เอกสารประกอบค่าย กศน.มายอ 2557

Page 1

เอกสารประกอบค่าย วิทยาศาสตร์บรู ณาการอิสลาม (หลักสูตร กศน. )

จัดโดย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี


1

กําหนดการคายวิทยาศาสตรบูรณาการอิสลาม กิจกรรมวันที่ 24 ธันวาคม 2557 เวลา 08.00-08.30 08.30-09.00 09.00-10.00 10.00-12.00

12.00-13.00 13.00-14.00 14.00-16.00

กิจกรรม/วิชาการ ลงทะเบียน เปดพิธีโดยคณบดี คณะวิทย ฯ กลุมที่ 1 กลุมที่ 2 การคํานวณคาไฟและ สารเคมีในชีวิตประจําวัน พลังงาน ปฏิบัติการพลังงานจาก ปฏิบัติการชุบโลหะ/ไฟฟาจาก โซลาเซลล/ไดนาโมอยาง ลูกมะนาว งาย รับประทานอาหารและละหมาด สารเคมีในชีวิตประจําวัน การคํานวณคาไฟและพลังงาน

ปฏิบัติการชุบโลหะ/ไฟฟา ปฏิบัติการพลังงานจากโซลา จากลูกมะนาว เซลล/ไดนาโมอยางงาย 16.00-16.30 ละหมาดอัสรีญามาอะห/ภารกิจสวนตัว 16.30-17.30 กิจกรรมกีฬาและสันทนาการ 17.30-18.20 เตรียมตัวละหมาดมัฆริบ/ละหมาดมัฆริบญะมาอะฮฺ 18.20-19.20 รับประทานอาหาร 19.20-19.40 ละหมาดอีชาอญะมาอะฮฺ 19.40–20.30 บรรยายเรือ่ ง “อิสลามกับวิทยาศาสตร” โดย อ.ซากี นิเซ็ง 20.30-21.00 กิจกรรมดูดาว/อัลฟาลัก 21.00-04.30 ภารกิจสวนตัว/พักผอน 04.30-06.00 ละหมาดซุบฮี/กุลยะหซุบฮี/อานอัซกัร

สถานที่ ชั้นลาง คณะวิทยฯ คณะวิทย ฯหอง 5-401 กลุม1หอง 5-402, กลุม2 หอง 5-103 กลุม1หอง 5-402, กลุม2 หอง 5-103 คณะวิทย ฯ/มัสยิดฮารอมัยน กลุม1หอง 5-103, กลุม2 หอง 5-402 กลุม1หอง 5-103, กลุม2 หอง 5-402 มัสยิดฮารอมัยน สนามกีฬา มหาวิทยาลัย มัสยิดฮารอมัยน ชั้นลาง คณะวิทย ฯ มัสยิดฮารอมัยน มัสยิดฮารอมัยน คณะวิทย ฯ คณะวิทย ฯ มัสยิดฮารอมัยน


2

กิจกรรมวันที่ 25 ธันวาคม 2557 เวลา

กิจกรรม/วิชาการ กลุมที่ 1 09.00-10.00 โครงสรางของเซลลพืช 10.00-12.00 12.00-13.00 13.00-14.00 14.00-16.00 16.10-16.30 16.30

หมายเหตุ:

กลุมที่ 2 ไอทีในชีวิตประจําวัน

กลุม1หอง 5-203, กลุม2 ตึกวิทยบริการ ปฏิบัติการใชกลอง ปฏิบัติการไอทีใน กลุม1หอง 5-203, จุลทรรศน ชีวิตประจําวัน กลุม2 ตึกวิทยบริการ รับประทานอาหารและละหมาด คณะวิทยฯ/มัสยิดฮารอมัยน ไอทีในชีวิตประจําวัน โครงสรางของเซลลพืช กลุม1ตึกวิทยบริการ, กลุม2 หอง 5-203 ปฏิบัติการไอทีใน ปฏิบัติการใชกลอง กลุม1ตึกวิทยบริการ, ชีวิตประจําวัน จุลทรรศน กลุม2 หอง 5-203 ละหมาดอัสรีญามาอะห/ภารกิจสวนตัว ละหมาดอัสรีญามาอะห เดินทางกลับภูมลิ ําเนา กศน.มายอ

นักเรียนชายนอนทีม่ ัสยิดฮารอมัยน/นักเรียนหญิง ชั้น 4 คณะวิทย ฯกําหนดการอาจจะมีการ

เปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม อาจารยและเจาหนาผูรบั ผิดชอบหลักเรื่อง :- การคํานวณคาไฟและพลังงานและปฏิบัติการพลังงานจากโซลาเซลล/ไดนาโมอยางงายพลังงาน อ.อัรฟน อ. กูซูซานา ผศ.ดร.ซอบีเราะห จ.มารีเยาะ - สารเคมีในชีวิตประจําวันและปฏิบัติการชุบโลหะ/ไฟฟาจากลูกมะนาว อ.รอมลี อ.นัจมีย อ.ยะโกะ อ.รอ บีอะ จ.สัลมา - โครงสรางของเซลลพืชและปฏิบัติการใชกลองจุลทรรศน อ.ซูไฮมิน อ.ฮัสนะ จ.ซูไฮลา - ไอทีในชีวิตประจําวัน/ปฏิบัติการไอทีในชีวิตประจําวัน อ.ฟาตะ และคณาจารยไอที - กิจกรรมดูดาว อ.ปติ อ.อัรฟน


3

สาระการเรียนรู้ ที่ 1 การคิดค่าไฟฟ้า 1.1 การคานวณค่าไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้า 1 หน่วยหรือ 1 ยู นิต คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาด 1000 วัตต์ที่ใช้งานในหนึ่ง ชั่วโมง 1 ยูนิต = [ ก าลังไฟฟ้ า(วัตต์) ของ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องการคานวณ/1000 ] x จานวน เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต้องการคานวณ x จานวนชั่วโมงที่ ใช้งานในหนึ่งวัน ตั ว อ ย่ า ง บ้ า น อ ยู่ อ า ศั ย ข อ ง ท่ า น มี เครื่อ งใช้ ไ ฟฟ้ าอยู่ ใ นบ้า น 4 ชนิด เราสามารถ คานวณการใช้ไฟฟ้าได้ ดังต่อไปนี้

1. หลอดไฟฟ้าขนาด 36 วัตต์ (รวมบาลาสต์อีก 10 วัตต์ เป็น 46 วัตต์) จานวน 4 ดวง เปิดใช้งานวัน ละ 6 ชั่วโมงใช้ไฟฟ้าวันละ [46 /1000] x 4 x 6 = 1.104 หน่วย หรือเดือนละ (30x 1.104) = 33.12 หน่วย หรือ ประมาณ 33 หน่วย 2. หม้อหุงข้าวขนาด 600 วัตต์ จานวน 1 ใบเปิดใช้งานวันละ 30 นาที (0.5 ชั่วโมง) ใช้ไฟวันละ 600 /1000 x 1 x 0.5 = 0.3 หน่วย หรือประมาณเดือนละ (30 x 0.3) = 9 หน่วย 3. ตู้เย็นขนาด 125 วัตต์ จานวน 1 เครื่อง เปิดใช้งาน 24 ชั่วโมง สมมติคอมเพรสเซอร์ทางานวันละ 8 ชั่วโมงใช้ไฟวันละ [125/1000] x 1 x 8 = 1 หน่วย หรือประมาณเดือนละ (30 x 1) = 30 หน่วย 4. ทีวีสี ขนาด 100 วัตต์ จานวน 1 เครื่อง เปิดใช้งานวันละ 4 ชั่วโมง [100/1000] x 1 x 4 = 0.4 หน่วย หรือประมาณ เดือนละ (30 x 0.4) = 12 หน่วย รวมการใช้ไฟฟ้าในบ้าน ประมาณเดือนละ 33+9+30+12 = 84 หน่วย


4

1.2 อัตราค่าไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย

แหล่งที่มาของข้อมูล http://www.mea.or.th/profile/index.php?l=th&tid=3&mid=111&pid=109

ดังนั้นจากการใช้ไฟฟ้าในบ้าน ประมาณเดือนละ 84 หน่วย เมื่อทราบจานวนยูนิตและอัตราค่าไฟฟ้า ของการไฟฟ้านครหลวง ก็สามารถคานวณค่าไฟฟ้าสาหรับในแต่ละเดือนได้ดังนี้


5

สามารถคานวณค่าไฟฟ้าทางเว็บไซต์ของการไฟฟ้า ได้ที่นี่ http://www.mea.or.th/aboutelectric/index.php?tid=1&mid=280&pid=116&ctForm=form11


6

สาระการเรียนที่ 2 เซลล์แสงอาทิตย์ 2.1 เซลล์แสงอาทิตย์ เซลล์ แสงอาทิตย์ (Solar cell) เป็ นสิ่ งประดิษฐ์ กรรมทางอิเลคทรอนิกส์ ที่สร้ างขึน้ เพื่อเป็ นอุปกรณ์ สาหรั บเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ ให้ เป็ นพลังงานไฟฟ้ า ทาให้ เกิดไฟฟ้ ากระแสตรงขึน้ แสง อิเล็คโครด โหลด

Junction อิเล็คโครด รู ปที่ 2.1 รู ปร่ างของโซลาเซลล์ อย่ างง่ าย

รู ปที่ 2.2 โครงสร้ างระบบติดตามดวงอาทิตย์ ที่สมบูรณ์


7

2.3 ลักษณะการติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ ลักษณะการติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ในปัจจุบันได้มีการติดตั้งในลักษณะ 2 รูปแบบ รูปแบบที่ 1 ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบ้านพักอาศัย (Solar Home System) ถูกออกแบบสาหรับเป็นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดต่างๆ ภายในบ้านพักอาศัย เพื่ออานวยความสะดวกให้กับการใช้ชีวิตอยู่ภายในบ้านพักอาศัย แบ่งเป็นชุดต่างๆ ตามความต้องการใช้ งาน ส่ วนประกอบระบบไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิ ตย์ เพื่อบ้ านพักอาศัย (Solar Home System) จะประกอบไปด้ วย เซลล์ แสงอาทิ ตย์ , อุปกรณ์ ควบคุมอิ เล็กทรอนิ กส์ , แบตเตอรี่ และอิ นเวอร์ เตอร์ ซึ่ งอุปกรณ์ ไฟฟ้ าเป็ นชนิ ด กระแสสลับ (AC) ยกตัวอย่ าง เช่ น เครื่ องสูบนา้ มอเตอร์ และแสงสว่ าง เป็ นต้ น

รู ปที่ 2.3 การทางานของเซลล์ แสงอาทิตย์ ชนิดสารองไฟฟ้ าในแบตเตอรรี่ รู ปแบบที่ 2 ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ชนิดต่ อเชื่อมระบบสายส่ ง (Grid connected Solar System) ถูกออกแบบเพื่ อใช้ ผลิ ตกระแสไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิ ตย์ แล้ วผ่ านเครื่ องแปลงกระแสไฟฟ้ าที่ เชื่ อมต่ อกับสายส่ ง (Grid connected Inverter) จากนั้นจ่ ายกระแสไฟฟ้ าไปยังอุปกรณ์ ไฟฟ้ า ซึ่ งสามารถทา การขายคืนกระแสไฟฟ้ าที่เกินความต้ องการ หรื อซื ้อเข้ ามาจากระบบสายส่ งได้ ส่ วนประกอบระบบพลังงาน แสงอาทิตย์ ชนิดต่ อเชื่ อมระบบสายส่ ง (Grid connected Solar System) จะประกอบไปด้ วย เซลล์ แสงอาทิ ตย์ , อินเวอร์ เตอร์ และมิเตอร์


8

รู ปที่ 2.4 การทางานของเซลล์ แสงอาทิตย์ ชนิดต่ อเชื่ อมระบบสายส่ ง

2.4 ความเหมาะสมในการติดตั้งระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบ้านพักอาศัย รายละเอียด

อุปกรณ์ไฟฟ้า

ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบ้านพักอาศัยสาหรับอุปกรณ์ ระบบแสงสว่าง ขนาด 30 Wp ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบ้านพักอาศัยสาหรับอุปกรณ์ ระบบแสงสว่าง ขนาด 50 Wp ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบ้านพักอาศัยสาหรับอุปกรณ์ ระบบแสงสว่าง ขนาด 100 Wp

หลอดคอมแพคท์ประหยัดไฟ 9 W (2 หลอด) ใช้งานได้ นาน 7 ชั่วโมง หลอดฟลูออเรสเซนต์ 10 W (1 หลอด) ใช้งานได้นาน 12 ชั่วโมง หลอดฟลูออเรสเซนต์ 18 W (1 หลอด) ใช้งานได้นาน 12 ชั่วโมง หลอดฟลูออเรสเซนต์ 10 W( 2 หลอด) + วิทยุ หรื อ โทรทัศน์ 21" โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้วันละประมาณ 400 Wh หลอดฟลูออเรสเซนต์ 18 W (3 หลอด) + วิทยุ + โทรทัศน์ + พัดลม + ตู้เย็น (ขนาด 20 ลิตร) โดยสามารถผลิตไฟฟ้า ได้วันละประมาณ 1 kWh หลอดฟลูออเรสเซนต์ + วิทยุ + โทรทัศน์ + พัดลม + ตู้เย็น ขนาดใหญ่ + ปั๊มสูบน้า โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้วันละ ประมาณ 6 kWh ใช้ กับอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้าต่ างๆ ได้ ยกเว้ น เครื่ อ งปรั บ อากาศ โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้วันละประมาณ 12 kWh

ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบ้านพักอาศัย ขนาด 130 Wp ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบ้านพักอาศัย ขนาด 400 Wp *เหมาะสาหรับบ้านขนาดเล็ก ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบ้านพักอาศัย ขนาด 2000 Wp *เหมาะสาหรับบ้านขนาดกลาง ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบ้านพักอาศัย ขนาด 4000 Wp *เหมาะสาหรับบ้านทั่วไป


9

2.5 การประยุกต์ใช้ของเซลล์แสงอาทิตย์ ก) เซลล์ แสงอาทิตย์ สาหรั บที่อยู่อาศัย ซึ่ งจะช่ วยทาให้ สามารถติดตั้งแผงเซลล์ แสงอาทิ ตย์ ให้ เหมาะสม กับเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าภายในบ้ าน เพื่อให้ เกิดความประหยัดได้ มากขึน้ ดังรู ปที่ 2.5

รู ปที่ 2.5 การติดตั้งแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ สาหรั บอาคารบ้ านเรื อน ข) เซลล์ แสงอาทิตย์ สาหรั บตึกหรื ออาคารพาณิ ชย์ ซึ่ งจะช่ วยทาให้ สามารถลดค่ าใช้ จ่ายไฟฟ้ าภายในตึก หรื ออาคารพาณิ ชย์ ได้ ดังรู ปที่ 2.6

รู ปที่ 2.5 การติ ดตั้งแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ สาหรั บตึกหรื ออาคารพาณิ ชย์ ค) เซลล์ แสงอาทิตย์ สาหรั บการเกษตร ซึ่ งจะช่ วยทาให้ สามารถติดตั้งแผงเซลล์ แสงอาทิ ตย์ ให้ เหมาะสม กับเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าทางการเกษตรและเหมาะสมกับขนาดของพืน้ ที่การเกษตร ดังรู ปที่ 2.6


10

รู ปที่ 2.6 การติดตั้งแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ สาหรั บการเกษตร

สาระการเรียนรู้ ที่ 3 ไดนาโม 3.1 ไดนาโม ไฟฟ้าที่เราใช้กันทั่วไปตามบ้านเรือน หรือสถานที่ต่างๆ หรือกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการประกอบ กิจการต่าง ๆนั้น ทั้งหมดเป็นกระแสไฟฟ้าที่ผลิตด้วยไดนาโม ซึ่ง ไดนาโม จะทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกล เป็นพลังงาน ไฟฟ้า

รู ปที่ 3.1 หลักการทางานของไดนาโม ส่วนประกอบของไดนาโม จะประกอบด้วย 1) แม่เหล็ก ซึ่งไว้สาหรับทาให้เกิดสนามแม่เหล็ก 2) ขดลวด ซึ่งต้องเป็นขดลวดที่มีฉนวนหุ้มหรือเคลือบด้วยฉนวน


11

3.2 การประยุกต์ใช้ของไดนาโม กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการประกอบกิจการต่างๆ นั้น ส่วนใหญ่เป็นกระแสไฟฟ้าที่ผลิตได้จากการใช้ หลักการของไดนาโม เช่น ไฟฟ้าที่ได้จากเขื่อน ไฟฟ้าที่ได้จากกังหันลม ไฟฟ้าที่ได้จากแรงดันไอน้า ไฟฟ้าที่ ได้จากการขึ้นลงของน้าทะเล เป็นต้น ไฟฟ้าที่ได้จากเขื่อน

ไฟฟ้าที่ได้จากกังหันลม


12

ไฟฟ้าที่ได้จากแรงดันไอน้า

ไฟฟ้าที่ได้จากการขึ้นลงของน้าทะเล

ไฟฟ้าที่ได้จากการไดนาโมจักรยาน


13

นักเรียนลองสังเกตในชีวิตประจาวัน เราจะต้องเกี่ยวข้องกับสารหลายชนิด ซึ่งมีลักษณะแตกต่าง กัน สารที่ใช้ในชีวิตประจาวันจะมีสารเคมีเป็นองค์ประกอบ ซึ่งสามารถจาแนกเป็นสารสังเคราะห์และสาร ธรรมชาติ เช่น สารปรุงรสอาหาร สารแต่งสีอาหาร สารทาความสะอาด สารกาจัดแมลงและสารกาจัด ศัตรูพืช เป็นต้น ในการจาแนกสารเคมีเป็นพวกๆ นั้นเราใช้วัตถุประสงค์ในการใช้เป็นเกณฑ์การจาแนก ดัง รายละเอียดต่อไปนี้ 1.1) ความหมายสารปรุงแต่งอาหาร สารปรุงแต่งอาหาร หมายถึง สารปรุงรสอาหารใช้ใส่ใน อาหารเพื่อทาให้อาหารมีรสดีขึ้น เช่น น้าตาล น้าปลา น้าส้มสายชู น้ามะนาว ซอสมะเขือเทศ และให้รสชาติ ต่างๆ 1.2) ประเภทของสารปรุงแต่งอาหาร แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ได้จากการสัง เคราะห์ เช่น น้าส้มสายชู น้าปลา ซีอิ๊ว ซอสมะเขือเทศ เป็นต้น 2. ได้จากธรรมชาติ เช่น เกลือ น้ามะนาว น้ามะขามเปียก อัญชัน เป็นต้น

เครื่องดื่ม หมายถึง สิ่งที่มนุษย์จัดเตรียมสาหรับดื่ม และมักจะมี น้า เป็นส่วนประกอบหลัก บาง ประเภทได้คุณค่าทางโภชนาการ บางประเภทดื่มแล้วไปกระตุ้นระบบประสาท และบางประเภทดื่มเพื่อดับ กระหาย แบ่งออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ น้าดื่มสะอาด น้าผลไม้ นม น้าอัดลม เครื่องดื่มบารุงกาลัง ชาและ กาแฟ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 1) น้าดื่มสะอาด น้าดื่มสะอาด เป็นเครื่องดื่มที่ไม่สิ่งอื่นเจือปน เป็นประโยชน์ต่อกระบวนการต่างๆ ในร่างกาย 2) น้าผลไม้ น้าผลไม้เป็นเครื่องดื่มที่มีประโยชน์มากอย่างหนึ่ง และต้องเป็นน้าผลไม้ที่สดๆ จึงจะ ได้คุณค่ามาก

เรียบเรียงโดยคณาจารย์สาขาเคมีประยุกต์


14

3.1 ความหมายของสารท้าความสะอาด มีคุณสมบัติในการกาจัดความสกปรกต่างๆ ตลอดจนฆ่าเชื้อ โรค 3.2 ประเภทของสารท้าความสะอาด แบ่งได้ 2 ประเภท 1. จากการสังเคราะห์ เช่น น้ายาล้างจาน สบู่ก้อน สบู่เหลว แชมพูสระผม ผงซักฟอก สารทาความสะอาดพื้นเป็นต้น 2. ได้จากธรรมชาติ เช่น น้า มะกรูด มะขามเปียก เกลือ เป็นต้น

4.1 ความหมายของสารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช สารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช หมายถึง สารเคมีที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้ป้องกันการกาจัด และควบคุมแมลงต่างๆ ไม่ให้มารบกวน มีทั้งชนิดผง ชนิดเม็ด และชนิดน้า 4.2 ประเภทของ สารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ได้จากการ สังเคราะห์ เช่น สารฆ่ ายุง สารกาจัดแมลง เป็นต้น 2.ได้จากธรรมชาติ เช่น เปลือกมะนาว เปลือกมะกรูด เปลือกส้ม เป็นต้น

5.1 ความหมายของเครื่องสาอาง เครื่องสาอาง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบร่างกาย เพื่อใช้ทาความ สะอาดเพื่อให้เกิดความสดชื่น ความสวยงาม และเพิ่มความมั่นใจ 5.2 ประเภทของเครื่องสาอาง แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ 1 ) สาหรับผม เช่น แชมพู ครีมนวด เจลแต่งผม ฯลฯ 2 ) สาหรับร่างกาย เช่น สบู่ ครีม และโลชั่นทาผิว ยาทาเล็บ น้ายาดับกลิ่นตัว แป้งโรยตัว ฯลฯ 3 ) สาหรับใบหน้า เช่น ครีม โฟมล้างหน้า แป้งผัดหน้า ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้วและดินสอเขียนขอบ ตา 4 ) น้าหอม 5 ) เบ็ดเตล็ด เช่น ครีมโกนหนวด ผ้าอนามัย ยาสีฟัน ฯลฯ

เรียบเรียงโดยคณาจารย์สาขาเคมีประยุกต์


15

การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า (Electroplating) คือ กระบวนการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในสารละลาย เกลือของโลหะ (Metallic salts) แล้วทาให้อิออนบวกวิ่งมารับประจุไฟฟ้าลบที่ชิ้นงาน ซึ่งทาหน้าที่เป็นขั้ว ลบ (Cathode) จึ ง ท าให้ เ กิ ด เป็ น ชั้ น ผิ ว บางของโลหะมาเคลื อ บอยู่ บ นผิ ว ด้ า นนอกของชิ้ น งาน การชุบทองแดง นิกเกิล โครเมียม (Cu-Ni-Cr Plating) จัดอยู่ในประเภทการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า ดังตัวอย่าง การชุบทองแดง โดยใช้น้ายาชุบคอปเปอร์ซัลเฟต (CuSO4) ต่อไปนี้เมื่อเอา สารละลายจุนสีหรือคอปเปอร์ ซัล เฟตมาทาการแยกสลายด้ว ยไฟฟ้ า โดยใช้แผ่ น ทองคาขาว (Platinum) เป็นขั้ว ลบต่อเข้า กับขั้ว ลบ แบตเตอรี่ และใช้แผ่นทองแดงบริสุทธิ์เป็นขั้วบวกต่อเข้ากับขั้วบวกของแบตเตอรี่

1. กระดาษทราย

2. บิกเกอร์

3. สายไฟฟ้า

4. ปากคีบ

5. แบตเตอรี่

6. ซิงค์ซัลเฟต

7. กรดไฮโดรคลอริก

8. ตะปูเหล็

9. แผ่นสังกะสี

1. ใช้กระดาษทรายขัดตะปูเหล็กขนาดยาวประมาณ 3 เซนติเมตร แล้วนาไปแช่ในสารละลายกรด HCI 1 mol/dm3 2 นาที นาออกมาล้างน้าให้สะอาดและเช็ดผิวให้แห้ง 2. เติมสารละลาย ZnSO2 0.1 mol/dm3 70 มิลลิลิตร ลงในบิกเอร์ขนาด 100 มิลลิลิตร 3. ต่อแผนสังกะสีเข้ากับขั้วบวกและต่อตะปูเหล็กกับขั้วสลบของแบตเตอรรี ใช้ศักย์ไฟฟ้าประมาณ 3 โวลต์ สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไปประมาณ 5 นาที ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... เรียบเรียงโดยคณาจารย์สาขาเคมีประยุกต์


16

แบตเตอรรี่น้าที่นิยมใช้ในรถยนต์มีแผ่นธาตุบวกที่ทาจากตะกั่วเปอร์ออกไซด์ (PbO2) และแผ่นธาตุ ลบทาจากตะกั่ว (Pb) โดยน้ายาอิเล็กโตรไลต์ทาจากกรดกามะถันเจือจางคือจะมีกรดกามะถัน (H2SO4) ประมาณ 38 เปอร์ เ ซ็ น ต์ มี ห น้ า ที่ ใ ห้ แ ผ่ น ธาตุ ล บเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าทางเคมี จ นเกิ ด กระแสไฟฟ้ า เเละ แรงเคลื่อนไฟฟ้าขึ้นมาได้ ดังนั้นจึงมีแนวความคิดเปลี่ยนแผ่นธาตุบวกเป็นแผ่นทองแดงและแผ่น ธาตุลบทา จากแผ่นสังกะสีซึ่งหาได้ง่ายในท้องตลาดทั่วไป โดยใช้วัสดุชีวมวลที่มีความเปรี้ ยวซึ่งมี สภาพเป็นกรด เช่น มะนาว มะกรูดและน้าล้มสายชูเป็น น้ายาอิเล็กโตรไลต์แทน

1. ลูกมะนาว /น้าส้มสายชู 2. แผ่นทองแดง และ สังกะสีตาม 3. หลอด LED (Light Emitting Diode) 4. มัลติมิเตอร์ เพื่อใช้วัดแรงดันไฟฟ้า

เรียบเรียงโดยคณาจารย์สาขาเคมีประยุกต์


17

1. ใช้มีดเฉือนมะนาวทั้ง 2 ด้าน พร้อมกับใส่แผ่นสังกะสีด้านหนึ่ง ส่วนอีกด้านหนึ่งใส่แผ่นทองแดง ทาเช่นนี้กับมะนาว จานวน 5 ลูก 2. นาสายไฟแบบหนีบหนีบแผ่นทองแดงด้านหนึ่งกับแผ่นสังกะสีอีกด้านหนึ่งในลูกเดียวกัน โดยนา ปลายของสายไฟ แบบหนีบที่เหลือจากการหนีบแผ่นสังกะสีไปหนีบแผ่นทองแดงของอีกลูกหนึ่ง ส่วนปลาย ของสายไฟแบบหนีบที่ เหลือจากการหนีบแผ่นทองแดงไปหนีบกับสังกะสีของอีกลูกหนึ่ง ทาเช่นนี้จนครบ 5 ลูก 3. นาสายไฟแบบตัวหนีบ ที่ด้านหนึ่งหนีบกับทองแดงมาหนีบกับขั้วบวกของหลอดไฟ (ด้านที่มี ความยาวมากกว่า) ส่วนสายไฟแบบตัวหนีบที่ด้านหนึ่งหนีบกับสังกะสีหนีบกับขั้วลบของหลอดไฟ (ด้านที่มี ความยาวสั้นกว่า)

......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... เรียบเรียงโดยคณาจารย์สาขาเคมีประยุกต์


18

1

บทปฏิบัติการเรื่อง เซลลพืช บทนํา เซลลเปนโครงสรางพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เซลลพืชเปนเซลลประเภท Eukariotic cell มีขนาดตั้งแต เล็กที่ตองมองดวยกลองจุลทรรศน จนถึงขนาดใหญที่มองเห็นไดดวยตาเปลา องคประกอบของเซลลพืชประกอบดวย ผนังเซลล (Cell wall) เยื่อหุมเซลล (Cell membrane) โปรโตพลาสซึม (Protoplasm) ผนังเซลล (Cell wall) : เปนโครงสรางที่หุมอยูนอกสุดโดยลอมรอบเยื่อหุมเซลลไว ผนังเซลลที่พบใน พืชอาจเปนผนังเซลลปฐมภูมิ (Primary wall) ซึ่งประกอบดวยเซลลูโลส (Cellulose) และเฮมิเซลลูโลส (Hemicellulose) เป น ส ว นใหญ พบในเซลล พ วก พาเรนไคมา (Parenchyma) และเซลล เ จริ ญ (Meristematic cell) หรือเปนผนังเซลลทุติยภูมิ (Secondary wall) เปนผนังที่เกิดขึ้นตอจากผนังเซลลปฐม ภูมิ เกิดจากสารพวก ลิกนิน (Lignin) คิวติน (Cutin) หรือซูเบอริน (Suberin) มาพอกทับผนังเซลลปฐมภูมิ ทํา ใหเซลลหนาและแข็งแรงขึ้น พบในเซลลพวก เวสเซล (Vessel) เทรคีต (Tracheid) และเซลลประเภทสเคลอ เรนไคมา (Sclerenchyma) เยื่อหุมเซลล (Cell membrane): ทําหนาที่เปนเยื่อเลือกผาน ควบคุมการสงผานสารเขาออกเซลล โปรโตพลาซึม (Protoplasm): เปนสวนของเหลวที่อยูในเซลล ประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ นิวเคลียส (Nucleus) และไซโตพลาซึม (Cytoplasm) นิวเคลียส เปนศูนยกลางในการควบคุม กระบวนการตางๆ ภายในเซลล และควบคุม การถายทอด ลักษณะทางพันธุกรรม ไซโตพลาซึมประกอบดวย องคประกอบที่มีชีวิต และองคประกอบที่ไมมีชีวิต องคประกอบที่มีชีวิต คือ ออรแกเนลล (Organelle) ที่พบในเซลล ไดแก - เอนโดพลาสมิก เรติคูลัม (Endoplasmic reticulum) - ไรโบโซม (Ribosome) - ไมโตคอนเดรีย (Mitochondria) - กอลจิ คอมเพล็กซ (Golgi complex) - ไลโซโซม (Lysosome) - แวคิวโอล (Vacuole) - พลาสติด (Plastid) ฯ องคประกอบที่ไมมีชีวิต (Inclusion หรือ Ergastic substance) เปนผลิตผลจากการทํางานของเซลล ไดแก - เม็ดแปง (starch grain) - เม็ดโปรตีน (Aleurone grain) - หยดน้ํามัน (Oil droplet) - ผลึก (Crystal) ฯ


19

2

วัตถุประสงค

อุปกรณ

วิธีการ

1. ใหรูจักโครงสราง ลักษณะ ขนาด และสวนประกอบตางๆ ของเซลลพืช 2. สามารถเตรียมสไลดเซลลพืชไดดวยตนเอง 3. สังเกตเห็นกระบวนการ พลาสโมไลซิส (Plasmolysis) และไซโคลซิส (Cyclosis) ที่เกิดขึ้น ในเซลลพืช 1. กลองจุลทรรศน 2. สไลด และ กระจกปดสไลด 3. ใบมีดโกน 4. พูกัน เข็มเขี่ย และหลอดหยด 5. กระดาษเช็ดเลนส 6. สไลดถาวร 7. สาหรายหางกระรอก 8. มันฝรั่ง 9. เนื้อมะพราว 10. ใบวานฝกดาบ 11. กานใบผักตบชวา 12. ใบวานกาบหอย ศึกษาโครงสรางและสวนประกอบของเซลล 1. ศึกษาเซลลพืชและพลาสโมไลซีส จากอิพิเดอรมอลเซลล ของใบวานกาบหอย โดยลอกผิวใบวานกาบหอยดานทองใบ (ดานทีมีสีมวง) เพื่อเตรียมสไลดสดของผิวใบ 2 ชุด สไลดชุดที่ 1 ปดสไลดดวยน้ํา สไลดชุดที่ 2 ปดสไลดดวย NaCl 3% ศึกษาเปรียบเทียบสไลดสดทั้ง 2 ชนิด สิ่งที่ตองสังเกต - ผนังเซลล - เยื่อหุมเซลล - ไซโตพลาซึม - นิวเคลียส - แวคิวโอล - อาจเห็นผลึกรุปเข็ม หรือผลึกรุปปริซึม 2. ศึกษาไซโคลซิส (Cyclosis) จากเซลลใบสาหรายหางกระรอก โดยเด็ดใบสาหรายหางกระรอกจากบริเวณยอดมา 1-2 ใบ ทําเปนสไลด ปดสไลดดวยน้ํา สังเกต - ลักษณะเซลลของใบสาหรายหางกระรอก - ลักษณะของเม็ดคลอโรพลาสต และการเคลื่อนทีj


20

3

3. ศึกษาองคประกอบที่ไมมีชีวิตภายในเซลล 3.1 เม็ดแปง (Starch grain) ใชใบมีดโกนเฉือนเนื้อมันฝรั่งใหไดบางที่สุด วางบนสไลดที่หยดน้ําไว ปดดวยกระจก ปดสไลด นําไปสองดูดวยกลองจุลทรรศน สังเกต - เซลลที่มีเม็ดแปง รูปรางเปนอยางไร - ลักษณะของเม็ดแปงกอนและหลังหยด สารละลายไอโอดีน - ลักษณะของไฮลัม (Hilum) และ ลาเมลลา (Lamella) 3.2 หยดน้ํามัน (Oil droplet) ใชใบมีดโกน เฉือนเนื้อมะพราวตามยาว ใหไดชิ้นบางที่สุด วางบนแผนสไลดที่หยดน้ํา ไว ปดดวยกระจกปดสไลด นําไปสองดุฃูดวยกลองจุลทรรศน สังเกต – หยดน้ํามันที่อยูภ ายในเซลล 3.3 ผลึกตางๆ (Crystals) - ผลึกรูปเข็ม (Raphide Crystal) ดูจากสไลดใบวานกาบหอย หรือ เตรียมสไลดสด กานใบผักตบชวา - ผลึกปรึซึม (Prismatic Crystal) ดูจากสไลดใบวานกาบหอย


21 Analytical Chemistry II

ปฏิบัติการชีววิทยา เซลล์ พืช อาจารย์ซูไฮมิน เจ๊ ะมะลี s4545305@hotmail.com

กล้ องจุลทรรศน์

พุทธรักษา วรานุศุภากุล

1


22 Analytical Chemistry II

Plant cell

พุทธรักษา วรานุศุภากุล

Hypotonic

Isotonic

Hypertonic

(Turgid)

(Normal)

(Plasmolysis)

2


23 Analytical Chemistry II

ศึกษาพลาสโมไลซิสของใบว่ านกาบหอย

5

ศึกษาไซโคลซิสจากเซลล์ สาหร่ ายหางกระรอก

พุทธรักษา วรานุศุภากุล

3


24 Analytical Chemistry II

ศึกษาเม็ดแป้งจากเนือมันฝรัง

7

ศึกษาหยดนํามันจากเนื อมะพร้ าว

8

พุทธรักษา วรานุศุภากุล

4


25 Analytical Chemistry II

ศึกษาผลึกรู ปเข็มจากใบว่ านกาบหอย/ ก้ านใบผักตบชวา

9

ศึกษาผลึกรู ปปริซึมจากใบว่านกาบหอย

10

พุทธรักษา วรานุศุภากุล

5


26

เอกสารประกอบการอบรมค่าย การศึกษานอกระบบ อาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จัดทาโดย สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

สารบัญ เหตุผลที่นำคอมพิวเตอร์มำใช้งำน .......................................................................................................................... 1 บทบำทของคอมพิวเตอร์ ........................................................................................................................................ 2 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ..................................................................................................................................... 4 สรุปเว็บไซร์ที่นิยมใช้มำกที่สุด ................................................................................................................................ 6 แนะนำเว็บไซต์ ....................................................................................................................................................... 9 ฝึกปฏิบัติกำรใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น .................................................................................................................. 10


27

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 1 เหตุผลที่นาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน 1. สำมำรถบันทึกข้อมูลต่ำงๆ ได้รวดเร็ว เช่น กำรใช้เครื่องอ่ำนรหัสแท่ง (Bar-code) อ่ำนเวลำเข้ำ -ออก ของ พนักงำน และคิดรำคำสินค้ำ ในห้ำงสรรพสินค้ำ 2. สำมำรถเก็บข้อมูลจำนวนมำกๆ ไว้ในฐำนข้อมูล (Database) เพื่อใช้งำนได้ทันที 3. สำมำรถนำข้อมูลที่เก็บไว้มำคำนวณทำงสถิติ แยกประเภท จัดกลุ่ม ทำรำยงำนลักษณะต่ำงๆ ได้ โดยระบบ ประมวลผลข้อมูล (Data Processing) 4. สำมำรถส่ ง ข้ อ มู ล จำกที่ ห นึ่ ง ไปยั ง อี ก ที่ ห นึ่ ง ได้ อ ย่ ำ งรวดเร็ ว โดยอำศั ย เทคโนโลยี สื่ อ สำรข้ อ มู ล (Data Communication) 5. สำมำรถจัดทำเอกสำรต่ำงๆ ได้อย่ำงรวดเร็ว ด้วยระบบประมวลผลคำ (Word Processing) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของ ระบบสำนักงำนอัตโนมัติ (Office Automation) 6. กำรนำมำใช้งำนทั้งด้ำนกำรศึกษำ กำรวิจัย 7. กำรใช้งำนธุรกิจ งำนกำรเงิน ธนำคำร และงำนของภำครัฐต่ำงๆ เช่น กำรนำคอมพิวเตอร์มำใช้กับงำนบัญชี งำนบริหำรสำนักงำน งำนเอกสำร งำนกำรเงิน กำรจองตั๋วเครื่องบิน รถไฟ 8. กำรควบคุมระบบอัตโนมัติต่ำงๆ เช่น ระบบจรำจร, ระบบเปิด/ปิดน้ำของเขื่อน 9. กำรใช้เพื่องำนวิเครำะห์ต่ำงๆ เช่น กำรวิเครำะห์สภำวะดินฟ้ำอำกำศ สภำพของดิน น้ำ เพื่อกำรเกษตร 10. กำรใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจำลองรูปแบบ เช่น กำรจำลองในงำนวิทยำศำสตร์ จำลองโมเลกุลจำลองรูปแบบ กำร ฝึกขับเครื่องบิน 11. กำรใช้คอมพิวเตอร์นันทนำกำร เช่นกำรเล่นเกม กำรดูหนัง ฟังเพลง 12. กำรใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกับเทคโนโลยีล้ำสมัยอี่นๆ เทคโนโลยีสื่อสำรข้อมูล เกิดเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต เป็นต้น


28

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 2 บทบาทของคอมพิวเตอร์ 1. บทบาทคอมพิ ว เตอร์ ต่ อ งานด้ า นการศึ ก ษา ในสถำนศึ ก ษำต่ ำ ง ๆ ได้ มี ก ำรน ำคอมพิ ว เตอร์ม ำใช้ งำน 3 ลักษณะ คือ  ใช้สำหรับผู้เรียน เพื่อค้นหำควำมรู้หรือข้อมูลที่สนใจจำกแหล่งควำมรู้ต่ำง ๆ เช่น กำรใช้คอมพิวเตอร์ช่วย สอน และ E-Learning  ใช้สำหรับผู้สอน เพื่อเป็นสื่อในกำรถ่ำยทอดควำมรู้ให้แก่ผู้เรียน เช่น กำรนำคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับ โปรเจคเตอร์เพื่อนำเสนอข้อมูล  ใช้สำหรับงำนด้ำนกำรบริหำร เพื่อช่วยในกำรตัดสินใจของผู้บริหำรสถำนศึกษำ เช่น กำรจัดเก็บข้อมูล เกี่ยวกับสถำนศึกษำและผู้เรียน กำรประมวลผลคะแนนของผู้เรียน 2. บทบาทคอมพิวเตอร์ในงานด้านการสื่อสาร ในปัจจุบันนิยมเชื่ อมต่อคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ร่วมกัน หลำย ๆ เครื่ อ งจนเกิ ด เป็ น เครื อ ข่ ำ ย โดยเครื อ ข่ ำ ยคอมพิ ว เตอร์ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด มี พื้ น ที่ ค รอบคลุ ม ทั่ ว โลกเรี ย กว่ ำ อินเตอร์เน็ต ทำให้คอมพิวเตอร์มีควำมสำรถในกำรทำงำนมำกยิ่งขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งควำมสำมำรทำงด้ำน กำรติดต่อสื่อสำรซึ่งไม่จำกัดเฉพำะข้อมูลที่เป็นข้อควำมเพียงอย่ำงเดียวเท่ำนั้น แต่สำมำรถส่งข้อมูลในรูปแบบ ต่ำง ๆ ได้อย่ำงหลำกหลำยในรูปแบบของมัลติมีเดีย เช่น กำรดำวน์โหลดข้อมูลต่ำง ๆ 3. บทบาทคอมพิวเตอร์ในงานด้านการบริหารประเทศ รัฐบำลมีนโยบำยที่จะนำ เทคโนโลยีสำรสนเทศมำช่วย ในกำรบริหำรประเทศในด้ำนต่ำง ๆ เพื่อให้เกิดกำรบริหำรงำนที่มีลักษณะเป็นรัฐบำล อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ อำนวยควำมสะดวก เพิ่มควำมโปร่งใส และลดปัญหำกำรคอรัปชันของหน่ วยงำนทำงรำชกำรโดยสำมำรถ แบ่ งลั กษณะของกำรท ำงำนเป็ น กำรบริกำรประชำชน กำรรับและเผยแพร่ข้อ มูล ระหว่ำงประชำชน กั บ รั ฐ บำล และกำรติ ด ต่ อ และแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ระหว่ ำ งหน่ ว ยงำนของรั ฐ บำล เช่ น กำรช ำระภำษี กั บ กรมสรรพำกรผ่ำนทำงเว็บไซต์ 4. บทบาทคอมพิ ว เตอร์ ใ นงานด้ า นสั ง คมศาสตร์ มี ก ำรใช้ ค อมพิ ว เตอร์ เพื่ อ กำรเก็ บ ข้ อ มู ล และช่ ว ย ทำกำรวิจัยเกี่ยวกับผลกระทบทำงสังคมศำสตร์ในด้ำนต่ำง ๆ ช่วยให้เรำทรำบข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตและควำม เป็นอยูใ่ นสังคมได้ง่ำยยิ่งขึ้น เช่น กำรจัดทำสถิติในรูปแบบของกรำฟประชำกร 5. ทบาทของคอมพิ ว เตอร์ ใ นงานด้ า นวิ ศ วกรรม มี ก ำรน ำคอมพิ ว เตอร์ ม ำใช้ ด้ ำ นวิ ศ วกรรมในเกื อ บ ทุกขั้น ตอนของกำรทำงำน เพื่ อช่วยส่ งเสริมกำรทำงำนที่ได้มำตรำฐำนระดับสำกลและส่ งเสริมควำมคิ ด สร้ำงสรรค์ของผู้สร้ำงสรรค์งำนด้ำนวิศวกรรม


29

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 3 6. บทบาทคอมพิ ว เตอร์ ใ นงานด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ มี ก ำรประยุ ก ต์ ใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ร่ ว มกั บ เครื่ อ งมื อ ทำง วิท ยำศำสตร์ เพื่ อ ใช้ เก็ บ ข้ อ มู ล และส่ ง เสริ ม กำรท ำงำนให้ แ ม่ น ย ำและรวดเร็ ว มำกยิ่ ง ขึ้ น เช่ น กำรใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยในกำรตรวจสอบส่วนประกอบของธำตุ 7. บทบาทคอมพิ ว เตอร์ ใ นงานด้ า นการแพทย์ กำรที่ แ พทย์ มี เ ครื่ อ งมื อ ที่ ทั น สมั ย สำมำรถวำงแผน กำรรักษำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และช่วยลดควำมเสี่ยงในกำรรักษำผู้ป่วยแล้ว บทบำทของคอมพิวเตอร์ใน งำนด้ำนกำรแพทย์ยังช่วยให้ข้อมูลและช่วยวินิจฉัยโรคเบื้องต้นผ่ำนทำงเครือข่ำยได้อีกด้วย 8. บทบาทคอมพิวเตอร์ในงานด้านอุตสาหกรรม มีกำรใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในกำรทำงำนของ เครื่องจักร กำร คำนวณวัตถุดิบ เวลำที่ใช้ในกำรผลิต และผลผลิตที่ได้จำกกำรผลิต มีคุณภำพและมำตรำฐำน ที่แน่นอนตรง ต่อควำมต้องกำรของผู้บริโภคมำกยิ่งขึ้น และยังช่วยให้มนุษย์ไม่ต้องทำงำนที่เสี่ยงต่ออันตรำย อีกด้วย 9. บทบาทคอมพิ ว เตอร์ ใ นงานด้ า นธุ ร กิ จ จะเห็ น ได้ ว่ ำ มี ก ำรส่ ง เสริ ม บทบำทของคอมพิ ว เตอร์ ใ น งำนด้ำนธุรกิจในรูปแบบพำณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จำกรัฐบำลอย่ำงต่อเนื่อง มีกำรใช้คอมพิวเตอร์ในกำรช่วย วำงแผน ด้ำนธุรกิจกำรประเมินสถำนกำรณ์ทำงเศรษฐกิจ และช่วยนำเสนอสินค้ำในรูปแบบของเว็บไซต์ ผ่ำน ทำงเครือข่ำยอินเตอร์เน็ต 10. บทบาทคอมพิ ว เตอร์ ในงานด้ า นธนาคาร มี ก ำรใช้ค อมพิ ว เตอร์ในกำรจั ดกำรด้ ำนงำน ส ำนั ก งำนของ ธนำคำร กำรใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ใ นกำรเก็ บ ข้ อ มู ล ลู ก ค้ ำ ประมวลผล กำรฝำกเงิ น กำรถอนเงิ น และอัตรำดอกเบี้ย ซึ่งจำเป็นต้องมีกำรประมวลผลแบบทันที เพื่อให้เกิดควำมถูกต้องและแม่นยำ 11. บทบ าทคอมพิ วเตอร์ ใ น งาน ด้ า น ส านั ก งาน เพื่ อจั ด ท ำเอกสำรงำนพิ ม พ์ งำนน ำเสนอข้ อ มู ล กำรเก็บข้อมูล กำรคำนวณและกำรจัดกำรข้อมูลที่ใช้ช่วยในกำรตัดสินใจของผู้บริหำร ซึ่งช่วยให้กำรจัดกำร งำนต่ำง ๆในสำนักงำนมีคุณภำพ ประหยัดเวลำ และประหยัดทรัพยำกร 12. บ ท บ า ท ข อ ง ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ใ น ง า น ด้ า น ค ว า ม บั น เทิ ง แ บ่ ง ไ ด้ 2 ป ร ะ เภ ท ดั ง นี้ -เพลงและภำพยนตร์ ปั จ จุ บั น ผู้ ใช้ นิ ย มฟั งเพลงและดู ภ ำพยนตร์ผ่ ำนทำงคอมพิ ว เตอร์ เนื่ อ งจำกสะดวก ประหยั ด ภำพและเสี ย งมี คุ ณ ภำพเที ย บเท่ ำกั บ สื่ อ อื่ น ๆ มี ก ำรให้ บ ริก ำรดำวน์ โหลดเพลงและตั ว อย่ ำ ง ภำพยนตร์ จำกระบบเครือข่ำยอินเตอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ยังมีควำมสำมำรถสร้ำงภำพยนตร์แอนิเมชัน – เกมคอมพิวเตอร์ มีกำรติดตั้งเกมไว้ในคอมพิวเตอร์เพื่อเล่ นคนเดียวและกำรเล่นผ่ำนเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ หรือเกมออนไลน์ซึ่งกำลังเป็นที่แพร่หลำย เนื่องจำกสำมำรถเล่นพร้อม ๆ กันได้หลำยคน


30

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 4 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 1. ด้านการศึกษา  ช่วยนำเสนอข้อมูลได้หลำกหลำยรูปแบบ  ช่วยรวบรวมข้อมูลต่ำง ๆ ไว้ในแหล่งข้อมูลเดียวกัน  ช่วยให้ผู้เรียนสำมำรถศึกษำหำควำมรู้ได้ด้วยตนเอง  ช่วยแลกเปลี่ยนและนำเสนอแนวควำมคิดของผู้เรียนและผู้อื่น 2. ด้านการสื่อสาร  ช่วยประหยัดเวลำและค่ำใช้จ่ำยในกำรติดต่อสื่อสำร  เป็นสื่อกลำงในรับและส่งข้อมูลจำกที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง  ช่วยกระจำยข้อมูลจำกแหล่งข้อมูลหนึ่งไปยังผู้ใช้ทุกคน 3. ด้านการบริหารประเทศ  เป็นช่องทำงกำรรับรู้ข้อมูลจำกประชำชน  เป็นช่องทำงกำรนำเสนอข้อมูลไปสู่ประชำชน  ส่งเสริมกำรแสดงออกซึ่งประชำธิปไตย  เพิ่มทัศนคติที่เกี่ยวกับกำรบริหำรประเทศด้ำนบวกให้แก่ประชำชน 4. ด้านสังคมศาสตร์  ช่วยเก็บข้อมูลสถิติด้ำนสังคมศำสตร์  ช่วยคำนวณแนวโน้มปัญหำที่อำจเกิดขึ้นในอนำคต  ช่วยนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของกรำฟ แผนภูมิ หรือภำพ 3 มิติ ทำให้สำมำรถเปรียบเทียบข้อมูล ต่ำง ๆ ได้ง่ำยยิ่งขึ้น 5. ด้านวิศวกรรม  ช่วยออกแบบและคำนวณโครงสร้ำงบ้ำนและอำคำร  สร้ำงโมเดลจำลองก่อนกำรสร้ำงโมเดลจริง  ควบคุมกำรทำงำนด้ำนก่อสร้ำงที่มีควำมละเอียดอ่อน  ช่วยประมวลผลและประเมินสถำนกำรณ์ที่อำจเกิดปัญหำขึ้นในอนำคต


31

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 5 6. ด้านวิทยาศาสตร์  ช่วยเก็บและประมวลผลข้อมูลในงำนวิจัยและกำรทดลองต่ำง ๆ  เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ทำงวิทยำศำสตร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพของอุปกรณ์นั้น  ช่วยทำงำนวิจัยหรืองำนทดลองที่มีควำมละเอียดและมีขนำดที่เล็ก ๆ ได้  สร้ำงแบบจำลองงำนทดลองเพื่อลดควำมผิดพลำดจำกกำรทดลองกับของจริง 7. ด้านการแพทย์  ลดควำมผิดพลำดและเพิ่มควำมแม่นยำในกำรวินิจฉัยและรักษำโรค  เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกำรดูแลรักษำสุขภำพ  ช่วยลดเวลำในกำรักษำโรค 8. ด้านอุตสาหกรรม  ช่วยควบคุมกำรผลิตชิ้นงำนให้ได้ปริมำณและคุณภำพตำมต้องกำร  ช่วยทำงำนในพื้นที่เสี่ยงภัยหรืองำนที่มนุษย์ไม่สำมำรถทำได้  ช่วยลดปัญหำกำรขำดแคลนแรงงำน  ช่วยคำนวณปริมำณวัตถุดิบ สินค้ำ และกำไร 9. ด้านธุรกิจ  เป็นช่องทำงในกำรนำเสนอสินค้ำ  ช่วยตรวจสอบและสั่งซื้อสินค้ำต่ำง ๆ  ขยำยโอกำสทำงธุรกิจให้แก่ผู้ที่มีเงินทุนต่ำ  ช่วยคำนวณตัวเลขทำงธุรกิจได้อย่ำงแม่นยำ  เพิ่มควำมสะดวกในกำรซื้อและขำยสินค้ำจำกทั่วโลก 10. ด้านธนาคาร  ลดขั้นตอนในกำรดำเนินงำน  ช่วยอำนวยควำมสะดวกให้แก่ผู้ใช้บริกำรธนำคำร ทำให้สำมำรถจัดกำรด้ำนกำรเงินได้ทุกที่ตลอดเวลำ  ช่วยเก็บข้อมูลลูกค้ำไว้ในส่วนกลำง ทำให้สำมำรถตรวจสอบข้อมูลของลูกค้ำได้จำกทุกธนำคำร


32

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 6 11. ด้านสานักงาน  ใช้สร้ำงงำนนำเสนอในรูปแบบที่น่ำสนใจ  ช่วยประหยัดค่ำใช้จ่ำยในกำรพิมพ์เอกสำร  ช่วยเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อกำรตัดสินใจของผู้บริหำร สรุปเว็บไซร์ที่นิยมใช้มากที่สุด รำยงำนล่ำสุดจำกเว็บ Alexa.com ที่รวบรวมสถิติกำรใช้งำนเว็บไซต์ทั่วโลก ได้สรุปรำยชื่อเว็บที่คนไทย นิยมใช้ มำกที่สุด ในช่วงเดือนกรกฎำคม พ.ศ. 2553 ที่ผ่ำนมำ มีจำนวน 20 อันดับ มำดูว่ำ คนไทย ชอบเข้ำเว็บไซต์ เว็บใด มำกที่สุด  อันดับที่ 1 Google.co.th แน่นอนว่ำอันดับหนึ่งย่อมเป็นของเซิร์ชเอนจิ้นระดับโลกรำยนี้ ที่เรำทั้งหลำยต่ำงเข้ำใช้กันทุกวัน ทุกครั้งที่ ต่อเน็ตกันเลยทีเดียว  อันดับที่ 2 Facebook.com เว็บไซต์ Social Network อันดับหนึ่งของโลกในขณะนี้ ใครใช้ไม่เป็นเชยระเบิดเลยครับ นักเรียนที่ยังไม่เป็น สมำชิก ต้องลองสมัครแล้วใช้งำนกันได้แล้ว เพื่อที่จะได้ไม่ตกยุค  อันดับที่ 3 Live.com เซิร์ชเอนจิ้นค่ำยไมโครซอฟต์ ที่หลำยคนอำจไม่ค่อยคุ้นหู แต่ถ้ำคุณเป็นคนหนึ่งที่เล่น MSN และใช้ Hotmail แน่นอนว่ำคุณย่อมจะรู้จัก live.com เป็นอย่ำงดี  อันดับที่ 4 Google.com ก็ยังเป็นเว็บไซต์จำกกูเกิลเหมือนเดิม ซึง่ google.com กับ google.co.th แตกต่ำงกันตรงที่อันแรก เป็นชื่อ เดิมที่เรำหลำยคนคุ้นเคย แต่อันหลังเป็นของกูเกิลที่เป็นภำษำไทยครับผม (ลองพิมพ์ http://www.google.com แล้วเว็บมันจะเปิด google.co.th มำให้เรำโดยอัตโนมัติ)  อันดับที่ 5 Youtube.com วีดีโอออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดและเป็นที่นิยมที่สุดในโลก มีคนบอกว่ำถ้ำเอำควำมยำวของวีดีโอมำเปิดดูต่อกัน อำจ ต้องใช้เวลำหลำยชั่วอำยุคน ถึงจะดูได้ทั้งหมด ลองหำอะไรดีๆ ไปอัพโหลดไว้บนยูทูปดูกันนะครับ ว่ำกันว่ำ คน ไทยดูเยอะ แต่อัพโหลดน้อย เห็นทีเรำต้องเปลี่ยนนิสัยกันบ้ำงแล้วหละ


33

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 7  อันดับที่ 6 Sanook.com เว็บท่ำอันดับหนึ่งของเมืองไทย ที่รวบรวมหลำกหลำยเรื่องรำวเอำไว้ที่เดียว ครูทีมเล่นเว็บนี้ตั้งแต่สมัยเรียน มัธยม พักหลังๆ ไม่ค่อยได้เล่น แต่ช่วงนี้เห็นนักเรียนชอบเล่นกันมำก เพรำะมีเกมสนุกๆ ให้เล่นเพียบเลย  อันดับที่ 7 Yahoo.com จำกเว็บเซิร์ชเอนจิ้นธรรมดำ พอโดนกูเกิลแซงหน้ำ ตอนนี้ yahoo.com เปลี่ยนหน้ำตำไปเยอะ และทำอะไร ได้เยอะกว่ำแต่ก่อน ไม่เชื่อลองเข้ำไปดูสิครับ แล้วจะรู้ว่ำ สมรภูมิกำรแข่งขันระหว่ำงเว็บไซต์ต่ำงๆ มีมำกมำย แค่ไหน  อันดับที่ 8 Hi5.com ถึงแม้ว่ำคนทั่วโลกจะเลิกเล่น hi5 ไปแล้ว แต่ในเมืองไทยเว็บไซต์นี้ยังได้รับควำมนิยมไม่เสื่อมคลำย  อันดับที่ 9 Blogger.com เว็บบล็อกอันดับหนึ่งของคนไทย ที่รวมรวมบล็อกไว้มำกมำยที่สุด เรียกดูได้เร็วที่สุด ใช้งำนง่ำยที่สุด ใครอยำก มี blog และไม่เคยเขียน blog มำก่อน ครูทีมแนะนำที่นี่เลยครับ แต่ต้องมีบัญชีอีเมล์ของ gmail ก่อนนะ  อันดับที่ 10 MSN.com ใครเล่น MSN จะรู้จักเว็บนี้เป็นอย่ำงดี เพรำะทุกครั้งที่เปิดโปรแกรม msn มันจะเปิดเว็บนี้มำให้โดยอัตโนมัติ ครับ ที่นี่เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลข่ำวสำรไว้ทุกประเภทให้อัพเดทกัน แต่ผมว่ำมันไม่ค่อยอัพเดท เท่ำไหร่เลย คนอื่นๆ ว่ำไงบ้ำงครับ  อันดับที่ 11 pantip.com เว็บชุมชนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย รวมรวมผู้คนทุกวัย ทุกกำรศึกษำ ทุกฐำนะ ไว้ที่นี่ หลำยคนบอกว่ำเข้ำไป แล้ว ไม่รู้จะไปไหน ครูทีมแนะนำว่ำ ให้เข้ำไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งคุณจะพบกลุ่มที่เหมำะกับคุณมำกที่สุด แล้ว คุณจะต้องเปิด pantip.com ทุกครั้งที่ใช้คอม  อันดับที่ 12 mthai.com จุดนัดพบชำวไซเบอร์สเปซหนุ่มหล่อสำวสวย (จริงหรือเปล่ำก็ไม่รู้) ก็ต้องลองไปเล่นดูครับ  อันดับที่ 13 kapook.com เว็บนี้สมัยครูทีมเป็นวัยรุ่น มันฮิตมำกๆ เลย มีทุกอย่ำงให้ดู ทั้งเพลง เกม หนัง วีดีโอคลิป ดูดวง ผลบอล เรียกว่ำบันเทิงสุดๆ เข้ำเว็บนี้แล้วจะอัพเดททุกอย่ำงที่ทันสมัย


34

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 8  อันดับที่ 14 Wikipedia.org เว็บไซต์รวบรวมควำมรูั ที่คนไทยนิยมใช้มำกที่หนึ่ง หลำยคนบอกว่ำข้อมูลในเว็บนี้ไม่น่ำเชื่อถือ แต่สำหรับครู ทีม เว็บไซต์นี้ก็ถือเป็นแหล่งอ้ำงอิงขนำดใหญ่ที่เชื่อถือได้บ้ำงหละน่ำ ดีกว่ำเข้ำเว็บไซต์ไร้สำระ ใช่ไหมครับ  อันดับที่ 15 4shared.com (ครูทีมแนะนำให้อ่ำนว่ำ โฟ-แช จะดีที่สุด) ขำโหลดทั้งหลำยต้องรู้จักเว็บนี้เป็นอย่ำงดี ไม่ขออธิบำยอะไรมำก แต่อยำกให้ใช้เว็บนี้อย่ำงระมัดระวังให้มำกที่สุดครับ เพรำะไวรัส อำจจะมำพร้อมกับข้อมูลที่คุณสนใจก็เป็นได้  อันดับที่ 16 Dek-d.com มหำนครวัยรุ่นออนไลน์ สังคมสำหรับวัยรุ่น ที่ทุกครั้งที่ครูทีมเข้ำไป ก็จะเจอควำมหลำกหลำยลำยตำชะมัด แต่ เด็กๆ ชอบกันจริงๆ ฝำกเอำไว้สำหรับผู้ใหญ่ที่จะเข้ำไป อำจจะต้องทำใจกับกำรใช้ภำษำในเว็บนี้กันสักนิด แต่ ถ้ำไม่คิดอะไรมำก จะพบว่ำเว็บนี้มีประโยชน์มำกมำยเลยทีเดียว  อันดับที่ 17 MediaFire.com (อ่ำนว่ำ มี-เดีย-ไฟ-ดอท-คอม) ขำโหลดต้องรู้จักอีกแล้ว เอำเป็นว่ำ 4shared.com ทำอะไรได้ mediafire.com ก็ไม่ต่ำงกันครับ  อันดับที่ 18 Manager.co.th เว็บไซต์ข่ำวในเครือผู้จัดกำร หำกมองข้ำมควำมเป็นสื่อของพันธมิตร จะพบว่ำ เว็บไซต์ข่ำวเว็บนี้ ดีที่สุดใน ประเทศไทย มีข่ำวอัพเดททันสมัยให้เลือกอ่ำนฟรี มำกมำยมหำศำล แต่อย่ำลืมใช้วิจำรณญำณในกำรอ่ำนให้ มำกๆ ด้วยนะครับ  อันดับที่ 19 Amazon.com แปลกใจว่ำคนไทยนิยมเว็บนี้ด้วยเหรอ แต่เอำเถอะ ถ้ำเขำจัดอันดับมำแล้ว ก็ไปเปิดดูสิว่ำ เขำขำยอะไรกัน  อันดับที่ 20 Teenee.com เว็บที่นี่ดอทคอม เป็นเว็บที่เพื่อนๆ ของครูทีมหลำยคนเคยแนะนำมำก ด้วยควำมโดดเด่นในควำมเร็วในกำร โหลด และข่ำวสำรมำกมำย เข้ำเว็บเดียวรู้ไปหมดทุกเรื่อง แบบไม่ต้องเสียเวลำ ก็แนะนำที่นี่เลยครับสังเกตได้ ว่ำเว็บไซต์ที่คนไทยชอบเปิดดู ก็ยังอยู่ในเทรนของโลก บำงเว็บก็อยู่มำนำนแสนนำนนับสิบปี ก็ยังได้รับควำม นิยมไม่เสื่อมคลำย และคงเป็นอย่ำงนี้ไปอีกสักพักใหญ่ๆ เลยหละครับ ใครที่ไม่อยำกตกเทรน ก็ลองไปเปิดดูนะ ครับ


35

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 9 แนะนาเว็บไซต์ เว็บไซต์ที่มีประโยชน์ 1. http://msdn.microsoft.com/howto/ แหล่งข้อมูลด้ำน VB, ASP และอื่น ๆ อีกมำกมำย 2. http://www.alltheweb.com บริกำรสืบค้นเคยถูกจัดอันดับให้เป็นที่สองของโลก 3. http://www.cnn.com ได้รับรำงวัลเว็บข่ำวที่ดีที่สุดจำก pcworld.com 4. http://www.download.com แหลง่โปรแกรมที่รู้จักกันมำกบริกำรได้สมบูรณ์ 5. http://www.dserver.org บริกำร web board, guestbook หรือ poll เป็นต้น 6. http://www.factmonster.com บริกำรข้อมูลน่ำสนใจมำก (ปีศำจควำมจริง) 7. http://www.freecenter.com แนะนำของฟรีให้เข้ำไปขอได้เป็นหมวดหมู่ 8. http://www.freevbcode.com Source code ของ VB 9. http://www.glo.or.th กองฉลำกกินแบ่งรัฐบำล รับตรวจฉลำกกินแบ่ง 10. http://www.google.com ได้รับรำงวัลบริกำรสืบค้นที่ดีที่สุด 11. http://www.hitbox.com บริกำรตัวนับแบบแยกหน้ำ 12. http://www.hotscripts.com Source code ของหลำยภำษำ 13. http://www.hunsa.com ยอดเว็บไทยมีบริกำรมำกมำย 14. http://www.isc.org/ds/WWW-200201 ผลสำรวจเมื่อมกรำคม ปีค.ศ.2002 15. http://www.netledger.com ได้รับรำงวัลโปรแกรมบัญชี จำกpcworld.com 16. http://www.pantip.com ยอดเว็บกระดำนข่ำว(WWW board) 17. http://www.pcmag.com ผู้เริ่มต้นอำจพบสิ่งที่ท่ำนต้องกำรที่นี่ 18. http://www.php.net แนะนำกำรเขียน PHP ได้ประทับใจที่สุด 19. http://www.rd.go.th กรมสรรพำกร เปิดรับเสียภำษีผ่ำน Internet 20. http://www.sanook.com ยอดเว็บไทยมีบริกำรมำกมำยที่น่ำสนใจ 21. http://www.sourceforge.net Open Source Development Network 22. http://www.th2.net บริกำร web board, guestbook หรือ poll เป็นต้น 23. http://www.thai.net บริกำร free hosting ในไทย ที่น่ำเชื่อถือ 24. http://www.thaiall.com บริกำรข้อมูลสำหรับทุกวัย เน้นด้ำนกำรศึกษำ 25. http://www.thaimisc.com บริกำร web board, guestbook หรือ poll เป็นต้น


36

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 10 26. http://www.thaiware.com แหล่งโปรแกรมที่รู้จักกันมำกเป็นภำษำไทย 27. http://www.truehits.net บริกำรตัวนับแบบแยกหน้ำดีมำกของไทย 28. http://www.twebmaster.com แหล่งข้อมูลสำหรับเว็บมำสเตอร์ชำวไทย 29. http://www.webmaster.or.th สมำคมผู้ดูแลเว็บไทย 30. http://www.yahoo.com ได้รับรำงวัลเว็บท่ำ จำก pcworld.com

ฝึกปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น 1. กำรใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น • กำรตั้งเวลำ วันที่ • กำรเพิ่มภำษำ ลบภำษำ • กำรสร้ำงเอกสำรใหม่ - เปลี่ยนเป็น icon

- เปลี่ยนชื่อเอกสำร

- ลบเอกสำร

- ย้ำยเอกสำร

- คัดลอกและวำง

• Gadget • User Account • รู้จัก Software • กำรใช้ Internet (กำรสมัคร email) • กำรใช้ search engine (google) - ใช้ google ค้นหำรูปภำพ และบันทึกภำพเก็บไว้ - ตรวจสอบสภำพอำกำศทั่วโลกก่อนเดินทำงใน google - คิดเลข คำนวณสูตรผ่ำน google - ตรวจสอบอัตรำแลกเปลี่ยนสกุลเงินต่ำง ๆ ใน Google - แปลเว็บไซต์ทั้งหน้ำด้วย google translate - แปลภำษำด้วย google translate - ดูแผนที่ใน google maps


37

เอกสำรประกอบกำรอบรมค่ำย กศน. อำเภอยะรัง 11 2. กำรปฏิบัติใช้โปรแกรม Microsoft word • รู้จักส่วนประกอบของ Microsoft word 2010 • กำรสร้ำงเอกสำรใหม่ • กำรตั้งค่ำหน้ำกระดำษแนวตั้งและแนวนอน • กำรบันทึกเอกสำร • กำรบันทึกเอกสำรให้ใช้ได้กับ Word 97- 2003 • กำรเรียกแสดงแถบไม้บรรทัด • กำรค้นหำคำในเอกสำร • กำรทำลิงค์ข้อมูลด้วย Hyperlink • วิธีกำรใส่ลำยน้ำแบบข้อควำม • วิธีกำรใส่ลำยน้ำแบบรูปภำพ • แก้ไขข้อควำมแบบเร็วสุด ๆ • กำรทำ Footnote • วิธีกำรฝั่งไฟล์ลงในเอกสำร • กำรสร้ำงไดอะแกรมและแผนผังโครงสร้ำงองค์กร (Organization chart) • วิธีสร้ำงตำรำงแบบรวดเร็ว • กำรสร้ำงสำรบัญ (Table of content) • วิธีคำนวณค่ำในตำรำง • สร้ำงจดหมำยเวียน • กำรป้องกันเอกสำร (Protect Document) วิธีใส่ Password ในเอกสำร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.