอยูเบื้องหลังของพวกเจา (เพื่อคอยระวังขาศึก) และใหอีกกลุมหนึ่งที่ยังไมไดทําละหมาดเขามา (แทนที่) และใหพวกเขาทําละหมาดรวมกับเจา โดยพกเขาจงระมัดระวังตัว และถืออาวุธไว พวกเนรคุณชอบ ที่จะใหพวกเจาละเลยตออาวุธและสัมภาระของพวกเจา แลวพวกเหลานั้นก็จะเขาจูโจมพวกเจาในครั้ง เดียวกัน และไมเปนบาปแกพวกเจาที่จะวางอาวุธไว หากพวกเจาประสบความเดือดรอน อันเนื่องมาจากฝน ตก หรือพวกเจาปวยไข แตพวกเจาก็จงระมัดระวังตัวไว แทจริงอัลลอฮไดเตรียมการลงโทษอันอัปยศ แก บรรดาผูเนรคุณทั้งมวล ตอมา เมื่อพวกเจาเสร็จพิธีละหมาดแลว พวกเจาก็จงกลาวรําลึกถึงอัลลอฮทั้งในยาม ยืน, ยามนั่งและยามลมตัวลงบนสีขาง (นอน) จากนั้นเมื่อพวกเจาสงบ (ปลอดภัยจากขาศึก) แลว พวกเจาก็ จงทําละหมาด (ตามแบบปกติธรรมดา) เพราะแทจริงการละหมาดเปนบัญญัติที่ถูกกําหนดเวลาไวแกบรรดา มวลผูมีศรัทธาทั้งหลาย และไดทรงเตือนสําทับผูที่ละทิ้งการละหมาดไววา [59 :‫∈∩ ]ﻤﺭﻴﻡ‬∪ $†‹xî

tβöθs)ù=tƒ t∃öθ|¡sù ( ÏN≡uθpꤶ9$# (#θãèt7¨?$#uρ nο4θn=¢Á9$# (#θãã$|Êr& ì#ù=yz öΝÏδω÷èt/ .ÏΒ y#n=sƒm *

จากนั้นไดมีกลุมชนหนึง่ อุบตั ิขึ้นทดแทนภายหลัง จากพวกเขา (ไดจากโลกนี้ไปแลว) ซึ่งพวกเขา ละเลยตอการละหมาด และพวกเขาตามอารมณ (ใฝต่ํา) ดังนัน้ พวกเขาจะตองประสบกับเหวนรก .[5 ،4 :‫]ﺍﻟﻤﺎﻋﻭﻥ‬

∩∈∪ tβθèδ$y™ öΝÍκÍEŸξ|¹ tã öΝèδ tÏ%©!$# ∩⊆∪ š,Íj#|Áßϑù=Ïj9 ×≅÷ƒuθsù

ดังนัน้ ความหายนะจักประสบแกบรรดาผูท ําละหมาดซึ่งพวกเขาเปนผูเผลอเรอจากการละหมาดของ พวกเขา และทานรอซูลุลลอฮ  ไดชี้แจงไววา การละหมาดจะชวยลบลางความผิดใหกับผูละหมาด ดังปรากฏ ในฮาดิษที่วา “ทานทั้งหลายไมเห็นดอกหรือวา หากหนาประตูบานของทานมีลําคลอง และทานก็อาบน้ํา ชําระรางกายวันละ 5 เวลา แลวจะมีสิ่งสกปรกอันใดเหลืออยูกับเขาอีก ? พวกเขาก็ตอบวา ไมมี และทานก็ ตอบวา การละหมาด 5 เวลา ก็เชนกัน อัลลอฮจะทรงลบลางความผิดใหกับผูละหมาดดวยการละหมาดหา เวลา” รายงานโดย บุคอรียและมุสลิม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

62

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

มีฮาดิษจากทานรอซูลุลลอฮมากมายที่รายงานวาผูที่ละทิ้งการละหมาดเปนกาเฟร เชน ฮาดิษของทานยา บีร ที่รายงานวา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ระหวางบุคคลกับการเปนกาเฟรคือการละทิ้งละหมาด” รายงานโดย มุสลิม อาบูดาวุด อัตตัรมีซีย อิบนุมายะฮฺและทานอะหฺมัด ฮาดิษของทานบุรัยดะฮฺ ไดรายงานไววา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “สัญญาหนึ่งที่สามารถ แบงระหวางพวกเรากับพวกเขาคือการละหมาด ผูใดที่ละทิ้งการละหมาดเขาผูนั้นเปนกาเฟร” รายงานโดย อะหฺมัด และเจาของซุนัน ฮาดิษของทานอับดุลลอฮฺ บิน ชะกีก อัลอุกัยลีย ทานไดรายงานไววา ซอฮาบะฮฺของทานนบีมูฮํา หมัด  ไมเห็นวาจะมีการกระทําใดที่ละทิ้งแลวทําใหเปนกาเฟร นอกจากการละหมาด” รายงานโดยอัตตัรมี ซีย อัลฮากิม ซึ่งใหเปนฮาดิษซอเหียะหฺตามหลักเกณฑของบุครียและมุสลิม ซอฮาบะฮฺและบรรดาอีหมามตางเห็นตองกันวาผูใดที่ละทิ้งการละหมาดและปฏิเสธไมยอมรับอีก ทั้งยังเยาะเยยไมใหความสําคัญ เขาคนนั้นจะสิ้นสภาพจากศาสนาและเปนกาเฟร สวนผูที่ละทิ้งการละหมาด โดยเจตนาแตไมไดปฏิเสธวาเปนสิ่งวายิบ ตามทัศนะของซอฮาบะฮฺบางทานก็ยังเห็นวาเปนกาเฟรดวย เชนกัน เชนทานอุมัร บิน อัลคอฏฏอบ อัลดุลลอฮ บิน มัสอูด อับดุลลอฮ บิน อับบาส ทานมุอาซ บิน ญะบัล และทาน อีหมาม อะหฺมัด (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดพวกเขา) สวนกลุมุมฮูร กลับใหทัศนะ วา หากละทิ้งละหมาดโดยไมไดปฏิเสธในความเปนวายิบ ไมเปนกาเฟร และเปนแค ฟาซิก (เปนบาป) จําเปนตองเตาบะฮฺ หากไมเตาบะฮฺ ก็ใหลงโทษดวยการประหารชีวิต สําหรับทานชาฟอียและมาลิก ก็ให ทัศนะวาไมเปนกาเฟรดวยเชนกัน ทานอาบูฮานีฟะฮฺ กลาววา ไมตองลงโทษประหารชีวิต แตใหลงโทษดวย การแบบตะซีร คือกักขังไวจนกวาเขาจะละหมาด การละหมาดจะมีบัญญัติบังคับเหนือคนที่เปนมุสลิม มีสติสัมปชัญญะ มีอายุครบตามศาสนภาวะ แต ถึงกระนั้นก็ควรที่จะใชใหเด็ก ๆ ทําการละหมาด เมื่อเด็ก ๆ มีอายุครบ 7 ขวบ หากมีอายุถึง 10 ขวบ ก็ให ลงโทษดวยการตี หากไมทําละหมาด เพื่อเปนการฝกฝนใหละหมาด เพราะมีฮาดิษเปนหลักฐานวา “ จงสั่ง ใหลูกๆ ของพวกทานทําการละหมาด เมื่อพวกเขามีอายุครบ 7 ขวบ และจงตีพวกเขา (หากไมละหมาด) เมื่อ เขามีอายุครบ 10 ขวบ และจงแยกที่นอนของพวกเขา” รายงานโดย อะหฺมัด อาบูดาวุด อัลฮากิม ทานไดกลาว วา ฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอเหียะหฺตามเกณฑของมุสลิม 22

22

เพราะทานรอซูลุลลอฮ  อัลลอฮจะไมเอาผิดกับคน 3 กลุม คือ คนที่นอนหลับ จนกวาเขาจะตื่น เด็ก ๆ จนกวาจะมีอายุครบ คนเสียสติ

จนกวาจะหายไดสติ” รายงานโดย อะหฺมัด เจาของซุนัน และอัลฮากิม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

63

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 2 เวลาละหมาด การละหมาดฟรฎที่เปนบัญญัติเหนือมุสลิมในชวงเวลา 1 กับ 1 คืน มีทั้งหมด 5 เวลา ดังปรากฏใน ฮาดิษ อัลอะอฺรอบีย ที่มาหาทานรอซูลุลลอฮ  และเรียนถามทานวา โอทานรอซุลุลลอฮ บอกฉันหนอยสิ วาอัลลอฮทรงบัญญัติอะไรเกี่ยวกับการละหมาดใหกับฉันบาง ? ทานก็กลาววา การละหมาดหาเวลา ที่เหลือ เปนการละหมาดซูนัตเทานั้น” จากนั้นเขาก็ถามตอ ทานรอซูลุลลอฮ ก็ตอบหลักการทางบัญญัติอื่นๆ ที่ เกี่ยวกับอิสลาม เมื่อไดยินเชนนั้น เขาก็กลาววา ดวยเกียรติ์ของทานฉันเองจะไมยอมภักดีตอสิ่งใดอีก สิ่งที่ เปนฟรฎฉันจะไมทําใหบกพรอง ทานรอซูลุลลอฮ  “ชายชาวอาหรับคนนี้จะตองประสบชัยแนนอนหาก เขาพูดจริง” รายงานโดย บุคอรียและมุสลิม อัลลอฮไดทรงกําหนดเวลาใหกับการละหมาดในแตละชวง โดยมีเวลาเฉพาะที่จะตองปฏิบัติ และ ทรงบัญชาใหพวกเรายึดมัน่ ตอชวงเวลานัน้ ๆ อยางเครงครัด ซึ่งพระองคทรงตรัสไววา ∩⊇⊃⊂∪ $Y?θè%öθ¨Β $Y7≈tFÏ. šÏΖÏΒ÷σßϑø9$# ’n?tã ôMtΡ%x. nο4θn=¢Á9$# ¨βÎ)

เพราะแทจริงการละหมาดเปนบัญญัติที่ถูกกําหนดเวลาไวแกบรรดามวลผูมีศรัทธาทั้งหลาย เวลาละหมาด 1.การละหมาดฟจรฺ (ละหมาดซุบฮฺ) เวลาของมันจะเริ่มตั้งแตแสงอรุณขึ้นไปจนกระทั่งดวงอาทิตย ขึ้นจากขอบฟา ตามทัศนะของชาฟอียะฮฺ ซูนัตใหละหมาดในตอนตนของเวลา และทัศนะนีน้ ับวาเปนทัศนะ ที่ถูกตองที่สุด แตฮานาฟยกลับออกวา ซุนัตใหทอดเวลาออกมาเล็กนอย 23 2. การละหมาดซุฮรฺ เริ่มตั้งแตตะวันเอียง หรือตะวันคลอยจากเสนกลางฟา ไปจนกระทั่งเงาของ สิ่งของยาวเทาตัวจริง แตซูนตั ใหทอดเวลามาเล็กนอย หากเปนชวงเวลาที่อากาศรอนมาก แตหากไมใช ในชวงอากาศรอนก็ใหรีบละหมาดเมื่อไดเวลา ดังที่ทานบุคอรียไดรายงานไว 24 3. การละหมาดอัสร เวลาจะเริ่มตั้งแตเงาของสิ่งของยาวเทาตัวจริง ไปจนกระทั่งถึงตะวันตกดิน และซูนัตให ทําการละหมาดในตนเวลา มักรูฮ หากจะทําละหมาดในชวงแสงอาทิตยเปนสีเหลือ การละหมาดอัสรีย คือ ละหมาดที่เรียกวา วุสฏอ (ละหมาดกลาง) 4. การละหมาดมัฆริบ เริ่มตั้งแตตะวันตกดิน ไปจนหมดแสงสีแดงบนฟากฟา ซูนัตใหละหมาดตนเวลา อนุญาตใหลาชาไดเล็กนอยตราบใดที่แสงสีแดงยังไมหมด25 23

หลักฐานของฮานาฟย คือฮาดิษที่วา จงทอดเวลา(ละหมาด)ฟจรฺ เพราะจะมีกศุ ลที่ยิ่งใหญมาก” รายงานโดย นักรายงานทั้ง 5 และตัรมีซีก็ให เปนฮาดิษ ซอเหียะหฺ 24

ทานบี  ในชวงที่อากาศหนาวจัด ทานจะรีบทําการละหมาด แตในชวงที่อากาศรอนทานจะทอดเวลาออกไปเล็กนยอในการทําละหมาด

25

ฮาดิษของรอฟอฺ บิน คอดีจ รายงานวา พวกเราละหมาดมัฆริบพรอมกับทานรอซูลุลลอฮ  มีพวกเราคนหนึ่งออกไป เพื่อหารองเทาของ

เขา”รายงานโดยมุสลิม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

64

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

5. การละหมาดอีชา เริ่มไดเวลาตั้งแตแสงสีแดงหมดไปจนกระทั่งถึงแสงอรุณขึ้น ซุนัตใหทอดเวลาไป จนกระทั่งถึงเที่ยงคืน และอนุญาตใหทําการละหมาดหลังจากเทีย่ งคืน แคมัครุฮฺ หากจะนอนกอนละหมาด ดังมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษของทาน ยาบีร บิน อับดุลลอฮ  รายงานวา ยิบรออีล ไดมาหาทานนบี  และพูดกับทานวา ลุกขึ้นและทําการละหมาด วาแลวทานก็ทําการละหมาดซุฮรฺ ขณะทีต่ ะวันคลอย (ออกจาก กลางฟา) ตอมาทานก็มาหาเวลาอัสริ แลวก็บอกวา ลุกขึน้ แลวไปทําละหมาด และทานก็ทําการละหมาดอิสรี ขณะที่เงาของสิ่งของเทากับตัวจริง จากนัน้ ทานก็มาหาทานนบีในเวลามัฆริบ ขณะที่ตะวันตกดิน และมาใน ชวงเวลาอีชา และบอกวา จงละหมาด และทานก็ทําการละหมาดอีชา ขณะที่แสงสีแดงหายไปจากฟากฟา จากนั้นก็มาหาในเวลาฟจรฺอกี ครั้ง แสงอรุณกําลังสองแสง หลังจากนัน้ ทานก็มาในชวงเวลาซุฮรฺของวันใหม และบอกวาจงลุกขึ้นไปละหมาด ในขณะทีเ่ งาของสิ่งของเทาตัวจริง จากนั้นทานก็มาในเวลาอัสรี และบอก วาจงลุกไปละหมาด ทานนบีก็ทําการละหมาดขณะทีเ่ งาของสิ่งของยาวกวาสิ่งของเปนสองเทาตัว จากนั้น ทานก็มาหาในเวลามัฆริบ ซึ่งเปนเวลาเดียวกัน แลวก็มาหาในชวงเวลาอีชาแตเปนตอนเที่ยงคืน บางก็วาเลย เที่ยงคืน แลวทานก็ทําการละหมาด จากนัน้ ยิบรีลก็มาในชวงใกลสวางมาก ๆ แลวบอกวาจงลุกไปละหมาด ทานนบีก็ไปละหมาดฟจรฺ แลวทานยิบรีลก็กลาววา ระหวางสองเวลานี(้ เวลาที่ยิบรีลมาหาครั้งแรกกับครั้งที่ สองคือ เวลาของมัน” รายงานโดย อะหฺมัด อัลนะซาอีย และทานอัตตัรมีซีย ทานบุคอรียกลาววา นี่คอื เวลาที่ ถูกตองที่สุด กําหนดเวลาทีก่ ําหนดไวในฮาดิษนี้คือชวงเวลาที่อนุญาตใหทําการละหมาดได แตในชวงเวลาที่มี ความจําเปนหรือมีเหตุจําเปนเวลาของการละหมาดแตละเวลาก็จะยืดยาวไปถึงเวลาละหมาดอีกเวลาหนึ่งถัด มา ยกเวนการละหมาดฟจรฺ ซึ่งจะหมดเวลาตอนดวงอาทิตยขึ้น เพราะมีหลักฐานเปนรายงานฮาดิษของทาน อับดุลลอฮ บิน อัมร อัลอาส วาทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา เวลาละหมาดซุฮรฺ เมื่อดวงอาทิตยเริ่ม คลอยผานกลางฟา ไปจนเงาของคนยาวเทาตัว ตราบใดที่เวลาอัสรฺยังไมเขา และเวลาอัสริ ก็จะยาวไป จนกระทั่งถึงแสงอาทิตยสีเหลือง สวนเวลามัฆริบ ตราบใดที่ยังไมสิ้นแสงสีแดง(ก็ยังละหมาดไดอยู) เวลาอี ชาจะยาวไปถึงเที่ยงคืน เวลาละหมาดซุบฮฺเริ่มจากมีแสงอรุณขึ้นไปจนดวงอาทิตยขึ้นจากขอบฟา ...”รายงาน โดย มุสลิม . เมื่อมุสลิมคนใดนอนหลับจนลืมละหมาดฟรฎ เมื่อตื่นขึน้ มาและนึกขึน้ ไดกใ็ หทําการละหมาด ในทันที ดังทีม่ ีรายงานปรากฏในฮาดิษจากทานรอซูลุลลอฮ  มักรูฮ(นาตําหนิ)กับการละหมาดซูนัตหลังการละหมาดซุบฮฺ ไปจนถึงดวงอาทิตยขึ้น และหลัง ละหมาดอัสริไปจนถึงตะวันตกดิน สวนการละหมาดฟรฎ สามารถละหมาดไดไมมีเวลาใดที่ตองหามหรือ เปนมักรูฮ แตสําหรับชาฟอียกลับเห็นวาละหมาดซูนัตไมไดมักรูฮในชวงเวลาทั้งสอง หากเปนการละหมาด ที่มีสาเหตุ เชน การละหมาดตะฮฺยะตุลมัสยิด (ละหมาดเมื่อเขามัสยิด) สวนในชวงที่ดวงอาทิตยขึ้นและดวง อาทิตยตกดินและดวงอาทิตยตรงกลางฟา อัลอะหฺนาฟ(ฮานาฟย) ใหทัศนะวาการละหมาดในชวงเวลานั้นใช ไมได ไมวาจะเปนละหมาดซูนัตหรือละหมาดฟรฎ จะเปนละหมาดชดหรือละหมาดในเวลา และมัซฮับชาฟ อีย หากเปนละหมาดซูนัตที่ไมมีสาเหตุ จะเปนมัครูฮ ยกเวนละหมาดขณะดวงอาทิตยขึ้นและดวงอาทิตยตก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

65

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ดิน (‫ )ﺍﻟﺸﺮﻭﻕ ﻭﺍﻟﻐﺮﻭﺏ‬สวนมาลิกียะฮฺ ฮารอมทําละหมาดซูนัตจะมีสาเหตุหรือไมมีสาเหตุก็ตาม แตอนุญาต ใหทําการละหมาดฟรฎ ชดเชย หรือในเวลา ขณะดวงอาทิตยตกและดวงอาทิตยขึ้นได ไมเปนการฮารอมและ ไมมัครูฮแตอยางใด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

66

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 3 การอาซานและการอิกอมะฮฺ การอาซานหมายถึงการประกาศเพื่อใหทุกคนรูวาไดเวลาละหมาด สวนคําที่ใชในการอาซานคือ (2 ครั้ง) ‫( َﺣ ﱠﻲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﺼﻼﺓ‬2 ครั้ง) ‫( ﺃﺷﻬﺪ ﺃﻥ ﳏﻤﺪﺍ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬2 ครั้ง) ‫( ﺍﺷﻬﺪ ﺃﻥ ﻻ ﺍﻟﻪ ﺍﻻ ﺍﷲ‬4 ครั้ง ) ‫ﺍﷲ ﺍﻛﱪ‬ ‫( ﻻ ﺍﻟﻪ ﺍﻻ ﺍﷲ‬2 ครั้ง) ‫( ﺍﷲ ﺍﻛﱪ‬2 ครั้ง) ‫ﺡ‬ ِ ‫َﺣ ﱠﻲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻔﻼ‬ สวนการอิกอมะฮฺ จะตางจากการอาซานตรงที่หลังจากกลาววา “ِ‫ ” َﺣ ﱠﻲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻔﻼﺡ‬ก็ใหกลาววา “ ‫ ”ﻗﺪ ﻗﺎﻣﺖ ﺍﻟﺼﻼﺓ‬สองครั้ง 1.การอาซานและการอิกอมะฮฺเปนซุนนะฮฺมุอักกะดะฮฺ (เกือบจะเปนวายิบ) สําหรับการละหมาด ฟรฎ ไมวาจะละหมาดคนเดียวหรือละหมาดเปนหมูคณะ ตามทัศนะของยุมฮูรุลอุลามะอฺ และสวนอีหมาม มาลิกเห็นวาเปนฟรฎหากเปนการละหมาดที่มัสยิดที่ทาํ ละหมาดเปนหมูคณะ(ยะมาอะฮฺ) แตทานอะหฺมัด กลับเห็นวาเปนฟรฎกิฟายะฮฺ 2.ซูนัตกับผูที่ไดยินเสียงอาซานใหตอบรับดวยการกลาวตอบเหมือนกับการอาซาน ยกเวนในกรณีที่ มีการกลาววา “‫ َﺣ ﱠﻲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻔﻼﺡ‬,‫”ﺣ ﱠﻲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﺼﻼﺓ‬แตใหกลาววา “‫”ﻻﺣﻮﻝ ﻭﻻﻗﻮﺓ ﺍﻻ ﺑﺎﷲ ﺍﻟﻌﻠﻲ ﺍﻟﻌﻈﻴﻢ‬ จากนั้นก็ใหกลาวซอลาวัตใหกับทานนบี หลังการอาซาน โดยกลาววา “”

‫ ﻭﺍﺑﻌﺜـﻪ‬،‫ﺕ ﻣُﺤﻤّﺪﹰﺍ ﺍﻟﻮﺳﻴﻠﺔ ﻭﺍﻟﻔـﻀﻴﻠﺔ‬ ِ ‫ﺏ ﻫﺬ ِﻩ ﺍﻟﺪﻋﻮ ِﺓ ﺍﻟﺘﺎ ﱠﻣ ِﺔ ﻭﺍﻟﺼﻼ ِﺓ ﺍﻟﻘﺎﺋﻤ ِﺔ ﺁ‬ ‫» ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﺭ ﱠ‬ รายงานโดยบุคอรีย ،« ‫ﻣﻘﺎﻣﹰﺎ ﳏﻤﻮﺩﹰﺍ ﺍﻟﺬﻱ ﻭﻋﺪﺗﻪ‬ 3.ซูนัตใหอานดุอาระหวางการอาซานกับการอีกอมะฮฺ ดวยดุอาที่หลักฐานยืนยันการใชจากฮาดิษ เชน ฮาดิษของทาน ซอัด บิน อาบีวะกอส รายงานจากทานรอซูลุลลอฮ  วา ผูใดกลาวขณะที่ไดยินการอา ซานวา ،‫ ﺭَﺿـﻴﺖ ﺑـﺎﷲ ﺭﺑـﺎﹰ‬،‫ ﻭﺃﻥ ﻣُﺤﻤﺪﹰﺍ ﻋَﺒﺪﻩ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ‬،‫ﻚ ﻟﻪ‬ َ ‫ﻭﺃﻧﺎ ﺃﺷﻬﺪ ﺃﻥ ﻻ ﺇﻟﻪ ﺇﻟﹼﺎ ﺍﷲ ﻭﺣﺪﻩ ﻻ ﺷَﺮﻳ‬ ،‫ ﻭﲟﺤﻤ ٍﺪ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﺭﺳﻮﻻﹰ‬،‫ﻭﺑﺎ ِﻹﺳﻼ ِﻡ ﺩﻳﻨﺎﹰ‬ อัลลอฮจะทรงอภัยในความผิดของเขา ฮาดิษรายงานโดยมุสลิมและอัตตัรมีซีย 4.ซูนัตใหทิ้งระยะหางระหวางการอาซานกับการอิกอมะฮฺ ดวยระยะเวลาที่ผูคนสามารถเดินมารวมละหมาด ไดทัน อนุญาตใหคนที่ไมไดทําการอาซานนําละหมาดได 26 ซูนัตใหผูที่ไดยินการอิกอมะฮฺ กลาวตอบ เหมือนกับผูกลาวอิกอมะฮฺกลาว 5. มีบัญญัติใหผูที่จะนําละหมาดเปนผูอาซานและอิกอมะฮฺ หากมีผูนําหลายคน ก็ใหเลือกคนที่ดีที่สุดเปน ผูทําการอาซานและอิกอมะฮฺในทุกครั้งที่ทําการละหมาด 6. การพูดระหวางอาซานกับการอิกอมะฮฺสามารถกระทําได หากเวนชวงยาวนานก็ไมตองทําการอิกอมะฮฺ ใหม เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในรายงานของทาน อัลบุคอรียและทานอื่น ๆอีกหลายทาน

26

เพราะฮาดิษที่วา “ผูใดอาซานผูนั้นตองนําละหมาด” เปนฮาดิษซอเหียะหฺ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

67

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

7.สําหรับสุภาพสตรี พวกนางไมตองอาซานและอิกอมะฮฺ แตหากนางจะกระทําก็ไมเปนไร เพราะทานหญิง อาอิชะฮฺเคยกระทําในเรื่องนี้ ดังปรากฏในรายงานของอัลบัยฮะกีย กิจกรรม การละหมาด 1.อัลลอฮทรงสรางสรรคมนุษยขึ้นมาและทรงใหเกียรติแกมวลมนุษยดวยการบัญญัติอิบาดะฮใหพวกเขา ปฏิบัติ ....จงบอกหลักฐานทีย่ ืนยันเกีย่ วกับเรื่องนี้มาพอสังเขป 2. ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาหัวขอที่ถูกตองและเหมาะสม การละหมาดเปนอิบาดะฮที่สําคัญที่สุดเพราะ ........ • เปนอิบาดะฮฺทตี่ องทําซ้ําหลาย ๆครั้งในหนึง่ วัน • เปนอิบาดะฮฺทที่ ําใหรางกายแข็งแรง • ทานรอซูลุลลอฮ กําชับถึงการละทิ้งละหมาดไวอยางรุนแรง • การละหมาดสามารถยับยั้งการกระทําที่เลวรายได • การละหมาดเปนอิบาดะฮฺทอี่ ัลลอฮบัญญัติมายังศาสนทูตของพระองคโดยตรงโดยไมตองผานวะหฺยู 3. การละหมาดสามารถหามปรามจากการกระทําที่เลวรายไดอยางไร ? 4.อัลลอฮทรงตรัสไววา $YΒöθtƒ tβθèù$sƒs† Íο4θx.¨“9$# Ï!$tGƒÎ)uρ Íο4θn=¢Á9$# ÏΘ$s%Î)uρ «!$# Ìø.ÏŒ tã ììø‹t/ Ÿωuρ ×οt≈pgÏB öΝÍκÎγù=è? ω ×Α%y`Í‘

37 ‫ ∪∠⊂∩ ﺳﻮﺭﺓ ﺍﻟﻨﻮﺭ‬ã≈|Áö/F{$#uρ ÛUθè=à)ø9$# ϵŠÏù Ü=¯=s)tGs? (ความดีเหลานั้นไดปฏิบัติโดย) กลุมบุรุษซึ่งการคาและการขาย ไมอาจทําใหพวกเขาลืมการกลาว ระลึกถึงอัลลอฮและการดํารงการละหมาด รวมทั้งการบริจาคทานซะกาต พวกเขามีความหวาดกลัววัน (กิยา มะฮฺ) ซึ่งหัวใจทั้งหลายและดวงตาทั้งหลายจะพลิกกลับ (ไปกลับมาดวยความหวั่นวิตก มองหาคนชวย แต ไมมีใครชวยได) จงบอกคุณลักษณะของบุรุษเหลานี้วาเปนอยางไร ? 3. ใหนักเรียนเขียนบทความนําเสนอเกีย่ วกับความเขาใจในเรื่องการละหมาด วัตถุประสงคของการละหมาด และผลทางดานคุณธรรมจริยธรรมที่จะเกิดกับคนมุสลิม 4. เกี่ยวกับการละหมาดอาจมีบางประการที่อาจจะทําใหเกิดความยากลําบากในการปฏิบัติ ใหนักเรียน ยกตัวอยางเกี่ยวกับเรื่องนี้และอิสลามมีทางออกอยางไรในการเอาชนะปญหาและความยากลําบาก(จง อธิบาย) ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

68

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

5. อัลลอฮทรงตรัสไววา šχ%x. Ìôfxø9$# tβ#uöè% ¨βÎ) ( Ìôfxø9$# tβ#uöè%uρ È≅ø‹©9$# È,|¡xî 4’n<Î) ħôϑ¤±9$# Ï8θä9à$Î! nο4θn=¢Á9$# ÉΟÏ%r& 78 ‫اﻷﺳﺮاء‬

∩∠∇∪ #YŠθåκô¶tΒ

เจาจงดํารงละหมาด ในยามตะวันคลอยจวบจนถึงยามค่ําคืนเถิด รวมทั้งการละหมาดในยามรุงอรุณ ดวย เพราะแทจริงการละหมาดในยามรุงอรุณนั้น เปนที่ไดรับการเปนสักขีพยาน (ในความประเสริฐของมัน) • การละหมาดที่ถูกกลาวถึงไวในอายะฮฺคือละหมาดใด ? 6. การละทิ้งละหมาดมีบัญญัติตัดสินวาอยางไร ? เราควรปฏิบัติอยางไรกับผูที่ละทิ้งการละหมาด ? ให นักเรียนบอกหลักฐานจากฮาดิษที่บงบอกถึงบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องนี้ใหชัดเจน 7. อัลลอฮทรงตรัสไววา 238 ‫ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ‬

∩⊄⊂∇∪ tÏFÏΨ≈s% ¬! (#θãΒθè%uρ 4‘sÜó™âθø9$# Íο4θn=¢Á9$#uρ ÏN≡uθn=¢Á9$# ’n?tã (#θÝàÏ≈ym

พวกเจาทั้งหลายจงหมั่นรักษาการละหมาดไวใหดีเถิด (โดยทําละหมาดไมขาดและทําอยางเรียบรอย สมบูรณ มีจิตสํารวมโดยแทจริง) โดยเฉพาะการละหมาดกลาง (คือละหมาดอัศริ) และพวกเจาทั้งหลายจงยืน อยูกับอัลลอฮ โดยความคาราวะ คําวาละหมาดกลางในที่นี้นักวิชการบางทานอธิบายวาเปนละหมาด อัศริ พวกเขามีหลักฐานอางอิงมา จากหลักฐานใด? (จงระบุ) 8. มุ ส ลิ ม ควรปฏิ บั ต ตั ว อย า งไรเพื่ อ ให อิ บ าดะฮฺ ( ละหมาด) เข า ถึ ง ทั้ ง ทางด า นร า งกาย จิ ต ใจและ สติปญญาความคิด โดยใหทุกสวนเขามามีสวนในการทําละหมาดและชวยชําระลาง 9. ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาหัวขอที่เห็นวาถูกตอง • ปรัชญาที่มีการบัญญัติใหทําละหมาดทั้งกลางวันและกลางคืนก็เพื่อตองการใหชีวิตการเปนอยู ของมุสลิมใกลชิดกับอัลลอฮมากยิ่งขึ้น • ปรัชญาที่มีการบัญญัติใหทําละหมาดทั้งกลางวันและกลางคืนเปนการฝกใหจิตใจผูกมัดอยูกับ คุณธรรมและไมตกอยูในอาการเผอเรอหลงลืม • ปรัชญาที่มีการบัญญัติใหทําละหมาดทั้งกลางวันและกลางคืนก็เพื่อตองการใชในการทดแทน การออกกําลังกายในแตละวัน • ปรัชญาที่มีการบัญญัติใหทําละหมาดทั้งกลางวันและกลางคืนก็เพื่อตองการใหมนุษยไดพักผอน จากการทํางาน 10.ฮาดิษของทานอุกบะฮฺ บิน อามีร  ไดรายงานไววา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “มุสลิมทานใด ทําการวุฎอฺอยางถูกตองสมบูรณแบบ จากนั้นก็ลุกขึ้นไปทําการละหมาด 2 รอคอะฮฺ ดวยใจมุงมั่นตออัลลอฮ เขาก็จะไดรับการตอบแทนดวยสวรรคอยางแนนอน” รายงานโดย มุสลิม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

69

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ก. การทําวุฎอฺที่ถูกตองมีวิธีการอยางไร ? ข.ผูศรัทธาที่วายิบตองไดรับการตอบแทนดวยสวรรค เพราะการละหมาดสองรอคอะฮฺ นักเรียนคิด อยางไร ? การอาซาน 1. ทานนบี  สนับสนุนใหมุสลิมทําการอาซานและการละหมาดในแถวแรกไวอยางไร (จงอธิบาย) 2. คุณคาของการอาซานคือขอใดบาง (จงเลือก) • ผูที่อาซานจะไดกุศลมากมาย • ผูอาซานจะเปนคนรูปงามในวันกียามะฮฺ • ผูอาซานจะมีตําแหนงอยูระหวางผูทําละหมาด • ทําใหผูคนหันมาฟง สํานวนตอไปนี้ ขอใดกลาวไวถูกตอง • ผูที่อาซานจะเปนผูที่คอยาวที่สุดในวันกียามะฮ • ผูอาซานจะเปนผูที่เสียงดังที่สุดในวันกียามะฮฺ • ผูอาซานจะเปนคนที่แข็งแรงที่สุดในวันกียามะฮฺ ขอใดกลาวไวถูกตอง สาเหตุที่มีการบัญญัติการอาซานมาเพราะ • ผูคนไมรูเวลา • ตองการที่จะใหมีสื่อระหวางผูคน • ใหรําลึกถึงอัลลอฮ และปฏิญานตนตอสาระธรรมของทานรอซูล • ตองการแยกแยะจากศาสนิกอื่น 3. ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย 9หนาคําตอบที่ถูกตอง คําที่ใชกลาวขณะทําการอาซานมีที่มาอยางไร ? • ซอฮาบะฮฺบางทานเสนอตอทานนบี  • มุสลิมบางคนไดมาดวยความฝนขณะนอนหลับ 5. นักเรียนจะผสานกันอยางไร ระหวางความฝนของทาน อับดุลลอฮ บิน ซัยดฺ กับทานอุมัร บิน อัล คอฎฎอบ นักเรียนไดขอคิดใดกับการที่ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “มันเปนความฝนที่เปน จริง” 6. การเลือกผูที่จะทําการอาซานควรเลือกอยางไร เพราะทานรอซูลุลลอฮไดกลาวไววา “จงไปหาบิลาล และบอกเขาเกี่ยวกับสิ่งที่ทานเห็นในความฝน แลวใหเขาทําการอาซานดวยสํานวนนั้น เพราะเขา เปนคนที่เสียงดีกวาทาน” ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

70

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

7. ระหวางอาซานกับอีกอมะฮฺมีคํากลาวที่แตกตางกันอยางไร ? 8. ในคํากลาวอาซานและอิกอมะฮฺมีการเตือนใหระลึกหลักการทางความเชื่อ มีการย้ําในเรื่องของ หนาที่ที่ตองปฏิบัติตออัลลอฮ เรียกรองใหทําความดี ...ใหนักเรียนเขียนเรียงความเกี่ยวกับเรื่องนี้ ทั้งหมด 9. มีฮาดิษหลายฮาดิษหามใหเงินตอบแทนเปนคาจางกับผูที่ทําหนาที่อาซาน แตในปจจุบันมัสยิดมี มากมาย และแตละมัสยิดก็มีความตองการผูอาซาน ฉะนั้นเราจะปฏิบัติอยางไร ? 10. ทานรอซู ลุลลอฮไดพูดกับทานอุสมาน บิน อาบี วะกอฮ วา “ทานเปนผู นําของพวกเขา” เราจะ อธิบายคําพูดนี้วาอยางไร ? 11. อะไรคือปรัชญาหรือเหตุผลที่ซูนัตใหทําการอาซานแมวาจะละหมาดเพียงคนเดียวในทะเลทราย 12. หลังการอาซานควรอานอุอาใด ? ผูที่อานดุอานี้เสมอจะไดรับผลตอบแทนอยางไร ? 13. ผูใดที่สามารถตอบรับการอาซานได จากบุคคลตอไปนี้ • ผูมีฮาดัษ • หญิงมีประจําเดือน • ผูที่กําลังทําการละหมาด • ผูที่นั่งรอรับประทานอาหาร • ผูที่กําลังอานอัลกุรอาน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

71

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 4 เงื่อนไขของการละหมาด เงื่อนไขของการละหมาด คือสิ่งที่ผูละหมาดจะกระทําใหเกิดขึน้ กอนการละหมาด หากขาดขอใดขอ หนึ่งไปการละหมาดก็จะเปนโมฆะ สําหรับเงื่อนไขของการละหมาดมีดงั นี้ 1. ตองรูวาไดถึงเวลาละหมาด เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา ∩⊇⊃⊂∪ $Y?θè%öθ¨Β $Y7≈tFÏ. šÏΖÏΒ÷σßϑø9$# ’n?tã ôMtΡ%x. nο4θn=¢Á9$# ¨βÎ)

เพราะแทจริงการละหมาดเปนบัญญัติที่ถูกกําหนดเวลาไวแกบรรดามวลผูมีศรัทธาทั้งหลาย 2. รางกายจะตองสะอาดปราศจากฮาดัษ เพราะทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “จงทําวุฎอฺและจง ทําความสะอาดอวัยวะของทาน” (จากน้ําเมือก) รายงานโดย บุคอรีย และเสื้อผาเครื่องนุงหมตองสะอาด อัลลอฮทรงตรัสไววา “‫”ﻭﺛﻴﺎﺑﻚ ﻓ ﹶﻄﻬﱢﺮ‬จงทําความสะอาดเสื้อผาของทาน สถานที่ละหมาดตองสะอาด เพราะ ทานนบี  ไดสั่งใหรดน้ําทําความสะอาดบนปสสาวะของอาหรับเบดุอินซึ่งปสสาวะในมัสยิด” รายงาน โดยญามาอะฮฺ ยกเวนทานมุสลิม 3. ผูละหมาดจะตองปราศจากฮาดัษเล็กและฮาดัษใหญ ซึง่ หมายถึงจะตองอาบน้ําวายิบ (หากมีฮาดัษ ใหญ) และจะตองทําวุฎอฺ (หากมีฮาดัษเล็ก) อัลลอฮทรงตรัสไววา È,Ïù#tyϑø9$# ’n<Î) öΝä3tƒÏ‰÷ƒr&uρ öΝä3yδθã_ãρ (#θè=Å¡øî$$sù Íο4θn=¢Á9$# ’n<Î) óΟçFôϑè% #sŒÎ) (#þθãΨtΒ#u šÏ%©!$# $pκš‰r'¯≈tƒ

... 4 (#ρã£γ©Û$$sù $Y6ãΖã_ öΝçGΖä. βÎ)uρ 4 È÷t6÷ès3ø9$# ’n<Î) öΝà6n=ã_ö‘r&uρ öΝä3Å™ρâãÎ/ (#θßs|¡øΒ$#uρ โอบรรดาผูศรัทธาทั้งหลาย ! เมื่อพวกเจามุงหมายที่จะทําละหมาด พวกเจาก็จงทําวุฏอกอนโดย) ลางหนาของพวกเจา, มือของพวกเจาจนถึงขอศอก, และพวกเจาจงเช็ดศรีษะ และ (จงลาง) เทาของพวกเจา จนถึงตาตุม และหากพวกเจามียะนาบะฮฺ (สภาพหลังการประเวณี หรือการหลั่งอสุจิ) พวกเจาก็จงชําระ (รางกาย) ใหสะอาด....(อัลมาอิดะฮฺ :6) 4. จะตองปกปดเอารัต (อวัยวะที่ตองปกปดขณะละหมาด) ใหเรียบรอย เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา ..... 7‰Éfó¡tΒ Èe≅ä. y‰ΖÏã ö/ä3tGt⊥ƒÎ— (#ρä‹è{ tΠyŠ#u ûÍ_t6≈tƒ * โอเผาพันธุของอาดัม! พวกเจาจงสวมใสเครื่องนุงหมของพวกเจา ณ ทุก (ครังที่จะทําการภักดี ตออัลลอฮฺที่) มัสยิด.....( อัลอะอฺรอฟ :31) คําวาสวมใสในที่นี้หมายถึงการปกปดเอารัตใหเรียบรอย เอารัตของทานชายคือระหวางสะดือถึงเขา สวนทานหญิงคือรางกายทั้งหมด ยกเวนใบหนากับฝามือ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

72

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

5. การหันหนาไปทางกิบลัต หากสามารถมองเห็นไดก็ใหหันไปทางตัวกิบลัต สวนผูที่ไมสามารถ มองเห็นไดก็ใหหันหนาไปทางทิศที่เปนที่ตั้งของกิบลัต แตหากเกิดความสงสัยวากิบลัตอยูทางทิศใดแลวเกิด มีหลักฐานวาผิดพลาดก็ใหละหมาดใหม หากแนใจวาถูกตองการละหมาดก็สมบูรณ เงื่อนไขขอนี้จะตกไป สําหรับผูที่ถูกบังคับ ผูปวย การละหมาดขณะอยูในความกลัว หรืออยูบนพาหนะขณะละหมาดซูนัต ซึ่งทาน บี  ทําการละหมาดบนสัตวพาหนะ ไมวาสัตวจะหันหนาไปทางใด แตทานก็ไมไดกระทํากับละหมาดที่ เปนฟรฎ” รายงานโดย บุคอรีย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

73

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 5 ฟรฎหรือหลักการของละหมาด ฟรฎหรือหลักการละหมาดหมายถึงกระทําที่ผูละหมาดจะตองปฏิบัติ หากละทิ้งขอหนึ่งขอใดไป การละหมาดจะเปนโมฆะ สําหรับฟรฎของการละหมาดมีดังนี้ 1.การตั้งเจตนา ซึ่งหมายถึงการตั้งเจตนาไวในใจวาจะทําการละหมาดทีข่ องการตั้งเจตนาคือที่ใจ ไม มีเงื่อนไขวาจะตองกลาวออกมาเปนคําพูด และทานรอซูลุลลอฮ  ก็ไมเคยกลาวออกมาเปนคําพูด 2. การกลาวตักบีรอตุลเอียะหฺรอม ซึ่งเปนการเริ่มตนเขาสูพิธีละหมาด คํากลาวคือกลาววา “‫”ﺍﷲ ﺍﻛﱪ‬ คํากลาวนี้ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไวในฮาดิษหนึ่งวา “กุญแจของการละหมาดคือความสะอาด การเขาสู พิธีคือการตักบีร และการออกจากพิธีคือการกลาวสลาม” รายงานโดยนักรายงานทัง้ หา (‫ )ﲬﺴﺔ‬ยกเวน อัลนะ ซาอีย และทานอัตตัรมีซียและอัลฮากิมก็ใหฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอเหียะหฺ 3.การยืนตรงสําหรับผูที่สามารถกระทําได ในการละหมาดฟรฎ ทานนบี  ไดกลาวไววา “จงยืน ละหมาด หากสามารถกระทําได หากทําไมได ก็จงนั่ง หากนั่งไมไดก็ใหนอนตะแคง” รายงานโดย อัลบุคอ รีย สวนการละหมาดซูนัต อนุญาตใหนั่งละหมาดได แมวาจะสามารถยืนไดก็ตาม แตก็มีฮาดิษปรากฏอยูวา “ ชายที่นั่งละหมาด ก็จะ(ไดกศุ ล)เพียงครึ่งหนึ่ง” รายงานโดยบุคอรียแ ละมุสลิม 4.การอานฟาติหะฮฺ ในทุกรอคอะฮฺของการละหมาด ทั้งรอคอะฮฺที่เปนฟรฎและซูนัต27 เพราะทานน บี  ไดกลาวไววา “ละหมาดไมสมบูรณสําหรับผูที่ไมอานฟาติหะฮฺ” รายงานโดยอัลยะมาอะฮฺ 5. การโคงรอเกาะอฺ คือการโคงจนกระทั่งมือทั้งสองขางสามารถวางบนเขาทั้งสองขางได และ จะตองมีการพักสงบในขณะโคงรอเกาะอฺเพราะมีฮาดิษปรากฏกลาวไววา “จากนั้นก็ทําการโคงรอเกาะอฺ จนกระทั่งผูรอเกาะอฺไดพักสงบ” รายงานโดยบุคอรียแ ละมุสลิม 6.การเอียะติดาล หลังการโคงจนมาอยูใ นภาวะสงบ ซึ่งฮาดิษไดแนะนําไววา “ จากนัน้ ก็ใหอิอฺติดาล ขึ้นมายืนตรง” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม 7. การกราบซูยุดสองครั้งในทุก ๆ รอคอะฮฺ พรอมสงบนิ่ง ฮาดิษไดชแี้ จงไววา “จากนั้นก็ใหกราบซู ยุดจนกระทั่งผูซ ูยุดไดสงบนิง่ ” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม การซูยุดที่ถูกตองจะตองกราบซูยุดลงเจ็ดเทา (คือหนาผาก สองฝามือ เขาทั้งสองขาง และปลายเทาทัง้ สองขาง) รายงานโดยบุคอรียและมุสลิมทานรอซู ลุลลอฮ  เมื่อทานทําการซูยุด “จมูกและหนาผากของทานจะราบกับพื้น” รายงานโดยอาบูดาวุดและอัตตัร 27

การอานฟาติหะฮฺเปนฟรฎสําหรับอีหมาม(ผูนําละหมาด) หรือผูที่ละหมาดคนเดียว ซึ่งนักวิชาการเห็นตองกันทั้งหมด สวนมะมูม(ผูตาม) ชาฟ อียะฮฺใหทัศนะวาการอานฟาติหะฮฺเปนฟรฎ แตอัลฮะนาฟยะฮฺกลับบอกวาเปนมัครูฮ ตัฮรีม เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา [204 :‫ﺉ ﺍﻟ ﹸﻘﺮﺁﻥ ﻓﺎﺳَﺘ ِﻤﻌُﻮﺍ ﻟﹶﻪ ﻭﺃْﻧﺼِﺘﻮﺍ { ]ﺍﻷﻋﺮﺍﻑ‬ َ ‫ﻭﺇﺫﺍ ﻗﹸ ِﺮ‬ และเมื่ออัลกุรอานไดรับการอัญเชิญ พวกเจาจงฟงและจงสงบเถิด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

74

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

มีซีย 8.การนั่งตะชะฮุดครั้งสุดทาย และอานวา ‫ ﺍﻟـﺴﱠﻼ ُﻡ ﻋﻠﻴﻨـﺎ‬،‫ﻚ ﺃﻳﱡﻬﺎ ﺍﻟﻨﱠﱯ ﻭﺭﲪ ﹸﺔ ﺍﷲ ﻭﺑﺮﻛﺎﺗُﻪ‬ َ ‫ ﺍﻟﺴﻼﻡ ﻋﻠﻴ‬،‫» ﺍﻟﺘﱠﺤﻴﺎﺕ ﷲ ﻭﺍﻟﺼﱠﻠﻮﺍﺕ ﻭﺍﻟﻄﱠﻴﺒﺎﺕ‬ «...‫ ﻭﺃﺷﻬﺪ ﺃﻥ ﻣُﺤﻤﺪﹰﺍ ﻋﺒﺪُﻩ ﻭﺭﺳﻮﻟﹸﻪ‬،‫ ﺃﺷﻬﺪ ﺃﻥ ﻻ ﺇﻟﻪ ﺇﻟﹼﺎ ﺍﷲ‬،‫ﻭﻋﻠﻰ ﻋِﺒﺎ ِﺩ ﺍﷲ ﺍﻟﺼﺎﳊﲔ‬ รายงานโดย อัลยามาอะฮฺ และการซอลาวัตใหกับทานนบี หลังตะชะฮุด28 สําหรับมัซฮับชาฟอีย 9. การกลาวสลาม เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “กุญแจของการละหมาดคือความสะอาด การเขา สูพิธีคือการตักบีร และการออกจากพิธีคือการกลาวสลาม” รายงานโดยนักรายงานทั้งหา (‫ )ﲬﺴﺔ‬ยกเวน อัล นะซาอีย อุลามะอฺสวนใหญ (ุมฮุร) กลาววา การใหสลามครั้งแรกเปนฟรฎ สวนครั้งที่สองเปนซูนัต เพราะ มีรายงานจากทานนบี  วา ทานใหสลามเพียงครั้งเดียว แตในฮาดิษซอเหียหฺหลายฮาดิษรายงานวาทานให สลามสองครั้ง 10. การเรียงลําดับกอนหลังและทําติดตอกันตามลําดับ ดังที่กลาวมา

28

ชาฟอีย กลาวไววา อยางนอยใหอานวา “‫ ”ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺻ ﱢﻞ ﻋﻠﻰ ﳏﻤﺪ‬แตหากจะใหสมบูรณก็ใหอานวา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

75

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 6 ซูนัตของการละหมาด ซูนัตของการละหมาดหมายถึง การกระทําที่ผูละหมาดควรปฏิบัติ เพื่อใหไดมาซึ่งกุศลที่อัลลอฮจะ ตอบแทนให แตหากละทิ้งก็ไมไดทําใหการละหมาดเปนโมฆะแตอยางใด ซูนัตของการละหมาดมีดังนี้ 1. การยกมือทั้งสองขางขณะตักบีรอตุลเอียะหฺรอม โดยใหปลายนิ้วมือเสมอกับติ่งหู หรือบาทั้งสอง ขางโดยใหฝามือทั้งสองขางหันไปทางกิบลัต และการยกมือขณะรอเกาะอฺและลุกจากรอเกาะอฺ ซึ่งทัศนะ เหลานี้ทั้งหมดเปนทัศนะของุมฮูรุลฟุกอฮะอฺ (กลุมนักกฎหมายอิสลาม) ซึ่งไมมีใครเห็นแยงเปนอยางอื่น ยกเวนอัลอะหฺนาฟและสานุศิษยของมาลิกียะฮฺบางคนเทานั้น 2.การนํามือขางขวามาวางทับมือขางซายโดยมือทั้งสองขางวางบนหรือใตหนาอก หรือวางใตสะดือ เพราะมีหลักฐานปรากฏเปนฮาดิษไวดังที่กลาวมา 3. การอานดุอา อิฟติตะฮฺ ดุอาใดก็ไดที่มีหลักฐานปรากฏวามาจากทานนบี เชนการอานดุอาที่วา ،« ‫» ﺳﺒﺤﺎﻧﻚ ﺍﻟﱠﻠ ُﻬﻢّ ﻭﲝﻤﺪِﻙ ﻭﺗَﺒﺎﺭﻙ ﺍﲰﻚ ﻭﺗَﻌﺎﱃ َﺟﺪﱡﻙ ﻭﻻ ﺇﻟﻪ ﻏﲑﻙ‬ ฮาดิษนี้รายงานโดยอาบูดาวุด อัลฮากิม และทานอัซซะฮฺบียก็เห็นพองใหเปนฮาดิษซอเหียะหฺดวย หรือให อานดุอาที่วา ‫ﺤﻴَﺎﻱ‬ ْ ‫ﺴﻜِﻲ ﻭ َﻣ‬ ُ ‫ ﺇ ﱠﻥ ﺻﻼﰐ ﻭﻧ‬،‫ﺽ ﺣﻨﻴﻔﹰﺎ ﻭﻣَﺎ ﹶﺃﻧَﺎ ﻣﻦ ﺍﳌﺸْﺮﻛﲔ‬ َ ‫» َﻭ ﱠﺟﻬﺖ ﻭﺟﻬﻲ ِﻟﻠﱠﺬﻱ ﻓﻄﺮ ﺍﻟﺴﻤﺎﻭﺍﺕ ﻭﺍﻷﺭ‬ ،« ‫ ﻭﺑﺬﻟﻚ ﺃﻣﺮﺕ ﻭﺃﻧﺎ ﻣِﻦ ﺍﳌﺴﻠﻤِﲔ‬،‫ ﻻ ﺷَﺮﻳﻚ ﻟﻪ‬،‫ﺏ ﺍﻟﻌﺎﳌﲔ‬ ‫ﻭﻣَﻤﺎﰐ ِﻟﻠﱠ ِﻪ ﺭ ﱢ‬ ฮาดิษนี้รายงานโดย มุสลิม อาบูดาวุด อัลนะซาอีย ทานอะหฺมัด อิบนุ ฮิบบาน และอัฏฏอบรอนีย และทานอัชชาฟอีย 4. การอานอะอูซุบิลละฮฺ (‫ )ﺍﻋﻮﺫ ﺑﺎﷲ ﻣﻦ ﺍﻟﺸﻴﻄﺎﻥ ﺍﻟﺮﺟﻴﻢ‬เบา ๆ หลังการอานดุอาอิฟติตาฮฺ กอนเริ่ม การอานในรอคอะฮฺแรก และหากจะอานทุกรอคอะฮฺก็ไมเปนไร 5. การอานวา “อามีน” หลังการอานฟาติหะฮฺ ไมวาจะเปนอีหมาม(ผูนําละหมาด)หรือมะมูม (ผู ละหมาดตาม) หรือผูที่ละหมาดคนเดียว การอานจะอานดังเมื่อละหมาดที่อานเสียงดัง และจะอานคอยเมื่อ ละหมาดที่ตองอานเสียงคอย29 ผูละหมาดตามจะตองอานหลังอีหมามและอยาเวนชวงเวลาใหมากจนเกินไป 6. อานซูเราะฮฺหรืออายะฮฺงาย ๆ หลังการอานฟาติหะฮฺ ยกเวนในรอคอะฮฺที่สามและสี่ เพราะใน รอคอะฮฺนี้จะอานฟาติหะฮฺแตเพียงอยางเดียว การอานจะอานนอยอานมาก หรือจะอานซูเราะฮฺทั้งหมด หรือ อายะฮฺบางอายะฮฺจากซูเราะฮฺใดซูเราะฮฺหนึ่ง ซึ่งการอานในลักษณะนี้ลวนแลวแตมีหลักฐานปรากฏในซูน นะฮฺของทานรอซูลุลลอฮ  ซูนัตใหอานหลาย ๆ อายะฮฺโดยในรอคอะฮฺแรกควรอานยาวกวาอายะฮฺที่สอง มีหลักฐานปรากฏวาทานรอซูลุลลอฮ จะอานซูเราะฮฺสั้น เชน อัลอะอฺรอฟ อัซซอฟ อัดดุคคอน การอาน ซูนัติใหอานดวยเสียงที่ไพเราะ หยุดพักในตอนทายของอายะฮฺทุกอายะฮฺ เมื่ออานผานอายะฮฺที่กลาวถึงความ 29

แตสําหรับอัลอะหฺนาฟ จะอานคอยทัง้ หมด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

76

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

โปรดปรานของอัลลอฮก็ใหวอนขอตอพระองค เมื่ออานผานอายะฮฺที่เปนการกลาวถึงการลงโทษ ก็ใหขอ ความคุมครองจากอัลลอฮ หากเปนการอานในเวลา ซุบฮฺ หรือละหมาดยุมอะฮฺ และสองรอคอะฮฺแรกของการ ละหมาดมัฆริบ และอีชา ก็ใหอานดวยเสียงดัง ที่เหลือก็ใหอานเสียงคอย ๆสวนการละหมาดซูนัตก็ใหอาน เสียงคอย แตการละหมาดตะฮัจยุด หรือละหมาดกียามุลลัย ก็ใหอานเสียงดังดวยเชนกัน แตหากไมรูหรือ เจตนาละทิ้ง หรือลืมอานก็ไมเปนไร สําหรับมะมุม(ผูละหมาดตาม) เมื่อไดยินการอานอัลกุรอานจะตองตั้งใจฟง การอานของอีหมาม ขณะเมื่ออีหมามอานดวยเสียงดัง แตหากอีหมามอานเสียงคอยก็ใหมะมุมอานดวย เพราะอัลลอฮทรงตรัสไว วา

[204 :‫ﺉ ﺍﻟﻘﹸﺮﺁﻥ ﻓﺎﺳَﺘ ِﻤﻌُﻮﺍ ﻟﹶﻪ ﻭﺃْﻧﺼِﺘﻮﺍ { ]ﺍﻷﻋﺮﺍﻑ‬ َ ‫ﻭﺇﺫﺍ ﻗﹸ ِﺮ‬ และเมื่ออัลกุรอานไดรับการอัญเชิญ พวกเจาจงฟงและจงสงบเถิด นอกจากนั้นก็ยังมีฮาดิษยืนยันเปนหลักฐานไววา “เมื่ออีหมามตักบีร ทานทั้งหลายก็จงตักบีร และเมือ่ อีหมาม อาน ทานทั้งหลายก็จงฟงอยางตั้งใจ” มุสลิมใหฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอเหียะหฺ30 7. ซุนัตใหกลาวตักบิรทุกครัง้ ที่ ลุกขึ้น หรือลง ขณะลุกยืน หรือลงนั่ง ยกเวนขณะลุกจากการรอเกาะอฺ ซูนัต ขณะโคงรอเกาะอฺใหแผนหลังเสมอกับศีรษะ วางน้ําหนักไวบน มือทั้งสองขางซึ่งวางไวบนเขาพรอมกับแยก นิ้วทั้งหมดออก และใหกลาววา “‫ ”ﺳﺒﺤﺎﻥ ﺭﰊ ﺍﻟﻌﻈﻴﻢ‬3 ครั้ง หรือมากกวา หรือจะกลาววา “‫ﺡ‬ ِ ‫ﺏ ﺍﳌﻼﺋﻜ ِﺔ ﻭﺍﻟﺮﻭ‬ ‫ﺱﺭ ﱡ‬ ٌ ‫ﺡ ﹸﻗ ﱡﺪ‬ ٌ ‫” ُﺳﺒﱡﻮ‬ ฮาดิษรายงานโดยมุสลิม หรือจะอานวา ‫ ﻭ ُﻣﺨﱢـﻲ‬،‫ ﺧَﺸﻊ ﻟﻚ ﺳَﻤﻌﻲ ﻭﺑَـﺼﺮﻱ‬،‫ ﺃﻧﺖ ﺭﰊ‬،‫ﻚ ﺃﺳﻠﻤﺖ‬ َ ‫ ﻭﻟ‬،‫ﻚ ﺁﻣﻨﺖ‬ َ ‫ ﻭﺑ‬،ُ‫)ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﻟﻚ ﺭﻛﻌﺖ‬ ،(‫ ﻭﻣﺎ ﺍﺳﺘﻘﻠﺖ ﺑﻪ ﻗﹶﺪﻣﻲ ﷲ ﺭﺏ ﺍﻟﻌﺎﳌﲔ‬،‫ﻭﻋَﻈﻤﻲ ﻭﻋَﺼﱯ‬ ฮาดิษรายงานโดยมุสลิม 8.ซูนัตใหผูละหมาดกลาวเมื่อลุกขึ้นจากรอเกาะอฺวา “‫ ”ﲰﻊ ﺍﷲ ﳌﻦ ﲪـﺪﻩ‬และเมื่อลุกขึ้นจนตัวตรง แลวก็ใหกลาววา “‫”ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺭﺑﻨﺎ ﻭﻟﻚ ﺍﳊﻤ ُﺪ‬หรือใหกลาววา “‫ ”ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﺭﺑﻨﺎ ﻟﻚ ﺍﳊﻤﺪ ﺣَﻤﺪﹰﺍ ﻛﺜﲑﹰﺍ ﻃﻴﺒﹰﺎ ﻣﺒﺎﺭﻛﹰﺎ ﻓﻴﻪ‬หรือ ดวยคํากลาวอื่น ๆ ที่มีหลักฐานปรากฏในฮาดิษของทานนบี 9. ซูนัตใหผูทําการละหมาดวางเขาทั้งสองขางกอนที่จะวางมือลงเมื่อตองการซูยุดและใหวางจมูก และหนาผากราบกับพื้น โดยวางมือทั้งสองขางใหตรงกับใบหูทั้งสอง โดยวางนิ้วมือใหชิดกันโดยใหปลาย นิ้วชี้ไปทางกิบลัต และกลาวขณะซูยุดวา “‫ ”ﺳــﺒﺤﺎ ﹶﻥ ﺭﰊ ﺍﻷﻋﻠــﻰ‬หรือจะเพิ่มคํากลาวตัซบิฮฺ ซิกรฺ ดุอา เฉพาะ ตามที่มีหลักฐานรายงานจากทานรอซูลุลลอฮ  เชนดุอาที่วา ‫ ﺳَﺠﺪ ﻭﺟﻬﻲ ﻟﻠﺬﻱ ﺧَﻠﻘﻪ ﻭﺻﻮﱠﺭﻩ ﻓﺄﺣﺴَﻦ‬،‫ ﻭﻟﻚ ﺃﺳﻠﻤﺖ ﻭﺃﻧﺖ ﺭﰊ‬،‫ﺕ ﻭﺑﻚ ﺁﻣﻨﺖ‬ ُ ‫ﺍﻟﻠﹼﻬ ّﻢ ﻟﻚ ﺳﺠﺪ‬ ُ ‫ ﻭﺷ ﱠﻖ ﺳَﻤﻌﻪ ﻭﺑﺼﺮﻩ ﻓﺘﺒﺎﺭ َﻙ ﺍﷲ ﺃﺣﺴ‬،‫ﺻﻮﺭﻩ‬ .‫ﻦ ﺍﳋﺎﻟﻘﲔ‬

30

นี่คือทัศนะของมัซฮับ มาลิกียะฮฺ สวนชาฟอียะฮฺ วายิบตองอานฟาติหะฮฺ ทุกรอคอะฮฺ หลังอีหมามอานจบลง สวนฮานาฟยะฮฺ หามอาน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

77

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ฮาดิษรายงานโดยมุสลิม 10.การนั่งระหวางสองซูยุด โดยนั่งปลอยเทาซายตรง สวนเทาขวาพับมาวางทับไวและอานดุอาซึ่งมี รายงานไวในฮาดิษ เชน (‫)ﺍﻟﻠﻬ ّﻢ ﺍﻏﻔﺮ ﱄ ﻭﺍﺭﺣَﻤﲏ ﻭﻋﺎﻓِﲏ ﻭﺍﻫ ِﺪﻧِﻲ ﻭﺍﺭﺯُﻗﲏ‬ ฮาดิษนี้รายงานโดยอัตตัรมีซีย สําหรับชาฟอีย ใหนักพักหลังซูยุดที่สองกอนที่จะลุกยืนในรอคอะฮฺ ตอไป ไมลุกขึน้ ในทันที 11.การนั่งตะชะฮุด ครั้งแรก (สําหรับฮานาฟยเปนวายิบ) ใหนั่งปลอยเทาซายและพับเทาขวา วางมือ ขางซายบนเขาซายและมือขวาบนเขาขวา หรือวางบนขาทัง้ สองขาง นิ้วชี้มือขางขวาชี้ไปขางหนา และซูนัต ใหกระดิกเบา ๆ 12. ซูนัตใหนงั่ ตะวัรรุคในการนั่งตะชะฮุดครั้งสุดทายโดยยื่นเทาซายใหมาอยูกึ่งกลางเทาขวา แลว นั่งวางน้ําหนักลงบนสะโพก (ดังที่ทานบุคอรียไดรายงานไว) และซูนัตใหอานซอลาวัตใหกับนบีในตะชะฮุด สุดทายที่เรียกวา “‫( ”ﺍﻟﺼﻼﺓ ﺍﻹِﺒﺭﺍﻫﻴﻤﻴﺔ‬ดูตัวบทการอานที่ผานมา) 13. อานดุอากอนการใหสลาม ดวยดุอาใดก็ไดที่มีหลักฐานปรากฏมาจากฮาดิษ เชน อานวา ‫ﺖ‬ َ ‫ ﺃﻧ‬،‫ﺖ ﺃﻋﻠﻢ ﺑﻪ ﻣﲏ‬ َ ‫ ﻭﻣﺎ ﺃﺳﺮﻓﹾﺖ ﻭﻣﺎ ﺃﻧ‬،‫ ﻭﻣﺎ ﺃ ْﺳﺮَﺭﺕ ﻭﻣﺎ ﺃﻋْﻠﻨﺖ‬،‫ﺖ ﻭﻣﺎ ﺃﺧﱠﺮﺕ‬ ُ ‫ » ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﺍﻏﻔﺮ ﱄ ﻣﺎ ﹶﻗﺪﱠﻣ‬.« ‫ﺍﳌﻘﺪﱢﻡ ﻭﺃﻧﺖ ﺍﳌﺆﺧﱢﺮ ﻻ ﺇﻟﻪ ﺇﻟﹼﺎ ﺃﻧﺖ‬ รายงานโดยมุสลิม หรือดุอาที่วา ‫ ﻭﻣﻦ َﺷ ﱢﺮ ﻓﺘﻨ ِﺔ ﺍﳌـﺴﻴﺢ‬،‫ ﻭﻣﻦ ﻓﺘﻨ ِﺔ ﺍﳌﹶﺤﻴﺎ ﻭﺍﳌﹶﻤﺎﺕ‬،‫ ﻭﻣﻦ ﻋﺬﺍﺏ ﺍﻟﻘﱪ‬،‫ » ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﺇﱐ ﺃﻋﻮﺫ ﺑﻚ ﻣﻦ ﻋﺬﺍﺏ ﺟﻬﻨﱠﻢ‬،«‫ﺍﻟﺪﱠﺟﺎﻝ‬ รายงานโดยมุสลิม 14. ใหกลาวซิกริลละฮฺหรือดุอาใหมาก ๆ หลังการใหสลาม เชนดุอาที่วา

،« ‫ ﺗَﺒﺎﺭﻛﺖ ﻳﺎ ﺫﺍ ﺍﳉﻼﻝ ﻭﺍﻹِﻛﺮﺍﻡ‬،‫ﺖ ﺍﻟﺴﻼﻡ ﻭﻣﻨﻚ ﺍﻟﺴﻼﻡ‬ َ ‫ » ﺍﻟﻠﱠﻬﻢ ﺃﻧ‬รายงานโดยมุสลิม การกลาวตัสบิฮฺหลังการละหมาดทุกครั้ง โดยกลาวา ‫ ﺳﺒﺤﺎﻥ ﺍﷲ‬33 ครั้ง , ِ‫ ﺍﳊﻤﺪ ﷲ‬33 ครั้ง และ ‫ﺍﷲ ﺍﻛﱪ‬ 33 ครั้ง เพื่อใหครบ 100 ก็ใหตามดวย การกลาววา ‫ ﻏﹸﻔﺮﺕ ﺧﻄﺎﻳـﺎﻩ‬،‫ ﻟﹶﻪ ﺍﳌﻠﻚ ﻭﻟﹶﻪ ﺍﳊﻤﺪ ﻭﻫﻮ ﻋﻠﻰ ﻛ ﱢﻞ ﺷﻲﺀ ﻗﹶﺪﻳﺮ‬،‫» ﻻ ﺇﻟﻪ ﺇﻻ ﺍﷲ ﻭَﺣﺪﻩ ﻻ ﺷَﺮﻳﻚ ﻟﻪ‬ ،«‫ﻭﺇﻥ ﻛﹶﺎﻧﺖ ﻣﺜﻞ ﺯَﺑﺪ ﺍﻟﺒَﺤﺮ‬ ฮาดิษรายงานโดยมุสลิม อีกรายงานใหกลาววา ،« ‫ » ﺍﻟﻠﻬ ّﻢ ﺃﻋﻨﱢﻲ ﻋﻠﻰ ﺫِﻛﺮ َﻙ ﻭﺷُﻜ ِﺮ َﻙ ﻭﺣﺴ ِﻦ ﻋﺒﺎﺩَﺗﻚ‬รายงานโดยอะหฺมัด อาบูดาวุด อัลนะซาอีย หรือใหอานวา ،‫ ﺍﻟﻠﻬﻢ ﻻ ﻣﺎﻧِﻊ ﳌﺎ ﺃﹶﻋﻄﻴﺖ‬،‫ ﻟﻪ ﺍﳌﹸﻠﻚ ﻭﻟﹶﻪ ﺍﳊﹶﻤﺪ ﻭﻫﻮ ﻋﻠﻰ ﻛ ﱢﻞ ﺷﻲ ٍﺀ ﻗﹶﺪﻳﺮ‬،‫ﻚ ﻟﻪ‬ َ ‫»ﻻ ﺇﻟﻪ ﺇﻻ ﺍﷲ ﻭَﺣﺪﻩ ﻻ ﺷَﺮﻳ‬ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

78

.«‫ﳉ ﱡﺪ‬ ‫ﻚﺍﹶ‬ َ ‫ﳉ ﱢﺪ ﻣِﻨ‬ ‫ ﻭﻻ َﻳْﻨﻔﹶﻊ ﺫﺍ ﺍ ﹶ‬،‫ﻭﻻ ﻣُﻌﻄِﻲ ﳌﺎ َﻣﻨَﻌﺖ‬ ฮาดิษรายงานโดยชัยคอน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)


79

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 7 มัครูฮ(สิ่งที่ไมควรปฏิบัต)ิ ขณะละหมาด สิ่งที่ไมควรปฏิบัติขณะทําการละหมาดมีดงั นี้คือ 1.การละทิ้งซูนัตขอใดขอหนึ่งดังที่ไดกลาวมาแลวทั้งหมด 2. เลนหยิบจับ เสื้อผา รางกายโดยไมมีเหตุจําเปน 3. เหลือบสายตามองฟา มองเพดาน ซึ่งทานบุคอรียเห็นวาเปนสิ่งที่ไมควรปฏิบัติ 4.หันหนาไปสนใจสิ่งอื่น ๆ ที่ทําใหสับสน 5.ละหมาดในสถานที่ที่เปนสุสาน ทางเดินที่พลุกพลาน กองมูลสัตว หองน้ํา คอกสัตว สถานที่มี กลิ่นเหม็นสาบอูฐ หลังบาน (รายงานโดยมุสิม) 6.ขยับเสื้อออกจากไหล ยนยอหรือรีบเรง ละหมาดในเครื่องแบบเมื่อไมมีเสื้อผาอื่นเปลี่ยน เพราะจะ เปนการเสียมารยาท 7. วางแขนไวขางๆ ญามาอะฮฺเห็นวามัครูฮแตอิบนุมายะฮฺวาไมเปนไร 9. ยื่นแขนออกขณะทําการซูยุด ญามาอะฮเห็นวามัครูฮ 10. ยืนเทาชิดกันขณะยืนละหมาด หรือยกเทาขางหนึ่งเหมือนสัตว 11. นําซูเราะฮฺที่มาอานในรอคอะฮฺที่สอง ทั้งๆ ที่ซูเราะฮฺซึ่งอยูกอนหนายังไมไดนํามาอานใน รอคอะฮฺที่หนึง่ 12. ซูยุดโดยมีสิ่งรองหรือขั้นระหวางหนาผากกับพื้นที่ซยู ุด หรือกวาดรองรอยของการซูยุดขณะ กําลังละหมาด (อิบนุมายะฮฺเห็นวาไมควรปฏิบัติ) 13. ตะแคงหรือเอนเอียงรางกายขณะละหมาด เพราะเปนการกระทําทีเ่ หมือนพวกยะฮู (รายงานโดย บุคอรีย) การหาว (มุสลิมและอัตตัรมีซียเห็นวาไมควรปฏิบตั ิ )ควรปดปากดวยมือขณะหาว แมวาจะเปนเวลา นอกการละหมาด 14. ละหมาดขณะพยายามอดกลั้นอุจจาระหรือปสสาวะ หรือขณะที่มีการยกสํารับอาหารออกมา เตรียมพรอม (มุสลิมและอาบูดาวุดเห็นวาไมควรปฏิบัติ) 15. ละหมาดขณะงวงนอนมาก ๆ (รายงานโดยญามาอะฮฺ) 16.ปลอยชายผาลงพื้น ปดปาก (นักรายงานทั้งหาและทานฮากิม เห็นวาไมควรปฏิบัติ)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

80

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 8 สิ่งที่อนุญาตใหกระทําไดขณะละหมาด 1.รองไห สะอึกสะอื้น เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา 58 : ‫ ) ∪∇∈∩ ﻡﺮﻳﻢ‬$|‹Å3ç/uρ #Y‰£∨ß™ (#ρ”yz Ç≈uΗ÷q§9$# àM≈tƒ#u ÷ΛÏιø‹n=tæ 4’n?÷Gè? #sŒÎ) 4 เมื่อบรรดาโองการแหงองคผทู รงเมตตาถูกอัญเชิญแกพวกเขา พวกเขาก็ทรุดกายลงกราบ และร่ําไห มีรายงานวาทานรอซูลุลลอฮ  รองไหในขณะที่กําลังทําละหมาด และทานอาบูบักร ก็รองไหใน ละหมาดของทาน และมีรายงานจากทานบุคอรี ย วา ทานอุมัร  ละหมาดซุบฮฺ และอานซูเราะฮฺยูซุฟ จนกระทั่งถึงอายะฮฺที่วา ∩∇∉∪ šχθßϑn=÷ès? Ÿω $tΒ «!$# š∅ÏΒ ãΝn=ôãr&uρ «!$# ’n<Î) þ’ÎΤ÷“ãmuρ Éo\t/ (#θä3ô©r& !$yϑ¯ΡÎ) tΑ$s%

เขากลาววา”อันที่จริงฉันเพียงแตปรารมภทุกข และความเศราโศกของฉันตออัลลอฮฺ และฉันรู (โดย สื่อแหงการดลจิต) จากอัลลอฮฺ ในสิ่งที่พวกเจาไมรู” ทานรองไหจนไดยินเสียงสะอื้น แตตามทัศนะของชาฟอีย หากการรองไฟสามารถฟงไดออกมาเปน คําหนึ่งหรือสองพยัญชนะแมจะไมเขาใจ การละหมาดก็จะเปนโมฆะ 2.สายหนาขณะที่มีความจํา เพราะทานบุคอรียไดรายงานไววา “เปนการยักยอกของชัยฏอนขณะที่ บาวของอัลลอฮทําละหมาด” แตการหันหนาอกออกจากกิบลัตนั้นทําใหเสียละหมาด 3.ฆาสัตวที่ใหโทษ เพราะมีฮาดิษยืนยันไววา “จงฆาทําลายสัตวสีดําสองชนิด คืองูกับแมลงปอง” รายงานโดยเจาของซุนนันทั้งหมด 4.การกาวเดินเล็ก ๆ นอย เพราะความจําเปน โดยไมผินออกไปจากทิศทางของกิบลัต ซึ่งทานรอซู ลุลลอฮ  ก็เคยกระทําเชนนั้ น ดังมีปรากฏอยูในรายงานของทานอะหฺมัด อาบูดาวุด อัลนะซาอี ยและ ทานอัตตัรมีซีย และในรายงานจากทานหญิงอาอิชะฮฺ วาฮาดิษนี้เปนฮาดิษฮาซัน แตตองมีขอแมวาจะตอง เปนการขยับเดินเพียงเล็กนอย ไมเกินสามกาว 5.การอุมลูกเล็กๆ ไปพรอมกับการละหมาด ดังมีรายงานจากทานอะหฺมัด ปรากฏจากทานรอซู ลุลลอฮ  อัลฮากิม อัลนะซาอียและทานมุสลิม 6.การเตือนอีหมามในกรณีที่อีหมามผิดพลาด เชน อานผิดพลาด เพราะมีรายงานจากทานอาบูดาวุด วา มีการกลาววา “ ‫ ”اﻟﺤﻤﺪ ﷲ‬ขณะที่จาม ซึ่งทานรอซูลุลลอฮ  ก็อนุญาตใหทํา เพราะทานริฟาอะฮฺ ได กระทําเชนนั้นดวย ฮาดิษรายงานโดยทาน อัลบุคอรีย อัลนะซาอีย และอัตตัรมีซีย สิ่งที่อนุญาตใหกระทําได อีกประการหนึ่งคือการเตือน หากเปนชายก็ใหกลาวตัซบิฮฺ หากเปนหญิงก็ใหปรบมือ รายงานโดยทานอะหฺ มัด อาบูดาวุดและทานอัลนะซาอีย 7.การกราบซูยุดลงบนเสื้อผาหรือสัรบานของตัวเองเพราะมีความจําเปน (เชนพื้นรอนจนเกินไป) และทานรอซูลุลลอฮก็เคยกระทําเชนนั้น ดังที่ทานอะหฺมัดไดรายงานไว ดวยสายรายงานที่ถูกตอง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

81

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

8.การอานอัลกุรอานจากหนังสือคัมภีรอัลกุรอาน (ดังมีหลักฐานตามที่ทานมาลิกรายงานไว และนี่ คือมัซฮับชาฟอีย) 9.อนุญาตใหผูละหมาดยุติการละหมาดเพื่อทําลายสัตวมีพิษ หรือไลสัตวปา เมื่อกลัววาขาวของจะ สูญหาย หรือเพื่อกลั้นจากการขับถาย หรือตองการเรียกพอแมเมื่อรูสึกกลัวอันตราย และจําเปนตองยุติการ ละหมาดเพื่อชวยเหลือผูกําลังหวาดกลัว หรือตกอยูในอันตรายหรือทรัพยสินถูกไฟไหม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

82

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 9 สิ่งที่ทําใหเสียละหมาด 1. การละหมาดไมครบสมบูรณหรือละทิ้งเงื่อนไขขอใดขอหนึ่ง หรือละทิ้งสวนที่เปนฟรฎตอง ปฏิบัติ เพราะทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวกับชาวอาหรับเบดุอินที่ละหมาดไมสมบูรณวา “กลับไปทํา ละหมาดใหม ทานยังไมไดละหมาด” รายงานโดยชัยคอน เชน การปกปดเอารัต การหันหนาอกออกไปจาก กิบลัต มีฮาดัษขณะละหมาด 2.เจตนากินหรือดื่มแมวาจะเปนเพียงเล็กนอยก็ตาม แตหากกระทําเพราะลืมหรือไมรูวา จะทําใหเสีย ละหมาด หรือเปนเพียงเศษอาหารในรองฟน แลวเกิดกลืนเขาไปในทอง ในลักษณะนีต้ ามทัศนะของชาฟอีย และฮะนาบิละฮฺไมทําใหเสียละหมาดแตอยางใด 3. การพูดในสิ่งที่ไมเกี่ยวของกับบทอานในละหมาดโดยเจตนา แตสําหรับผูที่ลืมหรือไมรูเกี่ยวกับ หลักการ ก็ไมไดทําใหเสียละหมาดแตอยางใด เพราะมีฮาดิษของทานมุอาวียะฮฺ บิน อัลฮะกัม อัซซะละมีย ซึ่งไดพูดขณะทําการละหมาดอยู เพราะไมรูวาจะทําใหเสียละหมาด ทานรอซูลุลลอฮก็ไมไดสั่งใหเขา ละหมาดใหมแตอยางใด แตทานกลับบอกแคเพียงวา “การละหมาดนี้ไมควรที่จะพูดอะไร ที่เปนภาษาของ มนุษย แตสิ่งทีส่ ามารถกระทําไดคือ การกลาวตัซบิฮฺ ตักบีร การอานอัลกุรอาน เทานัน้ ” รายงานโดยอะหฺมดั มุสลิม ทานอาบูดาวุด และทานอัลนะซาอีย 4.การกระทําอืน่ ที่ไมใชการกระทําในละหมาด และเปนการกระทําที่มาก ๆ ทั้งที่เจตนากระทํา หรือ กระทําเพราะลืมตัว แตหากในกรณีที่จําเปนเชนตองการชวยเหลือผูที่ตกอยูในอันตราย เชน จมน้ํา ก็ใหยุติ การละหมาดเสีย 5.การหัวเราะเสียงดัง จะทําใหเสียละหมาด แตการหัวเราะที่ไดยินแคเพียงตัวเอง โดยที่คนอื่นไมได ยิน หรือการยิม้ ไมไดทําใหเสียละหมาดแตอยางใด 6. การอานผิดที่ทําใหความหมายเพี้ยนไปในทางที่เสีย หรือกลายเปนคําที่กลาวแลวเปนกาเฟร 7. การลาชาของมะมูม (ผูตาม) หากมากถึงหนึ่งรุกุน หรือสองการกระทํา โดยเจตนาใหลาชา หรือไมมีเหตุจาํ เปน เชน อีหมามอานเร็วเกินไปจนตามไมทัน ตราบใดที่ไมเกิน 3 รุกนุ ก็ไมเปนไร 8. ผูละหมาดกลาวเตือนผูอื่นที่ไมใชอีหมาม หรืออีหมามเตือนผูทีอานผิดนอกละหมาด อัลอะหฺนาฟ ใหทัศนะไววา ทําใหเสียละหมาด (เตือนในที่นี้อาจจะเปนการเตือนผูทอี่ านผิด หรือผูที่ลืม)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

83

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 10 ทานจะทําการละหมาดไดอยางไร ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “จงละหมาดดังที่ทานเห็นฉันละหมาด” รายงานโดยบุคอรียและ มุสลิม ดังชี้แจงในรายละเอียดของการละหมาดตอไปตามลําดับ ซึ่งจะเริ่มตั้งแตตนไปจนกระทั่งจบการ ละหมาดพรอมกับการแนะนําวาสวนไหนเปนฟรฎ สวนไหนเปนซูนัต ดังที่ไดแยกแยะไวแลวในบทที่ผาน มา หลังจากที่เราแนใจแลววาไดเวลาละหมาด และรางกายก็สะอาดปราศจากฮาดัษ มีการปกปดเอารัต และผูละหมาดก็ไดหันหนาไปทางกิบลัตเปนที่เรียบรอยแลวก็ใหปฏิบัติดังนี้ 1.ตั้งเจตนาละหมาดที่ตองการกระทํา (ฟรฏ) 2.ยกมือทั้งสองขางโดยใหปลายนิ้วเสมอกับใบหูทั้งสองขางหรือเสมอกับบา หันฝามือไปทางกิบลัต (ซุนนะฮฺ) จากนั้นก็ใหกลาวตักบีร คือตักบีรอตุลเอียะหฺรอม (เขาสูพิธี) ดวยการกลาววา “‫( ”ﺍﷲ ﺍﻛﱪ‬ฟรฏ) 3.ขณะที่ยืนตัวตรง (ฟรฎ) เพงมองที่ซูยุดวางมือขวาบนมือซายโดยมือทั้งสองขางอยูเหนือสะดือ ประมาณ 4 นิ้ว(มือ) (ซูนัต) 4.อานอุอาอิฟติตะหฺ บทใดบทหนึ่ง (ซูนัต) 5.อานอาอูซุบิลละฮฺ เบา ๆ จากนั้นก็ใหอานบิสมิลละฮฺ ดังหรือคอย ๆ กอนการอานฟาติหะฮฺทุก รอคอะฮฺ (ซุนัต) 6.อานฟาติหะฮฺในทุกรอคอะฮฺ ไมวาจะเปนละหมาดฟรฎหรือซูนัต (ฟรฎ) หากเปนอีหมามหรือ ละหมาดคนเดียว สวนผูที่ละหมาดตามอีหมาม หากอีหมามอานดังก็ใหฟง หากอีหมามอานคอยก็ใหอานฟา ติหะฮฺ 7.อานซูเราะฮฺใดซูเราะฮฺหนึ่งหรืออานอายะฮฺงาย ๆจากอัลกุรอาน หลังการอานฟาติหะฮฺ (ซูนัต) 8.กลาวตักบีร (ซูนัต) จากนั้นก็โคงรอเกาะอฺ (ฟรฏ) พรอมๆ กับยกมือทั้งสองขางขึ้น (ซูนัต) และ กลาวตัสบิฮฺ (ซูนัต) และหยุดพักสงบในรอเกาะอฺ (ฟรฎ) 9.ลุกขึ้นจากการโคงรอเกาะอฺกลับมายืนตรง (ฟรฏ) พรอมกับกลาววา “ ‫ﻚ‬ َ ‫ﲰﻊ ﺍﷲ ﳌﻦ ﲪﺪﻩ ﺭﺑﱠﻨﺎ ﻭ ﻟ‬ ُ‫ﳊ ْﻤﺪ‬ ‫ ”ﺍ ﹶ‬พรอมกับยกมือทั้งสองขางขึ้น (ซูนัต) 10 กลาวตักบีร (ซูนัต) พรอมกับลงกราบซูยุด (ฟรฎ) พรอมกับรักษาในสวนที่เปนซูนัตไวในซูยุด เชนการกลาวซีเกรมาก ๆ (ซูนัต) 11. กลาวตักบีร (ซูนัต) พรอมกับยกศีรษะขึ้น กลับมาในทานั่ง (ฟรฎ) พรอม ๆ กับรักษาไวซึ่งซูนัต จากนั้นก็กลาวตักบีร และซูยุดอีกครั้ง (ฟรฎ) และตักบีร (ซูนัต) จากนั้นก็ลุกจากการซูยุด พรอมกับยกมือทั้ง สองขางขึ้นกอนที่ยกเทา (ซูนัต) ลุกขึ้นเพื่อเขาสูรอคอะฮฺที่สอง 12. ในรอคอะฮฺที่สองก็จะปฏิบัติเชนเดียวกับที่ปฏิบัติมาแลวในรอคอะฮฺแรก จากนั้นในตอนทายก็ ใหนั่งตะชะฮุดแรก และกลาวซอลาวัต ใหกับทานนบี (ซูนัต) 13.ในรอคอะฮฺที่สาม ผูละหมาดอานซูเราะฮฺฟาติหะฮฺเบา ๆ แมวาจะเปนการละหมาดที่ตองอานดังก็

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

84

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ตาม จากนั้นก็ใหนั่งตะชะฮุดสุดทาย (ฟรฏ) และกลาวซอลาวัตใหกับทานนบี  (ซูนัต) และอานดุอาที่มี หลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษ 14.กลาวใหสลามทางขวามือ (ฟรฎ) และทางซายมือ(ซูนัต) ใหกลาวซิกริลละฮฺใหมาก ๆ ตามที่มี ปรากฏหลักฐานในฮาดิษ หลังการใหสลาม (ซูนัต) มีรายงานปรากฏอยูวา ทานอาบูฮุรอยเราะฮฺ  ได รายงานไววา มีชายคนหนึ่งเขามาในมัสยิด และทําการละหมาด จากนั้นก็มาหาทานรอซูลุลลอฮ  พรอมกับ ใหสลามกับทาน ทานก็ตอบสลามแลวก็บอกกับเขาวา “ กลับไปละหมาดใหม แทจริงแลวทานยังไมได ละหมาด” วา แล ว เขาก็ก ลั บไปละหมาดใหม ซึ่งเขาทําอยางนั้น ถึง 3 ครั้ง จากนั้น ก็ก ล าววา ขอยื น ยั น ตออัลลอฮ ผูทรงแตตั้งทานมาดวยสัจธรรม ฉันทําใหดีกวานี้ไมไดอีกแลว ขอใหทานสอนฉันดวยเถิด เมื่อ ทานรอซูลุลลอฮไดยินเชนนั้นทานก็กลาววา “ เมื่อทานตองการละหมาด ทานตองกลาวตักบีร จากนั้นก็อาน อายะฮฺงาย ๆ จากอัลกุรอาน จากนั้นก็โคงรอเกาะอฺพรอมกับพักสงบอยู จากนั้นก็ลุกขึ้นจากรอเกาะอฺ มายืน ตรง จากนั้นก็กราบซูยุดจนสงบนิ่ง แลวลุกขึ้นมานั่งสงบ แลวทําการซูยุดครั้งที่สอง และทานจงกระทําเชนนี้ ในการละหมาดของทาน ทั้งหมด “รายงานโดยอะหฺมัด และชัยคอน กิจกรรม การละหมาดและเงื่อนไขการละหมาด ก.1. การละหมาดฟรฎมีทั้งหมดกี่เวลา มีอะไรบาง ? การละหมาดวิติร ไมใชละหมาดฟรฎและไมใชวายิบ มีสิ่ง ใดเปนหลักฐาน (จงระบุ) 2.ไดเวลาละหมาด (เขาเวลา) เปนเงื่อนไขของการละหมาดหรือไมอยางไร ? การที่ผูละหมาดมัน่ ใจวาไดเวลา ละหมาดแลวสามารถทําการละหมาดไดในทันที เพราะเหตุใด (จงอธิบาย) 3.อัลลอฮทรงตรัสไววา (‫ )ﺇﻥ ﺍﻟﺼﻼﺓ ﻜﺎﻨﺕ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻤﺅﻤﻨﻴﻥ ﻜﺘﺎﺒ ﹰﺎ ﻤﻭﻗﻭﺘ ﹰﺎ‬เปนกลาวถึงเงื่อนไขขอใด ? จง บอกรายละเอียด พรอมบอกหลักฐานจากฮาดิษ นอกเหนือจากฮาดิษของมุอาซ 4.ผูที่สติสัมปชัญญะไมสมบูรณ และผูทอี่ ายุไมครบตามศาสนภาวะ ไมวายิบใหทําการละหมาด เงื่อนไขขอนี้ มีอะไรเปนหลักฐานอางอิง (จงระบุอายะฮฺที่เปนหลักฐาน) 5.หญิงที่มีรอบเดือนและมีน้ําคาวปลา วายิบตองทําละหมาดหรือไม ?เพราะเหตุใด ? 6. ใหนกั เรียนบอกหลักฐานอางอิง ที่ยืนยันวาการละหมาดจะถูกตองเมื่อ... • รางกายสะอาด • เสื้อผาสะอาด • สถานที่ละหมาดสะอาด 7.การทําใหรางกายสะอาดปราศจากฮาดัษ สามารถทําไดอยางไร ? 8. สิ่งสกปรกตอไปนี้สามารถทําความสะอาดไดอยางไร ? (จงระบุวิธีการพรอมหลักฐาน)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

85

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• มีสิ่งสกปรกติดที่รองเทา • น้ําปสสาวะเปอ นเสื้อผา หรือเลอะบนพื้น • เลือด(อิสติฮาเดาะฮฺ)ติดที่อวัยวะ 9. การลงโทษในกุโบรฺสวนใหญเกิดจากการปสสาวะ ฉะนั้นเรามีวิธีปอ งกันอยางไร ? 10. อัลลอฮทรงตรัสไววา (‫ )ﻴﺎ ﺒﻨﻲ ﺁﺩﻡ ﺨﺫﻭﺍ ﺯﻴﻨﺘﻜﻡ ﻋﻨﺩ ﻜل ﻤﺴﺠﺩ‬ในอายะฮฺสวนใดที่เปนหลักฐานยืนยัน วาการปกปดเอารัตเปนเงื่อนไขของการทําใหละหมาดสมบูรณ 11. ในฮาดิษทีก่ ลาวถึงการใชผาสองชิ้นในการปกปด บัญญัตินี้นักเรียนมีความคิดเห็นอยางไร เปนวายิบหรือ ซูนัต เพราะเหตุใด ? 12.เกี่ยวกับเอารัตของทานชายที่จําเปนตองปกปด มีทัศนะของนักวิชาการแสดงทัศนะออกมาหลายตอหลาย ทัศนะ ทัศนะใดที่ทานคิดวานาจะถูกตองทีส่ ุด เพราะเหตุใด ? (จงแสดงหลักฐานอางอิง) (ศึกษาเพิ่มเติมได จากฟกฮฺซุนนะฮฺ) 13.การหันหนาไปทางกิบลัตเปนเงื่อนไขหนึ่งของการละหมาด ในกรณีนี้สําหรับผูที่สามารถมองเห็นและไม สามารถมองเห็นกะบะอฺไดจะมีวิธีปฏิบัตทิ ี่ถูกตองอยางไร ? 14.การหันหนาไปทางกิบลัตเปนการแสดงออกถึงความมีเอกภาพของอิสลาม และเปนการแสดงออกถึง ความยิ่งใหญของอิสลาม ...ใหนักเรียนเขียนเรียงความเกีย่ วกับเรื่องนี้ 15. ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9หนาคําตอบที่ถูกตอง • การละหมาดทีย่ กเวนการหันหนาไปทางกิบลัต ก.ละหมาดญานาซะฮฺ ข.ละหมาดซูนตั ค.การละหมาดบนเครื่องบิน บนเรือและบนสัตวพาหนะ ง.การละหมาดขณะทําสงคราม จ.ไมรูทิศทางของกิบลัต หลักการ (รุกน)ของการละหมาด 1.มีหลักฐานใดที่บงชี้วาการตั้งเจตนาเปนหลักการหนึ่งของการละหมาด ? 2. เพราะเหตุใดอัลลอฮจึงกําหนดใหการตัง้ เจตนาเปนตัวชี้วัดความมีบริสุทธิ์ใจของการกระทํา ? 3.มีฮาดิษหนึ่งกลาววา “ผูใดตั้งใจที่จะทําความดีแตยังไมไดทํา ก็จะบันทึกความดีใหกับผูนั้น” กรอบการ ตอบแทนนี้เปนอยางไร ? 4. คําวา “หามทําละหมาด (ตะฮฺรีม) ” ภาวะของการหามทําละหมาดในที่นี้หมายถึงเวลาใด ? และเกิดขึ้นใน กรณีใดบาง ? (จงระบุพรอมหลักฐานอางอิง) 5.ใหนกั เรียนแสดงความคิดเห็น(วาถูกตองหรือไมถูกตอง) ในกรณีดังตอไปนี้วามีบญ ั ญัติทางศาสนาวา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

86

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

อยางไร ? ก. ชายคนหนึง่ เริ่มตนการละหมาดดวยการ กลาวตัสบิฮฺ,ตะฮลีล,หรือ อานอาอุซุบิลละฮฺ ข. ชายคนหนึง่ เขามาละหมาดขณะที่อหี มามรอเกาะอฺ เขาทําการตักบีร โดยตั้งเจตนาวาเปนการตัก บีร รอเกาะอฺไมใช ตักบีรอตุลเอียะหฺรอม ค. กลาวตักบีรขณะทีย่ ังนั่ง เมื่อกลาวเสร็จก็ลุกขึ้นยืนละหมาด ง. เริ่มตักบีรอตุลเอียะหฺรอมกอนอีหมาม 6.ยืนละหมาดเปนหลักการสําหรับละหมาดในขอใด ? • ฟรฎ • ซูนัต • ผูปวยที่ไมสามารถยืนละหมาดได 7.ในฮาดิษซึ่งรายงานโดยบุคอรีย รายงานไววา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวกับทานอิมรอน บินฮุซัยน วา  จงยืนละหมาด หากสามารถกระทําได หากทําไมได ก็จงนั่ง หากนั่งไมได ก็จงนอนตะแคง บทเรียนที่ได จากฮาดิษนี้คืออะไร ? 8.สําหรับผูที่ไมจําซูเราะฮฺฟาติหะฮฺ มีวิธีปฏิบัติหลายแนวทาง ซึ่งทานนบีไดสอนไวในฮาดิษซึ่งรายงานโดย อุฟาอะฮฺ บิน รอฟอฺ ซึ่งรายงานไววา ทานนบี  ไดสอนชายคนหนึ่งใหละหมาด ซึง่ ทานไดกลาววา ทานก็ มีอัลกุรอานอยู ทานก็จงอาน ..หากทานอานไมได ก็จงกลาว ‫ﷲ‬ ِ ‫ ﺍﳊﻤﺪ‬, ‫ﺍﷲ ﺍﻛﱪ‬, หรือ ‫ﻻ ﺍﻟﻪ ﺍﻻ ﺍﷲ‬ จากนั้นก็ใหรอเกาะอฺ จากความเขาใจในสาระของฮาดิษ ในกรณีที่อานฟาติหะฮฺไมไดผูละหมาดจะตองปฏิบัติตามขอใด (จงเลือก) • ทําการละหมาดโดยไมตองอานอัลกุรอาน • ละหมาดและอานอายะฮฺอนื่ ๆ เจ็ดอายะฮฺ • อาน ‫ﷲ‬ ِ ‫ ﺍﳊﻤﺪ‬, ‫ﺍﷲ ﺍﻛﱪ‬, หรือ ‫ ﻻ ﺍﻟﻪ ﺍﻻ ﺍﷲ‬แทนการอานอัลกุรอาน แลวจึงรอเกาะอฺ31 • ทําการละหมาดโดยไมตองอานอัลกุรอานแตอยางใด 9.วิธีการรอเกาะอฺที่ถูกตองมีวิธีปฏิบัติอยางไร ? การที่ทานนบีกลาว  กลาววา เปนการละหมาดแบบ ฉาบฉวยนัน้ หมายความวาอยางไร ? 10.ฟรฎละหมาดหลังการรอเกาะอฺคืออะไร ? โปรดอธิบายพรอมหลักฐาน ? 11.ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาคําตอบที่ถูกตอง 1) ฮาดิษทีว่ า “‫ ”" ﺜﻡ ﺍﺭﻓﻊ ﺤﺘﻰ ﺘﻌﺘﺩل ﻗﺎﺌﻤﹰﺎ‬คําวา ‫( ارﻓﻊ‬ลุกขึ้น) ในทีน่ ี้หมายถึงขอใด • การลุกขึ้นจากการซูยุด • การลุกขึ้นจากรอเกาะอฺ 31

รายงานโดย อาบูดาวุด และตัรมีซีย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

87

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• การลุกขึ้นหลังการนั่งตะชะฮุดแรก 12.ทานนบี  ไดกลาวไววา “อัลลอฮจะไมมองการละหมาดของคนใดคนหนึ่ง หากกระดูกสันหลังของ พวกเขาไมอยูร ะหวางการรอเกาะอฺและซูยุด” ความในฮาดิษนี้เปนการชี้นําในเรื่องใด 13.คําวากระดูกที่ทานรอซูลุลลอฮ  กลาวถึง วาตองซูยดุ บนสวนนี้ พรอมกับชี้ไปที่จมูกของทาน หมายถึง กระดูกสวนใด ? 14. การซุยุดลงบนจมูกอยางเดียว โดยทีห่ นาผากไมถีงพืน้ เปนการซูยดุ ที่ถูกตองหรือไมอยางไร ? 15. การซูยุดในบนพื้นที่สูงกวาทีว่ างเขาประมาณ 1 ฟุต การละหมาดจะเสียหรือไมอยางไร ? หรือการซูยุดใน ที่ที่สูงกวาที่วางเขาประมาณ 1 นิ้ว การละหมาดจะใชไดหรือเพราะเหตุใด ? 16.ใหนกั เรียนเขียนขอความที่สนับสนุนใหพี่นองของเราใกลชิดกับอัลลอฮมากยิ่งขึ้น เชนฮาดิษของทาน รอซูลุลลอฮ  ซึ่งไดกลาวไววา “บาวของอัลลอฮที่ใกลชิดกับพระองคมากที่สุด คือผูที่กราบซูยุดตอ พระองคและการวอนขอดุอาตอพระองคมาก ๆ” 17.การละหมาดในลักษณะดังตอไปนี้ถูกตองหรือไมอยางไร ? 1) ผูทําการละหมาดและซูยดุ บนหนาผากโดยที่จมูกไมถึงพื้น 2) ออกจากละหมาดโดยไมใหสลาม 3) เจตนาทําการซูยุดในรอคอะฮฺหนึ่งรอคอะฮฺใดเพียงครั้งเดียว 4) ไมอานฟาติหะฮฺในรอคอะฮฺใดรอคอะฮฺหนึ่งแตกลับอานตัสบิฮฺแทน 5) นั่งตะชะฮุด แตไมอานอะไรเลย 6) ละหมาดและใหสลามเพียงครั้งเดียว 18.ระหวางหลักการ(‫)ﺭﻛﻦ‬กับเงื่อนไข(‫ )ﺷﺮﻁ‬ตางกันอยางไร ? ซูนัตในละหมาด 1.ที่ใดบางที่ซูนัตใหยกมือตักบีรในละหมาด ? จงบอกพรอมแสดงหลักฐานอางอิงจากฮาดิษ ? 2.ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาคําตอบที่ถูกตอง • " ‫ " ﻜﺎﻥ ﺇﺫﺍ ﻗﺎﻡ ﻤﻥ ﺍﻟﺴﺠﺩﺘﻴﻥ ﺭﻓﻊ ﻴﺩﻴﻪ‬ในที่นี้หมายถึงขอใด ? o เมื่อลุกขึ้นจากซูยุดทั้งสองและกลับมานั่งเพื่อตะชะฮุด o เมื่อลุกขึ้นจากสองซูยุดหลังสองรอคอะฮฺและตองการยืนขึ้นในรอคอะฮฺที่สาม o เมื่อลุกขึ้นจากการซูยุดซะวีทงั้ สองครั้ง 3. ระหวางตักบีรอตุลเอียะหฺรอมกับการอานฟาติหะฮฺมีดอู าจากฮาดิษมากมาย ดุอานีม้ ีชื่อเรียกวา อะไร ? และทําไมจึงมีดุอาใหเลือกหลายบท ? 4.ทานรอซูลุลลอฮ  วางมือซายบนมือขวา ในการทําละหมาด แลวนํามือทั้งสองวางไวที่ใด o วางมือทั้งสองเหนือหนาอก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

88

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

o วางมือทั้งสองใตสะดือ o ปลอยมือทั้งสองขาง โดยไมวางไวบนหนาอกขณะละหมาด o ทานเปลี่ยนการวางมือของผูละหมาดคนหนึ่ง ขณะทําละหมาด 5.ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาคําตอบที่ถูกตอง • ขณะเมื่ออีหมามอานอายะฮฺในละหมาดมะมูมปฏิบัติอยางไร o มะมูมก็อานพรอม ๆ กับอีหมาม o นิ่งรับฟง o อานตัสบิฮฺ o รอคอยใหอีหมามหยุด เพื่ออานฟาติหะฮฺ 6. การกลาววา ‫ ﺁﻡﻴﻦ‬ของมะมูม หลังอีหมาม... o หลังการอาน “‫”ﻭﻻ ﺍﻟﻀﺎﻟﲔ‬ o เมื่ออีหมามอาน ‫ﺁﻡﻴﻦ‬ o หลังอีหมามอาน ‫ ﺁﻡﻴﻦ‬จบลงแลว o อานตามคําของมลาอิกะฮฺที่อา นตามอีหมาม 7. ขณะรอเกาะอฺ ผูละหมาดจะตองอานอะไร ? • อานตัสบิฮฺ • อานดุอาตามตองการ 8. การนั่งตะชะฮุดหลังจากรอคอะฮฺที่สองในละหมาดสี่รอคอะฮฺ เปนการกระทําที่เปน..... • ซุนัต • ฟรฎ • หากละทิ้งจําเปนตองซูยุดซะฮฺวี • หากละทิ้งทําใหเสียละหมาด 9. ในละหมาดมีดุอามากมาย ใหนกั เรียนยกตัวอยางฮาดิษดังกลาวมา 2 -3 ดุอา 10.การกลาวซิกริลละฮฺหลังละหมาดมีคณ ุ คามากมาย จงบอกผลบุญที่จะไดรับ พรอมหลักฐานจาก ฮาดิษวาทานรอซูลุลลอฮ  เคยอานในการละหมาด สิ่งที่อนุญาตใหกระทําและสิ่งที่ไมควรกระทําและสิ่งที่ทําใหละหมาดเสีย 1. ใหนกั เรียนทําความเขาใจฮาดิษของทานนบีที่นําเสนอไปแลว จากนัน้ ใหนักเรียนบอกสิ่งที่ อนุญาตใหกระทําไดและไมอนุญาตใหกระทําในละหมาด 2.การรองไหในละหมาดสามารถกระทําได หากเปนการรองไหเพราะ... • ความเกรงกลัวตออัลลอฮ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

89

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• กลัวกับสิ่งที่ไมพึงประสงคซึ่งอาจจะเกิดขึ้น • คร่ําครวญคิดถึงผูที่จากไป 3.เมื่อมีความจําเปนอนุญาตใหผินหนาไปทางซายหรือขวาไดในขณะละหมาด แตกลับไมอนุญาต ใหหนั ไปทางดานหลัง เพราะเหตุใด ? 4.การผินหนาของผูทําละหมาดมีความเชือ่ มโยงกับชัยฏอนอยางไร ? 5.เพราะเหตุใดจึงอนุญาตใหฆาสัตวมีพิษอยางเชน แมลงปองและงูได ขณะที่กําลังละหมาด ทั้งๆ ที่ การฆาสัตวในขณะนัน้ อาจจะตองมีการขยับเขยื้อนหลายครั้ง? 6. ในกรณีที่ทา นกําลังละหมาดแลวมีคนมาเคาะประตูเรียกทานควรปฏิบัติอยางไร ? • ไปเปดประตูใหไดทุกกรณี เปดประตูแลวก็กลับมาละหมาดตอ • ไมสามารถที่จะเปดประตูใหไดหากประตูอยูทางดานกิบลัตและอยูทางดานหนาดวย • ไมควรขยับเขยื้อนเคลื่อนไหวเพราะจะทําใหเสียละหมาด 7.นักวิชาการบางทานอนุโลมให(ไมตองชําระลาง)ในกรณีที่เสื้อผาเปอนปสสาวะของเด็กเล็ก พวก เขามีหลังฐานอางอิงมาจากหลักฐานใด ? (ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก ฟกฮฺซนุ นะฮฺ เลมที่2 ) 8.ขณะละหมาดจะอุมทารกหรือสัตวไดหรือไม ? เพราะเหตุใด ? 9.ในขณะที่กําลังละหมาด หากพูดจะทําใหเสียละหมาด แตการตอบสลามเปนสิ่งวายิบ ฉะนั้นหากมี ผูใหสลามขณะที่กําลังละหมาดจะปฏิบัตอิ ยางไร ? (จงอธิบายพรอมหลักฐานอางอิงจากฮาดิษ) 10.ในกรณีที่ผูละหมาดตองการเตือนผูอื่น ซึ่งเปนเรื่องสําคัญที่เกี่ยวของกับการละหมาดควรปฏิบัติ อยางไร ? • บอกไปตรง ๆแลวละหมาดตอ • อานดัง ๆ หรือกลาวตัสบีฮฺ • ใหสัญญาณดวยมือทั้งสอง • ปรบมือเตือน • ออกจากละหมาดแลวเตือนเขา จากนั้นก็กลับมาละหมาดตอ 11.เมื่ออีหมามอานผิดในละหมาด.... • ไมอนุญาตใหมะมูมเตือนในสิ่งที่ผิด • มะมูมบอกในสวนที่ผิด • ชวยดวยการอานที่ผิดใหถูกตองดวยเสียงดังฟงชัด • บอกวา พอแคนั้น โคงรอเกาะอฺเสียเถิด 12.ในกรณีที่ผูตามเปนมุสลิมะฮฺ(สตรี)หากอีหมามอานผิดหรือทําผิดในละหมาด นางควรปฏิบัติ อยางไร ? 13. เมื่ออีหมามที่อานผิดหรือกระทําผิดไดรับการเตือนเขาตองปฏิบัติอยางไร ? ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

90

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

14.บางครั้งมัสยิดอาจจะคับแคบจนไมมีที่พอจะทําการซูยดุ ผูละหมาดควรปฏิบัติอยางไร ? • ซูยุดลงบนเสื้อผาของผูละหมาดที่อยูขางหนา • ซูยุดลงบนเทาหรือหลังของคนขางหนา • เพียงแคลดศีรษะลงใหต่ํากวาระดับการรอเกาะฮฺกเ็ พียงพอแลว • ทิ้งละหมาดญามาอะฮฺไปเลย 15.ใหนกั เรียนอานขอความตอไปนี้แลวตอบวา “ไมควรปฏิบัติ, เสียละหมาด,อนุญาตใหทําได” จาก ประเด็นดังตอไปนี้ 1)อะหฺมดั กลาววา “ ‫ ”اﻟﺤﻤﺪ ﷲ‬ขณะจาม ทั้ง ๆ ที่กําลังละหมาด 2) ผูละหมาดกระแอมเพราะความจําเปนขณะยังละหมาด 3)นําคัมภีรมาถืออานขณะละหมาด 4) ขานรับ..(เมือ่ มีผูเรียก) ขณะละหมาด 5) ละหมาดขณะที่งว งมาก ๆ 6) นําของหวานมาอมไวในปากขณะละหมาด 7) ละทิ้งรุกนขอหนึ่งขอใดโดยไมมีเหตุจําเปน 8) ถอดรองเทาขณะละหมาด 9) หัวเราะเสียงดังขณะละหมาด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

91

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 11 ประเภทของการละหมาด ประเภทที่ 1 ละหมาดฟรฎ ก. การละหมาดฟรฎ 5 เวลา 1) ละหมาดซุบฮฺ หรือละหมาดฟจรฺ มี 2 รอคอะฮฺ 2) ละหมาดซุฮฺรี มี 4 รอคอะฮฺ 3) ละหมาดอัศรี มี 4 รอคอะฮฺ 4) ละหมาดมัฆริบ มี 3 รอคอะฮฺ 5) ละหมาดอีชา มี 4 รอคอะฮฺ ข.ละหมาดุมอุ ะฮฺ 1. บัญญัติของการละหมาด(หุกมฺ) ละหมาดุมุอะฮเปนฟรฎอนี (วายิบเหนือทุกคน) เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา (#ρâ‘sŒuρ «!$# Ìø.ÏŒ 4’n<Î) (#öθyèó™$$sù Ïπyèßϑàfø9$# ÏΘöθtƒ ÏΒ Íο4θn=¢Á=Ï9 š”ÏŠθçΡ #sŒÎ) (#þθãΖtΒ#u tÏ%©!$# $pκš‰r'¯≈tƒ ∩∪ tβθßϑn=÷ès? óΟçGΨä. βÎ) öΝä3©9 ×öyz öΝä3Ï9≡sŒ 4 yìø‹t7ø9$#

โอมวลชนผูมศี รัทธาทั้งหลาย เมื่อมีการประกาศใหทําละหมาดในวันศุกร พวกเจาก็จงรีบเรงมายัง การระลึกถึงอัลลอฮฺ (ดวยการทําละหมาดโดยพรอมเพรียงกัน) และพวกเจาจงละการขายไว (ในชวงเวลานั้น) นั้นเปนความประเสริฐที่สุดสําหรับพวกเจา หากพวกเจารู (อัลุมุอะฮฺ :9) และทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ฉันเองใหความสําคัญกับการสั่งใชใหชายคนหนึ่งทําการละหมาดนํา ผูคน และผูใดที่ไมยอมออกจากบานไปละหมาดในวันศุกร ก็จะใหทําการเผาบานของพวกเขาเสีย” รายงาน โดยอะหฺมัด และทานมุสลิม และทานก็ยังกลาวไวในอีกฮาดิษหนึ่งวา “ปลอยพวกเขาไป(อยาไดสนใจ)เพราะ พวกเขาละทิ้งการละหมาดในวันศุกร หรือ อัลลอฮจะทรงปดผนึกหัวใจของพวกเขา ตอไปพวกเขาก็จะ กลายเปนคนเผอเรอหลงลืม” รายงานโดยมุสลิม อัลนะซาอียและทานอะหฺมัด และทานรอซูลุลลอฮ  ไดเตือนสําทับแกผูที่ละทิ้งละหมาดไววา “ผูใดละทิ้งการละหมาดวันศุกร ถึง 3 ครั้งโดยไมใสใจ อัลลอฮก็จะทรงประทับตราหัวใจของพวกเขา(ใหปดผนึก) รายงานโดยเจาของซูนัน และทานอัลฮากิม 2. การละหมาดุมุอะฮฺ(วันศุกร)มีบัญญัติมาเหนือผูใด ละหมาดุมุอะฮฺ(วันศุกร) วายิบเหนือชายมุสลิมที่มีสติสัมปชัญญะ มีอายุครบตามศาสนภาวะ ที่อยู กับบาน และสามารถเดินทางไปมัสยิดเพื่อละหมาดได ไมวายิบสําหรับสตรีเพศ เด็กเล็ก ๆ ผูปวย หากเดินไปมัสยิดแลวจะเกิดโทษกับรางกาย ผูดูแลผูปวย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

92

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ที่ไมอาจละทิ้งไปได32 ผูที่อยูระหวางการเดินทางไกล ผูที่มีความกลัว ผูที่มีเหตุจําเปนเชน ฝนตกหนัก หรือ กลัววาจะเกิดอันตรายระหวางทาง 33 หากผูที่ไมไดมีบัญญัติใหปฏิบัติ มารวมละหมาดุมุอะฮฺดวย การละหมาดของเขาก็จะสมบูรณ ถูกตองใชการได และละหมาดฟรฎชวงเวลานั้นก็ตกไป 3.ชวงเวลาและเงื่อนไขการละหมาดุมุอะฮฺ เวลาละหมาดุมุอะฮฺ(วันศุกร)คือชวงเวลาละหมาดซุฮฺรี สวนเงื่อนไขของการละหมาดคือ ก. ตองละหมาดเปนหมูคณะ(ยามาอะฮฺ) ซึ่งทานนบี  ไดกลาวไววา “การละหมาดุมุอะฮฺเปน หนาที่ที่วายิบเหนือชายมุสลิมทุกคนดวยการละหมาดเปนหมูคณะ(ยามาอะฮฺ)” รายงานโดยอาบูดาวุด คําวา ยามาอะฮฺในที่นี้หมายถึง 3 คนขึ้นไป โดยไมนับรวมอีหมาม แตอัชชาฟอียะฮฺมีเงื่อนไขไววา จะตองมีผู มารวมละหมาดอยางนอย 40 คน ที่เปนคนในพื้นที่ สวนมาลิกียะฮฺ กําหนดไววา ตองมีผูมารวมละหมาด อยางนอย 12 คน โดยไมนับรวมอีหมาม ข.ชาฟอียมีเงื่อนไขอีกประการหนึ่งวาตองละหมาดในอาคาร ค.สวนอัลอะหฺนาฟ กลับมีเงื่อนไขวา อีหมามจะตองอนุญาต 4. คุตบะฮฺของยุมุอะฮฺ (วันศุกร) คุตบะฮฺวันศุกร นักวิชาการสวนใหญใหทัศนะวาเปนวายิบ เงื่อนไขของคุตบะฮฺ การอานคุตบะฮฺมีเงื่อนไขวา จะตองอานกอนการละหมาด ในเวลาซุฮรี จํานวนผูละหมาดจะตองเขา มารับฟง ระหวางสองคุตบะฮฺจะตองมีการนั่งพัก ผูอานจะตองยืนอาน และจะตองสะอาดปราศจากฮาดัษ (แตฮานาฟยและชาฟอียกลับใหทัศนะวาเปนเพียงซูนัตเทานั้น) ระหวางการอานคุตบะฮฺกับการละหมาด จะตองไมมีการกระทําอื่นมาขั้นกลาง และคุตบะฮฺไมจําเปนตองอานเปนภาษาอาหรับ แตทางที่ดีคอตีบ จะตองอานเปนภาษาอาหรับแลวอธิบายเปนภาษาที่สามารถเขาใจได ในการอานคุตบะฮฺจะตองมีการกลาว วาอัลฮัมดุลิลละฮฺ (‫ﷲ‬ ِ ‫)ﺍﳊﻤﺪ‬และตองกลาวซอลาวัตใหกับทานนบี (‫ )ﻭﺍﻟﺼﻼﺓ ﻭﺍﻟﺴﻼﻡ ﻋﻠﻰ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ตองมี การอานอายะฮฺอัลกุรอาน ตองมีการขอพรใหกับมุสลิมและตองมีการสั่งเสียใหมีความยําเกรงตออัลลอฮ 5.มารยาทในการปฏิบัติ และสิ่งที่เกี่ยวของกับวันศุกร • อาบน้ําชําระรางกาย เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา”เมื่อคนหนึ่งคนใดจากพวกทานตองการ ไปละหมาดุมุอะฮฺ(วันศุกร) ก็จงอาบน้ําชําระรางกาย” รายงานโดยบุคอรียลและมุสลิม 32

เพราะทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ ุมุอะฮฺ เปนหนาที่ที่จําเปนตองปฏิบัติสําหรับชายมุสลิม ซึ่งตองละหมาดยามาอะฮฺ ยกเวนคนสี่

กลุม คือ ทาส สตรีเพศ เด็ก ๆ ผูปวย” รายงานโดย อาบูดาวุด ทานนวาวีกลาววา ฮาดิษนี้ซอเหียะหฺ เพราะทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวตอบกรณีที่มีผูถามวา “คําวาเหตุจําเปนหมายถึงอะไร” ทานก็ตอบวา กลัว หรือปวย” รายงานโดยอาบู ดาวุด ดวยสายรายงานที่ถูกตอง 33

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

93

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• แตงกายใหเรียบรอยสวยงาม ตัดเล็บ แปรงฟน ใสเครื่องหอม ใสเสื้อผาที่สวยงาม • อานดุอาใหมากๆ ทานรอซูลุลลอฮไดกลาวไววา “ในวันศุกรหากมุสลิมทานใดทันเวลา ที่จะทํา ละหมาด สิ่งใดที่เขาวอนขออัลลอฮก็จะทรงประทานใหทั้งหมด” รายงานโดยบุคอรียและ มุสลิม • กลาวซอลาวัตใหกับทานนบีใหมาก ๆ เพราะทานไดกลาวไววา “วันที่ดีที่สุดสําหรับพวกทาน คือวันศุกร ทานควรจะกลาวซอลาวัตใหกับฉันใหมาก ๆ ในวันนั้น การกลาวซอลาวัตของพวก ทานจะถูกนําเสนอมายังฉัน” รายงานโดยอาบูดาวุด • ใหอานซูเราะฮฺ อัลกะฮฺฟย เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “ผูใดอานซูเราะฮฺอัลกะฮฟย ในวัน ศุกรขณะมีน้ําละหมาด ก็จะมีแสงสองใหกับเขาระหวางสองวันศุกร” บันทึกโดยอัลฮากิม ใน หนังสืออัลมุสตัดริก และทานก็กลาววาฮาดิษนี้รายงานถูกตอง • บริจาคทานใหมาก ๆ อานอัลกุรอานใหมาก ๆ และควรประพฤติแตสิ่งดี ๆ การกระทําที่เกี่ยวของกับการละหมาดและคุตบะฮฺในวันศุกร - กลาวตักบีร ขณะเดินไปมัสยิด และควรเดินอยางสงบ นอบนอมถอมตน - อยากาวยางสกัดกั้นผูคน หรือแยกกันระหวางสองคน - ไมเดินผานหนาผูที่กําลังละหมาด - พยายามละหมาดในแถวแรกใหได - อยาไดขยับเปลี่ยนที่นั่งหลังอีหมามขึ้นสูมิมบัรแลว จะทําใหสับสนระหวางการตอบรับ การอาซานและการฟงคุตบะฮฺ - ยุติการพูด เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษวา “หากทานพูดกับเพื่อนของทานวา จง เงียบฟง ..ในวันศุกร ขณะที่อีหมามกําลังอานคุตบะฮฺ แทจริงแลว ทานไดพูดดวยคําพูด ที่ไมดีไปแลว” รายงานโดย อัลยะมาอะฮฺ และหามกินและดื่ม หรือเขียนหนังสือ ขณะอี หมามอานคุตบะฮฺ - ซูนัตใหทําการละหมาดกอนการอาซานตามตองการและหลังุมุอะฮฺสี่รอคอะฮฺ เพราะ ทานนบี  ไดกลาวไววา “เมื่อคนหนึ่งคนใดจากพวกทานละหมาดุมุอะฮฺเสร็จแลว ก็จงละหมาด 4 รอคอะฮฺ” รายงานโดยมุสลิม - หลังอาซานไมซูนัตใหทําการละหมาด ยกเวนการละหมาดตะฮิยะตุลมัสยิด เพราะ ทานนบี  ไดกลาวไววา “ เมื่อคนหนึ่งคนใดจากพวกทานมาในวันศุกร ขณะที่อี หมามกําลังอานคุตบะฮฺอยู ก็ควรละหมาดสองรอคอะฮฺ (ตะฮิยะตุลมัสยิด) เพื่อเปนการ ขออนุญาตดวยละหมาด” รายงานโดยมุสลิม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

94

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

3. การละหมาดญานาซะฮฺ (ละหมาดศพ) 1.การละหมาดญานาซะฮฺ(ละหมาดศพ) เปนฟรฎกีฟายะฮฺหากคนใดคนหนึ่งทําแลวก็พนความ รับผิดชอบของทั้งหมด แตหากไมมีใครกระทําทุกคนก็จะเปนบาป 2.การละหมาดญานาซะฮฺมีการตักบีร 4 ครั้ง ยืนเพียงครั้งเดียวไมมีการโคงรอเกาะอฺและซูยุด 3.เงื่อนไขของการละหมาดก็เหมือนการละหมาดทั่วไป แตก็มีเพิ่มเติมบางประการดังนี้ 1) ศพที่จะทําการละหมาดจะตองอยูตอหนาผูละหมาด34 2) ศพจะตองเปนศพที่เสียชีวิตปกติ ไมใชเปนคนตายชะฮิด35 4.วิธีละหมาด มีดังนี้คือ 1) ตั้งเจตนา 2) กลาวตักบีรพรอมยกมือทั้งสองขึ้น แลวอานซูเราะฮฺฟาติหะฮฺ 3) ตักบีรที่สองพรอมกับยกมือทั้งสองขึ้น แลวอานซอลาวัตใหกับทานนบี (ซอลาวัต แบบอิบรอฮีมียะฮฺ) 4) ตักบีรที่สาม พรอมยกมือทั้งสองขางขึ้น แลวอานดุอาใหกับผูตายตามตองการแตตอง เปนดุอาที่มีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษ เชน ‫ ﻭﺍﻏﺴِﻠﻪ ﺑﺎﳌﺎﺀ ﻭﺍﻟﺜﱠﻠﺞ‬،‫ ﻭﻭﺳﱢﻊ ﻟﻪ ﻣُﺪﺧﻠﻪ‬،‫ ﻭﺃﻛﺮﻡ ُﻧﺰُﻟﻪ‬،‫ﻒ ﻋﻨﻪ‬ ُ ‫ ﻭﻋﺎﻓِﻪ ﻭﺍﻋ‬،‫* » ﺍﻟﻠﻬ ّﻢ ﺍﻏﻔﺮ ﻟﻪ ﻭﺍﺭﺣَﻤﻪ‬ ‫ﻼ ﺧـﲑﹰﺍ ﻣـﻦ‬ ‫ ﻭﺃﻫ ﹰ‬،‫ ﻭﺃﺑ ِﺪﻟﹾﻪ ﺩﺍﺭﹰﺍ ﺧﲑﹰﺍ ﻣﻦ ﺩﺍﺭﻩ‬،‫ﺏ ﺍﻷﺑﻴﺾ ﻣﻦ ﺍﻟﺪﱠﻧﺲ‬ َ ‫ ﻭﻧﻘﱢﻪ ﻣﻦ ﺍﳋﹶﻄﺎﻳﺎ ﻛﻤﺎ ﻧﻘﱠﻴﺖ ﺍﻟﺜﻮ‬،‫ﻭﺍﻟَﺒﺮَﺩ‬ ،« ‫ ﻭﺃ ِﻋﺬﹾﻩ ﻣﻦ ﻋَﺬﺍﺏ ﺍﻟﻘﹶﱪ ﻭﻣِﻦ ﻋَﺬﺍﺏ ﺍﻟﻨﱠﺎﺭ‬،‫ ﻭﺃﺩﺧﻠﻪ ﺍﳉﻨﱠﺔ‬،‫ ﻭﺯﻭﺟﹰﺎ ﺧﲑﹰﺍ ﻣﻦ ﺯَﻭﺟﻪ‬،‫ﺃﻫﻠﻪ‬

รายงานโดยมุสลิม หรือดุอาที่วา ‫ ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﻣﻦ ﺃﺣﻴﻴﺘﻪ ِﻣﻨﱠﺎ ﻓﹶﺄﺣﻴِـﻪ‬،‫ ﻭﺫﹶﻛﺮﻧﺎ ﻭﺃﹸﻧﺜﺎﻧﺎ‬،‫ ﻭﺻَﻐﲑﻧﺎ ﻭﻛﹶﺒﲑﻧﺎ‬،‫ ﻭﺷﺎﻫِﺪﻧﺎ ﻭﻏﺎﺋﺒﻨﺎ‬،‫* » ﺍﻟﻠﱠﻬ ﱠﻢ ﺍﻏﻔِﺮ ﳊﻴﱢﻨﺎ ﻭﻣﻴﱢﺘﻨﺎ‬ .« ‫ ﻭﻻ ﺗُﻀﻠﻨﺎ ﺑﻌَﺪﻩ‬،‫ ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﻻ ﺗَﺤﺮﻣﻨﺎ ﺃﺟﺮﻩ‬.‫ ﻭﻣَﻦ ﺗﻮﱠﻓْﻴﺘَﻪ ﻣﻨّﺎ ﹶﻓﺘَﻮﻓﱠﻪ ﻋﻠﻰ ﺍﻹِﳝﺎﻥ‬،‫ﻋﻠﻰ ﺍﻹِﺳﻼﻡ‬ รายงานโดยมุสลิมและผูรายงานทั้งสี่ 5) ตักบีรที่สี่พรอมกับยกมือทั้งสองขางขึ้น พรอมกับอานดุอาวา – .« ‫» ﺍﻟﻠﻬ ّﻢ ﻻ ﺗَﺤﺮﻣﻨﺎ ﺃﺟﺮﻩ ﻭﻻ َﺗ ﹾﻔِﺘﻨّﺎ ﺑﻌَﺪﻩ‬ รายงานโดย อัตตัรมีซียและอาบูดาวุด

34

ตามทัศนะของชาฟอีย และฮะนาบิละฮฺ สามารถละหมาดใหกับศพที่อยูไกลได เพราะทานนบีเคยทําละหมาดใหกับนัจยาชี เมื่อทานรูขาว ฮาดิษรายงานโดย อัลยะมาอะฮฺ 35

คนที่ตายชะฮิด จะไมมีการอาบน้ํา ไมมีการละหมาด สวนทัศนะของอัลอะฮฺนาฟ ไมตองอาบน้ําแตตองละหมาดให เพราะทานรอซูลุลลอฮ

 เคยละหมาดใหกับศพที่เสียชีวิตในสมรภูมิ อุฮุด ฮาดิษรายงานโดยบัยฮะกีย ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

95

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

การละหมาดซูนัต ก.การละหมาดวิติร (‫ )ﺻﻼﺓ ﺍﻟـﻮﺗﺮ‬การละหมาดวิติรเปนซูนัตมุอักกัด ตามทัศนะของุมฮูรุลฟุกอ ฮะอฺ สวนฮานาฟยะฮฺ เห็นวาเปนวายิบ และนี่คือบัญญัติเกี่ยวกับการละหมาดวิติร 1) กําหนดเวลาของการละหมาดวิติร คือ หลังจากเวลาของละหมาดอีชา ไปจนกระทั่งถึงแสงอรุณ ขึ้น ซูนัตใหทอดเวลาไปในชวงสุดทายของกลางคืนสําหรับผูที่สามารถกระทําได เพราะทานนบี  ไดกลาว ไววา “ ทานทั้งหลายควรใหการละหมาดสุดทายในตอนกลางคืนของทานเปนละหมาดวิติร” รายงานโดยบุ คอรียและมุสลิม และทานยังกลาวไวอีกวา “แทจริงแลวอัลลอฮไดทรงเพิ่มการละหมาดใหกับพวกทาน คือ ละหมาดวิติร ในชวงเวลาระหวางละหมาดอีชากับละหมาดฟะยัร (ซุบฮฺ)” บันทึกโดยอะหฺมัด 2) การละหมาดวิติร จะตองเปน 1 รอคอะฮฺ 3รอคอะฮฺ 5,7,9,11 รอคอะฮฺ และ 3 รอคอะฮฺจะ เหมาะสมที่สุด ผูละหมาดจะทําการละหมาดรวดเดียว 3 รอคอะฮฺแลวใหสลาม36 หรือจะแยกกันเปน 2 รอคอะฮฺแลวใหสลามหนึ่งครั้งก็ได จากนั้นก็ลุกขึ้นละหมาดที่สาม 3) ซูนัตใหอานกุนุตในรอคอะฮฺสุดทายกอนการรอเกาะอฺ (ตามทัศนะของอะฮนาฟ) และหลังรอ เกาะอฺ (ตามทัศนะของอัลฮะนาบิละฮฺและชาฟอียะฮฺ) แตตามทัศนะของชาฟอีย การอานกุนูตใหอานในสวน ที่สองของเดือนรอมฎอนเทานั้น(หมายถึงในชวงสิบหาวันหลังของเดือน) สวนคําอานของดุอากุนูตคือ

‫ ﻭﺑﺎﺭِﻙ ﱄ ﻓﻴﻤـﺎ‬،‫ ﻭﺗﻮﻟﱠﲏ ﻓﻴﻤﻦ ﺗﻮﻟﱠﻴﺖ‬،‫ ﻭﻋﺎﻓِﲏ ﻓﻴﻤﻦ ﻋَﺎﻓﹶﻴﺖ‬،‫» ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﺍﻫﺪِﱐ ﻓﻴﻤَﻦ ﻫَﺪﻳﺖ‬ ‫ ﺗﺒﺎﺭَﻛـﺖ‬،َ‫ ﻭﺇﻧﱠﻪ ﻻ َﻳ ِﺬﻝﱡ ﻣﻦ ﻭﺍﹶﻟْﻴﺖ‬،‫ ﻓﺈﻧﱠﻚ ﺗَﻘﻀﻲ ﻭﻻ ﻳُﻘﻀﻰ ﻋﻠﻴﻚ‬،‫ ﻭﻗِﲏ ﺷ ﱠﺮ ﻣﺎ ﻗﻀَﻴﺖ‬،‫ﺃﻋﻄﹶﻴﺖ‬ « ‫ﺭﺑﻨﺎ ﻭﺗﻌﺎﻟﹶﻴﺖ‬ รายงานโดยอะหฺมัดและเจาของซุนัน ฉันเอง (ผูเขียน) ชอบที่จะดุอาดวยดุอาของทาน อุมัร37 ซึ่งมีปรากฏอยูในรายงานของทานอับ ดุลลอฮ บิน มัสอูด ซึ่งอัลอะฮฺนาฟใหทัศนะวาเปนดุอาที่ดีที่สุด 4) ซูนัตใหละหมาดวิติรแบบเปนหมูคณะในเดือนรอมฎอน โดยละหมาดตามติดมากับละหมาดตะ รอวีฮฺ ถึงแมวาจะไมใชเดือนรอมฎอนก็อนุญาตใหทําการละหมาดแบบเปนหมูคณะได (แบบญามาอะฮฺ) เชนเดียวกับละหมาดซูนัตอื่น ๆ ที่ไมมีหลักฐานระบุไว 5) ซูนัตใหทําการละหมาดวิตีรชดเชย หากมีการขาดละหมาดในเวลาของมัน เชนเมื่อละหมาดใน

36

นี่คือทัศนะของมัซฮับ อะฮฺนาฟ สําหรับพวกเขาการละหมาดวิติร ก็เหมือนละหมาดมัฆริบ

37

ซึ่งทานไดอานวา ، ‫ ﻧﺸﻜﺮﻙ ﻭﻻ ﻧﻜﻔﹸﺮﻙ‬، ‫ ﻭﻧُﺜﲏ ﻋﻠﻴﻚ ﺍﳋﲑ ﻛﻠﻪ‬، ‫ ﻭﻧﺘﻮﻛﻞ ﻋﻠﻴﻚ‬، ‫ ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺇﻧﺎ ﻧﺴﺘﻌﻴﻨﻚ ﻭﻧﺴﺘﻬﺪﻳﻚ ﻭﻧﺴﺘﻐﻔﺮﻙ ﻭﻧﺘﻮﺏ ﺇﻟﻴﻚ ﻭﻧﺆﻣﻦ ﺑﻚ‬: ‫ ﺇ ﱠﻥ ﻋﺬﺍﺑﻚ ﺍﳉﺪ ﺑﺎﻟﻜﻔﱠﺎﺭ‬، ‫ ﻧﺮﺟﻮ ﺭﲪﺘﻚ ﻭﳔﺸﻰ ﻋﺬﺍﺑﻚ‬، ‫ ﻭﺇﻟﻴﻚ ﻧﺴﻌﻰ ﻭﳓﻔِﺪ‬، ‫ ﻭﻟﻚ ﻧﺼﻠﱢﻲ ﻭﻧﺴﺠﺪ‬، ‫ ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺇﻳﺎﻙ ﻧﻌﺒﺪ‬، ‫ﻭﳔﻠﻊ ﻭﻧَﺘﺮﻙ ﻣﻦ ﻳﻔﺠُﺮﻙ‬ .( ‫ ﺿﺪ ﺍﳍﺰﻝ ﻭﺗﺄﰐ ﲟﻌﲎ ﺍﻟﻌﻈﻴﻢ‬: ‫ﻣُﻠﺤَﻖ ) ﺍﳉﺪ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

96

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ตอนตนของกลางคืนและมาตื่นตอนชวงสุดทายของตอนกลางคืน ก็ไมตองละหมาดกลับมาละหมาดอีก เพราะทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ในหนึ่งคืนไมควรมีละหมาดวิติรสองครั้ง” รายงานโดยอะหฺมัด และนักรายงานทั้งสาม 6) ผูละหมาดควรกลาวหลังการละหมาดวา (‫ )ﺴﺒﺤﺎ َﻥ ﺍﻟﻤﻠِﻙ ﺍﻟﻘﺩﱡﻭﺱ‬3 ครั้ง เพราะมีรายงานจากทาน อาบูดาวุดไวในซุนันของทาน ซูนัตรอวาติบ ซูนัตใหทําการละหมาดพรอม ๆไปกับการละหมาดฟรฎหาเวลา ดังที่ทานรอซูลุลลอฮ  เคย ละหมาด ทานรอบีอะฮฺ บิน มาลิก อัลอัสละมีย  ไดรายงานไววา ทานนบี ไดพูดกับฉันวา “จงถามมาสิ” ฉันก็เลยเรียนถามทานไปวา “ ผูที่จะอยูพรอมกับทานในสวรรคคือใคร” ทานก็ถามกลับมาวา “มีอยางอื่นอีก ไหม” ฉันก็ตอบวา “ใชอยางนั้น” ทานก็ตอบวา “ทานจงปฏิบัติตามฉัน ดวยการซูยุดใหมากๆ” รายงานโดย มุสลิม ในรายงานของทานหญิงอุมมุลฮะบีบะฮฺ บินตฺ อาบียซุฟยาน ไดรายงานไววา ฉันเองไดยินทานรอซู ลุลลอฮ  เคยกลาวไววา “ไมมีมุสลิมคนใดที่ทําการละหมาดตออัลลอฮในทุกวันถึง 12 รอคอะฮฺ โดย ละหมาดซูนัตนอกเหนือไปจากฟรฎ นอกเสียจากวาพระองคจะทรงสรางบานใหกับเขาไวในสวรรค” รายงานโดยมุสลิม ลําดับการละหมาดซูนัต 1.ซูนัตฟะยัรฺ มี 2 รอคอะฮฺ ซึ่งจะทําการละหมาดกอนการละหมาดฟรฎ หากขาดก็ใหทําการ ละหมาดชดเชย เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูในฮาดิษของทานอัมรอน บิน ฮุซัยน ดังที่ทานอัลบุคอรียและ มุสลิมไดรายงานไว38 ทานหญิงอาอิชะฮฺ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) ไดกลาวไววา “ไมมีละหมาดซูนัต ใดที่ทานนบีรักษาเวลาเกินกวาละหมาดสองรอคอะฮฺกอนละหมาดฟยัร” ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “การละหมาดสองรอคอะฮฺกอนละหมาดฟยัร ประเสริฐกวาโลก นี้และสิ่งตาง ๆ ในโลกนี้ทั้งหมด” รายงานโดยมุสลิม อีกทั้งยังเปนซูนัตมุอักกัดที่มีระดับใกลกับวายิบ 2. ซูนัตในเวลาซุฮฺรมีทั้งหมด 4 รอคอะฮฺ กอนละหมาดซุฮฺร 2 รอคอะฮฺ และหลัง 2 รอคอะฮฺ39 และ ทานรอซูลุลลอฮ  มีอยูครั้งหนึ่งขณะที่ทานเดินทาง ทานไดนอนหลับและมาตื่นอีกครั้งหลังรูสึกรอน ทานก็ยกบังแดดขึ้นเล็กนอยเพื่อให ความรอนผอนคลายลง จากนั้นทานก็สั่งใหทําการอาซาน และทานก็ละหมาดซูนัตสองรอคอะฮฺ ซึ่งเปนซูนัตกอนฟยัร จากนั้นทานก็ลุกขึ้น

38

ละหมาดฟยัรตอ” 39

เพราะมีฮาดิษจากทานหญิงอาอีชะฮฺวา ทานนบี  ทําการละหมาดที่บานของทานกอนละหมาดซุฮร 4 รอคอะฮฺ จากนั้นทานก็ออกไปละหมาดนํา

ใหกับผูคน แลวกลับเขามาที่บาน จากนั้นก็ละหมาดอีก 2 รอคอะฮฺ ..รายงานโดยมุสลิม และมีฮาดิษของบุคอรีย สนับสนุนอีกหลายฮาดิษ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

97

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

นี่คือทัศนะที่ถูกตองมากที่สุด อีกรายงานหนึ่งรายงานวา ละหมาดกอนซุฮฺร 4 รอคอะฮฺหลังอีก 4 รอคอะฮฺ 3. ซูนัตในเวลาอัศริ มี 2 รอคอะฮฺ (ดังที่ทานอาบูดาวุด ไดรายงานไวจากทานอาลี) หรือ ละหมาด 4 รอคอะฮฺ (ดังรายงานของทานอาบูดาวุด และทานอัตตัรมีซีย จากทานอิบนุ อุมัร ) กอนการละหมาดฟรฎ 4.ซูนัตในเวลามัฆริบ คือละหมาด 2 รอคอะฮฺหลังละหมาดฟรฎ เปนซูนัตมุอักกัด (ดังที่อัลบุคอรีย และมุสลิมไดรายงานไว) สองรอคอะฮฺเปนละหมาดซูนัตสําหรับผูที่ตองการ (ดังที่ชัยคอนไดรายงานไว) และนี่คือทัศนะของมัซฮับชาฟอีย และอัลฮะนาบิละฮฺ 5.ซูนัตในเวลาอีชา คือละหมาด 2 รอคอะฮฺ หลังละหมาดฟรฎ (ดังที่อัลบุคอรียและมุสลิมไดรายงาน ไว) สองรอคอะฮฺสําหรับผูที่ประสงค และนี่คือทัศนะของมัซฮับ อัชชาฟอียะฮฺ สวนอัลอะหฺนาฟ ซูนัตอีชา ใหละหมาด 4 รอคอะฮฺ กอนละหมาดฟรฎ และ 4 รอคอะฮฺหลังละหมาดฟรฎ ละหมาดซูนัตอื่น ๆ ละหมาดฎฮาอฺ มีรายงานจากทานอาบียฮุรอยเราะฮฺ วา “ผูเปนที่รักของฉันคือทานนบี ไดสั่งฉันไว วา ใหทําการถือศีลอด 3 วัน ของทุกเดือน และละหมาด 2 รอคอะฮฺในเวลาฎฮาอฺ หรือละหมาดวิติรกอน นอน” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม อีกฮาดิษหนึ่งกลาวไววา “ทุกขอกระดูกของพวกทานทุกคนลวน แลวแตมีสวนในการบริจาค ทุกครั้งที่กลาวตัสบิฮฺ ก็เปนการบริจาค ทุกครั้งที่กลาวตะฮฺมิด ก็จะเปนการ บริจาค ทุกครั้งที่กลาวตะฮฺลีล ก็จะเปนการบริจาค ทุกครั้งที่กลาวตักบีร ก็จะเปนการบริจาค การสิ่งใชใหทํา ความดีก็เปนการบริจาค การหามปรามจากสิ่งชั่วรายก็เปนการบริจาค สิ่งเหลานี้ทั้งหมดสามารถแทนไดดวย การละหมาด 2 รอคอะฮฺในเวลาดุฮาอฺ” รายงานโดยมุสลิม อาบูดาวุด และทานอะหฺมัด การละหมาดดุฮาอฺ ละหมาด 2 รอคอะฮฺ 4 รอคอะฮฺ หรือ 8 รอคอะฮฺ ซึ่งเหลานี้ทั้งหมดลวนแลวแตมี หลักฐานเปนอาดิษปรากฏอยูทั้งหมด แตสําหรับอัลอะหฺนาฟ มีทั้งหมด 16 รอคอะฮฺ ซึ่งมีฮาดิษเปนฮาดิษ ฮาซันเปนหลักฐาน เวลาของการละหมาดฎฮาอฺ คือชวงเวลาระหวางดวงอาทิตยขึ้นประมาณดามหอก ไปจนกระทั่งกอน เวลาตะวันคลอย 2.การละหมาดในขณะที่เกิดจันทรุปราคา หรือสุริยุปราคา เพราะมีรายงานจากทานอิบนุอับบาสวา “เกิดมีสุริยุปราคาขึ้นในสมัยของทานรอซูลุลลอฮ  ทานก็ทําการละหมาด ทานยืนละหมาดเปนเวลานาน ดวยการอานซูเราะฮฺบากอเราะฮฺ จากนั้นทานก็โคงรอเกาะอฺนาน แลวลุกขึ้นมายืนหลังนานกวาครั้งแรก จากนั้นก็โคงรอเกาะอฺนานกวาครั้งแรกอีก จากนั้นทานก็กราบซูยุด และลุกขึ้นยืนยาวนานกวาการยืนในครั้ง แรก จากนั้นก็รอเกาะอฺนาน กวารอเกาะอฺครั้งแรก แลวก็ลุกขึ้นยืน ดวยการยืนที่ยาวนานอีก แลวก็ทําการรอ เกาะอฺที่นานอีก แลวทานก็ยกศีรษะขึ้น แลวก็กราบซูยุด แลวก็ออกจากการละหมาด ซึ่งเปนเวลาที่ดวง อาทิตยคายออกแลว จากนั้นทานก็อานคุตบะฮฺใหกับผูคน” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม นักวิชาการมุสลิมเห็นพองตองกันวา การละหมาดในเวลาที่มีสุริยุปราคาและจันทรุปราคานั้นเปน ซุนัตมุ อัก กั ด สํ า หรั บทุก คนทั้ง หญิง และชาย ซูนั ต ใหทํ า ละหมาดกั บ เปน หมูคณะ และควรเรี ย กกั น ไป ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

98

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ละหมาดรวมกัน เพราะมีฮาดิษของทานอัลมุฆีรอฮฺ บิน ชุอฺบะฮฺ  รายงานไววา “มีสุริยุปราคาเกิดขึ้นใน สมัยของทานรอซู ลุลลอฮ  คือวัน ที่ทานอิบรอฮีม บุตรชายของทานรอซูลุลลอฮ  เสียชีวิต ซึ่งทาน เสียชีวิตในปที่ 10 แหงฮิจเราะฮฺ จนผูคนตางกลาวขานกันวา เกิดสุริยุปราคาเพราะการเสียชีวิตของทานอิบรอ ฮีม แตทานรอซู ลุลลอฮ  ก็ บอกวา “แทจ ริงแลวดวงอาทิตยและดวงจันทรนั้นเปนสั ญญาณหนึ่ง จาก สัญญานตางๆ ของอัลลอฮ มันไมไดเกิดเพราะการเปนการตายของใคร หากพวกทานเห็นมันเกิดขึ้น ก็จงขอ ดุอาตออัลลอฮ และจงละหมาดจนกวามันจะเปดออก” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม การละหมาดในวาระที่มีสุริยุปราคาหรือจันทรุปราคา มีวิธีละหมาดดังนี้คือ ละหมาด 2 รอคอะฮฺ แต ละรอคอะฮฺจะมีการรอเกาะอฺ 2 ครั้ง ดังปรากฏในฮาดิษที่กลาวมาแลวขางตน และซูนัตใหยืนและรอเกาะอฺ นานๆ เวลาละหมาดเริ่มตั้งแต เริ่มตนของการเกิดสุริยุปราคาหรือจันทรุปราคา ไปจนสิ้นสุด สวนการอานคุตบะฮฺหลังการละหมาด ทานอัชชาฟอียไดกําหนดใหเปนเงื่อนไขของการละหมาด สวนอาบีฮะนีฟะฮฺ และทานมาลิกกลับมีทัศนะวาเปนเพียงซูนัต หลังละหมาดเทานั้น บุตบะฮฺมีสองคุตบะฮฺ โดยสลับสับเปลี่ยนกันระหวางการตักบิรและการกลาวอิสติฆฟร (ขอกุลาโทษจากอัลลอฮ) ในการละหมาดใหอานดังหรืออานคอย ๆ ก็ได แตการอานดังจะถูกตองกวา เพราะมีหลักฐาน ปรากฏในอาดิษของทานอัลบุคอรียยืนยันไววา การละหมาดหากเปนละหมาดในวาระจันทรุปราคาก็ใหอาน ดังเพราะเปนชวงเวลากลางคืน 3. การละหมาดอิสติคอเราะฮฺ (‫ )ﺍﻹﺳﺘﺨﺎﺭﺓ‬มีรายงานจากทานยาบีร  รายงานวา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดสอนพวกเราเกี่ยวกับการละหมาดอิสติคอเราะฮฺในการงานตางๆ ทั้งหมด ทานสอนเหมือนสอนซู เราะฮฺ อัลกุรอาน ทานไดกลาวไววา “เมื่อทานทั้งหลายตั้งใจที่จะทําการสิ่งหนึ่งสิ่งใด ก็ใหทานจงละหมาด สองรอคอะฮฺ นอกเหนือไปจากละหมาดฟรฎ แลวใหอานดุอาวา ‫ ﻓﺈﻧﻚ ﺗﻘـﺪﺭ ﻭﻻ‬،‫ ﻭﺃﺳﺄﻟﻚ ﻣﻦ ﻓﹶﻀﻠِﻚ ﺍﻟﻌَﻈﻴﻢ‬،‫ ﻭﺃﺳﺘَﻘ ِﺪﺭُﻙ ﺑﻘﹸﺪ َﺭﺗِﻚ‬،‫)) ﺍﻟﻠﱠﻬ ﱠﻢ ﺇﱐ ﺃﹶﺳﺘَﺨﲑُ َﻙ ﺑﻌﻠﻤﻚ‬ ‫ ﺧ ٌﲑ ﱄ ﰲ‬- ‫ ﻭﻳﺴﻤﻲ ﺣﺎﺟﺘﻪ‬- ‫ﺖ ﺗﻌﻠﻢ ﺃﻥ ﻫﺬﺍ ﺍﻷﻣﺮ‬ َ ‫ ﺍﻟﻠﱠﻬ ﱠﻢ ﺇﻥ ﻛﻨ‬.‫ ﻭﺗَﻌﻠﻢُ ﻭﻻ ﺃﻋﻠﻢ ﻭﺃﻧﺖ ﻋﻠﹼﺎﻡ ﺍﻟﻐﻴﻮﺏ‬،‫ﺃﻗﺪﺭ‬ ‫ ﻭﺇﻥ ﻛﻨﺖ ﺗﻌﻠﻢ ﺃ ﹼﻥ ﻫﺬﺍ ﺍﻷﻣـﺮ ﺷَـ ٌﺮ ﱄ ﰲ‬.‫ ﰒ ﺑﺎﺭﻙ ﱄ ﻓﻴﻪ‬،‫ ﻭَﻳﺴﱢﺮﻩ ﱄ‬،‫ﺩﻳﲏ ﻭﻣَﻌﺎﺷﻲ ﻭﻋﺎﻗِﺒﺔ ﺃﻣﺮﻱ ﻓﺎﻗﺪُﺭﻩ ﱄ‬ .((‫ ﱠﰒ ﺭﺿﲏ ﺑﻪ‬،‫ﺚ ﻛﺎﻥ‬ ‫ ﻭﺍﻗﺪُﺭ ﱄ ﺍﳋﲑ ﺣﻴ ﹸ‬،‫ ﻭﺍﺻﺮﻓﲏ ﻋﻨﻪ‬،‫ﺩﻳﲏ ﻭﻣَﻌﺎﺷﻲ ﻭﻋﺎﻗﺒﺔ ﺃﻣﺮﻱ ﻓﺎﺻﺮِﻓﻪ ﻋﲏ‬ ฮาดิษรายงานโดยญามาอะฮฺยกเวนมุสลิม 4. การละหมาดเตาบะฮฺ (กลับตัวกลับใจจากการทําความผิด) มีรายงานจากทานอาบียบักร วาฉันได ยินทานรอซูลุลลอฮ  กลาวไววา “ ไมมีชายใดที่กระทําความผิด แลวก็ทําการชําระรางกาย จากนั้นก็ทําการ ละหมาดสองรอคอะฮฺ แลวกลาวขออภัยโทษตออัลลอฮ นอกเสียจากวาอัลลอฮจะทรงอภัยใหกับเขา” จากนั้นก็ใหอานอายะฮฺ

‫ ﻭﻣَﻦ َﻳﻐْﻔـﺮ‬،‫} ﻭﺍﻟﱠﺬﻳﻦ ﺇﺫﺍ ﻓﹶﻌﻠﻮﺍ ﻓﺎﺣِﺸ ﹰﺔ ﺃﻭ ﻇﹶﻠﻤﻮﺍ ﺃﻧ ﹸﻔﺴَﻬﻢ ﺫﹶﻛﺮﻭﺍ ﺍﷲ ﻓﺎﺳَﺘ ْﻐﻔﹶﺮﻭﺍ ِﻟﺬﹸﻧﻮﺑِﻬﻢ‬ ‫ﺼﺮﱡﻭﺍ ﻋﻠﻰ ﻣﺎ ﻓﹶﻌﻠﻮﺍ ﻭﻫُﻢ ﻳَﻌﻠﻤﻮﻥ * ﺃﻭﻟﺌﻚ ﺟَﺰﺍﺅﻫﻢ ﻣَﻐﻔﺮﹲﺓ ﻣﻦ َﺭﺑﱢﻬﻢ ﻭﺟﻨﺎﺕ‬ ِ ‫ ﻭﱂ ُﻳ‬،‫ﺏ ﺇ ﹼﻻ ﺍﷲ‬ َ ‫ﺍﻟﺬﱡﻧﻮ‬ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

99

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

.{ ‫ﺗَﺠﺮﻱ ﻣﻦ ﲢﺘﻬﺎ ﺍﻷﻬﻧﺎﺭ ﺧﺎﻟﺪِﻳﻦ ﻓﻴﻬﺎ‬ ฮาดิษรายงานโดยอาบูดาวุด อัลนะซาอีย อิบนุมายะฮฺ และทานอัลบัยฮะกีย และใหฮาดิษนี้เปนฮาดิษฮาซัน 5. การละหมาดอิสติสกออฺ ซึ่งหมายถึงการละหมาดที่ขอใหอัลลอฮทรงประทานฝนลงมา ขณะเมื่อมี ความแหงแลงเกิดขึ้น ละหมาดอิสติสกออฺ มี 2 รอคอะฮฺ เปนการละหมาดที่ไมมีการอาซานและอีกอมะฮฺ ละหมาดไดทุก เวลา อีหมามอานดัง ในรอคอะฮฺแรก ดวยการอานฟาติหะฮฺ และกลาวซูเราะฮฺซับบิฮฺสมารอบบิกัลอะลาอฺ (‫ )ﺳﺒﺢ ﺍﺳﻢ ﺭﺑﻚ ﺍﻻﻋﻠﻰ‬และในรอคอะฮฺที่สอง อานฟาติหะฮฺ และซูเราะฮฺอัลฆอชียะฮฺ จากนั้นอีหมามก็อาน คุตบะฮฺ สองคุตบะฮฺ เหมือนการอานคุตบะในวันตรุษ(‫ )ﺍﻟﻌﻴﺪ‬แตทานฮะนาบิละฮฺ บอกวามีเพียงคุตบะฮฺเดียว จากนั้นก็อานดุอาตามที่มีปรากฏในฮาดิษ 40 ทานรอซูลุลลอฮ  ไดพลิกผาจากทางดานขวามาเปนซาย และ จากซายมาเปนขวา การขอดุอา อีหมามสามารถขอในชวงที่อานคุตบะฮฺวันศุกรก็ได ดังที่ทานรอซูลุลลอฮ  ไดเคย ปฏิบัติ ดังปรากฏในรายงานของชัยคอน จากทานอนัสวา มีชายคนหนึ่งเขามาในมัสยิดซึ่งตรงกับวันศุกร ขณะที่ทานรอซูลุลลอฮ  กําลังอานคุตบะฮฺ เขาไดบอกกับทานรอซูลุลลอฮ วา ทรัพยสินเสียหายหมดแลว เพราะฝนไมตก ขอใหทานขอดุอาจากอัลลอฮใหประทานฝนมาใหกับพวกเราดวย วาแลวทานรอซูลุลลอฮ  ก็ยกมือทั้งสองขางขึ้นขอดุอาวา ( ...‫ ﺍﻟﻠﻬ ّﻡ ﺃ ِﻏ ﹾﺜﻨﹶﺎ‬،‫ )ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻡ ﺃ ِﻏﺜﹾﻨﺎ‬ซึ่งดุอานี้สามารถที่จะวอนขอตออัลลอฮ แมวาจะไมใชในวันศุกร แมวาจะไมไดละหมาดที่มัสยิดก็ตาม ฮาดิษนี้รายงานโดยทานอะหฺมัด อิบนุมายะฮฺ อัลบัยฮะกีย และอิบนุชัยบะฮฺ และทานอัลฮากิม 6. ละหมาดตะรอเวียะหฺ ทานนบี  ไดกลาวไววา “ผูใดลุกขึ้นละหมาดในเดือนรอมฎอนดวยความ ศรัทธา และคิดคํานวณเกี่ยวกับตนเอง อัลลอฮจะทรงอภัยในความผิดที่ผานมา” รายงานโดยบุคอรียและ มุสลิม ที่เรียกวาละหมาดตะรอเวียะหฺ (พักผอน) เพราะเมื่อละหมาดจบ 4 รอคอะฮฺก็จะมีการพักผอนหนึ่งครั้ง ละหมาดตะรอเวียะหฺ เปนซุนัตมุอักกัด สําหรับทานชายและทานหญิงในเดือนรอมฎอน ชวงเวลา หลังเสร็จ สิ้ น ละหมาดอี ชา และก อ นละหมาดวิ ติ ร และมีเ วลาตอเนื่อ งไปจนถึงแสงอรุ ณ ขึ้น ให ทํ าการ ละหมาด 2 รอคอะอฺ เพราะมี หลักฐานเปนฮาดิษวา “การละหมาดในตอนกลางคืน ให ละหมาดที ละ 2 ‫ ﺍﻟﻠﻬﻡ ﺇﻥ‬، ‫ ﺍﻟﻠﻬﻡ ﺍﺴﻘﻨﺎ ﺍﻟﻐﻴﺙ ﻭﻻ ﺘﺠﻌﻠﻨﺎ ﻤﻥ ﺍﻟﻘﺎﻨﻁﻴﻥ‬. ‫ﺤﹰﺎ ﺩﺍﺌﻤﹰﺎ‬ ّ‫ﺴ‬ َ ‫ﻼ ﻋﺎ ﱠﻤﹰﺎ ﻁﺒﻘﹰﺎ‬ ‫ﺍﻟﻠﻬﻡ ﺍﺴﻘﻨﺎ ﻏﻴﺜﹰﺎ ﻤﻐﻴﺜﹰﺎ ﻤﺭﻴﻌﹰﺎ ﻏﺩﻗﹰﺎ ﻤﺠﻠ ﹰ‬ ‫ ﺍﻟﻠﻬﻡ ﺃﻨﺒﺕ ﻟﻨﺎ‬. ‫ﺒﺎﻟﻌﺒﺎﺩ ﻭﺍﻟﺒﻼﺩ ﻭﺍﻟﺒﻬﺎﺌﻡ ﻭﺍﻟﺨﻠﻕ ﻤﻥ ﺍﻟﻸﻭﺍﺀ ) ﺃﻱ ﺍﻟﺘﻌﺏ ( ﻭﺍﻟﺠﻬﺩ ﻭﺍﻟﺫﱠﻨﻙ ﻤﺎ ﻻ ﻨﺸﻜﻭﻩ ﺇﻻ ﺇﻟﻴﻙ‬ ‫ ﺍﻟﻠﻬﻡ ﺍﺭﻓﻊ ﻋﻨﺎ ﺍﻟﺠﻬﺩ‬، ‫ ﻭﺃﻨﺒﺕ ﻟﻨﺎ ﻤﻥ ﺒﺭﻜﺎﺕ ﺍﻷﺭﺽ‬، ‫ ﻭﺍﺴﻘﻨﺎ ﻤﻥ ﺒﺭﻜﺎﺕ ﺍﻟﺴﻤﺎﺀ‬، ‫ﻀﺭﻉ‬ ّ ‫ ﻭﺃﺩ ّﺭ ﻟﻨﺎ ﺍﻟ‬، ‫ﺍﻟﺯﺭﻉ‬ ‫ ﻓﺄﺭﺴل‬، ‫ ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻡ ﺇﻨﺎ ﻨﺴﺘﻐﻔﺭﻙ ﺇﻨﻙ ﻜﻨﺕ ﻏﻔﺎﺭﹰﺍ‬. ‫ ﻭﺍﻜﺸﻑ ﻋﻨﺎ ﻤﻥ ﺍﻟﺒﻼﺀ ﻤﺎ ﻻ ﻴﻜﺸﻔﻪ ﻏﻴﺭﻙ‬، ‫ﻭﺍﻟﺠﻭﻉ ﻭﺍﻟﻌُﺭﻯ‬ . " ‫ﺍﻟﺴﻤﺎﺀ ﻋﻠﻴﻨﺎ ﻤﺩﺭﺍﺭﹰﺍ‬

ชาฟอีย กลาววา ดุอานี้อีหมามควรอาน เปนดุอาที่ดีที่สุด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

40


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

100

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

รอคอะฮฺ) รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม จํานวนที่ไดรับการยืนยันแลวคือ 8 รอคอะฮฺ ซึ่งมีหลักฐานปรากฏในซุนนะฮฺที่ถูกตอง แตซูนัตให ละหมาดไดถึง 20 รอคอะฮฺ เพราะบรรดาคอลีฟะฮฺและซอฮาบะฮฺของทานนบี เคยปฏิบัติ และนี่คือทัศนะ ของมัซฮับ อัลอะฮฺนาฟ ชาฟอียะฮฺ อัลฮะนาบิละฮฺ และอัลุมฮูร ซูนัตใหละหมาดแบบเปนหมูคณะ (ญา มาอะฮฺ) (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมเรื่องละหมาดตะรอเวียะหฺ ในบทการถือศีลอดของหนังสือเลมนี้) 7.กียามุลลัย คือการลุกขึ้นมาเพื่อทําการละหมาดซูนัต นับไดวาเปนการกระทําที่ใกลชิดตออัลลอฮ มากที่สุด ทานนบี  ก็ใชใหปฏิบัติ อัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา ∩∠∪ #YŠθßϑøt¤Χ $YΒ$s)tΒ y7•/u‘ y7sWyèö7tƒ βr& #|¤tã y7©9 \'s#Ïù$tΡ ϵÎ/ ô‰¤fyγtFsù È≅ø‹©9$# zÏΒuρ

และบางชวงของยามกลางคืน เจาจงตื่นขึน้ ทําละหมาด “ตะฮัจยุด” เถิด เปนละหมาดที่แถมใหแกเจา หวังไดวา องคอภิบาลของเจาคงจะแตงตัง้ เจาในตําแหนงอันควรสรรเสริญ และในอีกอายะฮฺหนึ่งอัลลอฮทรงตรัสไววา ∩⊇∇∪ tβρãÏøótGó¡o„ öΛèε Í‘$ptôF{$$Î/uρ ∩⊇∠∪ tβθãèyföκu‰ $tΒ È≅ø‹©9$# zÏiΒ Wξ‹Î=s% (#θçΡ%x.

พวกเขามีเวลาเพียงเล็กนอยในตอนกลางคืน สําหรับการนอนหลับและในตอนดึก (ยามใกลรุง) พวก เขาขออภัย (ตออัลลอฮฺดวยการทําละหมาด) ชวงเวลาของการละหมาดกียามุลลัย หลังละหมาดอีชาไปจนกระทั่งถึงละหมาดฟยัรฺ(ซุบฮฺ) ชวงเวลา ที่ดีที่สุด ชวงสุดทายของตอนกลางคืน และตองหลังจากนอนไปแลว การละหมาดไมจํากัดจํานวน แตจะทํา ครั้งละ 2 รอคอะฮฺ ซูนัต 11 รอคอะฮฺ เพราะมีหลักฐานปรากฏในฮาดิษของอาอิชะฮฺ ดังที่ไดกลาวมาแลว แต หากจะทําการละหมาดใหมากกวานั้นก็ไมเปนไร มารยาทในการปฏิบัติ ควรตั้งเจตนาไวกอ นนอน และควรเริ่มดวยการละหมาดสองรอคอะฮฺงาย ๆ จากนั้นก็ใหทาํ การละหมาดตามตองการ ควรปลุกครอบครัวใหลุกขึน้ ทําการละหมาดดวย แตหากรูสึกงวง นอนมาก ๆ ก็ใหกลับเขานอน จะตองไมสรางความยากลําบากใหกับตัวเอง แตควรจะกระทําเทาที่สามารถ กระทําได และหลังการละหมาดควรขอดุอาดวยดุอาที่มีปรากฏหลักฐานอยูในฮาดิษ41 8. ละหมาดในวันตรุษ (‫ )ﺍﻟﻌﻴﺪﻳﻦ‬ละหมาดวันตรุษเปนละหมาดซูนัตมุอกั กัด 42 สวนบัญญัติเกี่ยวกับการ 41

เชนดุอาที่วา "

‫ ﺃﻧﺖ‬، ‫ ﺃﻧﺖ ﹶﻗﻴﱢﻢ ﺍﻟﺴﱠﻤﺎﻭﺍﺕ ﻭﺍﻷﺭﺽ ﻭﻣﻦ ﻓﻴﻬﻦ ﻭﻟﻚ ﺍﳊﻤﺪ‬، ‫ ﺃﻧﺖ ﻧﻮﺭ ﺍﻟﺴﻤﺎﻭﺍﺕ ﻭﺍﻷﺭﺽ ﻭﻣﻦ ﻓﻴﻬﻦ ﻭﻟﻚ ﺍﳊﻤﺪ‬، ‫ﺍﻟﻠﻬﻢ ﻟﻚ ﺍﳊﻤﺪ‬ ‫ﻭﺑﻚ‬، ‫ ﺍﻟﻠﻬﻢ ﻟﻚ ﺃﺳﻠﻤﺖ‬، ‫ ﻭﺍﻟﺴﺎﻋﺔ ﺣﻖ‬، ‫ ﻭﻣُﺤﻤﺪ ﺣﻖ‬، ‫ ﻭﺍﻟﻨﺒﻴﻮﻥ ﺣﻖ‬، ‫ ﻭﺍﻟﻨﺎ ُﺭ ﺣﻖ‬، ‫ ﻭﺍﳉﻨﺔ ﺣﻖ‬، ‫ ﻭﻭﻋﺪُﻙ ﺍﳊﻖ ﻭﻟﻘﺎﺅﻙ ﺣﻖ‬، ‫ﺍﳊﻖ‬ ‫ﺖ‬ ُ ‫ ﻓﺎﻏﻔﺮ ﱄ ﻣﺎ ﻗﺪﻣﺖ ﻭﻣﺎ ﺃﺧﺮﺕ ﻭﻣﺎ ﺃﺳﺮﺭﺕ ﻭﻣﺎ ﺃﻋﻠﻨ‬، ‫ ﻭﺇﻟﻴﻚ ﺣﺎﻛﻤﺖ‬، ‫ ﻭﺑﻚ ﺧﺎﺻﻤﺖ‬، ‫ﺖ‬ ُ ‫ ﻭﺇﻟﻴﻚ ﺃﻧﺒ‬، ‫ﺖ‬ ُ ‫ ﻭﻋﻠﻴﻚ ﺗﻮﻛﻠ‬، ‫ﺁﻣﻨﺖ‬ . " ‫ ﺃﻧﺖ ﺍﷲ ﻻ ﺇﻟﻪ ﺇﻻ ﺃﻧﺖ‬، 42

นี่คือทัศนะของ มาลิกียะฮฺ และชาฟอียะฮฺ สวนอัลอะฮฺนาฟ กลับเห็นวา เปนวายิบ และอัลฮานาบิละฮฺใหทัศนะวาเปนฟรฎกิฟายะฮฺ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

101

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ละหมาดในวันตรุษนั้นมีดังนี้... 1. ละหมาดวันตรุษมี 2 รอคอะฮฺ ละหมาดเปนหมูคณะ โดยไมตองอาซานและอีกอมะฮฺ ดังหลักฐาน ปรากฏในฮาดิษของทานยาบีรวา “ ฉันไดละหมาดพรอมกับทานรอซูลุลลอฮ  ในวันตรุษ ทานเริม่ ดวยการ ละหมาดกอนการอานคุตบะฮฺ โดยไมมีการอาซานและอิกอมะฮฺ จากนั้นที่ก็ลุกขึ้นกับบิลาล แลวก็สั่งเสียให เกรงกลัวตออัลลอฮ และใหภักดีตออัลลอฮ และทําการตักเตือนผูคน....) รายงานโดยมุสลิม วิธีการละหมาด ก็เหมือนกับการละหมาดปกติทั่วไป ยกเวนการกลาวตักบีรพรอมกับยกมือ 7 ครั้งกา รอคอะฮฺครั้งแรก และ 5 ครั้งในรอคอะฮฺที่ 2 กอนเริ่มการอาน43 เพราะมีฮาดิษปรากฏอยูว า “ การตักบีรใน การละหมาดอีดิลฟตรีรอคอะฮฺแรก 7 ครั้ง และในรอคอะฮฺที่สอง 5 ครั้ง จากนั้นใหอานหลังจากนั้น” รายงาน โดยอัตตัรมีซีย ซูนัตใหอานระหวางสองตักบีร ดวยการอาน “‫ ”ﺍﳊﻤﺪ ﷲ ﻻ ﺍﻟﻪ ﺍﻻ ﺍﷲ ﻭﺍﷲ ﺍﻛﱪ‬และหลังการ ละหมาดอีหมามก็จะอานคุตบะฮฺ เหมือนวันศุกร เวลาละหมาดจะเริ่มตนตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจากขอบฟาประมาณ 6 เมตรหากเปนอีดลิ ฟตรี สวน ละหมาดอีดิลอัฎฮา ดวงอาทิตยขึ้นประมาณ 3 เมตร ไปจนกระทั่งถึงตะวันคลอย การละหมาดอิดทั้งสองสามารถละหมาดไดทั้งชายและหญิง เด็กและผูใ หญ ทั้งผูที่อยูก ับบานหรือผู ที่อยูระหวางการเดินทาง หากคนใดละหมาดไมทันพรอมกับยามาอะฮฺ ก็ใหทําการละหมาดคนเดียว ใน ทัศนะของอัลอะหฺนาฟ ใหละหมาด 4 รอคอะฮฺ โดยไมตอ งตักบีรเพิ่ม ไมควรทําการละหมาดซุนัตกอนและ หลังเสร็จสิ้น เพราะทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ไมมีการละหมาดกอนและหลังละหมาดอีด” รายงานโดย กลุมผูรายงานทั้งเจ็ด (‫)ﺍﻟﺴﺒﻌﺔ‬44 ในวันตรุษหรือวันอีด มุสลิมควร(ซูนัต)ใหอาบน้ําชําระรางกาย ใสน้ําเครื่องหอม สวมใสเสื้อผา สวยงามแลวออกไปทําการละหมาด โดยเดินออกไปทางหนึ่งแลวกลับอีกทางหนึ่ง ในวันนั้นใหกลาวตักบีร ใหมาก ๆ ดวยการกลาววา .‫ ﻭِﻟﻠﱠﻪ ﺍﳊﻤﺪ‬،‫ ﺍﷲ ﺃﻛﱪ‬،‫ ﺍﷲ ﺃﻛﱪ‬،‫ﺍﷲ ﺃﻛﱪ ﺍﷲ ﺃﻛﱪ ﻻ ﺇﻟﻪ ﺇﻟﹼﺎ ﺍﷲ‬ ในวันตรุษหรือวันอีดซุนัตใหมุสลิมรับประทานอินทผาลัมกอนออกไปทําการละหมาด

43

นี่คือทัศนะของยุฮรู สวนอัลฮานาฟยะฮฺ ใหตักบีร 3 ครั้งหลังการตักบีรอตุลเอียะหฺรอม กอนการอาน และอีก 3 ครั้ง ในรอคอะฮฺที่สอง

44

ตามทัศนะของชาฟอีย อนุญาตใหทําการละหมาดซูนัติไดกอนละหมาดอีด หลังจากที่ดวงอาทิตยขึ้นแลว ยกเวนอีหมาม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


102

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 12 ละหมาด หนวยที่ 1 การละหมาดยามาอะฮฺ (การละหมาดเปนหมูค ณะ) 1. คุณคาและบัญญัติเกี่ยวกับการละหมาด ในรายงานของทานอับดุลลอฮ บิน อุมัร  ไดกลาวไววา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “การ ละหมาดยามาอะฮฺ(ละหมาดเปนหมูคณะ) ดีกวาการละหมาดคนเดียวถึงยี่สิบเจ็ดเทา” รายงานโดยบุคอรีย มุสลิม 1) ทัศนะของอะหฺมัด อัลเอาซาอีย อัซซอฮิรียะฮฺ มีความเห็นวาเปนฟรฎอีน เพราะมีหลักฐานปรากฏ ในฮาดิษของอาบีฮุรอยเราะฮฺ  ซึ่งไดกลาวไววา มีชายตาบอดคนหนึ่งมาหาทานนบี  แลวก็เรียนถาม ทานนบีวา โอทานรอซูลุลลอฮ ฉันไมมีคนจูงไปมัสยิด จะอนุโลมใหฉันไมตองไปมัสยิดหรือไม ทานก็ อนุโลมใหกับเขา และเมื่อชายคนนั้นหันหลังเดินออกไปทานก็เรียกชายคนนั้น แลวถามวา ทานไดยินเสียง เรี ย กหรื อ ไม (เสี ย งอาซาน) เขาก็ ต อบว า ได ยิ น ท า นก็ ก ล า วว า “หากเป น เช น นั้ น ก็ จ งตอบรั บ ” นั่ น ก็ หมายความวา ตองไปมัสยิด เพื่อละหมาดยามาอะฮฺ และมีอีกฮาดิษหนึ่ง เปนฮาดิษของอาบีฮุรอยเราะฮฺ เชนกัน ไดรายงานไววา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ละหมาดที่เปนภาระหนักใหกับพวกมุนาฟกีน มากที่สุด คือละหมาดอีชา และละหมาดซุบฮฺ แตหากพวกเขารูถึงคุณคาของการละหมาดทั้งสอง แนนอน ที่สุดพวกเขาก็จะมากันแบบคลานมา แทจริงแลวฉันไดใหความสําคัญกับการใชใหทําการละหมาด และการ ละหมาดก็ดํารงขึ้น ฉันสั่งใหชายคนหนึ่งใหทําการละหมาดนําผูคน จากนั้นมีชายอีกหลายคนเดินออกไปกับ ฉันโดยมีไมฟนผูกมัดไปดวย โดยมุงไปที่ผูคนที่ไมทําการละหมาด เพื่อทําการเผาบานของพวกเขาเสีย” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม 2) ตามทัศนะของุมฮูรุลอุลามะอฺ การละหมาดยะมาอะฮฺเปนฟรฎกีฟายะฮฺ สวนทัศนะเกาของชาฟ อีย และสวนมากของฮานาฟยะฮฺ มาลีกยี ะฮฺ เห็นวาเปนฟรฎอีน โดยเปลีย่ นจากการใชคําวาวายิบไปเปนวายิบ กิฟาอีย 3) ทานอาบียฮานีฟะฮฺและศิษยทั้งสองทาน และทานซัยดฺ บินอาลี และมุอัยยิดบิลละฮฺ กลาววาเปน ซูนัตมุอักกัด หากจะละหมาดโดยไมเปนหมูคณะก็ได หากชาวเมืองพากันละทิ้งไมไปละหมาดยามาอะฮฺ ก็ จะตองใชใหออกไปละหมาด หากเขายอมตามก็ไมเปนไร แตหากปฏิเสธก็จะตองทําสงครามกับพวกเขา เพราะการละหมาดยะมาอะฮฺ เปนสัญลักษณหนึ่งของอิสลาม เปนลักษณะเฉพาะของศาสนาอิสลาม โดยยึด ตามหลักฐานที่วา “การละหมาดยะมาอะฮฺดีกวาละหมาดคนเดียวถึง 27 เทา” หากการละหมาดคนเดียวไม ถูกตองหรือใชไมได ก็คงไมชี้ใหเห็นวาการละหมาดยะมาอะฮฺดีกวา ละหมาดคนเดียว มาตั้งแตตน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

103

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หลักการ (‫)ﺍﺣﻜﺎﻣﻬﺎ‬ 1) ทางที่ดีการละหมาดยะมาอะฮฺควรทําในมัสยิด เพราะเปนการแสดงออกใหเห็นถึงสัญลักษณ และ จํานวนคน แตสําหรับสุภาพสตรีการละหมาดยะมาอะฮฺควรกระทําที่บา นของนางเอง แตหากนางจะออกไป มัสยิดก็ไมไดหามไวแตอยางใด 2) ทางที่ดีในการละหมาดยะมาอะฮฺในแตละเวลาอยางนอยที่สุดก็ใหมีอหี มามและมะมูม 3) ทางที่ดีสุภาพสตรีควรแยกออกมาจากสุภาพบุรุษ ซึ่งตามทัศนะของชาฟอีย ควรมีผูหญิงมาเปนอี หมามใหกับกลุมของนาง แตอัลอะฮนาฟ กลับเห็นวา ไมควรใหผูหญิงเปนอีหมามนําละหมาด และทานมาลิ ก็เห็นวา ไมอนุญาตใหเปน หากเปนได ผูท ี่เปนอีหมามตองยืนอยูตรงกลางแถว 4) ผูที่จะมาเปนอีหมามนําละหมาดยะมาอะฮฺฝายชาย จะตอง เปนมุสลิม มีอายุครบตามศาสนภาวะ มีสติสมบูรณครบถวน มีความสามารถในการอานที่ถูกตอง ปราศจากเหตุจําเปนทุกประการ45 5) ผูที่เหมาะสมในการเปนอีหมามมากที่สดุ คือ ผูที่มีความรูมากที่สุด ผูที่อานกุรอานไดถูกตองที่สุด ผูที่มีความเครงทางศาสนามากที่สุด 6) ใหผูตามคนหนึ่งยืนทางขวาของอีหมาม ที่เหลือตั้งแถวอยูดานหลัง เริ่มตนจากแถวชาย ตามดวย เด็กๆ และแถวหญิง46 7)ในการอานของอีหมามไมควรอานใหดงั เลยเขตซูนัตที่กําหนด 8) อัลอะฮฺนาฟและุมฮูร กลาววา ผูที่ละหมาดฟรฎจะตามผูทําละหมาดซูนัตไมได แตชาฟอียะฮฺ กลาววาหากผูต ามรู การละหมาดสมบูณร สามารถละหมาดตามได แตอัลอะหฺนาฟ บอกวาไมได 9) หากอีหมามละหมาดฟรฎอื่น แตมะมูมละหมาดฟรฎอื่น หากมะมูมรูการละหมาดจะไมถูกตอง แมวาจะเปนการละหมาดชดเชยก็ตาม แตอชั ชาฟอีย กลับอนุญาตใหทําได การละหมาดก็ถูกตอง 10 ) ผูที่มีเหตุจําเปนตองสามารถที่จะแยกออกมาจากการตามอีหมามไดหากมีความจําเปน โดยแยก ออกมาแลวก็สามารถละหมาดตอจนเสร็จสิ้น ดังที่มีซอฮาบะฮฺทานหนึ่งเคยปฏิบัติ ขณะที่ทานมุอาซเปนอี หมามแลวอานซูเราะฮ อัลบากอเราะฮฺ (ซึ่งเปนซูเราะฮฺยาว) 11) ซุนัตใหผทู ี่ละหมาดคนเดียวกลับมาละหมาดใหมพรอมกับกลุม (หากไดโอกาส) 12) ซูนัตสําหรับอีหมามเมื่อละหมาดและใหสลามเสร็จแลวใหลุกออกไปทางดานขวาหรือซายแลว ก็ออกจากสถานที่ละหมาด 13) มะมูมสามารถละหมาดตามอีหมามได แมวาจะมีมานกั้นขวางอยูก็ตาม หากรูการเคลื่อนไหว 45

เชน เปนคนปสสาวะไมหยุด (ฉี่ไหลตลอดเวลา)

46

สําหรับมาลิก แมวาผูตามหรือมะมูม จะอยูหนาอีหมาม ก็ไมเปนไร หากเขาตามการกระทําทุกอยางได แตไมไดซนู ัต

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


104

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

เปลี่ยนรอคอะฮฺของอีหมามไดดวยการฟงเสียงหรือมองเห็น โดยมีเงื่อนไขวาจะตองเปนแถว ไมอนุญาตให ละหมาดตามผานวิทยุหรือโทรทัศน 14) หากละหมาดไปแลวผูเปนอีหมามเกิดมีเหตุจําเปนตองออกจากการละหมาด เขาก็จะตอง มอบหมายใหคนอื่นทําการละหมาดตอแทนเขา 15) ไมควรเลือกคนที่เปนที่รังเกียจของผูคนมาเปนอีหมาม 16) การละหมาดจะไมสมบูรณหากคนใดคนหนึ่งออกมาละหมาดหลังแถวอยูคนเดียว แตเขาควรดึง เอาคนขางหนาคนใดคนหนึ่งใหลงมาอยูแถวเดียวกับเขาเพื่อจะไดละหมาดพรอมกัน เพราะมีหลักฐาน ปรากฏอยูในฮาดิษวา ทานรอซูลุลลอฮ  เห็นชายคนหนึ่งละหมาดหลังแถวอยูเดียว ทานก็เลยสั่งให ละหมาดใหม” รายงานโดยกลุมผูรายงานทั้งหาคน (‫ )ﺍﳋﻤﺴﺔ‬ยกเวนสุภาพสตรี ซึ่งสามารถละหมาดคนเดียว ในแถวได โดยที่แถวอยูหลังแถวของผูชาย ไมอนุญาตใหนางละหมาดรวมกับแถวผูชาย 17) หากเกิดเหตุฝนตก หรือหนาวจัด มีความกลัวระหวางทาง ถูกจองจํา ไมสบาย หรือชราภาพ จนเกินไป หรือเหตุจําเปนอื่น ๆ ในระดับเดียวกัน ก็ไมตองออกไปละหมาดยะมาอะฮฺ เพราะนักวิชาการตาง เห็นตรงกันวา เพื่อไมใหเกิดความยากลําบาก ซึ่งทานรอซูลุลลอฮ  ไดสั่งใหผูประกาศประกาศวา จงทํา การละหมาดในบานของพวกทาน ในคืนที่มีอากาศหนาวจัด คืนที่มีฝนตก...รายงานโดยชัยคอน เหตุจําเปนที่ กลาวมาก็หมายรวมถึงเหตุจําเปนอื่น ๆ ดวย 18) ในกรณีที่มะมูมมาละหมาดไมทันอีหมามซึ่งละหมาดไปแลว ในบางสวนของการละหมาด ก็ให เขาทําการละหมาดตอไปจนครบหลังจากที่อีหมามใหสลามแลว หากเขาทันหนึ่งรอคอะฮฺในละหมาดมัฆริบ ก็ใหตออีกสองรอคอะฮฺ โดยใหทําการอานในแตละรอคอะฮฺฟาติหะฮฺและซูเราะฮฺ เพราะเปนการชดเชยใน สองรอคอะฮฺแรก การละหมาดในลักษณะนี้จะตองนั่งตะชะฮุดถึง 3 ครั้ง 19) หากผูที่มาทันอีหมามขณะกําลังรอเกาะอฺจึงจะนับไดวาเปนหนึ่งรอคอะฮฺ หนวยที่ 2 การละหมาดของคนเดินทางไกล อัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา βr& ÷ΛäøÅz ÷βÎ) Íο4θn=¢Á9$# zÏΒ (#ρçÝÇø)s? βr& îy$uΖã_ ö/ä3ø‹n=tæ }§øŠn=sù ÇÚö‘F{$# ’Îû ÷Λäö/uŸÑ #sŒÎ)uρ ∩⊇⊃⊇∪ $YΖÎ7•Β #xρ߉tã ö/ä3s9 (#θçΡ%x. tÍÏ≈s3ø9$# ¨βÎ) 4 (#ÿρãxx. tÏ%©!$# ãΝä3uΖÏFøtƒ

และเมื่อเจาทั้งหลายไดออกเดินทางไปในแผนดิน ก็ยอมไมเปนบาปแกพวกเจาที่จะตัดทอนละหมาด (จากจํานวน 4 รอกาอะฮฺใหเหลือเพียง 2 รอกาอะฮฺ) หากพวกเจากลัววาบรรดาผูเนรคุณจะกอกวนพวกเจา แทจริงบรรดาผูเนรคุณนัน้ เปนศัตรูอันชัดแจงสําหรับพวกเจา ทานยุอฺลา บิน อุมัยยะฮฺ ไดกลาวไววา ฉันไดบอกกับทานอุมัร บิน คอฏฏอบ วา ทานไมเห็นดอก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

105

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หรือวาผูคนพากันเพิกเฉยตอการละหมาด ทั้ง ๆที่อัลลอฮไดทรงตรัสไววา (‫)ﺇ ْﻥ ﺨِﻔﺘﻡ ﺃﻥ ﻴَﻔ ِﺘﻨﹶﻜﻡ ﺍﻟﺫﻴﻥ ﻜﹶﻔﺭﻭﺍ‬ หากพวกเจากลัววาบรรดาผูเนรคุณจะกอกวนพวกเจา ในปจจุบันเรื่องนี้หมดไปแลว อุมัรก็กลาววา ฉันเองก็ สึกแปลกใจในสิ่งที่ทานแปลกใจดวยเชนกัน และฉันก็นําเรื่องนี้ไปเรียนแกทานรอซูลุลลอฮ ทานก็กลาววา “มันเปนการบริจาคทานที่อัลลอฮทรงบริจาคใหกับพวกทาน พวกทานก็จงรับไปเถิด” รายงานโดยยามาอะฮฺ สําหรับฮานาฟยะฮฺ การกอซัร(ตัดทอนละหมาดจาก 4 ใหเหลือ 2 รอคอะฮฺ) ในการเดินทางเปนสิ่ง ตองกระทํา หากไมกอซัร (ละหมาดครบ) เปนเรื่องมักรูฮ (ไมควรกระทํา)เพราะจะไปขัดแยงกับซุนนะฮฺ แต การละหมาดก็ยังคงใชได โดยคิดวาสองรอคอะฮฺหลังเปนซูนัต การตะชะฮุดแรกเปนฟรฎ หากละไมกระทําก็ จะเสียละหมาด สวนชาฟอีย การกอซันละหมาด เปนความสะดวกทีอ่ ัลลอฮประทานให แตหากจะปฏิบัติเต็มสี่ รอคอะฮฺก็ไมเปนไรหากอยูในภาวการณเดินทางแตมีระยะทางไมถึง 3 มัรฮะละฮ หากถึง 3 มัรฮะละฮฺควร ละหมาดกอซัร บรรดาผูเชี่ยวชาญดานวิชาฟกฮฺมีทัศนะทีแ่ ตกตางกันออกไปวาระยะทางในการเดินทางที่อนุญาตให สามารถละหมาดกอซัรไดนนั้ มีระยะทางเทาใด ชาฟอีย อัลมาลิกียะฮฺ และฮะนาบิละฮฺใหทัศนะไววาจะอยูใน ระหวาง 70 กิโลเมตร47 โดยประมาณ นอกจากนั้นพวกเขาก็ยังมีทศั นะที่แตกตางกันในเรื่องของระยะเวลาของการเดินทาง ซึ่งทางุมฮูร เห็นวา 4 วันเดินทาง สวนอะหฺนาฟ เห็นวา 15 วันเดินทาง เมื่อผูเดินทางตั้งเจตนาวาจะหยุดพักมากกวานั้น ก็ จะกลายเปนผูท ี่อยูกับบาน ไมตองกอซัรละหมาด แตหากไมรวู าจะอยูกี่วนั ทุกวันก็จะกลาววาพรุงนี้จะออก เดินทาง พรุงนี้จะออกเดินทางไปเรื่อย ๆ ตอมาก็มีความจําเปนตองอยู ก็ยังคิดวาอยูใ นภาวการณเดินทาง ก็ ใหทําการกอซัรละหมาดตอแมวาจะนานสักกี่วนั ก็ตาม นี่คือทัศนะของ อัลอะหฺนาฟ และทัศนะของชาฟอี ยะฮฺ ซึ่งซอฮาบะฮฺสวนใหญก็ปฏิบัติอยางนั้น อีกทัศนะหนึ่งของชาฟอียะฮฺ คือ หากเพิ่มเวลาออกไปถึง 18 วัน ก็ใหถือวาเปนคนอยูกับที่ (ไมใชคนเดินทาง)อีกตอไป ก็ไมตองกอซัรละหมาด มีการตั้งเงื่อนไขไววาหากออกจากบานไป ก็ใหยึดเอาการผอนปรนเปนหลัก ก็ใหทําการกอซัร ตอไปตราบใดที่ยังไมกลับมายังบานเดิม ผูที่เดินทางสามารถตัดทอนละหมาด 4 รอคอะฮฺใหเหลือ 2 รอคอะฮฺ และผูที่อยูกับบานสามารถที่จะละหมาดตามผูที่เดินทางไกลได โดยผูที่เดินทางละหมาดกอซัร ผูที่อยูกับบาน ก็ละหมาดตอไปจนครบ และในทางตรงกันขามคนเดินทางก็สามารถละหมาดตามผูที่อยูกับที่ได การละหมาดซูนัตสามารถละหมาดบนหลังสัตวพาหนะ หรือในเรือ บนรถหรือบนเครื่องบินได โดย ใหผูที่ละหมาด หันหนาไปทางกิบลัตหากสามารถกระทําได และหากทําไมได หลักการ(‫)ﺍﺭﻛﺎﻥ ﺍﻟﺼﻼﺓ‬และ วายิบของการละหมาดที่ทําไมไดก็จะตกไป เชนการรอเกาะอฺและซูยุด ใหทําแคกมศีรษะลงเล็กนอยขณะรอ 47

พวกเขาใหทัศนะไววา 4 บุรดะฮฺ 1 บุรดะฮฺเทากับ 4 ฟรซัก 1 ฟรซัก เทากับ 3 ไมล ก็จะเทากับ 90 กม. ซึ่งชาฟอียใชหลักฐานวา ทานอับ ดุลลอฮ บิน อับบาส ไดทําการกอซัรละหมาดในระยะทางระหวางเมกกะ กับฏออิฟ หรือเมกกะกับอัซฟาน ระหวางเมกกะกับเจดดะฮฺ ทานมาลิก ก็ใหทัศนะอยางนี้เชนกัน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

106

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

เกาะอฺ และต่ําลงกวารอเกาะอฺสักนิดขณะทําการซูยุด ซึ่งนักวิชาการตางเห็นพองกันทั้งหมด เพราะมีฮาดิษ ของทานอามีร บิน รอบีอะฮฺ  รายงานวา ฉันเห็นทานรอซูลุลลอฮ  ขณะที่ทานอยูบนหลังสัตวพาหนะ ทานกลาวตัสบิฮฺแลวกมลงเล็กนอย ทางไหนก็ไดที่สัตวมุงหนาไป แตทานไมเคยทําอยางนี้ในขณะละหมาด ฟรฎ” รายงาน บุคอรียและมุสลิม สําหรับการละหมาดฟรฎบนสัตวพาหนะ บนเรือ รถยนต รถไฟหรือเครื่องบิน สามารถกระทําได หากมีความจําเปนเทานั้น 48 และความจําเปนที่วาคือ กลัววาจะหมดเวลา เชน ผูเดินทางเดินทางกอนไดเวลา และจะลงจากพาหนะหลังหมดเวลาละหมาดไปแลว ในลักษณะเชนนี้สามารถที่จะละหมาดบนยานพาหนะ ได แมวาจะไมสามารถหันหนาไปทางกิบไดก็ตาม การละหมาดจะตองปฏิบัติใหสมบูรณครบถวนทุกรุกน ตามทัศนะของชาฟอีย จะตองละหมาดใหม เพราะความจําเปนในลักษณะนี้ไมคอยจะเกิดขึ้น แตอัลอะหฺนาฟ อัลมาลิกียะฮฺ และอัลฮะนาบิละฮฺบอกวาไมตองละหมาดใหม (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจากหนังสือ อัลมุจมุ ของนาวาวี และ ฮาชียะฮฺ อิบนฺ อาบิดีน และอัลฟุรุอฺ อิบนฺ มุฟลิหฺ และหนังสือ อัลมุวัฏเฏาะอฺ ของอีหมามมา ลิก และหนังสือนัยลุล เอาฏอร ของ อัชเชากานีย) ผูละหมาดทําการละหมาดซุนนะฮฺ หากไมมีความยากลําบากอะไร โดยเฉพาะอยางยิ่งละหมาด ซูนัตฟจรฺ(ซูบฮฺ) ซูนัตมัฆริบ หนวยที่ 3 การรวมสองละหมาดเขาดวยกัน อนุญาตใหผูละหมาดรวมละหมาดซุฮรฺ กับอัศรฺ ทั้งรวมกอนหรือรวมหลัง และระหวางมัฆริบและอี ชา ในภาวะดังตอไปนี้ 1.การรวมละหมาดที่อารอฟตและมุซดาลิฟะฮฺ(ในวาระเทศกาลหัจญ) ซึ่งนักวิชาการเห็นตองกัน เพราะทานนบี  ไดเคยปฏิบัติไว อัลอะหฺนาฟเห็นพองเฉพาะในชวงเวลานี้เทานัน้ สวนเวลาอื่นจะรวม ไมได 2.รวมละหมาดขณะเดินทางไกล ตามทัศนะของุมฮูร สวนอัลอะหฺนาฟ กลับเห็นตาง เพราะมี ฮาดิ ษ ของอานั สที่ วา “ท า นรอซู ลุล ลอฮ  เมื่อ ทา นจะเดิ น ทางกอ นที่ ด วงอาทิ ต ย จ ะเอนเอี ย ง(เข า เวลา ละหมาดซุฮฺร) ทานก็จะทอดเวลาการละหมาดซุฮรฺ ไปยังเวลาละหมาดอัศรฺ ตอมาทานก็จะลงมาละหมาด รวมทั้งสองเขาดวยกัน แตหากทานเห็นวาดวงอาทิตยเริ่มเอียง(ไดเวลาละหมาดซุฮรฺ)แลว ทานก็จะละหมาด กอนออกเดินทาง” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม ในฮาดิษของทานมุอาซ รายงานไววา “พวกเราไดออกเดินทางไปพรอมกับทานรอซูลุลลอฮ  เมื่อ

48

ตามที่ฮาดิษของทานยุลาอฺ บิน มัรรอฮฺซึ่งรายงานไววา ทานนบี  อางถึง มุฎีก ซึ่งเปนซอฮาบะฮฺ วาทานอยูบนพาหนะ ขางบนฝนตกหนัก ขางลางก็

เปนน้ําเปยก ครั้นเมื่อไดเวลาละหมาด เขาก็สั่งใหทําการอาซาน และอีกอมะฮฺ ตอมาทานรอซูลุลลอฮ  ก็มายืนอยูขางหนาซอฮาบะฮฺ ทั้งๆ ที่อยูบนหลัง

สัตวพาหนะ แลวทําการละหมาดนําพวกเขา ทานทําการซูยุดดวยการกมศีรษะลงตํากวาการรอเกาะอฺ รายงานโดยอัตตัรมีซีย และอัลนะซาอี และ ทานดารุลกุฏนีย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

107

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ครั้งสงครามตะบูค ทานไดทําการละหมาดรวมซุฮรฺกับอัศรฺ และมัฆริบกับอีชาเขาดวยกัน” รายงานโดย มุสลิม ละหมาดรวมเมื่อมีฝนตกหนัก โดยทําการละหมาดยามาอะฮฺในมัสยิด ซึ่งทานนบี  เคยปฏิบัติ ดัง ปรากฏในรายงานของทานอัลบุคอรียและทานอื่น ๆ ซึ่งอัลฮะนาบิละฮฺก็อนุญาตใหรวมได แมกระทั้งคนที่ ละหมาดคนเดียวที่บาน 4.รวมละหมาดในกรณีที่มีอาการปวยไมสบาย หรือมีเหตุจําเปน เพราะมีหลักฐานจากฮาดิษอิบนุ อับ บาสวา “ทานรอซูลุลลอฮ  ไดเคยรวมละหมาดซุฮรฺ กับอัศรี มัฆริบกับอีชา ที่เมืองมาดีนะฮฺ ทั้งๆ ที่ไมไดมี ความกลัว ไมไดมีฝนตก มีคนเรียนถามทานอิบนุอับบาสวา “หมายความวาอยางไร ? ทานก็ตอบวา เพื่อ ไมใหเกิดความยากลําบากแกประชาชาติของทานในการปฏิบัติ” รายงานโดยมุสลิม 5.อัลฮะนาบิละหฺ อนุญาตใหผูที่มีความจําเปน เชนผูที่มีเลือดอิสติฮาเฎาะฮฺ ปสสาวะไมหยุด ผูที่มี ความกลัวอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตัวเอง ทรัพยสินหรือเกียรติ์ยศ เกรงวาจะเกิดโทษกับตนเองหากละทิ้งการ ละหมาดรวม หากเปนเชนนั้นก็จําเปนตองรวมละหมาด เพราะมีเหตุความจําเปนที่จะตองศึกษา โดยเฉพาะ ในประเทศที่ไมใชประเทศมุสลิม ที่มุสลิมจะตองปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงที่รับผิดชอบ และอนุญาตใหรวม ละหมาดในประเทศที่มีเวลาลาชาไปจากเวลาละหมาดอีชาปกติ จะสรางความลําบากในการปฏิบัติใหกับ มุสลิม ในการรอเวลา 6. การละหมาดในเวลากอน (‫ )ﲨﻊ ﺍﻟﺘﻘﺪﱘ‬เชนละหมาดอัศรฺในเวลาซุฮรฺ ละหมาดอีชาในเวลามัฆริบ การรวมละหมาดในเวลาหลัง คือการละหมาดซุฮรฺในเวลาอัศรฺ รวมละหมาดมัฆริบในเวลาอีชา แตละหมาด ฟจรฺ หรือละหมาดซุบฮฺ ไมมีการผอนปรนใหละหมาดรวม หรือยอละหมาด กับเวลาใด หนวยที่ 4 การละหมาดของผูปวย 1. มีรายงานปรากฏในฮาดิษของทาน อิมรอน บิน ฮุซัยน  ไดรายงานไววา “ฉันเปนโรคริสสีดวง ฉันจึงเรียนถามทานนบี เกี่ยวกับการละหมาด ทานก็ตอบวา จงลุกขึ้นยืนละหมาด หากทําไมไดก็ใหนั่ง ละหมาด หากทําไมไดก็ใหละหมาดนอนตะแคงหากยังทําไมไดก็จงแสดงเปนสัญญาณ” บันทึกโดยอัลบุคอ รีย โดยไมมีคําวา “จงแสดงสัญญาณ” และทานอัลนะซาอีย เพิ่มคําวา “หากไมสามารถกระทําไดก็ใหนอน หงาย อัลลอฮจะไมบังคับชีวิตใดนอกจากในกรอบความสามารถของเขา” 2.สําหรับผูที่ละหมาดดวยการใชสัญญานแสดง ไมควรยกสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมาแลวซูยุดลงบนสิ่งนั้น การแสดงทาซูยุด วายิบตองต่ํากวาการแสดงทารอเกาะอฺ เพราะมีฮาดิษของทานยาบีร รายงานไววา “ทานน บี  ไปไปเยียมคนปวยและเมื่อเห็นวาเขาทําการละหมาดบนหมอน ทานก็ยกหมอนออกไป แลวก็พูดวา จง ละหมาดบนพื้นหากสามารถทําได หากทําไมไดก็จงทําเปนสัญญาณ การซูยุดของทานจะตองต่ํากวาการ เกาะอฺของทาน” รายงานโดย อัลบัยฮะกีย ดวยสายรายงานที่หนักแนน 3.หากไมสามารถทําอะไรไดในการทําละหมาด ก็ใหแสดงดวยตา หรือละหมาดในใจ และวายิบให

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

108

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ปฏิบัติเชนนั้นดวย ตราบใดที่สติยังคงมีอยูก ็ตองทําการละหมาด กิจกรรม การละหมาดุมุอะฮฺ(ละหมาดวันศุกร ) 1.ในวันศุกรมคี วามประเสริฐกวาวันอื่น ๆ มากมาย ใหนกั เรียนบอกความประเสริฐของวันศุกร พรอมอางอิงหลักฐานจากฮาดิษ 2.ในวันศุกรมชี วงเวลาที่อัลลอฮจะทรงตอบรับการขอดุอา เวลานั้นคือชวงเวลาใด และมีหลักฐาน ยืนยันไวอยางไร ? (จงอธิบายพรอมหลักฐานอางอิง) 3.อิสลามใหความสําคัญกับการทําความสะอาด และมุสลิมทุกคนจะตองไมสรางความเดือดรอน ใหกับคนอืน่ จงอธิบายเกีย่ วกับแนวางของทานรอซูลุลลอฮ  ในการเตรียมความพรอมเมื่อตองออกไป ละหมาดในวันศุกร 4.ใหนกั เรียนบอกหลักฐานที่ยืนยันวาการละหมาดวันศุกรเปนวายิบ 5. เหตุจําเปนที่อนุญาตใหไมตองไปละหมาดในวันศุกรมีหลายประการ หัวขอตอไปนี้ขอใดกลาว ถูกตอง 1) เด็ก ๆ 2) ผูหญิง 3) คนปวย 4) เมื่อฝนตกหนัก 5) เกิดความกลัวการทํารายจากศัตรูระหวางทาง 6) มีแขกมาหาที่บาน 7) ยุงอยูก ับการอานกุรอาน 8)อากาศรอนมาก 9) ดูการแขงขันฟุตบอลเพลิน ๆ 10) อยูระหวางเดินทางไกล 11) นอนหลับไมรูสึกตัว 6. ฮาดิษใดที่บง ชี้วาการละหมาดวันศุกรมสี องรอคอะฮฺ 7.หากในเกิดวันตรุษมาตรงกับวันศุกร จะตองเลือกละหมาดใดเปนหลักกอน เมื่อละหมาดแลวอีก ละหมาดหนึ่งไมตองทําละหมาด เพราะเหตุใด ? 8.เมื่อใดที่คอตีบสามารถหยุดอานคุตบะฮฺได.... • เมื่อผูละหมาดละทิ้งออกไป • เมื่อมีผูเรียนถามเกี่ยวกับศาสนา • เมื่อมีสัตวรายหรือศัตรูมาขมขู ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

109

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• เมื่อพบวามีคนเกงกวาฟงอยู • เมื่อเห็นวาขณะอานคุตบะฮฺมีคนลุกขึ้นละหมาด 9.ในสถานการณตอไปนี้ผูทกี่ ําลังทําละหมาด(วันศุกร)ควรปฏิบัติอยางไร ? • ทันละหมาดขณะที่อหี มามกําลังรอเกาะอฺรอคอะฮฺที่สอง • ทันอีหมามขณะกําลังเอียะติดาลในรอคอะฮฺที่สอง • ทันอีหมามกอนอีหมามใหสลาม 10. การละหมาดวันศุกรในสถานการณตอไปนี้ถูกตองหรือไมอยางไร ? • อีหมามอานเสียงคอย ๆ ทั้งสองรอคอะฮฺ หรือหนึ่งในสองรอคอะฮฺ • อีหมามอานคุตบะฮฺเพียงคุตบะฮฺเดียวกอนละหมาด • อีหมามอานคุตบะฮฺ ดวยการอาน ‫ﺍﳊﻤﺪ ﷲ ﻭﺍﻟﺼﻼﺓ ﻋﻠﻰ ﺭﺳﻮﻟﻪ‬ • ผูคนทําการละหมาดกอนแลวอีหมามก็อานคุตบะฮฺภายหลัง • ผูคนละหมาดวันศุกรโดยไมอานคุตบะฮฺ • ผูคนละหมาดวันศุกรในที่โลง • แคอาบน้ําในวันศุกรแลวก็ไมตองอาบน้ําละหมาดอีก 11.คนปวย ผูห ญิง ทาส และคนเดินทาง หากพวกเขาทําการละหมาดวันศุกรแลว เขาตองทําการ ละหมาดซุฮร อีกหรือไม เพราะเหตุใด ? 12. จงอธิบายเกี่ยวกับบัญญัตกิ ารละหมาดวันศุกรของเด็กโต เด็กเล็ก หรือคนนอนหลับวาเปน อยางไร ? 13. คําวา “ละหมาด”ในอายะฮฺที่ 9 ของซูเราะฮฺยุมุอะฮฺ หมายถึงละหมาดใด ? การละหมาดวันศุกรและละหมาดอื่น ๆ 14 ใหนกั เรียนอานอายะฮฺที่ 9 ของซูเราะฮ อัลยุมุอะฮฺ แลวเลือกคําตอบที่ถูกตองพรอมบอกเหตุผล • การซื้อขายในชวงที่มีการอาซานครั้งแรกหรือครั้งที่สอง เปนที่ตองหามหรือไมอยางไร ? • ชายคนหนึ่งขณะที่ไดยนิ เสียงอาซานเรียกเขากลับทําการซื้อขายอยู ตอมาเขาก็ไปมัสยิดทันการ อานคุตบะฮฺและทันละหมาด หรือทันละหมาดเพียงอยางเดียว การซือ้ ขายและการละหมาดของ เขาจะเปนอยางไร (ถูกตองหรือไมอยางไร ) 15.ในฮาดิษของทานอิบนุอบั บาส รายงานวา คนที่พูดกับเพื่อนวา “จงเงียบ” ในขณะทีอ่ ีหมามกําลังอาน คุตบะฮฺ การละหมาดยุมุอะฮฺของเขาไมสมบูรณ ฉะนัน้ หากไดยินผูคนคุยกันหรือคนอานซิกรฺเสียงดัง ควรปฏิบัติอยางไร ? 16. ในการละหมาดวันศุกร มีผูละหมาดอยูแค 2 ถึง 3 คน การละหมาดของเขาใชไดหรือไมอยางไร ? 17. เมื่อใดที่อนุญาตใหคนทีเ่ ขาไปในมัสยิดในวันศุกรทาํ การละหมาดตะฮิยะตุลมัสยิดได ? ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

110

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

18. ในการละหมาดวันศุกรมีละหมาดซุนตั กอนหลังเหมือนละหมาดซุฮฺรี หรือไมอยางไร ? 19.มีผูคนหลายคนเดินเขาไปในมัสยิด ขณะที่มกี ารอาซาน และพวกเขาก็หยุดฟง เมื่ออาซานเสร็จอี หมามก็เริ่มอานคุตบะฮฺ เขาก็ทําการละหมาดตะฮิยะตุลมัสยิด หรือบางคนฟงคุตบะฮฺแรก พออีหมามเริ่ม คุตบะฮฺที่สอง เขาก็เริ่มขยับไปทําละหมาด ...การละหมาดในลักษณะนีใ้ ชไดหรือไมอยางไร ? 20. ขณะที่อีหมามหยุดพักระหวางสองคุตบะฮฺ ในชวงเวลานั้นทานควรปฏิบัติอยางไร ? 21.ใหนกั เรียนบอกมารยาทในการละหมาดวันศุกร การละหมาดซูนัต 1. การละหมาดซูนัตมีคุณคามากมาย....ขอใดกลาวถูกตอง • เพิ่มกุศลใหกบั ผูทําละหมาด • ชวยชดเชยละหมาดฟรฎที่ขาด • ชวยลบลางความผิดที่เคยปฏิบัติ • ชวยลบลางความผิดที่เกิดจากการละเมิดสิทธิ์ของผูอื่น 2.เพราะเหตุใดการละหมาดซูนัตจึงซูนัตใหกระทําในบานมากกวาการทําที่มัสยิด และมีหลักฐานใด ยืนยันในหลักการนี้ 3.ผูเชี่ยวชาญดานวิชาฟกฮฺการละหมาดสองรอคอะฮฺ กอนการละหมาดซุบฮฺนั้นเปนซูนตั มุอักกัด พวกเขามีอะไรเปนหลักฐานอางอิง ? 4. จากฮาดิษทีท่ านนบี ไดกลาวไววา “การละหมาดสองรอคอะฮฺในเวลารุงอรุณ(ซุบฮฺ)นั้นประเสริฐ กวาโลกนีแ้ ละสิ่งที่มีอยูในโลกนี้ทั้งหมด” ใหนกั เรียนเขียนบทความเกีย่ วกับเรื่องนี้ 5. ทานนบี  ไดกลาวไววา “‫ ﻭﺇﻥ ﻁﺭﺩﺘﻜﻡ ﺍﻟﺨﻴل‬، ‫ ”" ﻻ ﺘﺩﻋﻭﺍ ﺭﻜﻌﺘﻲ ﺍﻟﻔﺠﺭ‬ฮาดิษนี้มี ความหมายวาอยางไร ? เปนการบงบอกถึงเรื่องใด จงอธิบาย .. 6. การที่ทานนบี  สั่งวาใหทําการชดเชยละหมาดสองรอคอะฮฺหลังดวงอาทิตยขึ้น เปนการบง บอกถึงเรื่องใด ? 7. ใหนกั เรียนบอกการละหมาด 10 รอคอะฮฺที่ทานอิบนุ อุมัรกลาวถึง และ 12 รอคอะฮฺที่เปนรายงาน ของทานหญิง อุมมุฮาบีบะฮฺ พรอมระบุความแตกตางของทั้งสองรายงาน และรายงานใดที่ ครอบคลุมมากกวากัน ? 8. การละหมาดซูนัต 4 รอคอะฮฺกอนและหลังละหมาดซุฮฺรฺ ซึ่งอัลลอฮจะปกปองรางกายจากไฟนรก การตอบแทนนี้จะมีใหกับผูใด ...... • ผูที่ปฏิบัติตามฮาดิษนี้เพียงครั้งเดียว • ผูที่ปฏิบัติตามฮาดิษนี้ตลอดชั่วอายุ • ผูที่ทําละหมาดซูนัต แมวาจะไมทําละหมาดฟรฎ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

111

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• สําหรับผูที่ทําการละหมาดซูนัต แมวาละหมาดฟรฎของเขาจะไมสกัดกัน้ สิ่งชั่วรายเลยก็ ตาม • จะตอบแทนใหกับผูที่ละหมาดเหมือนอยางที่ทานรอซูลุลลอฮ  ละหมาด 9.ทําไมการละหมาดกอนมัฆริบ กอนอัศรฺ จึงไมเปนซูนัตมุอักกัด ? 10. เราไดอะไรจากคํากลาวของทานอิบนุอับบาส ที่ไดกลาวไววา “ ไมไดสั่งและไมไดหามอะไรไว แกพวกเรา” (‫)ﻓﻠﻡ ﻴﺄﻤﺭﻨﺎ ﻭﻟﻡ ﻴﻨﻬﻨﺎ‬ 11. จงบอกหลักฐานที่ชี้ใหเห็นวาการละหมาดวิติร เปนละหมาดซูนัต และละหมาดวิตีรตอง ละหมาดในชวงเวลาใด ? 12.ใหนกั เรียนอธิบายเกี่ยวกับการละหมาดวิตีรมาพอสังเขป 13. ใหนกั เรียนบอกหลักฐานจากอัลกุรอานที่บงบอกถึงการสนับสนุนใหทําการละหมาดตะฮัจยุด 14.ทานฟรรอซ ไดถามทานรอซุลุลลอฮ  ถึงผูที่จะไดอยูใกลชิดกับทานในสวรรค ทานก็ตอบวา  จงเอาใจใสตัวเองใหมาก ๆ ดวยการละหมาดใหมาก ๆ” จากฮาดิษนี้มีการกลาวถึงคุณคาของการ ละหมาดซูนัตไวมากมาย...ใหนักเรียนบอกคุณคาของการละหมาดซูนตั แตพอสังเขป... 15.รูปแบบของการละหมาดซูนัตที่ดีที่สุดคือขอใด (จงเลือก) • ละหมาดทีละสองรอคอะฮฺ • ละหมาดทีละ 4 รอคอะฮฺ • ละหมาดตอเนือ่ ง โดยไมตองอานตะชะฮุด ยกเวนในตอนทายสุด 16.มีฮาดิษหลายฮาดิษทีก่ ลาวถึงการละหมาดซูนัตซุฮฺรฺ จงบอกฮาดิษดังกลาวมา พรอมเหตุผลที่บง บอกวาเปนซุนัตมุอักกัด การละหมาดในวันตรุษทัง้ สอง 1. การละหมาดในวันตรุษมีอะไรเปนหลักฐานบงบอกถึงมีบัญญัติทางศาสนา ? 2. ใหนกั เรียนบอกหลักฐานที่บง บอกวาการออกไปละหมาดในวันตรุษนัน้ เปนเรื่องที่ดคี วรปฏิบัติ 3. ผูละหมาดในวันตรุษ มีการสนับสนุนใหออกไปทางหนึ่งแลวกลับเขาบานอีกทางหนึ่งเพราะ.... • เพื่อใหทางทั้งสองทางเปนพยานให • เพื่อใหสัญลักษณของวันตรุษกระจายออกไป • เพื่อใหรางกายกระฉับกระเฉง • เพื่อใหการอวยพรระหวางกันเกิดขึ้นอยางทั่วถึง 4. การละหมาดในวันตรุษอิดิลฟตรีควรทอดเวลาออกมาจากการละหมาดฎฮาเพราะ...... • ผูละหมาดจะตองรับประทานอาหารกอนการละหมาดในวันตรุษ • เพราะทานรอซูลลุลลอฮ  ปฏิบัติเชนนั้น ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

112

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• เพื่อใหผูคนทําการเชือดสัตวหลังการละหมาดอีดิลอัฎฮา 5. การอานคุตบะฮฺวนั ตรุษทัง้ สอง (อิดิลฟตรียและอีดิลอัฎฮาอฺ) จะตอง.... • อานกอนการละหมาด • ใหผูเขารวมละหมาดรวมรับฟง 5. การละหมาดวันตรุษอิดิลฟตรีและอีดิลอัฎฮา เหมือนการละหมาดวันศุกรในสวนใด ? • ทั้งสองละหมาดตางก็มีสองรอคอะฮฺ • อีหมามอานคุตบะฮกอนการละหมาด • ลวนแลวแตเปนละหมาดฟรฎ • ละหมาดไดทั้งชาย หญิง เด็ก และคนแก • เพราะซูนัตใหอาบน้ําชําระรางกายและแตงกายดวยเสื้อผาสวย ๆ กอนออกไปละหมาด 7. การละหมาดวันตรุษ(อีด) เปนละหมาดประเภทใด ? ฟรฎ , ซูนัตมุอักกัด , ซูนัตธรรมดา 8.อัลลอฮทรงตรัสวา “‫ﺼ ِّل ﻟﺭﺒﻙ ﻭﺍﻨﺤﺭ‬ َ ‫ ” ﹶﻓ‬การละหมาดในอายะฮฺนห ี้ มายถึงละหมาดใด ? 9. คําวา “‫(”ﻗﻴﺩ ﺭﻤﺤﻴﻥ ـ ﻗﻴﺩ ﺭﻤﺢ‬ดวงอาทิตยสูงขนาด 2 ดามหอก และ 1 ดามหอก) ซึ่งกลาวไวใน ฮาดิษของทานนบี หมายความวาอยางไร ? 10. ผูคนสวนใหญจะละหมาดวันตรุษในมัสยิด ทําไมพวกเขาไมละหมาดในทุงโลง หากละหมาด ในทุงโลงจะเปนอยางไร ? 11. ผูหญิงที่มีรอบเดือนหามทําการละหมาด แตทําไมจึงสนับสนุนใหพวกนางออกไปในวัน ละหมาดวันตรุษดวย ? 12.ในการละหมาดวันตรุษของทานนบี ทานไดกลาวตักบีร 12 ครั้ง รอคอะฮฺแรก 7 ครั้ง รอคอะฮฺที่ สอง 5 ครั้ง การตักบีรอตุลเอียะหฺรอมรวมอยูในจํานวน 12 ครั้งนี้ดวยหรือไม อยางไร ? 13 หากเปลี่ยนมาเปนรอคอะฮฺแรก ตักบีร 5 ครั้ง รอคอะฮฺที่สอง 7 ครั้ง หรือละหมาดโดยไมกลาวตัก บีร การละหมาดจะใชไดหรือไมอยางไร ? 14. ใหนกั เรียนบอกหลักการตอไปนี้วาถูกตองหรือไมอยางไร ? • อีหมามอานดังหรืออานคอยๆ ในละหมาดวันตรุษ • อานคุตบะฮฺกอ นการละหมาด • ผูคนตางแยกยายกันออกไป หลังการละหมาด โดยไมฟง การอานคุตบะฮฺ 15. ชายคนหนึง่ ออกไปเพื่อตองการละหมาดอีด แตปรากฏวาผูคนเขาละหมาดกันเสร็จสิ้นแลว เขา ควรปฏิบัติอยางไร ? 16. หากจะทําการละหมาดวันตรุษที่บานแบบญามาอะฮฺจะไดหรือไมอยางไร ? 17. หากเวลาของการละหมาดหมดโดยที่ยงั ไมทันละหมาดจะตองชดเชยหรือไมอยางไร ? ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

113

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

18. ใหนกั เรียนเขียนมารยาทในการออกไปทําการละหมาดวันตรุษมาพอสังเขป การละหมาดญามาอะฮฺ 1.ใหนักเรียนบอกฮาดิษที่เปนหลักฐานยืนยันวาการละหมาดญามาอะฮฺดีกวาละหมาดคนเดียว ? 2.ใหนักเรียนบอกผลของการละหมาดญามาอะฮฺที่มีความสัมพันธทางสังคมมาพอสังเขป 3.ในตอนแรกทานนบี  ไดผอนปรนใหคนตาบอดไมตองไปละหมาดญามาอะฮฺที่มัสยิด ตอมา ทานก็เรียกแลวถามวา ไดยินการอาซานหรือไม เมื่อเขาตอบวา ไดยิน ทานก็บอกวาจงตอบรับ...เพราะเหตุ ใดทานจึงสั่งไวเชนนั้น ... • เพราะทานแนใจวาเขาสามารถเดินไปมัสยิดได • เพราะผูที่เดินทางไปมัสยิดบางคนจะชวยเขาได • เพราะทานเห็นวามัสยิดอยูใกลบานของเขา • เพราะมีวะหฺยู ลงมายกเลิกการผอนปรน 4.การที่มีบัญญัติบังคับใหคนตาบอดไปทําการละหมาดญามาอะฮฺเปนการบงบอกถึงสิ่งใด ? 5. การละหมาดญามาอะฮฺสามารถกระทําไดดวยจํานวนผูละหมาดอยางนอยกี่คน ? 6. “‫ ”ﺍﻻ ﻗﺪ ﺍﺳﺘﺤﻮﺫ ﻋﻠﻴﻬﻢ ﺍﻟﺸﻴﻄﺎﻥ‬มีความหมายวาอยางไร ? 7. “แทจริงแลวเสือจะจับกินแพะที่หลงฝูง” คํากลาวนี้มีความสัมพันธกับการละหมาดญามาอะฮฺอยางไร ? 8. ทานรอซูลุลลอฮ  สั่งใหเผาบานของชายหลายคนเพราะเหตุใด ..? • เพราะพวกเขาไมศรัทธาตอบัญญัติการละหมาด • เพราะพวกเขาละทิ้งการละหมาด • เพราะพวกเขามีแผนรายตอมุสลิม 9.เมื่อใดที่การออกไปยังมัสยิดของสตรีเปนสิ่งตองหาม ? 10. ทุกยางกาวที่เดินไปมัสยิดจะมีกุศลตอบแทน และมีการลบลางความผิดให จงระบุหลักฐานดังกลาว จากอัลฮาดิษ ... 11.ระหวางการละหมาดกับคนเพียงสองคน กับการละหมาดรวมกันเปนหมูคณะมาก ๆ และจุดประสงคของ การละหมาดญามาอะฮฺคืออะไร ? 12. เมื่อไดยินการอีกอมะฮฺเพื่อทําละหมาดญามาอะฮฺควรปฏิบัติอยางไร ? (อธิบายพรอมเหตุผล) • รีบเรงเพื่อใหทันละหมาด • เดินไปมัสยิดตามปกติ ไมตองรีบรอน 13.เมื่อเปนผูนําในการละหมาดใหกับผูคน อีหมามควร...... • ยืดเวลาละหมาดใหยาวที่สุดเพื่อใหผูคนไดมีโอกาสใกลชิดอัลลอฮมากยิ่งขึ้น • ละหมาดใหเร็วที่สุดเพื่อมิใหผูตามเดือดรอน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

114

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• ขอใหผูที่รีบเรง ผูปวย ผูสูงอายุ ผูที่มีงาน ใหทําการละหมาดญามาอะฮฺเฉพาะ 14. การละหมาดยามาอะฮฺ เปนการฝกฝนการเปนผูนําและผูตามที่ดีตามแนวทางของอิสลาม ฉะนั้นภาพของ ความเปนผูนําที่ดีในอิสลามควรเปนอยางไร ? พรอมบอกเหตุผลความจําเปนที่ผูตามตองปฏิบัติตามผูนํา 15. มะมูมที่ละหมาดลวงหนากอนอีหมาม การละหมาดของเขาเปนอยางไร ? และในกรณีใดที่การลวงหนาอี หมามทําใหเสียละหมาด ? 16. ในกรณีที่มะมูมเขามาละหมาดในขณะที่อีหมามกําลังซูยุดเขาควรปฏิบัติอยางไร ....? • ยืนรอจนกวาอีหมามจะกลับมายืนในรอคอะฮฺตอไป • ยืนรอจนกวาเขาจะละหมาดเสร็จ • ตักบีรแลวก็เขารวมละหมาดดวยการซูยุดไปกับอีหมาม แลวก็ละหมาดตอไปจนจบ • รวบรวมคนที่มาไมทันละหมาดพรอมอีหมามแลวทํากลุมใหมเพื่อทําการละหมาด 17. ทานรอซูลลุลลอฮ  ไดหามมิใหอีหมามยืนบนสิ่งใดสิ่งหนึ่งในขณะที่ผูคนอยูขางหลัง แตอนุญาตให ทําการละหมาดโดยที่อีหมามยืนอยูบนมิมบัร ....เพราะเหตุใด ? 18. ผูที่มาละหมาดไมทันอีหมามจะนับไดวาทัน 1 รอคอะฮฺ ก็ตอเมื่อเขามาทัน.......... • ขณะยืน • ลุกจากการรอเกาะอฺ • ซูยุดครั้งที่หนึ่ง • ซูยุดครั้งที่สอง 19. ผูที่ทําการละหมาดยามาอะฮฺแตมาตั้งแถวอยูคนเดียว การละหมาดของเขาจะถูกตองหรือไมอยางไร และ ทําไมอิสลามจึงใหความสําคัญเกี่ยวกับการฝกฝนผูคนใหตระหนักในเรื่องนี้เปนอยางมาก ? 20.การไปรวมละหมาดยามาอะฮฺของสุภาพสตรีสามารถกระทําได แตนางควรปฏิบัติอยางไร? และแถว สําหรับสุภาพสตรีนั้นควรอยูในตําแหนงใด ? การละหมาดของผูปวยและคนเดินทาง 1.ใหนักเรียนอธิบายขอผอนปรนในการละหมาดสําผูปวยและคนเดินทางมาพอสังเขป ? 2.ในกรณีที่สามารถยืนละหมาดไดแตไมสามารถกราบซูยุดได ควรปฏิบัติตามขอใด ? • ยืนละหมาดแลวใชสัญญาณแสดงทารอเกาะอฺและซูยุด • นั่งละหมาดแลวใชสัญญาณแสดงทารอเกาะอฺและซูยุด • ยืนละหมาดแลวรอเกาะอฺเพียงอยางเดียว 3.เมื่อผูปวยตองการนั่งละหมาดเขาควรนั่งอยางไร ? • นั่งขัดสมาธิ • นั่งเหมือนนั่งตะชะฮุดในละหมาด ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

115

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

• นั่งราบกับพื้นยื่นเทาไปขางหนา ُ ‫ﺡ ﺃﻥ ﺗﻘ‬ ُ ‫ )ﻓﻠﻴﺲ ﻋﻠﻴﻜﻢ ﺟُﻨﺎ‬บางคน 4.อัลลอฮทรงตรัสไววา (‫ﺼﺮُﻭﺍ ﻣﻦ ﺍﻟﺼﻼﺓ ﺇﻥ ﺧِﻔﺘﻢ ﺃﻥ ﻳﻔﺘﻨﻜﻢ ﺍﻟﺬﻳﻦ ﻛﻔﺮﻭﺍ‬ อาจจะเขาใจวาการเดินทางจะตองมีความกลัวอยูดวยจึงจะอนุญาตใหกอซัร(ตัดทอนหรือยอ) ละหมาดได ในเรื่องนี้นักเรียนจะอธิบายอยางไร ? การอนุญาตใหกอซัร(ยอ) ละหมาดโดยไมตองมี ความกลัวอยูดวยมีหลักฐานมาจากฮาดิษใด ? 5.เพราะเหตุใดการละหมาดซุบฮฺกับมัฆริบจึงไมอนุญาตใหทําการกอซัร ? 6. ผูเดินทางจะไดรับการอนุญาตใหกอซัรละหมาดไดเมื่อ...... • ขณะที่ยังอยูกับบานและตัดสินใจแลววาจะออกเดินทาง • เมื่อขึ้นพาหนะออกเดินทาง • เมื่อบอกกับครอบครัววาจะออกเดินทาง • เมื่อเลยเขตเมืองหรือเขตหมูบานของตนเอง 7.กรอบระยะเวลาที่อนุญาตใหทําการกอซัรละหมาดไดตองไมเกิน... • 19 วัน • 20 วัน • 15 วัน • 4 วัน • ระยะเวลาที่คิดวาเสร็จธุระแลว 8. ผูเดินทางไกลไมตองทําการกอซัรละหมาดเมื่อ...... • ไมมีความยากลําบากเกิดขึ้น • ใชเครื่องบินเปนพาหนะ • เมื่อตั้งใจวาจะกลับ • เมื่อถึงไปยังที่พักของตนเองแลว หนวยที่ 5 การละหมาดชดเชย 1.วายิบใหทําการชดเชยละหมาดในกรณีที่มีการละทิ้งละหมาดเพราะลืม หรือนอนหลับ เพราะ ทานนบี  ไดกลาวไววา “ผูใดที่นอนหลับหรือลืมละหมาดก็ใหละหมาดชดเชยเมื่อนึกขึ้นได” รายงานโดย บุคอรียและมุสลิม นักวิชาการทั้งหมดตางเห็นพองตองกัน แตสําหรับผูที่ละทิ้งละหมาดโดยเจตนา ุมฮูรุล อุลามะอฺ ใหทัศนะวาวายิบตองทําการชดเชย เมื่อเขาทําการเตาบะฮฺแลว ไมวาจะมากนอยเพียงใด เพราะเปน เรื่องที่วายิบจะตองชดเชยสําหรับผูลืม ผูที่เจตนาก็ยิ่งจําเปนตองชดเชยกวา และทัศนะของซอฮิรียะฮฺก็สอดคลองกับทัศนะของุมฮูร วาผูละทิ้งละหมาดนั้นเปนบาป แตพวก เขาใหทัศนะวาผูที่ละทิ้งละหมาดโดยเจตนานั้นไมวายิบตองชดเชย เพราะซอฮิรียะฮฺปฏิเสธการเทียบเคียง ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

116

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หรือกียาส พวกเขาใหเหตุผลวา คนที่ลืมนั้นมีเหตุจําเปน และผูที่เจตนาไมไดมีเหตุจําเปนอะไร 2.การชดเชยละหมาดควรเปนไปตามลําดับกอนหลัง หากขาดไมเกิน 5เวลา ควรชดเชยละหมาดซุฮรฺ ี กอนละหมาดอัศรี และไมควรขามการเรียงลําดับกอนหลัง ยกเวนเมื่อมีการละหมาดญามาอะฮฺเกิดขึ้น เขา จะตองละหมาดพรอมกับกลุม แลวกลับมาชดเชยในภายหลัง ซึ่งสามารถกระทําได 3.สวนผูหญิ งที่ มีรอบเดือน มี น้ําควาปลา หรือคนเสียสติ คนที่ตกจากศาสนา เมื่อเขากลับคืน สู อิสลาม คนกลุมนี้ไมตองละหมาดชดเชย49 หนวยที่ 6 การซุยุดซะฮฺวีย อนุญาตใหทําการซูยุดซะฮฺวยี ไดในกรณีดงั ตอไปนี้ 1.เมื่อผูละหมาดใหสลามกอน ทั้งๆ ที่การละหมาดยังไมสมบูรณ (ตอมา)เขาก็ทําการละหมาดตอจน เสร็จสิ้นสมบูรณกอนทีก่ ระทําการกระทําอื่น(นอกเหนือจากการละหมาด) เมื่อละหมาดเสร็จก็ใหทาํ การซูยุด ซะฮฺวีย ดังที่ทา นรอซูลุลลอฮ  ไดเคยปฏิบัติ ขณะที่ทา นละหมาด 2 รอคอะฮฺ ทั้งๆ ที่เปนละหมาด 4 รอคอะฮฺ ทานใหสลามและมีผูเตือนทาน ..ฮาดิษรายงานโดยอัลบุคอรีย 2. เมื่อมีการละหมาดเกิน ซึ่งทานนบี  เคยละหมาดเกินไปเปน 5 รอคอะฮฺ เมื่อมีคนบอกทาน ทาน ก็ทําการซูยุดซะฮฺวยี  สองครั้ง หลังการใหสลาม ..รายงานโดยอัลยามาอะฮฺ 3. เมื่อไมแนใจจํานวนรอคอะฮฺที่ละหมาด ก็ใหยึดเอาจํานวนทีน่ อยกวา แลวทําการละหมาดตอ จากนั้นก็ใหซูยุดซะฮฺวีย รายงานโดย อะหฺมัดและมุสลิม 4.เมื่อมีการลืมซูนัตของใดขอหนึ่งของการละหมาด ซึ่งทานนบี  เคยลืมการตะชะฮุดแรก ทานก็ ไดทําการซูยุดซะฮวีย ...รายงานโดยยามาอะฮฺ บัญญัติเกี่ยวกับการซูยุดซะฮฺวียใ นสามกรณีแรก เปนวายิบ แตกรณีทสี่ ี่เปนซูนัต วิธีการซูยุดซะฮฺวีย วิธีการซูยุดซะฮฺวีมีอยู 2 วิธี และทั้งสองตางเปนวิธีที่ถูกตองที่มีรายงานจากทานรอซูลุลลอฮทั้งสอง 1. ซูยุดกอนใหสลาม คือนั่งและอานตะชะฮุด กลาวซอลาวัตตอทานนบีแลวใหสลาม ดุอา จากนั้นก็ ใหตักบีรและทําการซูยุด 2 ครั้ง ...รายงานโดย ผูรายงานทั้งเจ็ดคน 2.ซูยุดหลังการใหสลาม อานตะชะฮุด แลวใหสลามทางขางขวา จากนั้นก็ใหตักบีร แลวทําการซูยุด สองครั้ง แลวใหทําการตะชะฮุดและกลาวซอลาวัต อานดุอาแลวจึงใหสลาม (วิธีนี้เปนรายงานของทาน มุสลิม อาบูดาวุด อัลนะซาอีย อะหฺมัด และอิบนุ คุซัยมะฮฺ (และเปนความเขาใจหนึ่งของรายงานจากอัลบุคอ รีย)

49

แตชาฟอียะฮฺ คนตกศาสนาจะตองละหมาดชดเชย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

117

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

บัญญัติอื่น ๆ 1.เมื่อผูละหมาดลืมซูยุดซะฮฺวียและทิ้งระยะหางออกไปเปนเวลานาน การซูยุดซะฮฺวียก็ตกไป 2.หากอีหมามทําการซูยุดซะฮฺวีย มะมูมก็จะตองซูยุดตามดวย หากอีหมามลืม มะมุมจะตองเตือน หากอีหมามไมซูยุด มะมูมตองซูยุดซะฮฺวีย 3. แตหากมะมูมลืม ก็ไมตองซูยุด 4.หากลืมการนั่งในครั้งที่หนึ่ง ก็ใหกลับมานั่งใหม หากยังยืนขึ้นไมตรง หากยืนขึ้นจนตรงแลวก็ไม อนุญาตใหกลับมานั่งอีก แตตองซูยุดซะฮฺวีย 5.หากเจตนาที่จะไมซุยุดซะฮฺวียที่วายิบ ก็ตองละหมาดใหม แตชาฟอียบอกวาไมตองละหมาดใหม แตอยางใด หนวยที่ 7 การซูยุดติลาวะฮฺ(เมื่ออัลกุรอานถึงอายะฮฺที่ตองซูยุด) ในอัลกุรอานมีอายะฮฺหลายอายะฮฺ(เฉพาะ) เมื่อมุสลิมอานหรือไดยินจะตองทําการซูยุดหนึ่งครั้ง การซูยุดในที่นี้เรียกวา ซูยุดติลาวะฮฺ 1.ตามทัศนะของอัลอะหฺนาฟ และุมฮูร ซูยุดติลาวะฮฺวายิบสําหรับผูอานและผูฟง50 2.เงื่อนไขของการซูยุด คือตองสะอาดปราศจากฮาดัษ ตองหันหนาไปทางกิบลัต และปกปดเอารัต 3.วิธีการ คือ กลาวตักบีร แลวซูยุด 1 ครั้ง จากนั้นก็ใหกลาวตักบีรและลุกขึ้นนั่ง โดยไมตองกลาวตะ ชะฮุดแตอยางใด ทานนบี  อานดุอาขณะซูยุดวา ،«‫ ﻭﺷ ﱠﻖ ﺳَﻤﻌﻪ ﻭﺑﺼﺮﻩ ﲝﻮﻟِﻪ ﻭﻗﻮﱠﺗﻪ‬،‫»ﺳَﺠﺪ ﻭﺟﻬﻲ ﻟﻠﺬﻱ ﺧَﻠﻘﻪ‬ ฮาดิษรายงานโดย อาบูดาวุด อัลนะซาอีย อัตตัรมีซีย และทานฮากิมกลาววา เปนฮาดิษฮะซัน อัลฮากีมใหเปน ฮาดิษซอเหียะหฺ บันทึกโดย อะหฺมัดและอัลบัยฮะกีย 4.แทนที่การซูยุดดวยการอานวา

.«‫ ﻭﻻ ﺣَﻮﻝ ﻭﻻ ﻗﻮﱠﺓ ﺇﻟﹼﺎ ﺑﺎﷲ ﺍﻟﻌﻠ ّﻲ ﺍﻟﻌَﻈﻴﻢ‬،‫»ﺳﺒﺤﺎﻥ ﺍﷲ ﻭﺍﳊﻤﺪ ﷲ ﻭﻻ ﺇﻟﻪ ﺇﻻ ﺍﷲ ﻭﺍﷲ ﺃﻛﱪ‬ 5. อายะฮฺที่ตองซูยุดติลาวะฮฺมีทั้งหมด 14 ที่ ซึ่งปรากฏอยูในซูเราะฮฺดังตอไปนี้คือ - ‫ ﺹ‬- ‫ ﺍﻟـﺴﱠﺠﺪﺓ‬- ‫ ﺍﻟﻨﱠﻤـﻞ‬- ‫ ﺍﻟﻔﹸﺮﻗﺎﻥ‬- ‫ ﺍﳊﺞ‬- ‫ ﻣَﺮﱘ‬- ‫ ﺍﻹِﺳﺮﺍﺀ‬- ‫ ﺍﻟﻨﱠﺤﻞ‬- ‫ ﺍﻟﺮﱠﻋﺪ‬- ‫ﺍﻷﻋﺮﺍﻑ‬ .‫ ﺍﻟﻌﻠﻖ‬- ‫ ﺍﻻﻧﺸِﻘﺎﻕ‬- ‫ ﺍﻟﻨﱠﺠﻢ‬- ‫ﹸﻓﺼﱢﻠﺖ‬ 6.ตามทัศนะของชาฟอียะฮฺ ทานรอซูลุลลอฮ  ไดทําการซูยุดชุกุรฺการซูยุดประเภทนี้ จะตองเปน การซูยุดนอกเวลาละหมาดเทานั้น หากซูยุดในละหมาดจะทําใหเสียละหมาด และอีกซูยุดหนึ่งคือซูยุดใน ตอนทายของซูเราะฮฺอัลฮัจฺ ในอายะฮฺที่วา .{...‫ ﺍﺭﻜﻌﻭﺍ ﻭﺍﺴﺠﺩﻭﺍ‬...} . ‫ ﻭﻤﻥ ﻟﻡ ﻴﺴﺠﺩ ﻓﻼ ﺇﺜﻡ ﻋﻠﻴﻪ ( ﺭﻭﺍﻩ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭﻱ‬، ‫ ﻓﻤﻥ ﺴﺠﺩ ﻓﻘﺩ ﺃﺼﺎﺏ‬، ‫ﻴﺎ ﺃﻴﻬﺎ ﺍﻟﻨﺎﺱ ﺇﻨﻤﺎ ﻨﻤﺭ ﺒﺎﻟﺴﺠﻭﺩ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

50


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

118

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หนวยที่ 8 หลักการเกี่ยวกับมัสยิด ทานนบี  ไดกลาวไววา “ แผนดินทั้งหมดทรงสรางมาใหมีความสะอาดและเปนมัสยิด(ได)ที่ใดก็ ตามเมื่อไดเวลาละหมาด ก็ใหทําการละหมาดได” รายงานโดย อัลนะซาอีย ทานนบี  ไดกําหนดใหมกี ารสรางมัสยิดขึ้น โดยกลาววา “ผูใดสรางมัสยิดเพื่ออัลลอฮโดยหวัง ความโปรดปรานจากพระองค พระองคก็จะทรงสรางบานใหกับเขาในสรวงสวรรค” รายงานโดย บุคอรีย และมุสลิม 1. มุสลิมที่ประสงคจะออกจากบานไปยังมัสยิด ซูนัตใหอานดุอาดังตอไปนี้.... ‫ ﻭﰲ ﻋَـﺼﱯ‬،‫ ﻭﺧﻠﻔﻲ ﻧﻮﺭﺍﹰ‬،‫ ﻭﻋﻦ ﻳَﻤﻴﲏ ﻧﻮﺭﺍﹰ‬،‫ ﻭﰲ ﺳَﻤﻌﻲ ﻧﻮﺭﺍﹰ‬،‫ ﻭﰲ ﺑَﺼﺮﻱ ﻧﻮﺭﺍﹰ‬،‫» ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﺍﺟﻌﻞ ﰲ ﻗﹶﻠﱯ ﻧﻮﺭﺍﹰ‬ «ً ‫ ﻭﰲ ﺑَﺸﺮﻱ ﻧﻮﺭﺍ‬،‫ ﻭﰲ ﺷَﻌﺮﻱ ﻧﻮﺭﺍﹰ‬،‫ ﻭﰲ ﺩَﻣﻲ ﻧﻮﺭﺍﹰ‬،‫ ﻭﰲ ﳊﻤﻲ ﻧﻮﺭﺍﹰ‬،‫ﻧﻮﺭﺍﹰ‬ ฮาดิษรายงานโดยชัยคอน 2.การเขามัสยิดควรเขาดวยเทาขวา แลวอานดุอา

‫ ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ‬.‫ ﺑﺴﻢ ﺍﷲ‬.‫» ﺃﻋﻮﺫ ﺑﺎﷲ ﺍﻟﻌﻈﻴﻢ ﻭﺑﻮﺟﻬﻪ ﺍﻟﻜﺮﱘ ﻭﺳﻠﻄﺎﻧﻪ ﺍﻟﻘﺪﱘ ﻣﻦ ﺍﻟﺸﻴﻄﺎﻥ ﺍﻟﺮﺟﻴﻢ‬ ،« ‫ ﻭﺍﻓﺘ َﺢ ﱄ ﺃﺑﻮﺍﺏ ﺭﲪﺘﻚ‬،‫ ﺍﻟﻠﻬ ّﻢ ﺍﻏﻔﺮ ﱄ ﺫﻧﻮﰊ‬.‫ﺻ ﱢﻞ ﻋﻠﻰ ﳏﻤﺪ‬ และเมื่อตองการออกจากมัสยิด ใหกาวออกดวยเทาซายพรอมกับอานดุอาวา

‫ ﺍﻟﻠﻬﻢ‬.‫ ﻭﺍﻓﺘﺢ ﱄ ﺃﺑﻮﺍﺏ ﻓﹶﻀﻠﻚ‬،‫ ﺍﻟﻠﻬ ﱠﻢ ﺍﻏﻔﺮ ﱄ ﺫﹸﻧﻮﰊ‬.‫ ﺍﻟﻠﻬ ّﻢ ﺻ ﱢﻞ ﻋﻠﻰ ﳏﻤﺪ‬.‫» ﺑﺴﻢ ﺍﷲ‬ .« ‫ﺍﻋﺼﻤﲏ ﻣﻦ ﺍﻟﺸﱠﻴﻄﺎﻥ ﺍﻟﺮﺟﻴﻢ‬ 3.ทางที่ดีมุสลิมควรไปมัสยิดใหมาก ๆ เพราะทานรอซูลุลลอฮ  ไดเคยกลาวไววา “ ผูใดที่เดินทาง ไปกลับมัสยิดแตตอนเชามืด และตอนกลางคืนอัลลอฮก็จะทรงสรางที่พักใหกับเขาในสวรรคทุกครั้งที่ไป และกลับ” รายงานโดย ชัยคอน 4. กอนเขามัสยิดใหทําการละหมาด 2 รอคอะฮฺ (‫ )ﲢﻴﺔ ﺍﳌﺴﺠﺪ‬ซึ่งทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “เมื่อคนหนึ่งคนใดจากพวกทานเขาสูมัสยิด ก็จงทําการละหมาด 2 รอคอะฮฺกอนนั่งลงในมัสยิด”รายงาน โดยญะมาอะฮฺ 5. มุสลิมควรดูแลรักษาความสะอาดมัสยิด ทานนบี  ไดหามการถายปสสาวะ หามทิ้งสิ่งสกปรก หามถมน้ําลายหรือเสมหะ หามผูรับประทานกระเทียม หัวหอมเขามัสยิด 6.หามสงเสียงดัง (แมกระทั่งการอานอัลกุรอาน) เพื่อมิใหมีเสียงรบกวนผูที่กําลังละหมาด อนุญาต ใหนอนพัก รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่ม และพูดคุยในสิ่งที่อนุญาตในมัสยิดได

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

119

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

กิจกรรม การละหมาดรวมและการละหมาดชดเชย 1.การรวมละหมาดเพื่อใหเกิดความสะดวกแกมุสลิมในการปฏิบัติศาสนากิจ ซึ่งก็สอดคลองกับ ธรรมชาติของความเปนอิสลาม ...จงอธิบายเกีย่ วกับเรื่องนี้มาพอสังเขป 2.การละหมาดรวมบางกรณีเปนการรวมในเวลากอน บางกรณีเปนการรวมในเวลาหลัง มีละหมาด เวลาใดบางทีส่ ามารถรวมไดและรวมไมได จงอธิบายพรอมแสดงหลักฐานประกอบจากฮาดิษ 3. การละหมาดสามารถละหมาดรวมกันไดมี 4 กรณีคือ กรณีใดบาง ? จงตอบพรอมแสดงหลักฐาน ประกอบจากการกระทําของทานนบี  4. การละหมาดชดเชยสามารถกระทําไดเมื่อ.... • นอนหลับหรือลืม • แกลงละทิ้งละหมาดโดยเจตนา • ละทิ้งละหมาดกรณีสตรีมีรอบเดือน • ถูกบังคับใหละทิ้งละหมาด 5.ผูที่ละทิ้งละหมาดโดยเจตนาจะตองทดแทนอยางไร ? (ใหนกั เรียนบอกทัศนะของนักวิชาการ มุสลิมมาเกี่ยวกับเรื่องนี้มาพอสังเขป) การซูยุดซะฮฺวีย 1. บัญญัติการซูยุดซะฮฺวยี บัญญัติมาสําหรับ.... • ผูที่ละทิ้งซูนัตของการละหมาด • ผูที่เพิ่มการกระทําขอใดขอหนึ่งเขามาในละหมาด • ผูที่ขาดรอคอะฮฺในรอคอะฮฺหนึ่งของการละหมาด • เพื่อเตือนผูละหมาดในขณะทําการละหมาดวาเขาไมไดทําวุฎอฺ 2. การซุยุดซะฮฺวียมีทั้งกอนและหลังการใหสลาม ...เมื่อใดตองซูยุดกอนและเมื่อใดตองซูยุดหลัง 3. ในหลักการที่วา “ควรตองสลัดความคลางแคลงใจออกไปแลวเลือกเอาในสิ่งที่มั่นใจ” มาแทนคือ การปฏิบัติตามขอใด • เลือกเอาความมั่นใจและดําเนินการตอตามตองการ • ควรเอาชนะสิง่ ที่เปนทางลบและความไมมนั่ ใจ • ความคลางแคลงใจไมมีผลตอความมั่นใจ • ตองรอจนกวาจะเกิดความมัน่ ใจ 4. เมื่อใดที่พิจารณาแลวเห็นวา “ควรออกจากมัสยิดอยางรวดเร็วหลังเสร็จสิ้นการละหมาด” 5. ทานรอซูลุลลอฮ  เปนคนขี้อาย เปนคนถอมตน และเปนผูที่ใหอภัยเสมอ แตทานก็ยังทรง ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

120

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

เกียรติและทรงยิ่งใหญ...จงแสดงหลักฐานประกอบลักษณะดังกลาว 6.ผูที่ละหมาดแลวเผลอลืม แลวเพิ่มละหมาดจาก 4 รอคอะฮฺเปน 5 รอคอะฮฺ การละหมาดของเขา ถูกตองหรือไมอยางไร จงตอบพรอมแสดงหลักฐานประกอบ 7. ตาม “ขอ 6” เขาตองปฏิบัติอยางไร ในความผิดพลาดครั้งนี้ ? 8. การซูยุดซะฮฺวียเปนขอผอนปรนใหกับผูศ รัทธาในการปฏิบัติศาสนากิจอยางไร ? 9. การที่มุสลิมทําการซูยุดติลาวะฮฺเมื่ออานอายะฮฺอัลกุรอาน จะทําใหชยั ฏอนเปนทุกข จงแสดง หลักฐานประกอบจากฮาดิษ ? 10. การซูยุดติลาวะฮฺเปนบัญญัติ.... • ซุนัตสําหรับผูอานอัลกุรอานเทานั้น • ซูนัตสําหรับผูอานและผูรับฟงการอานอัลกุรอาน • ฟรฎสําหรับทั้งสองคน 11.จงทําเครื่องหมาย 9 หนาหัวขอทีก่ ลาวถูกตอง และจงทําเครื่องหมาย x หนาหัวขอที่ผิด • ซูยุดติลาวะฮฺตอ งกระทําในขณะที่รางกายสะอาดปราศจากฮาดัษ • ตองหันหนาไปทางกิบลัต • ซูยุดติลาวะฮฺไมตองตะชะฮุดและสลาม • อายะฮฺติลาวะฮมีทั้งหมด 5 อายะฮฺเทานั้น 12.ทานอาบีฮุรอยรอฮฺ ไดกลาวไววา “ฉันเองเคยทําการซูยุดหลังของทานรอซูลุลลอฮ  และ ยังคงซูยุดตามทานจนทานเสร็จสิ้น” ฮาดิษนี้มีความหมายวาอยางไร และทําไมเราจึงตองปฏิบัติตามซอ ฮาบะฮดวย ? 13.ใหนกั เรียนเขียนอายะฮฺทผี่ ูอานและผูฟงตองซูยุดติลาวะฮในอัลกุรอานมาทั้งหมด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

121

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

บทที่ 3 ศาสนบัญญัติการถือศิลอด หมวดที่ 1 ศีลอดในอัลกุรอาน อัลลอฮไดทรงตรัสไววา tβθà)−Gs? öΝä3ª=yès9 öΝà6Î=ö7s% ÏΒ šÏ%©!$# ’n?tã |=ÏGä. $yϑx. ãΠ$u‹Å_Á9$# ãΝà6ø‹n=tæ |=ÏGä. (#θãΖtΒ#u tÏ%©!$# $y㕃r'¯≈tƒ ’n?tãuρ 4 tyzé& BΘ$−ƒr& ôÏiΒ ×Ïèsù 9xy™ 4’n?tã ÷ρr& $³ÒƒÍ£∆ Νä3ΖÏΒ šχ%x. yϑsù 4 ;N≡yŠρ߉÷è¨Β $YΒ$−ƒr& ∩⊇∇⊂∪ ×öyz (#θãΒθÝÁs? βr&uρ 4 …ã&©! ×öyz uθßγsù #Zöyz tí§θsÜs? yϑsù ( &Å3ó¡ÏΒ ãΠ$yèsÛ ×πtƒô‰Ïù …çµtΡθà)‹ÏÜムšÏ%©!$# ;M≈oΨÉit/uρ Ĩ$¨Ψ=Ïj9 ”W‰èδ ãβ#uöà)ø9$# ϵŠÏù tΑÌ“Ρé& ü“Ï%©!$# tβ$ŸÒtΒu‘ ãöκy− ∩⊇∇⊆∪ tβθßϑn=÷ès? óΟçFΖä. βÎ) ( öΝà6©9 ×Ïèsù 9xy™ 4’n?tã ÷ρr& $³ÒƒÍs∆ tβ$Ÿ2 tΒuρ ( çµôϑÝÁuŠù=sù töꤶ9$# ãΝä3ΨÏΒ y‰Íκy− yϑsù 4 Èβ$s%öàø9$#uρ 3“y‰ßγø9$# zÏiΒ ©!$# (#ρçÉi9x6çGÏ9uρ nÏèø9$# (#θè=Ïϑò6çGÏ9uρ uô£ãèø9$# ãΝà6Î/ ߉ƒÌムŸωuρ tó¡ãŠø9$# ãΝà6Î/ ª!$# ߉ƒÌム3 tyzé& BΘ$−ƒr& ôÏiΒ Ü=‹Å_é& ( ë=ƒÌs% ’ÎoΤÎ*sù Íh_tã “ÏŠ$t6Ïã y7s9r'y™ #sŒÎ)uρ ∩⊇∇∈∪ šχρãä3ô±n@ öΝà6¯=yès9uρ öΝä31y‰yδ $tΒ 4†n?tã s's#ø‹s9 öΝà6s9 ¨≅Ïmé& ∩⊇∇∉∪ šχρ߉ä©ötƒ öΝßγ¯=yès9 ’Î1 (#θãΖÏΒ÷σã‹ø9uρ ’Í< (#θç6‹ÉftGó¡uŠù=sù ( Èβ$tãyŠ #sŒÎ) Æí#¤$!$# nοuθôãyŠ óΟçGΨä. öΝà6¯Ρr& ª!$# zΝÎ=tæ 3 £ßγ©9 Ó¨$t6Ï9 öΝçFΡr&uρ öΝä3©9 Ó¨$t6Ï9 £èδ 4 öΝä3Í←!$|¡ÎΣ 4’n<Î) ß]sù§9$# ÏΘ$uŠÅ_Á9$# öΝä3s9 ª!$# |=tFŸ2 $tΒ (#θäótFö/$#uρ £èδρçų≈t/ z≈t↔ø9$$sù ( öΝä3Ψtã $xtãuρ öΝä3ø‹n=tæ z>$tGsù öΝà6|¡àΡr& šχθçΡ$tFøƒrB (#θ‘ϑÏ?r& ¢ΟèO ( Ìôfxø9$# zÏΒ ÏŠuθó™F{$# ÅÝø‹sƒø:$# zÏΒ âÙu‹ö/F{$# äÝø‹sƒø:$# ãΝä3s9 t¨t7oKtƒ 4®Lym (#θç/uõ°$#uρ (#θè=ä.uρ 4 3 $yδθç/tø)s? Ÿξsù «!$# ߊρ߉ãn y7ù=Ï? 3 ωÉf≈|¡yϑø9$# ’Îû tβθàÅ3≈tã óΟçFΡr&uρ ∅èδρçų≈t7è? Ÿωuρ 4 È≅øŠ©9$# ’n<Î) tΠ$u‹Å_Á9$# ∩⊇∇∠∪ šχθà)−Gtƒ óΟßγ¯=yès9 Ĩ$¨Ψ=Ï9 ϵÏG≈tƒ#u ª!$# ÚÎit6ムy7Ï9≡x‹x.

โอบรรดาผูศรัทธาทั้งหลาย! ไดมีบัญญัติแกพวกเจาทั้งหลายใหทําการถือศีลอด ประดุจที่เคยบัญญัติ มาแลวแกบรรดาชนในยุคกอนหนาพวกเจา ทั้งนี้เพื่อพวกเจาจะไดมีความยําเกรง (ใหทําการถือศีลอด) ตาม กําหนดวัน (ที่แนชัด คือในเดือนรอมะฏอน) แตถาผูใดจากพวกเจาทั้งหลายปวยหรือกําลังเดินทาง (ก็ผอ นผัน มิตองถือศีลอด) ดังนั้น (จงถือศีลอดชดเชย) ในกําหนดวันอื่น และบังคับแกบรรดาผูไรสามารถในการถือศีล อด ใหชําระคาชดเชย คือใหอาหารแกคนอนาถา (หนึ่งทะนานตอหนึ่งวัน) แตผูใดก็ตามที่อาสากระทําดี (โดย ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

122

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ชดเชยเกินกวาอัตราที่กําหนดไว) ก็จะเปนความดีแกเขาอยางแนนอน และการถือศีลอดของพวกเจาทั้งหลาย (ในภาวะไดรับการผอนผันนั้น) ยอมจะเปนความดีแกพวกเจาเอง ทั้งนี้หากพวกเจารูเดือนรอมะฏอนซึ่งอัลกุ รอานถูกประทานลงมา เพื่อเปนสิ่งชี้นําแกมวลมนุษยชาติ และเปน (หลักฐาน) ที่ชัดแจงจากสิ่งชี้นํา และเปน การจําแนก (ระหวางความผิดกับความถูก) ดังนั้นบุคคลใดจากเจาทั้งหลายไดประจักษชัดแกเดือนนั้น เขาก็ จงถือศีลอดมันเถิด และผูใดเจ็บปวยหรือกําลังเดินทาง ก็ใหเขาถือศีลอดชดใชในกําหนดวันอื่นตอไป อัลลอฮฺ ทรงประสงคความสะดวกแกเจาทั้งหลาย และไมประสงคความลําบากแกพวกเจาเลย และพวกเจาจงนับ จํานวนวันใหครบถวน และจงสดุดีความเกรียงไกรแกอัลลอฮฺเถิด เนื่องในสิ่งที่พระองคทรงชี้นําพวกเจาและ เพื่อพวกเจาทั้งหลายจักไดขอบคุณพระองคและเมื่อมวลบาวของขาไดถามเจาถึงขา (เจาจงตอบไปเถิดวา) แทจริงขาเปนผูใกลชิด (กับพวกเจา) ขาคอยสนองตอบคําวอนขอผูวอนขอ เมื่อเขาไดวอนขอตอขา ดังนั้น พวกเขาจงขอการสนองตอบตอขาเถิด และพวกเขาจงมีศรัทธาในขาเถิด เพื่อพวกเขาจะไดรับการชี้นํา (ให อยูในทางที่ถูกตอง)ไดอนุมัติแกพวกเจาทั้งหลายในค่ําของการถือศีลอด ใหทําการรวมเพศสัมพันธกับภริยา ของเจาได เพราะพวกนางเปน (ประหนึ่ง) อาภรณของพวกเจา และพวกเจาก็เปน(ประหนึ่ง) อาภรณของ พวกนาง อัลลอฮฺทรงรอบรูวาพวกเจาทั้งหลายไดเคยคดโกงตัวเอง (ดวยการรวมเพศสัมพันธกับภริยาใน ยามค่ําของการถือศีลอด) แลวพระองคก็ทรงรับการสารภาพผิดแกพวกเจา และทรงใหอภัยแกพวกเจาทั้ง มวล ดังนั้น ณ บัดนี้ เจาทั้งหลายจงสัมผัสพวกนางเถิด และจงแสวงหา (ความสุขจากพวกนางไดอยางเสรี) ตามที่อัลลอฮฺ ไดทรงลิขิตไวแกพวกเจา พวกเจาจงรับประทานและจงดื่มจนกระทั่งไดชัดเจนแกพวกเจาซึ่ง เสน (แสง) สีขาว (ที่ทอดอยูขอบฟา) อันมาจากเสน(แสง) สีดํา (อันมืดสนิท) จากแสงอรุณ หลังจากนั้นเจา ทั้งหลายตองถือศีลอดใหเต็มวันจวบจนถึงกาลางคืน(คือ ตอนตะวันตกอันเปนเวลาละศีลอด) และพวกเจาจง อยาสัมผัส (รวมเพศสัมพันธ) แกพวกนาง ในขณะพวกเจาทําการสํารวมจิตใจมัสยิด นั้นเปนขอบเขต ของอัลลอฮฺ (ที่ทรงกําหนดไว) ดังนั้นพวกเจาจงอยาเขาใกลมัน (เปนอันขาด) เชนนั้นแหละอัลลอฮฺทรงแจง บรรดาโองการของพระองคแกมวลมนุษยเพื่อพวกเขาจะไดยําเกรง คําอธิบายศัพทยาก ศัพทยาก ‫ﺐ ﻋﻠﻴﻜﻢ‬ َ ‫ُآ ِﺘ‬ ‫ت‬ ٍ ‫أیﺎﻣﺎًﻣﻌﺪودا‬ ‫ﻓﻌ ﱠﺩ ﹲﺓ‬ ‫ﻴﻁﻴﻘﻭﻨﻪ‬ ‫ﻓِﺩﻴَﺔ‬ ‫ﻓﻤﻥ ﺘﻁﻭﱠﻉ‬

ความหมาย มีบัญญัติมาเหนือพวกทาน เดือนรอมะฏอน ถือศีลอดชดเชยในเดือนอื่น สามารถปฏิบัติได แตก็มีความลําบาก จายฟดยะฮฺ (คาชดเชย) ดวยการใหอาหารแกคนยากจน ใหอาหารมากกวาจํานวนที่กําหนด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01 ‫ﺍﻟﻔﺭﻗﺎﻥ‬ ‫ﻓﻤﻥ ﺸﻬ َﺩ ﻤﻨﻜﻡ ﺍﻟﺸﻬ َﺭ‬ ‫ﺙ ﺇﻟﻰ ﻨﺴﺎﺌﻜﻡ‬ ‫ﺍﻟﺭ ﹶﻓ ﹸ‬ ‫ﺘﺨﺘﺎﻨﻭﻥ ﺃﻨ ﹸﻔﺴَﻜﻡ‬ ‫ﺏ ﻋﻠﻴﻜﻡ‬ َ ‫ﻓﺘﺎ‬ ‫ﺒﺎﺸﺭﻭﻫﻥ‬ ‫ﻭﺍﺒﺘﻐﻭﺍ‬ ‫ﺇﻟﻰ ﺍﻟﻠﻴل‬ ‫ﻋﺎﻜﻔﻭﻥ‬

123

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

แยกแยะระหวางโมฆะธรรมกับสัจจธรรม ทันเขาสูเดือนรอมะฎอน ขณะที่มีคุณสมบัติครบถวน มีเพศสัมพันธ บิดพลิ้ว ตอตัวเอง ดวยการทําสิ่งที่ตองหาม ผอนปรนจากบัญญัติที่ยากลําบากตอการปฏิบัติ จงมีสัมพันธกับนาง จงแสวงหา ถึงเวลากลางคืน อิอฺติกาฟในมัสยิด

หมวดที่ 2 หลักการของการถือศีลอด นิยามและการบัญญัติ อัซซียามหรือการถือศีลอด หมายถึง การระงับจากการกระทําทีท่ ําใหเสียศีล อดทุกชนิด โดยเริ่มตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นไปจนกระทั่งถึงดวงอาทิตยตกดิน พรอมกับการตั้งเจตนา ซึ่งอัลลอฮ ไดทรงบัญญัติการถือศีลอดมายังมุสลิมใหทําการถือศีลอดในเดือนรอมะฎอน ในปที่ 2 แหงฮิจเราะฮฺศักราช การบัญญัติเกี่ยวกับการถือศีลอดมีการทยอยบัญญัติมาตามลําดับขั้นตอนถึง 3 ระดับคือ 1. มีการบัญญัติมาใหเลือก ใครตองการถือศีลอดก็ใหถือ ใครไมตองการก็ไมเปนไรแมวาจะมี ความสามารถก็ตาม แตใหเขาจายฟดยะฮฺดว ยการใหอาหารแกคนยากจนแทน ซึ่งอัลลอฮทรงตรัสไววา ،[184 :‫{ ]ﺍﻟﺒﻘﺭﺓ‬

‫} ﻭﻋَﻠﻰ ﺍﻟﱠﺬﻳﻦ ﻳُﻄﻴﻘﻮﻧَﻪ ﻓﺪﻳ ﹲﺔ ﻃﹶﻌﺎﻡُ ِﻣﺴْﻜﲔ‬

คือใหเลือกระหวางการถือศีลอดกับการจายฟดยะฮฺเปนอาหารใหกับผูจากจนอนาถาแทนการถือศีลอดทุกวัน 2.วายิบตองยึดถือปฏิบัติ แตมีการผอนปรนใหกับผูที่ปวยไข ไมสบาย ผูที่เดินทางไกล ใหสามารถ ละศีลอดได และใหถือศีลอดชดเชยในวันอื่น ตามจํานวนวันที่ละศีลอดไป อัลลอฮทรงตรัสไววา .[185 :‫ﻦ ﹶﺃﻳﱠﺎ ٍﻡ ﹸﺃﺧَﺮ { ]ﺍﻟﺒﻘﺭﺓ‬ ْ ‫ ﻭ َﻣ ْﻦ ﻛﹶﺎ ﹶﻥ ﻣَﺮﻳﻀﹰﺎ ﹶﺃ ْﻭ ﻋﻠﹶﻰ َﺳ ﹶﻔ ٍﺮ ﹶﻓ ِﻌ ﱠﺪ ﹲﺓ ِﻣ‬،ُ‫ﺼ ْﻤﻪ‬ ُ ‫ﺸ ْﻬ َﺮ ﹶﻓ ﹾﻠَﻴ‬ ‫} ﹶﻓ َﻤ ْﻦ َﺷ ِﻬ َﺪ ِﻣْﻨﻜﹸﻢُ ﺍﻟ ﱠ‬ 3.อนุญาตใหสามารถรับประทานอาหารเครื่องดื่มและมีเพศสัมพันธกบั ภรรยาไดหลังดวงอาทิตยตก ดิน ไปจนกระทั่งถึงแสงอรุณขึ้นในวันถัดมา ในระดับที่ 1 และ 2 มีหลักการปฏิบัติวาผูที่ถือศีลอดเมื่อนอน หลับไปแลวก็หามรับประทานอาหารเครื่องดื่มใด ๆ ทั้งสิ้น และหามมีเพศสัมพันธเด็ดขาด จึงกลายเปนเรื่อง ยากตอการปฏิบัติสําหรับมุสลิม ตอมาอัลลอฮก็ทรงประทานอายะฮฺลงมาวา ‫ﺾ ﻣـﻦ‬ ُ ‫ﻂ ﺍﻷﺑـﻴ‬ ‫ } ﻭﻛﹸﻠﻮﺍ ﻭﺍ ْﺷﺮَﺑﻮﺍ ﺣَﱴ ﻳﺘﺒﻴﱠﻦ ﻟﻜ ُﻢ ﺍﳋﹶﻴ ﹸ‬:‫{ ﺇﻟﻰ ﻗﻭﻟﻪ ﺘﻌﺎﻟﻰ‬...‫ﺚ ﺇﱃ ﻧﺴﺎﺋِﻜﻢ‬ ‫} ﺃﹸ ِﺣﻞﱠ ﻟﹶﻜﻢ ﻟﹶﻴﻠﹶﺔ ﺍﻟﺼﱢﻴﺎﻡ ﺍﻟﺮﱠﻓ ﹸ‬ .[187 :‫ { ]ﺍﻟﺒﻘﺭﺓ‬...‫ﻂ ﺍﻷﺳﻮ ِﺩ ﻣ َﻦ ﺍﻟﻔﹶﺠﺮ‬ ِ ‫ﺍﳋﹶﻴ‬

มุสลิมทุกคนตางเห็นพองกันวาวายิบตองถือศีลอดในเดือนรอมฎอน และศีลอดก็เปนหลักการหนึ่ง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

124

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ของหลักการอิสลามทั้งหา ผูใดปฏิเสธ ผูนั้นก็เปนกาเฟร พนสภาพจากการเปนมุสลิม เงื่อนไขการถือศีลอด เงื่อนไขการถือศีลอดมี 2 ประเภท ประเภทที่ 1 เงื่อนไขการวายิบ หมายถึงเงื่อนไขที่จําเปนตองปฏิบัติเพื่อใหการถือศีลอดเปนวายิบ คือ อิสลาม มีคุณสมบัติเปนมุกัลลัฟ(มีอายุครบตามเกณฑ มีสติสัมปชัญญะ) และตองมีความสามารถในการถือศีลอด ผูที่ ไมใชมุสลิม คนเสียสติ เด็ก ๆ ก็จะตกไป แตเด็ก ๆตองฝกฝนใหทําการถือศีลอด และเมื่อมีอายุครบ 10 ปก็ ตองลงโทษ และหากมีอายุถึง 9 ป(‫)ﳑﻴﺰ‬การถือศีลอดก็สามารถกระทําไดอยางสมบูรณ เชนเดียวกับผูที่ไม สามารถทําการถือศีลอดได บัญญัติก็จะตกไป เชน คนชรา คนปวยที่ไมมีความหวังวาจะหายขาด แตเขาตอง จายเปนคาทดแทน(ฟดยะฮฺ) เงื่อนไขประเภทที่ 2 เงื่อนไขเพื่อการปฏิบัติที่สมบูรณ หมายถึงเงื่อนไขที่จะทําใหการถือศีลอด สมบูรณถูกตอง คือ อิสลาม มุมัยยิซ(เด็กอายุครบ 9 ป) ปราศจากการมีรอบเดือน (น้ําคาวปลา) เพราะหญิงที่มี รอบเดือน หรือน้ําคาวปลา การถือศีลอดจะสมบูรณไดก็ตอเมื่อนางสะอาดจากรอบเดือน นางจะตองละศีล อดตลอดระยะเวลาที่มีรอบเดือนและมีน้ําคาวปลา และเมื่อใดที่นางสะอาดแลวก็วายิบใหถือศีลอดทดแทน วันที่ขาด โดยใหถือศีลอดชดเชยในวันปกติ การกระทําที่ตองปฏิบัติ(ฟรฎ)ในการถือศีลอด การกระทําที่ตองปฏิบัติในการถือศีลอดมี 2 ประเภท 1. การตั้งเจตนา เพื่อแบงแยกระหวางอีบาดะฮฺกับการกระทําที่ไมใชอีบาดะฮฺ การตั้งเจตนาไมตองพูด ออกมาเปนคําพูดเพราะการตั้งเจตนาจะอยูที่ใจ ผูใดที่รับประทานอาหารในตอนดึกโดยมีความตั้งใจวาจะทํา การถือศีลอด ก็แสดงวาไดตั้งเจตนาแลว ใครที่ตั้งใจวาจะไมกระทําในสิ่งที่ทําใหเสียศีลอดเพื่ออัลลอฮก็ แสดงวาตั้งใจถือศีลอดแลว ชวงเวลาของการตั้งเจตนา คือตลอดคืนไปจนกระทั่งถึงแสงอรุณขึ้น นั่นคือการ ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน หรือการชดเชยศีลอดที่ขาดในเดือนรอมะฎอน การถือศีลอดที่บนบานไว การถือ ศีลอดทดแทน(‫ )ﻛﻔﺎﺭﺓ‬หากแสงอรุณขึ้นแลวเขายังไมไดตั้งเจตนา การถือศีลอดในวันนั้นก็จะไมสมบูรณ51 เพราะมีฮาดิษจากทานหญิงฮัฟเสาะฮฺ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) ซึ่งไดรายงานไววา “ทานนบี  ไดกลาวไววา ผูใดก็ตามหากไมรวมไวซึ่งความตั้งใจและการตั้งเจตนา เพื่อถือศีลอดกอนเวลา รุงอรุณ การถือศีลอดของเขาก็จะไมสมบูรณ” รายงานโดยอะหฺมัด และเจาของซุนัน อิบนุคุซัยมะฮฺและอิบ นุฮิบบานใหฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอเหียะหฺ สวนการถือศีลอดที่เปนซูนัต ตามทัศนะของอัลอะหฺนาฟและชาฟอียะฮฺ สามารถตั้งเจตนาไดไป

51

สําหรับอัลอะหฺนาฟ การตั้งเจตนาในเดือนรอมฎอนยังสมบูรณไดหลังแสงอรุณขึ้นไปจนถึงกอนซุฮรฺ แตทางที่ดีตองใหทันตอนกลางคืน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

125

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

จนกระทั่งถึงกอนตะวันคลอย เพราะมีฮาดิษของทานหญิงอาอีชะฮฺ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแด ทาน) ไดรายงานไววา “ ทานนบี  ไดเขามาหานางแลวถามวา วันนี้ทานมีอะไรบาง ?” นางก็ตอบวา ไมมี อะไรเลย ทานก็ตอบวา “วันนี้ฉันถือศีลอด” รายงานโดยมุสลิมและอาบูดาวุด 2. การงดหรือระงับการรับประทานอาหาร เครื่องดื่มและสิ่งที่จะทําใหเสียศีลอดทั้งหมด ตั้งแตกอน แสงอรุณขึ้นไปจนกระทั่งถือดวงอาทิตยตกดิน สวนสิ่งที่จะทําใหเสียศีลอดมี 4 ประการคือ 1) การกิน การดื่มหรือนําเขาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเขาสูรางกายทางปาก ในรูปแบบของการใหอาหารแก รางกาย หรือแมกระทั่งการนําสิ่งที่ไมมีประโยชนเขาสูรางกาย ที่ไมใชทางปากก็ตาม แตสําหรับการฉีดยา เพื่อรักษาโรคทางเสนโลหิตหรือทางกลามเนื้อไมไดทําใหเสียศีลอดแตอยางใด 2) อาเจียนโดยเจตนา จะทําใหเสียศีลอด แตหากไมไดเจตนาก็ไมทําใหเสียศีลอดแตอยางใด เพราะ ทานนบี  ไดกลาวไววา ผูใดอาเจียนก็ไมตองชดเชย แตหากผูใดเจตนาทําใหอาเจียนโดยเจตนาก็จงชดเชย” รายงานโดย อะหฺมัด อาบูดาวุด อัตตัรมีซีย อิบนุมายะฮฺ อัดดารุลกุตนีย และทานอัลฮากิม โดยใหฮาดิษนี้เปน ฮาดิษซอเหียะหฺ 3) หลั่งอสุจิโดยเจตนา ไมวาจะดวยการกอดจูบภรรยา หรือจะใชวิธีสําเร็จความใคร ก็จะทําใหเสีย ศีลอด แตหากเปนแคมองดู หรือคิด แลวมีการหลั่งอสุจิ ก็จะไมเสียศีลอดแตอยางใด การหลั่งน้ําเมือกก็ เชนกัน ไมมีผลตอการถือศีลอด 4) การรวมประเวณี เพราะอัลลอฮไมทรงอนุญาตใหกระทําในเดือนรอมะฎอน ยกเวนในตอน กลางคืน ซึ่งอัลลอฮทรงตรัสไววา .[187 :‫]ﺍﻟﺒﻘﺭﺓ‬

{ ‫ﺚ ﺇﱃ ﻧﺴﺎﺋﻜﻢ‬ ‫} ﺃﹸ ِﺣﻞﱠ ﻟﻜﻢ ﻟﻴﻠﺔ ﺍﻟﺼﱢﻴﺎ ِﻡ ﺍﻟﺮﻓ ﹸ‬

ไดอนุมตั ิแกพวกเจาทั้งหลายในค่ําของการถือศีลอด ใหทําการรวมเพศสัมพันธกับภริยาของเจาได การกระทําเหลานี้ทั้งหมดจะทําใหเสียศีลอดก็ตอเมื่อผูถือศีลอดกระทําในขณะที่ยังระลึกได วา ตนเองถือศีลอดอยู แตหากกระทําไปเพราะเผลอลืม52 ก็ไมไดทําใหเสียศีลอดแตอยางใด ไมวาจะเปนศีลอด เดือนรอมะฏอนหรือศีลอดอื่น ๆ จะเปนซูนัตหรือฟรฎ เพราะทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ ผูใดเผลอ ลืม (วาเขากําลังถือศีลอด) ไปกินหรือดื่ม ก็ใหถือศีลอดตอไป แทจริงแลวอัลลอฮไดทรงประทานอาหารและ เครื่องดื่มแกเขา” รายงานโดยยะมาอะฮฺ ผูที่ตองละศีลอดในเดือนรอมะฎอน สถาวะที่ไมตองถือศีลอดมีทั้งหมด 6 ประการ 1) หญิงที่มีรอบเดือน มีน้ําคาวปลา (นิฟาส) หญิงที่อยูในสภาวะเหลานี้หามทําการถือศีลอด และวา

52

ตามทัศนะของชาฟอี อัลหะฮฺนาฟและุมฮูร ใหทัศนะวาไมทําใหเสียศีลอด แตทานมาลิกกลับเห็นวาศีลอดเสียตองชดเชยโดยไมตองจายกัฟฟาเราะฮฺ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

126

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ยิบตองทําการถือศีลอดชดเชยในวันหลัง โดยใหนางทําการถือศีลอดตามจํานวนวันที่ละทิ้งการถือศีลอดไป ทั้งหมด เพราะทานหญิงอาอิชะฮฺ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) ไดกลาวไววา “ในสมัยของ ทานรอซูลุลลอฮ  พวกเรามีรอบเดือนพวเราก็ไดรับคําสั่งใหทําการชดเชยการถือศีลอด แตสําหรับการ ละหมาดเราไมไดรับคําสั่งใหชดเชย” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม 2) ผูที่มีอาการปวย ผูที่อยูระหวางการเดินทางไกล อนุญาตใหละศีลอดได แตพวกเขาตองทําการ ชดเชยในวันอื่นแทน ในกรณีที่อยูในภาวการณเดินทางไกล หากไมมีปญหา ไมมีความยุงยาก การถือศีลอด จะดีกวาการละศีลอด เพราะมีรายงานจากทานอาบูซะอีดวา “พวกเราไดออกไปทําสงครามพรอมกับทาน รอซูลุลลอฮ  พวกเราบางคนถือศีลอด แตบางคนก็ไมไดถือศีลอด และแตละคนก็ไมมีใครตําหนิซึ่งกัน และกันแตอยางใด ในที่นี้พวกเขาดูวาใครที่แข็งแรง ก็ใหถือศีลอดซึ่งจะดีกวา แตผูใดที่ออนแอก็ไมตองถือ ศีลอด และเปนเรื่องที่ดีกวาดวย” รายงานโดยอะหฺมัดและมุสลิม สําหรับผูที่อยูในภาวการณเดินทางไกล จะอนุญาตใหไมตองถือศีลอดไดก็ตอเมื่อระยะทางเทากับ ระยะทางที่อนุญาตใหกอซัรละหมาดได 53 และตองออกเดินทางกอนรุงอรุณ หากเขาเปนคนอยูกับบาน โดย ตั้งเจตนาถือศีลอดแลวดวงอาทิตยขึ้นขณะที่เขายังอยูที่หมูบาน จากนั้นก็ออกเดินทาง ในลักษณะนี้จะละศีล อดไมได แตหากออกเดินทางในเวลากลางคืนโดยตั้งเจตนาถือศีลอดไวในเวลากลางคืน และตองการละใน เวลากลางวัน ในลักษณะนี้สามารถกระทําได ผูที่ปว ยไข ไ มสบาย หากถือศี ลอดแลว จะทํา ใหอาการป ว ยรุนแรงขึ้ น หรือจะทํา ใหห ายชาลงก็ อนุญาตใหละศีลอดได แตหากเขาเองจะถือศีลอดทั้งๆ ที่มีความยากลําบากอยู การถือศีลอดนั้นใชไดสมบูรณ แตไมควรปฏิบัติ เพราะไปขัดแยงกับการผอนปรนที่อัลลอฮทรงพึงพอใจอนุญาตให54 สวนหญิงมีครรภ อนุญาตใหไมตองถือศีลอดได และนางก็ตองชดเชย เหมือนคนปวยทั่วไป 3) คนชราหรือผูสูงอายุ หรือหญิงที่ชราภาพ ผูปวยที่มีอาการปวยหนักไมมีความหวังวาจะหาย ก็ไม ตองชดเชย แตใหพวกเขาจายฟดยะฮฺแทน ดวยการใหอาหารแกคนยากจนอนาถาทุกวัน ดังที่ทานอิบนุอับ บาสไดรายงานไววา “อนุญาตใหกับผูสูงอายุ ละศีลอด แตตองใหอาหารแกคนยากจนอนาถาทุกวัน และเขาก็ ไมตองถือศีลอดชดเชยแตอยางใด” รายงานโดยดารุลกุฏนีย อัลฮากิม โดยใหฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอเหียะหฺ 4) ผูที่ละศีลอดโดยเจตนา ไมวาจะดวยการรวมประเวณี การรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม การ อาเจียน การหลั่งอสุจิ เพราะเขาใจผิด คิดวาไดเวลาละศีลอดแลว หรือยังไมสวาง แตตอมาปรากฏวาเปนการ เขาใจผิด พวกเขาเหลานี้ทั้งหมดจะตองชดเชยโดยไมตองจายกัฟฟาเราะฮฺ ซึ่งตางกับผูที่กินหรือดื่มเพราะ เผลอลืม พวกเขาเหลานี้ไมตองชดเชย ดังที่ไดกลาวมาแลว ผูที่ละศีลอดเพราะเขาใจผิด จะไมเปนบาป แตหากเจตนาจะละศีลอด จะเปนบาปหนัก เพราะทาน รอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ผูใดละศีลอดหนึ่งวันในเดือนรอมะฏอน แมจะชดเชยสักหนึ่งปก็ยังไม 53

นั่นคือ 90 กม.โดยประมาณ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากเรื่องของการละหมาดสําหรับผูเดินทางไกล)

54

ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวถึงผูที่ยงั คงทําการถือศีลอดตอทั้งๆ ที่มีความยากลําบากวาไมใชเปนเรื่องที่ดีเลย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

127

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

เพียงพอ” รายงานโดยอะหฺมัด และดารุลกุฏนีย 5) ผูใดที่ละศิลอดดวยการรวมประเวณีโดยเจตนา เขาจะตองระงับการกินและดื่มตลอดทั้งวัน และ นักวิชาการมุสลิมเห็นตองกันวาฝายชายตองจายกัฟฟาเราะฮฺ แตยังมีความเห็นขัดแยงกันในเรื่องของกัฟฟา เราะฮฺวาวายิบฝายหญิงหรือไม อัลอะหฺนาฟเห็นวาวายิบตองจายดวย แตชาฟอียกลับเห็นวาไมตองจาย 6) ผูที่เปนบาเสียสติ เด็กๆ และคนกาเฟร สามารถละศีลอดไดไปจนกระทั่งหายจากอาการ สวนเด็ก จะวายิบก็ตอเมื่อมีอายุครบตามหลักศาสนภาวะ สวนคนกาเฟรจะวายิบก็ตอเมื่อเขารับอิสลามและเขาก็ไม ตองทําการชดเชยศีลอดในชวงที่ละศีลอดไป และไมตองจายฟดยะฮฺดวย สําหรับกัฟฟาเราะฮฺที่ตองจายคือการปลดปลอยทาสหญิง 1 คนใหเปนไท (เปนอิสระ) หรือการถือ ศีลอดติดตอกัน 2 เดือน หากไมสามารถกระทําได ก็ใหทําการใหอาหารแกคนยากจนอนาถา ดวยอาหาร ระดับปานกลางที่ใชเปนอาหารใหกับครอบครัวของตนเอง ตามทัศนะของุมฮูรใหทัศนะไววา ประเภท ของกัฟฟาเราะฮฺตองเรียงไปตามลําดับ (ความสามารถ) จะขามไปใชประเภทที่สองเลยในทันที่ไมได จะ เลือกทางที่สองไดก็ตอเมื่อไมสามารถกระทําในประเภทที่หนึ่งไดเทานั้น55 ดังที่ฮาดิษมัชฮูรไดกลาวไว มีชาย คนหนึ่งไปหาทานนบี  โดยบอกกับทานวา “โอทานรอซูลุลลอฮ ฉันพินาศแลว ทานก็ถามวา อะไรทําให ทานพินาศหรือ เขาก็ตอบวา ฉันมีเพศสัมพันธกับภรรยาของฉันในเดือนรอมะฎอน ทานนบี ก็ถามวา แลว ทา นมีทาสหญิงที่จปลดปล อยใหเ ป นอิสระหรือไม เ ลา เขาก็ตอบวา ไม มีหรอก ทา นก็ถามวา แลว ทาน สามารถที่จะถือศีลอดสองเดือนติดตอกันไดหรือไม ? เขาก็ตอบวา ไมได ทานก็ถามวา แลวทานมีอาหารทีจ่ ะ จายใหกับคนอนาถา 60 คนหรือไม เขาก็ตอบวา ไมมี แลวเขาก็นั่งลง วาแลวทานนบี  ก็นําผลอินทผาลัม มาจํานวนหนึ่งอุรุค56แลวบอกกับชายคนนั้นวา นําไปแจกจาย เขาก็ถามวา มีคนที่ยากจนกวาฉันอีกหรือ ใน เมืองนี้ ? ทานรอซูลุลลอฮก็ยิ้มจนเห็นฟนแลวก็กลาววา นําไปเปนอาหารใหกับครอบครัวของทานก็แลวกัน” รายงานโดย อัลยะมาอะฮฺ ผูใดทําผิดดวยการมีเพศสัมพันธถึงสองครั้งในวันเดียวกัน เขาก็จายกัฟฟาเราะฮฺเพียงครั้งเดียว แต หากไปทําอีกในวันตอไป ก็ใหจายไปตามจํานวนที่ทําผิด ยกเวนทัศนะของอัลอะหฺนาฟ ที่มีความเห็นวาให จายเพียงครั้งเดียว ยกเวนทําผิดแลวจายแลว และทําผิดอีกก็ใหจายกัฟฟาเราะฮฺอีก การถือศีลอดชดเชยในสวนที่ขาด การถื อศีล อดชดเชยในวั น ที่ ขาดนัก วิชาการมุสลิม ใหทัศนะตรงกัน วา จะตองทําการชดเชยเลย ในทันที กอนถึงรอมะฎอนในปถัดไป การชดเชยก็เหมือนการถือศีลอดทั่วไป ขาดกี่วันก็ชดเชยตามจํานวนที่

55

แตสําหรับมัซฮับของมาลิกียะอฺ สามารถเลือกไดในทันทีวาจะเอาประเภทที่หนึ่ง สองหรือสาม

56

1 อุรุคเทากับ 15 ซออฺ 1 ซออฺ มีน้ําหนักเทากับ 2176 กรัม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

128

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ขาด และไมจําเปนวาจะตองถือติดตอกัน สามารถถือชดเชยแยกวันกันก็ได57 แตการถือติดตอกันจะดีกวา เพราะจะเหมือนการถือศีลอดในเดือนรอมะฎอน หากรอจนกระทั่งถึงเดือนรอมะฎอนในปถัดมา แลวยัง ไมไดชดเชย หากมีเหตุจําเปนก็ใหทอดเวลาไปชดเชยหลังรอมะฎอน ก็ไมเปนบาป แตหากละไปโดยไมมี เหตุจําเปนหลังรอมะฎอนก็ตองจายฟดยะฮฺดวย นั่นคือใหอาหารคนยากจนอนาถาวันละ 1 คน58 ในกรณีที่มุสลิมคนหนึ่งเสียชีวิตลงโดยที่ยังไมไดชดเชยการถือศีลอด ผูเปนทายาทจะตองชดเชยให เพราะมีฮาดิษของทานรอซูลลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ ผูใดเสียชีวิตลงแลวยังไมไดชดเชยศีลอด ผูเปน ทายาทก็ตองถือศีลอดชดเชยใหแทน” รายงานโดยชัยคอน ชาฟอียะฮฺกลาววา ผูเปนทายาทสามารถที่จะเลือก ระหวางการถือศีลอดกับการฟดยะฮฺ แตุมฮูรกลับใหทัศนะวาทายาทตองใหอาหารแกคนยากจนทุกวัน(ตาม จํานวนที่ขาด) เพราะมีฮาดิษเปนหลักฐานวา “ผูใดเสียชีวิตและมีศีลอด(ที่ยังไมไดชดเชย)อยู ก็ให(ทายาท) จายอาหารใหกับคนยากจนอนาถาแทน ทุกวัน) รายงานโดยอัตตัรมีซีย เปนฮาดิษเมากุฟกับทานอิบนุอุมัร สิ่งที่ผูถือศีลอดสามารถกระทําไดขณะถือศีลอด อนุญาตใหผูถือศีลอดสามารถกระทําใหสิ่งตอไปนี้.. 1. ลงน้ําและดําน้ําขณะอาบ เพราะมีรายงานวา ทานรอซูลุลลอฮ  ทานเคยจุมศีรษะของทานลงใน น้ําในขณะที่ทานยังถือศีลอด เพราะความรอนและกระหาย”รายงานโดยอะหฺมัด มาลิกและทานอาบูดาวุด ดวยสายรายงานที่ถูกตอง หากน้ําเขาไปในทวารชองใดชองหนึ่งโดยไมเจตนา การถือศีลอดก็ยังสมบูรณ เพราะมันมีลักษณะคลายการลืม 2. ยอมตาหรือใสยาหยอดตา ซึ่งบางครั้งอาจจะรูสึกในลําคอ ก็ไมเปนไร สามารถกระทําได เพราะ ไมใชเปนการผานสิ่งของเขาทางปาก การหยอดหูดวยยาหยอดหูก็เชนกัน แตหากเปนการผานเขาไปทางปาก หรือทางจมูกนั้นเสียการถือศีลอดแนนอน 3.การบวนปาก(กลั้วคอ) หรือการลางจมูก หากทําไมรุนแรงมากนัก ก็อนุญาตใหทําได หากมีน้ําเขา ไปในลําคอโดยไมเจตนา ก็ไมทําใหเสียศีลอดแตอยางใด 4.การจุมพิต สําหรับผูที่สามารถควบคุมอารมณได ไมวาจะทํากับคนหนุมสาวหรือคนสูงอายุ แตที่ สําคัญตองควบคุมอารมณได แตหากใครที่จูบแลวเกิดอารมณ ก็ไมควรกระทํา 59 ในฮาดิษซอเหียะหฺ รายงาน วาทานรอซูลุลลอฮ  เคยจุมพิต (ในขณะทานยังถือศีลอด) ฮาดิษรายงานโดยบุคอรียและมุสลิม วันหนึ่ง ทานอุมัร อิบนุคอฏฏอบ ไดจุมพิต(ภริยาของทาน) ขณะที่ทานยังถือศีลอดอยู แลวทานก็มาหาทานนบี  57

การวายิบมีอยู 2 ประเภท ประเภทที่ 1 ชดเชยในทันที เมือ่ มีเงื่อนไขครบตามที่กําหนด หากชักชาโดยไมมีเหตุจําเปนก็จะเปนบาป สวนที่สอง ไมจําเปนตองทําในทันที และไมเปนบาปดวย 58

นี่คือทัศนะของุมฮูร แตอัลอะหฺนาฟกลับบอกวา ไมตองจายฟดยะฮฺแตอยางใด

59

นี่คือทัศนะของอัลอะหฺนาฟ สวนชาฟอีย การจูบหรือจุมพิต ไมควรกระทําแมวาจะควบคุมอารมณไดก็ตาม แตหากควบคุมอารมณมไมไดก็ฮา รอม(เปนที่ตองหาม) มิใหกระทํา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

129

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

โดยบอกกับทานวา “วันนี้ฉันทําเรื่องใหญ ฉันจุมพิต(ภริยาของฉัน)ขณะที่ฉันยังถือศีลอดอยู” ทานรอซู ลุลลอฮ  ก็บอกกับทานวา “ก็ลองดูสิหากทานบวนปากดวยน้ํา ขณะที่ทานยังถือศีลอดอยู (จะเปนอะไร หรือไม )” ทานอุมัรก็ตอบวา “ไมเปนไร” ทานก็ถามกลับมาวา “แลวทานถามทําไม” รายงานโดย อะหฺมัด และอาบูดาวุด 5.การกอกเลือด หมายถึงการเอาเลือด(เสีย)ออกจากศีรษะ หรือเอาเลือดออกจากอวัยวะสวนใดสวน หนึ่งของรางกาย ซึ่งทานรอซูลุลอฮ  ไดเคยกอกเลือดขณะที่ทานยังถือศีลอด รายงานโดย บุคอรีย ใน หนังสือซอเหียะหฺของทาน แตหากทําแลวทําใหออนเพลียก็ไมควรกระทํา(‫)ﻣﻜﺮﻭﻩ‬ 6. การสวนทวารหนัก เพื่อนําเอาของเสียออกจากรางกาย เพราะสิ่งที่นําเขาสูรางกายเปนเพียงยา ไมใชอาหาร60 7. สิ่งที่ผูถือศีลอดระวัง หลีกเลี่ยงไมได เชนการกลืนน้ําหลาย ฝุนละอองจากทองถนน การสูดดม กลิ่นหอม การลิ้มหรือชิมรสอาหารแลวคายทิ้ง โดยไมกลืนลงคอ 8. ตื่นเชามาดวยสภาพที่มียุนุบ ไมวาจะดวยการฝนเปยกหรือการรวมประเวณี แตทางที่ดีควรอาบน้ํา หลังการมีเพศสัมพันธ และกอนนอน.เพราะมีรายงานจากทานหญิงอาอิชะฮและทานหญิงอุมมุซะลามะฮฺ(ขอ ความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทานทั้งสอง)วา ทานนบี  ตื่นมาตอนเชาขณะมียูนุบ ทานลุกมาอาบน้ํา แลวก็ถือศีลอดตอ ฮาดิษรายงานโดย บุคอรียและมุสลิม . 9.ผูถือศีลอดสามารถกินอาหารตอไปไดจนกระทั่งถึงแสงอรุณขึ้น และเมื่อแสงอรุณขึ้นแลวในปาก ยังมีอาหารอยู ก็ใหคายทิ้ง หากเขาคายทิ้งการถือศีลอดก็ยังสมบูรณแตหากเขากลืนลงทองก็จะเสียศีลอด แต ทางที่ดี ควรยุติการกินและดื่มกอนเวลาแสงอรุณขึ้นสักเล็กนอย มารยาทในการถือศีลอดและขอควรปฏิบัติ(ซูนัต)ในการถือศีลอด 1.ทานซะฮูร (อาหารมื้อดึก) เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “ทานทั้งหลายจงทานซะฮูร เพราะใน ซะฮูรมีบารอกะฮฺอยู” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม ซูนัตใหทอดเวลาการรับประทานใหลาชาใหไดมาก ที่สุด 2.รีบเรงละศีลอดเมื่อมั่นใจวาดวงอาทิตยตกดินแลว เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “ผูคนยังคงอยู ในภาวะที่ดี ตราบใดที่พวกเขายังรีบเรงละศีลอด” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม ซูนัตใหละศีลอดดวยผล อินทผาลัม จํานวนคี่ หากไมมีผลอินทผาลัม ก็ใหละศีลอดดวยน้ํา จากนั้นก็ไปละหมาด เมื่อละหมาดเสร็จ แลวจึงจะมารับประทานอาหารที่ตองการ แตหากอาหารมีการเตรียมไวเสร็จแลวก็ควรรับประทานกอนแลว จึงไปละหมาด 3.ขณะละศีลอดใหอานดุอาตามที่ไดรับรายงานมาจากทานรอซูลุลลอฮ  ซึ่งทานรอซูลุลลอฮได ‫ ﻭﺜﺒ ﹶ‬،‫ ﻭﺍﺒﺘﻠﱠﺕ ﺍﻟﻌُﺭﻭﻕ‬،‫( ”ﺫﻫﺏ ﺍﻟﻅﻤﺄ‬ความกระหายสิ้นไป หยาดเหงื่อ กลาววา “‫ﺕ ﺍﻷﺠﺭ ﺇﻥ ﺸﺎﺀ ﺍﷲ ﺘﻌﺎﻟﻰ‬ 60

แตชาฟอียใหทัศนะวาเสียศีลอด เพราะนําสิ่งของเขาสูร างกายทางทวาร

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


130

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

โชกตัว ไดรับผลบุญจากอัลลอฮแนนอน อินชาอัลลอฮ) รายงานจากอาบูดาวุด อัลนะซาอีย และมีดุอา เพิ่มเติมขณะอยูกับอาหารวา ฮาดิษรายงานโดย อิบนุ ซะนีย.«

‫ﺏ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬ َ ‫» ﺍﻟﻠﻬ ّﻢ ﺑﺎﺭﻙ ﻟﻨﺎ ﻓﻴﻤﺎ ﺭَﺯﻗﺘﻨﺎ ﻭﻗِﻨﺎ ﻋﺬﺍ‬

4.ละทิ้งการกระทําที่ไมสอดคลองกับการถือศีลอด เชน การพูดปด การนินทาวาราย การยุยงปลุกปน การพูดในสิ่งที่ไรสาระ การพูดในสิ่งลามก และสิ่งที่อิสลามหามทุกประการ เพื่อใหการยําเกรงตออัลลอฮ บรรลุกิจ เพราะนั่นคือเปาหมายหลักของการถือศีลอด ซึ่งทานนบี  ไดกลาวไววา “การถือศีลอดไมใชแค การระงับจากการกินการดื่ม แตการถือศีลอดจะตองระงับจากการพูดสิ่งไรสาระ การพูดในสิ่งลามก หากมี ใครมาตอวาตอขานกับทาน ดูถูกดูแคลนทาน ก็จงพูดกับเขาวา แทจริงฉันกําลังถือศีลอด” รายงานโดยฮากิม และคนอื่น ๆ และทานนบี  ไดกลาวไวอีกวา “ผูใดที่ไมยอมละทิ้งการพูดปด และกระทําในสิ่งมดเท็จ ปวย การที่จะไปละทิ้งอาหารและเครื่องดื่มเพื่ออัลลอฮ” รายงานโดย ญามาอะฮฺ ยกเวนมุสลิม 5. ควรกระทําสิ่งดี ๆ ใหมาก ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการอานและศึกษาอัลกุรอาน และบริจาคใน หนทางของอัลลอฮ ซึ่งทานรอซูลุลลอฮ  คือบุคคลที่ทําความดีมากที่สุด และยิ่งจะทําดีมากยิ่งขึน้ ก็คือ ในชวงเดือนรอมะฎอน เมื่อทานยิบรีลมาหาทาน ก็จะมาหาในเดือนรอมะฎอน โดยมาสอนอัลกุรอานใหกับ ทาน” รายงานโดยชัยคอน 6.ทุมเทใหกับการประกอบอีบาดะฮฺ ดวยการพยายามทําในสิ่งซุนัตใหเพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ อยางยิ่งการละหมาดตะรอวีฮฺ เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “ผูใดลุกขึ้นในเดือนรอมะฎอน ดวยความ ศรัทธามั่น และคิดคํานวณไตรตรองตอตัวเอง อัลลอฮจะทรงอภัยในความผิดที่ผานมา” รายงานโดย บุคอรีย และมุสลิม 7. หมั่นแปรงฟน61 เพราะมีฮาดิษปรากฏอยูใ นฮาดิษของทานอามีร บิน รอบีอะฮฺวา “ฉันเห็นทาน รอซูลุลลอฮ  แปรงฟนหลายครั้งขณะทีท่ านยังถือศีลอด” รายงานโดยบุคอรีย 8. ละทิ้งสิ่งที่อนุญาตใหกระทําได(ตามที่ไดกลาวมาแลว) ยกเวนเมื่อมีความจําเปนจริงๆ เชน การ ชิมรสอาหาร การทอดเวลาอาบน้ําหลังรุงอรุณ กิจกรรม การถือศีลอด 1.อานการอรรถาธิบายอายะฮฺในซูเราะฮฺอลั บากอเราะฮฺ พรอมทําความเขาใจแลวสรุปความแลวตอบคําถาม ดังตอไปนี้ใหถูกตอง 1) ทําไมการถือศีลอดจึงกลายเปนบัญญัติหนึ่งของอิสลาม 2) ในอายะฮฺ(ของซูเราะฮฺบากอเราะฮฺ)มีการเชื่อมโยงระหวางการศรัทธา การถือศีลอดและการยํา

61

ชาฟอีย ใหทัศนะไววา ไมควร(‫ )ﻣﻜﺮﻭﻩ‬แปรงฟนหลังตะวันคลอย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

131

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

เกรงตออัลลอฮเขาดวยกัน...จงอธิบาย 3) ทําไมอิสลามจึงใหการถือศีลอดที่เปนฟรฎตองปฏิบัติในเดือนรอมะฎอน ? 4) อัลลอฮทรงกลาวถึงความสะดวกเกีย่ วกับการถือศีลอดไวในอายะฮฺที่วา  ‫ ﻳﺮﻳﺪ ﺍﷲ ﺑﻜﻢ ﺍﻟﻴﺴﺮ ﻭﻻ ﻳﺮﻳﺪ ﺑﻜﻢ ﺍﻟﻌُﺴﺮ‬ จงอธิบายเกีย่ วกับความสะดวกดังกลาวมาพอสังเขป 5) คําวา “เสนดายสีขาว กับเสนดายสีดํา”ในที่นี้หมายความวาอยางไร ? 6) อัลลอฮทรงตรัสไววา . . ‫ ﺇﺫﺍ ﺴﺄﻟﻙ ﻋﺒﺎﺩﻱ ﻋﻨﻲ ﻓﺈﻨﻲ ﻗﺭﻴﺏ‬อายะฮฺนี้มีความเกีย่ วพันธกับอา ยะฮฺกอนหนานี้อยางไร ? จงอธิบาย 7) อัลลอฮทรงตรัสไววา ‫ ﻭﻻ ﺗﺒﺎﺷﺮﻭﻫﻦ ﻭﺃﻧﺘﻢ ﻋﺎﻛﻔﻮﻥ ﰲ ﺍﳌﺴﺎﺟﺪ‬จงบอกฮาดิษที่มีความหมาย สอดคลองกับอายะฮฺนี้มา สัก 1 หรือ 2 ฮาดิษ 2. การประกาศวาเดือนชะอฺบานครบสามสิบวัน หรือมีการเห็นดวงจันทร เปนการประกาศตามหลักการ ..จง บอกหลักฐานที่สนับสนุนกับแนวทางนี้มาพอเขาใจ 3.เพราะเหตุใด อิสลามจึงสนับสนุนใหทอดเวลาการทานซะฮูร แตใหรีบเรงการละศีลอดเมื่อไดเวลา ? 4.ใหนกั เรียนบอกมารยาทการถือศีลอด และการละศีลอดมาพอสังเขป 5. ฮาดิษที่วา “การกระทําทั้งหมดของลูกหลานอาดัม เพื่อพวกเขาทั้งหมด ยกเวนการถือศีลอด เปนการ กระทําเพื่ออัลลอฮ” ฮาดิษนีห้ มายความวาอยางไร? จงอธิบาย 6. ใหนกั เรียนอธิบาย คําวา “ดีใจสองครั้งของการถือศีลอด” พรอมเหตุผล 7. คําวา “หากทานตองการก็จงถือศีลอด หากไมตองการก็ละศีลอดเสีย” อีกฮาดิษหนึง่ กลาววา “ไมเปนการดี เลยที่จะถือศีลอดขณะเดินทางไกล” นักเรียนจะรวมความหมายทั้งสองเขาดวยกันไดอยางไร ? 8. เพราะเหตุใดจึงอนุญาตใหหญิงมีครรคและหญิงที่ใหนมบุตรละศีลอดได 9. ใหนกั เรียนระบุหลักการทางศาสนบัญญัติในสถานการณดังตอไปนี้วาควรปฏิบตั ิอยางไร ? 1) หลังทานซะฮูรอยูเมื่อดูนาฬิกา ก็พบวาแสงอรุณขึ้นแลว 2) สองคนปวย คนหนึ่งรักษาดวยการรับประทานยาเม็ด อีกคนใชวิธีฉีดยา (ขณะทีก่ ําลังถือศีลอด) 3) เขาสูเดือนรอมะฎอน และทําการถือศีลอด แตลืมตั้งเจตนา มานึกขึ้นไดในตอนเที่ยงวัน แตตัวเขา เองยังไมไดรับประทานอาหารและดื่มน้ําแตอยางใด 4) คนชราภาพตองการที่จะถือศีลอด 5) นอนหลับและฝนเปยกในกลางวันของเดือนรอมะฎอน 6) รวมหลับนอนกับภรรยาแลวมาอาบน้ําในตอนหลังแสงอรุณขึ้น 7) คนเดินทางไกล จายฟดยะฮฺทดแทนวันที่ละศีลอดในเดือนรอมะฎอน 8) ขณะถือศีลอดแลวเกิดอาเจียน 9) หญิงที่มีรอบเดือน สิ้นสุดการมีรอบเดือนแลว นางก็ถอื ศีลอดแลวพบวาตัวเองมีเลือดอิสติฮา ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

132

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

เฎาะฮฺติดอยู ... 10) เดินทางไกล แลวเกิดกระหายน้ําเลยดืม่ น้ําโดยยึดถือวาตนเองอยูในภาวะเดินทางไกล 11) คนทําขนมปงอยูหนาเตาอบตลอดวัน จึงยากแกการถือศีลอด 12) ไมมีเหตุจาํ เปน แตกลับไปละศีลอดในเดือนรอมะฎอน ตอมาก็สํานึกผิด และตองการเตาบะฮฺ 10. ผูใดที่วายิบใหถือศีลอดและผูใดที่อนุญาตใหละศีลอดได ? 11. ผูใดบางทีอ่ นุญาตใหละศีลอดแลวตองถือศีลอดชดเชยโดยไมตองจายฟดยะฮฺ และผูใดบางที่ตองจายฟต ยะฮฺพรอมชดเชย ? 12. อาการปวยประเภทใดทีอ่ นุญาตใหละศีลอดได ,และผูที่มีความกระหายอยางรุนแรงที่อาจเปนอันตราย ตอรางกายควรปฏิบัติอยางไร ?

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


133

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 3 ประเภทของศีลอด ศีลอดที่เปนวายิบ ศีลอดที่เปนวายิบคือ 1) ศีลอดในเดือนรอมะฎอน ของทุกมี เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา .[185 :‫{ ]ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ‬...‫ﻓﻠﻴﺼﻤﻪ‬

‫ ﻓﻤﻦ ﺷﻬﺪ ﻣﻨﻜﻢ ﺍﻟﺸﻬﺮ‬...}

2) ศีลอดที่เปนกัฟฟาเราะฮฺ เชนการฆาชีวิตผูอื่นโดยพลั้งพลาดไมเจตนา (‫ )ﺍﻟﻘﺘﻞ ﺍﳋﻄﺎﺀ‬การทดแทน ตองทําการถือศีลอดติดตอกันสองเดือน อัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา βÎ*sù 4 (#θè%£‰¢Átƒ βr& HωÎ) ÿÏ&Î#÷δr& #’n<Î) îπyϑ¯=|¡•Β ×πtƒÏŠuρ 7πoΨÏΒ÷σ•Β 7πt7s%u‘ ãƒÌóstGsù $\↔sÜyz $·ΨÏΒ÷σãΒ Ÿ≅tFs% tΒuρ …….4 öΝà6oΨ÷t/ ¤Θöθs% ÏΒ šχ%Ÿ2 βÎ)uρ ( 7πoΨÏΒ÷σ•Β 7πt6s%u‘ ãƒÌóstGsù Ñ∅ÏΒ÷σãΒ uθèδuρ öΝä3©9 5iρ߉tã BΘöθs% ÏΒ šχ%x. Èøtôγx© ãΠ$u‹ÅÁsù ô‰Éftƒ öΝ©9 yϑsù ( 7πoΨÏΒ÷σ•Β 7πt6s%u‘ ãƒÌøtrBuρ Ï&Î#÷δr& #’n<Î) îπyϑ¯=|¡•Β ×πtƒÏ‰sù ×,≈sV‹ÏiΒ ΟßγoΨ÷t/uρ .[92 :‫∩ ]ﺍﻟﻨﺴﺎﺀ‬⊄∪ $VϑŠÅ6ym $¸ϑŠÎ=tã ª!$# šχ%x.uρ 3 «!$# zÏiΒ Zπt/öθs? È÷yèÎ/$tFtFãΒ

......และผูใดฆาศรัทธาชนโดยพลั้งพลาด ก็ใหเขาจัดการปลดปลอยทาสผูมีศรัทธาหนึ่งคน และคาทําขวัญ (อูฐ 100 ตัว) ตองมอบแกทายาทของเขา ยกเวนในกรณีพวกทายาทยกเปนทาน แตถาปรากฏวา (ผูถูกฆาโดย ไมเจตนาฆานั้น) เขาเปนคนหนึ่งในกลุมในกลุมศัตรูของพวกเจา (ที่เปนคูสงคราม) ขณะที่ตัวเขาเองเปนผู ศรัทธาก็ใหเพียงแตปลดปลอยทาสผูมีศรัทธาหนึ่งคน และถาปรากฏวา (ผูถูกฆาโดยไมเจตนานั้น) เขาเปนผู หนึ่งจากกลุมชนที่มีสัญญาสันติภาพระหวางพวกเขากับพวกเจา ก็ใหชําระคาทําขวัญซึ่งมอบแกทายาทของ เขา และปลดปลอยทาสที่มีศรัทธาหนึ่งคน แตใครไมมี (สิ่งเหลานั้น) ก็ใหเขาทําการถือศีลอดสองเดือน ตอเนื่องกัน (บทบัญญัติดังกลาว) เปนการลุแกโทษจากอัลลอฮฺ (แกพวกเจา) และอัลลอฮฺทรงรอบรูยิ่งอีกทั้ง ทรงปรีชาญาณยิ่ง 3) กัฟฟาเราะฮฺทดแทนการมีเพศสัมพันธในเดือนรอมะฎอน โดยเจตนา ขณะที่ยังถือศีลอด คือการ ถือศีลอดสองเดือนติดตอกัน ดังที่อัลลอฮไดกลาวมาแลวในเรื่องของการละศีลอดในเดือนรอมะฎอน 4) กัฟฟาเราะฮฺจากการผิดคําบนบาน คือตองถือศีลอดติดตอกัน 3 วัน ในกรณีที่ไมสามารถให อาหารแกคนยากจนอนาถา 10 คนได เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

134

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ÿ…çµè?t≈¤s3sù ( z≈yϑ÷ƒF{$# ãΝ›?‰¤)tã $yϑÎ/ Νà2ä‹Ï{#xσムÅ3≈s9uρ öΝä3ÏΖ≈yϑ÷ƒr& þ’Îû Èθøó¯=9$$Î/ ª!$# ãΝä.ä‹Ï{#xσムŸω ô‰Ågs† óΟ©9 yϑsù ( 7πt6s%u‘ ãƒÌøtrB ÷ρr& óΟßγè?uθó¡Ï. ÷ρr& öΝä3ŠÎ=÷δr& tβθßϑÏèôÜè? $tΒ ÅÝy™÷ρr& ôÏΒ tÅ3≈|¡tΒ Íοu|³tã ãΠ$yèôÛÎ) öΝä3s9 ª!$# ßÎit7ムy7Ï9≡x‹x. 4 öΝä3oΨ≈yϑ÷ƒr& (#þθÝàxôm$#uρ 4 óΟçFøn=ym #sŒÎ) öΝä3ÏΨ≈yϑ÷ƒr& äοt≈¤x. y7Ï9≡sŒ 4 5Θ$−ƒr& ÏπsW≈n=rO ãΠ$u‹ÅÁsù .[89 :‫∇∩ ]ﺍﻟﻤﺎﺌﺩﺓ‬∪ tβρãä3ô±n@ ÷/ä3ª=yès9 ϵÏG≈tƒ#u

อัลลอฮไมทรงเอาผิดพวกเจาทั้งหลาย ในการที่ไมจงใจของพวกเจา แตพระองคทรงเอาผิดพวกเจา ดวยสิ่งที่พวกเจาไดจงใจผูกพันการสาบาน (อยางจริงจัง) ดังนัน้ การไถความผิดของมัน (เมื่อไมไดทําไป ตามสาบานนัน้ ๆ ) คือ การใหอาหารแกคนอนาถาสิบคน (โดยเลือกมา) จากระดับปานกลางของ (อาหาร) ที่ พวกเจาใหแกครอบครัวของพวกเจา หรือเครื่องนุง หมของพวกเขา (คนอนาถา 10 คน) หรือการปลอยทาส เปนอิสระ (หนึ่งคน) แตถาผูใดไมได (สิ่งเหลานั้นมาไถความผิดดังที่กลาวมา) ก็จะตองถือศีลอดสามวัน นั้น เปนการไถความผิด (แหงการฝาฝน) คําสาบานของพวกเจา (ไวดวยการปฏิบตั ิตามสาบานอยางเครงครัด) เชนนั้นแหละ ที่อัลลอฮทรงชี้แจงแกพวกเจา ซึ่งโองการตางๆ ของพระองค ทั้งนี้เพื่อพวกเจาจะไดขอบคุณ 5) กัฟฟาเราะฮฺเพื่อชดเชยการประกอบพิธีหัจญ สําหรับผูที่วายิบตองเชือดสัตว และไมสามารถเชือด สัตวได เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา 5Θ$−ƒr& ÏπsW≈n=rO ãΠ$u‹ÅÁsù ô‰Ågs† öΝ©9 yϑsù 4 Ä“ô‰oλù;$# zÏΒ uy£øŠtGó™$# $yϑsù Ædkptø:$# ’n<Î) Íοt÷Κãèø9$$Î/ yì−Gyϑs? yϑsù .[196 :‫ ]ﺍﻟﺒﻘﺭﺓ‬.....3 's#ÏΒ%x. ×οu|³tã y7ù=Ï? 3 öΝçF÷èy_u‘ #sŒÎ) >πyèö7y™uρ Ædkptø:$# ’Îû

แลวผูใดถือความสะดวกดวยการรวมอุมเราะฮฺกับฮัจย (ในวาระเทศกาลเดียวกัน) เขาก็จะตองเชือด สัตวพลีทาน (เทาที่จะหาได) ตามสะดวก (เชน เชือดแพะ 1 ตัว เปนตน แตถาเขาไมนํามารวมกันคือ ทําคน ละวาระเขาก็ไมตองเชือดสัตวพลีทานแตประการใด ๆ) แตถาใครไมมี (สิ่งที่จะนํามาเชือด) ก็ตองถือศีลอด สามวันในชวงประกอบพิธีฮจั ยและอีกเจ็ดวันเมื่อกลับ (มาถึงบานแลว) นั้นรวมเปนสิบวันบริบูรณ 6) กัฟฟาเราะฮฺซิฮาร(‫ )ﻛﻔﺎﺭﺓ ﺍﻟﻈﻬﺎﺭ‬คือการถือศีลอด 2 เดือนติดตอกัน เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา 4 $¢™!$yϑtFtƒ βr& È≅ö6s% ÏiΒ 7πt7s%u‘ ãƒÌóstGsù (#θä9$s% $yϑÏ9 tβρߊθãètƒ §ΝèO öΝÍκÉ″!$|¡ÎpΣ ÏΒ tβρãÎγ≈sàムtÏ%©!$#uρ ÏΒ È÷yèÎ/$tGtFãΒ Èøtöηx© ãΠ$u‹ÅÁsù ô‰Ågs† óΟ©9 yϑsù ∩⊂∪ ×Î7yz tβθè=yϑ÷ès? $yϑÎ/ ª!$#uρ 4 ϵÎ/ šχθÝàtãθè? ö/ä3Ï9≡sŒ šù=Ï?uρ 4 Ï&Î!θß™u‘uρ «!$$Î/ (#θãΖÏΒ÷σçGÏ9 y7Ï9≡sŒ 4 $YΖŠÅ3ó¡ÏΒ tÏnGÅ™ ãΠ$yèôÛÎ*sù ôìÏÜtGó¡o„ óΟ©9 yϑsù ( $¢™!$yϑtFtƒ βr& È≅ö6s% .[4 ،3 :‫ ∪⊆∩ ]ﺍﻟﻤﺠﺎﺩﻟﺔ‬îΛÏ9r& ë>#x‹tã zƒÌÏ≈s3ù=Ï9uρ 3 «!$# ߊρ߉ãn

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

135

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

และบรรดาสามีที่(ซีฮารฺ)เปรียบเทียบภริยาเหมือนหลังมารดา หลังจากนั้นพวกเขาก็กลับคําพูดเสีย ใหม ดังนั้น (พวกเขาผูเปนสามีนั้นตอง) ปลอยทาสเปนอิสระหนึ่งคนกอนที่คนทั้งสอง (สามี-ภริยา) จะทํา การสัมผัส (ทางเพศ) ซึ่งกันและกัน นั้นแหละที่พวกเขาถูกอบรมมาและอัลเลาะฮฺทรงตระหนักในสิ่งที่พวก เจาประพฤติตอ มาผูใดไมได (ทาสมาปลดปลอย) ก็ใหเขาทําการถือศีลอดสองเดือนติดตอกันทีส่ ุดผูใดไม สามารถ (ที่จะถือศีลอด) ก็ใหเขาใหอาหารแกคนหกสิบคน นั้นเพื่อพวกเจาศรัทธากับอัลเลาะฮฺและศาสนทูต ของพระองค และนั้นเปนหลักเกณฑของอัลเลาะฮฺ และสําหรับบรรดาจําพวกเนรคุณนั้น ตองรับการลงโทษ อันทรมานที่สุด 7) การถือศีลอดตามที่ไดบนบานไว การบนบานในทุกเรื่อง เปนสิ่งที่ไมควรปฏิบัติ แตเมื่อมุสลิม บนบานไปแลวก็ตองปฏิบัตติ ามที่ไดบนบานไว เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา ،[7 :‫ ∪∠∩]ﺍﻹﻨﺴﺎﻥ‬#ZÏÜtGó¡ãΒ …çν•Ÿ° tβ%x. $YΒöθtƒ tβθèù$sƒs†uρ Í‘õ‹¨Ζ9$$Î/ tβθèùθãƒ

(ที่พวกเขาไดรับการตอบแทน ก็เพราะ) พวกเขาทําตามการบนอยางครบถวน (ไมบิดพริ้ว) และพวก เขากลัววันหนึ่ง ซึ่งโทษทัณฑของมันนั้นโบยบินอยูทั่วไป (จะหลบหนีไปไหนไมพน วันนั้นคือ วันอาคิ เราะฮฺ) การถือศีลอดตองหาม 1.การถือศีลอดในวันตรุษทั้งสอง (อีดิลฟตรี อีดิลอัฎฮาอฺ) เพราะมีฮาดิษจากทานอาบีซะอีด อัลคุดรี ยีย รายงานไววา ทานรอซูลุลลอฮ ไดหามถือศีลอดในสองวัน คือวันตรุษอีดิลฟตรีญ และวันตรุษอีดิลอัฎ ฮา” รายงานโดยบุครียและมุสลิม และนักวิชาการมุสลิมก็เห็นตองกันวา หามทําการถือศีลอดในวันทั้งสอง 2.วันตัชรีค คือ 3 วันหลังวันตรุษอีดิลอัฎฮา เพราะมีฮาดิษของทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา วันตัชรีคทั้ง 3 วันเปนวัน กินวันดื่ม และเปนวันระลึกถึงอัลลอฮ” รายงานโดยมุสลิม แตอัชชาฟอีย อนุญาต ใหถือศีลอดในวันตัชรีคได หากมีสาเหตุอื่นเขาเชน ในกรณีบนบานไว หรือการถือศีลอดกัฟฟาเราะฮฺ 3. การถือศีลอดในวันศุกรวันเดียว เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “ อยาถือศีลอดในวันศุกร นอก เสียจากวาไดถือศีลอดมากอนหรือจะถือศีลอดในวันหลังดวย” รายงานโดย ชัยคอน หากถือศีลอดมากอนวัน ศุกร หรือหลังวันศุกรดวย ก็อนุญาตใหทําได 4. การถือศีลอดในวันเสารแตเพียงวันเดียว เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “ อยาไดถือศีลอดในวัน เสาร ยกเวนเมื่อมีฟรฎมายังทาน แมวาคนหนึ่งคนใดจากพวกทานจะไมมีอะไรเปนอาหารยกเวน เปลือกองุน ก็ตาม” รายงานโดย อะหฺมัด และเจาของซุนัน และทานอัลฮากิม แตหากถือศีลอดวันกอนหรือวันหลังดวย ก็ ไมเปนไร อนุญาตใหทําได 5.การถือศีลอดในครึ่งที่สองของเดือนชะบาน หากไมไดถือศีลอดในวันกอนหนา เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “ เมื่อผานครึ่งที่สองของเดือนชะบาน ก็อยาไดถือศีลอด” รายงานโดยเจาของซุนัน สวนฟุกอ ฮะฮฺไดใหทัศนะไววา ไมควรปฏิบัติ (‫ )ﻣﻜﺮﻭﻩ‬ยกเวนผูที่มีทําการถือศีลอดมาอยางตอเนื่อง และยิ่งจะมีการ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

136

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หามมากขึ้นในหนึ่งวันหรือสองวันกอนเขาสูเดือนรอมฎอน เพราะมีฮาดิษอีกฮาดิษหนึ่งกลาวไววา อยาได ถือศีลอดกอนเดือนรอมฎอน หนึ่งหรือสองวัน นอกจากผูที่ไดถือศีลอดมากอนหนานี้แลว ก็จงถือศีลอดตอ” รายงานโดยบคอรียและมุสลิม ในวันที่มีความคลางแคลงใจอยู คือวันที่ 30 เดือนชะบาน เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “ผูใดที่ถือศีลอดในวันที่ไมแนนอน (วันที่ยังไมแนใจวาเขาสูเดือนรอมะฎอนหรือยัง) แทจริง แลวเขาเปนผูทรยศตอทานนบี” รายงานโดยเจาของซุนัน และอัลฮากิม ซึ่งบอกวาฮาดิษนี้เปนฮาดิษซอ เหียะหฺ ตามเกณฑของบุคอรียและมุสลิม 6.การถือศีลอดในวันอารอฟต สําหรับผูที่อยูที่อารอฟต เพราะมีฮาดิษของทานรอซูลุลลอฮ  ได หามการถือศีลอดในวันอารอฟต ที่อารอฟต” รายงานโดย ผูรายงานทั้งหาทาน ยกเวนอัตตัรมีซีย และอัล ฮากิมใหเปนฮาดิษซอเหียะหฺ 7.สตรีถือศีลอดซูนัตโดยไมขออนุญาตผูเปนสามี เพราะมีฮาดิษของทานอาบีฮุรอยเราะฮฺวาทานนบี  ไดกลาวไววา “ไมอนุมัติใหสตรีถือศีลอด ในขณะที่สามีของนางอยูกับบาน ยกเวนจากการอนุญาตของ สามี และเปนการถือศีลอดที่ไมใชรอมฎอน” รายงานโดยบุคอรียมุสลิม 8. การถือศีลอดอยางตอเนื่องโดยไมรับประทานอาหารและเครื่องดื่ม และถือศีลอดตอเนื่องไป จนกระทั่งถึงวันตอไป เพราะมีฮาดิษของทานอิบนุอุมัร ไดกลาวไววา “ทานนบี  ไดหามการถือศีลอด ตอเนื่อง พวกเขากลาววา “ทาน(นบี) ถือศีลอดตอเนื่อง ทานก็กลาววา แทจริงแลว ฉันเองไมเหมือนพวกทาน แทจริงฉันไดรับการใหอาหารและเครื่องดื่ม” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม 9.การถือศีลอดตลอดทั้งป เพราะมีฮาดิษของทานอิบนุอุมัร ไดรายงานไววา ทานรอซูลุลอฮ  ได กลาวไววา “การถือศีลอดตลอดทั้งป ไมเปนการถือศีลอด” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม 10. การถือศีลอดที่ตองหามอีกชนิดหนึ่งคือ หญิงมีรอบเดือน หญิงที่มีน้ําคาวปลา ศีลอดของผูปวย คนเดินทาง หญิงมีครรภ หญิงใหนมลูก คนชรา ที่เกรงวาหากถือศีลอดแลวจะเกิดความยากลําบาก จึงไมควร ถือศีลอด การถือศีลอดซูนัต และวันที่ซูนัตใหถือศีลอด 1.การถือศีลอดใน 6 วันของเดือนเชาวาล เพราะมีฮาดิษจากทานรอซูลุลลอฮ  กลาวไววา “ ผูใดทํา การถือศีลอดเดือนรอมะฎอน จากนั้นก็ตามติดมาดวยการถือศีลอด 6 วันในเดือนเชาวาล ก็จะไดกุศลเหมือน ถือศีลอดตลอดป” รายงานโดย มุสลิม ทางที่ดีใหถือศีลอดหลังวันตรุษในทันที 2.การถือศีลอดใน 9 วันแรกของเดือนซุลฮิจยะฮฺ เพราะมีฮาดิษของทานหญิงฮัฟเสาะฮฺ ซึ่งไดกลาว ไววา “สี่ประการที่ทานรอซูลุลลอฮ  ไมเคยละทิ้ง คือการถือศีลอดในวันอาชูรออฺ และวันที่สิบ (ของเดือน วุลฮิจยะฮฺ สามวันของทุกเดือน และการละหมาดสองรอคอะฮฺ กอนเวลาเชาตรู ” รายงานโดยอะหฺมัดและ อันนะซาอีย การถือศีลอดในวันอารอฟต สําหรับผูที่ไมไดทําการวุกูฟอยูที่อารอฟต เพราะมีฮาดิษหนึ่งกลาวไววา “การถือศีลอดในวันอารอฟต จะชวยลบลาง(บาป)สองปที่ผานมาและสองปในอนาคต การถือศีลอดวันอาชู ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

137

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

รอ จะชวยลบลางบาปในปที่ผานมา” รายงานโดยยะมาอะฮฺ ยกเวนอัลบุคอรีย 3.การถือศีลอดในเดือนมุฮัรรอม เพราะมีฮาดิษของทานอาบีฮูรอยเราะฮฺรายงานไววา มีคนเรียนถาม ทานรอซูลุลลอฮ  วาการละหมาดเวลาใดที่ดีที่สุดนอกเหนือจากละหมาดฟรฏ ทานก็ตอบวา ละหมาดตอน เวลาดึก จากนั้นก็เรียนถามทานวา การถือศีลอดวันใดที่ดีที่สุดหลังจากการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน ทานก็ ตอบวา เดือนของอัลลอฮที่พวกทานเรียกวาเดือนมุฮัรรอม” รายงานโดยอะหฺมัด มุสลิม อาบูดาวุด และมีการ ย้ําถึงการถือศีลอดในวันที่ 10 (อาชูรออฺ) นั่นคือวันที่ 10 ของเดือนรอมะฎอน เพราะมีหลักฐานปรากฏอยูใน ฮาดิษที่วา “ในวันนี้คือวันอาชูรอ ซึ่งไมไดมีบัญญัติวายิบใหถือศีลอดกับพวกทาน และฉันเองถือศีลอด ฉะนั้นผูใดประสงคก็จงถือศีลอด หากจะละก็จงละ” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม ซูนัตใหมุสลิมถือศีลอดกอนวันที่ 10 และหลังวันที่ 10 หรือวันใดวันหนึ่ง เพื่อใหตางไปจากวิธีการ ของยะฮูดีย เพราะมีฮาดิษปรากฏอยูวา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “หากฉันยังมีชีวิตอยูจนถึงปหนา แนนนอนฉันจะถือศีลอดในวันที่เกา พรอมกับวันที่ 10 ” รายงานโดยมุสลิม 4.การถือศีลอดในวันจันทรและวันพฤหัศฯ ของทุกสัปดาห เพราะมีฮาดิษของอาบีฮุรอยเราะฮฺซึ่ง รายงานวาทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาววา “ทานนําเสนอการกระทําในวันจันทรและวันพฤหัศ ฉันเองรักที่ จะนําเสนอการกระทําของฉัน คือฉันเองถือศีลอด” รายงานโดยอัตตัรมีซีย ซึ่งกลาววาฮาดิษฮาซัน 5.ถือศีลอดเดือนละ 3 วัน เพราะมีหลักฐานจากฮาดิษของทานอับดุลลอฮ บิน อุมัร บิน อัลอาซ ได รายงานไววา ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “การถือศีลอดสามวันในทุกเดือน (จะไดกุศล)เทากับการถือ ศีลอดตลอดป” รายงานโดยบุคอรีย และมุสลิม ในฮาดิษของทานอาบีซัรฺ ไดมีการกําหนดวันไววาเปนวัน ขาว คือวันที่ 13 ,14 และ 15 6.ถือศีลอดวันเวนวัน เพราะทานนบี  ไดกลาวกับทานอิบนุ อุมัรวา “จงถือศีลอดวันเวนวัน การ ถือศีลอดเชนนั้ นคื อการถื อศี ลอดของทานนบีอาวุด และเปนการถื อศีลอดที่ดี ที่สุด” ฉั นเองก็พูดวา ฉั น สามารถทําไดดีกวานั้น ทานก็ตอบวา “ไมมีอื่นใดที่ดีกวานี้อีกแลว” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม 7.การถือศีลอดในเดือนอัลฮะรอม เพราะมีฮาดิษจากทานรอซูลุลลอฮ  ซึ่งไดกลาวกับชายชาวบาฮ ละฮฺวา “จงถือศีลอดในเดือนตองหาม(คือเดือนซูลกออิดะฮฺ,เดือนซุลฮิจยะฮฺ,เดือนมุฮัรรอมและเดือนระยับ) จากนั้นละทิ้ง และจงถือศีลอดในเดือนตองหาม และจงละ จากนั้นก็จงถือศีลอดในเดือนตองหามจากนั้นก็จง ละทิ้ง” รายงานโดยอะหฺมัด อาบูดาวุด อิบนุมายะฮฺและอัลนะซาอีย อัลบัยฮะกีย ดวยสายรายงานที่ดี เดือน ตองหามคือเดือนซูลกออิดะฮฺ,เดือนซุลฮิจยะฮฺ,เดือนมุฮัรรอมและเดือนระยับ ที่มีบัญญัติหามทําสงคราม 8.การถือศีลอด(สวนใหญ)ในเดือนชะบาน เพราะมีฮาดิษของทานหญิงอาอีชะฮไดรายงานไววา “ฉันเองไมเคยเห็นทานรอซูลุลลอฮ ถือศีลอดจนครบทั้งเดือน นอกจากในเดือนรอมฎอน และฉันเองไมเคย เห็นทานถือศีลอดเดือนใดมากไปกวาเดือนชะบาน” รายงานโดยอัลบุคอรีย และมุสลิม ผูถือศีลอดที่เปนศีลอดซูนัด เขาสามารถที่จะละศีลอดไดในตอนกลางวัน แตทางที่ดีเขาควรชดเชย ในวันตอไป เพราะมีหลักฐานเปนฮาดิษวา “ผูที่ทําการถือศีลอดซูนัตจะเปนเจานายของตัวเอง หากจะถือศีล ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

138

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

อดก็จงทํา หากจะละศีลอดก็จงละ” รายงานโดยอัลฮากิม ซึ่งกลาววาฮาดิษนี้ซอเหียะหฺ และในฮาดิษของอา บียซะอีด อัลคุดรียีย ซึ่งไดรายงานไววา “ฉันเองไดเตรียมอาหารใหกับทานรอซูลุลลอฮ  ซึ่งทานไดมาหา ฉันพรอมซอฮาบะฮฺหลายทาน เมื่อมีคนนําอาหารมาวาง มีซอฮาบะฮฺทานหนึ่งกลาววา ฉันถือศีลอด ทาน รอซูลุลลอฮ  ก็กลาววา “พี่นองของทานเชิญทาน ฉะนั้นทานก็ตองรับ” จากนั้นทานก็กลาววา “ละศีลอด เสีย แลวก็ใหถือชดเชยแทนที่ของมันในวันตอไป หากทานตองการ” รายงานโดยอัลบัยฮะกีย ดวยสาย รายงานที่ดี กิจกรรม การถือศีลอดซูนัต 1.เหตุใดที่อัลลอฮทรงหามการถือศีลอดในวันตรุษทั้งสองวัน ? 2. ใหนกั เรียนบอกหลักฐานอางอิงการหาม (ตามขอ 1) 3.อัลลอฮจะตอบแทนสิ่งใดใหกับผูที่ถือศีลอด 6 วันในเดือนเชาวาล ? 4.ระหวางการถือศีลอดซูนัตกับการถือศีลอดรอมะฎอนแตกตางกันอยางไร ? 5.วันใดบางทีซ่ ูนัตใหทําการถือศีลอด ? 6. เมื่อใดที่การถือศีลอดในวันอารอฟตเปนซูนัต เมื่อใดเปนซูนัตมุอักกัด และเมื่อใดหามถือศีลอด ? และมี อะไรเปนหลักฐานอางอิง ?(จงระบุ) 7. การถือศีลอดเปนวิธีปองกันดูแลคนหนุมสาวไดอยางไร? 8.สังคมและบุคคไดรับอะไรจากการถือศีลอด ? 9.วันตัชรีคหมายถึงวันใด การถือศีลอดในวันตัชรีคจะไดหรือไมอยางไร ? 10.ทําไมการในวันศุกรจึงไมควรถือศีลอด (‫ )ﻣﻜﺮﻭﻩ‬และเมื่อใดที่สามารถถือศีลอดในวันศุกรได ? 11. การตั้งเจตนาถือศีลอดที่เปนซูนัตมีหลักการวาอยางไร ? และเมื่อใดคือเวลาการตั้งเจตนาถือศีลอดซูนัต ? 12. การถือศีลอดในวันอารอฟต จะชวยลบลางบาปใด ? 13. ทําไมจึงซูนัตใหถือศีลอดในวันอาชูรอ ? 14. การถือศีลอดสามารถที่จะละในตอนกลางวันไดหรือไม อยางไร ? และมีอะไรเปนหลักฐานอางอิง ? 15. เมื่อใดการถือศีลอดซูนัต เปนการกระทําเพื่ออัลลอฮ ? 16.ทานรอซูลุลลอฮ  สงเสริมการถือศีลอดซูนัตไวอยางไร ? 17. ใหนกั เรียนทําเครื่องหมาย 9 หนาหัวขอที่กลาวถูกตอง 1) ทานรอซูลุลลอฮ  หามการถือศีลอดอยางตอเนื่อง 2) ทานรอซูลุลลอฮใหคนหนุมสาวเลือกระหวางการแตงงานกับการถือศีลอด 3) ไมอนุญาตใหภรรยาถือศีลอดในเดือนรอมะฏอนกอนไดรับอนุญาตจากสามี 4) ภริยามีสิทธิท์ ี่จะทําการถือศีลอดซูนัตโดยไมตองขออนุญาตสามี 5) ภรรยาไมตอ งทําการละหมาดหากสามีไมอนุญาต ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

139

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

6) ผูประกอบพิธีหัจญ ควร(ซูนัต)ถือศีลอดในวันอารอฟต 18. จงบอกหลักฐานทีย่ ืนยันวาซูนัตใหถือศีลอดในวันจันทรและวันศุกร 19. จงบอกหลักฐานยืนยันวาทานรอซูลุลลอฮ ไดใชเวลาสวนใหญในการถือศีลอดในเดือนชะบาน 20. การถือศีลอดของทานนบี ดาวุด มีวิธีการอยางไร ? 21.การถือศีลอดซูนัตอนุญาตใหผูถือศีลอดละได แตวายิบตองชดเชยหรือไมอยางไร ? 22. ใหนกั เรียนบอกหลักฐานที่สนับสนุนใหรีบเรงละศีลอดเมื่อไดเวลา และใหทอดเวลาการรับประทาน ซะฮูรในตอนคอนคืน 23.ทานรอซูลุลลอฮ ไดกลาวไววา “ไมเปนการถือศีลอดสําหรับผูที่ถือศีลอดตลอดกาล” ฮาดิษนีห้ มายความ วาอยางไร ?

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


140

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

หมวดที่ 4 หลักการและวิธีปฏิบัติในเดือนรอมะฎอน คุณคาของเดือนรอมะฏอน 1. ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “ผูใดถือศีลอดดวยความศรัทธา และคิดคํานวณตนเอง อัลลอฮ จะทรงอภัยในความผิดที่ผานมา” รายงานโดยอะหฺมัดและเจาของซุนัน 2.เมื่อถึงเดือนรอมะฏอนประตูสวรรคก็จะถูกเปดออก ประตูนรกก็จะถูกปดลง มารรายก็จะถูกลาม ผูเรียกก็จะเรียกวา โอผูที่ตองการความดี จงตอบรับ โอผูที่ตองการสิ่งเลวราย จงปลอยไป” รายงานโดย ผูรายงานทั้งหาคน ยกเวนอาบูดาวุด 3.ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา “อัลลอฮทรงตรัสไววา “ทุกการกระทําของลูกหลานอาดัมจะ เปนของเขา ยกเวนการถือศีลอดจะเปนของขา และขาเองก็จะตอบแทนใหกับพวกเขา การถือศีลอดเปนยา ปองกัน หากคนใดจากพวกทานถือศีลอด เขาก็จะไมพูดคําที่ไมดี และจะไมขึ้นเสียงทะเลาะกัน เมือ่ มีใครมา กลาวราย หรือทะเลาะกับเขา ก็จงตอบวา แทจริงแลวฉันกําลังถือศีลอด ขอยืนยันตออัลลอฮ ความ เปลี่ยนแปลงของกลิ่นปากของผูถือศีลอด สําหรับอัลลอฮ จะหอมกวากลิ่นของชะมดเชียง สําหรับผูที่ถือศีล อด เขาจะดีใจสองครั้ง ครั้งที่หนึ่งขณะละศีลอด ครั้งที่สองเมื่อไดพบองคอภิบาล เขาจะดีใจเพราะการถือศีล อดขเขา” รายงานโดยผูรายงานทั้งหา 4.ผูใดละศีลอดเพียง 1 วันในเดือนรอมะฎอนโดยไมมีเหตุจําเปน แมจะถือศีลอดชดเชยสักหนึ่งปก็ ไมเพียงพอ” รายงานโดย อาบูดาวุด อิบนุมายะฮฺ และอัตตัรมีซีย การเริ่มตนและสิ้นสุดเดือนรอมะฏอน การเริ่มตนเดือนรอมะฎอนจะรูไดเมื่อ 1. มีการเห็นดวงจันทรในวันที่ 29 เดือนชะบาน หากฟาเปด ไมมีสิ่งกีดกั้นเพราะมีฮาดิษปรากฏอยูว า “จงถือ ศีลอดและละศีลอด(ออกบวช)เมื่อเห็นดวงจันทร” รายงานโดยบุคอรียแ ละมุสลิม การมองเห็นดวงจันทรในเดือนรอมะฎอน เพียงแคมีชายมุสลิมที่สามารถเชื่อถือไดมองเห็นแคเพียง คนเดียวก็เพียงพอแลว เพราะฮาดิษของทาน อิบนุ อุมัร ไดรายงานไววา มีชายคนหนึ่งเปดเผยเขาวาเห็นดวง จันทร ฉันก็เลยรายงานแกทา นนบี  วา ฉันเห็นมัน วาแลวทานก็สั่งใหผูคนถือศีลอด...ฮาดิษรายงานโดย อาบูดาวุด และทานอัลฮากิมก็ใหฮาดิษนีเ้ ปนฮาดิษซอเหียะหฺ 2.เมื่อไมสามารถมองเห็นดวงจันทรได มุสลิมตองนับจํานวนวันของเดือนชะบานใหครบ 30 วัน เพราะมี หลักฐานจากฮาดิษวา “....หากทองฟาปด ทานทั้งหลายจงนับจํานวนวันของเดือนชะบานใหครบ 30 วัน” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

141

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

การยืนยันเกี่ยวกับการเขาสูเดือนเชาวาลจะตองมีพยายานที่เชื่อถือไดยืนยันสองคน คนเดียวไม เพียงพอ เพราะเปนการออกจากการอีบาดะฮฺ จําเปนที่จะตองมีความนาเชื่อถือ แตหากทองฟาปด ก็ตองนับ จํานวนวันของรอมะฎอนใหครบ 30 วัน มุสลิมจะตองเฝาสังเกตดูดวงจันทรในวันที่ 29 ของเดือนชะบาน และรอมฎอนขณะตะวันตกดิน และการเฝาสังเกตนี้เปนฟรฎกีฟายะฮฺดวย ความแตกตางของเวลา เมื่อปรากฏวามีการมองเห็นดวงจันทรในเมืองหนึ่ง มุสลิมในเมืองนั้นทุกคนจะตองถือศีลอดทั้งหมด นี่คือทัสนะของนักวิชาการมุสลิมสวนใหญ เพราะพวกเขาไมไดมีความแตกตางในเรื่องของเวลา ทัศนะนี้ เปนสอดคลองกับทัศนะของอัลอะหฺนาฟที่ถูกตองดวย และเปนทัศนะของชาฟอียดวย เพราะเปนการคิด คํานวณตามแตละเมือง แตคนเมืองอื่นที่มีเวลาแตกตางกันจะตองคิดคํานวณใหม จะตองมองเห็นดวงจันทร ดวยชาวเมืองเอง การคิดคํานวณเวลา และการใชหอดูดาว นักวิชาการตางเห็นตรงกันวาสามารถใชหอดูดาวเพื่อดูดวงจันทรได เพราะเปนสถานที่ที่สามารถ มองเห็นไดดวยสายตา แมวาจะมีการใชสื่อเครื่องมือสมัยใหมมาชวยก็ตาม แตนักวิชาการยังมีทัศนะตางกัน ในเรื่องของการคิดคํานวณ โดยที่ไมสามารถมองเห็นดวงจันทรดวยสายตา นักวิชาการสวนใหญโดยเฉพาะ นักวิชาการสมัยใหมใหทัศนะวา ไมอนุญาตใหใชเปนเกณฑ เพราะเปนเรื่องของการทําอิบาดะฮฺ จึงจําเปนที่ จะตอง มีหลักฐานปรากฏเปนตัวบท แตนักวิชาการสมัยกอนใหทัศนะวาการยึดถือตามดวงดาวเพื่อทําการถือ ศีลอดและการออกจากการถือศีลอดนั้นไมถูกตอง เพราะวิชาดาราศาสตรเปนเพียงการคาดคะเนเทานั้น นักวิชาการสมัยใหมบางทาน กลาววา คําวาการมองเห็นดวงจันทร นั้นหมายถึงมีความมั่นใจวาดวง จันทรปรากฏขึ้นแลว การคิดคํานวณในสมัยปจจุบันสามารถคํานวณไดอยางมั่นใจกวาการมองเห็น เพราะ การคิดคํานวณนับวันของเดือนชะบานและรอมะฎอนใหครบ 30 วันก็เปนการคิดคํานวณที่จะนําไปสูความ มั่นใจ ซึ่งในสมัยทานรอซูลุลลอฮ มีเพียงสองทางนี้เทานั้นทานก็เลยแนะนําใหใชสองทางนี้เปนสื่อ เมื่อมีสื่อ ใหมเ กิดขึ้ น และสามารถนําไปสู ความมั่นใจได ก็อนุญาตใหใ ช ได เช น กัน ในสมัย นั้นให ยึ ดถื อเอาการ มองเห็นเปนเกณฑเพราะมุสลิมในสมัยนั้นคิดคํานวณยังไมเปน นั่นก็หมายความวาเมื่อพวกเขาเรียนรูและคิด คํานวณได ก็สามารถนํามายึดถือไดดวยเชนกัน ทานนบี  ไดกลาวไววา “พวกเราเปนประชาชาติที่อานไม ออกเขียนไมได คิดคํานวณไมเปน...หนึ่งเดือน เปนอยางนี้ อยางนี้..(คือ 29 วันหรือ 30 วัน)” รายงานโดย อัล บุคอรีย และมุสลิม ทานอาบูดาวุดและอัลนะซาอีย เปนที่รูกันวาการคิดคํานวณในยุคนี้จะตางไปจากในอดีต ที่ผานมา เพราะในสมัยนั้นจะใชการคาดคะเนเทานั้น

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

142

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

การละหมาดตะรอวีฮฺ ในรายงานของทานหญิงอาอิชะฮฺ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) ไดรายงานไววา ทานนบี  ทําการละหมาดตะรอวีฮฺในมัสยิด ทานไดละหมาดนําผูคนดู จากนั้นก็ทําการละหมาดครั้งที่สอง ผูคนก็ละหมาดกันมากมาย ในคืนที่สามและคืนที่สี่พวกเขาก็รวมกัน แตทานรอซูลุลลอฮ  ไมไดออกมายัง พวกเขา พอในตอนเชาทานก็กลาววา “ฉันเห็นสิ่งที่พวกทานทั้งหลายทํา ความจริงแลวไมไดมีอะไรหามฉัน ไมใหออกมายังพวกทานหรอก แตฉันเกรงวาจะกลายเปนเรื่องฟรถู(ที่จําเปนตองปฏิบัติ)สําหรับทานไป เทานั้น” รายงานโดยชัยคอน มุสลิมตางก็ทําการละหมาดตะรอวีฮฺในเดือนรอมะฎอน แบบตางคนตางละหมาด ในมัสยิดบางใน บานบาง ดังที่มีฮาดิษยืนยันวาทานรอซูลุลลอฮ  ไดรวบรวมพวกเขา แลวละหมาดนําใหกับพวกเขา และยัง มีฮาดิษอีกมากมายหลายฮาดิษวา ทานไดละหมาดพรอมกับซอฮาบะฮฺใน 10 คืนสุดทายของรอมะฎอน และ ในคืนคี่ และไดมีการปฏิบัติดังกลาวมาจนกระทั่งถึงปที่ 14 แหงฮิจเราะฮฺศักราช ทานอับดุลลอฮ บิน อัลกอ รีย ไดกลาววา ฉันไดออกไปยังมัสยิดพรอมกับทานอุมัร บิน อัลคอฏฏอบ ในเดือนรอมะฎอน และพบวา ผูคนละหมาดแยกกันเปนกลุม ๆ บางก็ละหมาดอยูตามลําพัง กลุมละ 3 คนบาง 10 คนบาง ทานอุมัรก็กลาว วา หากสามารถรวมพวกเขาเขาดวยกัน โดยมีอีหมามนําละหมาดคนเดียว นาจะดีกวา ตอมาก็ไดมีการ รวบรวมไปที่ทานอาลีย บิน กะอับ ครั้นในคืนตอมาผูคนก็ละหมาดตามอีหมามคนเดียว ทานอุมัรก็บอกวา “มันเปนเรื่องใหมที่ดี ผูที่ละหมาดกอน(อยางนี้)62ดีกวาที่จะไปเขานอนแลวมาละหมาดในชวงทายของ กลางคืน และผูคนก็ละหมาดกันในชวงแรกของตอนกลางคืน” รายงานโดยบุคอรีย ทานอุมัรเรียกการละหมาดตะรอวีฮฺแบบยามาอะฮฺวาเปนบิดอะฮฺอนุโลมได เพราะไมใชบิดอะฮฺที่ ทานนบีหามไว บิดอะฮฺที่ทานหามไวคือบิดอะฮฺที่ไมมีหลักฐานทางศาสนาปรากฏอยู แตเราเคยเห็นทานรอซู ลุลลอฮ  รวบรวมผูคนในการทําละหมาดตัรวีฮฺ แลวทานก็เปนอีหมามละหมาดนําพวกเขา ทานอุมัรก็เลย จัดระเบียบใหมใหผูคนละหมาดตามอีหมามคนเดียวกัน และก็มีการปฏิบัติอยางนี้มาตลอด การกระทําเชนนี้ ก็เขากับการที่ทานรอซูลุลลอฮซึ่งทานไดกลาวไววา “ ผูใดนําทางดวยแนวทางที่ดี เขาก็จะไดรับผลบุญ เหมือนผูกระทําเองไปจนถึงวันกียามะฮฺ” รายงานโดยมุสลิม เพราะนั่นเปนแนวทางที่ดี และมีหลักฐานจาก หลักการทางศาสนาครบ ลัยละตุลกอดัร(คืนแหงเกียรติยศ) ลัยละตุลกอดัร เปนคืนที่ดีกวาคืนอื่น ๆ ทั้งหมดตลอดป อัลลอฮทรงตรัสไววา ∩⊂∪ 9öκy− É#ø9r& ôÏiΒ ×öy{ Í‘ô‰s)ø9$# ä's#ø‹s9 ∩⊄∪ Í‘ô‰s)ø9$# ä's#ø‹s9 $tΒ y71u‘÷Šr& !$tΒuρ ∩⊇∪ Í‘ô‰s)ø9$# Ï's#ø‹s9 ’Îû çµ≈oΨø9t“Ρr& !$¯ΡÎ)

62

ทานอุมัรไมไดนําละหมาดใหผูคนเพราะทานจะละหมาดในชวงทายของกลางคืน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

143

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

∩∈∪ Ìôfxø9$# Æìn=ôÜtΒ 4®Lym }‘Ïδ íΟ≈n=y™ ∩⊆∪ 9ö∆r& Èe≅ä. ÏiΒ ΝÍκÍh5u‘ ÈβøŒÎ*Î/ $pκÏù ßyρ”9$#uρ èπs3Íׯ≈n=yϑø9$# ãΑ¨”t∴s?

แทจริงเราไดลงอัลกรุอานมาให ในคืนแหงเกียรติยศและอันใดหรือที่ทําใหเจารูวา อะไรคือคืนแหง เกียรติยศ คืนแหงเกียรติยศประเสริฐกวา (คืนธรรมดา) ถึงหนึ่งพันเดือน มลาอิกะฮฺและวิญญาณบริสุทธิ์ (ยิบรีล) จะลงกันมาในคืนนั้น โดยพระอนุมัติแหงองคอภิบาลของพวกเขา เพื่อ (นํามาซึ่ง) ทุก ๆ กิจการ มัน เปนคืนแหงศานติ (ที่มีความมงคลยิ่ง) ตราบถึงแสงอรุณขึ้น ทานรอซูลุลลอฮ  ไดสนับสนุนใหลุกขึ้นทําอีบาดะฮฺในคืนลัยละตุลกอดัร โดยกลาววา “ผูใดที่ลุก ขึ้นประกอบอิบาดะฮฺในคืนลัยละตุลกอดัร ดวยความศรัทธา และคิดคํานวณ อัลลอฮจะทรงอภัยในความผิดที่ ผานมา) รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม นักวิชาการมีความเห็นเกี่ยวกับการกําหนดเวลาของลัยละตุลกอดัรแตกตางกันออกไป บางก็วาใน คืนที่เปนคืนคี่ของสิบคืนสุดทายของเดือนรอมฎอน เพราะทานนบี  ไดกลาวไววา “จงกําหนดคืนลัยละตุ ลกอดัรไวในคืนคี่ของสิบคืนสุดทายของเดือนรอมะฎอน” รายงานโดยอัลบุคอรีย บางทานเห็นวาคือคืนที่ 21 บางก็วาคืนที่ 23 บางก็วา คืนที่ 25 แตสวนใหญกลาววาเปนคืนที่ 27 ของเดือนรอมะฎอน ดวยเหตุนี้เอง เมื่อ ถึงในชวงสิบวันสุดทายของรอมะฎอน ทานรอซูลุลลอฮ  ก็จะลุกขึ้นทําอีบาดะฮฺในตอนกลางคืนตลอด และทานก็จะปลุกใหครอบครัวใหทุมเทความพยายามมากยิ่งขึ้น” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม ทานหญิงอาอิชะฮฺ(ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) ไดเรียนถามทานรอซูลุลลอฮ  วา “ทานรูหรือไม หากฉันรูวาคืนไหนเปนคือลัยละตุลกอดัร ฉันจะตองอานอะไรในคืนนั้น?”ทานก็ตอบวา ทาน ُ ‫ﺐ ﺍﻟﻌﻔﻮ ﻓﺎﻋ‬ ‫ )ﺍﻟﻠﹼﻬ ّﻢ ﺇﻧﱠﻚ ﻋﻔﻮﱞ ﺗُﺤ ﱡ‬ฮาดิษรายงานโดย อัตตัรมีซีย และทานก็กลาววาฮาดิษนี้เปน จงอานวา (‫ﻒ ﻋَﲏ‬ ฮาดิษฮาซันซอเหียะหฺ การอิอฺติกาฟ การอิอฺติกาฟ คือการหยุดพักในมัสยิดเพื่อการประกอบอีบาดะฮฺ และชวงเวลาที่ดีที่สุดคือสิบวัน สุดทายของเดือนรอมะฎอน และตองมีเงื่อนไขวาตองมีการตั้งเจตนา และปราศจากยะนาบะฮฺ การมีรอบ เดือนและน้ําคาวปลา การอิอฺติกาฟเปนซุนนะฮฺที่ทานรอซูลุลลอฮ  ปฏิบัติตอเนื่องมาตลอด ในรายงานจากทานหญิง อาอิชะฮฺ (ขอความโปรดปรานจากอัลลอฮจงมีแดทาน) ไดรายงานไววา “ทานนบี  เคยอิอฺติกาฟใน 10 วัน สุดทายของเดือนรอมะฎอน จนกระทั่งอัลลอฮใหทานจบชีวิตลง จากนั้นภริยาของทานก็ทําการอิอฺติกกาฟตอ จากทาน” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม การอิอฺติกาฟซุนัตใหเริ่มตั้งแตหลังละหมาดฟจรฺ(ละหมาดซุบฮฺ) เพราะมีฮาดิษของทานหญิงอาอี ชะฮฺ ไดรายงานไวว า “ทานนบี  เมื่ อทานตองการที่จะทําการอิอฺติกาฟ ทานก็จะละหมาดฟจรฺ(ซูบุฮฺ) จากนั้นทานก็เขาสูการอิอฺติกาฟ” รายงานโดยบุคอรียและมุสลิม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

144

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ซูนัตใหผูที่ทําการอิอฺติกาฟใหอยูในมัสยิดตลอด ยกเวนในกรณีที่มีเหตุจําเปน ไมมีการเยี่ยมเยียน ผูปวย เดินตามศพ(ไปสุสาน) และไมสัมผัสสตรีเพศ ไมมีเพศสัมพันธกับนาง การอิอฺติกาฟเปนการปลีกตัวออกมาจากความยุงเหยิงของทางโลก โดยหันไปใสใจกับการทําอิบา ดะฮฺ เชนการอานอัลกุรอาน การขอดุอา การกลาวอิสติฆฟาร การกลาวตัสบิฮฺ กลาวซอลาวัตใหกับทาน นบี สวนมารยาทในการอิอฺติกาฟ ผูอิอฺติกาฟจะตองพูดแตเรื่องดี ๆ มีประโยชน หางไกลจากสิ่งที่จะทําใหหันเห ไปจากการภักดีตออัลลอฮ ใหเลือกมัสยิดยามิอฺ (มัสยิดกลาง) สวนผูหญิงทางที่ดีนางควรอิอฺติกาฟอยูกับ มัสยิดในบานของนางเอง กิจกรรม หลักบัญญัติเกีย่ วกับรอมะฎอน 1.คําวาอิอฺติกาฟ หมายความวาอยางไร ? ปรัชญาของการอิอฺติกาฟคืออะไร ? 2.ทําไมทานรอซูลุลลอฮ  จึงเลือกสิบวันสุดทายในการอิอฺติกาฟ หากอิอฺกาฟในวันอื่นจะไดหรือไม 3. ฮาดิษหนึ่งระบุวาควรเขาสูการอิอฺติกาฟหลังละหมาดฟจรฺ (ซุบฮฺ) แตอีหมามทั้งสี่บอกวาตองเขาสูก ารอิอฺติ กาฟกอนตะวันตกดินเล็กนอย ..จะประสานทั้งสองความเขาใจเขาดวยกันอยางไร ? 4.สิ่งใดบางที่ผูทําการอิอฺติกาฟทําไดและทําไมได ? 5.บัญญัติการอิอฺติกาฟ เปน.......... • ฟรฎอีน • ฟรฎกิฟายะฮฺ • ซูนัตมุอักกัดในเดือนรอมะฎอนเทานั้น • ซูนัตทุกวันทุกเดือน 6. การอิอฺติกาฟจะสมบูรณไดโดย ...(จงเลือก) • การตั้งเจตนา • ไมตองตั้งเจตนา 7. การอิอฺติกาฟของสตรีจะเหมือนกับการอิอฺติกาฟของสุภาพบุรุษหรือไมอยางไร ? 8. หญิงที่มีรอบเดือน มีเลืออิสติฮาฎอฮฺ และมีน้ําคาวปลา สามารถอิอฺติกาฟไดหรือไม อยางไร ? 9.ผูที่มียานาบะฮฺ การอิอฺติกาฟของเขาถูกตองหรือไมอยางไร ?(จงใหเหตุผล) 10.การทําความสะอาดมัสยิด ปกปองมัสยิดจากสิ่งสกปรกสามารถทําไดอยางไร ? 11. มุสลิมผูศรัทธาจะเอาชนะมารราย(ชัยฏอน)ไดอยางไร ?

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

145

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

6. กิจกรรมเสริม กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน 1. ใหนักเรียนลองสาธิตการอาบทําวุฎอฺ การอาบน้ํา การตะยัมมุม การเช็ดบนรองเทาบูต 2.บทบาทสมมุติดวยการปฏิบัติจริงเพื่อใหเกิดความเขาใจและสามารถนําไปใชไดในชีวิตประจําวัน 3.นําภาพโปสเตอรแสดงการทําวุฎอฺและการตะยัมมุมมาติดไวเพื่อใหนักเรียนศึกษา 4.เขียนคําอานอาซาน อีกอมะฮฺ แลวนําไปแขวนไวในมัสยิดเพื่ออานจริง 5.ใหนักเรียนเขียนรายงานเกี่ยวผลของการละหมาดที่มีตอบุคคลและสังคม 6.นําเทปบันทึกเสียงการบรรยายเรื่องคุณคาของการละหมาดมาใหนักเรียนฟง 7. ฝกใหนักเรียนอาซาน อีกอมะฮฺและละหมาดจริง 8.เรียนรูการละหมาดผานการปฏิบัติในหองเรียน 9.นําภาพโปสเตอรที่แสดงอิริยาบถการละหมาดมาติดในหองเรียนเพื่อเรียนรู 10. ฝกใหนักเรียนละหมาดใหถูกตอง 11. ละหมาดกียามุลลัย พรอมกับครอบครัว 7. สื่อการจัดการเรียนการสอน 1. ทดสอบภาคปฏิบัติเกี่ยวกับการทําวุฎอฺ 2. จัดทําแผนภูมิแสดงประเภทของนายิส 3. นําอายะฮฺที่กลาวถึงการละหมาดมาเขียนแลวนําไปติดบนฝาผนังหองเรียน 4.นําฮาดิษที่ระบุอิริยาบถการละหมาดมาเขียนแลวนํามาติดบนฝาผนัง 8. จุดประสงคการเรียนรูดวยตนเอง จุดประสงคดานพุทธิพิสัย 1.บอกความสําคัญของการละหมาดในอิสลามได 2.บอกคุณคาของการละหมาดและผลที่จะเกิดขึ้นกับบุคคลและสังคมได 3.สามารถบอกเงื่อนไขที่วายิบ เงื่อนไขของความถูกตองและ บัญญัติของการละหมาดได 4.บอกเวลาการละหมาดได 5.บอกจํานวนรอคอะฮฺของการละหมาดแตละเวลาได 6.บอกจํานวนรอคอะฮฺของการละหมาดซูนัตได 7. บอกสิ่งที่ไมควรปฏิบัติขณะละหมาดได 8.อธิบายวิธีการละหมาดที่ถูกตองได 9.บอกประเภทของน้ําได 10.บอกชนิดของนายิสพรอมตัวอยางได ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

146

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

11.บอกผลของการรักษาความสะอาดที่มีตอการอิบาดะฮฺได 12.บอกมารยาทการขับถายได 13.บอกวิธีการ ฟรฎ ซูนัต และสิ่งที่ทําใหเสียวุฎอฺได 14.สามารถบอกความแตกตางระหวางยะนาบะฮฺกับ นายิสได 15.บอกคําจํากัดความของคําวา ยะนาบะฮฺ รอบเดือน และน้ําคาวปลาได 16. บอกความแตกตางระหวาง ยะนาบะฮฺกับ นายาซะฮฺได 17.บอกประเภทของการอาบน้ํา วายิบและซูนัต พรอมยกตัวอยางได สาระที่ตองศึกษาดวยตนเอง 1.ความสําคัญของการละหมาดในอิสลาม คุณคาและผลที่จะไดรับจากการละหมาด บัญญัติ เงื่อนไข วายิบ เงื่อนไขของความถูกตองสมบูรณ (‫ﺷﺮﻭﻁ ﺻﺢ‬, ‫ )ﺷﺮﻭﻁ ﻭﺍﺟﺐ‬เวลา การอาซานและการอีกอมะฮฺ 2.หลักการ(รุกน) ซูนัต สิ่งที่ทําใหเสียละหมาด สิ่งที่ไมควรปฏิบัติในละหมาด สิ่งที่สามารถกระทํา ไดในขณะละหมาด 3. บัญญัติเกี่ยวกับการทําความสะอาด นายิส (รูปธรรมและนามธรรม) ผลที่มีตอการอิบาดะฮฺ เรื่อง ของน้ํา ,นายิส,การขับถาย , การทําวุฎอฺ , ยานาบะฮฺ , รอบเดือน น้ําคาวปลา, การอาบน้ําวายิบ ซูนัต ,กา รตะยัมมุม ,การเช็ดรองเทาบูต,การเช็ดผาพันแผล หนังสืออางอิง . ‫ﻓﻘﻪ ﺍﻟﺴﻨﺔ ﺍﻟﺸﻴﺦ ﺴﻴﺩ ﺴﺎﺒﻕ‬ . ‫ﺍﻹﻗﻨﺎﻉ ﺸﺭﺡ ﺃﻟﻔﺎﻅ ﺃﺒﻲ ﺸﺠﺎﻉ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

147

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

ขอเสนอแนะสําหรับครูผสู อน เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนประสบความสําเร็จครูผูสอนจะตองยึดมั่นตามแนวทางดังตอไปนี้ เรื่องของอิบาดะฮฺ 1.การจัดการเรียนการสอนจะตองยึดหลักการสนทนา มากกวาการสอน เพื่อใหนกั เรียนสามารถ ตอบรับ ตอบสนองการสอนของครูและมีผลในทางที่ดี 2. ครูตองพยายามสงเสริมใหผูเรียนเขาใจอีบาดะฮฺ ทุกประเภท ไมวาจะเปนการอีบาดะฮฺที่เปน กายกรรม วจีกรรม หรือมโนกรรม ซึ่งจะทําใหพวกเขาสามารถตอบรับอีบาดะฮได และดวยความเขาใจจะ ทําใหพวกเขารูสึกตระหนักในรสชาติและความหวานหอมของอิบาดะฮฺ ดวยความรูสึกดังกลาวจะทําใหพวก เขารูสึกผูกพันกับอิบาดะฮฺ หากสามารถสรางความรูสึกนี้ขึ้นมาได ครูผูสอนก็จะสามารถฝกหัดขัดเกลา ผูเรียนใหสามารถรักษาอิบาดะฮฺไวได ซึ่งทานรอซูลุลลอฮ  เองก็สนับสนุนใหเปนเชนนั้น ทานก็กลาวถึง บุคคล 7 กลุมที่จะอัลลอฮจะทรงใหพึ่งพารมเงาในวันที่ไมมีรมเงาอื่นใดนอกจากรมเงาแหงพระองค นั่นคือ คนหนุมสาวที่เติบโตมากับการอีบาดะฮตออัลลอฮ คนที่มีหัวใจผูกพันอยูกับมัสยิด ...สวนของความเขาใจ เกี่ยวกับอิบาดะฮฺก็จะแตกตางกันตามวัย แตก็จะไมตางออกไปมากนัก ความแตกตางจึงแตกตางกันออกไป ระหว า งผู ที่ ทํ า การตั ก บิ ร โดยรู ค วามหมาย ผู ที่ ทํ า การโค ง รอเกาะอฺ แ ละซู ยุ ด โดยเข า ใจในสั ญ ลั ก ษณ ที่ แสดงออก กับผูที่ทําการละหมาดโดยไมใสใจอะไรเลย อยางแนนอน และจะตองมีความแตกตางแนนอน ระหวางผูที่ละหมาดพรอมกับการทําความเขาใจความหมายของซูเราะฮฺฟาติหะฮฺ กับผูที่อานไปโดยไมรูควา หมาย ละหมาดโดยที่จิตใจสติปญญาไมไดอยูกับการละหมาดหรือบทอาน สวนอีบาดะฮฺอื่น ๆ ก็เชนกัน จะตองสรางคุณลักษณะนี้ใหได แตโดยสวนใหญแลวครูผูสอนมักจะ ละเลยในสวนของการปลูกฝงจิตวิญญาณขอนี้ลงไป แตกลับไปใหความสําคัญกับเรื่องของหลักการทางศา สนบัญญัติของอิบาดะฮฺ ไมไดใหความสําคัญกับคําอธิบายและการปลูกฝงจิตวิญญาณ ซึ่งเปนเรื่องที่จะตอง ระวังเปนอยางยิ่ง 3. ผูสอนจะตองใหความสําคัญยึดหลักเงื่อนไขที่จะนําไปสูการตอบรับอีบาดะฮ ความบริสุทธิ์ใจใน การปฏิบัติ และการปฏิบัติตาม 4. ควรสรางความตระหนักใหกับผูเรียนเกี่ยวผลที่จะเกิดขึ้นจากอิบาดะฮฺที่จะมีตอบุคคลและสังคม โดยรวม 5.ปลูกฝงความรักความผูกพันกับอีบาดอะฮฺที่เกิดจากจิตใจของผูเรียนเอง ความรักความผูกพันที่เกิด จากความรักตออัลลอฮที่มีอยูในจิตใจของเขาเอง แรงผลักดันภายในนี้จะเปนเสมือนไดนาโมที่จะชว ย ผลักดันขับเคลื่อนจากภายใน การปลูกฝงในลักษณะนี้จะมีพลังมากกวาที่จะไปกลาวถึงผลบุญและการ ลงโทษ พรอม ๆ กับการยอมรับในความสําคัญของทั้งสอง ความรักความตองการจะชวยดึงดูดเด็กเล็กและ เด็กใหญไดทั้งหมด ดวยเหตุนี้เองผูสอนจะตองบอกใหผูเรียนรับรูในความยุติธรรมแหงอัลลอฮที่จะตอบ แทนผลบุญผูเปนบาวที่ภักดีและการลงโทษที่พระองคจะตอบแทนใหกับผูที่ทรยศ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

148

วิชาศาสนบัญญัติ (ฟกฮฺ)

6. ผูเปนครูจะตองเปนแบบอยางที่ดีใหกับผูเรียน นั่นหมายความวา ครูจะตองเปนผูที่ยึดมั่นตอ วัฒนธรรมอิสลาม จะตองนําเอาสิ่งที่ตนเองพูดออกไปมาถือปฏิบัติใหได และจะตองยึดมั่นตออีบาดะฮฺ แต ปญหาที่กําลังเกิดขึ้นในปจจุบันคือ ครูผูสอน พูด เตือน สั่ง หาม แตในเวลาเดียวกันครูกลับปฏิบัติตนให นักเรียนเห็นในรูปแบบที่ขัดแยงกับที่ตนเองพูดทั้งหมด ทําใหคําพูดของครูไรผล ไมมีน้ําหนัก 7. ครูควรสรางบรรยากาศความเปนอิสลามใหเกิดขึ้นในองคกรการจัดการเรียนรู ไมควรที่จะไปยุง เกี่ยวกับการงานอื่นในเวลาละหมาด 8.ครูผูสอนจะตองสรางความพอใจในเหตุและผล และใหความกระจางในหลักการ ดวยการ ยกตัวอยางประกอบ เชน ชีวิตการเปนอยูของบรรดาซอฮาบะฮฺ (ขอความเมตตาจากอัลลอฮจงมีแดพวกเขา) ครูจะตองเลาเรื่อง นําเสนอตัวอยางจากชีวประวัติของทานนบี  และบรรดาซอฮาบะฮฺ ซึ่งพวกเขาเหลานี้ ลวนแลวแตประกอบศาสนกิจมาเปนอยางดี เรื่องราวเหลานี้ทั้งหมดก็จะเปนน้ําทิพยชะโลมรดจิตใจของ ผูเรียนไดเปนอยางดี จะทําใหพวกเขารูสึกวาตนเองยังประกอบอิบาดะฮฺไดนอย ยังตองการการพัฒนา ยกระดับ เพื่อใหเหมาะสมกับความเปนบาวของเขา 9. ครูจะตองทุมเทความสามารถอยางเต็มกําลังในการที่จะนําเอาแนวทางมาสูการปฏิบัติใหไดมาก ที่สุด ครูผูสอนจะตองอธิบายไปพรอม ๆกับการใหผูเรียนฝกปฏิบัติอิบาดะฮฺ โดยครูคอยใหคําแนะนําใน สวนที่ผิดพลาดโดยแกไขใหถูกตอง 10. ครูผูสอนจะตองหมั่นอางอิงหลักการดวยอายะฮฺและฮาดิษตามความเหมาะสม 11.บอกชื่อหนังสื่ออางอิง เพื่อใหผูเรียนสามารถศึกษาคนควาเพิ่มเติมไดอยางถูกตอง 12. การยกตัวอยางเกี่ยวกับอิบาดะฮฺ ควรจะใหอยูในบรรยากาศที่นักเรียนสามารถทําความเขาใจได เพราะบางครั้งสํานวนภาษาที่ใช อยางเชนการกําหนดปริมาณที่มีอยูในหนังสือฟกฮฺ อาจจะเปนเรื่องไกลตัว ของผูเรียน เชน คําวา “ซออฺ” คําวา “ไมล” ครูจะตองทําความเขาใจใหถองแท เพื่อที่จะสามารถใหคําตอบกับ ผูเรียนไดอยางถูกตอง ตามความเขาใจที่นิยมใชกันในสังคมของผูเรียน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.