วิชาอัลกุรอานและตัจวีด 01

Page 1

หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-0-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

หลักสูตรสันติศึกษา

ระดับ ชั้น 01 วิชา อัลกุรอานและตัจวีด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-1-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

1. มาตรฐานการเรียนรู ผูเรียนมีจรรยามารยาทที่ดีงาม มีความเปนมุสลิมเปนฐานหลัก ไมวางตัวเปนปรปกษกับหลักคําสอนของอิสลาม ระยะเวลาเรียน หนึ่งปการศึกษา (สองภาคเรียน) คุณลักษณะอันพึงประสงค มีความรูความเขาใจในอุดมการณของอิสลามโดยรวมทั้งทางดาน หลักความเชื่อ กฎหมายอิสลาม และคุณธรรมจริยธรรม. วิชา อัลกุรอาน 1 อรรถาธิบายอัลกุรอาน 2. จุดประสงคปลายทาง สรางความผูกพันระหวางคัมภีรของอัลลอฮกับผูเรียนใหเหนียวแนน บนพื้นฐานของ ความเขาใจที่ถูกตอง มีเจตคติที่ดีตอสาระธรรมในคัมภีร ดวยการนําหลักคําสอนของคัมภีรอัลกุ รอานมาสูการปฏิบัติ มีจิตผูกพันกับคําชี้นํา และปฏิบัติตามบัญญัติดวยความเขาใจที่ถูกตองไม ผิดเพี้ยน มีความบริสุทธิ์ใจตอวัตถุประสงคแหงทางนําที่ชี้นําไวในทุกยุคทุกสมัย ในทุกที่ทุกเวลา และยึดเปนที่อางอิง เปนที่คืนกลับทุกครั้งที่มีขอขัดแยงเกิดขึ้น โดยยึดหลักการเรียนรูที่ครบถวน สมบูรณเปนเกณฑ 3. จุดประสงคนําทาง 1.สามารถอธิบายจุดเดนหรือลักษณะพิเศษของภาคนี้ของอัลกุรอานที่มุงเนนนําเสนอเกี่ยวกับ เรื่องของการถือกําเนิดขึ้นมาของมนุษยในตอนแรก และการมีชีวิตอีกโลกหนึ่ง ซึ่งมีการชี้นําไว ผานการอรรถาธิบายภาคนี้ทั้งหมด 2.สามารถบอกความหมายของศัพทยากและความหมายในเชิงลึกที่แตละคําตองการสื่อ 3.สามารถบอกถึงมหาบริสุทธิ์แหงอัลลอฮจากลักษณะที่ไมเหมาะไมควรแกพระองค 4.สามารถบอกถึงเดชานุภาพแหงอัลลอฮในการสรางสรรและสามารถบอกถึงเมตตาธิคุณ แหงพระองคที่มีตอมวลมนุษยได 5.สามารถบอกลักษณะพิเศษหรือจุดเดนของวันกียามะฮฺซึ่งมีทั้งความสุขสบายและความ ยากลําบากเปนสิ่งตอบแทนตามแตการกระทําของแตละคนที่กระทําไว 6.สามารถบอกไดวาอัลลอฮสามารถสาบานดวยการเอยนามของสิ่งที่พระองคทรงสรางขึ้นมา ได แตสําหรับมนุษยไมมีสิทธิ์ที่จะสาบานดวยการเอยชื่อสิ่งเหลานี้ทั้งหมด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-2-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

7.สามารถบอกบทลงโทษซึ่งเปนวาระสุดทายของพวกผูบอนทําลาย ผานการทําความเขาใจ เรื่องราวของ พวกอาด ซะมูด และฟรเอาน 8.สามารถบอกจุดยืนของการทดสอบซึ่งจะมีทั้งดีและรายและสภาพทาทีของมนุษยที่มีตอ การทดสอบของอัลลอฮได 9.สามารถบอกถึ ง ความโปรดปรานจากอั ล ลอฮที่ มี ต อ มวลมนุ ษ ย และเดชานุ ภ าพแห ง พระองค ที่ มี เ หนื อ พวกเขา และสามารถบอกวิ ธี ก ารแสดงความกตั ญ ู ต อ เมตตาธิ คุ ณ แห ง พระองคผานการเรียนรูซูเราะฮฺ อัลบะลัดได 10. สามารถบอกถึงความไพศาลแหงอัลลอฮและความโปรดปรานแหงพระองคที่มีตอผูที่ทํา การบริจาคในแนวทางแหงพระองค และความกริ้วโกรธของพระองคที่มีตอผูที่ตระหนี่ ผานการ เรียนรูซูเราะฮฺอัลลัยล 11. สามารถบอกถึ ง ความโปรดปรานและคํ า ชี้ นํ า แห ง อั ล ลอฮที่ ท รงมี ต อ ศาสนทู ต แห ง พระองค ผานการเรียนรูจากซูเราะฮฺ อัฎฎฮา 12. สามารถบอกความหมายศัพทยากซึ่งปรากฏอยูในแตละซูเราะฮฺ เชน.. . ‫ ﺨﻠﻕ ﺍﻹﻨﺴﺎﻥ ﻓﻲ ﺃﺤﺴﻥ ﺘﻘﻭﻴﻡ‬.1

. ‫ ﺭﺩﻩ ﺍﻟﻰ ﺃﺴﻔل ﺴﺎﻓﻠﻴﻥ‬.2

. ‫ ﻁﻐﻴﺎﻥ ﺍﻹﻨﺴﺎﻥ ﺒﺎﺴﺘﻐﻨﺎﺌﻪ‬.3 . ‫ ﺍﺨﺘﻼﻑ ﺍﻟﻤﺸﺭﻜﻴﻥ ﺒﻌﺩ ﻨﺯﻭل ﺍﻟﺒﻴﻨﺎﺕ‬.4

13. สามารถบอกความหมายของ “ลัยละตุลกัดรฺ” และสามารถบอกถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นใน “ลัยละตุลกัดรฺ” เชน มลาอีกะฮฺจะลงมา ,การเพิ่มผลบุญแกผูทําความดีในเวลานั้นใหมากกวาเดิม 14. สามารถบอกสภาพการของวันกียามะฮฺผานการเรียนรูจากภาคนี้ได 15. สามารถบอกไดวาซูเราะฮฺใดเปนซูเราะที่ประทานมาเพื่อสดุดีตอทานรอซูลุลลอฮ  16. สามารถบอกไดวาซูเราะฮฺใดที่เรียกวาเปน 1 ใน 3 ของอัลกุรอานโดยที่สามารถอางอิง หลักฐานจากซุนนะฮฺสนับสนุนอยางชัดเจน 17. สามารถทําความรูจักซูเราะฮฺที่ขับไลไสสงมารรายและกลาวถึงการลมลางมายากล และ ปกปองมนุษยจากการกระซิบกระซาบของมารรายได

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-3-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

(4) จุดประสงคดานจิตพิสัยและทักษะพิสัย 1. มีความมุงมั่นที่จะเรียนรูการอานซูเราะฮฺและทองจําทําความเขาใจใหสอดคลองกับ วัตถุประสงคของซูเราะฮฺ 2. มี ค วามมุงมั่ น ที่ จะระลึ ก ถึง อั ล ลอฮผา นการพิ นิจพิ เ คราะหสิ่ งถูก สร า งและการชี้นํ า ของอัลลอฮที่มีอยู 3. มีความพยายามที่จะฝกหัดอานอัลกุรอานดวยเสียสําเนียงที่ไพเราะถูกตอง 4. มีความมุงมั่นที่จะนําเอาอัลกุรอานมาเปนอีบาดะฮฺอยางสม่ําเสมอ 5. มีความรูสึกวาจะไดรับความชวยเหลือจากอัลลอฮ ในการที่จะประทานชัยชนะมายัง บาวของพระองคผูภักดี และประทานความหายนะแกศัตรูของพระองค 6. มีความพยายามที่จะนําพาตนเองใหสามารถปฏิบัติตนใหถูกตองผานการเรียนรูคําชี้นํา จากซูเราะฮฺตาง ๆ 7. สามารถเรียนรูการสรางสรรคของอัลลอฮผานตัวเองและฟากฟาที่ไกลออกไป 8. มุงมั่นสั่งเสียซึ่งกันและกันในเรื่องของคุณธรรมและความอดทน 9. รักการพัฒนาดวยการรําลึกถึงอัลลอฮและความครบถวนของจักรวาล 10. ตรวจสอบคิดคํานวณสิ่งที่ตนเองประสบขณะทําการเรียกรองสูหนทางของอัลลอฮ 11. ตระหนักถึงความเมตตาแหงอัลลอฮที่มีตอมวลมนุษยผานการแตงตั้งทานนบี  12. มีความบริสุทธิ์ใจตออัลลอฮในทุกการงานที่กระทํา 13. มุงมั่นที่จะเรียนรูการชี้นําจากอายะฮฺอัลกุรอานผานการวิเคราะหวิจัยทางวิชาการ 14. ใหความสนใจตอการที่อัลลอฮทรงประทานความโปรดปรานมายังมวลบาว ดวยการ เคารพภักดีและตอสูในหนทางแหงพระองค 15. มีค วามกระตื อ รื อ ร น หนั ก แน น ต อ การนํ าค านิ ย มแห งองค อ ภิ บ าลไปต อ สู ล บล า ง คานิยมทางวัตถุ 16. มีความมุงมั่นตั้งใจที่จะขอกุลาโทษจากผลบาปหรือความผิดดวยการเตาบะฮฺกลับตัว กลับใจ 17. มุงมั่นที่จะประเมินผลงานและบุคคลดวยตราชูแหงอัลลอฮที่เที่ยงตรง 18. มีความพยายามที่จะตอสูปกปองจากกลุมชนผูศรัทธาที่ออนแอ 19. มีความพยายามที่จะแกไขความเขาใจที่ผิด ๆ ออกไปจากสังคม 20. ตั้งใจที่จะมอบหมายการงานทุกอยางใหกับอัลลอฮและยึดมั่นตอพระองค ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-4-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

21. มีความพรอมที่จะเขาพบอัลลอฮดวยการเพิ่มความยําเกรงตอพระองคใหกับตัวเอง 22. ขอความคุมครองปกปองจากอัลลอฮใหรอดพนจากความชั่วรายของสิ่งถูกสราง มายา กลและความชั่วรายของความริษยา 23. ละเวนหางไกลจากพวกประจบสอพลอ พวกที่ขายอารมณ พวกกลับกลอก และหมั่น ขอความคุมครองจากอัลลอฮ 5. สาระการเรียนรู ก.ทองจําและเรียนรูการอรรถาธิบายซูเราะฮฺอัลอะลา ถึงซูเราะฮฺอันนาส จากตัฟเซร “อัล วาฎิฮฺ” ของทาน ดร.มะฮฺมูด ฮิญาซีย เรียนรูหลักการอานมีมและนูนซากีนะฮฺ จากหนังสือ “ตัยซี รุต ตัจวิด” ของ อาจารย อับดุลวาริษ ซะอีด ในประเด็นดังตอไปนี้ 1.ความจําเปนในการยึดมั่นแนวทางเฉพาะในการอาน (อัลกุรอาน) และยึดมั่นอัลกุรอาน ใหเปนฐานหลักของขอกฎหมายและวิทยาการดานตาง ๆ 2. ความจําเปนที่จะตองทําความเขาใจตัวบทของอัลกุรอานและนําเสนอขอชี้นําโดยสรุป 3. หลักการในการอรรถาธิบายอัลกุรอานและการนํามาใชประโยชน 4. แนวทางซึ่งเปนแบบอยางในการปฏิสัมพันธกับอัลกุรอานเพื่อการนํามาใชประโยชน 5.คุณคาของการทองจําอัลกุรอาน และแนวทางเฉพาะในการทองจํา ข. คําอธิบายรายวิชา ฝกปฏิบัติจริง ดวยการฝกอานดวยวิธีการที่ถูกตองไปพรอม ๆ กับการสังเกต (เปนขั้นเปน ตอนแบบคอยเปนคอยไป) พรอมกับแสดงหลักการอานที่ปรากฏอยูในแตละซูเราะฮฺ) โดยใช วิธีการดังนี้ 1. ศึกษาการอรรถาธิบายซูเราะฮที่กําหนดตามแนวทางเฉพาะในบทนี้ พรอมอรรถาธิบาย รายละเอียดเพิ่มเติมจากผูสอนในตัวบทแตละวรรคแตละตอน (ในบางสวนของซูเราะฮฺหรือจากซู เราะฮฺทั้งหมด) โดยการศึกษาเรียนรู • ชื่อซูเราะฮฺ • สาเหตุการประทานซูเราะฮฺ (หากมี) • เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺหรือมะดะนียะฮฺ • เรื่อง,สาระ,ประเด็น • วัตถุประสงคหรือความมุงหมายของซูเราะฮฺ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-5-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ค. ศึกษาความหมายของอายะฮฺหรือกลุมอายะฮฺที่เกี่ยวของกับเรื่องหรือประเด็นตาม แนวทางดังตอไปนี้ 1. ความหมายของศัพทยาก ศัพทเฉพาะทางและความหมายโดยรวมของอายะฮฺ 2. ศึกษาความสัมพันธหรือความเชื่อมโยงระหวางอายะฮฺ 3. สรุปสาระสําคัญของอายะฮฺ พรอม ๆ กับการระมัดระวังในการตีความใหสอดคลองกับ ประเด็นซึ่งมีอิสลาม ผูคนและการเรียกรองเขามาเกี่ยวของ ซึ่งจะมีตัวบทปรากฏอยูในทุก ๆ ซู เราะฮฺเปนแกนกลาง 4. สรุปขอคิด บทเรียน ขอบัญญัติทางศาสนาที่มีอยูในซูเราะฮฺ 5. เชื่อมโยงประเด็น บทเรียนที่ไดรับและบทบัญญัติทางศาสนาที่มีอยูในแตละซูเราะฮฺเขา ดวยกันวามีความสัมพันธกันอยางไร 6.เรี ย นรูความหมายทางภาษา(เบื้องต น )ที่เกี่ ยวกั บ วิ ชาวาทศิ ล ป ศาสตร เพื่ อเชื่ อ มโยง บทเรียนเขากับตัวบทของอัลกุรอานโดยตรง เพื่อพินิจพิเคราะหความหมายของอัลกุรอานให ครบถวนในทุก ๆ ดาน 7. ทําความเขาใจ เรียนรู(โดยไมเนนในรายละเอียด) เกี่ยวกับความมหัศจรรยของอัลกุร อานที่เกี่ยวของกับวิทยาการดานตางๆ ที่ปรากฏอยูในตัวบทของซูเราะฮฺ

• • • • • •

ง. จุดเนนที่ควรแกการสรุปจากซูเราะฮฺเพื่อเนนย้ําขณะศึกษาทําความเขาใจ ประเด็นหลัก ๆ ที่เกี่ยวกับหลักการศรัทธา (เชน การศรัทธาตออัลลอฮ ตอศาสนทูต , สาระธรรมของศาสนทูต, มลาอีกะฮฺ ,คัมภีรของอัลลอฮ,วันกียามะฮฺและผลที่จะเกิดขึ้นใน การดําเนินชีวิต) หลักฐานยืนยันการเปนผูทรงสรางของอัลลอฮ จากสิ่งที่พระองคทรงตักเตือนไวใน จักรวาล พระนามแหงอัลลอฮอันไพจิตที่ไดรับจากอัลกุรอานและจากสติปญญา แบบอยางที่ดีของเหลาศาสนทูต(ทั้งนบีและรอซูล) พิธีกรรมทางศาสนาสัญลักษณความรับผิดชอบตอหนาอัลลอฮอยางครบถวน วิทยาศาสตร ความสําคัญของวิทยาการ ความถูกตองและบทบาทหนาที่ของวิทยาการแต ละแขนง การทําความดี ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-6-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

• การตอสูกับฝายอธรรม • ความรับผิดชอบของมนุษยที่มีตอความสุขและความทุกขที่จะไดรับในโลกนี้และโลก หนา • อันตราย ความยากลําบากที่จะไดรับในโลกหากไมมีทางนําจากอัลลอฮ • ภัยที่จะไดรับจากการทําบาป • อุดมการณของมารราย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-7-

ซูเราะฮฺ อัลอะอฺลา เปนบท “มักกียะฮฺ” มีทั้งหมด 19 อายะฮฺ สาระสวนใหญเปนเรื่องเกี่ยวกับการกลาวสดุดี ตออัลลอฮและสรรเสริญตอพระองค จากนั้นก็เปนการกําชับใหเตือนซึ่งกันและกัน และการ ชี้แจงใหเขาใจวา แทจริงแลวชัยชนะหรือความสําเร็จนั้นยอมประสบแดผูที่ชําระตนเองจากการ ทําบาปและการชําระตนเองใหหลุดพนจากการหลงเรื่องทางโลก ÉΟŠÏm§9$# Ç≈uΗ÷q§9$# «!$# ÉΟó¡Î0 4tçöpRùQ$# ylt÷zr& ü“Ï%©!$#uρ ∩⊂∪ 3“y‰yγsù u‘£‰s% “Ï%©!$#uρ ∩⊄∪ 3“§θ|¡sù t,n=y{ “Ï%©!$# ∩⊇∪ ’n?ôãF{$# y7În/u‘ zΟó™$# ËxÎm7y™ 4’s∀÷‚tƒ $tΒuρ tôγyfø9$# ÞΟn=÷ètƒ …絯ΡÎ) 4 ª!$# u!$x© $tΒ ωÎ) ∩∉∪ #|¤Ψs? Ÿξsù šèÎø)ãΖy™ ∩∈∪ 3“uθômr& ¹!$sWäî …ã&s#yèy∨sù ∩⊆∪ ’s+ô©F{$# $pκâ:¨ΖyftGtƒuρ tx.sŒuρ

∩⊇⊃∪ 4y´øƒs† tΒ ã©.¤‹u‹y™

∩⊇⊆∪ 4’ª1t“s? tΒ yxn=øùr& ô‰s%

’Å∀s9 #x‹≈yδ ¨βÎ)

∩∪ 3“tø.Ïe%!$# ÏMyèx¯Ρ βÎ) öÏj.x‹sù

∩⊇⊂∪ 4zøts† Ÿωuρ $pκÏù ßNθßϑtƒ Ÿω §ΝèO

∩⊇∠∪ #’s+ö/r&uρ ×öyz äοtÅzFψ$#uρ

∩∇∪ 3“uô£ãù=Ï9 x8çÅc£uŠçΡuρ

∩∠∪

∩⊇⊄∪ 3“uö9ä3ø9$# u‘$¨Ζ9$# ’n?óÁtƒ “Ï%©!$#

∩⊇⊇∪

∩⊇∉∪ $u‹÷Ρ‘‰9$# nο4θuŠysø9$# tβρãÏO÷σè? ö≅t/

∩⊇∈∪ 4’©?|Ásù ϵÎn/u‘ zΟó™$#

∩⊇∪ 4y›θãΒuρ tΛÏδ≡tö/Î) É#çtྠ∩⊇∇∪ 4’n<ρW{$# É#ßsÁ9$#

ความหมาย ดวยพระนามแหงอัลลอฮผูท รงยิ่งในความเมตตาผูทรงยิ่งในความกรุณา (1) (โอมุฮํามัด) เจงจงสดุดีพระบพิตรธิคุณแหงองคอภิบาลของเจา ผูทรงสูงสง (2) พระผูทรง บันดาล แลวทรงทําใหสมดุล (3) และพระผูทรงกําหนด แลวทรงชี้นํา (4) และผูทรงบันดาลใหทุงหญางอก เงยเปนอาหารของสัตว (5) แลวทรงบันดาลมัน (หญาที่เคยเขียวขจีใหกลายเปนหญาแหงประดุจดัง) ขยะใน ฟองน้ํา ซึ่งมีสีดําคล้ํา (6) เราจะใหเจาอาน (อัลกุรอานจนจดจําขึ้นใจ) แลวเจาก็ไมลืม (อีกตลอดไป) (7) นอกจากสิ่งที่อัลเลาะฮฺ ทรงประสงค (ใหเจาลืม) แทจริงพระองคทรงรอบรูสิ่งที่เปดเผยและสิ่งที่ซอนเรน (8) และเราจักใหสัมฤทธิผลแกเจา เพื่อความงายดาย (ในการงานทั้งหลาย) (9) ดังนั้นเจาจงตักเตือนเถิด เพราะ แทจริงการตักเตือนยอมยังประโยชน (อันอเนกอนันต) (10) ผูที่เกรงกลัว (อัลเลาะฮฺ) จะไดมีความสํานึก (11) และผูที่อับโชค จะหางไกลตอมัน (คําเตือนนั้น) (12) (เขาเปน) ผูซึ่งจะตองเขานรกอันยิ่งใหญ (13) หลังจาก นั้นเขาก็ไมตาย และไมเปนในนั้น (14) แนแทผูชําระมลทินตนเอง ยอมประสบความสมหวัง (15) และเขาได กลาวรําลึกถึงพระนามแหงองคอภิบาลของเขา แลวเขาก็ทําละหมาด (16) ทวา พวกเขาเห็นชีวิตทางโลกนี้ สําคัญกวา (17) ทั้งๆ ที่ (ความเปนจริง) โลกหนานั้นประเสริฐกวาและจีรังกวา (18) แทจริงสิ่งนี้ มีปรากฏใน บรรดาคัมภีรบรรพกาล (19) นั่นคือ คัมภีรของอิบรอฮีม และของมูซา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-8-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

คําอธิบายศัพท (‫ )ﺳﺒﺢ‬การกลาวสดุดี ในพระบริสุทธิ์คุณแหงอัลลอฮจากคุณลักษณะที่ไมเหมาะสมตอพระองค (‫ )ﻓﺴﻮﱠﻯ‬ทําใหสมดุลในหลักการและความสวยงาม (َ‫ )ﻗ ﱠﺪﺭ‬กําหนดใหสรรพสิ่งเปนไปในปริมาณที่เหมาะสม

( ‫ )ﻓﻬﺪﻯ‬ทรงชี้ นํ า สิ่ ง ต า ง ๆ ไปในทิ ศ ทางที่ เ หมาะสม ( ‫ ) ﻏﹸﺜﺎ ًﺀ‬ขยะในฟองน้ํ า ( ‫ )ﺃﺣﻮﻯ‬มี สี ค อ นข า งดํ า (‫ )ﻭﻧﻴﺴﺮﻙ ﻟﻠﻴﺴﺮﻯ‬เราจะใหผลสัมฤทธิ์ไปในทางที่ดีแกเจา (‫ ) ﻓﺬﻛﱢﺮ‬เจาจงเตือนดวยการนําสาระธรรมไป เผยแพรยังพวกเขา (‫ )ﳜﺸﻰ‬จะไดมีความสํานึกกลัวตอองคอภิบาลของเขา (‫ )ﺍﻷﺷﻘﻰ‬ผูอับโชคซึ่งหมายถึงผู ปฏิ เสธศรั ทธา (‫ )ﺗﺰ ﹼﻛّﻰ‬การชํ า ระมลทินตนเอง (‫ )ﻓﺼﻠﻰ‬การทํา ละหมาดแสดงความนอบน อมถ อ มตน ตออัลลอฮ (‫ )ﺗﺆﺛﺮﻭﻥ‬ใหความสํ าคัญกวา (‫ )ﺍﻟﺼﺤﻒ ﺍﻷﻭﱃ‬บรรดาคั มภีรในสมั ยบรรพกาลที่ไดรับการ ประทานลงมากอนอัลกุรอาน

อรรถาธิบายซูเราะฮฺ

เจาจงกลาวสดุดีตอพระบพิตรธิคุณในพระนามแหงองคอภิบาลของเจา วาพระองคทรง บริสุทธิ์จากความบกพรองทั้งปวง พระองคทรงบริสุทธิ์จากคุณลักษณะที่ไมเหมาะสม บริสุทธิ์ จากความคลายคลึงกับสิ่งถูกสรางทั้งหมด พระองคไมเคยยึดเอาสิ่งใดมาเปนภาคีรวมกับพระองค ไม มี สิ่ ง ใดที่ จ ะเที ย บเคี ย งเสมอเหมื อ นพระองค พระองค จ ะเป น ที่ รู จั ก ด ว ยคุ ณ ลั ก ษณะแห ง พระองคทั้งหมด สําหรับมหาบริสุทธิ์แหงพระองค พระองคทรงสูงสงกวาความเขาใจใด ๆทั้งหมด มวล มนุษยจะรูจักพระองควา พระองคคือผูทรงรอบรู ผูทรงเดชานุภาพ ทรงมีเจตนา ทรงเอกะ ทรง เปนที่พึ่งพา ทรงบริสุทธิ์จากความบกพรองทั้งมวล พระองคทรงสูงสงเกินกวาที่จะพึ่งพาบรรดา ภาคี ภริยาหรือบุตร ทรงเกรียงไกร ทรงบริสุทธิ์ในพระนามแหงพระองค และพระนามแหง พระองคเหลานี้ (หมายถึงคุณลักษณะที่เปนที่รูจัก) คือคุณลักษณะที่บงบอกใหรูวาพระองคทรง สูงสงและเกรียงไกรเปนยิ่งนัก และพระองคเองคือผูใหคุณลักษณะวาพระองคทรงเกรียงไกรและ ทรงเกียรติ์ และพระองคคือผูที่ทรงบัญญัติมายังพวกเราใหกลาวสดุดีสรรเสริญในบริสุทธิ์คุณ แหงพระองค เพราะพระองคคือผูทรงสรางสรรพสิ่ง และทรงใหเกิดความสมดุล ทรงจัดวาง ระบบต า งๆ ของสรรพสิ่ ง ไว อ ย า งเหมาะสม ด ว ยระบบการควบคุ ม ที่ ล งตั ว ไม มี ก ารลั ก ลั่ น สั่นคลอนเกิดขึ้นในระบบ แมกระทั่งระบบจักรวาลอันใหญโต หรือเชื้อโรคซึ่งเปนแบคทีเรียเล็ก ๆ ทุกสิ่งทุกอยางมีระบบควบคุมที่สมบูรณแบบสวยงามและมีความวิจิตบรรจงแนนอนเปนไป ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-9-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ตามกําหนดทั้งหมด พระองคคือผูกําหนดสภาพแวดลอมใหเกิดความเหมาะสมกับทุกสรรพสิ่ง และทรงชี้ นํา ไปในทางที่จ ะกอ เกิด ประโยชน ส ามารถดํ า รงอยู ไ ด ทรงชี้ นํ า ไปในแนวทางที่ เหมาะสมกับสภาพ และทรงใหสิ่งเหลานี้ดํารงอยูตามดวยสภาพที่เหมาะสมกับธรรมชาติและ ความตองการของมัน พระองคคือผู ทรงบันดาลใหทุ งหญ างอกเงย ใหพืชผลบั งเกิ ดขึ้ น ซึ่ งพื ช ผลเหล านี้จะ กลายเปนอาหารสําหรับคนและสัตว หลังจากที่พระองคทรงใหพืชหญางอกเงยเขียวขจีขึ้นมาแลว ก็ทรงใหมันแหงเหี่ยวเฉาและจนเกือบกลายเปนสีดีในที่สุด นั่นก็เพื่อเปนอาหารแกสัตวตอไป ซึ่ง สิ่งเหลานี้เปนสัญญาณยืนยันวา หลังจากมีชีวิตขึ้นมาแลวก็จะตองพบกับความตาย และพระองค คือผูทรงยิ่งในความเมตตาตอมวลมนุษยทั้งหมด ดวยการประทานอัลกุรอานมายังทานนบี  และทรงสัญญาวาจะทรงใหอานอัลกุรอานจนจดจําขึ้นใจ และจะไมใหทานลืมมันอีกตอไป อัลลอฮทรงตรัสไววา ‫ﺇﻥ ﻋﻠﻴﻨﺎ ﲨﻌﻪ ﻭﻗﺮﺁﻧﻪ‬ นอกเสียจากวาพระองคจะทรงประสงคจะใหลืม อัลกุรอานทั้งหมดมาจากพระองคและมันก็จะตองกลับคืนสูพระองค ทุกอยางจะตองนอบนอม ตอบัญชาแหงพระองค พระองคเปนผูที่ทรงรูทั้งสิ่งที่เรนลับและเปดเผย ไมมีสิ่งใดที่สามารถ ปกปดจากพระองคได พระองคทรงใหความสัมฤทธิผลแกเจาดวยการประทานความสัมฤทธิ์ผล ในการงานโดยไมมีสิ่งใดยากลําบากแกเจาเลย ในเมื่อทุกอยางเปนไปดังที่กลาวมา จึงจําเปนที่จะตองกลาวสดุดีตอพระบริสุทธิ์คุณแหง พระองคจากความบกพรองทุกประการ เพราะพระองคคือผูทรงสรางสรรพสิ่งและทรงทําใหทุก สิ่งมีความสมดุล ทรงกําหนดใหทุกสิ่งเปนไปอยางเหมาะสม ทรงชี้นําไปสูธรรมชาติและความ ตอ งการของมั น พระองค ท รงประทานพื ช ผลและหญ าที่ เ ขี ย วขจี แ ละจากนั้ น ก็ จ ะแห ง เหี่ ย ว พระองคทรงประทานอัลกุรอานมาเพื่อเปนทางนําใหกับมวลมนุษย อัลลอฮทรงสัญญาวาจะให สามารถทองจําไดและประทานหลักกฎหมายที่งายตอการปฏิบัติ และเมื่อเปนเชนนั้น โอมูฮํา หมัด เจาจงตักเตือนมวลมนุษยดวยอัลกุรอานเถิด และทานพึงรูดวยวา แทจริงแลวมนุษยมีอยู 2 กลุม กลุมที่หนึ่งเขาจะไดรับประโยชนจากการตักเตือน กลุมที่สองจะไมไดรับประโยชนจากการ ตักเตือนเลย ผูที่มีความสํานึกเกรงกลัวตออัลลอฮ มีความศรัทธามั่นตอสิ่งเรนลับจะไดรับการ ตักเตือนจากอัลกุรอาน แตผูที่อับโชคที่หัวใจของเขาปดสนิทไมมีความศรัทธาตออัลลอฮ ไม ศรัทธาตอสิ่งเรนลับใจเขาจะหางไกลตอคําตักเตือนออกไป และเขาก็จะเปนผูซึ่งจะตองเขานรกที่ มีไฟที่ลุกโชน ไฟนรกในวันกียามะฮฺจะเปนไฟที่ยิ่งใหญ สวนไฟที่เห็นอยูในโลกนี้จะรอนสัก เพียงใดก็ยังเปนแคไฟเล็ก ๆ นอย ๆ เทานั้น และเมื่อถึงวันที่พวกเขาสูนรก พวกเขาก็จะไดรับ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-10-

โทษอยางหนักหนวงโดยที่ไมมีวันตายและไมมีวันพบกับความสุขอีกตอไป สิ่งเหลานี้ไมใชเรื่องที่นาประหลาดใจแตอยางใดวา แทจริงแลวผูที่ชําระมนทิลตนเองจาก ความสกปรกของสิ่งชั่วราย จากการนมัสการตออารมณและรูปเจว็ดยอมประสบกับความสมหวัง อัลลอฮทรงตรัสไววา Çtã öΝèδ tÏ%©!$#uρ

∩⊄∪ tβθãèϱ≈yz öΝÍκÍEŸξ|¹ ’Îû öΝèδ tÏ%©!$#

∩⊇∪ tβθãΖÏΒ÷σßϑø9$# yxn=øùr& ô‰s% ∩⊂∪ šχθàÊÌ÷èãΒ Èθøó¯=9$#

บรรดาศรัทธาชน ยอมประสบชัยชนะอยางแนนอนพวกเขาเปนผูที่มีความนอบนอมในการทํา ละหมาดของพวกเขาพวกเขาเปนผูที่หันเหออกจากสิ่งที่ไรสาระ (ทั้งคําพูดและการกระทํา)

ผูที่ชําระมลทินใหกับตนเองใหปราศจากความสกปรกของความชั่วราย ยอมประสบความ สมหวัง ผูนั้นจะรําลึกถึงองคอภิบาลของเขาดวยการละหมาดอยางนอบนอมถอมตน และเมื่อ ระลึกถึงองคอภิบาลจิตใจของพวกเขาก็จะสั่นสะทานอีกทั้งน้ําตาก็จะเออนองเพราะความยําเกรง ตออัลลอฮ และเขาประพฤติปฏิบัติแตสิ่งดี ๆ มีประโยชน แตสําหรับผูที่เห็นชีวิตทางโลกนี้สําคัญ กวาโลกหนา ซึ่งเปนการชี้ใหเห็นถึงตนสายปลายเหตุของการทําความชั่ว สาเหตุของการทรยศ ตออัลลอฮและการปฏิเสธศรัทธาของพวกกาเฟร ซึ่งสาเหตุหลักก็มาจากการเห็นชีวิตทางโลกนี้ สําคัญกวาโลกหนา เห็นสิ่งทางโลกซึ่งตองพินาศดีกวา การรักกับสิ่งทางโลกคือปจจัยหลักของ ความผิดทุกประเภท คําวารักตอสิ่งทางโลกหมายถึง ยอมสยบยอมจํานนยอมนมัสการบูชาตอมัน ทั้ง ๆ ที่โลกหนานั้นประเสริฐและจีรังกวาอย างไมตองสงสัย แตสิ่งที่ไดกระทําไปในโลกนี้ ทั้งหมดมิไดยังประโยชนใด ๆ แกเจาเลยนอกจากสิ่งที่เปนการกระทําที่ดีที่ไดกระทําไวเทานั้น อย า ได เ ข า ใจไปเลยว า มู ฮํ า หมั ด นั้ น ได นํ า มาซึ่ ง สาระธรรมใหม เพราะแท จ ริ ง แล ว ข อ บั ญ ญั ติ ต า งๆ ของมู ฮํ า หมั ด นั้ น มี ป รากฏในคั ม ภี ร ส มั ย บรรพกาลมาแล ว นั่ น คื อ คั ม ภี ร ของอิบรอมฮีมและคัมภีรของมูซา เพราะสาระธรรมทั้งหมดลวนแลวแตสอดคลองกับสาระ ธรรมที่ผานมาโดยเฉพาะเรื่องของการศรัทธาในเอกานุภาพแหงอัลลอฮ การสดุดีแดพระองค และการฟนคืนชีพและการยอมรับตอบรรดาศาสนทูตแหงอัลลอฮทั้งหมด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-11-

ซูเราะฮฺอัลฆอซียะฮฺ ซูเราะฮฺ อัลฆอชียะฮฺ เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 26 อายะฮฺ เปนการกลาวถึงวันกียา มะฮฺที่ครอบคลุม และไดชี้แจงไววาในวันกียามะฮฺผูคนจะแบงออกเปน 2 กลุม กลุมหนึ่งจะเขา พํานักอยูในสรวงสวรรค อีกกลุมหนึ่งจะเขาพํานักอยูในนรก จากนั้นก็จะเปนการจูงใจใหพินิจ พิเคราะหรองรอยบางอยาง จากนั้นก็จะกลับมากลาวถึงทานนบีและย้ําเตือนทานเกี่ยวกับหนาที่ จากนั้นก็แจงใหทราบวาในที่สุดทุกคนก็จะคืนกลับไปสูอัลลอฮ ÉΟŠÏm§9$# Ç≈uΗ÷q§9$# «!$# ÉΟó¡Î0 #·‘$tΡ 4’n?óÁs?

∩⊂∪ ×πt6Ϲ$¯Ρ ×'s#ÏΒ%tæ

∩⊄∪ îπyèϱ≈yz >‹Í×tΒöθtƒ ×νθã_ãρ

∩⊇∪ Ïπu‹Ï±≈tóø9$# ß]ƒÏ‰ym y79s?r& ö≅yδ

8íθã_ ÏΒ Í_øóムŸωuρ ßÏϑó¡ç„ ω ∩∉∪ 8ìƒÎŸÑ ÏΒ ωÎ) îΠ$yèsÛ öΝçλm; }§øŠ©9 ∩∈∪ 7πu‹ÏΡ#u A÷tã ôÏΒ 4’s+ó¡è@ ∩⊆∪ Zπu‹ÏΒ%tn $pκÏù

∩⊇⊇∪ Zπu‹Éó≈s9 $pκÏù ßìyϑó¡n@ ω

îπrOθèVö7tΒ ’Î1#u‘y—uρ

∩⊇∈∪ ×πsùθàóÁtΒ ä−Í‘$oÿsςuρ

y#ø‹x. ÉΑ$t6Ågø:$# ’n<Î)uρ

∩∪ ×πu‹ÅÊ#u‘ $pκÈ÷è|¡Ïj9

∩⊇⊆∪ ×πtãθàÊöθ¨Β Ò>#uθø.r&uρ

∩⊇∇∪ ôMyèÏùâ‘ y#ø‹Ÿ2 Ï!$uΚ¡¡9$# ’n<Î)uρ

@ÏÜøŠ|ÁßϑÎ/ ΟÎγø‹n=tæ |Mó¡©9 $uΖøŠn=tã ¨βÎ) §ΝèO

∩⊇⊃∪ 7πu‹Ï9%tæ >π¨Ζy_ ’Îû

∩⊇⊂∪ ×πtãθèùö¨Β Ö‘çß $pκÏù

∩⊄⊃∪ ôMysÏÜß™ y#ø‹x. ÇÚö‘F{$# ’n<Î)uρ

∩⊄⊆∪ uy9ø.F{$# z>#x‹yèø9$# ª!$# çµç/Éj‹yèã‹sù

∩∠∪

∩⊇⊄∪ ×πtƒÍ‘%y` ×÷tã

∩⊇∠∪ ôMs)Î=äz y#ø‹Ÿ2 È≅Î/M}$# ’n<Î) tβρãÝàΨtƒ Ÿξsùr&

∩⊄⊇∪ ÖÅe2x‹ãΒ |MΡr& !$yϑ¯ΡÎ) öÏj.x‹sù

∩⊄∈∪ öΝåκu5$tƒÎ) !$uΖø‹s9Î) ¨βÎ)

∩∇∪ ×πuΗ¿å$¯Ρ 7‹Í×tΒöθtƒ ×νθã_ãρ

∩⊇∉∪

∩⊇∪ ôMt6ÅÁçΡ

∩⊄⊂∪ txx.uρ 4’¯<uθs? tΒ ωÎ)

∩⊄⊄∪

∩⊄∉∪ Νåκu5$|¡Ïm

ความหมาย ขาวคราวเกี่ยวกับ (วันกิยามะฮฺ อันเปนภาวะ ) ที่ครอบคลุมไปทั่ว ไดมาถึงเจาแลวมิใชหรือ? (1)ใน วันนั้น มีหลายใบหนาที่มีแตความอัปยศ (2) เปนใบหนาทีท่ ํางานหนัก (ลากโซตรวนอยูในนรก) อีกทั้ง ประสบกับความเหน็ดเหนื่อย (3) พวกเขาเขา (ไปรับโทษอันมหันตอยู) ในนรก อันรอนแรง (4) พวกเขาถูกให ดื่มน้ําจากตาน้ําอันรอนจัด (5) พวกเขาไมมีอาหารอื่นใด นอกจากตนหนามอันแหลมคม (6) มันไมทาํ ให อวน และไมทาํ ใหหายหิว (7) ในวันนั้น มีอีกหลายใบหนาทีม่ ีความสงางาม (8) พวกเขามีความพึงใจใน (ผลตอบแทนจาก) ความพากเพียร (ในอดีต) ของพวกเขา (9) ในสวรรคอันสูงสง (10) ในนัน้ พวกเขาจะ ไมไดยินสิ่งไรสาระใด ๆ ทัง้ สิ้น(11)ในนั้นมีตาน้าํ อันไหลริน(12) ในนัน้ มีบรรดาเตียงที่ถกู ยกขึ้นสูง(13) และมี ถวย (สําหรับดื่มน้ํา) ที่ถูกวางไว (14) และมีหมอนที่ถูกเรียงเปนแถวไว(15)และมีพรหมทีถ่ ูกแยกปูไว (ในที่ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-12-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ตาง ๆ) (16)พวกเขาไมพนิ จิ พิเคราะหอูฐดอกหรือวามันถูกสรางมาอยางไร ? (17) และ (ไมพินจิ พิเคราะห) ฟาดอกหรือวามันถูกยกไวสงู อยางไร ? (18) และ (ไมพนิ ิจพิเคราะห) ภูเขาตาง ๆ ดอกหรือวามันถูกตั้งไวสงู อยางไร ? (19) และ (ไมพินิจพิเคราะห) แผนดินดอกหรือวามันถูกแผลาดไวอยางไร? (20) ดังนั้น เจาจง ตักเตือนเถิด อันที่จริงเจานัน้ เปนเพียงผูม ีหนาที่ตักเตือน (เทานั้น) (21)แตเจาไมใชผูที่จะบังคับเหนือพวก เขา (ใหรับศรัทธา) (22)ยกเวนผูทหี่ ันหลังให และเนรคุณเทานัน้ (ที่ไมยอมรับศรัทธาในคําเตือนของจา) (23)แลวอัลเลาะฮฺ จะลงโทษอันมหันตแกเขา (24) แทจริงยังเราเทานัน้ การกลับคืนของพวกเขา(25) หลังจากนั้นก็เปนหนาที่ของเราที่จะทําการสอบสวนพวกเขา (26) คําอธิบายศัพท (‫ )ﺍﻟﻐﺎﺷﻴﺔ‬วันกียามะฮฺที่มีภาวการณลงโทษปกคลุมมนุษยอยางถวนทั่ว (‫ )ﺧﺎﺷﻌﺔ‬ความอัปยศหดหู (‫ )ﺗﺼﻠﻰ ﻧﺎﺭﺍ‬เขาสูไฟนรกที่รอนแรง (‫ )ﺁﻧﻴﺔ‬ความรอนที่รุนแรง ( ‫ )ﺿﺮﻳﻊ‬ตนหนามอันแหลมคม (‫ )ﻻﻏﻴﺔ‬ไรประโยชน (‫ )ﻋﲔ ﺟﺎﺭﻳﺔ‬ตาน้ําที่ไหลรินไมขาดสาย (‫ )ﺳﺮﺭ‬เตียงนอน (‫ )ﺍﻛﻮﺍﺏ‬ถว ย สําหรับดื่มน้ํา (‫ )ﳕﺎﺭﻕ‬หมอนอิง (‫ )ﻭﺯﺭﺍﰊ‬พรมสําหรับปูพื้นหลากสีสวยงาม (‫ )ﲟﺼﻴﻄﺮ‬ผูบังคับบรรชา ( ‫ )ﺇﻳﺎﻬﺑﻢ‬ที่คืนกลับของพวกเขา อรรถาธิบายซูเราะฮฺ ทานไดเคยไดยินขาวคราวเกี่ยวกับวันกียามะฮฺซึ่งมีภาวะครอบคลุมอยางทั่วถึงแลวมิใชหรือ ? วันนั้น เปนวันที่การลงโทษไดครอบคลุมมนุษยอยางถวนทั่ว เปนวันที่มีการแยกมวลมนุษยออกเปนสองกลุมใหญ ๆ กลุมหนึ่งจะไดรับโทษอยางอัปยศ ซึ่งจะมองเห็นความอัปยศหดหูจากใบหนาของพวกเขาไดอยางชัดเจน ซึ่ง ในโลกดุลยาที่ผานมาพวกเขาไดพยายามทํางานอยางหนัก แตก็ไมสามารถที่จะนําอะไรไปพรอมกับพวกเขา ได อัลลอฮทรงตรัสไววา ∩⊄⊂∪ #·‘θèWΨ¨Β [!$t6yδ çµ≈oΨù=yèyfsù 9≅yϑtã ôÏΒ (#θè=Ïϑtã $tΒ 4’n<Î) !$uΖøΒωs%uρ

และเราไดมุงสู (การพิจารณา) การงานที่พวกเขาไดประพฤติไว แลวเราก็บันดาลมันให (ไรผล ประดุจดัง) ฝุนที่ปลิววอน (ในอากาศ) ในวันนั้นและที่นั่น (นรก) เปนที่ที่สุดแสนจะทรมารดวยความรอนซึ่งเปนผลมาจากการกระทําที่ได กระทําไป วันนั้นเมื่อพวกเขารูสึกกระหาย ก็จะไดรับการบริการดวยเครื่องดื่มที่รอนระอุ จนทําใหไสพุงทะลุ ทะลวงออกมา ครั้นเมื่อพวกเขารูสึกหิว ก็จะมีการนําเอาอาหารที่ทํามาจากตนไมหนามอันแหลมคมมาให รับประทาน อาหารประเภทนี้ไมไดทําใหเกิดเนื้อเกิดหนังแตอยางใด ไมสามารถทําใหหายหิวและไมมี ประโยชนอันใดเลย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-13-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

และลักษณะสภาพเหลานี้ทั้งหมดคือสภาพที่พอจะสื่อออกมาใหเขาใจไดถึงของการลงโทษในวันกี ยามะฮฺ (ขอใหอัลลอฮจงปกปองพวกเราใหรอดพนจากความเลวรายของวันกียามะฮฺดวย) แตสภาพที่แทจริง นั้นเปนสิ่งที่เกินกวาสติปญญาจะเขาถึงได ในวันนั้นมีแตเปลวไฟที่เตรียมไวสําหรับลงโทษบรรดาผูปฏิเสธ เปนเปลวไฟทีม่ ีมนุษยและกอนหินเปนเชื้อเพลิง สวนคนกลุมที่สอง พวกเขาเปนชาวสวรรค ซึ่งใบหนาของพวกเขาในวันนั้นจะมีแตความสงางาม จนสามารถมองเห็นไดอยางเดนชัดเชนกัน การที่พวกเขาไดรับการตอบแทนเชนนี้ก็เพราะการกระทําของ พวกเขาที่ไดเพียรพยายามไวเมื่อครั้งอยูที่โลกดุลยา พวกเขาจึงเปยมไปดวยความสุขซึ่งเปนผลมาจากการ กระทําของพวกเขา และการทําหนาที่ที่ไดรับมอบหมายมา สิ่งที่พวกเขาไดรับคือสรวงสวรรคอันสูงสง และ สรวงสวรรค จะไมไดมีเสียงที่ไรสาระ ไมมีสิ่งที่เปนบาป แตจะไดยินเฉพาะสิ่งที่ไพเราะเพราะพริ้งนาฟง มี แตสิ่งที่จะทําใหมีแตรอยยิ้มและเสียงหัวเราะที่บงบอกถึงความสุข ไมมีใบหนาที่บึ้งตึงปรากฏอยูเลย ลองพินิจพิเคราะหถึงคุณลักษณะของชาวสวรรคซึ่งมีแตความสุขสําราญ มีแตความพึงพอใจตอการ กระทําที่พวกเขาไดกระทํามาในอดีตเมื่อครั้งที่ยังอยูในโลกดุลยา พวกเขาทุกคนเขามาพํานักอยูในสวรรคอัน สูงสง และในนั้นพวกเขาจะไมไดยินสิ่งที่ไรสาระ อยางเชนที่พวกคนร่ํารวยและพวกสุรุยสุรายเขากระทํากัน แตในสรวงสวรรค จะเต็มไปดวยสิ่งอํานวยสุข อยางเชนตาน้ําที่ไหลรินไมขาดสาย ในสรวงสวรรคมีการตั้ง เตียงไวใหสําหรับนั่งเอนกายและสําหรับนอน มีการเตรียมถวยสําหรับบริการเครื่องดื่ม มีการนําหมอนมาวาง ไวสําหรับเอนหลังนอนพักผอน มีพรมที่แยกปูไวอยางสวยงาม ซึ่งความจริงแลวสิ่งเหลานี้ทั้งหมดลวน แลวแตเปนสิ่งที่ทําใหดูจําเริญตา ซึ่งพวกเขาก็จะพํานักอยูในสรวงสวรรคอยางถาวรเปนนิจนิรันดร สิ่งเหลานี้ทั้งหมดไมใชเรื่องที่นาประหลาดใจอะไรนัก แต เจาทั้งหลายไมไดสังเกตไปยังตัวอูฐดอก หรือวามันถูกสรางสรรคมาอยางไร ? แทจริงแลวมันถูกสรางมาดวยรูปรางที่สงางามยิ่ง ซึ่งสามารถบงบอกได วาผูทรงสรางนั้นเปนผูที่ทรงรอบรูและทรงมองเห็นไดเปนอยางดี เจาไมสังเกตดูที่คอของมันอันยืดยาวดอก หรือ ? เจาไมไดสังเกตที่ความกระฉับกระเฉงวองไวของมันดอกหรือ ดูสิวามันเดินเหิรคลื่อนไหวอยางไรเมื่อ มันตองเดินทองไปในทะเลทราย ลองสังเกตที่ทองของมันสิวามีการเตรียมไวอยางไร จึงสามารถเก็บน้ําไวได นานหลายวัน แลวเจาไมไดพินิจพิเคราะหทองฟา(และดวงดาวตาง ๆ ) ดอกหรือวามันถูกยกขึ้นไปอยางไร มันถูกยกขึ้นไปใหอยูในอากาศไดอยางไร มันโคจรดวยความเร็วไดอยางไร มันมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกันได อยางไร ไมสังเกตถึงภูเขาเลากาเหลานั้นดอกหรือวามันถูกตั้งไวอยางไร ดูเหมือนวาจะเปนการประกาศและ ชี้นําวาเปนที่หลบที่พึงพิงของผูที่มีความกลัว ทานทั้งหลายไมไดสังเกตผืนแผนดินดอกหรือวามันถูกปูใหดู ราบใหแผลาดออกไปอยางไร มันถูกทําใหพรอมสําหรับการดํารงชีวิตไดอยางไร ทั้งอูฐ ฟา ภูเขา และผืน แผนดิน ลวนแลวแตเปนสิ่งที่อยูในระดับเดียวกัน เปนสิ่งที่สําคัญที่สุดที่อัลกุรอานไดสื่อมายังชาวอาหรับ เพราะสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่คุนเคยสําหรับพวกเขา สิ่งเหลานี้ทั้งหมดลวนแลวแตเปนการบงชี้ใหเห็นถึงเดชานุ ภาพแหงอัลลอฮผูทรงสรางสรรคพสิ่งทั้งหมด และเมื่อขอเท็จจริงเปนเชนนั้น โอมูฮําหมัด เจาจงเตือนมวลมนุษยทั้งหลายเถิด และจงนําพาพวกเขา ใหรูจักพินิจพิเคราะหถึงอํานาจอันยิ่งใหญแหงอัลลอฮ เพื่อพวกเขาจะไดคิดและเขาใจ เจาอยาไดบังคับพวก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-14-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เขาเพราะแทจริงเจาเปนเพียงผูเตือนเทานั้น เจาไมใชผูที่จะมาบังคับจิตใจของพวกเขา แตผูที่มีอํานาจเหนือ จิตใจของพวกเขาก็คืออัลลอฮแตเพียงพระองคเดียว พระองคคือผูที่จะคอยกําหนดหรือนําพาพวกเขาไปสูการ ศรัทธา ผูที่มีอํานาจไมใชเจา (นบีมูฮําหมัด) เจาจงใหคําตักเตือนแดทุกคน ยกเวนผูที่หันหลังใหและเนรคุณ เทานั้น อัลลอฮจะทรงจัดการกับพวกนี้ดวยพระองคเอง ซึ่งก็หมายความวา เจาไมตองไปบีบบังคับพวกเขาแต อยางใด ผูที่คัดคานและหันหลังให อัลลอฮจะทรงลงโทษพวกเขาดวยบทลงโทษที่แสนสาหัส เพราะอยางไร เสียพวกเขาเหลานี้ก็จะกลับคืนไปสูอัลลอฮ และพระองคก็จะทรงสอบสวนพวกเขาเอง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-15-

ซูเราะฮฺ อัลฟจรฺ ซูเราะฮฺ อัลฟจรฺ เปนซูเราะฮฺ มักกียะฮฺ มีทั้งหมด 30 อายะฮฺ ÉΟŠÏm§9$# Ç≈uΗ÷q§9$# «!$# ÉΟó¡Î0

’Îû ö≅yδ ÉL©9$#

∩⊆∪ Îô£o„ #sŒÎ) È≅ø‹©9$#uρ ∩∠∪ ÏŠ$yϑÏèø9$# ÏN#sŒ tΠu‘Î)

“ÏŒ tβöθtãöÏùuρ

∩⊂∪ Ìø?uθø9$#uρ Æìø¤±9$#uρ

∩⊄∪ 9ô³tã @Α$u‹s9uρ

∩∉∪ >Š$yèÎ/ y7•/u‘ Ÿ≅yèsù y#ø‹x. ts? öΝs9r&

∩∪ ÏŠ#uθø9$$Î/ t÷‚¢Á9$# (#θç/%y` tÏ%©!$# yŠθßϑrOuρ

y7•/u‘ óΟÎγøŠn=tæ ¡=|Ásù

∩⊇⊄∪ yŠ$|¡xø9$# $pκÏù (#ρãsVø.r'sù

∩⊇∪ Ìôfxø9$#uρ

∩∈∪ @øgÉo “Ï%Îk! ×Λ|s% y7Ï9≡sŒ

∩∇∪ ω≈n=Î6ø9$# ’Îû $yγè=÷WÏΒ ÷,n=øƒä† öΝs9

∩⊇⊇∪ ω≈n=Î6ø9$# ’Îû (#öθtósÛ tÏ%©!$#

∩⊇⊃∪ ÏŠ$s?÷ρF{$#

∩⊇⊆∪ ÏŠ$|¹öÏϑø9$$Î7s9 y7−/u‘ ¨βÎ) ∩⊇⊂∪ A>#x‹tã xÞöθy™

ความหมาย ขอยืนยันกับรุงอรุณ (1) รัตติกาลทั้งสิบ (ของตนเดือนซิลฮิจยะฮฺ) (2) และสิ่งคู และสิ่งคี่ (3) และ กลางคืน เมื่อมันผานไป (4) ใน (การยืนยันถึง) สิ่งนั้นๆ เปนการยืนยันเพื่อผูมีปญญา (ไดสนใจและใตรตรอง) มิใชหรือ? (5) เจามิไดพิจารณาดอกหรือ อัลเลาะฮฺทรงกระทํากับพวกอาด (ในอดีต) อยางไร? (6) เขาคือ อิ รอม ผูอาศัยกระโจมเปนที่อยู (7 ) ซึ่งยังไมมีการสรางเยี่ยงกระโจมนั้นในเมืองอื่นๆ (8) และ (อัลเลาะฮฺ ทํา อยางไรกับ) พวกสะมูด ซึ่งสกัดหินที่หุบเขา (9 ) และ (อัลเลาะฮฺ ทําอยางไรกับ) ฟรเอานผูมีอํานาจ (ประกอบดวยอาณาจักร และกองทัพอันมหึมา)(10) บรรดาผูทําการลวงละเมิดในเมืองตางๆ (11)โดยพวกเขา บอนทําลายอยางมากมายในเมืองนั้นๆ (12) ดังนั้นองคอภิบาลของเจาจึงทรงกระหน่ําแซแหงการลงโทษ ลง บนพวกเขา (13) แทจริงองคอภิบาลของเจานั้น ยอมทรงเฝาสอดสอง (ความประพฤติของทุกๆ คน เพื่อทํา การตอบแทน) (14) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻭﺍﻟﻔﺠﺮ‬เวลารุงอรุณ เวลาที่แสงสวางออกมาจากความมืด (‫ )ﻭﻟﻴﺎﻝ ﻋﺸﺮ‬สิบคืนแรกของทุกเดือน

(‫ )ﻭﺍﻟﺸﻔﻊ ﻭﺍﻟﻮﺗﺮ‬คืนคู และคืนคี่ (‫ )ﻳﺴﺮ‬มาและผานไป (‫ )ﺣﺠﺮ‬สติปญญา (‫ )ﻋﺎﺩ‬ชื่อเผาอาหรับเผาหนึ่งซึ่ง เปนประชาติของนบีฮูด อาศัยอยูทางตอนใตของคาสมุทรอาหรับ (‫ )ﺇﺭﻡ‬ชื่ออิรอมที่พักอาศัยอยูตามกระโจม ซึ่งบงบอกถึงความมีฐานะและความเรียบงาย (‫ )ﲦﻮﺩ‬เชื่อเผา เผาหนึ่งเรียกวา ซะมูด เปนชาวเบดุอิน อาศัย อยูที่เมืองฮิยาซ และวางซีเรียกับฮิยาซก็เปนถิ่นพํานักของนบีซอลิฮฺ (‫ )ﺟﺎﺑُﻮﺍ‬พวกเขาสกัดและแกะสลักหินให เปนบานเปนรูปทรง ( ‫ )ﻓﺮﻋﻮﻥ‬ฟาโร กษัตริยปกครองอียิปต (‫ )ﺫﻱ ﺍﻷﻭﺗﺎﺩ‬ผูมีอํานาจ ซึ่งประกอบดวย อาณาจักรและกองทัพ (‫ )ﻃﻐَﻮﺍ‬ละเมิดขอบเขต (‫ﺐ‬ ‫ﺼ ﱠ‬ َ‫ـ‬ َ ‫ )ﻓ‬กระหน่ําตี (‫ )ﺳﻮﻁ ﻋﺬﺍﺏ‬แสหงการลงโทษอยาง ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-16-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ตอเนื่อง (‫ )ﻟﺒﺎﳌﺮﺻﺎﺩ‬สถานที่ที่ใชควบคุมสอดสองดูแลพฤติกรรมวาเปนพฤติกรรมดีหรือราย คลายกับยาม รักษาการ อรรถาธิบายซูเราะฮฺ อัลลอฮทรงสาบานยืนยันตามสิทธิ์ของพระองคดวยเวลารุงอรุณ ซึ่งมีแสงสวางทอแสงออกมาจาก ความมืด เวลาซึ่งเปนการเริ่มตนของยามเชากอนที่เวลากลางวันจะแตกออกมา จากนั้นผูคน สัตวตาง ๆ ฝูงนก ฝูงกาก็จะกระจัดกระจายกันออกไปแสวงหาอาหาร ปจจัยยังชีพและความโปรดปรานจากอัลลอฮ จากนั้น พระองค ก็ ท รงสาบานกั บ ค่ํ า คื น ทั้ ง สิ บ ของทุ ก เดื อ น ซึ่ ง เป น ค่ํ า คื น ที่ ยั ง มื ด สนิ ท เพราะยั ง เป น ต น เดื อ นที่ พระจันทรยังไมสวางมากนัก จนกระทั่งเมื่อเวลาผานไปแสงสวางของดวงจันทรก็คอย ๆ แยกเอามานแหง ความมืดที่ปดบังโลกอยูออกไป จากนั้นพระองคก็ทรงสาบานยืนยันกับเวลากลางคืนที่ความมืดปกคลุม ปกปดโลกทั้งโลกจนกลางวันหดหายไป จากนั้นแสงสีแดงก็จะแตกออกมาจากฟากฟา การที่พระองคทรง สาบานกับสิ่งเหลานี้ทั้งหมด ก็เพื่อที่จะใหทุกคนหันมาใสใจในความวิจิตพิสดารของจักรวาล เพื่อพินิจ พิเคราะหรองรอยแหงเดชานุภาพแหงอัลลอฮ เพื่อพวกเขาจะไดเขาใจ,การที่พระองคทรงสาบานยืนยันเพือ่ ให บรรดาผูปฏิเสธทั้งหลายเกิดการยอมรับวาพวกเขาทั้งหมดลวนแลวแตอยูในภายใตการควบคุมดูแลของผูทรง อํานาจและทรงเดชานุภาพ และพระองคจะทรงลงโทษพวกเขาดวยโทษที่แสนสาหัส ดังที่พระองคไดทรง ลงโทษประชาชาติสมัยเกากอนพวกเจามาแลว และวาระสุดทายของพวกเขาก็คือความขาดทุน และนี่คือ เรื่องราวของพวกเขาที่ทรงนํามากลาวถึงไวโดยรวม ....เจาไมไดพิจารณาดอกหรือวาอัลลอฮไดทรงกระทํากับ พวกอาดอยางไร หลังจากที่พระองคไดทรงสงทานนบีฮูด มายังพวกเขา แตพวกเขากลับกลาวหาวาทาน นบี ฮูดนั้นเปนเท็จ พวกเขาปฏิเสธศรัทธาตออัลลอฮ อัลลอฮทรงเลาเรื่องราวของพวกเขา วามีการเรียกขานกันวา อิรอม ซึ่งพวกเขาเหลานี้พักอาศัยอยูในกระโจม สรางที่พักมาจากขนสัตว แตพวกเขาสรางเปนกระโจม มีฝา ผนังที่แข็งแรงซึ่งคนเหลานี้เปนพวกที่แข็งแรงไมมีใครเสมอเหมือนมากอน อัลลอฮไดทรงกลาวถึงเรื่องราว ของพวกอาด พวกซะมูดและฟรเอาน(ฟาโร) ไวอยางละเอียดดวยรูปแบบที่หลากหลายอยางเชนในซูเราะฮฺ อัลฮาคและอีกหลาย ๆ ซูเราะฮฺในอัลกุรอาน สวนพวกซะมูด พวกเขาแกะสลักกอนหินจากภูเขาใหเปนบานที่อยูอาศัย พวกเขามีความชํานาญและ ประนี ต เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ พวกเขาสามารถที่ จ ะตั ด ก อ นหิ น ก อ นใหญ ๆ และนํ า มาแกะสลั ก เพื่ อ สร า งเป น บานเรือนที่อยูอาศัยของพวกเขา ซึ่งสิ่ง7เหลานี้เปนการบงชี้ใหเห็นถึงความแข็งแรงและมีความคิดที่กวางไกล สวนฟรเอานฺ(ฟาโร) ทานรูหรือไมวาฟรฺเอานฺนั้นเปนใคร ? เขาคือเจาผูครองอียิปตในสมัยโบราณ ผูมีประวัติ เลื่องลือยาวนาน และเขาคือผูที่กลาวกับพลพรรคของเขาวา “ฉันคือองคอภิบาลผูสูงสงของพวกเจา” และพล พรรคของเขาตางมีความเชี่ยวชาญในเรื่องการสรางอาคาร ซึ่งพวกเขาไดเคยสรางประมิดอันยิ่งใหญ และได ทําการสรางรูปปนประดับประดาไวเปนทิวแถว อัลลอฮไดทรงกลาวถึงพวกเขาไววา “เปนผูมีอํานาจทั้ง อาณาจักรและกองกําลัง” ซึ่งอํานาจการปกครองของเขาประกฎใหเห็นบนผืนแผนดิน อยางเชนเมื่อเรา มองดูประมิดก็จะพบวามันมีลักษณะคลายกับภูเขาลูกใหญ ๆ ที่ถูกทําใหพลิกค่ําลง แตพวกเขาเหลานี้ทั้งหมด ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-17-

ลวนแลวแตเปนผูลวงละเมิดทั้งหมด พวกเขาละเมิดขอบเขตกฎกติกาของบานเมือง พวกเขาไดสรางความ เสื่อมเสียใหเกิดขึ้นแกสังคมมากมาย และอัลลอฮไดทรงลงโทษแกพวกเขาดวยการลงโทษทันทีในโลกนี้ เหมือนเปนการลงแซทฟี่ าดกระหน่าํ ลงบนพวกเขาครัง้ แลวครัง้ เลา ซึง่ อัลลอฮไดทรงตรัสไววา “ ‫ﻓﺼﺐ ﻋﻠﻴﻬﻢ‬ ‫ ”ﺭﺑﻚ ﺳﻮﻁ ﻋﺬﺍﺏ‬ซึ่งเปนการสื่อความหมายออกมาอยางละเอี ยด สิ่ งที่อัลลอฮทรงลงโทษพวกเขามัน เปรียบเสมือนเปนการประทานความหายนะทุกประเภท ทรงลงโทษดวยรูปแบบที่หลากหลาย เปนการลงแซ แหงการลงโทษที่รุนแรง และแทจริงแลวอัลลอฮจะทรงลงโทษไปตามพฤติกรรมและการกระทําของพวกเขา แทจริงองคอภิบาลของเจานั้นยอมทรงสอดสองดูแล เพื่อที่จะตอบแทนแกพวกเขาในสิ่งที่พวกเขากระทํา แต ละคนจะไมสามารถรอดพนไปจากการลงโทษของอัลลอฮไดแมแตสักคนเดียว และจะไมมีใครทั้งในฟากฟา และในแผนดินที่จะมาหักหามทัดทานการลงโทษของอัลลอฮได ฉะนั้นมุสลิมทุกทานควรจะมั่นใจเถิดวา ใน อนาคตทุกคนจะตองไดรับการตอบแทนกันอยางถวนทั่ว และสําหรับพวกมุชริกีน พวกเขาพึงสังวรเถอะวา พวกเขาเหลานั้น (ประชาชาติที่ผานมาในอดีต) แข็งแรงและเขมแข็งกวาพวกทานเปนไหน ๆ

ตอนที่ 2 !$¨Βr&uρ

∩⊇∈∪ ÇtΒtø.r& ú†În1u‘ ãΑθà)uŠsù …çµyϑ¨ètΡuρ …çµtΒtø.r'sù …絚/u‘ çµ9n=tGö/$# $tΒ #sŒÎ) ß≈|¡ΡM}$# $¨Βr'sù

∩⊇∠∪ zΟ‹ÏKu‹ø9$# tβθãΒÌõ3è? ω ≅t/ ( ξx.

∩⊇∉∪ ÇoΨ≈yδr& þ’În1u‘ ãΑθà)uŠsù …çµs%ø—Í‘ ϵø‹n=tã u‘y‰s)sù çµ9n=tGö/$# $tΒ #sŒÎ)

∩⊇∪ $tϑ©9 Wξò2r& y^#u—I9$# šχθè=à2ù's?uρ y7•/u‘ u!%y`uρ

∩⊇∇∪ ÈÅ3ó¡Ïϑø9$# ÏΘ$yèsÛ 4’n?tã šχθ‘Ò¯≈ptrB Ÿωuρ

∩⊄⊇∪ %y.yŠ %y.yŠ Ù⇓ö‘F{$# ÏM©.ߊ #sŒÎ) Hξx.

∩⊄⊃∪ $tϑy_ ${7ãm tΑ$yϑø9$# šχθ™7ÏtéBuρ

ã&s! 4’¯Τr&uρ ß≈|¡ΡM}$# ã2x‹tGtƒ 7‹Í×tΒöθtƒ 4 zΟ¨Ψyγpg¿2 ¥‹Í×tΒöθtƒ uü“(%É`uρ ∩⊄∈∪ Ó‰tnr& ÿ…çµt/#x‹tã Ü>Éj‹yèムω 7‹Í×tΒöθu‹sù ZπuŠÅÊ#u‘ Å7În/u‘ 4’n<Î) ûÉëÅ_ö‘$#

∩⊄⊄∪ $y|¹ $y|¹ à7n=yϑø9$#uρ

∩⊄⊆∪ ’ÎA$u‹ptÎ: àMøΒ£‰s% Í_tGøŠn=≈tƒ ãΑθà)tƒ

∩⊄∠∪ èπ¨ΖÍ×yϑôÜßϑø9$# ߧø¨Ζ9$# $pκçJ−ƒr'¯≈tƒ

∩⊄⊂∪ 2”tø.Ïe%!$#

∩⊄∉∪ Ó‰tnr& ÿ…çµs%$rOuρ ß,ÏOθムŸωuρ

∩⊂⊃∪ ÉL¨Ζy_ ’Í?ä{÷Š$#uρ ∩⊄∪ “ω≈t6Ïã ’Îû ’Í?ä{÷Š$$sù ∩⊄∇∪ Zπ¨ŠÅÊó£∆

ความหมาย ฝายมนุษย เมื่อองคอภิบาลของเขาไดทดสอบเขา โดยทรงยกยองแกเขา (ใหมีเกียรติยศในสังคม) และประทานความสุขแกเขา เขาก็จะกลาววา “องคอภิบาลของฉันไดยกยองฉันแลว” (15)และสวนเมื่อ พระองคไดทรงทดสอบเขา โดยจํากัดโชคผลแกเขา เขาก็จะกลาววาองคอภิบาลของฉันไดหยามฉันแลว(16) หามิได หากทวา พวกเจาไมยกยองเด็กกําพรา(17) และพวกเจาไมกําชับกันในการใหอาหารแกคนอนาถา (18) และพวกเจากินมรดกของผูหญิงและเด็กอยางนาประนาม (โดยฉวยโอกาสกีดกันสิทธิของทั้งสองพวก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-18-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เพราะคนทั้งสองออนแอกวา) (19) และพวกเจารักทรัพยสินกันอยางมากมาย (20) หามิได เมื่อแผนดินถูกบด ใหราบครั้งแลวครั้งเลา (จนแปรสภาพเปนฝุน) (21) และองคอภิบาลของเจาก็มาพรอมดวยมลาอิกะฮฺ เปน แถวแถว (22) และในวันนั้นนรกยะฮันนัมจะถูกนํามาในวันนั้นแหละที่มนุษยืจะไดมีจิตสํานึกแตวา การสํานัก นั้นจะเกิดผลแกเขาไดอยางไร? (23) เขา (ผูเนรคุณ) จะกลาววา “โอ ฉันนาจะไดประกอบ (คุณงามความดี) ลวงหนาไวเพื่อชีวิตของฉัน”(24) ดังนั้นในวันนั้น ไมมีผูใดที่จะลงโทษ (ผูกระทําผิด) เทียบเทียมพระองคได (25) และไมมีผูใดทําการผูกมัด (และลามโซตรวนแกผูทําผิด) เทียบเทียมพระองคได (26) โอชีวิตอันสงบ บริสุทธิ์ (27) เจาจงคืนกลับสูองคอภิบาลของเจาโดยความยินดี อีกทั้งไดรับความยินดี (จากอัลเลาะฮฺ) (28) แลวเจาจงเขามาในกลุมขาทาสของขาเถิด (29) และเจาจงเขาสูสวรรคของขา (30) คําอธิบายศัพท (‫ )ﺍﺑﺘﻼﻩ‬ทําการทดสอบ (‫ )ﻭﻧﻌﻤﻪ‬ประทานความสุขแกเขา (‫ )ﻭﻻﲢﺎﺿﻮﻥ‬ไมกําชับซึ่งกันและกันใน

การใหอาหารแกคนยากไร (‫ )ﺍﻟﺘﺮﺍﺙ‬มรดก (‫ )ﳌﱠﺎ‬อยางรุนแรง (‫ ) َﺟﻤّـﹰﺎ‬มากมายกายกอง (‫)ﺩﻛـﺖ ﺍﻷﺭﺽ‬ แผนดินถูกบดใหเปนฝุน (‫ )ﻭﻻﻳﻮﺛﻖ‬ผูกมัดและลามโซไวอยางเหนียวแนน (‫ )ﺍﳌﻄﻤﺌﻨﺔ‬สงบมั่นอยูกับสัจธรรม โดยไมลักลั่นสั่นคลอน อรรถาธิบายซูเราะฮฺ นี่คือทาทีขององคอภิบาลที่มีตอบรรดาสิ่งถูกสราง หากตองการรูจักมนุษย ก็จะพบวา เมื่ออัลลอฮทํา การทดสอบพวกเขาดวยการยกยองและประทานสิ่งดี ๆ ใหในโลกนี้ เขาก็จะถูกหลอกลวงดวยสิ่งนั้น แลวก็ จะกลาววาอัลลอฮทรงยกยองตัวฉัน และผูใดที่อัลลอฮทรงยกยองในโลกนี้แลว เขาก็จะไมถูกลงโทษในวัน โลกหนา ไมวาเขาจะปฏิบัติตนดีหรือราย แตเมื่อเขาถูกทดสอบดวยความยากลําบากหรือความอับโชค เขาก็ จะกลาววาองคอภิบาลของฉันไดหยามฉันแลว โดยเขาใจวาคนใดที่อัลลอฮทรงใหพบกับความยากลําบาก พระองคไ มสนใจพวกเขา ไมสนใจตอการกระทําของพวกเขา ก็จะพบว าพวกเขาก็จะหันไปกระทํ าแต ความผิด ไปอยูกับพวกที่ชอบกระทําผิด ความจริงแลวความร่ํารวยและความยากจนนั้นเปนการทดสอบที่ไม อาจจะหลีกเลี่ยงไดเลยแมแตนอย อัลลอฮไมไดทรงทดสอบมวลมนุษยโดยใชความร่ํารวยมาทดสอบเพื่อเปน การแสดงวาพระองคทรงใหเกียรติ์ ดังจะเห็นไดจากการที่บรรดาผูประเสริฐทั้งหลายทั้งปวงลวนแลวแตเปน คนยากจน ไมใชคนร่ําคนรวย แตสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกนี้ทั้งหมดเปนเพียงหลักฐานที่จะยืนยันวาเปนอยางนั้น อยางนี้ แตในสมัยกอนชาวอาหรับมักจะเขาใจในทางที่ผิดวา พวกเขาทั้งหมดลวนแลวแตเปนที่พอพระทัย ของอัลลอฮ โดยเขาใจวาพวกเขาอยูกับศาสนาของบรรพบุรุษคือทานนบีอิบรอฮีม อัลลอฮก็ทรงตอบโตพวก เขาดวยการชี้แจงวา พวกเขาไมมีอะไรเปนแกนสารที่แนนอน พวกเขาไมไดใหเกียรติ์ตอเด็กกําพรา มิหนําซ้ํา ยังยึดเอาทรัพยสินของเด็กกําพรามาเปนของตนเองอยางไมชอบธรรม พวกเขาไมไดปฏิบัติดีตอเด็กกําพรา เลย ไมไดกําชับซึ่งกันและกันในการที่จะใหอาหารแกคนยากจนอนาถา แตพวกเขากลับเปนกลุมคนที่มีแต ความยะโส โอหัง โออวด ไมมีความเปนมนุษยธรรม พวกเขากินมรดกของผูหญิงอยางนาประณาม มีความ รักในทรัพยสินอยางมากมาย หลักฐานเหลานี้ลวนแลวแตบงชี้ใหเห็นวาพวกเขาถูกหลอกลวงดวยทรัพยสิน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-19-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ทางโลกนี้ ในวันโลกหนาพวกเขาจะไมมีอะไรที่เปนที่จะสรางความพอพระทัยแกอัลลอฮ ไมมีอะไรที่จะทํา ใหบรรดาศาสนทูตแหงอัลลอฮพอใจติดตัวพวกเขาไปเลย แนนอนที่สุดขอยืนยันสักรอยครั้งพันครั้งวา ใครก็ ตามที่มีลักษณะดังกลาว เมื่อแผนดินถูกบดใหกลายสภาพเปนฝุน เมื่อถึงเวลาที่วันกียามะฮฺมาถึง องคอภิบาล ของเจาก็จะมา (และพระองคเทานั้นที่จะทรงรูวาวิธีการมาของพระองคจะมาดวยรูปแบบใด แตเราก็เชื่อวา พระองคจะมาพรอมกับมลาอีกะฮฺเปนแถว ๆ โดยมายืนลอมรอบมนุษยไวทั้งหมด โดยเฉพาะอยางยิ่งบรรดา เฟรทั้งหลาย ในวันนั้นจะมีการนํามาซึ่งนรกยะฮันนัม ซึ่งอัลลอฮทรงตรัสไววา “‫”ﻭﺑﺮﺯﺕ ﺍﳉﺤﻴﻢ ﳌﻦ ﻳﺮﻯ‬ ในวันนั้นมนุษยจะไดสํานึกวาตนเองกระทําผิด ตนเองไมมีอะไรติดตัวมา การที่พวกเขากลาวหาวาเปนเท็จ และทรยศตออัลลอฮ แตการที่เขาสํานึกในวันนั้นจะยังประโยชนอะไรใหกับใครหรือไม เปลาเลยเขาไมได รั บ ประโยชน อ ะไรจากการสํ า นึก เลย ผูที่ ท รยศตอ อั ล ลอฮในวัน โลกนี้ ไ ด ก ล า วออกมาว า โอ ฉั น น า จะ ประกอบคุณงามความดีลวงหนาไว เพื่อชีวิตของฉันในวันที่ตองมีชีวิตอยูอยางถาวร เหมือนกับวาชีวิตจะตอง อยูที่นี่เทานั้น อัลลอฮทรงตรัสไววา (Al-'Ankabut 064)

šχθßϑn=ôètƒ (#θçΡ$Ÿ2 öθs9 4 ãβ#uθu‹ptø:$# }‘Îγs9 nοtÅzFψ$# u‘#¤$!$# “χÎ)uρ

และแทจริงโลกหนายอมจีรังที่สุด หากพวกเขารู ในวันนั้นไมมีผูใดที่จะลงโทษ(ผูกระทําความผิด)เทียบเทียมองคอภิบาลของเจาไดเลยแมแตสักคน เดียว แตในวันนั้นพระองคคือผูทรงสิทธิ์ครอบครอง การลงโทษแตเพียงพระองคเดียว ไมมีผูใดที่จะมามี หุนสวน และไมมีผูใดสามารถที่จะทําการผูกมัดหรือลามโซตรวนแกผูกระทําผิดจากบรรดาสิ่งถูกสรางของ พระองค เพราะในวันนั้นการงานทั้งหมดเปนสิทธิ์ของพระองค และนี่คือทาทีของมนุษยที่นิยมวัตถุ และนี่คือ ผลตอบแทนและวาระสุดทายของพวกเขาในวันกียามะฮฺ สวนผูคนที่มีชีวิตที่สะอาดบริสุทธสะอาดปราศจากวัตถุนิยม วาระสุดทายของพวกเขาในวันกียามะฮฺ จะมีแตความผาสุก ชีวิตอันบริสุทธิ์ ที่มีความเชื่อมั่นตออัลลอฮและหวังเสมอวาจะไดพบกับพระองคและมี ความเชื่อมั่นตอรัศมีแหงสัจธรรมโดยไมรูสึกลักลั่นสั่นคลอนแตอยางใดเขาจะกลับคืนสูอัลลอฮ พระองค ตรัสตอพวกเขาวา “โอชีวิตอันบริสุทธิ์ เจาจงกลับคืนสูองคอภิบาลของเจา และจงเขาพบและรับความโปรด ปรานแหงพระองค จงกลับคืนสูองคอภิบาลของเจาดวยความยินดีกับการกระทําของเจาที่ไดกระทําไวในโลก ดุลยา ทุกคนที่อยูพรอมกับเจาจะรูสึกยินดีกับการกระทําของเจาทั้งหมด และอัลลอฮก็ทรงยินดีกับการกระทํา ของเจาดวยเชนกัน และนั่นคือชัยชนะอันยิ่งใหญ โอชีวิตอันสงบบริสุทธิ์เจาจงเขาสูจํานวนบาวของขาผู ประพฤติดีผูใกลชิดกับพระองค เพราะทานทั้งหลายประพฤติปฏิบัติตามพฤติกรรมของผูประพฤติดี ฉะนั้น เจาจงเขาสูสรวงสวรรคของขาเถิด และการกลับคืนสูอัลลอฮนั้นเปรียบเสมือนเปนการยกยองใหเกียรติ์ ของอัลลอฮที่มีตอบาวของพระองค พึงสังวร อัลลอฮนั้นจะอยูพรอมพวกเราเสมอไมวาเราจะอยูที่แหงหน ตําบลใด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-20-

ซูเราะฮฺ อัลบะลัด ซูเราะฮฺ อัลบะลัด เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทงั้ หมด 20 อายะฮฺ สาระในซูเราะฮฺ อัลลอฮไดทรงยืนยันวา แทจริงแลวมนุษยนั้นอยูก ับความยากแคนลําเค็ญ คนที่ตกเปนเหยื่อของการถูกหลอก เขาเขาใจวาไมมีผูใดจะ มามีอํานาจเหนือเขาได แมแตสักคนเดียว จากนั้นก็จะเปนการชี้แจงเกีย่ วกับความโปรดปรานแหงอัลลอฮ บางสวนที่พระองคทรงประทานใหกับมนุษย จากนั้นก็เปนการเรียกรองใหพวกเขาเลือกแนวทางแหงการ บากบั่น และมีการชี้แจงเกี่ยวกับชาวขวาและชาวซายวาพวกเขาคือใครและเปนอยางไร ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

ô‰s)s9

∩⊂∪ t$s!uρ $tΒuρ 7$Î!#uρuρ

Zω$tΒ àMõ3n=÷δr& ãΑθà)tƒ É÷tGxx©uρ $ZΡ$|¡Ï9uρ ’7sù

∩⊄∪ Ï$s#t7ø9$# #x‹≈pκÍ5 B≅Ïn |MΡr&uρ

∩∈∪ Ó‰tnr& ϵø‹n=tã u‘ωø)tƒ ©9 βr& Ü=|¡øts†r& ∩∇∪ È÷uΖøŠtã …ã&©! ≅yèøgwΥ óΟs9r&

∩⊇⊄∪ èπt7s)yèø9$# $tΒ y71u‘÷Šr& !$tΒuρ

7πt/uøItΒ #sŒ $YΖŠÅ3ó¡ÏΒ ÷ρr& Ü=≈ptõ¾r& y7Íׯ≈s9'ρé&

∩⊇∪ Ï$s#t7ø9$# #x‹≈pκÍ5 ãΝÅ¡ø%é& Iω

∩∠∪ î‰tnr& ÿ…çνttƒ öΝ©9 βr& Ü=|¡øts†r&

∩⊇⊇∪ sπt7s)yèø9$# zΝystFø%$# Ÿξsù

∩⊇∈∪ >πt/tø)tΒ #sŒ $VϑŠÏKtƒ

∩⊆∪ >‰t6x. ’Îû z≈|¡ΣM}$# $uΖø)n=yz ∩∉∪ #´‰t7—9

∩⊇⊃∪ Èøy‰ô∨¨Ζ9$# çµ≈oΨ÷ƒy‰yδuρ

∩⊇⊆∪ 7πt7tóó¡tΒ “ÏŒ 5Θöθtƒ ’Îû ÒΟ≈yèôÛÎ) ÷ρr&

∩∪

∩⊇⊂∪ >πt6s%u‘

∩⊇∠∪ ÏπuΗxqöuΚø9$$Î/ (#öθ|¹#uθs?uρ Îö9¢Á9$$Î/ (#öθ|¹#uθs?uρ (#θãΖtΒ#u tÏ%©!$# zÏΒ tβ%x. ¢ΟèO

∩⊇∉∪

∩⊄⊃∪ 8οy‰|¹÷σ•Β Ö‘$tΡ öΝÍκön=tã ∩⊇∪ Ïπyϑt↔ô±yϑø9$# Ü=≈ysô¹r& öΝèδ $uΖÏG≈tƒ$t↔Î/ (#ρãxx. tÏ%©!$#uρ ∩⊇∇∪ ÏπuΖyϑø‹pRùQ$#

ความหมาย ขาขอยืนยันกับเมือง (มักกะฮฺ)นี้ (1) ในขณะที่เจาเปนผูอาศัยอยู ณ เมืองนี้ (2) ขอยืนยันกับสิ่งที่ให กําเนิด และสิ่งที่ถือกําเนิดมา(3) ขอยืนยันแทจริงเราไดบันดาลมนุษยมาในสภาพอันยากแคนลําเค็ญยิง่ ( 4) เขา คิดหรือวา ไมมีใครสักคนที่สามารถปกครองเขาได?( 5) เขากลาววา “ฉันไดลางผลาญทรัพยสินเปนจํานวน มากแลว(6) เขาคิดวา ไมมีผูใดเห็นเขาหรือ? ( 7) เรามิไดสรางดวงตาไวแกเขาดอกหรือ?( 8) และลิ้น พรอม กับริมฝปากทั้งสองดาน (ลาง-บน)(9) และเราไดชี้นําเขา (ใหเขาใจแจงใน) แนวทางทั้งสอง (ทั้งดีและชั่ว)(10) แทจริงเขามิได (เลือกแนวทางที่ดี) บุกบั่น (กระทําความดีอันเปรียบดัง) ชองทางอันยากลําบาก(11) และอัน ใดเลาที่ทําใหเจารูวา อะไรคือ “ชองทางอันยากลําบาก”? (12) (ทางที่ทําไดยากลําบากนั้น) คือ การปลดปลอย ทาสเปนอิสระ(13) หรือการใหอาหาร ในวันที่ (ผูคน) มีความอดอยาก( 14) แกเด็กกําพราที่มีฐานะเปนเครือ ญาติ ( 15) หรือแกคนอนาถาที่ (ยากไรจนมีชีวิตคลุก) อยูกับดิน (16) หลังจากนั้นเขาก็ตองเปนสวนหนึ่งจาก บรรดาผูมีศรัทธา และสนับสนุนกันในเรื่องความรักสมัครสมาน ( 17) ซึ่งพวกเหลานั้น (ชาวศรัทธา) เปนชาว

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-21-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ขวา( 18) และบรรดาผูคัดคานบรรดาโองการตางๆ ของเรา พวกเขาเปนชาวซาย(19) ซึ่งพวกเขาถูกลงโทษใน นรกที่ถูกปดสนิท( 20)

คําอธิบายศัพท (‫ )ﻛﺒﺪ‬ยากแคน ลําเค็ญ มีอุปสรรค (‫ )ﻟﺒﺪ‬มากมาย (‫ )ﻭﻫﺪﻳﻨﺎﻩ‬เราไดชี้นํา ชี้แจง (‫)ﺍﻟﻨﺠﺪﻳﻦ‬ สองแนวทาง ชั่วและดี (‫ )ﺍﻗﺘﺤﻢ‬จูโจม,บุกเขาดวยความยากลําบาก (‫ )ﺍﻟﻌﻘﺒﺔ‬ชองทางอัน ยากลําบาก (‫ )ﻓﻚ ﺭﻗﺒﺔ‬การปลอยทาสใหเปนอิสระ(‫ )ﺫﻱ ﻣﺴﻐﺒﺔ‬ผูที่อดอยาก (‫ )ﻣﻘﺮﺑﺔ‬เครือญาติ (‫ )ﻣﺘﺮﺑﺔ‬อยูกับดิน,มือติดดิน (‫ )ﺑﺎﳌﺮﲪﺔ‬ความรักสมัครสมาน (‫ )ﻣﺆﺻﺪﺓ‬นรกที่ถูกปดสนิท การอรรถาธิบาย ซูเราะฮฺนี้อัลลอฮทรงเริ่มตนดวยการสาบานยืนยัน (ดังที่ไดกลาวมาแลวในซูเราะฮฺกียามะฮฺและซู เราะฮฺ อัลอินชิกอก) ในซูเราะฮฺนี้อัลลอฮทรงสาบานดวยเมืองเมกกะ ซึ่งพระองคทรงกําหนดใหเปนเมือง แหงความสงบสุข พระองคทรงกําหนดใหกะบะฮฺเปนที่พํานักสําหรับมนุษยและใหเปนที่ตองหามการทํา สงคราม กะบะฮฺเปนกิบัต(ชุมทิศ)สําหรับมุสลิมทั้งหมด และใกล ๆกับอัลกะบะฮฺก็มีมะกอมอิบรอฮีม และใน กะบะฮฺเปนที่ปรากฏของรัศมีแหงมุฮําหมัด และขอสาบานยืนยันดวยทุกสิ่งที่ใหกําเนิดและสิ่งที่ถือกําเนิดซึ่ง หมายถึงมนุษย สัตวและบรรดาพืชผลตาง ๆ ขอยืนยันดวยสิ่งเหลานี้ทั้งหมดวา แทจริงแลวมนุษยนั้นถูกให ถือกําเนิดมาในสภาพที่ยากแคนลําเค็ญยิ่ง บางครั้งทานอาจจะมีคําถามวามีความลับอะไรแฝงอยูกับการ ที่อัลลอฮทรงตรัสวา “ ‫ ”ﻭﺃﻧﺖ ﺣﻞ ﻬﺑﺬﺍ ﺍﻟﺒﻠﺪ‬ซึ่งมีความหมายวา “ ในขณะที่ทานอาศัยอยู ณ เมืองนี้” นั่นคือ เมืองเมกกะ ในซูเราะฮฺมีการแยกระหวางสิ่งที่อัลลอฮทรงสาบานยืนยัน นั่นคือระหวางเมืองเมกกะกับสิ่งที่ให กํา เนิ ด และถือกํ า เนิ ด จึ งใคร ขอชี้แ จงว า การที่ แ ยกเมือ งเมกกะออกจากสิ่ งอื่ น ๆ ก็ เ พื่อประสงค ที่ จ ะยก ฐานันดรและสถานะของเมืองเมกกะใหเหนือสิ่งอื่น ๆ นั่นคืออัลลอฮทรงยืนยันดวยเมืองนี้ในขณะที่ชาวเมือง ซึ่งอาศัยอยูในเมืองนี้ตางก็สรางความเจ็บช้ําน้ําใจใหแกเจา(หมายถึงทานนบีมูฮําหมัด) และนี่คือความหมาย ของคําวา “‫( ”ﻭﺃﻧﺖ ﺣﻞ‬ในขณะที่เจาเปนผูอาศัย ณ เมืองนี้) แตพวกเขาซึ่งอาศัยอยูในเมืองกลับไมไดให ความเคารพตอเมืองของพวกเขาเลย โดยเฉพาะในการปฏิสัมพันธกับเจา และจากจุดนี้คือจุดที่ชวยกระตุนให จิตใจของพวกเขาตื่นขึ้นมาคิด ในเรื่องเกี่ยวการที่พวกเขาหยาบคายและกระทําการรุนแรงตอทานรอซูลุลลอฮ  ในขณะที่ทานอยูที่ เมกกะ จนทําใหทานตองพบกับความยากลํ าบาก และความยากลํ าบากที่ ทา นได ประสบมานี่เองทําใหทานสามารถเขาใจไดวามนุษยทุกคนลวนแลวแตตองพบกับความยากลําบาก จากนั้นก็ มีการกลาวยืนยันดวยสิ่งที่ใหกําเนิดและสิ่งที่ถือกําเนิดมานั้นเปนสวนหนึ่งของการแจงขาวดีวาที่เมกกะนั้น จะมีก ารให กํ า เนิ ด ผู ที่ จ ะทํ า ให มนุษยทั้ งหมดภาคภู มิใ จ รูสึก มี เ กีย รติ์มี ศั ก ดิ์ศรีแ มว า จะต องพบกับ ความ ยากลําบากและอุปสรรคบางก็ตาม ซึ่งเรื่องนี้จะทําใหรูสึกผอนคลายความรูสึกยากลําบากลงบาง ซึ่งพวกเรา ทั้งหมดตางก็รู อยางเชนการเพาะปลูกหรือหวานดําเมล็ดพืชซึ่งตางก็ตองพบกับความเหน็ดเหนื่อย แตครั้ง ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-22-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยวก็จะรูสึกผอนคลายหายเหนื่อยไปไดบาง มนุษยที่ตกเปนเหยื่อของการหลอกลวงจากความโลภอยางรุนแรง มีอยูสองกลุม กลุมหนึ่งคิดวาจะ ไมมีใครสามารถปกครองควบคุมเขาได กลุมที่สองกลาววาเราไดผลาญทรัพยสินของเราไปเปนจํานวนมาก แลวแมวาจะผลาญไปในเรื่องที่ไมดีก็ตาม และนี่คือคําพูดของพวกที่โดนทรัพยสินและความร่ํารวยเลนงาน ทั้งนั้น โดยคิดวาการกระทําของพวกเขาอัลลอฮไมทรงมองเห็น ทั้ง ๆ ที่แทจริงแลวอัลลอฮทรงรูในสิ่งที่พวก เขาใชจายไปทั้งหมด แตอัลลอฮจะรับเฉพาะในสวนที่เปนความดีงามเทานั้น ทานเชคมูฮําหมัดอับดุฮฺ (ขอความโปรดปราณจากอัลลอฮจงมีแดทาน) ไดกลาวไวในตัฟเซรของ ทานวา “หลังจากที่อัลลอฮไดทรงบอกเลาเกี่ยวกับทาทีของมนุษยวาพวกเขาถูกสรางมาในสภาพอันยากแคน ลําเค็ญยิ่ง กลุมคนที่โงเขลาและตกเปนเหยื่อของการหลอกลวงอยางหนัก ถึงขนาดเขาใจไปวาไมมีใคร สามารถที่จะปกครองหรือควบคุมเขาได” ทั้ง ๆ ที่ความจริงแลวความยากลําบากที่พวกเขาเผชิญอยูนั้น ตองการที่จะสื่อใหพวกเขาเขาใจและยอมรับในความออนแอของพวกเขานั่นเอง หลังจากที่ไดมีการตําหนิบรรดาผูที่ใชจายทรัพยสินของพวกเขาเพื่อชื่อเสียงเพื่อความร่ําลือบอก กลาวในความร่ํารวยของพวกเขา อัลลอฮก็ประสงคที่จะชี้แจงใหพวกเขาเขาใจไดวา ที่มาของบรรดาสิ่งที่พวก เขานํามาเสพสุขที่ประเสริฐสุดนั้นมาจากการเห็น มาจากการพูดการใชสติปญญาแยกแยะระหวางสิ่งดีและสิ่ง ไมดี สําหรับคุณคาของความเปนมนุษยนั้น อัลลอฮไดทรงสรางสายตา ทรงสรางลิ้น ทรงสรางริมฝปาก ทั้งสองดาน(บนและลาง)ใหมากับพวกเขาเพื่อพวกเขาจะใชพูดจาปราศรัย และพระองคก็ทรงชี้นําพวกเขาให เห็นแนวทางที่ดีและแนวทางที่ไมดี จากสิ่งที่พระองคทรงประทานใหกับพวกเขาโดยใชสติปญญาแยกแยะ แบงแยก นอกจากนั้นพระองคก็ทรงแตงตั้งศาสนทูตและประทานคัมภีรมาใหกับพวกเขา และเมื่อการชี้นํา เปนไปอยางครบถวนแลวตอไปพระองคก็จะทรงปลอยใหพวกเขาเปนอิสระในการเลือกทางเดิน เขาอาจจะ เลือกที่จะเดินไปในทางที่ดีหลีกเลี่ยงจากทางที่ไมดี เขาก็จะสามารถขยับขึ้นมาจากความลุมหลงทางโลกและ รอดพนมาจากความยากลําบากที่อยูในชองทางนั้นได สําหรับความลําบากยากแคนของมนุษยนั้นมีที่มาจาก ตัวเขาเอง มาจากพวกมารราย มาจากความลุมหลงทางโลกของพวกเขา ดวยเหตุนี้เองพวกเขาควรจะแสดง ความมีน้ําใจเพื่ออัลลอฮ ดวยการปลดปลอยทาสเปนอิสระหรือการกระทําในลักษณะเดียวกันเพื่อสงเสริมให มีการปลดปลอยทาสใหเปนอิสระ หรือการใหอาหารตอผูที่อดอยากหิวโหยหรือเด็กกําพรายากจน โดยให พิจารณาจากเครือญาติกอนเปนอันดับแรก หรือคนยากจนที่มือของเขาติดดินไมมีทรัพยสินอะไร สําหรับ บรรดาผูมีศรัทธาที่สมบูรณแบบพวกเขาควรจะสั่งเสียกันและกันในเรื่องของความอดทน ยอมแบกรับในสิ่ง ที่ไมพึงประสงคอันจะเกิดขึ้นไดเพื่อแนวทางของอัลลอฮ และสั่งเสียซึ่งกันและกันในเรื่องของความรักสมัคร สมานสามัคคีมีน้ําใจตอกัน สําหรับในซูเราะฮฺนี้สาระสวนใหญจะเปนการปลอบใจทานนบีเพื่อใหทานมี กําลังใจในการที่จะแบกรับเอาความยากลําบากที่ไดรับจากความเจ็บช้ําน้ําใจที่ไดรับจากประชาชาติของทาน บรรดาผูที่มีคุณลักษณะตามที่กลาวมาทั้งหมด พวกเขาเปนฝายขวาที่จะไดรับความผาสุกกอนใคร ๆ ในวันกียามะฮฺ สําหรับผูที่ปฏิเสธตออายะฮฺแหงองคอภิบาลของพวกเขา พวกเขาก็จะเปนฝายซาย เปนกลุมที่ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-23-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

จะพบกับการลงโทษที่แสนสาหัส และจะพํานักอยูในนรกยะฮันนัมอยางถาวร ดังที่อัลลอฮไดทรงกลาวไววา “‫ ”ﻋﻠﻴﻬﻢ ﻧﺎﺭ ﻣﺆﺻﺪﺓ‬ซึ่งพวกเขาถูกลงโทษในนรกที่ถูกปดสนิทจากทุกดาน จะไมมีวันหลุดพนออกมาไดอยาง เด็ดขาด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-24-

ซูเราะฮฺอัชชัมซ ซูเราะฮฺ อัชชัมซ เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ ซึ่งมีความหมายวาดวงตะวัน ซึ่งมีระบุไวในอายะฮฺแรกของซู เราะฮฺ มี ทั้ ง หมด 15 อายะฮฺ สาระส ว นใหญ จ ะเป น เรื่ อ งของการชํ า ระล า งจิ ต ใจ และเป น การยื น ยั น ว า บทลงโทษของอัลลอฮที่จะมีตอบรรดาผูที่กลาวหาวาสาระธรรมเปนเท็จนั้นจะเกิดขึ้นจริง ดังที่ไดเคยเกิดขึ้น มาแลวกับพวกของสะมูดและพวกอาดในยุคเกากอน ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

#sŒÎ) È≅ø‹©9$#uρ

∩⊂∪ $yγ9¯=y_ #sŒÎ) Í‘$pκ¨]9$#uρ

∩∠∪ $yγ1§θy™ $tΒuρ <§øtΡuρ

∩∉∪ $yγ8yssÛ $tΒuρ ÇÚö‘F{$#uρ

∩⊇⊃∪ $yγ9¢™yŠ tΒ z>%s{ ô‰s%uρ

∩⊇∪ $yγ8ptéÏuρ ħ÷Κ¤±9$#uρ

∩∈∪ $yγ9t⊥t/ $tΒuρ Ï!$uΚ¡¡9$#uρ

∩∪ $yγ8©.y— tΒ yxn=øùr& ô‰s%

«!$# sπs%$tΡ «!$# ãΑθß™u‘ öΝçλm; tΑ$s)sù ß∃$sƒs† Ÿωuρ

∩⊄∪ $yγ9n=s? #sŒÎ) Ìyϑs)ø9$#uρ

∩⊇⊄∪ $yγ8s)ô©r& y]yèt7/Ρ$# ÏŒÎ)

∩⊆∪ $yγ8t±øótƒ

∩∇∪ $yγ1uθø)s?uρ $yδu‘θègé $yγyϑoλù;r'sù ∩⊇⊇∪ !$yγ1uθøósÜÎ/ ߊθßϑrO ôMt/¤‹x.

∩⊇⊆∪ $yγ1§θ|¡sù öΝÎγÎ6/Ρx‹Î/ Οßγš/u‘ óΟÎγøŠn=tæ tΠy‰øΒy‰sù $yδρãs)yèsù çνθç/¤‹s3sù

∩⊇⊂∪ $yγ≈uŠø)ß™uρ ∩⊇∈∪ $yγ≈t6ø)ãã

ความหมายของซูเราะฮฺ ขอยืนยันกับดวงตะวัน และแสงสวางของมัน( 1) และดวงจันทร เมื่อมันโคจรตามดวงตะวัน (2) และ ยามกลางวัน เมื่อมันทําใหดวงตะวันชัดเจนขึ้น (3) และยามกลางคืน เมื่อมันครอบคลุมดวงตะวันไว (มองไม เห็น) ( 4) และฟากฟา และผูที่บันดาลมันมา (5) และแผนดิน และผูทแี่ ผมันออก (เปนพื้นราบ) (6) และชีวิต (มนุษย) และผูที่จัดความสมดุลย (เทาเทียมกัน) แกมัน ( 7) และทรงดลแกมัน (ใหมี) ทั้งความดื้นรั้นและ ความยําเกรงของมัน (ระคนกันไป) ( 8) แนแท ผูชําระชีวิตจนสะอาด เขายอมประสบความสมหวัง( 9) และ ผูทําความหมกหมมแกมัน เขายอมขาดทุน (10) พวกสะมูดไดกลาวหาความเท็จ (แกศาสนทูตของพระองค) เพราะความดืน้ รั้นของพวกเขา ( 11) เมื่อคนเลยที่สุดของพวกนัน้ ไดรับการแตงตั้ง (ใหเปนผูฆาอูฐที่เปน ปาฏิหาริย) (12) ดังนัน้ ศาสนทูตแหงอัลเลาะฮฺ (นบีซอลิห) จึงกลาวแกพวกเขาวา “(พวกทานจงระมัดระวัง รักษา) อูฐตัวเมียแหงอัลเลาะฮฺ และจงใหน้ําดื่มแกมัน (โดยสมบูรณ) (13) แตตอมา พวกนัน้ ก็วาเขาพูดมุสา แลวพวกนัน้ ก็จัดการโดยเสมอภาคแกพวกเขา (ใหรับโทษนั้นโดยทัว่ ถวน) (14) และพระองคไมทรงทน พระทัยในผลลัพธปนปลายของพวกเขา(ไมวาจะเปนเชนใด) (15)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-25-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

คําอธิบายศัพท (‫ )ﻭﺿﺤﺎﻫﺎ‬แสงสวางแหงดวงอาทิตยหรือแสงสวางแหงกลางวันทั้งหมดที่สองมาจากดวงอาทิตย (‫ )ﺗﻼﻫﺎ‬ตามติดมา ,พึงพาแสงสวางจากดวงอาทิตย (‫ )ﺟﻼﻫﺎ‬ปรากฏชัดเจนขึ้นมาอยางสมบูรณ (‫)ﻳﻐﺸﺎﻫﺎ‬ ปกคลุมจนแสงสวางหายไป (‫ )ﻃﺤﺎﻫﺎ‬แผขยายกวางไกลออกไป (‫ )ﻭﻣﺎ ﺳﻮﺍﻫﺎ‬สรางความสมดุลแกมัน โดย ใหความสมบู รณ ค รบถ ว นแกมั น ดว ยการบัน ดาลใหมั น มี รูปร างที่ แ ข็ ง แกร ง ที่ สามารถดํ า รงชี วิ ต อยู ไ ด (‫ )ﻓﺄﳍﻤﻬﺎ‬ทรงใหมันมีความเขาใจ มีความสามารถ (‫ )ﻓﺠﻮﺭﻫﺎ‬ความดื้อรั้น นํามาซึ่งสิ่งที่จะสรางความหายนะ และความขาดทุ น มาให (‫ ) ﻭﺗﻘﻮﺍﻫﺎ‬ความยํา เกรงตอ อั ล ลอฮที่ จ ะปกปอ งตนเองให พ น จากความหายนะ (‫)ﺯﻛﺎﻫﺎ‬ชําระและพัฒนาชีวิต ( ‫ )ﺩﺳﺎﻫﺎ‬ความหมกหมม ปกปด ซอนเรน และผูใดที่เดินไปในทางทีไ่ มดี เดิน ไปในเสนทางแหงการทรยศตออัลลอฮ เขาก็จะถูกใหลดนอยถอยลงมาจากความสมบูรณแบบ (‫)ﺑﻄﻐﻮﺍﻫﺎ‬ ดวยเหตุเพราะความดื้อรั้น (‫ )ﺍﻧﺒﻌﺚ‬ทําใหรวดเร็ว (‫ )ﻭﺳﻘﻴﺎﻫﺎ‬ใหน้ําดื่มแกมันโดยเฉพาะ (‫ )ﻓﺪﻣﺪﻡ‬ทําลาย ลางพวกเขา (‫ )ﻓﺴﻮﺍﻫﺎ‬โดยใหไดรับโทษอยางถวนหนาอยางเทาเทียมกันโดยไมแบงแยกวาใครเปนใคร คําอรรถาธิบายโดยรวม อัลลอฮไดทรงสาบานยืนยันดวยดวงอาทิตย วามันเปนดาวฤกษดวงใหญที่มีการโคจรและมีแสง สวางในตัวเองอยางเจิดจาและมีพลัง และดวยแสงสวางและพลังความรอนของมันคือแหลงกําเนิดของ สิ่งมีชีวิต และเปนแหลงพลังงานที่ชวยผลักดันใหเกิดการขยับเขยื้อนเคลื่อนไหวและเกิดแสงสวางของ จักรวาลทั้งกลางวันและกลางคืน พระองคทรงยืนยันดวยดวงจันทรที่ติดตามและพึ่งพาแสงสวางจากดวง อาทิตยในการที่จะอํานวยประโยชนแกมวลมนุษย เปนสิ่งที่จะชวยในการคิดคํานวณเวลาและฤดูกาลตาง ๆ และใหแสงสวางเรืองรองแกโลก และจากการโคจรของดวงจันทรและดวงอาทิตยทําใหสามารถคํานวณวัน เวลาไดทั้งแบบสุริยะคติและจันทรคติ ดวงจันทรจะพึ่งพาแสงจากดวงอาทิตย เพราะมันไมมีแสงสวางใน ตัวเอง ซึ่งก็เปนที่นาประหลาดใจอยูที่วา ทัศนะขอนี้เปนทัศนะของนักวิชาการสมัยกอนตอมาก็ไดรับการ สนับสนุนในทัศนะนี้จากวิทยาการสมัยใหม จากนั้นอัลลอฮก็ทรงสาบานดวยเวลากลางวันเมื่อมีดวงอาทิตย ปรากฏชัดเจนขึ้นดวยแสงของมัน ซึ่งกลางวันจะพึ่งพาแสงสวางจากดวงอาทิตย ทุกครั้งที่ดวงอาทิตยปรากฏ ออกมา พลังแสงที่ไดรับจากดวงอาทิตยเปนการบงบอกใหรูวาที่มาของมันนั้นมีพลังยิ่ง ซึ่งก็สอดคลองกับ พระดํารัสแหงอัลลอฮที่ไดทรงตรัสไววา “‫ ”ﻭﺍﻟﻨﻬﺎﺭ ﺍﺫﺍ ﺟﻼﻫﺎ‬และกลางวันเมื่อมันทําใหดวงตะวันชัดเจนขึ้น ซึ่งเราก็จะไดประจักษชัดในทันทีวาอัลลอฮไดทรงประทานความโปรดปราณดวยพลังแสงที่ครอบคลุม จักรวาลทั้งหมด โดยให ไดรับแสงโดยตรงจากดวงอาทิตยและจากแหลงอื่น ๆ เชนจากดวงจันทร และ พระองคก็ทรงสาบานดวยเวลากลางวันและสาบานดวยเวลากลางคืนเมื่อดวงอาทิตยลับหายไปและแสงสวาง ก็ถูกปดใหหายไปจากเรา กลางวันจะปรากฏออกขึ้นมา สวนกลางคืนก็จะปดบังใหหายไป มหาบริสุทธิ์ แหงอัลลอฮผูทรงสรางโลกนี้ทั้งหมด ในเมื่อกลางวันทําใหเห็นดวงอาทิตยปรากฏชัดขึ้น และกลางคืนทําให ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-26-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ดวงอาทิตยปดบังลับหายไป แลวจะกราบไหวสิ่งเหลานี้มาเปนพระเจาไดกระนั้นหรือ ? จากนั้นอัลลอฮก็ทรงสาบานยืนยันดวยฟากฟาและโลกแหงฟากฟาอันกวางใหญ ซึ่งอัลลอฮไดทรง สร า งสรรค ขึ้ น มาและทรงควบคุ ม บั ญ ชาต อ มั น ให มั น มี พ ลั ง ดึ ง ดู ด ซึ่ ง กั น และกั น โดยไม เ ห็ น ว า จะมี ขอบกพรองใด ๆ เกิดขึ้นเลย นั่นก็เปนเพราะวามันเปนผลงานการสรางสรรคของผูทรงปรีชาสามารถยิ่ง จากนั้นพระองคก็ทรงสาบานยืนยันดวยผืนแผนดินที่ทรงใหมันแผออกเปนพื้นราบ เพื่อใหงายตอการดําเนิน ชีวิตและงายตอการมองเห็นถึงความกวางใหญของมัน จากนั้นอัลลอฮก็ทรงสาบานยืนยันดวยชีวิตมนุษยซึ่ง พระองคทรงประทานความสมดุลยและทรงควบคุมการงานของมัน และทรงประทานพลัง ลักษณะนิสัยหรือ ธรรมชาติใหสามารถดํารงชีวิตอยูได พระองคทรงประทานใหพวกเขามีสติปญญาที่สามารถแยกแยะสิ่งดีสิ่ง รายไดดวยตนเองและนั่นคือสวนหนึ่งของความสมบูรณแบบที่อัลลอฮทรงประทานให พวกเขาสามารถ กระทําในสิ่งที่เปนบาปที่จะมาสรางความหายนะใหกับตัวเขาเอง และสามารถที่จะเลือกทําสิ่งดี ๆ ที่จะทําให พวกเขาปลอดภัยและปกปองพวกเขาจากสิ่งชั่วรายได และแนนอนที่สุดผูที่ชําระชีวิตจนสะอาด พวกที่พัฒนา ตนเองเขายอมประสบความสมหวังและประสบกับความสูงสง สวนผูที่หมกหมมอยูกับความสกปรกแหง บาป เขาก็จะพบแตความขาดทุน จนชีวิตของเขาเองไมมีอะไรแตกตางไปจากสัตว แทจริงแลวมนุษยนั้น ได รับ การยกฐานัน ดรให สู งส งกวา สัต ว แ ล ว เปน ไหน ๆ โดยให พ วกเขาสามารถควบคุ ม ตนเองไดด ว ย สติปญญา ใหมีชีวิตที่สูงสงปราศจากการลื่นไถลไปเปนทาสของอารมณราย แตเมื่อเขาเผลอตกไปอยูกับการ ทรยศในสิ่งที่เปนบาป อารมณก็จะกลับกลายมาเปนผูบังคับบัญชา เขาก็จะกลายเปนสัตว มีคาเทาเทียมกับ สัตว เขาเองที่สรางมลทินใหกับตัวเอง ทําใหฐานันดรของเขาเองต่ําทรามลงไป กลายเปนชีวิตสัตวที่ตกเปน ทาสของอารมณ ที่สติปญญาเองไมสามารถควบคุมได แตอารมณกลับมีพลังอํานาจเหนือสติปญญา การที่อัลลอฮทรงสาบานตอสิ่งเหลานี้ทั้งหมด ก็เพื่อที่จะใหมาเปนขอคิด เปนสิ่งเตือนสติคนเลว ให คิดคํานวณการกระทําของตนเองที่ไดกระทําหรือกาวเดินไปในทางที่ไมดี หรือทําใหผูกระทําความดีได ตระหนั ก ถึ ง ความดี ข องเขา ซึ่ ง สิ่ ง เหล า นี้ ทั้ ง หมดน า จะเป น ความชั ด เจน เป น หลั ก ฐานชี้ นํ า พวกเขาได โดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องราวของพวกสะมูดในอดีต มีนักอรรถาธิบายอัลกุรอานบางทานกลาววา การที่มี คําตอบออกมาวา “แทจริงแลวผูชําระชีวิตจนสะอาด เขายอมประสบกับความสมหวัง” เปนการตอบถึงการ เลาเรื่องราวของพวกสะมูดที่กระทําตอนบีของพวกเขา คือทานนบีซอลิหฺ ที่ไดกลาวถึงมาแลวในตอนตน ของซูเราะฮฺ พวกสะมูดไดกลาวหาความเท็จตอศาสนทูตของอัลลอฮเพราะความดื้อรั้นของพวกเขา เมื่อคนเลว ที่สุดในหมูพวกเขาไดรับการแตงตั้งใหทําการฆาอูฐ เมื่อทานนบีซอลิหฺไดบอกกับพวกเขาวา จงชวยกันระวัง ดูแลอูฐของอัลลอฮและใหน้ําแกมัน แตพวกเขาก็ไมมีใครเชื่อ พวกเขากลับฆาอูฐนั้นเสีย ในที่สุดอัลลอฮก็ ทรงเอาโทษแกพวกเขาจากการกระทําบาปของพวกเขาเอง พระองคทรงทําลายลางพวกเขาบนผืนแผนดิน ดวยการปลอยการลงโทษลงมายังพวกเขา จนพวกเขาทั้งหมดถูกทําลายจนไมมีเหลือแมแตสักคนเดียว นั่นก็ เปนเพราะวาตางคนตางพอใจในการกระทําของพวกพองของพวกเขา แทจริงแลวอัลลอฮไมเคยสนใจไมเคย ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-27-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

แยแสตอสิ่งที่พวกเขาไดกระทําลงไปเลยแมแตสักนิดเดียว เพราะพระองคเปนผูที่ทรงยุติธรรมยิ่งในการ ตัดสิน พระองคทรงอํานาจและทรงเดชานุภาพยิ่ง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-28-

ซูเราะฮฺ อัลลัยลฺ ซูเราะฮฺ อัลลัยลฺ ซึ่งมีความหมายวา เวลากลางคืน เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 21 อายะฮฺ สาระ ในซูเราะฮฺ ไดกลาวถึง การที่อัลลอฮทรงสาบานยืนยันวามนุษยนั้นมีความเห็นที่ขัดแยงกันในเรื่องของการ ประพฤติปฏิบัติและเรื่องของผลบุญ จากนั้นพระองคก็ทรงเตือนสําทับพวกเขาดวยไฟนรกที่เผาไหม ซึ่งทรง เตรียมไวสําหรับผูที่ทรยศตอพระองค และพระองคทรงปกปองมิใหไดรับอันตรายจากมัน สําหรับผูที่ภักดีตอ พระองค ในซูเราะฮฺนี้มีนักวิชาการบางทานกลาววา เปนซูเราะฮฺที่ประทานมายังทานอบีบักร แตบทเรียน ที่ไดรับจากซูเราะฮฺนั้นสําหรับคนทั่วไปไมเกี่ยวกับเหตุผลการประทาน ที่ประทานลงมาเฉพาะเรื่องแตอยาง ใด ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

¨βÎ)

∩⊂∪ #s\ΡW{$#uρ tx.©%!$# t,n=y{ $tΒuρ

3“uô£ãù=Ï9 …çνçÅc£uãΨ|¡sù $tΒuρ

∩⊄∪ 4’©?pgrB #sŒÎ) Í‘$pκ¨]9$#uρ

∩∉∪ 4o_ó¡çtø:$$Î/ s−£‰|¹uρ

∩⊇⊃∪ 3“uô£ãèù=Ï9 …çνçÅc£uãΨ|¡sù

∩⊇⊂∪ 4’n<ρW{$#uρ nοtÅzEζs9 $uΖs9 ¨βÎ)uρ ∩⊇∉∪ 4’¯<uθs?uρ z>¤‹x. “Ï%©!$#

∩∈∪ 4’s+¨?$#uρ 4‘sÜôãr& ôtΒ $¨Βr'sù

∩∪ 4o_ó¡çtø:$$Î/ z>¤‹x.uρ

∩⊆∪ 4®Lt±s9 ö/ä3u‹÷èy™

∩∇∪ 4o_øótGó™$#uρ Ÿ≅σr2 .tΒ $¨Βr&uρ

∩⊇⊄∪ 3“y‰ßγù=s9 $oΨø‹n=tã ¨βÎ) ∩⊇∈∪ ’s+ô©F{$# ωÎ) !$yγ9n=óÁtƒ Ÿω

#“t“øgéB 7πyϑ÷èÏoΡ ÏΒ …çνy‰ΨÏã >‰tnL{ $tΒuρ

∩⊇∪ 4y´øótƒ #sŒÎ) È≅ø‹©9$#uρ

∩∠∪

∩⊇⊇∪ #“¨Šts? #sŒÎ) ÿ…ã&è!$tΒ çµ÷Ζtã Í_øóム∩⊇⊆∪ 4‘©àn=s? #Y‘$tΡ ö/ä3è?ö‘x‹Ρr'sù

∩⊇∇∪ 4’ª1u”tItƒ …ã&s!$tΒ ’ÎA÷σム“Ï%©!$#

∩⊇∠∪ ’s+ø?F{$# $pκâ:¨Ζyfã‹y™uρ

∩⊄⊇∪ 4yÌötƒ t∃öθ|¡s9uρ ∩⊄⊃∪ 4’n?ôãF{$# ϵÎn/u‘ ϵô`uρ u!$tóÏGö/$# ωÎ) ∩⊇∪

ความหมายของซูเราะฮฺ ขอยืนยันกับกลางคือ เมื่อมันปกคลุม (ทุกๆ สิ่งไวดวยความมืด) (1)และเวลากลางวัน เมื่อมันสวาง แจง (2) และขอสาบานต อ พระผูท รงบัง เกิ ด เพศชายและเพศหญิ ง (3) แท จ ริ ง กิจ กรรมของพวกเจ านั้น มี แตกตางกัน (ออกไป) (4 ) กลาวคือ ผูที่ใหและยําเกรง(5 )และยอมรับจริงในสิ่งดีงาม(6) แนนอนเราจักใหเขา สัมฤทธิ ซึ่งความสุขสบาย (ในโลกหนา) (7) สวนผูตระหนี่ และถือวาตนพอแลว (ไมคิดพึ่งอัลเลาะฮฺ)(8 ) และกลาวหาสิ่งดีงามวาเปนความเท็จ(9 ) แนนอนเราจักใหเขาสัมฤทธิ ซึ่งความยากลําบาก(10)และทรัพยสิน ของเขาไมอาจปองกันเขาไวได ในเมื่อเขาเพลี่ยงพล้ําลงสูเหว (แหงหายนะในวันกิยามะฮฺ)(11 ) แทจริงเรามี หนาที่ชี้นํา(12)และแทจริงทั้งโลกหนาและโลกนี้ ลวนอยูในอํานาจของเรา (13) ดังนั้นขาไดเตือนพวกเจา (ถึง ภัยแหงนรกอันลุกโพลง)(14) ไมมีผูใดเขาไปในนั้น นอกจากผูที่อับโชค(15) ซึ่งเขากลาววา (สัจธรรม) เปน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-29-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

สิ่งมุสาและเขาหันหลังให (16) และผูที่ยําเกรง จะหางไกลมัน(17) (เขาคือ) ผูซึ่งไดบริจาคทรัพยสินของเขา โดยมุงเปลื้องปลดมนทิล (ออกจากตัวและทรัพยสินนั้นใหเกิดความบริสุทธิ)(18) และไมมีผูใดมีบุญคุณที่ จะตองตอบแทนสําหรับเขา (19) นอกจาก (เขากระทําไปนั้น) เพื่อแสวงหาพระผูท รงอภิบาลอันสูงสงของเขา ดวยความบริสุทธิ์ใจ (20) และตอไป เขาจะมีความยินดีอยางแทจริง (เมื่อถึงวันกิยามะฮฺ โดยเขาจะไดทุกสิ่งที่ ปรารถนา) (21) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻳﻐﺸﻰ‬มือมิด ปกปด ครอบคลุม (‫ )ﲡﻠﻰ‬สวางแจง (‫ )ﻟﺸﺘﱠﻰ‬แตกตางกันออกไป ทั้งชนิดและ ผลตอบแทนที่จะไดรับ (‫ )ﺑﺎﳊﺴﲎ‬สิ่งดีงาม (‫ )ﻟﻠﻴﺴﺮﻯ‬ความสุขสบายที่ใหผลในสิ่งที่ดีงาม (‫ )ﻟﻠﻌﺴﺮﻯ‬ความ ยากลําบากที่จะสงผลในทางที่ไมดี (‫ )ﺗﺮﺩﻯ‬ตกลงสูหวงเหวแหงความหายนะ (‫ )ﺗﻠﻈﻰ‬ไฟที่ลุกโชนเผาไหม (‫ )ﻻﻳﺼﻼﻫﺎ‬ไมเผาไหมแกผูใด (‫ )ﺍﻻ ﺍﻷﺷﻘﻰ‬นอกจากผูที่อัปโชค (‫ )ﺳﻴﺠﻨﺒﻬﺎ‬หางไกลออกไป (‫ )ﺍﻷﺗﻘﻰ‬มี ความยําเกรงอยางมา (‫ )ﲡﺰﻯ‬จะไดรับการตอบแทน คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ อัลลอฮทรงสาบานยืนยันดวยเวลากลางคืนที่ความมืดปกคลุมสิ่งตางๆ ไวทั้งหมด จนไมมีอะไร หลบหนีออกไปจากความมืดของมันได จากนั้นพระองคก็ทรงสาบานยืนยันดวยเวลากลางวันเมื่อมันสวาง แจงเพราะดวงอาทิตยขึ้นจนทุกสิ่งทุกอยางปรากฏออกมาใหเห็นอยางเดนชัด และชีวิตก็เริ่มที่คืบคลานขยับ เขยื้อนเคลื่อนไหว ออกทํามาหากิน หลังจากที่ไดหลับใหลพักผอนไปตลอดคืน มหาบริสุทธิ์แหงอัลลอฮองค อภิบาลผูทรงบันดาลกลางวันและกลางคืนใหเปนขอคิดสําหรับผูที่ระลึกไดและผูที่มีความกตัญูตอพระองค หากคิดตอไปวาอะไรจะเกิดขึ้นหากกลางวันหรือกลางคืนยืดยาวตลอดไปไมมีการสลับสับเปลี่ยน อัลลอฮทรงสาบานตอพระองคเอง ที่ไดทรงสรางสิ่งตาง ๆ ออกมาเปนเพศชายและเพศหญิงมาจาก อสุจิอันเดียวกัน สรางมาจากที่เดียวกัน แตมหาบริสุทธิ์แหงพระองค เมื่อพระองคประสงคก็จะเปนเพศหญิง และเมื่อพระองคประสงคก็จะเปนเพศชาย หรือใหเปนเพศชายและหญิงพรอม ๆ กัน และทรงบันดาลใหใคร บางคนเปนหมัน ไมมีบุตร มหาบริสุทธิ์แหงพระองคผูทรงสรางสรรคกลางวันและกลางคืน สรางแสงสวาง และความมืด สรางสิ่งตาง ๆ ใหเปนเพศชายและเพศหญิง โดยสรางมาจากวัตถุดิบชนิดเดียวกันทั้งหมด หลังจากนั้นพระองคก็ทรงสาบานยืนยันวา แทจริงแลวความพยายามของมวลมนุษยนั้นมีความแตกตางกัน ออกไปหลายรูปแบบหลายชนิด และผลตอบแทนที่จะไดรับก็แตกตางกันออกไป ทุกคนก็จะไดรับการตอบ แทนไปตามรูปแบบของแตละคนไป ÏM≈ysÎ=≈¢Á9$# (#θè=Ïϑtãuρ (#θãΖtΒ#u tÏ%©!$%x. óΟßγn=yèøgªΥ βr& ÏN$t↔ÍhŠ¡¡9$# (#θãmutIô_$# tÏ%©!$# |=Å¡ym ÷Πr&

หรือวาบรรดาจําพวกที่ประกอบการชั่วคิดวา เราจัดการพวกเขาใหเหมือนกันบรรดามวลชนผูมี ศรัทธา และประพฤติแตความดีงาม ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-30-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เปนไปไดหรือผูที่ประสงคในสิ่งเลวราย จะไดรับการตอบแทนเชนเดียวกับพวกที่กระทําความดี ? อัลลอฮทรงตรัสไววา “‫”ﻻﻳﺴﺘﻮﻱ ﺍﺻﺤﺎﺏ ﺍﻟﻨﺎﺭ ﻭﺃﺻﺤﺎﺏ ﺍﳉﻨﺔ‬ ชาวนรกกับชาวสวรรคยอมจะไมมีวันที่เสมอเหมือนกันอยางแนนอน หรือที่อัลลอฮทรงตรัสไววา “‫”ﺃﻓﻤﻦ ﻛﺎﻥ ﻣﺆﻣﻨﺎ ﻛﻤﻦ ﻛﺎﻥ ﻓﺎﺳﻘﺎ ﻻﻳﺴﺘﻮﻭﻥ‬ หรือวาผูที่มีศรัทธามั่นจะเสมอเหมือนกับผูที่กระทําในสิ่งเสื่อมเสีย แนนอนที่สุดไมเสมอเหมือนกัน อยางแนนอน สวนผูที่ยอมใหทรัพยสินบางสวนที่ตนเองมีอยู อีกทั้งมีจิตใจยําเกรงตออัลลอฮและยําเกรงตอการ กระทําในสิ่งที่พระองคทรงหาม และหักหามตนเองจากอารมณรายและยอมรับในสิ่งดีงาม ยอมรับในความมี คุณคาของความดีงามอยางจริงใจและตามติดมาดวยการถือปฏิบัติอยางบริสุทธิ์ใจตออัลลอฮ แนนอนที่สุด พระองคจะทรงตอบแทน ทรงชี้นําและทรงประทานความสัมฤทธิ์ผลแตสิ่งดี ๆ กระทําแตสิ่งดี ๆเพราะจิตใจ ของพวกเขาเต็มเปยมไปดวยรัศมีและประสบแตความสุข สวนผูที่ตระหนี่และคิดวาตนเองร่ํารวยไมตอง พึ่งพาใครอีก เขาเองไมเคยทําความดีและไมเคยคิดที่จะกระทํา เพราะเขาเองถูกหลอกดวยทรัพยสินที่เขามีอยู เขาเองไมยอมรับในคุณงามความดี อัลลอฮก็จะทรงตอบแทนแกเขาและไมทรงชี้นําเขา แตจะชวยใหเขาพบ แตความยากลําเค็ญ ที่จะนําพาเขาไปสูความหายนะและความพินาศ คนกลุมแรกเปนชาวสวรรค สวนคนกลุม ที่สองเปนชาวนรก สวนผูที่ยอมรับในสิ่งดีงามและปฏิบัติแตสิ่งดีงามอีกทั้งมีความยําเกรงตออัลลอฮ พระองคก็จะทรง ประทานความสัมฤทธิ์ผลใหแกเขา ซึ่งความสําเร็จที่พระองคจะประทานใหนั้นมีอยูสองขั้นตอน ขั้นตอนที่ หนึ่งคือที่มาของมนุษยคือขั้นตอนของการสรางความสมบูรณใหกับชีวิตใหเกิดความสมบูรณ และตามดวย การทําความดีเพื่อใหเกิดลักษณะพิเศษใหเห็นความแตกตางทั้งในโลกนี้และโลกหนา จึงเปนไปตามที่มีการ กลาวขานกันวา ในเมื่อธรรมชาติหรือที่มาวางอยูบนพื้นฐานแหงความดี ทานทําความดีจนกลายเปนเรื่องปกติ อัลลอฮก็จะทรงประทานสัมฤทธิ์ผลใหแกทาน และนี่คือความหมายของพระดํารัสแหงอัลลอฮที่ทรงตรัสไว วา “‫”ﻓﺴﻨﻴﺴﺮﻩ ﻟﻠﻴﺴﺮﻯ‬ในทางตรงกันขามหรือในทางกลับกันก็จะถูกตองดวยเชนกัน เพราะผูใดที่ทําตนให คุนเคยอยูกับความชั่วความเลวทราม อัลลอฮก็จะใหเขาพบกับความยากลําบาก(ตามแนวทางของอัลลอฮ) เขา ก็จะไดรับการอํานวยความสะดวกไปสูความยากลําบาก ซึ่งเปนทางที่มนุษยเปนผูเลือกมาเองดวยตัวของเขา เปนการนํามาตัวของพวกเขาเองไปสูฐานันดรความเปนสัตวเดรัชฉาน เมื่อเขาเพลี่ยงพล้ําลงสูหวงเหวแหง ความหายนะ หรือเขาสูหลุมฝงศพ ทรัพยสินสมบัติของเขาเองก็จะไมสามารถชวยเหลืออะไรเขาไดเลย ทรัพยสินที่พวกเขามีอยูจะชวยเหลืออะไรเขาไมไดเลย แลวอัลลอฮจะทรงสอบสวนบาวของพระองคที่ได กระทําบาป และเปนการกระทําที่พวกเขาเองเปนผูเลือกดวยตัวเองอยางไร อัลกุรอานไดใหคําตอบเกี่ยวกับ เรื่องนี้ไววา แทจริงแลวอัลลอฮเปนผูทรงสรางมนุษยเพื่อใหพวกเขานมัสการตอพระองค ใหกระทําในสิ่งที่

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-31-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เปนกุศลในโลกนี้และวันโลกหนาโดยที่พระองคจะเปนผูชี้นําชี้แนะพวกเขาใหสามารถแยกแยะวาเสนทางใด เปนทางรายทางใดเปนทางดี จากนั้นพระองคก็จะทรงปลอยใหพวกเขาเลือกทางเดินอยางเปนอิสระและให พวกเขาสามารถปฏิบัติตนไดอยางเปนอิสระ และเชนนี้คือลักษณะของการใหเกียรติ์ตอมวลมนุษย คนใด กระทําแตความดีพระองคก็จะทรงตอบแทนดวยความดี ผูใดที่เลือกกระทําในสิ่งที่เปนความชั่วก็จะตอบแทน เขาพวกเขาดวยการลงโทษ ดังจะเห็นไดจากที่อัลลอฮไดทรงตรัสไววา “‫ ”ﻭ َﻫﺪَﻳﻨﺎﻩ ﺍﻟﻨﺠﺪﻳﻦ‬แทจริงแลวทั้ง โลกนี้และโลกหนาลวนแลวแตอยูในอํานาจของอัลลอฮ พระองคไดทรงเตือนสําทับมวลมนุษยดวยไฟนรกที่ มีพลังในการเผาไหมที่รุนแรง ใหพวกเขาพึงระวัง และจะไมมีผูใดเขาสูไฟนรกอันลุกโชน นอกจากผูที่อับ โชคที่ไรศรัทธา ที่กระทําแตการทรยศแลวไมรูจักกลับตัวกลับใจดวยการขอกุลาโทษตออัลลอฮ คนผูนี้คือ กลุมคนที่กลาวหาวาอัลลอฮเปนเท็จปฏิเสธศรัทธาตอพระองค และหันหางจากสัจธรรมอีกทั้งยังคัดคาน ตอตานสัจธรรมอีกดวย พวกเขาไมยอมกลับตัวกลับใจกลับคืนสูอัลลอฮแมแตเพียงสักวินาทีเดียว สําหรับผูที่ มียําเกรงตอัลลอฮผูที่อยูในทางนําจากพระองค ซึ่งพวกเขาจะบริจาคทรัพยสินของเขาโดยมุงปลดเปลื้อง มนทิลออกจากตัวเองเพื่ออัลลอฮอัลลอฮจะใหพวกเขาหางไกลออกไปจากการลงโทษดวยไฟนรก การ กระทําของเขาทั้งหมดไมไดกระทําเพราะตองการตอบแทนบุญคุณแกผูใด แตการกระทําและการบริจาค ทั้งหมดลวนแลวแตเปนการแสวงหาความโปรดปรานจากอัลลอฮ และดวยการกระทําของเขาเชนนี้ พระองค ก็จะทรงตอบแทนเขาดวยสิ่งตอบแทนที่ดีทั้งในโลกนี้และโลกหนาจนกระทั่งเขาเองมีความยินดีอยางแทจริง โดยที่เขาเองจะไดรับทุกสิ่งที่ปรารถนาในวันกียามะฮฺ โอมวลมนุษย อัลลอฮไดชี้นําทางที่ดีและทางที่ไมดีอีกทั้งผลตอบแทนที่จะไดรับในวันโลกหนาแก เจาไวอยางชัดเจนแลวมิใชหรือวา ใครที่กระทําความดีแมแตลักเทาเม็ดงาเขาก็จะไดเห็น และในทางตรงกัน ขามผูใดที่กระทําความชั่วแมแตเพียงเล็กนอยเขาก็จะไดเห็นเชนกัน ซึ่งสติปญญาอันปกติของมนุษยตางก็ สามารถแยกแยะไดดวยตนเองแลววา สิ่งใดคือสิ่งดีและสิ่งใดคือสิ่งที่ไมดี.

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-32-

ซูเราะฮฺอัฎฎฮา ชื่อซูเราะฮฺอัฎฎฮา (เวลาสาย ) เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 11 อายะฮฺ สาระในซูเราะฮฺเปนการ กลาวถึงการสาบานยืนยันของอัลลอฮวาพระองคจะไมทอดทิ้งทานนบีมูฮําหมัด  และไมไดจงชังตอทาน ตามที่บรรดาผูตั้งภาคีตออัลลอฮกลาวหาแตอยางใด และพระองคก็ทรงยืนยันดวยวาแทจริงแลวชวงสุดทาย ของชีวิตนั้นยอมประเสริฐกวาชีวิตในเบื้องตนของการปฏิบัติภารกิจ พระองคจะทรงตอบแทนเขาจนกระทั่ง เขาเองพอใจ และทานไดขอความเมตตาจากอัลลอฮและใหพระองคชี้นําไปสูความโปรดปรานที่มั่นคง ตลอดไป ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

×öy{ äοtÅzEζs9uρ

∩⊂∪ 4’n?s% $tΒuρ y7•/u‘ y7t㨊uρ $tΒ

∩∉∪ 3“uρ$t↔sù $VϑŠÏKtƒ x8ô‰Égs† öΝs9r& $¨Βr&uρ

∩⊄∪ 4y√y™ #sŒÎ) È≅ø‹©9$#uρ

∩∈∪ #yÌ÷tIsù y7•/u‘ y‹ÏÜ÷èムt∃öθ|¡s9uρ

∩∪ öyγø)s? Ÿξsù zΟŠÏKuŠø9$# $¨Βr'sù

∩∇∪ 4o_øîr'sù WξÍ←!%tæ x8y‰y`uρuρ

∩⊇∪ 4y∏‘Ò9$#uρ ∩⊆∪ 4’n<ρW{$# zÏΒ y7©9

∩∠∪ 3“y‰yγsù ~ω!$|Ê x8y‰y`uρuρ

∩⊇⊇∪ ô^Ïd‰y⇔sù y7În/u‘ Ïπyϑ÷èÏΖÎ/ $¨Βr&uρ ∩⊇⊃∪ öpκ÷]s? Ÿξsù Ÿ≅Í←!$¡¡9$#

ความหมายของซูเราะฮฺ ขอยืนยันกับเวลาสาย( 1) และยามกลางคืน เมื่อมันเงียบสงัด ( 2)องคอภิบาลของเจามิไดทอดทิ้งเจา และ มิไดจงชัง (เจาเหมือนที่พวกตั้งภาคีกลาวหา) ( 3) และแทจริงชวงสุดทาย (แหงชีวิตการปฏิบัติภารกิจของเจา) นั้น ยอมจะประเสริฐสําหรับเจา ยิ่งกวาเบื้องตน (ของการปฏิบัติภารกิจ) ( 4) (หมายเหตุ : บางทานแปลวา “โลกหนายอมดีสําหรับเจายิ่งกวาโลกแรก (ดุนยา)”) และตอไปองคอภิบาลของเจาจะประทาน (ชัยชนะและ ความสําเร็จ) แกเจา จนเจาพึงพอใจ ( 5) พระองคมิไดพบวาเจาเปนเด็กกําพราดอกหรือ แลวพระองคก็ใหที่ พักพิง (แกเจาโดยไดอาศัยอับดุลมุตตอลิบ และอะบูตอลิบตามลําดับ) (6) และพระองคไดพบวา เจาเปนผู กําลังแสวงหาทาง (อันรอดพนและถูกตอง) แลวพระองคก็ทรงชี้นํา (เจาสูทางนั้น ดวยการประทานอัลกุรอาน ให)(7) และพระองคไดพบวาเจาเปนผูขัดสนและพระองคก็ประทานความมั่งคั่งแกเจา (ดวยการแตงงานกับ คอดียะฮฺ) (8) ดังนั้น เจาจงอยากดขี่ลูกกําพรา (เพราะเจาเองก็เคยอยูใ นสภาพเชนนัน้ มากอน) (9) และสวนผู ที่มาขอนั้น เจาก็จงอยาตวาดไล (10) และความโปรดปรานแหงองคอภิบาลของเจา (ที่ประทานแกเจา) นั้น เจาก็จงบอกกลาว (แกผูอื่นใหทราบโดยทัว่ กันเถิด) ( 11) คําอธิบายศัพท

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-33-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

(‫ )ﻭﺍﻟﻀﺤﻰ‬เวลาสาย ชวงเริ่มตนของตอนกลางวัน (‫ )ﺳﺠﻰ‬เงียบสงัด (‫ )ﻭﺩﻋﻚ‬ทอดทิ้ง (‫)ﻭﻣﺎ ﻗﻠﻰ‬ ชิงชัง (‫ )ﺁﻭﻯ‬ใหที่พักพิง เลี้ยงดู (‫ )ﺿﺎﻻ‬ผูแสวงหาแนวทางที่รอดพน (‫ )ﻓﻬـﺪﻯ‬ทรงชี้นําไปสูแนวทางที่ดี (‫ )ﻋﺎﺋﻼ‬ยากจนขัดสน (‫ )ﻓﻼﺗﻘﻬﺮ‬อยาไดกดขี่รังแก (‫ )ﻻ ﺗﻨﻬﺮ‬อยาไดตวาด คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ อัลลอฮทรงสาบานยืนยัน ดวยเวลาสาย ซึ่งเปนชวงเวลาที่ดวงอาทิตยและเวลากลางวัน กําลังจะ ตระหง า นชั ด เจน เป น ช ว งเวลาที่โ ลกและสิ่ ง มี ชี วิ ต กํ า ลั ง ได รั บ แสงสว า งและความร อ นอย า งเต็ ม เป ย ม พระองคทรงสาบานยืนยันดวยเวลากลางคืนที่เงียบสงัด ชวงเวลาที่ทุกชีวิตทุกการเคลื่อนไหวสงบนิ่งหลังจาก ที่ไดขยับเขยื้อนเคลื่อนไหวมาตลอดทั้งวัน พระองคทรงยืนยันดวยสิ่งทั้งสองวาพระองคจะไมทอดทิ้งเจาและ ไมไดเกลียดชังเจา(ดังที่พวกตั้งภาคีกลาวหา) จะเปนไปไดอยางไรในเมื่อเจาเปนที่รักของอัลลอฮ เปนผูที่ พระองคทรงเลือกสรร เปนศาสนทูตผูซื่อตรง เปนศาสนทูตทานสุดทายจากบรรดาศาสนทูตทั้งหมด อัลลอฮได ทรงติ ดตอมายังทานนบี  ผู ซื่อสัตยโดยสงมลาอี ก ะฮฺญิบรีลมาเปน ผู สื่อ การติ ด ตอ ระหวางนบีกับอัลลอฮจะตองติดตอผานมลาอีกะฮฺญิบรีล ซึ่งในบางครั้งทานนบีจะรูสึกกดดันอยางหนัก เมื่อมลาอีกะฮฺญิบรีลไมไดมาหาทาน ทานนบีเคยไดรับวะหฺยูจากอัลลอฮ เพื่อที่จะนําไปบอกแกประชาชาติวา “ฉันเองเปนแคเพียงมนุษยที่ไดรับการประทานวะหฺยูจากอัลลอฮ” แตมีอยูชวงหนึ่งการประทานวะหฺยูก็หยุด และขาดหายไป และเพื่อใหจิตใจของทานรอซูลุลลอฮมีความสงบและมั่นใจ มีความยําเกรงตออัลลอฮมาก ยิ่งขึ้นเมื่อไดพบกับญิบรีล ทานก็วอนขอ และเฝารอการมาหาของทานมลาอิกะฮฺญิบรีล และชวงที่มีการ ประทานวะหฺยูมายังทานจะเปนสิ่งที่จะชวยใหทานมีความมั่นใจและประสานใจใหกับทานได ดวยเหตุนี้เองจิตใจของทานจึงคิดถึงและอยากพบกับองคอภิบาลของทานผานทานมลาอีกะฮฺญิบรีล และอีกดานหนึ่งทานรูสึกวิตกกังวลกลัว และเพื่อใหความจริงปรากฏและทําใหจิตใจของทานรอซูลุลอฮสงบ มั่นและรูสึกสบายใจในสิ่งที่ทานวอนขอ จึงไดมีการนําเหตุการณทั้งหมดมากกลาวถึง และเพื่อเปนการแจงขาวดีตอทานนบีในอนาคตตอไปวา ในชวงระยะเวลาที่ผานมานั้นทานไมไดถูก ทอดทิ้ง และอัลลอฮก็ไมไดโกรธเคืองตอทานแตอยางใด โดยที่อัลลอฮทรงสาบานยืนยันดวยสิ่งเหลานี้ ทั้งหมด จากการสาบานของอัลลอฮตอสิ่งดังกลาว อาจจะมีคําถาม(จากทานทั้งหลาย)เกี่ยวกับความสัมพันธ ระหวางเวลาสายกับเวลากลางคืนและความสัมพันธที่อัลลอฮทรงนําสิ่งนี้มาสาบานยืนยันวามีความสําคัญ อยางไร ? คําตอบก็คือการที่อัลวะหฺยูขาดตอนไป ก็เพื่อเติมเต็ม เพื่อสรางความแข็งแกรงและสรางความมั่นใจ ใหเกิดขึ้นซึ่งเปรียบแลวเสมือนชวงเวลาสายและสิ่งที่ปรากฏในชวงเวลาสายไมวาจะเปนการเคลื่อนไหวของ สิ่งมีชีวิต จากนั้นก็จะเปนชวงเวลาที่ตามมานั่นก็คือเวลากลางคืนที่โลกและสิ่งมีชีวิตเงียบสงัดเพื่อเปนการ เตรียมความพรอมในการที่จะเริ่มตนชีวิตใหมในวันตอไปที่ดีกวา ขอยืนยันดวยเวลาสายและเวลากลางคืนที่เงียบสงัดวา แทจริงแลวองคอภิบาลของทานไมไดทอดทิ้ง เจาและมิไดจงชังหรือโกรธตอเจา ซึ่งพึงรับรูไวเถิดวาแทจริงแลววันหนา (ในอนาคตที่กําลังจะมาถึง)นั้นยอม ดีกวาเวลานี้ของเจาอยางไมตองสงสัย และจงมั่นใจเถิดวา การเผยแพรศาสนาของทาน ชีวิตของทานจะ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-34-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เปลี่ยนจากระดับหนึ่งไปสูอีกระดับหนึ่งที่ดีกวาอยางแนนอน แมวารูปแบบนั้นอาจจะเปนอีกรูปแบบหนึ่ง ของความยากลําบากของความเหนื่อยยาก แตตอไปในอนาคตองคอภิบาลของทานจะประทานวะหฺยูที่ทาน วอนขอ มายังทานอยางตอเนื่องเพื่อที่ทานจะไดนําเอาสาระไปชี้นําประชาติ ชี้นําโลกไปสูทางนําที่ทานพอใจ และใหเกิดความมั่นใจแกทาน ซึ่งเรื่องดังกลาวไมใชเรื่องแปลก พระองคมิไดพบวาเจาเปนเด็กกําพราดอก หรือ แลวพระองคก็ใหที่พึงพิง(แกเจาโดยไดอาศัยอับดุลมุตตอลิบและอะบูตอลิบตามลําดับ) โดยใหการ สนับสนุนและเลี้ยงดูเจา ซึ่งทานรอซูลุลลอฮ ไดถือกําเนิดมาเปนเด็กกําพราหลังจากที่ผูเปนบิดาเสียชีวิต ขณะที่ทานเองยังอยูในครรภมารดา และเมื่อทานถือกําเนิดมา อัลลอฮก็ทรงใหทานอับดุลมุตตาลิบ (ผูเปนปู) มาเปนผูเลี้ยงดูดวยความรักและหวงแหน เมื่อทานอับดุลมุตตอลิบเสียชีวิตลง ตอมาก็ใหมาอยูในการดูแลของ ลุงคืออาบูตอลิบ ซึ่งทานรักและเปนหวงทานนบีเปนอยางยิ่ง ทานจึงดูแลและปกปองทานนบีเปนอยางดี ทานนบี  เปนผูที่มีจิตใจแข็งแกรง และสะอาดบริสุทธิ์ ในเมื่อทานเองเห็นวาประชาชาติของทาน อยูในภาวะที่หลงผิด เนื่องจากศาสนาที่หอมลอมพวกเขาอยูในเวลานั้นมีอยูหลายศาสนาอยางเชน ศาสนายู ดายและคริสต (ยะฮูดีและนัศรอนีย) ซึ่งในเวลานั้นศาสนาคริสตนั้นไดถูกบิดเบือนไปจากเดิมแลว หลักการ เดิมที่เคยมีอยูถูกเปลี่ยนแปลงไปแลว ทําใหทานรูสึกเปนหวงในเรื่องที่ประชาชาติของทานจะตองประสบ จึง หลีก ห า งออกไปจากสั ง คมเสี ย ด ว ยการออกไปหาที่พํ านั ก ที่ สงบ จนกว า อัล ลอฮจะทรงประทานความ ปลดปลอยใหหลุดพนออกมาจากความเปนหวงเปนใยตอสังคม ดวยการชี้นํารัฐธรรมนูญที่สูงสงและศาสนา ที่ยิ่งใหญใหกับทาน ความรูสึกของทานที่ทานกําลังมีอยูในขณะนี้คือสิ่งที่อัลกุรอานไดเรียกวา ทานเปนผูที่ กําลังแสวงหาทางรอดพนและถูกตอง ก็ชีวิตการเปนอยูของทานซึ่งเจริญเติบโตมาอยางบริสุทธิ์สะอาด ชีวิต ทานไมเคยเปรอะเปอนสิ่งโสโครก ทานไมเคยที่จะกราบตอรูปเจว็ด ไมเคยกระทําในสิ่งที่เปนความชั่วเลย แมแตนอย จะมีอยูก็แคครั้งหนึ่งทานไดออกไปเพื่อที่จะรวมงานเลี้ยงรื่นเริง ซึ่งจัดใหมีการรองรําทําเพลง แต ทานก็กลับหลับใหลเสียกอน มาตื่นอีกครั้งเมื่อดวงอาทิตยขึ้นแลว ดวยเหตุนี้เองทานจึงไดรับการขนานนาม วา “อัลอะมีน” ซึ่งมีความหมายวาผูซื่อสัตย ทานเองเปนคนอนาถาที่ไมมีทรัพยสินสมบัติที่เปนมรดกจากผู เปนบิดาเลยแมแตนอย จะมีก็แคอูฐหนึ่งตัวกับคนรับใชอีกหนึ่งคนเทานั้น แตอัลลอฮก็ทรงประทานความ พอเพียงใหกับทาน ใหทานเปนผูที่ละทิ้งสิ่งทางโลก และใหทานบริหารจัดการทรัพยสินบางสวนผานการคา ขายสินคาของทานหญิงคอดียะฮฺ เมื่อเปนเชนนั้นอัลลอฮก็ทรงประทานความมั่นคงใหกับทานดวยความ โปรดปรานที่มากมาย ดังนั้นเจาจงอยาขดขี่ลูกกําพรา และทานก็คือหัวหนาลูกกําพราและพวกพองของพวก เขา สวนผูที่มาขอนั้น เจาจงอยาตวาดไลเขา แทจริงแลวทานเปนผูที่ประสงคจะแสวงหาทางนํา อัลลอฮก็ทรง ชี้นําแกทาน สวนความโปรดปรานแหงองคอภิบาลนั้นทานจงบอกกลาวใหทําการแจกจายดูแล แทจริงทาน เคยเปนผูที่ยากจนมากอนและอัลลอฮก็ทรงใหทานร่ํารวยขึ้นมาภายหลัง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-35-

ซูเราะฮฺ อะลัมนัชรอฮฺ ชื่อซูเราะฮฺ อะลัมนับรอฮฺ เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 8 อายะฮฺ เปนสาระที่เกี่ยวกับเรื่องของความ โปรดปรานของอัลลอฮที่ทรงประทานมายังทานนบี การสรางความมั่นใจใหกับทานนบีและสนับสนุนให ทานทําหนาทีท่ ี่ไดรับมอบหมายมา ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

∩⊂∪ x8tôγsß uÙs)Ρr& ü“Ï%©!$# |Møîtsù #sŒÎ*sù

∩⊄∪ x8u‘ø—Íρ šΖtã $uΖ÷è|Êuρuρ

∩∉∪ #Zô£ç„ Îô£ãèø9$# yìtΒ ¨βÎ)

∩⊇∪ x8u‘ô‰|¹ y7s9 ÷yuô³nΣ óΟs9r&

∩∈∪ #·ô£ç„ Îô£ãèø9$# yìtΒ ¨βÎ*sù

∩⊆∪ x8tø.ÏŒ y7s9 $uΖ÷èsùu‘uρ

∩∇∪ =xîö‘$$sù y7În/u‘ 4’n<Î)uρ ∩∠∪ ó=|ÁΡ$$sù

ความหมายของซูเราะฮฺ เรามิไดใหหัวอกของเจาปลอดโปรงแกเจาดอกหรือ (หลังจากเคยคับแคน เพราะการรังควาญของ เหลาศัตรู)(1) และเราไดผอนคลายภาระหนักของเจาใหออกไปจากเจา(2) อันทําใหหนักอึ้งแกหลังของเจา (ที่ตองแบกภาระนั้น)(3) และเราไดยกยองแกเจา ซึ่งเกียรติคุณของเจา( 4) แทจริงมีพรอมกับความลําบาก คือ ความสบาย(5) แทจริงมีพรอมกับความลําบาก คือ ความสบาย( 6) ดังนั้นเมื่อเจาเสร็จสิ้น (ภารกิจหนึ่ง แลว) เจาก็จง (เริ่ม) บากบั่น (กระทําภารกิจอื่นตอไป)( 7) และสูองคอภิบาลของเจาเทานั้น ที่เจาจงมุงหมาย (8)

คําอธิบายศัพท (‫ )ﻧﺸﺮﺡ‬เราใหความปลอดโปรง ซึ่งหมายถึงการทําใหมีความสุข (‫ )ﻭﺯﺭﻙ‬ภาระอันหนักหนวง (‫ )ﺃﻧﻘﺾ ﻇﻬﺮﻙ‬ที่ทําใหหนักอึ้งแกหลังของเจา (‫ )ﺍﻟﻌﺴﺮ‬ความยากลําบาก (‫ )ﻳﺴﺮﺍ‬ความงายดาย ความ สะดวกสบาย (‫ )ﻓﺎﻧﺼﺐ‬จงบากบั่นทําใหเสร็จสิ้น (‫ )ﻓﺎﺭﻏﺐ‬จงมุงไปสูอัลลอฮแตเพียงพระองคเดียว ซูเราะฮฺนี้เสมือนวาจะเปนความตอเนื่องมาจากซูเราะฮฺที่ผานมา เพราะสาระสวนใหญเชื่อมตอกับซู เราะฮฺที่ผานมา จนนักวิชาการบางทานกลาววาเปนซูเราะฮฺเดียวกัน คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ โอมูฮําหมัด เจาจงยอมรับ (ในขอเท็จจริงที่ไมมีใครปฏิเสธ) วาอัลลอฮไดทรงทําใหหัวอกของทาน ปลอดโปรง และอัลลอฮไดทรงทําใหเจาผอนคลายจากความยากลําบากที่ทานประสบมา อัลลอฮทรงทําให หัวอกของทานปลอดโปรงเพื่อทําหนาที่การเรียกรองเชิญชวนใหดีที่สุด ใหจิตใจของทานผอนคลายคลายจาก ความยากลําบาก มีความมั่นใจในการปฏิบัติภารกิจ มีจิตใจที่มั่นคง ซึ่งกอนหนาที่ทานรอซูลเคยรูสึกคับอก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-36-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

คับใจกับการกลั่นแกลงและการสรางความเดือดเนื้อรอนใจจากพวกมุนาฟกีนที่ตอตานทาน อัลลอฮไดทรง เลาเรื่องราวเหตุการณไววา ∩∉∪ šχθßϑn=ôètƒ t∃öθ|¡sù 4 tyz#u $·γ≈s9Î) «!$# yìtΒ tβθè=yèøgs† šÏ%©!$# ∩∈∪ šÏÌ“öκtJó¡ßϑø9$# y7≈oΨø‹xx. $¯ΡÎ) ∩∇∪ tωÉf≈¡¡9$# zÏiΒ ä.uρ y7În/u‘ ωôϑpt¿2 ôxÎm7|¡sù ∩∠∪ tβθä9θà)tƒ $yϑÎ/ x8â‘ô‰|¹ ß,ŠÅÒtƒ y7¯Ρr& ÞΟn=÷ètΡ ô‰s)s9uρ (Al-Hijr 095-098)

แทจริงเราไดทําความเพียงพอแกเจาแลว ดวยการลงโทษบรรดาพวกที่ทําการเยยหยัน ซึ่งพวกเขาทํา การอุปโลกน พระเจาอื่นขึ้นมารวมเปนภาคีกับอัลเลาะฮฺ แลวพวกเขาจะไดรู (วาพวกเขาตองรับโทษอยางไร ในการกระทํานั้น ๆ ของพวกเขา) ขอยืนยัน! แทจริง เรารูวาเจานั้นมีความคับแคนใจในสิ่งที่พวกเขาพูดไว (เกี่ยวกับการประกาศของเจาแบบดูถูกก เยยหยัน และใสรายตาง ๆ นานา) ดังนั้น เจาจงถวายสดุดีพระ บริ สุ ท ธิ คุณ พรอ มการสรรเสริ ญในองค อภิ บ าลของเจา เถิ ด และเจ า จงเป น ผูห นึ่ ง ในพวกที่ ทํ า การกราบ นมัสการ (พระองคแตเพียงพระองคเดียว) และการเรียกรองไปสูสัจธรรมที่ทานนบีทําการเรียกรองอยูนี้เปนการเรียกรองเชิญชวนผูคนทั้งหมด หมายรวมทั้งเปนการเรียกรองชาวอาหรับญาฮีลียะฮฺและผูคนทั้งหมด การเรียกรองในลักษณะนี้นับไดวาเปน ภาระที่หนักหนวง ไมใชงานเบา ๆ ที่ใครตอใครจะกระทําได แตถึงกระนั้นอัลลอฮก็ไดทรงใหความมั่นใจ แกศาสนทูตของพระองคที่พระองคทรงเลือก ผานอายะฮฺมาเปนคําชี้นําและการชี้แนะตางๆ ซึ่งอัลลอฮได ทรงแจงแกทานวาพระองคไดทรงยกเอาภาระหนักเหลานี้ออกไปจากทานแลวทั้งหมด และนี่คือความเมตตา ที่อัลลอฮทรงมีตอทาน อัลลอฮไดทรงยกยองแกทานนบีมูฮําหมัดซึ่งเกียรติ์คุณที่ทานมีอยู ไมมีการยกยองใดที่จะมีเกียรติ์ มากไปกวาการเอยชื่อของทานพรอม ๆ กับพระนามของพระองคในขณะอาซาน (เรียกรองสูการละหมาด) ขณะกลาวตักเบร ขณะอานดุอาขอพรและการละหมาด ทรงกําหนดใหการภักดีตอศาสนทูตของพระองค เปนการเคารพภักดีตอพระองค การแสดงความรักตอศาสนทูตของพระองคก็เปนการแสดงความรักตอ พระองค แลวจะมีฐานันดรใดที่ยิ่งใหญไปกวานี้ ? ฐานันดรของทานนบีสูงสงยิ่ง สูงสงกวาตําแหนงใด ๆ ใน โลกนี้ทั้งหมด ทานนบีจะมีผูปฏิบัติตามทาน ผูชวยเหลือทาน ผูนับถือศาสนาที่ทานนํามาเผยแพรมีอยูทั่วทุก มุมโลก ทุกคนเคารพและยกยองทานใหเปนผูนํา ทานทั้งหลายไม(สังเกต)เห็นดอกหรือวา บรรดาซอฮาบะฮฺ ซึ่งเปนสาวกของทานนบีนั้น ตางแกงแยง กันเพื่อเขารวมประชุมรับฟงการกลาวปราศรัยและถอยสํานวนอันหวานล้ําของทานนบี ใชแลวเรา(อัลลอฮ)ไดใหหัวอกของเจาปลอดโปรง(หลังจากที่เคยคับแคนเพราะการรังควาญของ เหลาศัตรู) และเราไดผอนคลายภาระที่เคยสรางความหนักอึ้งออกไปจากเจา และพระองคไดทรงยกยอง เกียรติของทานนบีมูฮําหมัดและไมใชเปนการยกยองเกียรติเฉพาะในโลกนี้เทานั้น แตพระองคทรงยกทานไป ยังสถานที่ที่เรียกกันวา “ซิดรอตุล มุลตะฮาอฺ” ยกไปยังสรวงสวรรคที่มีชื่อวา “อัลมะอฺวา”การยกยองเชิดชู เกียรติทานนั้นเกิดขึ้นหลังจากที่ทานไดประสบกับความยากลําบาก จากการกลั่นแกลงรังควาญจากบรรดา ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-37-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ศัตรู จนทานเองรูสึกอึดอัดใจ ซึ่งเรื่องที่เกิดขึ้นนั้นไมใชเรื่องแปลก เพราะแทจริงแลวกับความยากลําบากนั้น จะมีความสบายผอนคลายอยู ดังจะสังเกตการณยืนยันจากอัลลอฮซึ่งพระองคไดทรงยืนยันไววา “ ‫ﺇﻥ ﻣﻊ‬ ‫”ﺍﻟﻌﺴﺮ ﻳﺴﺮﺍ‬และท า นรอซู ลุ ล ลอฮเองก็ เ คยกล า วไว ว า “ความยากลํ า บากจะไม มี วั น ชนะเหนื อ ความ สะดวกสบายได” สําหรับความยากลําบากที่เคยเกิดขึ้นกับทานนบี  และบรรดาซอฮาบะฮฺนั้นมีหลายตอ หลายประการ ไมวาจะเปนเรื่องของความยากแคน มีจํานวนสนับสนุ นที่มีจํานวนน อย ฝายฝงของศัตรู เขมแข็งกวา มีการตอตานออกมาอยางรุนแรง ตอมาอัลลอฮก็ทรงประทานความสะดวกสบายให ดวยการ ประทานทรัพยสิน ผูสนับสนุนที่มากมาย พระองคทรงทําใหฝายศัตรูออนกําลังลง ทรงบันดาลใหบรรดาผู ศรัทธามีความเขมแข็งขึ้น โดยที่พระองคทรงแลกเปลี่ยนทรัพยสินที่พวกเขามีอยู รางกายที่พวกเขามีอยู ดวย สรวงสวรรคโดยสัญญากับพวกเขาวาพวกเขาจะไดรับการตอบแทนดวยสรวงสวรรค เมื่อพวกเขาออกมา ตอสูในแนวทางของอัลลอฮ สัญญาที่อัลลอฮทรงใหกับพวกเขานั้นมีอิทธิพลตอพวกเขายิ่ง แมวาบางคนจะมี ขอจํากัด พวกเขาตางคนตางรักตอญาติพี่นองของพวกเขา แตสิ่งที่พวกเขากระทําไปไมไดสรางความคับแคน ใจใหแกเขาแตอยางใด เพราะหากวาเขาเองจะถูกสังหาร เขาก็จะเปน “ชะฮีด” หรือหากเขามีชีวิตอยูพวกเขา ก็จะมีชีวิตอยูอยางมีความสุข และจะมีความสุขตลอดไป ความยากลําบากที่เกิดขึ้นนั้นจะตามติดมาดวยความผอนคลาย สะดวกสบายดังที่มีปรากฏอยูในอัล กุร อานจริงหรือ ? คําตอบก็คือ อัลลอฮเทานั้นที่ทรงรอบรูยิ่ง เชนเดียวกัน เมื่อใดที่ผูประสบเหตุยังอยูใน แนวทางแหงอัลลอฮที่ทรงกําหนดใหมาเปนกฎแหงธรรมชาติ และตอสูดวยความอดทน และมีการเตรียม ความพรอมเพื่อตอสูดวยความอดทนอดกลั้นตอสิ่งที่ไมพึงประสงค ทําหนาที่ดวยความบริสุทธิ์ใจ พยายาม หาทางเพื่อใหหลุดพนจากความยากลําบาก อัลลอฮก็จะทรงประทานความสะดวกสบายให ซึ่งก็สอดคลอง กั บ ที่ พ ระองค ท รงตรั ส ไว ว า “‫ ”ﻛﻞ ﺷﻲﺀ ﻫﺎﻟﻚ ﺍﻻ ﻭﺟﻬﻪ‬ทุ ก ๆ สิ่ ง ย อ มพิ น าศย อ ยยั บ ไปสิ้ น นอกจาก พระองคเทานั้น” ทุกสิ่งทุกอยางที่เกิดขึ้นลวนแลวแตมีจุดเริ่มตนและมีจุดจบของมันอยูในตัว กับความ ยากลําบากก็จะมีความสะดวกสบายผอนคลายตามมา แตความสะดวกสบายนั้นจะแตกตางกันออกไป โดย จะดําเนินไปตามกฎที่อัลลอฮทรงกําหนดไวทั้งหมด ดังที่อัลกุรอานไดชี้นําไว ซึ่งเปนคําแนะนําที่อัลลอฮทรง ประทานใหกับทานนบีผูเปนที่รักแหงพระองค ที่พระองคทรงเลือกสรรมา ดวยเหตุนี้เองทุกคนจึงปรารถนา ที่จะไดรับรัศมีทางนําจากอัลกุรอานและอัลลอฮก็ทรงชี้นําตอไปวา เมื่อเจา (ทานนบีมูฮําหมัด) เสร็จสิ้น ภารกิจหนึ่งแลวเจาจงเริ่มบากบั่นภารกิจอื่นตอไป เพื่อยืนยันวาทุกคนมุงมั่นสูอัลลอฮแตเพียงพระองคเดียว และตอพระองคเทานั้นที่พวกเขามอบหมาย เพราะพระองคคือผูคุมครองที่ดีที่สุด และเปนผูชวยเหลือที่ดี ที่สุด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-38-

ซูเราะฮฺอัตตีน ชื่อซูเราะฮฺ อัตตีน ซึ่งหมายถึงผลมะกอก เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 8 อายะฮฺ ซึ่งมีปรากฏอยูใน อายะฮฺที่ 1 ของอายะฮฺ สาระของซูเราะฮฺไดกลาวถึงการสาบานยืนยันของอัลลอฮตอผลมะกอก ซึ่งเปนสิทธิ์ ของพระองคในการที่จะใชสิ่งใดยืนยันก็ได และพระองคทรงยืนยันไววาพระองคคือผูทรงสรางมนุษยชาติ และทรงบันดาลใหมีรูปรางที่สวยสดงดงาม และพระองคคือผูที่จะใหพวกเขากลับคืนสูสภาพของความต่ํา ตอยที่สุด(อยางเชนยามชราภาพ) ยกเวนผูที่มีศรัทธา เพราะพวกเขาจะไดรับการตอบแทนดวยกุศลผลบุญที่ ยิ่งใหญ และอัลลอฮคือผูตัดสินที่เที่ยงธรรมที่สุด ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

$uΖø)n=y{ ô‰s)s9

∩⊂∪ ÂÏΒF{$# Ï$s#t7ø9$# #x‹≈yδuρ

(#θè=ÏΗxåuρ (#θãΖtΒ#u tÏ%©!$# ωÎ) È/s3ômr'Î/ ª!$# }§øŠs9r&

∩⊄∪ tÏΖÅ™ Í‘θèÛuρ

∩∈∪ t,Î#Ï≈y™ Ÿ≅xó™r& çµ≈tΡ÷ŠyŠu‘ ¢ΟèO

∩∠∪ ÈÏe$!$$Î/ ߉÷èt/ y7ç/Éj‹s3ム$yϑsù

∩⊇∪ ÈβθçG÷ƒ¨“9$#uρ ÈÏnG9$#uρ

∩⊆∪ 5ΟƒÈθø)s? Ç|¡ômr& þ’Îû z≈|¡ΣM}$#

∩∉∪ 5βθãΨøÿxΕ çöxî íô_r& óΟßγn=sù ÏM≈ysÎ=≈¢Á9$# ∩∇∪ tÉΚÅ3≈ptø:$#

ความหมายของซูเราะฮฺ ขอยืนยันกับตนมะเดื่อ และตนมะกอก(1) และภูเขาฏรซีนีน (ซีนาย) (2) และเมือง (มักกะฮฺ) อัน ปลอดภัยนี้ (3) แทจริงเราไดสรางมนุษยมาในรูปทรงอันงดงามยิ่ง (4) หลังจากนั้นเราไดสงเขากลับสูสภาพ ของผูที่ต่ําตอยที่สุด (ในยามชรา ซึ่งมีแตความรวงโรย และความสูญสิ้นในดานตาง)( 5) นอกจากบรรดาผู ศรัทธา และประพฤติแตสงิ่ ดีงาม แนนอนพวกเขาจะตองไดรับรางวัลอันไมขาดตอ(6) แลวอะไรหรือที่ทํา ใหเขาใสไครศาสนาวา เปนความสุสาในภายหลัง (จากที่หลักฐานตางๆ ประจักษแลว)( 7)อัลเลาะฮฺทรงเปน ผูตัดสินที่เที่ยงธรรมที่สุดมิใชหรือ ( 8) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻭﺍﻟﺘﲔ ﻭﺍﻟﺰﻳﺘﻮﻥ‬มะกอกและมะเดื่อ หรือชื่อสถานที่แหงหนึ่งในซีเรีย (‫ )ﻃﻮﺭ ﺳﻨﲔ‬ภูเขาฏรซีนีน (ซี นาย) ซึ่งเปนสถานที่ที่ทานนบีมูซาเขาเฝาองคอภิบาล (‫ )ﻫﺬﺍ ﺍﻟﺒﻠﺪ ﺍﻷﻣﲔ‬หมายถึงนครเมกกะ (‫ )ﺗﻘﻮﱘ‬รูปรางที่ สวยงามไดสัดสวน (‫ )ﺍﺳﻔﻞ ﺳﺎﻓﻠﲔ‬สูสภาพที่ต่ําตอย หมายถึงใหเปนชาวนรก (‫ )ﻏﲑ ﳑﻨﻮﻥ‬ไมขาดตอน (‫)ﺑﺎﻟﺪﻳﻦ‬ วันกียามะฮฺวันแหงการตอบแทน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-39-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ อัลลอฮทรงสาบานยืนยันดวยตนมะกอกและตนมะเดื่อ และทรงสาบานดวยภูเขาซีนาซึ่งเปนสถานที่ ที่ทานนบีมูซาเขาเฝาองคอภิบาลของทาน และทรงสาบานดวยเมืองที่มีความปลอดภัยอันหมายถึงเมืองเมกกะ ซึ่งเปนที่ที่ทานนบีไดถูกกลั่นแกลงรังควาญจากพวกพองของทาน ทั้งๆ ที่เมืองนี้เปนเมืองที่สงบปลอดภัย เปนที่ที่บรรดาซอฮาบะฮฺใชเปนที่พึ่งพิงหาความปลอดภัย ผูใดที่เขามาในเมืองนี้เขาก็จะปลอดภัยจากการรัง ควาญตาง ๆ และไมใชเฉพาะมนุษยเทานั้นที่จะไดรับความปลอดภัย แมกระทั่งสัตวปา นก หรือผูที่มาขอพึง พิง ก็จะไดรับการคุมครองใหปลอดภัยดวย แตคําวา “ตีน ซัยตูน” ในที่นี้หมายถึงอะไร? หรือวาหมายถึงตน มะกอกและตนมะเดื่อ อัลลอฮทรงสาบานยืนยันดวยมะกอกและมะเดื่อ เพราะคุณคาของตนไมทั้งสองชนิดมี มากมาย เพราะไมชนิดนี้เปนไมที่เปนที่รูจัก แตคงจะไมใชความหมายในสํานวนอันล้ําลึกของอัลกุรอาน นักวิชาการบางทานกลาววา ความมุงหมายที่แทจริงของตีนและซัยตูนคือคุณคา ซึ่งไมชนิดนี้มีอยูมากมายใน ประเทศซีเรียซึ่งเปนเมืองของทานนบีอีซา การที่อัลลอฮทรงสาบานยืนยันตอสิ่งทั้งสองเพื่อชี้ใหระลึกถึง ทานนบีอีซาและภูเขาซีนาซึ่งเปนสถานที่ที่ทานนบีมูซาเขาเฝาองคอภิบาล และยืนยันดวยเมืองที่มีความ ปลอดภัย(หมายถึงเมืองเมกกะ)ของทานนบีมูฮําหมัด ผูเปนศาสดาทานสุดทายของประชาชาติ นักวิชาการบางทานไดคําอรรถาธิบายไววา คําวาตีนและซัยตูนเปนชื่อสถานที่แหงหนึ่งในประเทศ ซีเรีย (ชาม) การอรรถาธิบายดังกลาวจะตองไดรับการยืนยันถึงความถูกตอง ซึ่งอัลลอฮไดทรงสาบานยืนยัน ดวยชื่อสถานที่ดังกลาวเพื่อเปนการใหเกียรติตอผูที่พํานักอยู ณ ที่แหงนั้น นั่นคือนบีและรอซูลหลายตอหลาย ทาน แทจริงแลวอัลลอฮไดทรงสรางสรรคมนุษยมาในรูปลักษณที่ลงตัวสวยงาม เจาไมสังเกตดอกหรือ อัลลอฮทรงสรางใหออกมาในลักษณะทายืนหัวตั้งไดระดับ รับประทานอาหารดวยมือ และทรงประทาน สติปญญาใหสําหรับใชขบคิด สามารถนําเอาสิ่งตาง ๆ มาเปนเครื่องอํานวยความสะดวกใหกับตนเอง ไมวา จะเปนสัตวหรือพืชพันธตาง ๆ และอัลลอฮไดทรงประทานใหสติปญญาของพวกเขามีประโยชนไปมากกวา นั้น ถึงขนาดวาพวกเขาสามารถที่จะขบคิดวิเคราะหถึงขนาดสามารถนําเอาธรรมชาติตางๆ ที่อัลลอฮทรง สรางไวมาใชประโยชนไดนานับประการ หลักฐานตางๆ ไดปรากฏใหเห็นอยูทั่วไป อาจจะเปนไปไดวาการที่พระองคทรงยืนยันดวยสิ่งเหลานี้ทั้งหมดเพื่อที่จะใหมนุษยหันกลับมาพินิจ พิจารณาไตรตรองถึงตัวตนของพวกเขา ไตรตรองถึงองคประกอบไมวาจะเปนพลัง ความรูความเขาใจ สติปญญา เพื่อใหพวกเขาสามารถเขาถึงความเขาใจในเอกานุภาพแหงอัลลอฮผูทรงเดชานุภาพ และมนุษยซึ่ง เปนสิ่งถูกสรางที่องคอภิบาลไดทรงสรางทรงใหเกียรติ และประทานความโปรดปรานมากมายใหกับพวกเขา และทรงประทานใหพวกเขามีอํานาจปกครองสรรพสิ่งตาง ๆ ในโลกทั้งหมด แรกเริ่มเดิมทีมนุษยก็เริ่มที่จะออนขอใหกับความโลภ ธรรมชาติของความชั่วรายก็เขาครอบงําโดย ไมทันระวังตั้งตัว เมื่อธรรมชาติแหงความชั่วเขามาครอบงํา ความอิจฉาริษยา ความขัดแยงแคลงใจ ความคิดที่ จะบอนทําลายก็เริ่มปรากฏ สิ่งที่จะตามมาก็คือการรบราฆาฟน ทะเลาะเบาะแวงระหวางกันก็เกิดขึ้น ในที่สุด มนุษยก็ตกต่ําลงสูความเปนสัตว การแสดงความโหดรายตอเพื่อนมนุษยดวยกันก็กลายเปนความเคยชิน ซึ่งก็ สอดคลองกับพระดํารัสแหงอัลลอฮที่พระองคทรงตรัสไววา “หลังจากนั้นเราไดสงเขากลับสูสภาพของผูที่ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-40-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ต่ําตอยที่สุด”ทั้ง ๆ ที่ความจริงแลวธรรมชาติของมนุษยที่อัลลอฮทรงสรางมานั้นพระองคทรงสรางมาใหมี ความรั ก ใคร ก ลมเกลี ย วซึ่ ง กั น และกั น ให ช ว ยเหลื อเกื้ อ กู ลซึ่ งกั น และกั น ใหพ วกเขามี ค วามยุ ติธ รรมมี คุณธรรมจริยธรรมที่สูงสง แตแลวในบางครั้งมนุษยก็ถอดถอนตัวเองออกไปจากคุณลักษณะเหลานี้ออกไปสู ความเลวร า ยด ว ยเหตุห รือป จ จัย ภายนอกที่เ ขามามีอิทธิพลผลั ก ดั นไปสูความชั่ว ร า ยจนทํา ให มนุ ษ ย ลืม ธรรมชาติของตนเองจนตองกลับคืนสูความเปนเดรัชฉานและแสดงพฤติกรรมของชาวนรกออกมาจนพวก เขาตองตกลงสูความต่ําตอยลงสูฐานันดรที่ตําทรามกวาสัตว และนี่คือมนุษยนี่คือธรรมชาติของมนุษยและสิ่งเขามากองทับถมลงบนมนุษย มนุษยซึ่งมีธรรมชาติ ที่บริสุทธิ์แตครั้นเมื่อปจจัยแหงความเลวรายจากภายนอกเขามามนุษยก็เปลี่ยนตัวเองลงสูความต่ําทรามเสียยิ่ง กวาสัตว ยกเวนผูที่มีจิตใจที่เต็มเปยมไปดวยความศรัทธามั่นตออัลลอฮตอวันกียามะฮฺ เพราะพวกเขาจะยับยั้ง ปองกันการพยศของอารมณ สามารถที่จะนําพาตัวเองกลับคืนสูความดี กลับไปกระทําการในการกระทําที่ ประเสริฐเพื่อแสวงหาความโปรดปรานของอัลลอฮ และพวกเขาก็จะไดรับการตอบแทนจากพระองคโดยไม ขาดตอน พวกเขาจะไดรับแตความผาสุกในโลกนี้และจะไดรับความสมบูรณสุขในโลกหนาเปนการตอบ แทน นาประหลาดใจเปนยิ่งนัก โอมวลมนุษย อะไรหรือที่ทําใหพวกเจาปฏิเสธตอวันแหงการตอบแทน หลังจากที่ทานไดรับรูถึงขอเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องนี้มาแลว อัลลอฮทรงเปนผูตัดสินที่เที่ยงธรรมที่สุด ทรงเปน ผูตัดสินที่ยุติธรรมที่สุดไมใชหรือ ? ซึ่งพระองคจะทรงตอบแทนผูที่ภักดีตอพระองคดวยกุศลผลบุญอยาง ตอเนื่องไมขาดตอน สวนผูที่ทรยศตอพระองคพระองคจะตอบแทนดวยการลงโทษที่แสนสาหัส

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-41-

ซูเราะฮฺ อัลอะลัก ชื่อซูเราะฮฺ อัลอะลัก (หมายถึง กอนเนื้อ) ซึ่งมีระบุอยูในอายะฮฺที่ 2 เปนซูเราะฮฺมัหกกียะฮฺ มีทั้งหมด 19 อายะฮฺ ในซูเราะฮฺอัลลอฮทรงบัญชามายังทานรอซูลุลลอฮ  ใหอานไปพรอม ๆ กับการชี้แจงใหเห็นถึง ปรากฏการณตางๆ ที่แสดงใหเห็นถึงเดชานุภาพแหงพระองคที่มีเหนือมวลมนุษย และทรงแจงใหรับรูถึง คุณลักษณะบางประการของพระองค จากนั้นพระองคก็ทรงกลาวถึงตัวอยางการตอตานของมนุษยบางกลุม บางคนและแจงใหไดรับรูถึงผลตอบแทนที่พวกเขาจะไดรับวาเปนเชนไร ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

ãΠtø.F{$# y7š/u‘uρ ù&tø%$#

∩⊄∪ @,n=tã ôÏΒ z≈|¡ΣM}$# t,n=y{

∩∉∪ #xöôÜuŠs9 z≈|¡ΣM}$# ¨βÎ) Hξx. #sŒÎ) #´‰ö7tã

7πuŠÏ¹$tΡ

∩∈∪ ÷Λs>÷ètƒ óΟs9 $tΒ z≈|¡ΣM}$# zΟ¯=tæ

∩∪ 4‘sS÷Ζtƒ “Ï%©!$# |M÷ƒuu‘r&

z>¤‹x. βÎ) |M÷ƒuu‘r&

∩⊆∪ ÉΟn=s)ø9$$Î/ zΟ¯=tæ “Ï%©!$#

∩∇∪ #tëô_”9$# y7În/u‘ 4’n<Î) ¨βÎ)

∩⊇⊄∪ #“uθø)−G9$$Î/ ttΒr& ÷ρr&

∩⊇∇∪ sπu‹ÏΡ$t/¨“9$# äíô‰uΖy™

∩⊂∪

∩∠∪ #o_øótGó™$# çν#u§‘ βr&

∩⊇⊇∪ #“y‰çλù;$# ’n?tã tβ%x. βÎ) |M÷ƒuu‘r&

∩⊇∈∪ ÏπuŠÏ¹$¨Ζ9$$Î/ $Jèxó¡oΨs9 ϵtG⊥tƒ óΟ©9 Í.s! ξx.

ô‰ß∨ó™$#uρ çµ÷èÏÜè? Ÿω ξx.

∩⊇∪ t,n=y{ “Ï%©!$# y7În/u‘ ÉΟó™$$Î/ ù&tø%$#

∩⊇⊆∪ 3“ttƒ ©!$# ¨βr'Î/ Λs>÷ètƒ óΟs9r& ∩⊇∠∪ …çµtƒÏŠ$tΡ äíô‰u‹ù=sù

∩⊇⊃∪ #’©?|¹ ∩⊇⊂∪ #’¯<uθs?uρ

∩⊇∉∪ 7πy∞ÏÛ%s{ >πt/É‹≈x. ∩⊇∪ ) >ÎtIø%$#uρ

ความหมายของซูเราะฮฺ จงอานเถิด ในพระนามแหงองคอภิบาลของเจา ผูทรงบันดาล( 1) พระองคทรงบันดาลมนุษยมาจาก กอนเนื้อ (ที่วิวฒ ั นจากกอนเลือด จากอสุจิ เปนลําดับ)( 2) จงอานเถิด และองคอภิบาลของเจา ผูทรงเอือ้ เฟอยิ่ง นัก( 3) ซึ่งทรงสอนความรูดวยกับปากกา( 4) พระองคทรงสอนมนุษยในสิ่งที่เขาไมรู( 5) หามิได แทจริง มนุษยนั้น ทําการลวงละเมิด (ในบทบัญญัติแหงอัลเลาะฮฺ)( 6)เพราะเขาไดมองเห็นวาตัวเอง มีความพอเพียง แลว (ไมตองพึ่งพาอาศัยใคร)( 7) แทจริงยังองคอภิบาลของเจาเทานั้นเปนที่กลับคืน (เพื่อรับการตัดสิน)( 8) เจาเห็นไหม ผูท ี่คอยกีดกัน( 9) บาวคนหนึง่ (ของอัลเลาะฮฺ คือ นบีมุฮํามัด) เมื่อเขาทําการละหมาด(10)เจาเห็น แลวใชไหม (วาเขาจะไดรับความดีอยางไร) หากเขาตั้งมั่นอยูบนทางชี้นาํ ( 11)หรือเขาไดใช (ใหผูคน) มีความ ยําเกรง (ตออัลเลาะฮฺ)( 12)เจาเห็นแลวใชไหม (วาเขาจะมีสภาพเปนอยางไร) หากเขากลาวหาความเท็จและ ผินหลังให( 13)เขาไมรูหรือวา แทจริงอัลเลาะฮฺทรงมองเห็น( 14)หามิได ขอยืนยัน หากเขาไมยุติ แนนอนเรา จักตองกระชากกระจุกผมริมหนาผาก (ของเขา)(15)กระจุกผมริมหนาผากที่โกหก อีกทั้งกระทําความผิด ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-42-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

(16)แลวเขาก็จงเรียกสมาชิกรวมของเขาเถิด (เพื่อมาชวยเหลือเขา)(17)เราก็จะเรียก มลาอิกะฮฺซะบานิยะฮฺ (ผู เปนเจาหนาทีค่ ุมนรก) (18)หามิได เจาจงอยาเชื่อฟงเขาและเจาจงกราบกราน (ตออัลเลาะฮฺ) และจงเขาใกล (พระองค)เถิด(19) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻋﻠﻖ‬กอนเนื้อที่วิวัฒนาการที่มาจากเลือด (‫ )ﺍﻷﻛﺮﻡ‬ทรงเอื้อเฟอยิ่ง (‫ )ﻟﻨﺴﻔﻌﻦ ﺑﺎﻟﻨﺎﺻﻴﺔ‬กระชาก กระจุกผมอยางรุนแรง เปนการแสดงออกถึงความไรเกียรติไรศักดิ์ศรี (‫ )ﻧﺎﺩﻳﺔ‬สมาชิก เพื่อนรวมสมาคม (‫ )ﺍﻟﺰﺑﺎﻧﻴﺔ‬ชื่อมลาอีกะฮฺที่ไดรับการมอบหมายมาใหควบคุมดูแลพวกกาเฟรในนรก (‫ )ﻭﺍﻗﺘﺮﺏ‬เขาใกลองค อภิบาลดวยการประกอบอีบาดะฮฺ คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ ในทานบุคอรียไดบันทึกไวในซอเหียะฮฺของทานจากรายงานของทานหญิงอาอีชะฮฺรายงานไววา วะหฺยูแรกที่ทานรอซูลุลลอฮไดรับคือการฝนที่เปนความจริง ซึ่งทานไดเห็นวามีแสงลักษณะคลายแสงสวาง ในยามรุงอรุณปรากฏออกมาใหทานเห็น หลังจากนั้นตอมาทานก็มักจะปลีกตัวออกไป ทานไดปลีกตัว ออกมาหาความสงบอยูในถ้ําหิรออฺ (ดวยการอีบาดะฮตออัลลอฮ) หลายตอหลายคืนติดตอกัน และตอมาทาน ก็เพิ่มจํานวนขึ้นเรื่อยๆ จากนั้นทานก็กลับไปหาทานหญิงคอดีเยาะฮฺแลวก็กลับมาใหม จนกระทั่งอัลลอฮทรง ประทานวะหฺยูลงมายังทาน ขณะที่ทานอยูในถ้ําหิเราะมลาอิกะฮฺก็มายังทานและกลาวกับทานวา “ทานจง อาน” ทานรอซูลุลลอฮก็กลาววา “ฉันอานไมได” มลาอิกะฮฺก็เขามายังทานแลวกอดทานอยางแรง จนรูสึก แนน แลวก็คลายออก แลวสั่งทานอีกครั้งวา “จงอาน” ทานก็ตอบเชนเดิมวา ฉันอานไมได มลาอิกะฮฺก็เขามา กอดทานอีกครั้งหนึ่งจนรูสึกแนน จากทานก็คลายออกแลวก็กลาววา “จงอานดวยพระนามแหงองคอภิบาล แหงเจา....ไปจนจบ... จากฮาดิษที่กลาวมาจึงเปนหลักฐานยืนยันไดวา ซูเราะฮฺนี้เปนซูเราะฮฺแรกที่ไดรับการประทานมายัง ทาน เพื่อเปนทางนําและความเมตตาแหงอัลลอฮมายังมนุษยชาติ เปนสิ่งแรกบัญญัติแรกที่อัลลอฮทรงสื่อ มายังทาน คือการสั่งใหทานอาน และมีการกลาวถึงปากกา กลาวถึงวิชาความรู จากบัญญัติดังกลาว มุสลิม ทั้งหลายไมพินิจพิเคราะหดอกหรือ ไมคิดที่จะปฏิบัติในเรื่องเกี่ยวกับการเผยแพรความรู ศึกษาหาความรู เพราะศาสนทูตของพวกเขาซึ่งเปนผูที่อานไมออกเขียนไมได กลับไดรับการบัญชาใหทานอานและเผยแพร ความรู สวนสาระที่เหลือของซูเราะฮฺมีหลักฐานปรากฏวาเปนสวนที่ไดรับการประทานในเวลาตอมา และซู เราะฮฺแรกที่ไดรับการประทานลงมาครบทั้งหมดเลยในครั้งเดียวคือซูเราะฮฺ อัลฟาติหะฮฺ สําหรับความหมาย โดยสรุปของซูเราะฮฺก็คือ อัลลอฮไดทรงบัญชามายังทานนบีมูฮําหมัดใหทานเปนนักอาน โดยสั่งใหทานอาน ทั้ง ๆที่กอนหนานี้ทานยังอานไมได แตตอไปทานจะตองอานโองการแหงอัลลอฮที่ไดรับการประทานมายัง ทาน และอยาไดเขาใจวาเรื่องของการอานเปนเรื่องไกลตัว เพราะทานเปนผูที่อานเขียนไมได อยาไดเขาใจวา ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-43-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

การอานนั้นเปนเรื่องที่ทานทําไมได แทจริงแลวอัลลอฮคือผูทรงสรางจักรวาล ผูทรงทําใหจักรวาลทั้งหมด เกิดความสมดุล เปนผูทรงกําหนดและทรงชี้นํา พระองคทรงสรางมนุษยขึ้นมาดวยรูปรางที่สวยงาม และทรง สรางใหมนุษยเปนสิ่งถูกสรางที่มีเกียรติที่สุด เปนผูที่จะมาเปนผูควบคุมปกครองจักรวาล ทรงสรางใหมนุษย สามารถแยกแยะสิ่งตางๆ ไดดวยสติปญญา และสามารถที่จะควบคุมบังคับสิ่งตางๆ ไดหลังจากที่ไดพินิจ พิ เ คราะห พระองค ท รงสร า งมนุ ษ ย ม าจากก อ นเลื อ ดแข็ ง ๆ ที่ ไ ม มี ค วามรู สึ ก ไม ส ามารถขยั บ เขยื้ อ น เคลื่อนไหวได หลังจากนั้นก็จะกลับกลายมาเปนมนุษยที่มีความสมบูรณครบถวน ที่ถูกสรางใหออกมาใน รูปลักษณที่สวยสดงดงาม และพระองคทรงบันดาลใหทานมีความสามารถในการอาน และทรงประทาน ความรูใหกับทานไดรูในสิ่งที่ทานและประชาชาติของทานไมเคยรับรูมากอน พระองคทรงเดชานุภาพในการ ที่จะประทานอัลกุรอานมายังทาน เพื่อใหทานไดอานใหผูคนไดรับฟงอยางคอยเปนคอยไป ทั้งๆ ที่กอนหนา นี้ทานเองก็ยังไมเคยรูเลยวาคัมภีรคืออะไร การศรัทธาคืออะไร ? จงอาน...ดวยพระนามแหงองคอภิบาลของเจา ซึ่งหมายถึง ดวยเดชานุภาพแหงพระองค คําวาพระ นามของอัลลอฮ ดวยพระนามของพระองคทําใหเรารูจักพระองค และพระองคก็ทรงรอบรูถึงคุณลักษณะ แหงพระองคที่ไดทรงสรางสรรพสิ่งตางๆ และทรงกําหนดใหเกิดความสมดุล และทรงเปลี่ยนแปลงไปตาม รูปลักษณที่พระองคประสงค พระองคทรงสรางมนุษยจากกอนเลือด โอมูฮําหมัด ทานจงอาน แทจริงแลว องคอภิบาลของทานเปนผูที่เอื้อเฟอยิ่ง เพราะพระองคเปนผูใหที่มีความเอื้อเฟอยิ่ง พระองคทรงเดชานุภาพ เหนือสรรพสิ่งทั้งหมด ทรงสั่งใหทานนบีอานซ้ําหลายตอหลายครั้ง เพราะปกติแลวมนุษยทั่วไปจะเขาใจไดก็ ตอเมื่อมีการทําซ้ําหลาย ๆ ครั้ง ในเมื่อทานรอซูลุลลอฮเองอัลลอฮทรงบัญชาซ้ํามาหลายครั้ง เมื่ออัลลอฮเปน ผูทรงเอื้อเฟอยิ่ง และจะยากลําบากอะไรกับการที่จะประทานความสามารถในการอานในการทองจําอัลกุ รอานให กั บ ท า น(นบี ) โดยที่ ไ ม ต อ งผ า นการฝ ก ฝนตามปกติ ท า นจงอ า นหากท า นประสงค พระดํ า รั ส แหงอัลลอฮที่ทรงตรัสวา (Al-Qiyamat 018)

…çµtΡ#uöè% ôìÎ7¨?$$sù çµ≈tΡù&ts% #sŒÎ*sù

ดังนัน้ เมื่อเราไดสื่อคําอานของกุรอาน (แกเจาโดยมียิบรออีลเปนผูสื่อ) เจาก็จงตามระเบียบการอาน นั้น (ทุกประการ) เถิด และพระดํารัสที่วา (Al-A'la 006)

∩∉∪ #|¤Ψs? Ÿξsù šèÎø)ãΖy™

เราจะใหเจาอาน (อัลกุรอานจนจดจําขึ้นใจ) แลวเจาก็ไมลืม (อีกตลอดไป) จงอานเถิด และองคอภิบาลของเจา ผูทรงเอื้อเฟอยิ่งนัก พระองคทรงเสี้ยมสอนมนุษย พวกเขาทําการ เรียนรูดวยปากกาไดอยางไร ซึ่งเปนการเรียนรูที่ตองใชเวลาที่ยาวนาน ลักษณะดังกลาวเปนการแจงใหรูวาถึง ปรากฏการของวิทยาการ พระองคทรงสอนมนุษยในสิ่งที่พวกเขายังไมเคยรูมากอน พระองคทรงบันดาลให มนุษยมีธรรมชาติ มีสติ ปญญาที่สามารถขบคิดพินิจพิเคราะหสิ่งที่อัลลอฮทรงสรางสรรคมายังพวกเขา เพื่อใหพวกเขาคนควาศึกษาวิจัย ทดลองทดสอบเพื่อพวกเขาจะไดรูถึงความลับที่แฝงอยูในจักรวาล จะไดรถู งึ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-44-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ธรรมชาติของสรรพสิ่งตางๆ แลวนําเอาสิ่งเหลานี้มาใชประโยชน นํามาเปนสิ่งอํานวยความสะดวกใหกับ ตนเองตามความประสงคอัลลอฮทรงตรัสไววา “‫ ”ﺧﻠﻖ ﻟﻜﻢ ﻣﺎ ﰲ ﺍﻷﺭﺽ ﲨﻴﻌﺎ‬ซึ่งมีความหมายวาสรรพสิ่ง ทั้งหลายในโลกนี้อัลลอฮไดทรงสรางสรรคขึ้นมาเพื่อยังประโยชนแกพวกเจาทั้งหมด” อัลลอฮไดทรงตรัส ไววา “‫ ”ﻋﻠﻢ ﺁﺩﻡ ﺍﻷﲰﺎﺀ ﻛﻠﻬﺎ‬อัลลอฮไดทรงสอนอาดัมใหรูชื่อของสรรพสิ่งทั้งหมด จะเห็นไดวา อัลลอฮทรงสอนนบีของพระองคใหอาน ซึ่งมีความหมายทั้งโดยรวมและเฉพาะเรื่อง โดยเฉพาะการอ า นอั ล กุ ร อาน จากนั้ น พระองค ก็ ท รงชี้ แ จงว า สํ า หรั บ อั ล ลอฮแล ว พระองค คื อ ผู ท รง สรางสรรคพสิ่งทั้งหมด ทรงสรางมนุษยจากกอนเนื้อ พระองคทรงเอื้อเฟอไมเคยตระหนี่โดยเฉพาะกับศาสน ทูตของพระองค พระองคทรงเสี้ยมสอนวิทยาการตาง ๆ ดวยปากกา ทรงสอนมนุษยใหไดรับรูในสิ่งที่พวก เขายังไมเคยรูมากอน #xöôÜuŠs9” z≈|¡ΣM}$# ¨βÎ) “ξ H x.

แมจริงมนุษยนั้นเปนผูลวงละเมิด #tëô_”9$#” y7În/u‘ 4’n<Î) ¨βÎ) ∩∠∪ #o_øótGó™$# çν#u§‘ “βr&

เพราะพวกเขาไดมองเห็นวาตัวเองมีความเพียงพอแลว ไมตองพึงพาใคร แทจริงยังองคอภิบาลของ พวกเขาเทานั้นเปนที่คืนกลับ(เพื่อรับการตัดสิน) ซึ่งก็เปนความจริง...แทจริงแลวมนุษยเปนผูละเมิดคลุกคลีอยูกับความบาป เพราะพวกเขามองเห็นวา ตัวเองเพียงพอแลว ไมตองพึ่งพาผูใดแลว ตนเองมีทรัพยสินสมบัติลูกหลานมากแลว เขาจะตองตระหนัก เสมอวายังองคอภิบาลแหงพวกเขาเทานั้นที่พวกเขาจะตองคืนกลับในวันกียามะฮฺ และในวันนั้นพระองคจะ ทรงสอบสวนพวกเขาอยางละเอียดและหนักหนวง บางคนอาจจะถามเกี่ยวกับความสอดคลองลงตัวกันระหวางที่อัลลอฮทรงกลาวถึงภาพของเดชานุ ภาพแห ง อั ล ลอฮ เรื่ อ งของวิ ช าความรู ห รื อ วิ ท ยาการต า งๆ และความครบถ ว นของความโปรดปราน แหงอัลลอฮที่ทรงประทานใหกับมวลมนุษย โดยหวังวาพวกเขาจะไดไมปฏิเสธศรัทธาตอพระองค แตแลว มนุษยก็ปฏิเสธศรัทธาอีกทั้งลวงละเมิด พระองคทรงประสงคจะชี้แจงสาเหตุของการปฏิเสธศรัทธ (กุฟรฺ)วา มีสาเหตุมาจากการที่พวกเขารักเรื่องทางโลกและถูกสิ่งทางโลกหลอกลวงเพราะความโลภจนกระทั่งตองไป ทุมเทใหกับเรื่องทางโลกจนไมยอมหันมาพิเคราะห ขบคิดสัญญาณที่สําคัญตาง ๆ ของอัลลอฮ หลังจากที่อัลลอฮไดทรงบัญชามายังทานนบีใหอานคัมภีรที่พระองคทรงประทานมายังทานผานอัล วะหฺยู และชี้แจงใหพวกเขาเขาใจวาสาเหตุของการปฏิเสธศรัทธาของมนุษยนั้นมาจากเหตุใด ดวยการยกอุทา หรเปรียบเทียบดวยผูนําของกาเฟร อยางเชน อาบูยะฮัล และอายะฮฺที่อัลลอฮทรงประทานมานั้นมีความหมาย ครอบคลุมทั้งหมด ไมใชจํากัดอยูเฉพาะเรื่องของอาบูยะฮัลเทานั้น โอมูฮําหมัดจงบอกเรามาสิวา อะไรหรือที่คอยหามปรามมนุษยมิใหพวกเขายอมนอบนอมถอมตน และยอมนมัสการแกขา...ทาทีของพวกเขาชางนาประหลาดใจยิ่ง โดยเฉพาะบางคนที่ปฏิเสธศรัทธาและ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-45-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ทรยศตอองคอภิบาลของพวกเขา สกัดกั้นการทําความดีโดยเฉพาะอยางยิ่งการละหมาด จงบอกเรามาสิวา หากพวกเขาเปนพวกฝายขวา หากพวกเขาเปนพวกยุคเริ่มแรกที่ไดรับทางนํา เมื่อพวกเขาสั่งใชกันใหมีความ ยําเกรงตออัลลอฮ ใหทําความดี เปนเรื่องนาประหลาดใจใหมกับการที่พวกเขาจะไดรับการตอบแทนดวย กุศลผลบุญที่ยิ่งใหญอยางสรวงสวรรคที่มีชื่อเรียกวา “อัลมะวา” จงบอกเรามาสิ ว า (ทํ า ไม)มนุ ษ ย ถึ ง ได คั ด ค า นต อ ต า นและหั น หลั ง ให กั บ สั จ ธรรม ด ว ยการไป สนองตอบอารมณความตองการของตนเองเสียทุกอยาง พวกเขาไมรูดอกหรือวา แทจริงแลวอัลลอฮทรง มองเห็นทั้งหมด พวกเขาควรจะยอมรับยอมจํานนเสียดวยวา แทจริงแลวอัลลอฮทรงรอบรูถึงสิ่งตางๆ ทั้งที่ เรนลับและเปดเผย และพระองคก็จะทรงตอบแทนการกระทําของพวกเขาทั้งหมด หากพวกเขาทําดี พวกเขา ก็จะไดรับการตอบแทนแตสิ่งดี ๆ แตหากทําชั่วเขาก็จะไดรับการตอบแทนดวยสิ่งเลวราย ฉะนั้นพวกทาน ทั้งหลายจงกลับคืนสูอัลลอฮ จงขอกุลาโทษตอพระองค และจงประพฤติปฏิบัติแตสิ่งที่พระองคโปรดปราน หามิได..คําคํานี้ใชสําหรับเตือนเพื่อใหหันมาใสใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่ทรยศตออัลลอฮ การที่ พระองคทรงสาบานเชนนี้ ก็เพื่อที่จะใหพวกเขายุติ เพราะหากพวกเขาไมยอมยุติ จากการกกระทําที่เปนการ ทรยศอัลลอฮก็จะทรงลงโทษพวกเขาดวยโทษที่แสนสาหัส จะทรงทําใหพวกเขาพบกับความอัปยศที่สาสม กับความหยิ่งยะโสโอหังของพวกเขาขณะเมื่ออยูบนโลกดุลยา ซึ่งเรื่องดังกลาวไมใชเรื่องยากสําหรับอัลลอฮ และในวันกียามะฮฺ พระองคจะทรงกระชากกระจุกผมพวกเขาอยางรุนแรง อันหมายถึงกระจุกผมริมหนาผาก ของพวกทรยศ ที่กลาวหาวาสัจธรรมเปนเท็จ เพราะถูกสิ่งทางโลกหลอกลวงเอาวาจะสามารถชวยปกปองให รอดพนจากการลงโทษของอัลลอฮ ผูที่สิ่งที่มีอยูบนพื้นโลกและบนทองฟาไมสามารถที่จะสกัดกั้นพระองค ได ความเขาใจของพวกเขาเหลานี้ทั้งหมดลวนแลวแตเปนเท็จโดยไมตองสงสัย พวกเขากระทําผิด เพราะ พวกเขาลวงละเมิดขอบเขต อีกทั้งยังไปลวงละเมิดผูอื่น โดยเฉพาะกับผูที่กระทําแตความดีผูมีแตความสัจจริง อัลลอฮจะทรงลงโทษเจาของกระจุกผมดวยโทษที่อัปยศอดสูที่สุด พวกเขาจงเรียกสมาชิกรวมของพวกเขา เพื่อใหมาชวยเหลือใหพวกเขารอดพนจากการลงโทษ ..แตหาเปนเชนนั้นไม เราเองจะเรียกมลาอิกะฮฺซาบานิ ยะฮฺผูทําหนาที่ควบคุมนรกยะฮันนัมใหมาชวยผลักพวกเขา ในวันที่มีการเรียกพวกเขาลงสูนรก ในวันนั้น พวกเขาจะไมมีผูชวยเหลือที่จะมาใหการสงเคราะหพวกเขาเลยแมแตสักคนเดียว หามิได....(ปลอยใหพวกกาเฟรกระทําอะไรที่พวกเขาอยากจะกระทําตอไปเถิด) อยาไดไปขัดขวาง พวกเขาเลย โอศาสนทูตแหงอัลลอฮ แตทานจงกราบนมัสการตออัลลอฮตลอดไปและจงเขาใกลพระองคเถิด ..

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-46-

ซูเราะฮฺอัลกอดัร ซูเราะฮฺอัลกอดัรเปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺมีความหมายวา คืนแหงเกียรติยศ มีทั้งหมด 5 อายะฮฺ สาระ ทั้งหมดเปนการกลาวถึงการเริ่มตนของการประทานอัลกุรอาน วาไดรับการประทานมาในคืนที่เรียกวา ลัยละ ตุลกอดัร คืนนั้นเปนคืนที่มลาอีกะฮฺและวิญญาณบริสุทธิ(มลาอิกะฮฺญิบรีล) ไดรับการบัญชาใหลงมายังโลก คืนนั้นเปนคืนที่สงบสันติปลอดภัยจากสิ่งชั่วรายทั้งหมด ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬ ôÏiΒ ×öy{ Í‘ô‰s)ø9$# ä's#ø‹s9 4®Lym }‘Ïδ íΟ≈n=y™

∩⊄∪ Í‘ô‰s)ø9$# ä's#ø‹s9 $tΒ y71u‘÷Šr& !$tΒuρ

∩⊇∪ Í‘ô‰s)ø9$# Ï's#ø‹s9 ’Îû çµ≈oΨø9t“Ρr& !$¯ΡÎ)

∩⊆∪ 9ö∆r& Èe≅ä. ÏiΒ ΝÍκÍh5u‘ ÈβøŒÎ*Î/ $pκÏù ßyρ”9$#uρ èπs3Íׯ≈n=yϑø9$# ãΑ¨”t∴s?

∩⊂∪ 9öκy− É#ø9r&

∩∈∪ Ìôfxø9$# Æìn=ôÜtΒ

ความหมายของซูเราะฮฺ แทจริงเราไดลงอัลกรุอานมาให ในคืนแหงเกียรติยศ(หมายเหตุ คืนแหงเกียรติยศ “ลัยลาตุลกอดริ” เปนคืนที่ลงอัลกุรอานแกนบีมุฮําหมัด ซ.ล. คืนดังกลาวอยูในทุก ๆ เดือนรอมดอม สวนจะเปนคืนใดไมมีใคร ทราบได สวนมากคาดวานาจะเปนคืนคี่นับแต 21 เปนตนไป และเปนที่รูกันแพรหลายวา คืนที่ 27 เปนคืนทีม่ ี โอกาสมากวาคืนอื่นๆ จึงนิยมปฏิบัติ ศาสนกิจอยางจริงจังในคืนนั้น...แตความจริงแลวการทําอิบาดะฮฺใน เดือนรอมดอม ใหทํามากๆ ในทุก ๆ คืน และยิ่งเพิ่มมากขึ้นในครึ่งหลังของเดือนจนกระทั่งสิ้นเดือน(1) และ อันใดหรือที่ทําใหเจารูวา อะไรคือคืนแหงเกียรติยศ ?(2)คืนแหงเกียรติยศประเสริฐกวา (คืนธรรมดา) ถึงหนึ่ง พันเดือน(3) มลาอิกะฮฺและวิญญาณบริสุทธิ์ (ญิบรีล) จะลงกันมาในคืนนั้น โดยพระอนุมัติแหงองคอภิบาล ของพวกเขา เพื่อ (นํามาซึ่ง) ทุกๆ กิจการ(4)มันเปนคืนแหงศานติ (ที่มีความมงคลยิ่ง) ตราบถึงแสงอรุณขึ้น ) (5) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻟﻴﻠﺔ ﺍﻟﻘﺮﺩ‬คืนแหงเกียรติยศ คืนที่มีความสูงสง (‫ )ﺍﻟﺮﻭﺡ‬หมายถึงมลาอิกะฮฺญิบรีล อรรถาธิบายซูเราะฮฺ อัลลอฮไดทรงประทานอัลกุรอาน (หมายถึงเริ่มประทานมายังทานนบี) ในคืนแหงเกียรติยศ ซึ่งเปน ค่ําคืนที่มีศิริมงคลมากมาย เพราะในคืนนั้นเปนคืนที่อัลลอฮทรงประทานอายะฮฺตางๆ ที่จะมาชี้แจง คืนนั้น เปนค่ําคืนของเดือนรอมฎอน เพราะอัลลอฮทรงตรัสไววา “ ‫”ﺷﻬﺮ ﺭﻣﻀﺎﻥ ﺍﻟﺬﻱ ﺍﻧﺰﻝ ﻓﻴﻪ ﺍﻟﻘﺮﺁﻥ‬ เดือนรอมฎอนคือเดือนที่อลั ลอฮทรงประทานอัลกุรอานลงมา ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-47-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

และคืนลัยละตุลกัดรฺ คือค่ําคืนที่อัลลอฮเริ่มประทานอัลกุรอานลงมา เพื่อเปนการยกยองศาสนาอัน บริสุทธิ์ของพระองค เพื่อเปนขอกําหนดใหกับการเรียกรองเผยแพรศาสนาใหแกศาสนทูตของพระองคผูทรง เกียรติ มันคือคืนแหงเกียรติยศ คืนที่ทรงเกียรติสูงสง เพราะอัลลอฮทรงประทานคัมภีรมายังศาสนทูตของ พระองค อีกทั้งเปนการใหเกียรติตอมวลมนุษยดวยสาระธรรมแหงฟากฟา และเปนสาระธรรมฉบับสุดทาย คําชี้แจงถึงเกียรติและความสูงสงของค่ําคืนนี้อัลลอฮไดทรงตรัสไววา “‫ ”ﻭﻣﺎ ﺍﺩﺭﺍﻙ ﻣﺎ ﻟﻴﻠﺔ ﺍﻟﻘﺪﺭ‬อันใดหรือ ที่ทําใหทานรูวา อะไรคือคืนแหงเกียรติยศ ? ไมมีใครรูได ไมมีใครรูถึงความล้ําเลิศของคืนวันนั้น จะรูไดก็ จากสิ่งที่จะนํามากลาวถึง ซึ่งพระองคทรงชี้แจงวา คืนวันนั้นจะดีกวาคืนอื่น ๆ เปนพันเดือน ก็ไมใชเรื่องที่นา ประหลาดใจอะไร ก็คืนนั้นเปนคืนที่อัลลอฮทรงเริ่มการประทานอัลกุรอาน คืนนั้นจึงเปนคืนที่เต็มไปดวย ความเปนศิริมงคล พระองคทรงใหคืนนั้นมีความแตกตาง มีความเปนเลิศในทุกเรื่องเพราะเปนบัญชาจากผู ทรงปรีชาญาณและทรงรอบรูยิ่ง คืนนี้มีความเปนเลิศกวาคืนอื่นถึงหนึ่งพันเดือน และเปนคืนที่ดีที่สุดเทาที่ เคยมีมา เปนคืนที่สูงสง การกระทําความดีในคืนนั้นจะดีกวาการกระทําที่กระทําในชวงเวลาอื่น ๆ เปนพัน เทา จากนั้นอัลลอฮก็ทรงเริ่มชี้แจงเกี่ยวกับคุณคาของคืนแหงเกียรติยศบางสวนโดยแจงวา ในคืนนั้น พระองคจะทรงบัญชาใหมลาอีกะฮฺลงมาโดยเฉพาะมลาอิกะฮฺญิบรีล ซึ่งรับหนาที่เปนผูนําพาวะหฺยู โดยการ อนุญาตขององคอภิบาลแหงพวกเขา เพื่อนํามาซึ่งทุกกิจการอันปรีชาญาณมายังทานนบี  และทานเปนคน แรกที่ไดมองเห็นมลาอิกะฮฺญิบรีลและบรรดามลาอิกะฮฺคนอื่นๆ ที่มาพรอมกับทานในคืนนั้น คืนที่อัลลอฮ ทรงใหมลาอิกะฮฺลงมาจากโลกของพวกเขามาสูโลกดุลยา โดยนําอัลวะหฺยูมายังทานรอซูลุลลอฮ และคืนนี้ คือคืนที่มีแตความสงบปลอดภัย จึงไมใชเรื่องแปลก ที่อัลลอฮจะทรงเริ่มประทานอัลกุรอานมาในคืนนั้น อัล กุรอานซึ่งเปนที่มาแหงกฎหมายและอุดมการณแหงอิสลาม มีฮาดิษหนึ่งรายงานวา ทานนบี  ไดออกมาเพือ่ จะบอกกลาวเรื่องราวเกี่ยวกับคืนแหงเกียรติยศบังเอินมาพบวามีชายสองคนทะเลาะกันอยู ทานก็ลืมเรื่องนั้น ไป” และคืนลัยละตุลกอดัรฺเปนคืนที่เปนที่มาแหงอิสลามเปนคืนที่มีแตความสงบปลอดภัยไปจนกระทั่งถึง เวลาเชาของวันใหม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-48-

ซูเราะฮฺบัยยินะฮฺ มีเรียกอีกชื่อหนึ่งวา ซูเราะฮฺอัลบะรียะฮฺหรืออะลัมยะกุน มีทั้งหมด 8 อายะฮฺ สาระสวนใหญเปนการ ตอบโตตอพวกกาเฟรมุชริกีนและชาวคัมภีร และเปนการชี้แจงถึงความเปนสัจธรรมของสาระธรรมที่ทาน นบีมูฮําหมัดนํามาเผยแพร จากนั้นก็จะเปนการกลาวถึงกาเฟรอื่น ๆ และกลาวถึงผูที่มีความศรัทธามั่นตอ ทานนบี  ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

∩⊇∪ èπuΖÉit7ø9$# ãΝåκuÏ?ù's? 4®Lym tÅj3xΖãΒ tÏ.Îô³ßϑø9$#uρ É=≈tGÅ3ø9$# È≅÷δr& ôÏΒ (#ρãxx. tÏ%©!$# Çä3tƒ óΟs9 (#θè?ρé& tÏ%©!$# s−§xs? $tΒuρ

∩⊂∪ ×πyϑÍh‹s% Ò=çGä. $pκÏù

tÏe$!$# ã&s! tÅÁÎ=øƒèΧ ©!$# (#ρ߉ç6÷èu‹Ï9 ωÎ) (#ÿρâÉ∆é& !$tΒuρ È≅÷δr& ôÏΒ (#ρãxx. tÏ%©!$# ¨βÎ) tÏ%©!$# χÎ)

∩⊄∪ Zοt£γsÜ•Β $Zçtྠ(#θè=÷Gtƒ «!$# zÏiΒ ×Αθß™u‘ ∩⊆∪ èπuΖÉit7ø9$# ãΝåκøEu!%y` $tΒ Ï‰÷èt/ .ÏΒ ωÎ) |=≈tGÅ3ø9$#

∩∈∪ ÏπyϑÍhŠs)ø9$# ßƒÏŠ y7Ï9≡sŒuρ 4 nο4θx.¨“9$# (#θè?÷σãƒuρ nο4θn=¢Á9$# (#θßϑ‹É)ãƒuρ u!$xuΖãm

∩∉∪ Ïπ−ƒÎy9ø9$# •Ÿ° öΝèδ y7Íׯ≈s9'ρé& 4 !$pκÏù tÏ$Î#≈yz zΟ¨Ψyγy_ Í‘$tΡ ’Îû tÏ.Îô³ßϑø9$#uρ É=≈tGÅ3ø9$#

5βô‰tã àM≈¨Ζy_ öΝÍκÍh5u‘ y‰ΖÏã ôΜèδäτ!#t“y_

∩∠∪ Ïπ−ƒÎy9ø9$# çöy{ ö/ãφ y7Íׯ≈s9'ρé& ÏM≈ysÎ=≈¢Á9$# (#θè=ÏΗxåuρ (#θãΖtΒ#u

zÅ´yz ôyϑÏ9 y7Ï9≡sŒ 4 çµ÷Ζtã (#θàÊu‘uρ öΝåκ÷]tã ª!$# zÅ̧‘ ( #Y‰t/r& !$pκÏù tÏ$Î#≈yz ã≈pκ÷ΞF{$# $uηÏGøtrB ÏΒ “ÌøgrB ∩∇∪ …çµ−/u‘

ความหมายของซูเราะฮฺ ไมปรากฏวาบรรดาพวกไรศรัทธา จากชาวคําภีรและบรรดาจําพวกตั้งภาคี จะหลุดพน (จากความเชือ่ อันงมงายในพระเจาหลายองค) จนกวาหลักฐานอันชัดแจงจะมาถึงพวกเขา(1) นั่นคือ ศาสนฑูตผูหนึ่งจากอัล เลาะฮฺที่อานคําภีรอันบริสุทธิ์ (ใหพวกนั้นฟง) (2)ในนั้นมีบทบัญญัติตางๆ อันเที่ยงตรง (3)และบรรดาผูไดรับ คําภีร (คือพวกยิว-คริสต) มิได(มีความเห็น) แตกแยกกันเลย นอกจากภายหลังจากหลักฐานอันชัดแจงไดมา ยังพวกเขาแลว (4) และพวกเขามิถูกบัญชามา (เพื่ออื่นใด) นอกจากเพื่อพวกเขาทําการนมัสการตออัลเลาะฮฺ โดยพวกเขามีความบริสุทธิ์ใจแทจริงตอพระองคในการนมัสการ อีกทั้งพวกเขาเปนผูทรงภูมิธรรม (ไมเอน เอียงไปจากหลักอิสลาม) และเพื่อพวกเขาทําการละหมาดและบริจาคทานซะกาต และนั้นแหละ คือ ศาสนา แหงความเที่ยงตรง (5) แทจริงบรรดาผูไรศรัทธาจากชาวคําภีรและพวกตั้งภาคี ยอมอยูในนรกยะฮันนัม โดย เขาประจําในนั้น (เปนนิรันดร) พวกเหลานั้นเปนมนุษยที่เลวรายยิ่ง ( 6) แทจริงบรรดาผูศรัทธา และประพฤติ สิ่งดีงามตางๆ พวกเหลานั้นเปนมนุษยที่ประเสริฐที่สุด( 7) สิ่งตอบแทนของพวกเขา ณ องคอภิบาลแหงพวก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-49-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เขา คือ สวรรคอันอมตะ ซึ่งมีหลายธารน้ําไหลอยู ณ เบื้องใตของมัน พวกเขาอยูในนั้นโดยนิรันดร อัลเลาะฮฺ ทรงยินดีตอพวกเขา และพวกเขาก็ยินดีในอัลเลาะฮฺ นั่นแหละ (สิ่งตอบแทน) สําหรับผูที่เกรงกลัวองคอภิบาล ของเขา( 8) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻣﻨﻔﻜﲔ‬หลุด พนจากการเปน ผูปฏิเสธของพวกเขาจนสามารถละทิ้งความเชื่อของพวกเขาไป ทั้งหมด (‫ )ﺍﻟﺒﻴﻨﺔ‬หลักฐานที่ชัดเจนกระจางแจงที่สามารถแยกแยะไดวาสิ่งใดเปนความจริงสิ่งใดเปนความเท็จ

(‫ )ﻣﻄﻬﺮﺓ‬สะอาดปราศจากสิ่งแปลกปลอม (‫ )ﻗﻴﻤﺔ‬เที่ยงตรง (‫ )ﺣﻨﻔﺎﺀ‬ความบริสุทธิ์ ปราศจากสิ่งที่เปนโมฆะ (‫ )ﺍﻟﻘﻴﻤﺔ‬เที่ยงตรง เที่ยงธรรมถูกตอง คัมภีรที่ถูกตอง ประชาชาติที่ถูกตองเที่ยงธรรม(‫ )ﺍﻟﱪﻳﺔ‬สิ่งถูกสราง หรือมนุษย (‫ )ﺟﻨﺎﺕ ﻋﺪﻥ‬สวรรคอันอมตะ ที่ใชเปนที่พักพิง พํานัก คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ อัลลอฮทรงแตงตั้งทานนบีมูฮําหมัดมายังมนุษยชาติทั้งหมด ทรงแตงตั้งมาพรอมกับทางนําและ ศาสนาที่เที่ยงแท เพื่อนําพาพวกเขาออกไปจากความมืดมนของความเขลา นําพวกเขาออกมาจากความเสื่อม เสียของหลักความเชื่อ จากความอัปยศที่เกิดจากการเลียนแบบที่ตามแบบหูหนวกตาบอด สวนผูปฏิเสธที่มา จากกลุมของชาวคัมภีรหรือพวกมุชริกีน(บรรดาผูตั้งภาคี) ตางก็ยังอยูหางไกลจากสัจธรรมและศาสนาที่ ถูกตอง สําหรับชาวคัมภีร หลังจากที่พวกเขาหางไกลออกมาจากยุคสมัยของทานนบีมูซา ทานนบีอีซา พวก เขาไดบิดเบือนพระคําของทานจากความถูกตอง จนกระทั่งลืมความถูกตองเดิมที่เคยมีอยู พวกเขายึดเอา นักบวชและปุโรหิตของพวกเขามาเปนพระเจาอื่นนอกเหนือจากอัลลอฮ จนกระทั่งศาสนาของพวกเขาที่ แทจริงถูกทําใหสับสนปนเปความหลงผิดแมกระทั่งเรื่องราวงาย ๆ สวนบรรดาผูตั้งภาคีที่ไมศรัทธาตอเอกานุ ภาพ และไมยอมศรัทธาตอการฟนคืนชีพ อยางเชนพวกมุชริกีนเมกกะ พวกเขาตางถลําลึกอยูกับโมฆะธรรม จนถึงขีดสุด ทําใหศาสนาของพวกเขาเปนศาสนาที่ปลอมแปลงมาจากหลักความเชื่อของญาฮีลียะฮฺ โดยที่ พวกเขาเองเขาใจวาเปนศาสนาของทานนบีอิบรอฮีมซึ่งเปนที่รักของอัลลอฮ และอัลลอฮทรงรูดีวาทาน นบีอิบรอฮีมนั้นไมเกี่ยวของกับความเขาใจของพวกมุชริกีนเลย บรรดาผู ป ฏิ เ สธที่ เ ป น ชาวคั ม ภี ร พวกเขาไม ไ ด เ ป ด เผยให พ วกมุ ช รี กี น อาหรั บ ได รู ว า จะมี ก าร แตงตั้งศาสนทูตซึ่งเปนชาวอาหรับมายังพวกเขา โดยที่รายละเอียดเกี่ยวกับศาสดาทานนี้มีบันทึกปรากฏอยู ในคัมภีรของพวกเขาทั้งเตารอฮและอิลญีล ครั้นเมื่อนบีทานนี้มาปรากฏพวกเขาก็ไมรูจักวาเปนนบีที่ไดรับ การแตงตั้งมา (พวกเขาปฏิเสธศรัทธาตอทาน) ดวยเหตุนี้เองจึงมีการกลาวถึงพวกชาวคัมภีรไวกอนเปน อันดับแรกวา พวกเขานั้นมีความผิดรายแรงกวาพวกมุชรีกีนที่ไมเคยรูถึงความเปนจริง (ที่ปรากฏอยูในคัมภีร เกากอน) แตพวกเขาเหลานี้ (ชาวคัมภีร)รูจักเขาเปนอยางดี แตกลับปฏิเสธศรัทธาทั้งยังคัดคานตอตานทาน เพราะความริษยา พวกเขาไมเคยหลุดพนออกมาจากโมฆะธรรมของพวกเขา แมกระทั้งวาจะมีคําชี้แจงที่ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-50-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

กระจางชัดมาปรากฏแลวก็ตาม หลักฐานอันเดนชัดในรูปแบบตาง ๆ ไดปรากฏออกมาตอหนาแลว หลักฐาน ตาง ๆ ที่วานั้นคืออะไร หลักฐานที่วานั้นก็คือทานศาสนทูตที่มาจากอัลลอฮ ซึ่งในตัวของศาสนทูตเองก็มี หลักฐานปรากฏชัดที่แสดงใหเห็นวาศาสนาของทานนั้นเปนศาสนาที่เที่ยงแท และตัวทานเองคือผูที่ซื่อสัตย เปนตัวอยางแบบอยางแหงจริยธรรมอันดีงาม เที่ยงตรงเปนความมหัศจรรยหรืออภินิหารที่พูดไดดวยความ สัจจริง ทานเปนผูที่อัลลอฮทรงประทานอัลกุรอานมาใหโดยที่ทานสามารถทองจําไดอยางขึ้นใจ อานคัมภีร อันบริสุทธิ์ปราศจากขอบกพรอง ปราศจากสิ่งแปลกปลอมและความมุสา คัมภีรนั้นคือคัมภีรที่ถูกตองเที่ยง ธรรมไมมีสิ่งบิดพริ้วและไมมีขอบกพรองปรากฏอยูเลยแมแตนอย . สําหรับความมุงหมายของคําวาคัมภีรใน ที่นี้ นักวิชาการบางทานไดใหทัศนะไววาหมายถึงสาระธรรมตาง ๆ ที่เคยปรากฏอยูในคัมภีรของทานนบีมซู า และทานนบีอิบรอฮีมที่ถูกตองและแทจริง ซึ่งมีการนํามากลาวถึงไวในอัลกุรอานอีกครั้งหนึ่ง หรืออาจจะ หมายถึงซูเราะฮฺตาง ๆ ของอัลกุรอานทั้งหมด ซึ่งคลายกับวาในแตละซูเราะฮฺเปนคัมภีรเลมหนึ่งที่มีเอก ลักษณะเฉพาะในตัวของมันเอง หรือคําวาคัมภีรในที่นี้อาจจะหมายถึง หลักการ บัญญัติ ขอกฏหมายตาง ๆ ของอิสลาม ที่สิ่งเหลานี้ทั้งหมดคือคัมภีรที่ถูกตอง ไมมีขอผิดพลาดและไมมีสิ่งที่เปนโมฆะปรากฏอยูเลย แมแตนอย ในอัลกุรอานไมมีสิ่งใดที่เปนความเท็จและมุสา อัลลอฮไดทรงตรัสยืนยันไววา (Al-Kahf 001)

∩⊇∪ 2 %y`uθÏã …ã&©! ≅yèøgs† óΟs9uρ |=≈tGÅ3ø9$# Íνωö7tã 4’n?tã tΑt“Ρr& ü“Ï%©!$# ¬! ߉÷Κptø:$#

มวลการสรรเสริญเปนของอัลเลาะฮฺผูทรงลงคัมภีร (อัลกุรอาน) ใหแกบาวของพระองค และพระองค ไมทรงบันดาลใหอัลกุรอานนั้นถูกบิดเบือน เมื่อมีการแตงตั้งศาสนทูตมาเปนผูเผยวัจนและความไรศรัทธาของบรรดาชาวคัมภีรจะสิ้นสุดหรือไม กับพระดํารัสแหงอัลลอฮที่ทรงตรัสไววา “นอกจากภายหลังจากหลักฐานอันชัดแจงไดมายังพวกเขาแลว” คําตอบก็คือ การที่อัลลอฮทรงสงทานนบี  มายังพวกเขานั้นคลาย ๆ กับวาทําใหเกิดการกระทบกระเทือน แกการตั้งภาคีตออัลลอฮอยางหนัก ทําใหหลักความเชื่อของบรรดาพวกมุชรีกีนสั่นสะทาน จิตใจของบรรดาผู โงเหลาทั้งหลายที่เคยปดสนิทก็จะเปดออก เสนทางเดินที่เคยมืดมิดก็จะไดรับการสองสวางจนสามารถรูได ในทันทีวาสิ่งใดถูกสิ่งใดผิด ฉะนั้นการแตงตั้งนบีมายังโลกจึงเปนเสมือนการการมากําหนดขอบเขตที่ ชัดเจนระหวางสองยุคสองสมัยใหปรากฏ และนั่นคือความจริงที่อัลลอฮทรงตรัสใชคําวา “‫ ”ﺣﱴ‬ไวในอา ยะฮฺ แตหากจะถามวาพวกเขาทั้งหมดหันมาศรัทธาหรือไม เปลาเลยมีบางสวนเทานั้นที่ยอมศรัทธาตอทาน นบี แตบางกลุมบางคนกลับยืนยันคัดคานตอตานแนวทางของอัลลอฮ อีกทั้งยังพยายามหาทางหาวิธีที่จะ บิดเบือนเพื่อนําพามนุษยออกไปจากแนวทางของทานนบี ดวยเหตุนี้เองอัลลอฮจึงทรงปลอบใจทานศานทูต ของพระองควา การปฏิเสธ การตอตานของมนุษยนั้นเปนสันดานของพวกเขา เปนธรรมชาติที่มีอยูในตัวของ พวกเขา ซึ่งสถานการณเชนนี้พี่นองของทานที่เปนศาสนทูตมากอนทานลวนแลวแตไดประสบพบเจอปญหา ในลักษณะเดียวกันนี้มาแลวทั้งหมด เมื่อพวกเขามาเผยแพรสาระธรรมมนุษยก็จะแตกออกเปนฝกเปนฝาย มี สวนยอมรับยอมศรัทธา บางกลุมบางคนก็ไมยอมศรัทธา ทาน (ซึ่งหมายถึงนบีมูฮําหมัด)ก็ไมไดแตกตางไป จากบรรดานบีทานกอน ๆ และบรรดาชาวคัมภีรเองก็มีจุดยืนตอศาสดาของพวกเขาที่แตกตางกันออกไป จน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-51-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

กระทั้งวามีหลักฐานที่ชัดแจงซึ่งหมายถึงหลักจากที่มีการแตตั้งศาสนทูตใหมาปรากฏยังพวกเขาแลวก็ยังมี การปฏิเสธตอตานอยูอีกมากมาย เปนเรื่องที่นาประหลาดใจยิ่งนักกับจุดยืนของพวกชาวคัมภีรที่มีตอเจา (นบีมูฮําหมัด) วาทําไมพวก เขาจึงมีจุดยืนตอเจาเชนนี้ หรือวาเจานําเรื่องใหมมาประกาศแกพวกเขา ? ก็เปลาเลย หรือวาทานไปสั่งใชพวก เขาใหกระทําสิ่งที่ไมดีแลวหามปรามในสิ่งที่ดี ไมไดใชใหพวกเขาอีบาดะฮฺตออัลลอฮแตเพียงพระองคเดียว ไมไดใชใหพวกเขาแสดงความบริสุทธิ์ใจตออัลลอฮ ไมไดใชใหพวกเขาละทิ้งการตั้งภาคีตอพระองค หรือวา ทานไดแนะนําพวกเขาใหหันเหไปสูการทําบาปทํากรรม ทําสิ่งที่เปนโมฆะ ก็ทานมีแตใชใหพวกเขาทําการ ละหมาดตออัลลอฮ ทําการบริจาคทาน แลวทําไมพวกเขาจึงไมยอมศรัทธา ? หากเมื่อพวกเขาเปนผูที่ยึดมั่น ศรัทธาตอศาสนาที่ถูกตอง ศาสนาที่ถูกตองของพวกเขาก็เรียกรองใหกระทําในเรื่องนี้ดวยเชนกัน มีการ เรียกรองใหพวกเขาศรัทธาตอทานนบีมูฮําหมัด ซึ่งมาเรียกรองเชิญชวนใหทําการอีบาดะฮฺและแสดงความ บริสุทธิ์ใจตออัลลอฮ และนั่นก็คือศาสนาที่เที่ยงธรรม ศาสนาที่ถูกตอง ศาสนาที่ไมไดบิดเบือนหรือหันเหไป จากศาสนาเดิมของประชาชาติเกากอนที่ยังคงอยูกับความดีความถูกตองแตอยางใด หรือวาพวกเขาเหลานี้ ไดรับการอนุ ญ าตให ผอนปรนไดรับการผอนผั น ใหละทิ้งอิ สลามได ?หรื อวา พวกเขาได รับอนุ ญาตให คัดคานศาสนทูตของอิสลามได ? แลวอะไรเลาคือสิ่งตอบแทนสําหรับผูที่ปฏิเสธตอบัญญัติซึ่งมีบทบัญญัติที่งาย ๆ ของอิสลามเหลานี้ อะไรเลาคือการตอบแทนที่จะตอบแทนใหกับผูที่ยอมรับตอบทบัญญัติ ยอมศรัทธายอมเชื่อตอศาสนทูตผู เผยแพรบทบัญญัติเหลานี้ ? สําหรับการตอบแทนที่จะตองแทนใหกับบรรดาชาวคัมภีรผูปฏิเสธทั้ง ๆที่พวก เขานาจะเปนชนกลุมแรกที่จะเขารับนับถืออิสลาม และการตอบแทนที่จะตอบแทนใหกับบรรดามุชริกีนที่ กราบไหวบูชารูปเจว็ด กราบไหวนมัสการตอเทวรูปบูชาที่ทํามาจากอนหิน คือ พวกเขาจะเจาสูนรกยะฮันนัม และจะพํานักอยูในนั้นอยางถาวร และการตอบแทนที่พวกเขาไดรับในลักษณะนี้ไมใชเรื่องแปลก ในเมื่อพวก เขาเปนสิ่งถูกสรางที่เลวรายที่สุด เปนพวกที่กลาวหาวาสาระธรรมของอัลลอฮเปนเท็จ อีกทั้งพยายามตอตาน คัดคานสกัดกั้นแนวทางของพระองค กลาวหาวาคัมภีรของพระองคเปนเท็จ ไมยอมศรัทธาตอศาสนทูตแหง พระองค อีกทั้งยังกลาวหาวาเปนเท็จ และยังจะกลั่นแกลงขับไลไสสงและยังทําสงครามกับทาน ก็สมควร แลวที่พวกเขาจะตองไดรับการลงโทษในลักษณะนี้ สวนผูที่ยอมรับยอมศรัทธาตออัลลอฮตอวันกียามะฮฺ ยอมเชื่อตอศาสนทูตของอัลลอฮ พวกเขาก็จะ ไดรับการตอบแทนที่ดีอยางแนนอน การตอบแทนของพวกเขาอยูที่อัลลอฮ (ซึ่งเปนการตอบแทนที่ดีที่สุด) นั่นคือสรวงสวรรคที่พวกเขาใชเปนที่พํานักอยูอยางถาวร เปนสรวงสวรรคที่มีน้ําไหลอยูภายใตของมันอยาง รมรื่น ไมมีสิ่งใดมารบกวนพวกเขาอีกเลย ซึ่งก็ไมใชเรื่องที่จะตองประหลาดใจดวยเชนกัน เพราะอัลลอฮทรง โปรดปรานทรงพอพระทัยตอพวกเขา ตอการกระทําของพวกเขาที่พวกเขาไดประพฤติปฏิบัติมา และเมื่อ พระองคทรงยินดีตอพวกเขา พระองคก็จะยกยองสรรเสริญพวกเขา ทรงประทานผลบุญใหกับพวกเขา พวก เขาก็ยินดีตอพระองค เพราะพวกเขามีความสุขดีใจกับพระเมตตาธิคุณแหงพระองคที่ทรงตอบแทนใหกับ พวกเขาดวยความโปรดปรานอันยิ่งใหญ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-52-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

และนั่นคือชัยชนะที่ยิ่งใหญสําหรับผูที่มีความยําเกรงตอองคอภิบาลของพวกเขา..โอมนุษยทั้งหลาย สูเจาพึงระวัง..และจงประพฤติปฏิบัติแตสิ่งดี ๆ เพื่อพวกเจาทั้งหลายจะไดรับการตอบแทนที่ยิ่งใหญในวัน โลกหนาตอไป....

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-53-

ซูเราะฮฺ อัซซัลซะละฮฺ เปนซูเราะฮฺมะดานียะฮฺ แตนกั วิชาการบางทานก็กลาววาเปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 8 อายะฮฺ สาระในซูเราะฮฺอัลลอฮทรงยืนยันวาคุณงามความดีที่ประพฤติปฏิบัตินนั้ ไมวาจะมากหรือจะนอยเพียงใดก็ จะไดรับการตอบแทนจากอัลลอฮ และการกระทําที่ไมดกี ็เชนกันไมวาจะมากนอยเพียงใด ผูกระทําก็จะไดรับ การตอบแทนจากอัลลอฮในวันกียามะฮฺดวยเชนกัน ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

$tΒ ß≈|¡ΡM}$# tΑ$s%uρ

∩⊄∪ $yγs9$s)øOr& ÞÚö‘F{$# ÏMy_t÷zr&uρ

â¨$¨Ψ9$# â‘߉óÁtƒ 7‹Í≥tΒöθtƒ tΑ$s)÷WÏΒ ö≅yϑ÷ètƒ tΒuρ

∩∈∪ $yγs9 4yr÷ρr& š−/u‘ ¨βr'Î/

∩⊇∪ $oλm;#t“ø9Η ÞÚö‘F{$# ÏMs9Ì“ø9ã— #sŒÎ) ∩⊆∪ $yδu‘$t7÷zr& ß^Ïd‰ptéB 7‹Í×tΒöθtƒ

∩∠∪ …çνttƒ #\ø‹yz >六sŒ tΑ$s)÷WÏΒ ö≅yϑ÷ètƒ yϑsù

∩⊂∪ $oλm;

∩∉∪ öΝßγn=≈yϑôãr& (#÷ρuãÏj9 $Y?$tGô©r& ∩∇∪ …çνttƒ #vx© ;六sŒ

ความหมายของซูเราะฮฺ เมื่อแผนดินถูกทําใหไหวอยางรุนแรง(1) และมันไดคายวัตถุธาตุอันหนักอึ้งของมันออกมา (ให ปรากฏบนหนาแผนดิน)( 2)และมนุษยพากันพูดวา “มีอะไรเกิดขึ้นแกมันหรือ?”(3)วันนั้น มันจะแจงขาว ตางๆ ของมัน( 4) ดวยเหตุวาแทจริงองคอภิบาลของเจาไดมีโองการแกมัน( 5) วันนั้น มนุษยจะพากันออกมา เปนกลุมๆ เพื่อทําใหพวกเขามองเห็นผลงานตางๆ ของพวกเขา (6) ดังนั้น ผูใดประพฤติความดีหนึ่ง มี ปริมาณเทาน้ําหนักของผงธุลี เขาก็จะไดมองเห็นมัน ( 7) และผูใดประพฤติความเลวหนึ่ง มีปริมาณน้ําหนัก ของผงธุลี เขาก็จะไดมองเห็นมัน( 8)

คําอธิบายศัพท (‫ )ﺯﻟﺰﻟﺖ‬สั่นสะเทือนอยางรุนแรง (‫ )ﺃﺛﻘﺎﳍﺎ‬เปนคําพหูพจนของคําวา “‫ ”ﺛﻘﻞ‬ในที่นหี้ มายถึงสิ่งที่มีอยู ในดินทั้งหมด สิ่งที่ฝงอยูในดินทั้งหมด ( ‫ )ﻳﺼﺪﺭ ﺍﻟﻨﺎﺱ‬หมายถึงฟนคืนชีพและออกมาจากกุโบร (‫)ﺃﺷﺘﺎﺗﺎ‬ แยกยายกันออกไปเปนกลุม กลุมหนึ่งไปสูสวรรค อีกกลุมหนึ่งไปลงนรก (‫ )ﻣﺜﻘﺎﻝ ﺫﺭﺓ‬ผงธุลีหนวยที่เล็ก ที่สุด (อยางเชน อะตอม ปรมาณู)

คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-54-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เมื่ออัลอฮประสงคจะใหโลกนี้สิ้นสุดลง และใหวันกียามะฮฺมาถึง พระองคก็ทรงบัญชาใหแผนดิน สั่นสะเทือน และแลวมันก็จะสั่นไหวอยางแรงอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน สิ่งที่ฝงอยูในดินทั้งหมดไมวาจะ เปน ไฟเปนน้ํา แรธาตุหรืออื่น ๆ อยางเชนซากศพที่ฝงกลบอยูในดินตางก็จะหลุดลุยออกมาทั้งหมด ดวย ความรุนแรงของการสั่นสะเทือนทําใหมนุษยถึงกับถามออกมาวา มันเกิดอะไรขึ้น ? เพราะสถานการณ เชนนั้นไมเคยเกิดขึ้นมากอน ไมเปนที่รูวาที่มาที่ไปเปนอยางไร และแผนดินก็พูดออกมาดวยภาษาของมัน ตามสภาพที่เหมาะสม ดังที่ทานอัฏฏอบะรียไดอรรถาธิบายไวในหนังสือตัฟซีรของทานวา เหตุการณที่ เกิดขึ้นเปนการอุปมาอุปมัยใหเห็นวาเหตุการณที่เกิดขึ้นเปนเหตุการณที่แปลกประหลาดไมเคยเกิดขึน้ มากอน สวนสาเหตุก็เปนเพราะวาไดรับบัญชามาจากองคอภิบาล ที่ไดทรงวะหฺยูบัญชามายังแผนดินโดยตรง แลวสั่ง ใหมันแสดงอาการสั่นสะเทือนแลวคายสิ่งที่อยูในทองของมันออกมา และทุกสิ่งที่เกิดขึ้นกับโลกนี้ทั้งหมด ลวนแลวแตเปนการสั่งการ เปนการบันดาลมาจากอัลลอฮ ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติของโครงสราง หลาย เรื่องหลายเหตุการณที่เกิดขึ้นไมอาจที่จะระบุถึงสาเหตุที่แทจริงไดวามันเกิดขึ้นไดอยางไร เพราะมันเปนสิ่งที่ เกิดขึ้นจากการเนรมิตของอัลลอฮ มันไมไดเกิดขึ้นดวยธรรมชาติที่เปนภาวะปกติของมัน ในวันนั้นบรรดาผูที่ อยูใ นกุโ บร ก็ จ ะออกมาจากกุ โ บร เ พื่อรั บการสอบสวนในการกระทํ า ของพวกเขา เพื่อ ที่จ ะให พ วกเขา มองเห็นการกระทํ าที่พวกเขาได กระทําไว ผูใดที่ไ ดกระทําความดีไว แมว าจะมีน้ําหนักแคเทากับผงธุลี พระองคก็จะทรงตอบแทนดวยกุศลผลบุญให และผูใดที่กระทําสิ่งชั่วรายไวแมแตจะเทากับผงธุลีพระองคก็ จะทรงตอบแทนให ดวยเชนกัน ในวันกียามะฮฺตราชูของอัลลอฮจะเปนตราชูที่เที่ยงธรรมที่สุด จะไมมีการฉอ ฉลหรืออธรรมตอผูใด แมวาผลของการกระทําจะมีน้ําหนักแคเพียงผลธุลี ก็จะถูกมีการคิดคํานวณตอบแทน ไวอยางถูกตอง อัลลอฮทรงตรัสไววา (Al-Anbiyaa 047)

∩⊆∠∪ šÎ7Å¡≈ym $oΨÎ/ 4’s∀x.uρ 3 $pκÍ5 $oΨ÷s?r& @ΑyŠöyz ôÏiΒ 7π¬6ym tΑ$s)÷WÏΒ šχ%Ÿ2 βÎ)uρ

และแมจะมีน้ําหนักสักเพียงเมล็ดผักกาด เราก็จะนํามันมา (ชั่ง) และเราเพียงผูเดียวก็เพียงพอแลว ที่ เปนผูสอบสวน และ(ความใน)ซูเราะฮฺนี้ทั้งหมด ซึ่งเปนการกําชับและเปนการเตือนสําทับ(ที่นาเกรงขามยิ่ง)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-55-

ซูเราะฮฺ อัลอาดิยาต ชื่อซูเราะฮฺ อัลอาดิยาต มีความหมายวา มาที่สงเสียงหอบ เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 11 อายะฮฺ สาระในซูเราะฮฺ อัลลอฮไดทรงสาบานยืนยันวา แทจริงแลวมนุษยผูซึ่งอัลลอฮไดทรงประทานความโปรด ปรานใหกับพวกเขามากมายนั้น พวกเขาเปนพวกที่ดื้อรั้นตอองคอภิบาล และพวกเขาเองก็เปนสักขีพยาน ยืนยันไดในเรื่องนั้น พวกเขาเปนกลุมที่รักทรัพยสินสมบัติและเปนพวกที่ขี้เหนียว ดวยความดื้อรั้นของพวก เขาอัลลอฮก็ทรงเตรียมการลงโทษที่แสนสาหัสไวใหพวกเขาในวันกียามะฮฺ ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

$\èø)tΡ ϵÎ/ tβörOr'sù

∩⊂∪ $\⇔÷6ß¹ ÏN≡uÉóèRùQ$$sù

∩∠∪ Ó‰‹Íκy¶s9 y7Ï9≡sŒ 4’n?tã …çµ¯ΡÎ)uρ ’Îû $tΒ Ÿ≅Å_Áãmuρ

∩⊄∪ %Znô‰s% ÏM≈tƒÍ‘θßϑø9$$sù

∩∉∪ ׊θãΖs3s9 ϵÎn/tÏ9 z≈|¡ΣM}$# ¨βÎ)

∩∪ Í‘θç7à)ø9$# ’Îû $tΒ uÏY÷èç/ #sŒÎ) ãΝn=÷ètƒ Ÿξsùr& *

∩⊇∪ $\⇔÷6|Ê ÏM≈tƒÏ‰≈yèø9$#uρ

∩∈∪ $ºèøΗsd ϵÎ/ zôÜy™uθsù

∩⊆∪

∩∇∪ ωt±s9 Îösƒø:$# Éb=ßsÏ9 …絯ΡÎ)uρ

∩⊇⊇∪ 7Î6y‚©9 7‹Í×tΒöθtƒ öΝÍκÍ5 Νåκ®5u‘ ¨βÎ) ∩⊇⊃∪ Í‘ρ߉Á9$#

ความหมายของซูเราะฮฺ ขอยืนยันกับมวลมาที่สงเสียงหอบขณะวิ่ง(1)ตอมาก็มวลมาที่มีประกายไฟแลบจากกลีบเทาขณะวิ่ง (2)ตอมาก็มวลมาที่จูโจมขาศึกในยามเขาตรู(3)แลวมันก็ทําใหมีฝุนตลบฟุงขึ้นในขณะนั้น (4) แลวมันไดบุก เขาไปในทามกลางหมูขาศึกในยามนั้น(5)แทจริงอันมนุษยนั้น เปนผูดื้อรั้นอยางยิ่ง ตอองคอภิบาลของเขา (6)และแทจริงตัวเขาเอง ก็เปนสักขีพยาน (ยืนยัน) ไดในเรื่องนั้น (ที่เขาดื้อรั้น)(7)และแทจริงเขาหลงไหล ในความดี (แหงทรัพยสิน) อยางคลั่งไคล(8)แลวเขาไมรูหรือวา เมื่อสิ่งที่ถูกฝงในหลุมศพถูกขุดขึ้นมา (9)และสิ่งที่อยูในหัวอกถูกเผยออกมา(10) แทจริงในวันนั้น องคอภิบาลของพวกเขา ทรงตระหนักยิ่งนักใน พวกเขา(11) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻭﺍﻟﻌﺎﺩﻳﺎﺕ‬มาศึก มาที่ใชขับขี่เพื่อสูรบในการทําศึก ที่สามารถวิ่งไดอยางรวดเร็ว (‫ )ﺿﺒﺤﺎ‬เสียง

หอบขณะวิ่ง (‫)ﻓﺎﳌﻮﺭﻳﺎﺕ ﻗﺪﺣﺎ‬ประกายไฟที่ออกมาจากการกระแทกสิ่งของสองอยางเขาดวยกัน ( ‫)ﻓﺎﳌﻐﲑﺍﺕ‬ มวลมาที่ทําการจูโจม (‫ )ﻓﺎﺛﺮﻥ ﺑﻪ ﻧﻘﻌﺎ‬ฝุนตลบ ฝุนที่ฟุงกระจาย ( ‫ )ﻓﻮﺳﻄﻦ ﺑﻪ ﲨﻌﺎ‬บุกทะลวงเขาไปในหมู ขาศึก (‫ )ﻟﻜﻨﻮﺩ‬เดิมทีมีความหมายวาแผนดินที่ไมมีตนไมงอกเงยอยูเลย แตในที่นี้เปนการเปรียบเทียบกับ ผูคนที่มักจะขัดขวางตอตานสัจธรรม ซึ่งหมายถึงผูปฏิเสธศรัทธาทั้งหลาย หรือผูที่ทรยศตออัลลอฮ (‫)ﺷﺪﻳﺪ‬ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-56-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ตระหนี่ ขี้เหนียว ที่ชอบสะสมทรัพยสินสมบัติ (‫ )ﺑﻌﺜﺮ‬ถูกนําออกมา (‫ )ﻭﺣﺼﻞ‬สิ่งที่อยูในใจถูกแสดง ออกมา คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ อัลลอฮทรงสาบานยืนยันดวยมาศึกที่วิ่งไดรวดเร็วดวยเสียงดัง ขณะที่จูโจมขาศึกในยามเชาจนเกิด เปนฝุนตลบขึ้นปกคลุมเปรอะเปอนไปดวยฝุน อัลลอฮทรงสาบานยืนยันดวยมาศึกที่มีความแข็งแรงขณะวิ่งเขาจูโจมศัตรูพรอมเสียงแผดรอง และมี ไฟออกมาขณะวิ่ง มาซึ่งจูโจมศัตรูในยามเชา จูโจมทะลุทวงเขาสูกองกําลังของศัตรู ซึ่งลักษณะของมาดังที่ กลาวมาทั้งหมด เปนลักษณะของมาที่เจาของนํามาใชในการตอสูในแนวทางของอัลลอฮ ดวยความเปนเลิศ ของมาตามลักษณะดังกลาวนี่เอง อัลลอฮจึงทรงใชเปนสิ่งสาบานยืนยัน ดวยเหตุที่มาเปนสัตวที่มีคา มียศมี ตําแหนง ซึ่งคนอาหรับเองไดเขียนไวเปนคําคมวา “แผนหลังปกปอง สวนทองเปนคลัง” ไมวาเครื่องมือใน การทําสงครามจะเกิด ขึ้นใหมมากมายสักเพียงใด แตมาก็ยังมีคุณค ามีราคาสํ าหรั บการทําสงคราม ดว ย คุณลักษณะดังที่กลาวมาแลวทั้งหมดเปนการสอนใหเรารูวามีการนํามามาใชในการศึกอยางไร จะไดไมเขาใจ แตเพียงวามาเปนแคเพียงสัตวที่มนุษยนําประดับบารมีของคน หรือใชสําหรับขับขี่เลนเทานั้น สวนสิ่งที่อัลลอฮจะยืนยันก็คือ การยืนยันวา แทจริงแลวมนุษยนั้นเปนพวกที่ดื้อรั้นตอองคอภิบาล ซึ่งพวกเขาสามารถยืนยันในความดื้อรั้นของพวกเขาเองไดทั้งหมด แทจริงเขาหลงใหลในความดี (แหง ทรัพยสิน) อยางคลั่งไคล อัลลอฮไดทรงใหคุณลักษณะของมนุษยไว 3 ลักษณะคือ มนุษยเปนผูที่ดื้อรั้น สกัด กั้นคัดคานคุณธรรมและความโปรดปรานของอัลลอฮ พวกเขามิไดแสดงความกตัญูตอพระองค ดว ย คุณลักษณะดังกลาวเปนลักษณะของผูที่ทรยศและเปนผูปฏิเสธศรัทธา ซึ่งก็สอดคลองกับคําพูดที่วา “คนดื้อ รั้นนั้นมักจะปฏิเสธการชวยเหลือเกื้อกูลผูอื่น กินอยูแตเพียงลําพังคนเดียว ชอบตําหนิลงโทษขาทาส” . ลักษณะประการที่สอง มนุษยเองจะเปนพยานยืนยันในความดื้อรั้นของตนเองไดเปนอยางดี โดยไมตองมี หลักฐานอันใดยืนยันอีก ซึ่งเขาเองจะไมสามารถที่จะปฏิเสธในสิ่งที่เขาแสดงออกมาไดเลย หากปากของเขา ปฏิเสธไมยอมรับ ขอเท็จจริงก็จะปรากฏออกมาเอง และความจริงเหลานั้นก็จะเปนพยานยืนยันวาเขาเปนผู ปฏิเสธตอความโปรดปรานแหงองคอภิบาลของพวกเขา และจะเปนพยายานยืนยันใหกับตัวเองในวันกียา มะฮฺ และนั่นคือการเปนพยายานยืนยันตอการกระทําของพวกเขาเอง ลักษณะประการที่สาม พวกเขาเปนผูที่ลุมหลงในคุณคาของทรัพยสินอยางคลั่งไคล ดวยเหตุที่เขามี ความหลงใหลตอทรัพยสินนี่เองทําใหพวกเขากลายเปนคนตระหนี่ขี้เหนียว ไมยอมนําทรัพยสินไปใชจาย จะ ใชบางก็เพียงเล็กนอยเทานั้น ทําใหเขากลายเปนคนโลภอยากได ไดมาแลวก็ไมยอมใชจาย มนุษยไมรูดอกหรือวา องคอภิบาลของพวกเขาทรงเห็น พวกเขาไมรูดอกหรือวา เมื่อสิ่งที่ถูกฝงใน หลุมศพถูกนําออกมา และสิ่งที่ถูกปกปดอยูในหัวอกถูกเผยออกมาใหเห็นแลว ในวันนั้น องคอภิบาลของ พวกเขา ทรงรอบรูยิ่งกับการกระทําของพวกเขา และพระองคก็จะทรงตอบแทนแกพวกเขาทั้งการกระทํา จากภายนอกและภายใน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-57-

ซูเราะฮฺอัลกอริอะฮฺ ซื่อซูเราะฮฺ อัลกอริอะฮฺ มีความหมายวาสิ่งที่มีเสียงสั่นสะทาน มีระบุอยูใ นอายะฮฺแรกเปนซูเราะฮฺ มักกียะฮฺ มีทั้งหมด 11 อายะฮฺ สาระในซูเราะฮฺเปนการกลาวถึงลักษณะของวันกียามะฮฺ ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

â¨$¨Ψ9$# ãβθä3tƒ tΠöθtƒ ∅tΒ $¨Βr'sù …絕Βé'sù

∩⊂∪ èπtãÍ‘$s)ø9$# $tΒ y71u‘÷Šr& !$tΒuρ

∩⊄∪ èπtãÍ‘$s)ø9$# $tΒ

∩∈∪ Â\θàΖyϑø9$# ÇôγÏèø9$$Ÿ2 ãΑ$t6Éfø9$# ãβθä3s?uρ

∩∇∪ …çµãΖƒÎ—≡uθtΒ ôM¤yz ôtΒ $¨Βr&uρ

∩⊇∪ èπtãÍ‘$s)ø9$#

∩⊆∪ Ï^θèZ÷6yϑø9$# ĸ#txø9$$Ÿ2

∩∠∪ 7πuŠÅÊ#§‘ 7πt±ŠÏã ’Îû uθßγsù

∩∉∪ …çµãΖƒÎ—≡uθtΒ ôMn=à)rO

∩⊇⊇∪ 8πuŠÏΒ%tn î‘$tΡ ∩⊇⊃∪ ÷µu‹Ïδ $tΒ y71u‘÷Šr& !$tΒuρ ∩∪ ×πtƒÍρ$yδ

ความหมายของซูเราะฮฺ อัลกอริอะฮฺ( 1) อะไรคือ อัลกอริอะฮฺ?(2) และอันใดหรือที่ทําใหเจารูวา อะไรคืออัลกอริอะฮฺ?( 3) (นั่นคือ เปนเหตุการณที่เกิดขึ้น) ในวันที่มนุษยจะมีสภาพประดุจดังแมลงเมาที่ถูกกระจัดกระจาย( 4)และ บรรดาภูเขาจะมีสภาพประดุจดังขนสัตวที่ปลิววอน( 5) ดังนั้นผูใดที่ตราชู (แหงความดี) ของเขาหนัก( 6) แนนอนเขาก็จะไดอยูในความเปนอยูที่พึงพอใจ( 7)และสวนผูใดที่ตราชู (แหงความดี) ของเขาเบา(8) แนนอนที่อยูของเขา ก็คือขุมนรกฮาวิยะฮฺ(9) และอันใดที่ทําใหเจารูวา อะไรคือมัน (ฮาวียะฮฺ)(10) มันเปนไฟ นรกอันรอนแรง(11) คําอธิบายศัพท ( ‫ )ﺍﻟﻘﺎﺭﻋﺔ‬การขวาง ,การตีอยางรุนแรง มีการเรียกสถานการณที่รุนแรงวา อัลกอรีอะฮฺ ในที่นี้ หมายถึงวันกียามะฮฺ เพราะวันนั้นมนุษยจะถูกฟาดดวยความอัปยศอดสูอยางรุนแรง (‫ )ﻛﺎﻟﻔﺮﺍﺵ‬แมลงเมาที่ บินเขากองไฟ (‫ )ﺍﳌﺒﺜﻮﺙ‬กระจัดกระจายออกไป (‫ )ﻛﺎﻟﻌﻬﻦ‬เหมือนขนสัตวหลากสี (‫ )ﺍﳌﻨﻔﻮﺵ‬ที่ปลิววอน ออกไป (‫ )ﻓﺄﻣﻪ‬ที่พักพิง เหมือนเด็ก ๆ ที่พึ่งพิงผูเปนมารดา (‫ )ﻫﺎﻭﻳﺔ‬นรก (‫ )ﺣﺎﻣﻴﺔ‬เผาไหมรอนแรง คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ วันกียามะฮฺวันที่มนุษยถูกกระหน่ําดวยความอัปยศอดสู(ของการลงโทษ) วันที่พวกเขาถูกกระหน่ํา ดวยเสียงอันดัง วันที่มีแตความนากลัว วันที่มีแตความหดหู วันที่เรือนรางถูกกระหน่ําลงโทษทั้งจากเบื้องลาง และเบื้องบน ผูที่เปนศัตรูกับอัลลอฮก็จะถูกฟาดดวยการลงโทษที่หนักหนวงรุนแรง และสภาพการเหลานี้ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-58-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ทั้งหมดที่เรียกวา “อัลกอริอะฮฺ” อะไรหรืออัลกอริอะฮฺ ? คําถามนี้เปนคําถามที่แสดงใหเห็นถึงความอัปยศ ในดานหนึ่ง และอีกดานหนึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงความยิ่งใหญ ..คําถามจะมีความหมายวา เมื่อไรทานจะ ได รู จั ก อั ล กอริ อ ะอฺ เมื่ อ ไรท า นจะได รู ถึ ง ข อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ อั ล กอริ อ ะฮฺ ? จะไม มี ใ ครให ข อ เท็ จ จริ ง เกี่ยวกับอัลกอริอะฮฺไดนอกจากอัลลอฮ ทานจะไมมีวันรูเกี่ยวกับขอเท็จจริงของ อัลกอริอะฮฺไดวามันเปน อยางไร นอกเสียจากวาองคอภิบาลจะนํามาบอกเลาสูทาน ในวันนั้นวันทีม่ วลมนุษยจะสับสนอลหมานเหมือนแมลงเมาที่บินเขากองไฟ ภูเขาเลากาจะปลิววอน ไรน้ําหนักเหมือนขนสัตวที่ถกู ลมพัดใหปลิวออกไป ....โอ มหาบริสุทธิ์แหงอัลลอฮ สวนสภาพของผูที่อยูในวันนั้น ผูที่ตราชูแหงคุณงามความดีมีน้ําหนักมากกระทําความดีดวยความ บริสุทธิ์ใจ ในวันนั้นการเปนอยูของพวกเขาก็จะมีแตความพึงพอใจ พวกเขามีสภาพการเปนอยูที่มั่นคง มี จิตใจที่สงบมั่นจนรูสึกพึงพอใจ แตผูที่ตราชูแหงความชั่วรายที่เกิดจากการกระทําความชั่ว เกิดจาการเดินตาม โมฆะธรรม เพราะหางไกลจากสัจธรรม ที่พํานักของพวกเขาก็คือ อัลฮาวียะฮฺ สถานที่พํานักที่อัปยศสุด ๆ ที่ พํานักที่มีไฟลุกไหม เผาไหมชาวนรกอยางสุด ๆ...ทานรูหรือไมวามันคืออะไร มันคือไฟนรกที่หมกไหมทั้ง ใบหนาและผิวหนังใหไหมเกรียม...ขอใหอัลลอฮจงคุมครองพวกเราใหปลอดภัยจากความเลวรายแหงไฟ นรกดวยเทอญ..

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-59-

ซูเราะฮฺอัตตะกาซุร ชื่อซูเราะฮฺ อัตตะกาซุร มีความหมายวา “การแขงขัน” ซึ่งมีระบุอยูในอายะฮฺแรกของซูเราะฮฺ เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 8 อายะฮฺ สาระในซูเราะฮฺ อัลลอฮทรงเตือนสําทับพวกเราเกี่ยวกับวาระสุดทาย ของพวกที่แขงขันกันสะสมทรัพยสินเงินทอง โดยที่พระองคทรงแจงใหเราไดรับรูถึงการลงโทษที่จะไดรับ วา เป นเรื่อ งจริงที่จ ะตอ งเกิ ดขึ้นอยางแน น อน และแทจ ริงแลว นรกยะฮั นนัมนั้นเป น สั จธรรม พวกทาน ทั้งหลายจะถูกถามถึงความโปรดปรานตาง ๆ ทางโลกที่ผานมา ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

ξx. §ΝèO

∩⊂∪ tβθßϑn=÷ès? š’ôθy™ ξx.

$pκ¨ΞãρutIs9 ¢ΟèO

∩∉∪ zΟŠÅspgø:$# χãρutIs9

∩⊄∪ tÎ/$s)yϑø9$# ãΛänö‘ã— 4®Lym

∩⊇∪ ãèO%s3−G9$# ãΝä39yγø9r&

∩∈∪ ÈÉ)u‹ø9$# zΝù=Ïæ tβθßϑn=÷ès? öθs9 ξx.

∩⊆∪ tβθßϑn=÷ès? t∃ôθy™

∩∇∪ ÉΟŠÏè¨Ζ9$# Çtã >‹Í≥tΒöθtƒ £è=t↔ó¡çFs9 ¢ΟèO ∩∠∪ ÈÉ)u‹ø9$# š÷tã

คําอธิบายศัพท (‫ )ﺃﳍﺎﻛﻢ‬ความเพลิดเพลินของพวกทาน (‫ )ﺍﻟﺘﻜﺎﺛﺮ‬แขงขันกันในเรืองการสะสมทรัพยสินเงินทอง และลูกหลาน ใครมีมากก็จะชนะเหนือชั้นกวาคนที่มีนอย (‫ )ﻋﻠﻢ ﺍﻟﻴﻘﲔ‬เรื่องที่จะตองเกิดขึ้นอยางแนนอน เปนไปตามความเปนจริงไมคลาดเคลื่อน มีหลักฐานบงบอกไวอยางชัดเจน ( ‫ )ﻋﲔ ﺍﻟﻴﻘﲔ‬จะไดพบเห็น ขอเท็จจริงอยางแนนอน จะไดพบเห็นดวยสายตา คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ พวกเจาเพลิดเพลินอยูกับการสะสมทรัพยสินเงินทองและกําลังคน ใชเวลาสวนใหญอยูกับสิ่งเหลานี้ จนทําใหเจาเผลอลืมในสิ่งที่จะยังประโยชนแกเจา สิ่งที่จะอยูกับเจาไปจนถึงวันกียามะฮฺ เจาเพลิดเพลินอยูกับ มันจนลืมการทําความดีไปจนกระทั่งความตายเขามาเยือน นั่ นก็หมายความวาตลอดชีวิตที่มีชีวิตอยูเจา ทั้งหลายเพลิดเพลินและยุงอยูกับการรวบรวมทรัพยสินสมบัติ มีรายงานเลาวา มีคนสองเผาที่แขงขันแกงแยงกันในเรื่องของการสะสมทรัพยสินเงินทอง ถึงขนาด วาเมื่อฝายหนึ่งเขาสูกุโบรไปแลวอีกฝายหนึ่งก็ยังตามไปเยาะเยยถากถางตอคนที่ตายไปแลว ดวยเหตุนี้ เองอัลลอฮก็ทรงประทานซูเราะฮฺนี้ลงมา เพื่อที่เปนการเตือนสําทับตอวาระสุดทายของคนเหลานี้ การกระทําเหลานี้ทั้งหมดลวนแลวแตเปนสิ่งสกัดกั้นจากการขบคิดพินิจพิเคราะห เปนการกระทําที่ ทําใหผูเปนเจาของตองหันไปเพลิดเพลินกับสิ่งที่ไรประโยชน...อัลลอฮทรงเตือนไววา พึงสังวร ตอไปพวก เจาจะไดรูถึงวาระสุดทายหรือผลของการกระทําเหลานี้ และเมื่อวันนั้นมาถึงพวกเจาจะตองระทมใจ แตความ ระทมใจในวันนั้นจะไมยังประโยชนแกเขาอีก พึงสังวร... ตอไปพวกทานจะไดรับรู เปนการสําทับยืนยันอีก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-60-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เปนครั้งที่สอง หากพวกทานทั้งหลายจะไดรับรูถึงวาระสุดทายที่จะตองเกิดขึ้นวาเปนเรื่องแนนอนไมมีขอ สงสัยคลางแคลงใจใด ๆ ทั้งสิ้น มันเปนขอเท็จจริงอยางมั่นใจ เปนความเชื่อมั่นที่ถูกตองดวยวา การที่พวก ทานทั้งหลายทะนงตนกันดวยทรัพยสินเงินทองหรือลูกหลาน กับการที่พวกทานทั้งหลายแขงขันกันสะสม รวบรวม ตางคนตางมุงมั่นที่จะไปหาในสิ่งที่ตนเองคิดวาเปนเลิศและยิ่งใหญกวาคนอื่น ทั้งๆ ที่เรื่องของการ แขงขันกันทําความดี นาจะเปนเรื่องที่ดีกวา .. ขอยืนยัน..ตอไปพวกเจาจะไดเห็นนรก (จะไดลิ้มรสของการลงโทษ) จะไดเห็นมัน จะไดลิ้มรสชาติ ของการลงโทษจากมัน เพราะพวกเจาแขงขันกันในเรื่องของการสะสมทรัพยสิน และโออวดซึ่งกันและกัน ตอไปเจาจะได เห็น ดวยสายตา ที่สามารถสัมผัสได รับรูได อยางมั่นใจ และหลังจากนั้นพวกเจาก็จะถู ก สอบถามถึงความสุขตาง ๆ (จากทรัพยสินเงินทองตางๆ) ที่พวกเจาโออวดกันแขงขันกันเพื่อใหไดมา...พึงระ สังวรโอมวลมนุษยทั้งหลาย เจาทั้งหลายพึงระวังและรับรูขอเท็จจริงเหลานี้ไวดวย..

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-61-

ซูเราะฮฺอัลอัสริ ซู เ ราะฮฺ อั ล อั ส ริ มี ค วามหมายว า กาลเวลา เป น ซู เ ราะฮฺ มั ก กี ย ะฮฺ มี ทั้ ง หมด 3 อายะฮฺ สาระในซู เราะฮฺอัลลอฮไดทรงสาบานยืนยันดวยกาลเวลาวา แทจริงแลวมนุษยอยูในภาวะขาดทุนและหลงผิด ยกเวนผู ศรัทธาอัลลอฮทรงปกปองคุมครอง พวกเขากระทําแตความดี สั่งเสียซึ่งกันและกันใหมีความอดทนและยึด มั่นอยูกับสัจธรรม ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

ÏM≈ysÎ=≈¢Á9$# (#θè=Ïϑtãuρ (#θãΖtΒ#u tÏ%©!$# ωÎ)

∩⊄∪ Aô£äz ’Å∀s9 z≈|¡ΣM}$# ¨βÎ)

∩⊇∪ ÎóÇyèø9$#uρ

∩⊂∪ Îö9¢Á9$$Î/ (#öθ|¹#uθs?uρ Èd,ysø9$$Î/ (#öθ|¹#uθs?uρ

ความหมาย ขอยืนยันกับกาลเวลา(1) แทจริงมนุษย อยูในความขาดทุน (2) ยกเวนบรรดาผูมีศรัทธา และ ประพฤติแตความดี และพวกเขาตักเตือนกันในสัจธรรมและพวกเขาตักเตือนกันในขันติธรรม (3) คําอธิบายศัพท (‫ )ﺍﻟﻌﺼﺮ‬กาลเวลาทั้งหมด หรืออาจจะเปนกาลเวลาเฉพาะในตอนบาย (‫ )ﺧﺴﺮ‬หลงผิด ,ขาดทุน (‫ )ﺗﻮﺍﺻﻮﺍ‬สั่งเสียซึ่งกันและกัน ( ‫ )ﺑﺎﳊﻖ‬คุณธรรม,ความดี (‫ )ﺑﺎﻟﺼﱪ‬มานะอดทน กลาเผชิญกับความ ยากลําบาก คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ อัลลอฮทรงสาบานยืนยันดวยกาลเวลา และเหตุการณตาง ๆที่ผานพนไปกับกาลเวลา ซึ่งในแตละ ชวงเวลาเหตุการณตางๆ เกิดขึ้นมากมายในรูปแบบที่แตกตางกันออกไป เพื่อเปนการบงบอกใหเขาใจไดวา สําหรับกาลเวลาและโลกนี้มีผูบัญชาการที่ทรงเดชานุภาพคอยบริหารจัดการและควบคุมอยูเบื้องหลัง เจาไม สังเกตกลางวันกลางคืนดอกหรือ ซึ่งทั้งสองตางสลับสับเปลี่ยนกันไปมา ในเวลากลางวันและกลางคืนตางก็มี สัญญาณเฉพาะที่แตกตางกันออกไป ทานไมสังเกตถึงชวงเวลาที่มีความทุกขและชวงเวลาที่มีความสุข ขณะที่ สบายและป วยไข ยามศึ กและยามสงบ ผูคนบางครั้งก็ปว ยไขลมตายลงไปเพราะความหิ วกระหาย อีก บางสวนก็อิ่มหนําสําราญ บางกลุมบางคนก็ลมตายไปเพราะภัยธรรมชาติน้ําทวมน้ําขัง จมน้ําตาย อีกบางกลุม ตายเพราะความแหงแลง หรือไฟไหม ซึ่งสิ่งเหลานี้ทั้งหมดลวนแลวแตเปนเหตุการณที่เกิดขึ้นในแตละชวง ของกาลเวลา แตละชวงเวลาก็จะมีเหตุการณเกิดขึ้นที่แตกตางกันออกไป นั่นก็แสดงใหเห็นวาโลกนี้มีพระเจา ผูบังคับบัญชาคอยควบคุมอยู พระองคคือผูทรงสราง ผูทรงบริหารจัดการ และพระองคคือผูที่เหมาะสมเปน อยางยิ่งแกการนมัสการและขอความชวยเหลือ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-62-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

แทจริงแลวมนุษยอยูฐานะที่ขาดทุน หลงผิด เปนผูปฏิเสธศรัทธา เปนผูที่อยูกับความหายนะ จากการ ที่ พ วกเขาลุ ม หลงอยู กั บ การเป น ผู ท รยศ เป น ผู ไ ร ศ รั ท ธา กระทํ า บาปที่ เ ขาเองเป น ผู เ ลื อ ก มหาบริ สุ ท ธิ์ แหงอัลลอฮแทจริงแลวตลอดชวงอายุของพวกเขาลวนแลวแตอยูกับความขาดทุน ความขาดทุนทีห่ อ หุม หอม ลอมพวกเขาอยูรอบดาน พวกเขากระทําผิดกระทําบาปตออัลลอฮ ผูทรงเปนพระเจาของพวกเขา ผูทรง ประทานความโปรดปรานแกพวกเขาทุกเรื่องทุกประการ ดวยสิ่งดี ๆ ทุกรูปแบบ แทจริงแลวมนุษยทุกคน ลวนแลวแตอยูกับความผิด อยูกับการกระทําบาป ยกเวนผูที่อัลลอฮทรง ปกปองคุมครองและใหเขาอยูกับความดี และคนกลุมนี้ก็คือผูที่มีความศรัทธามั่นตออัลลอฮตอมลาอีกะ ฮฺ ตอบรรดาคัมภีรของอัลลอฮ ตอศาสนทูตของพระองค โดยมีศรัทธามั่นและบริสุทธิ์ใจ และเมื่อศรัทธามั่น แลวพวกเขาก็ตามติดมาดวยการทําความดี การกระทําที่ยังประโยชน การกระทําที่เปนที่ยินดีของอัลลอฮ เปน ยินดีของบรรดารซูลและบรรดาผูศรัทธา หากจะถามวาเพียงแคการกระทําดังที่กลาวมาเพียงพอสําหรับแตละ คนแลวหรือยัง ..ยังหรอก จําเปนที่จะตองมีประการที่สามเขามา นั่นคือการสั่งเสียซึ่งกันและกันในเรื่องของ สัจธรรม สั่งเสียกันใหมีความอดทนอดกลั้นตอสิ่งที่เปนสัจธรรมที่แนนอน สัจธรรมที่มีหลักฐานกลาวอางไว อยางชัดเจน ถูกตองสอดคลองกับบัญญัติที่ถูกตอง สั่งเสียซึ่งกันและกันใหอดทนตอสิ่งที่ไมพึงประสงค ยอม แบกรับความยากลําบากที่ตองเผชิญ ในเมื่อยึดมั่นตอหลักศาสนาแคเพียงกระทําความดีแตเพียงอยางเดียวนั้นไมเพียงพอ แตหลังจากที่ได ปรับปรุงตัวเองเปนที่เรียบรอยแลวจะตองเรียกรองคนอื่นไปสูสัจธรรมไปสูการทําความดีและไปสูเสนทางที่ เที่ยงตรงดวย และการกระทําดังกลาวแนนอนที่สุดผูเรียกรองจะตองเผชิญหนากับความยากลําบากอยางไม ตองสงสัย ฉะนั้นก็จงอดทนอดกลั้น และเรียกรองคนอื่นใหอดทนอดกลั้นดวย เพราะความมีมานะอดทนนั้น เปนสวนหนึ่งของการศรัทธา และอัลลอฮก็จะใหเราประสบความสําเร็จในการที่จะกาวเดินไปสูแนวทางที่ดี และสิ่งดี ๆ ตลอดไป

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-63-

ซูเราะฮฺอัลฮุมาซะฮฺ ชื่อซูเราะฮฺ อัลฮุมาซะฮฺ มีความหมายวา “ผูนินทา” เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 9 อายะฮฺ สาระ ในซูเราะฮฺ อัลลอฮไดกลาวถึงเรื่องของการนินทาวาราย การยุยงปลุกปน ซึ่งอัลลอฮจะทรงเตรียมนรกอัน รอนแรงไวมาหอมลอมพวกเขาไวในทุกทิศทาง ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

ÿ…ã&s!$tΒ ¨βr& Ü=|¡øts†

∩⊄∪ …çνyŠ£‰tãuρ Zω$tΒ yìuΗsd “Ï%©!$#

∩⊇∪ >οt“yϑ—9 ;οt“yϑèδ Èe≅à6Ïj9 ×≅÷ƒuρ

äοy‰s%θßϑø9$# «!$# â‘$tΡ ∩∈∪ èπyϑsÜçtø:$# $tΒ y71u‘÷Šr& !$tΒuρ ∩⊆∪ ÏπyϑsÜçtø:$# ’Îû ¨βx‹t6.⊥ãŠs9 ( ξx. ∩⊂∪ …çνt$s#÷{r& ∩∪ ¥οyŠ£‰yϑ•Β 7‰uΗxå ’Îû ∩∇∪ ×οy‰|¹÷σ•Β ΝÍκön=tã $pκ¨ΞÎ) ∩∠∪ Íοy‰Ï↔øùF{$# ’n?tã ßìÎ=©Üs? ÉL©9$# ∩∉∪

ความหมายของซูเราะฮฺ ความหายนะจักประสบแกผูนินทา( 1) ซึ่งเขาไดสะสมทรัพยสิน และเฝานับจํานวนของมัน( 2) เขา คิดวา อันทรัพยสินของเขา จักทําใหเขาอยูเปนนิรันดร( 3) หามิได ขอยืนยัน แนแทพวกเขาจะถูกโยนลงไป ใน “อัลหุฎอมะฮฺ”( 4) และอันใดหรือที่ทําใหเจารูวา อะไรคืออัลหุฎอมะฮฺ?(5) มันคือ ไฟของอัลเลาะฮฺที่ถูก จุดไว( 6) ซึ่งมันจะแลบเขาไปในหัวใจทั้งหลาย(7) แทจริงมัน (ไฟนั้น) ถูกปดครอบไวบนพวกเขา( 8) ซึ่งอยู ในเสาอันยาวเหยียด( 9) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻭﻳﻞ‬ความหายนะ ความพินาศ (‫ )ﳘﺰﺓ ﳌﺰﺓ‬การนินทาวาราย ยุยงปลุกปนใหทะเลาะกัน คําคํานี้ เปนคําที้ใชบงบอกถึงความรุนแรง มากมาย (‫ )ﻭﻋﺪﺩﻩ‬นับจํานวนซ้ําแลวซ้ําเลา (‫ )ﺃﺧﻠﺪﻩ‬ทําใหเขาเปนอมตะ ถาวร (‫ )ﻛﻼ‬หามิได หาเปนเชนนั้นไม (‫ )ﻟﻴﻨﺒﺬﻥ‬ขวางลง, โยนลง (‫ )ﺍﳊﻄﻤﺔ‬นรกฮุฏอมะฮฺที่รอนแรง ที่ เรียกวา ฮุฏอมะฮฺ เพราะมันจะเผาไหมทําลายกระดูและเนื้อหนังไปพรอม ๆ กัน (‫ )ﺍﳌﻮﻗﺪﺓ‬จุดไว ,เผาไหม ไว ( ‫ )ﺗﻄﻠﻊ ﻋﻠﻰ ﺍﻷﻓﺌﺪﺓ‬การเผาไหมจะถึงไปยังทุกสวนที่มีความรูสึก เผาไหมไปยังศูนยกลางของรางกาย และจะมีความรูสึกที่เจ็บปวดที่แตกตางกัน (‫ )ﻣﺆﺻﺪﺓ‬ปกคลุม ปดไวเหนือพวกเขา (‫ )ﻋﻤﺪ ﳑﺪﺩﺓ‬เสาสูง คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ ความหายนะ ความพินาศยอยยับ ที่ไมมีใครสามารถเขาใจขอเท็จจริงของมันได จะประสบแกผูที่ นินทาวารายผูอื่นทุกคน ใสรายใสความผูอื่นใหเสียหาย การที่เขากลาวรายใสความผูอื่นเพราะเขาเองรูสึก

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-64-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

หลงในตนเอง ถูกหลอกโดยทรัพยสินที่เขาเองนํามารวบรวมไวแลวคอยเฝานับจํานวนครั้งแลวครั้งเลา นับ แลวนับอีกอยางสนุกสนาน โดยเขาใจวาทรัพยสินที่เขามีอยูเหลานี้จะปกปองคุมครองใหพวกเขาเปนอมตะ อยูในโลกนี้ได เขาเองประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่คิดวาการกระทําของคนที่ไมคิดวาตนเองจะตองตายจากโลกนี้ ไป มีรายงานวา อัลอัคนัส บิน ชะรีค หรืออัลวะลีด บิน อัลมุฆีเราะฮฺ หรือ อุมัยยะฮฺ บิน คอลัฟ พวกเขากระทํา อยางนี้แสดงทาทีอยางนี้ตอทานรอซูลุลลอฮ  อัลลอฮทรงกลาวถึงสิ่งที่พวกเขานํามานับจํานวนซ้ําแลวซ้ําเลา กลาวถึงกลุมคนที่ถูกทรัพยสินหลอก เหลานี้วา หามิได ขอเท็จจริงไมไดเปนไปอยางที่พวกเขาเขาใจ ไมไดเปนไปตามที่พวกเขาเขาใจอยางผิด ๆ การคิดคํานวณของพวกเขาลวนแลวแตเปนเรื่องโกหก แทจริงแลวในวันกียามะฮฺอัลลอฮจะทรงโยนพวกที่ กระทําเชนนั้นลงสูนรกอัลฮุฏอมะฮฺ ทั้งหมด และที่นั่นนับไดวาเปนที่พํานักที่จะเผาไหมทั้งผิวหนังและ กระดูก และลุกลามไปจนกระทั่งถึงหัวใจ ...มีอะไรหรือที่จะทําใหทานทราบไดวา อัลฮุฏอมะฮฺนั้นคืออะไร ? เปนคําถามที่แสดงใหเห็นวา ไมมีใครสามารถรูได เปนคําถามที่แสดงใหเห็นถึงความยิ่งใหญ ความสําคัญ และความรุนแรง ที่สติปญญาเองไมสามารถอธิบายได รับรูได ไมสามารถที่จะคาดคะเน คาดเดาไดวาเปน อยางไร ผูที่จะรูไดก็คือผูทรงสรางมันเทานั้น ไมมีใครสามารถรับรูในขอเท็จจริง สภาพที่แทจริงของอัลฮุฏอ มะฮฺไดนอกจากผูทรงสรางมันเทานั้นที่จะรูได ดวยเหตุนี้เอง จึงมีการอธิบายเพิ่มเติมวา มันไมใชไฟอยางเรา เคยเห็นเคยใชในโลกนี้ มันเปนไฟของอัลลอฮที่ถูกจุดใหติดขึ้น มันจะลุกไหม เผาไหมใหเจ็บปวดไปจนถึง หัวใจ มันจะลุกไหมขึ้นอยางรุนแรง จนสามารถเผาไหมเขาสูภายใน สามารถรูถึงความลับที่อยูภายในจิตใจ สามารถที่จะแยกแยะไดวาผูใดคือผูทรยศ ผูใครคือผูภักดี มันจะปดลอมปกคลุมพวกเขามิใหหลุดลอดออกมา จากอํานาจการเผาไหมของมันไดอยางเด็ดขาด ประตูของมันปดสนิทแนนดวยสลักที่ยาว จนไมสามารถเปด ออกได

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-65-

ซูเราะฮฺ อัลฟล ชื่ อ ซู เ ราะฮฺ อั ล ฟ ล มี ค วามหมายว า “ช า ง ” เป น ซู เ ราะฮฺ มั ก กี ย ะฮฺ มี ทั้ ง หมด 5 อายะฮฺ ในซู เราะฮฺอัลลอฮทรงกลาวถึงเรื่องราวของเจาของโขลงชาง และบทสรุปเกี่ยวกับเรื่องราวของเจาของชาง ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

∩⊄∪ 9≅‹Î=ôÒs? ’Îû ö/èφy‰øŠx. ö≅yèøgs† óΟs9r& 7#óÁyèx. öΝßγn=yèpgm

∩⊇∪ È≅‹Ïø9$# É=≈ptõ¾r'Î/ y7•/u‘ Ÿ≅yèsù y#ø‹x. ts? óΟs9r&

∩⊆∪ 9≅ŠÅd∨Å™ ÏiΒ ;οu‘$y∨Ït¿2 ΝÎγ‹ÏΒös?

∩⊂∪ Ÿ≅‹Î/$t/r& #·ösÛ öΝÍκön=tã Ÿ≅y™ö‘r&uρ ∩∈∪ ¥Αθà2ù'¨Β

ความหมายของซูเราะฮฺ เจาไมรูหรือ องคอภิบาลของเจาไดทรงกระทํากับบรรดาเจาของชางอยางไร ?(1) พระองคมิได บันดาลใหแผนการของพวกเขา อยูในความผิดพลาดดอกหรือ ? ( 2) และทรงสงนกเปนฝูงๆ ใหโจมตีพวก เขา( 3) มันนํากอนหินจากนรกสิจยีลมาขวางพวกเขา (4) และพระองคก็ทรงบันดาลพวกเขาใหมีสภาพ ประหนึ่งใบพืชที่ถูกกิน (เปนอาหารของสัตว) ( 5) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻛﻴﺪﻫﻢ‬แผนการของพวกเขา (‫ )ﺗﻀﻠﻴﻞ‬พินาศ , ผิดพลาด (‫ )ﺃﺑﺎﺑﻴﻞ‬เปนฝูง ๆ (‫ )ﺳﺠﻴﻞ‬ดินที่ กลายเปนหินจากนรก (‫ )ﻛﻌﺼﻒ‬ใบไมหลังเก็บเกีย่ ว และมีรองรอยของสัตวมากัดกิน คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ ทานรูเรื่องราวที่มีการเลาสืบตอกันมา จนเปนที่รูจัก เปนที่เลาขานเพราะความสําคัญของเรื่องหรือไม ซึ่งเปนการนําเอาเหตุการณที่เกิดขึ้นและสามารถมองเห็นกันดวยสายตามาเลาตอกัน ความหมาย จงเลา เรื่องราวที่เกิดขึ้นกับเจาของชาง จงบอกสิวาองคอภิบาลของเจาไดทํากับพวกเขาเหลานั้นอยางไร พระองค มิใชหรือที่บันดาลใหแผนการของพวกเขาพินาศยอยยับ ไมเปนไปตามแผนที่วางไววาจะทําลายกะบะฮฺให พินาศ แตแลววัตถุประสงคของพวกเขาก็ไมสําเร็จ ตามที่คาดหวังไว อัลลอฮทรงสงฝูงนกมายังพวกเขา เปนฝูง ๆมันบินมาพรอมกับกอนหินที่มีเชื้อโรคที่สามารถทําลาย กองกําลังทหารเหลานี้ถึงขนาดตองถอยกลับ ดวยความสิ้นหวัง ฝูงนกเหลานี้ไดใชกอนหินขวางลงใสเหลา ทหารทําใหพวกเขาตองพบกับความพินาศยอยยับ มองดูแลวคลายกับใบไมที่ถูกสัตวกัดกินจนเปนแผล เหวอะหวะ หลังการเก็บเกี่ยว ในสมัยกอนที่เมืองเยแมนมีกษัตริยปกปครองชื่ออับรอฮะตุลอัชรอม กษัตริยองคไดสรางโบสถหลัง ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-66-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ใหญขึ้นที่เมืองซัลอะอฺ เปนโบสถที่กวางใหญสูงตระหงาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อที่จะยายศูนยกลางการ ประกอบพิธีหัจญจากอัลกะอฺบะฮฺไปยังสถานที่แหงใหมคือโบสถของเขาที่สรางขึ้น จากนั้นเขาก็แจงใหนัจ ยาชียผูครองเมือง ฮาบะชะฮฺ (เอธิโอเปย)ใหทราบเรื่องและจุดประสงค ตามประวัติศาสตรไดรายงานวา ดวย เหตุที่มีอัลกะอฺบะฮฺเปนศูนยกลางทางศาสนาทําใหชาวอาหรับในสมัยนั้นมีความเปนอยูที่มั่งคั่งและมั่นคงมี รายไดที่เปนกอบเปนกําจากผูมาประกอบพิธีหัจญ ทําใหอับรอฮะตุลอัชรอม เกิดความริษยาขึ้น จึงสาบานวา จะหาทางทําลายอัลกะอบะฮฺเสียใหจงได ครั้นเมื่อไดโอกาสเขาก็จัดเตรียมจัดทัพเปนกองกําลังทหารชาง ขนาดใหญมุงหนาไปยังเมกกะ โดยมีทัพหนาที่เปนชางตัวใหญ เมื่อกองกําลังของเขาเดินทางมาถึงเมือง เมกกะ เขาก็บัญชาใหยึดทรัพยสินของชาวอาหรับทั้งหมด และหนึ่งในนั้นก็มีอูฐของทานอับดุลมุฏอลิบ บุตร ของฮาชิม ปูของทานรอซูลุลลอฮ รวมอยูดวย เมื่ออับดุลมุฏอลิบรูเขา เขาก็ขอเขาพบกษัตริยอับรอฮะฮฺ เมื่อ ไดมีโอกาสเขาพบเขาก็ขออูฐของเขาคืน โดยที่ไมไดพูดถึงเรื่องของอัลกะอฺบะฮฺแตอยางใด ทําใหกษัตริยอับ รอฮะฮฺ รูสึกแปลกใจถึงขนาดพูดออกมาวา “เราเองรูสึกประหลาดใจเปนยิ่งนัก เมื่อมาพบทาน และทานก็ พยายามที่จะมาพบเรา ตองการมาพูดกับเรา ครั้นเมื่อมาพบเราแลวทานกลับถามเรื่องอูฐของทานโดยไมพูด ถึงอัลกะอฺบะฮฺ ซึ่งเปนศาสนสถานของทานและบรรพบุรุษของทาน” ทานอับดุลมุฏอลิบก็ตอบไปวา “ก็อูฐ เปนอูฐของฉัน สวนอัลกะอฺบะฮฺเปนของอัลลอฮ พระองคก็จะดูแลปกปองมันเอง” วาแลวอับรอฮะฮฺ ก็คืนอูฐ ของอับดุลมุฏอลิบใหทั้งหมด ครั้นเมื่ออับรอฮะฮฺเตรียมชางเพื่อที่จะบุกเขาสูเมกกะ เขาก็สั่งใหทหารทําลายอัลกะบะฮฺและให เปลี่ยนสถานที่ไปเปนที่เยแมนแทน เมื่อพวกเขาบังคับชางใหมุงหนาไปยังเมกกะ ชางกับหยุดเดินและโนมตัว ลงนอน แตเมื่อใหหันหนาไปทางเมืองชามและเยแมนกันกลับลุกขึ้นและออกเดิน และขณะนั้นเองอัลลอฮก็ไดทรงสงนกฝูงใหญมาพรอมกับกอนหินซึ่งคาบไวที่จงอยปากและที่เทา เมื่อมาถึงที่ที่กองทัพชางหยุดอยูบันก็ทิ้งกอนหินที่คาบมาลงบนพวกมัน เชื้อโรคที่ติดมากับกอนหินก็แผ กระจายเขาสูพวกเขา จนทําใหพวกเขาทั้งหมดลมตายมีสภาพเหมือนใบไมที่ถูกสัตวกัดกินหลังการเก็บเกี่ยว แตคําถามอยูที่วา พวกเขาถูกทําลายดวยกอนหินที่ฝูงนกนํามาขวางใสหรือวาในกอนหินนั้นมีเชื้อโรคที่เปน เชื้อโรคระบาดติดอยู ขอเท็จจริงจะเปนอยางไร อัลลอฮเทานั้นที่ทรงรอบรู แตที่แนนอนก็คือพวกเขาเหลานั้น ถูกทําลายจนสวนใหญจากกองกําลังของพวกเขาเสียชีวิต จนทําใหอับรอฮะฮฺและกองกําลังที่เหลือตอง ตัดสินใจยกเลิกการบุกทําลายอัลกะบะฮฺ ตองเดินทางกลับแตอับรอฮะฮฺ ก็ตองจบชีวิตลงระหวางทาง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-67-

ซูเราะฮฺ กุรอยช เปนซูเราะฮฺมกั กียะฮฺ มีทั้งหมด 4 อายะฮฺ สาระในซูเราะฮฺเปนเรื่องของการสั่งใหพวกกุรอยชทําอีบา ดะฮฺตอองคอภิบาลของพวกเขา ซึ่งเปนผูประทานความโปรดปรานมาใหพวกเขาทั้งหมด ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

#x‹≈yδ ¡>u‘ (#ρ߉ç6÷èu‹ù=sù

∩⊄∪ É#ø‹¢Á9$#uρ Ï!$tGÏe±9$# s's#ômÍ‘ öΝÎγÏ≈s9Î)

∩⊇∪ C·÷ƒtè% É#≈n=ƒ\}

∩⊆∪ ¤∃öθyz ôÏiΒ ΝßγoΨtΒ#uuρ 8íθã_ ÏiΒ ΟßγyϑyèôÛr& ü”Ï%©!$# ∩⊂∪ ÏMøt7ø9$#

ความหมายของซูเราะฮฺ เพื่อยังความอบอุนแกชาวกุรอยซฺ (ที่อยูในมักกะฮฺ) (หมายเหตุมุฟซซิรีนบางทานระบุวาซูเราะฮฺนี้ สัมพันธกับซูเราะฮฺที่พนมากลาวคือการที่อัลเลาะฮฺทําลากองทัพชางตามปรากฏในซูเราะหที่พนมา ก็เพื่อยัง ความอบอุนแกชาวกุรอยซฺ จนจบซูเราะฮฺ)(1)เพื่อยังความอบอุนแกพวกเขา ในการเดินทาง (เพื่อคาขาย) ทั้ง ในฤดูหนาวและฤดูรอน( 2) ดังนั้นพวกเขาจงนมัสการตอองคอภิบาลแหงบานหลังนี้ (กะบะฮฺ)( 3) ซึ่งทรง ประทานอาหารแกพวกเขาใหพนจากความหิว และประทานความปลอดภัยแกเขา จากความหวาดกลัว ( 4) คําอธิบายศัพท ( ‫ )ﻹﻳﻼﻑ ﻗﺮﻳﺶ ﺇﻳﻼﻓﻬﻢ‬ใหความอบอุน เพื่อเปนการยังความอบอุน นักอรรถาธิบายกุรอานบาง ทาน อธิบายวา เปนเรื่องการทําสัญญาคาขายระหวางชาวกุรอยชและคูส ัญญา (‫ )ﺭﺣﻠﺔ ﺍﻟﺸﺘﺎﺀ ﻭﺍﻟﺼﻴﻒ‬ความ ยากลําบากในการเดินทางไปคาขาย เดิมที่เปนชื่อของการเดินทาง (การเดินทางในฤดูหนาวและฤดูรอน) ( ‫ )ﻫﺬﺍ ﺍﻟﺒﻴﺖ‬หมายถึง อัลกะบะฮฺ ( ‫ )ﺁﻣﻨﻬﻢ‬ประทานความปลอดภัยแกพวกเขา คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ พวกเราทุกคนตางก็รูกันวา เมกกะและเมืองตาง ๆ ในเขตใกลเคียงเปนพื้นที่แหงแลงไมมีตนไมไมมี พืชผัก ซึ่งทานนบีอิบรอฮีมไดเคยขอดุอาตอองคอภิบาลของทานไววา (Ibrahim 037)

ÇΠ§ysßϑø9$# y7ÏF÷t/ y‰ΨÏã ?íö‘y— “ÏŒ Îöxî >Š#uθÎ/ ÉL−ƒÍh‘èŒ ÏΒ àMΖs3ó™r& þ’ÎoΤÎ) !$uΖ−/§‘

โอองคอภิบาลของเรา! แทจริงขาพเจาไดใหที่อยูอาศัยแกผูสืบตระกูลบางคนของขาพเจา ณ หุบเขา (แหงนครมักกะฮฺ) ซึ่งปราศจากพืชพันธชิดกับบาน (บัยติลลาห) ตองหามของพระองค ผูที่อาศัย อยู ในบริเวณนี้สวนมากแลว จะคิด กันเฉพาะเรื่องของการทํามาหาเลี้ย งชีพ พวกเขาจะ ประกอบอาชีพคาขายกับเพื่อนบาน ทั้งทางทิศเหนือและทิศใต ในชวงฤดูหนาวก็จะไปคายังประเทศเยแมน สวนในฤดูรอนก็จะไปยังซีเรีย เพราะพวกเขาเปนชาวบัยติลละฮฺ เปนเพื่อนบานที่อยูรอบบัยติลละฮฺ พวกเขา ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-68-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เปนที่เคารพของผูคน ผูคนโดยทั่วไปจะปฏิสัมพันธกับพวกเขาดวยดีมาตลอด ทําใหผลประโยชนมหาศาล เกิดขึ้นกับพวกเขา รวมไปถึงการคาขายที่พวกเขาดําเนินการอยูก็พลอยขยายอาณาเขตออกไปดวย พวกเขาจะ ทําสัญญาคาขายกับเพื่อนบานตลอดมา สาระโดยรวมของซูเราะฮฺ เปนการกลาวถึงชนเผากุรอยช ซึ่งเปนลูกหลานของ นัฎรฺ บิน กะนานะฮฺ พวกเขาไมไดกราบนมัสการตอองคอภิบาลของพวกเขา อันมีสาเหตุมาจากหลายสาเหตุ ดวยเหตุนี้เองในอา ยะฮฺจึงมีการบัญชามาวา ใหพวกเขานมัสการตอองคอภิบาลแหงบานหลังนี้ เพราะพระองคไดประทานความ อบอุน ความปลอดภัยมายังพวกเขาขณะเมื่อพวกเขาเดินทางออกไปคาขายเพื่อหาเลี้ยงชีพ ดวยเหตุนี้เองพวก เขาจึงมีฐานะร่ํารวย มีความซื่อสัตย จะไปไหนมาไหนไดตามตองการ และดวยความโปรดปรานแหงอัลลอฮ พระองคทรงบันดาลใหพวกเขาเปนเพื่อนบานใกลชิดกับบัยติลละฮฺ เปนผูที่คอยรับใช และอํานวยความ สะดวกใหกับบรรดาผูประกอบพิธีหัจญ พวกเขาจึงตองนมัสการตอองคอภิบาลแหงบานหลังนี้ (บัตติลละฮฺ) ซึ่งหมายถึงอัลลอฮแตเพียงพระองคเดียว พระองคทรงบันดาลใหบานของพระองคปลอดภัยจากการทําลาย ของอับรอฮะฮฺ เพื่อใหบานหลังนี้คงอยูและเปนแหลงศูนยการคาใหกับพวกเขา ที่จะทําการคากับเพื่อนบาน พวกเขาจะตองนมัสการตอองคอภิบาลแหงบานหลังนี้ เพราะพระองคคือผูที่ทรงประทานอาหารใหพวกเขา ประทังความหิวและรอดพนจากความยากจน และใหพวกเขาปลอดภัยจากความกลัวและความอัปยศอดสู ทั้งหมด อัลลอฮคือผูที่บันดาลใหพวกเขามีความสะดวกสะดวกสบายดวยปจจัยยังชีพ ประทานความสะดวก ปลอดภัย ใหเปนที่ยอมรับของผูคนเพราะพวกเขาเปนชาวบัยติลละฮฺ เปนผูที่คอยใหบริการแกบรรดาผูมา ประกอบพิธีหัจญในสมัยนั้น จนพวกเขาสามารถที่จะสรางความเขมแข็งและความปลอดภัยใหกับตัวของ พวกเขาเอง และการคาขายของพวกเขา ในเมื่ออัลลอฮคือผูเปนเจาของความโปรดปรานเหลานี้ทั้งหมด พวก เขาก็ควรที่จะนมัสการตอพระองคแตเพียงพระองคเดียว เพราะพระองคคือผูประทานอาหารมาประทังความ หิวโหยและประทานความปลอดภัยจากความกลัวที่มากมาย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-69-

ซูเราะฮฺอัลมาอูน ซูเราะฮฺอัลมาอูน ซึ่งมีความหมายวา “ของใช” เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 7 อายะฮฺ สาระในซู เราะฮฺ อัลลอฮไดกลาวถึงลักษณะของผูที่กลาวหาศาสนาวาเปนเท็จวามีลักษณะอยางไร ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

Ùçts† Ÿωuρ ∩⊄∪ zΟŠÏKuŠø9$# ‘í߉tƒ ”Ï%©!$# šÏ9≡x‹sù ∩⊇∪ ÉÏe$!$$Î/ Ü>Éj‹s3ム“Ï%©!$# |M÷ƒuu‘r& ∩∈∪ tβθèδ$y™ öΝÍκÍEŸξ|¹ tã öΝèδ tÏ%©!$#

∩⊆∪ š,Íj#|Áßϑù=Ïj9 ×≅÷ƒuθsù

∩⊂∪ ÈÅ3ó¡Ïϑø9$# ÏΘ$yèsÛ 4’n?tã

∩∠∪ tβθãã$yϑø9$# tβθãèuΖôϑtƒuρ ∩∉∪ šχρâ!#tムöΝèδ tÏ%©!$#

ความหมาย เจาเห็นแลวใชไหม? ผูที่ใสไคลการตอบแทน (ในวันกิยามะฮฺ) วาเปนสิ่งมุสา( 1)แทจริงเขานั้น เปน ผูที่ผลักใสลูกกําพรา(2)และไมกําชับกันในการใหอาหารแกคนอนาถา(3)ดังนั้น ความหายนะจักประสบแก บรรดาผูทําละหมาด( 4)ซึ่งพวกเขาเปนผูเผลอเรอจากการละหมาดของพวกเขา( 5)ซึ่งพวกเขาทําการโออวด กัน( 6)และพวกเขาหวงหามของใช (แกผูอื่น)( 7) (หมายเหตุ มาอูน = ของใช หมายถึง ของใชในบาน เชน หมอ ขวาน เปนตน ใครยืมก็หวง, นักวิชาการบาง คน แปลวา “ทานซะกาต”)

คําอธิบายศัพท ( ‫ )ﺑﺎﻟﺪﻳﻦ‬หมายถึ ง ศาสนาอิ ส ลาม ,วั น กี ย ามะฮฺ ( ‫ )ﻳﺪﻉ ﺍﻟﻴﺘﻴﻢ‬ผลั ก ไสไม ย อมรั บ ,ไล อ อกไป ( ‫ )ﻭﻻﳛﺾ ﻋﻠﻰ ﻃﻌﺎﻡ ﺍﳌﺴﻜﲔ‬ไมใหการสนับสนุนสงเสริมการใหอาหารตอคนอนาถา (‫ )ﻓﻮﻳﻞ‬ความหายนะ (‫ )ﺳﺎﻫﻮﻥ‬เผลอไผล, ลืม (‫ )ﺍﳌﺎﻋﻮﻥ‬ของใช คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ เจาเห็นแลวมิใชหรือผูที่ใสไคลกลาวหาวาวันกียามะฮฺนั้นเปนเท็จ (มีลักษณะเปนอยางไร ?) ทานจง บอกเรามาสิวาพวกเขาคือใคร ซึ่งลักษณะของคนเหลานี้เปนสิ่งที่จะเปนที่จะตองรับรูเพื่อที่จะไดหางไกล ออกมาจากพวกเขา จะไดไมปฏิบัติตนตามลักษณะของพวกเขา การใชคําถามในที่นี้ก็เพื่อที่จะดึงดูดความ สนใจของผูฟงใหหันมาใสใจ และรับรูขอเท็จจริงทั้งหมด และเพื่อเปนการชี้ใหเห็นวาเรื่องนี้เปนเรื่องที่ไมได เปดเผย เพราะใครตอใครตางก็อางวาตนมีความเชื่อตอวันกียามะฮฺทั้งหมด ฉะนั้นเจารูหรือไมวา ใครคือผูที่ กลาวหาวาวันกียามะฮฺเปนเท็จ เปนเรื่องมุสา หากเจายังไมรู เราก็จะแจงใหทานทราบวา ผูที่ผลักไสเด็กกําพรา อยางรุนแรงดวยการขับไสไลสง ไมยอมใหสิทธิ์แกพวกเขาตามที่พวกเขาควรจะไดรับ หากเขามีทรัพยสิน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-70-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

สมบัติ เขาก็ควรจะไดรับในสิ่งนั้น หรือหากเขาเปนคนอนาถา เขาก็ควรจะไดรับการบริจาคเปนทาน และคน ที่กลาวหาวาวันกียามะฮฺเปนเท็จ คือผูที่ไมกําชับกันในการใหอาหารแกคนอนาถา ในเมื่อไมมีแมกระทั่ง การชับ สนับสนุนก็ไมทํา การใหอาหารกับคนกลุมนี้โดยตรงก็ยิ่งกลายเปนเรื่องยาก เมื่อเปนเชนนั้นก็จง สังเกตดูเครื่องหมายที่แสดงออกถึงการปฏิเสธตอวันกียามะฮฺที่อัลลอฮทรงกลาวไวในอัลกุรอานไดเลย พวก เขาสกัดกั้นสิทธิ์ อีกทั้งยังขมเหงรังแกผูที่ออนแอกวา มีความตระหนี่ขี้เหนียว ที่จะใหสิทธิ์แกผูมีสิทธิ์ เมื่อเจา รูถึงขอเท็จจริงเหลานี้แลว เจาก็จงรูไวดวยวา พวกเขาเหลานี้จะตองประสบกับความหายนะ และความหายนะ ก็จะประสบแกผูที่ทําการละหมาดอยางเผอเรอ ทําการละหมาดโดยปราศจากความนอบนอมถอมตน ไมได รําลึกถึงความยิ่งใหญของอัลลอฮขณะละหมาด ละหมาดโดยที่จิตใจไมไดอยูกับเนื้อกับตัว ไมไดใสใจตอสิง่ ที่ตนเองอานขณะละหมาด ละหมาดโดยที่ผูละหมาดเองไมไดตระหนักวาเวลานั้นเปนเวลาที่ตนเองอยูตอ หนาอัลลอฮ กําลังเขาเฝาพระผูทรงสราง กระดุกกระดิก ขยับเขยื้อนเผลอเรอบางครั้งไมรูเสียดวยซ้ําไปวา ตนเองละหมาดไปแลวเทาไหร กี่รอคอะฮฺ การละหมาดในลักษณะเชนนี้คือการละหมาดของผูที่กลาวหาวา วันกียามะฮฺเปนเรื่องมุสา แนนอนที่สุดละหมาดในลักษณะเชนนี้ไมมีคาใด ๆ ไมสามารถปกปองสกัดกั้นจาก สิ่งลามกและสิ่งเลวรายไดเลย เพราะผูทําละหมาดเผอเรอจากการระลึกถึงอัลลอฮ และเปนการละหมาดเพื่อ โออวดตอผูคนเทานั้น ไมไดทําเพื่ออัลลอฮ ดวยความกระหนี่ขี้เหนียวของพวกเขา พวกเขาเองก็ไมยอมให ใครหยิบยืมของใชของพวกเขาเลย เจาเห็นแลวมิใชหรือสําหรับผูที่กลาวหาวาวันกียามะฮฺเปนเท็จนั้น คือผูที่แสดงความโหดรายตอลูก กําพรา คือผูที่ไมยอมใหสิทธิ์กับคนอนาถาม คือคนที่เผอเรอขณะทําละหมาด ละหมาดเพียงเพื่อโออวดตอ ผูคนเทานั้น พวกเขาไมยอมแบงปนความดีแกผูอื่น คนกลุมนี้จะประสบกับความหายนะ(จากการลงโทษใน นรกเวล )ครั้งแลวครั้งเลา แมวาพวกเขาจะทําการละหมาดหรือถือศีลอดอยูเสมอก็ตาม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-71-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ซูเราะฮฺ อัลเกาซัร ซูเราะฮฺอัลเกาซัร มีความหมายวา ความดีอันลนเหลือ เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 3 อายะฮฺ สาระ ในซูเราะฮฺ อัลลอฮทรงกลาวถึงการประทานความดีตาง ๆ อันมากมายใหกับทานนบี หลังจากนั้นก็ทรงขอให ทานทําการละหมาดและทําการบริจาคทานเพื่อแสดงออกถึงการกตัญูตอพระองคที่พระองคทรงประทาน ความโปรดปรานอันมากมายให ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

∩⊂∪ çtIö/F{$# uθèδ št∞ÏΡ$x© χÎ) ∩⊄∪ öptùΥ$#uρ y7În/tÏ9 Èe≅|Ásù ∩⊇∪ trOöθs3ø9$# š≈oΨø‹sÜôãr& !$¯ΡÎ)

ความหมายของซูเราะฮฺ แทจริงเราไดใหความดีอนั ลนเหลือแกเจา( 1) ดังนั้น เจาจงละหมาด และจงเชือดสัตวพลีทาน เพื่อ องคอภิบาลของเจา( 2) แทจริงผูรังเกียจเจานั้น เปนผูขาดความดี( 3) “อัลเกาซัร” เปนบอหนึ่งอยูในสวรรค) มีระบุในหะดีษวา (หมายเหตุ

คําอธิบายศัพท (‫ )ﺍﻟﻜﻮﺛﺮ‬สิ่งของตาง ๆ มากมาย (มีระบุในหะดีษวา “อัลเกาซัร” เปนสระน้ําในสวรรค) ( ‫ )ﺷﺎﻧﺌﻚ‬รังเกียจ หรือขุนเคืองตอเจา (‫ )ﺍﻷﺑﺘﺮ‬ขาดความดี คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ บรรดาพวกมุชริกีนเมื่อพวกเขาเห็นทานนบีและคนมุสลิมมีจํานวนนอย เปนกลุมคนยากจนไมมี ทรัพยสินสมบัติ พวกเขาก็จะแสดงทาที่รังเกียจดูถูกเหยียดหยาม โดยเขาใจเอาวาสัจธรรมและความดีตางๆ นั้นจะตองอยูคูกับทรัพยและความร่ํารวย และจะตองอยูกับคนที่มีพวกพองที่มากมาย เมื่อพวกเขาเห็นวา ทานนบีมีลูกชายเพียงคนเดียว เมื่อเสียชีวิตลงพวกเขาก็กลาววาสิ้นสกุลแลว ไมมีใครระลึกถึงไดอีก พวกมุ นาฟกูนก็เชนกันเมื่อพวกเขาเห็นวามุสลิมมีจํานวนนอย และเปนอยูอยางยากลําบาก ฐานะไมดีพวกเขาก็คดิ วา จะตองเอาชนะไดอยางแนนอน ดวยเหตุที่พวกเขาตองอยูกับความยากลําบาก เกรงวาพวกเขาจะรูมีความรูสึก ที่ไมดี อัลลอฮจึงทรงประทานซูเราะฮฺนี้ลงมายังทานนบี  เพื่อแจงวาแทจริงแลวอัลลอฮไดทรงประทาน ความดีอันมากมายใหแกทาน ทั้งในโลกนี้และโลกหนา ดวยพฤติกรรมของผูอิจฉาริษยา ผูที่รังเกียจเดียดฉัน ที่แสดงออกมานี้นี่เอง ที่จะกลับกลายมาเปนเรื่องดีที่เราพอใจเสียดวยซ้ํา โอมูฮําหมัด แทจริงแลวเราไดประทานความดีมันมากมาย ความดีอันลนเหลือแกเจา ทั้งศาสนาอัน เที่ยงธรรมและความเปนนบี พระองคทรงแตงตั้งเจาใหมาเปนศาสนทูตของมวลมนุษยทั้งหมด ใหศาสนา อิสลามเปนศาสนาสุดทายจากบรรดาศาสนาทั้งหมด สาระธรรมที่ประทานมายังเจาเปนสาระธรรมฉบับ สุดทาย มีการรวมไวซึ่งความดีทั้งในโลกนี้และโลกหนา มีการรวมไวซึ่งความดีและความสมบูรณในทุกดาน ไวอยางครบถวน อัลลอฮไดทรงประทานอัลกุรอาน ทรงประทานวิทยญาณและความรูแกเจา ทรงประทาน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-72-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ความดีและความโปรดปรานอันมากมายใหกับเจา ทรงประทานรัศมีแหงทางนํา ความสงบสุขในโลกนี้และ โลกหนา ทรงประทานสาวกและประชาชาติที่มากมาย ไปจนถึงวันกียามะฮฺ ใชแลวพระองคทรงประทานสิ่งเหลานี้ทั้งหมดใหกับเจา (สวนหนึ่งคือสระน้ําในสรวงสวรรค) เมื่อ เปนเชนนั้น เจาจงทําการละหมาดเพื่อองคอภิบาลของเจาแต เพียงพระองคเดี ยว เจาจงมอบหมายสิ่งตอ พระองค เพราะพระองคคือผูที่ทรงประทานความโปรดปรานและทรงเปนผูชวยเหลือที่ดีที่สุด จงนมัสการ และจงเชือดสัตวพลีทาน ซึ่งการเชือดสัตวเปนสวนหนึ่งขององคพิธีกรรมในพิธีหัจญเพื่ออัลลอฮ ทุกสิ่งที่ ทานกระทําเหลานี้ก็เพื่อพระองค เพราะพระองคคือองคอภิบาลของเจา ผูทรงประทานสิ่งตาง ๆ ใหกับเจา ผู ทรงชี้นําเจาและประทานความสําเร็จแกเจาทั้งหมด สวนผูที่แสดงความรังเกียจเดียดฉันตอเจา อิจฉาริษยาตอเจา พวกเขาถูกตัดขาดจากการกลาวถึง ในทางที่ดี อัลลอฮทรงเปรียบเทียบเหมือนสวนหางของสัตวที่ถูดตัดขาด สวนหางเปนเสมือนสิ่งประดับ ใหกับมัน จึงมีการเปรียบเทียบกับการถูกตัดขาดปราศจากสิ่งดี ๆ สําหรับการละหมาดนักอรรถาธิบายอัลกุร อานบางทานใหทัศนะวาหมายถึงการละหมาดในวันอีด สวนการเชือดสัตวหมายถึงการเชื่อดสัตวพลีทาน (กุรบาน)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-73-

ซูเราะฮฺอัลกาฟรูน ซูเราะฮฺ อัลกาฟรูน ซูเราะฮฺมกั กียะฮฺ มีทั้งหมด 6 อายะฮฺ สาระในซูเราะฮฺเปนการพูดถึงสิ่งที่พวกกา เฟรคาดคิดอยากจะทํา และกลาวถึงความแตกตางระหวางอีบาดะฮฺของพวกเขากับอีบาดะฮฺของทานนบี  ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

!$tΒ tβρ߉Î7≈tã óΟçFΡr& Iωuρ u’Í<uρ ö/ä3ãΨƒÏŠ ö/ä3s9

∩⊄∪ tβρ߉ç7÷ès? $tΒ ß‰ç6ôãr& Iω

∩∈∪ ߉ç6ôãr& !$tΒ tβρ߉Î7≈tã óΟçFΡr& Iωuρ

∩⊇∪ šχρãÏ≈x6ø9$# $pκš‰r'¯≈tƒ ö≅è% ∩⊆∪ ÷Λ–n‰t6tã $¨Β Ó‰Î/%tæ O$tΡr& Iωuρ

∩⊂∪ ߉ç7ôãr& ∩∉∪ ÈÏŠ

ความหมาย จงประกาศเถิด โอบรรดาผูไรศรัทธาทั้งหลาย( 1)ฉันจะไมนมัสการ ในสิ่งที่พวกทานนมัสการ( 2) และพวกทานก็ไมตองมานมัสการในสิ่งที่ฉันนมัสการ( 3) และฉันมิใชผูทําการนมัสการ สิ่งที่พวกทาน นมัสการ( 4) และพวกทานก็มิใชผูทํานมัสการ สิ่งที่ฉันทําการนมัสการ( 5) สําหรับพวกทาน ก็คือศาสนา ของพวกทาน และสําหรับฉัน ก็คือศาสนาของฉัน (ไมเกี่ยวของกัน)( 6) มีรายงานว า แกนนํ า ของพวกมุชริ กีน ไดมาหาทา นนบี  หลั ง จากที่ ไ ดพ ยายามเกลี้ ย กล อ มให เปลี่ยนแปลงการเรียกรองเชิญชวนของทาน แตยังหามพวกเขามิใหตามทานอยางหูหนวกตาบอด พวกเขาจึง มาหาทานแลวกลาวกับทานวา เราจะนมัสการตอพระเจาของทาน สักระยะเวลาหนึ่งและทานก็นมัสการตอ พระเจาของเราสักระยะหนึ่ง การกระทําเชนนี้จะชวยประสานรอยราวระหวางเราได ความเปนศัตรูระหวาง เราก็จะหายไป สิ่งใดที่เรามีดี ทานก็รับบางสวนไปจากเรา และหากสิ่งใดที่ทานมีดี เราก็จะรับบางสวนมาจาก ทาน ...ตอมาซูเราะฮฺนี้ก็ไดรับการประทานลงมา เพื่อที่จะตัดสินในสิ่งที่พวกเขาตองการใหเกิดขึ้น อรรถาธิบายซูเราะฮฺ จงประกาศเถิดโอมูฮําหมัด ..ตอบรรดาผูปฏิเสธศรัทธาทั้งหลายที่เคยชินอยูกับการปฏิเสธศรัทธา ไม เคยคํานึงคุณธรรมเลยแมแตนอย ไมหวังเลยวาคนหนึ่งคนใดจากพวกเขาจะมายอมเชื่อมั่นศรัทธา เจาจง ประกาศแกพวกเขาเถิดวา ฉันเองจะไมไปนมัสการตอสิ่งที่พวกทานทั้งหลายกราบไหวนมัสการ พวกทาน ทั้งหลายกราบไหวพระเจาที่ยังพึ่งพาตออัลลอฮผูทรงอํานาจแตเพียงพระองคเดียว พวกทานกราบไหวบูชา พระเจาที่มีมาในรูปของรูปบูชาหรือรูปเจว็ด แตฉันเองกราบไหวนมัสการตอพระเจาผูทรงเอกะ ผูที่ไมทรงพึง พาผูใด ไมมีภริยาและบุตร ไมมีสิ่งใดที่สามารถเปรียบเทียบใหเสมอเหมือนได ไมอยูลักษณะที่เปนรูปเปน ราง เปนลักษณะบุคคล ไมตองการความอนุเคราะหจากผูใด การเขาใกลพระองคไมตองผานสิ่งถูกสราง แต การเขาใกลพระองคเพียงผานการอีบาดะฮฺตอพระองคโดยตรง ฉะนั้นสิ่งที่ฉันกราบไหวนมัสการกับสิ่งที่ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-74-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

พวกทานกราบไหวนมัสการนั้นแตกตางหางไกลกันมาก ฉันจะไมกราบไหวนมัสการในสิ่งที่พวกทาน นมัสการ และพวกทานก็ไมตองมานมัสการในสิ่งที่ฉันนมัสการ โอบรรดาผูปฏิเสธทั้งหลายที่ยังยึดมั่นอยูกับการปฏิเสธศรัทธา ฉันเองจะไมเปนผูที่นมัสการใน รูปแบบการนมัสการของพวกทาน และพวกทานก็ไมใชผูนมัสการตามแบบการนมัสการของฉัน อายะฮฺที่ 2 และ 3 แสดงใหเห็นวา พระเจาที่ทานนบี  กราบไหวนมัสการนั้นแตกตางไปจากที่พวกเขากราบไหว นมั ส การ ท า นกราบไหว อั ล ลอฮ แต พ วกเขากราบไหว รู ป เจว็ ด รู ป บู ช า ส ว นอายะฮฺ ที่ 4 และ 5 มี สื่ อ ความหมายออกมาในทํานองเดียวกัน นั่นคือรูปแบบการอีบาดะฮฺของทานนบีนั้นเปนการอีบาดะฮฺที่บริสุทธิ์ ใจตออัลลอฮ ไมไดปะปนกับการตั้งภาคี ระหวางสิ่งที่เปนพระเจากับผูที่กราบไหวนมัสการแตกตางกันอยาง สิ้นเชิง การอีบาดะฮฺของพวกทานทั้งหมดเปนการตั้งภาคีตออัลลอฮ จึงรวมกันไมได ไมมีจุดใดที่เชื่อมตอกัน กับการอีบาดะฮฺของเรา นักวิชาการบางทานกลาววา การใชสํานวนภาษาที่มีลักษณะความหมายคลายคลึงกัน แตความหมายตางกัน เพื่อเปนการหลีกเลี่ยงการกลาวซ้ําในเรื่องเดียวกัน ความหมายในสองอายะฮฺแรกเปน การกลาวถึง เรื่องที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (ซึ่งมีความหมายวา จะไมทําการอีบาดะฮฺอยางทาน ) สวนสองอายะฮฺ หลัง เปนการกลาวถึงเรื่องในอดีต (ยังไมเคยปฏิบัติอยางที่พวกทานปฏิบัติ) ซึ่งเปนเรื่อง ๆ และมีวัตถุประสงค เดียวกัน ศาสนาของทานก็เปนไปตามศาสนาของทาน ศาสนาของฉันก็ปลอยใหเปนไปตามศาสนาของฉัน ซึ่งสองประโยคหลังจะเปนการยืนยันความหมายของอายะฮฺทั้งสองที่ผานมาทั้งหมด .

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-75-

ซูเราะฮฺอัลนัสรฺ ซูเราะฮฺอัลนัสรฺ ซึ่งมีความหมายวา การชวยเหลือ มีทั้งหมด 3 อายะฮฺ ในซูเราะฮฺเปนการแจงขาวดีตอ ทานนบี และบรรดาซอฮาบะฮฺ วาจะมีการประทานความชวยเหลือจากอัลลอฮมายังศาสนาของพวกเขา ดวย การเปดอกเปดใจใหผูคนใหเข ารับนับถือศาสนาอิสลาม จึงมีบั ญชามายั งทานให กล าวตัสบีฮฺ สดุดี พระ บริสุทธิ์คุณแหงอัลลอฮ เพราะพระองคคือผูประทานชัยชนะใหกับพวกเขา ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

∩⊄∪ %[`#uθøùr& «!$# ÇƒÏŠ ’Îû šχθè=ä{ô‰tƒ }¨$¨Ψ9$# |M÷ƒr&u‘uρ

∩⊇∪ ßx÷Gxø9$#uρ «!$# ãóÁtΡ u!$y_ #sŒÎ)

∩⊂∪ $R/#§θs? tβ%Ÿ2 …絯ΡÎ) 4 çνöÏøótGó™$#uρ y7În/u‘ ωôϑpt¿2 ôxÎm7|¡sù

ความหมาย เมื่อความชวยเหลือแหงอัลเลาะฮฺ และการพิชิตไดมาปรากฏแลว(1) และเจาไดเห็นมวลมนุษยพากัน เขามาสูศาสนาของอัลเลาะฮฺเปนกลุม ๆ ( 2) ดังนั้น เจาจงสดุดีพระบริสุทธิคุณ พรอมดวยการสรรเสริญ องคอภิบาลของเจาเถิด และจงขออภัยตอพระองค เพราะแทจริงพระองคทรงรับการสารภาพโทษยิ่ง( 3) คําอธิบายศัพท (‫ )ﻧﺼﺮ ﺍﷲ‬ความชวยเหลือจากอัลลอฮ (‫ )ﺍﻟﻔﺘﺢ‬การเปดเมือง การพิชิต มีชัยเหนือศัตรูของอิสลาม (‫ )ﺍﻓﻮﺍﺟﺎ‬เปนกลุม ๆ (‫ )ﻓﺴﺒﺢ ﲝﻤﺪ ﺭﺑﻚ‬กลาวตัซบิฮฺ สดุดี กลาวตะฮฺมิด สรรเสริญตออัลลอฮ ดวยวิธีการ สรรเสริญสดุดี ที่เหมาะสม คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ กอนหนานี้ทานนบี  มีความประสงคอยางแรงกลาที่จะใหผูคนเขามาศรัทธาตออิสลาม โดยเฉพาะ อยางยิ่งเผากุรอยชและชาวอาหรับ ซึ่งทานนบีก็เหมือนกับมนุษยทั่วไป ทานไมมีความรูเกี่ยวกับสิ่งเรนลับวา ในอนาคตอัลลอฮประสงคจะใหเกิดอะไรขึ้น ทานจึงมีความหวั่นวิตกอยูบางวาการเรียกรองเชิญชวนของ ทานนั้น จะเกิดอะไรขึ้น ตอมาอัลลอฮก็ทรงประทานซูเราะฮฺนี้ลงมาเพื่อเปนการแจงขาวดีตอทาน เปนการ แจงเตือนแกทานวา ทานไมควรจะรูสึกวิตกกังวลกับเรื่องนี้อีกตอไป เปนการแจงใหทราบวา เรื่องที่เกิดขึ้น เปนเรื่องของความดีสําหรับทานและเปนความเลวรายกับคนใกลชิด ซึ่งบางครั้งสิ่งนั้นเปนสิ่งที่ดีสําหรับทาน แตกับคนอื่น ๆ กับเปนเรื่องที่พวกเขาไมพึงประสงค ดวยความรูสึกที่ผานมา จึงควรขออภัยโทษจากอัลลอฮ เสีย เมื่อความชวยเหลือจากอัลลอฮมาถึง ซึ่งความชวยเหลือดังกลาวจากพระองคนั้นเปนเรื่องที่จะตอง เกิดขึ้นอยางแนนอน เมื่อการพิชิตเมืองตาง ๆ ที่ไมสามารถพิชิตไดประสบความสําเร็จ สามารถพิชิตได จิตใจ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-76-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ของผูคนที่เคยปดแนน ก็จะเริ่มคลี่คลายและเปดออก ทานก็จะไดเห็นผูคนเขาสูศาสนาของอัลลอฮเปนกลุม ๆ เมื่อสถานการณเปนเชนนี้แลว ทานก็จะตองแสดงความกตัญูของคุณตออัลลอฮ ดวยการกลาวสรรเสริญตอ พระองคดวยรูปแบบที่เหมาะที่ควรตอพระองค กลาวสดุดีตอองคอภิบาลของทาน ในพระบริสุทธิ์คุณแหง พระองคดวยรูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมแกพระองค สดุดีในพระบริสุทธิ์คุณ สรรเสริญตอความงดงาม แหงการดลบันดาล ดวยการกลาวถึงคุณลักษณะและพระนามแหงพระองคอันไพจิต กลาวขออภัยโทษตอ ความผิด วอนของใหพระองคทรงอภัยในความผิดพลาดที่เคยกระทําและลวงเกินตอพระองค (เชนการวิตก กังวล) ในสิ่งที่ไมเหมาะไมควรที่ผูเปนศาสนทูตทานสุดทายอยางทานจะรูสึก ขออภัยโทษจากพระองค แทจริงแลวพระองคทรงรับการขออภัยโทษของมวลบาวเสมอ พระองคจะทรงใหอภัยในความผิด พระองค ทรงรอบรูในสิ่งที่ทานไดกระทํา ในซูเราะฮฺเปนการสื่อมายังทานนบีและทุกคนที่มีความเหมาะสมที่จะไดรับ การสื่อมาดวยซูเราะฮฺนี้ทั้งหมด มีรายงานวา ซูเราะฮฺนี้เปรียบเสมือนเปนการสดุดีในเกียรติคุณของทานนบี เปนเสมือนการปลอบใจ วาเมื่อทานนบีไดรับซูเราะฮฺนี้ ก็แสดงวาทานนบีมูฮําหมัด  ไดทําการเผยแพรสารธรรมของทานไดอยาง เสร็จสิ้นสมบูรณแลว เมื่อการเผยแพรเสร็จสิ้นแลวตอไปทานก็จะตองกลับคืนสูอัลลอฮ ทําใหซอฮาบะฮฺบาง ทานเขาใจในความหมายที่ซูเราะฮฺนี้สื่อออกมา ทําใหบางทานถึงขนาดตองรองไหตอสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับทาน นบี  ในไมชา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-77-

ซูเราะฮฺอัลมะซัด ซูเราะฮฺอัลมะซัด มีความหมายวา เสนใยจากตนอินทผาลัม เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺมีทั้งหมด 5 อายะฮฺ สาระในซูเราะฮฺเปนการกลาวถึงเรื่องราวของอาบีละฮับและภริยา ซึ่งเปนผูแบกไมฟน ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

#Y‘$tΡ 4’n?óÁu‹y™

∩⊄∪ |=|¡Ÿ2 $tΒuρ …ã&è!$tΒ çµ÷Ψtã 4o_øîr& !$tΒ

∩⊇∪ ¡=s?uρ 5=yγs9 ’Î1r& !#y‰tƒ ôM¬7s?

∩∈∪ ¤‰|¡¨Β ÏiΒ ×≅ö7ym $yδω‹Å_ ’Îû ∩⊆∪ É=sÜysø9$# s's!$£ϑym …çµè?r&tøΒ$#uρ ∩⊂∪ 5=oλm; |N#sŒ

ความหมาย สองมือของอบีล ะฮับจงพิน าศเถิด และเขาก็ได พิน าศแลว(1)ทรั พ ยสิน ของเขา และสิ่ง ที่ เขาได พากเพียรไว ไมอาจปองกันเขาไดเลย( 2)ตอไปเขาจะตองเขาไปในนรกที่มีเปลวเพลิง( 3) โดยมีภริยาของเขา เปนผูแบกไมฟน( 4) ซึ่งในตนคอของนางนั้น มีเชือก (ที่ทํามา) จากเสนใยของตนอินทผลัม( 5) คําอธิบายศัพท (‫ )ﺗﺒﺖ ﻳﺪﺍ ﺃﰊ ﳍﺐ‬ความพินาศ ความขาดทุน จงเกิดขึ้นกับสองมือของอาบีละฮับ (‫ )ﺳﻴﺼﻠﻰ‬จะได ลิ้มรส จะไดเขาสู (‫ )ﲪﺎﻟﺔ ﺍﳊﻄﺐ‬แบกไมฟน ไมฟนที่นางแบกนั้นเปนไมฟนจริง ๆ หรือไม ? อัรวา บินตฺ ฮัรบฺ บิน อุมัยยะฮฺ นองสาวของอาบีซุฟยาน ภริยาของอาบีละฮับนั้นแบกไมฟนจริง ๆ หรือหมายถึงนาง พยายามที่จะกอใหเกิดความเสื่อมเสียขึ้นกับผูคน ดวยเหตุนี้เองจึงมีการกลาวในเชิงเปรียบเปรยไวในงในอา ยะฮฺนี้ (‫ )ﻣﺴﺪ‬เชือกซึ่งบิดควั่นไวอยางแนนหนาแข็งแรง คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ มีรายงานวาเมื่อทานนบี  ไดรับบัญชาใหทําการเผยแพรศาสนาอยางเปดเผยแกผูคน โดยเฉพาะ อยางยิ่งกับบรรดาญาติพี่นองผูใกลชิด ทานไดออกไปยืนที่ลานกวางพรอมกับเรียกชาวกุรอยชใหมารวมกัน พรอมกับกลาววา “นี่พวกทานหากฉันจะบอกพวกทานวาศัตรูกําลังจะบุกมายังพวกทาน ทานจะเชื่อฉัน หรือไม ?” พวกเขาก็ตอบวา “เราเชื่อ” จากนั้นทานก็บอกกับพวกเขาวา “แทจริงแลวฉันขอเตือนพวกทานวา ขางหนาพวกทานนั้นมีการลงโทษที่รุนแรงรออยู” เมื่ออาบีละฮับไดยินก็พูดสวนออกมาวา “มีเรื่องแคนี้ดอก หรือที่เรียกพวกเราใหมารวมตัวกันในวันนี้” วาแลวอัลลอฮก็ทรงประทานซูเราะฮฺนี้ลงมา ความพินาศ ความขาดทุนอยางรุนแรงจงประสบแกอาบีละฮับ เปนการขอดุอาใหเกิดเหตุกับเขา และ แลวก็เกิดความพินาศยอยยับกับเขาจริงๆ ดังมีหลักฐานปรากฏที่วา “‫ ” َﻭﺗَﺐ‬ซึ่งมีความหมายวา “แลวเขาก็ พินาศลง” ทรัพยสินสมบัติของเขาไมสามารถที่จะชวยอะไรเขาไดเลย สิ่งที่เขาไดพยายามสรางมาไมสามารถ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-78-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ยังประโยชนอะไรใหกับเขาไดเลย ไมสามารถที่จะสรางความมั่นคงอะไรใหกับเขาได ในการเผยแพรศาสนา ของทา นนบี  อาบี ละฮั บซึ่งเปน ลุ งของทานนบีเอง มีชื่อเรีย กอีก ชื่ อ หนึ่ งว า อั บดุ ลอุ ซซา เป น ผู ที่ คอย ขัดขวางตอตานและเปนศัตรูกับทานนบีอยางแรง เขาคอยที่จะเดินตามหลังทานนบี เมื่อนบีกลาวสิ่งใดออกมา เขาก็จะกลาววา โกหก ดวยเหตุนี้เองอัลลอฮจึงทรงกลาวถึงการตอบแทนที่จะตอบแทนใหกับเขาไววา “เขา จะเขาสูไฟนรก” ที่ไมสามารถรูไดวาปริมาณความรอนของมันจะขนาดไหน มีลักษณะเปนเชนไร อัลลอฮผู ทรงสรางเทานั้นที่ทรงรู อัลลอฮจึงทรงกลาววา “‫ ”ﻧﺎﺭﺍ ﺫﺍﺕ ﳍﺐ‬ที่นั่นตรงนั้นคือที่ที่เขาและภริยาของเขาจะ เขาไป ซึ่งภริยาของเขาจะเปนผูแบกฟน มีรายงานวานางเปนผูที่คอยหาทางสกัดกั้นผูคน ดวยการนําหนามมาวางไวในถนนหนทาง ตาม ตรอกซอกซอย ที่ทานนบีจะเดินผาน นางเปนผูที่พยายามยุยงปลุกปนใหเกิดความเขาใจผิดและแตกแยก ระหวางทานนบีกับผูคน นางเปนผูสรางเรื่องกอเรื่อง สรางความเปนศัตรูใหเกิดขึ้น อัลลอฮจึงทรงเสริมเติม เต็มใหกับนางไวในอีกอายะฮฺหนึ่งวา “‫ ”ﰲ ﺟﻴﺪﻫﺎ ﺣﺒﻞ ﻣﻦ ﻣﺴﺪ‬แตเดิมทีในคอของนางมีสรอยคอ คลายกับวา เปนสิ่งที่จะนํามาขายนําเงินมาชวยสนับสนุนในการตอตานทานรอซูลุลลอฮ จากนั้นอัลลอฮก็ทรงเปลี่ยน สรอยคอมาเปนเชือกผูกคอนางเพื่อตัดสิน โดยใหนางลงสูนรก หรือความหมายอีกนัยหนึ่งอธิบายไววา เปน การแสดงใหเห็นถึงความอัปยศ แสดงใหเห็นภาพของความอดสู จากการที่นางเคยเปนผูหยิ่งยโสโอหังมา พรอมๆ กับสามีของนาง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-79-

ซูเราะฮฺอัลอิคลาส ชื่อซูเราะฮฺ อัลอิคลาส ซึ่งมีความหมายวา “ความบริสุทธิ์ใจ” เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ มีทั้งหมด 4 อา ยะฮฺ เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ ซูเราะฮฺนี้เปนการกลาวถึงเอกานุภาพแหงอัลลอฮ เปนการกลาวถึงพระบริสุทธิ์คุณ แหงอัลลอฮ ซึ่งเปนฐานหลักฐานแรก เปนหลักการขอแรกของอิสลาม มีฮาดิษรายงานวา คุณคาของมัน เทากับ 1 ใน 3 ของอัลกุรอาน เปนการกลาวถึงหลักการทั่วไป 3 ประการ คือเรื่องของ เตาฮีดหรือเอกานุภาพ แห งอั ลลอฮ การยอมรับในขอบเขตของพระองคแ ละการกระทําของมัคลุก (สิ่งถูกสรางทั้งหมด) มีก าร กลาวถึงสภาพของวันกียามะฮฺ ผูใดที่อานและทําความเขาใจวิเคราะหความหมายก็จะไดรับผลเทากับการ อานอัลกุรอานได 1 ใน 3 ของอัลกุรอานทั้งหมด ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

…ã&©! ä3tƒ öΝs9uρ

∩⊂∪ ô‰s9θムöΝs9uρ ô$Î#tƒ öΝs9

∩⊄∪ ߉yϑ¢Á9$# ª!$#

∩⊇∪ î‰ymr& ª!$# uθèδ ö≅è% ∩⊆∪ 7‰ymr& #·θàà2

ความหมาย จงประกาศเถิด อัลเลาะฮฺมีองคเดียว( 1) อัลเลาะฮฺ ทรงเปนที่พึ่ง ( 2) พระองคมิไดใหกําเนิด และ พระองคมิไดถูกกําเนิด (3) และไมมีสิ่งใดเทียบเทียมกับพระองค( 4) คําอธิบายศัพท (‫ )ﺍﺣﺪ‬ทรงเอกะ ทั้งในความเปนพระองคเอง คุณลักษณะ และการกระทํา (‫ )ﺍﻟﺼﻤﺪ‬ทรงกําหนด และดําเนินการดวยพระองคเองไมพึงพาผูใ ด (‫ )ﻛﻔﻮﺍﹰ‬สิ่งเปรียบ สิ่งเสมอเหมือน คําอรรถาธิบายซูเราะฮฺ จงประกาศเถิดโอมูฮําหมัด ... ถึงขอเท็จจริง ที่สามารถยืนยันในความเปนสัจธรรม จงประกาศ หลั ก ฐานที่ ชั ด เจนเด็ ด ขาดว า อั ล ลอฮนั้ น ทรงเอกะ ทรงเอกะในความเป น พระองค เ อง ไม มี จํ า นวนที่ สลับซับซอน พระองคทรงเอกะในการกระทํา ไมมีใครตองคอยสนับสนุนชวยเหลือหรือมามีหุนสวนกับ พระองค ไมมีการกระทําใดที่เสมอเหมือน ในที่นี้มีการใชสรรพนามวา “‫ ”ﻫﻮ‬เปนการกระตุนใหเขาใจไดวา เปนคําพูดที่สําคัญยิ่ง ควรแกการ ใสใจทําความเขาใจและคนควาหาขอเท็จจริง เปนสรรพนามที่นํามาใชเพื่อเรียกรองใหมีการติดตามทําความ เขาใจ ความที่จะนํามากลาวถึงตอไป เมื่อมีการอธิบายเพิ่มเติมก็จะไดเขาใจไดงายขึ้น หลายคนอาจจะมี คําถามวา ทําไมจึงไมใชภาษาวา “‫ ”ﺍﷲ ﺍﻷﺣﺪ‬แตมาแทนดวยคําวา “‫ ”ﺃﺣﺪ‬คําตอบก็คือ พระองคประสงค ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-80-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

จะชี้แจงใหปรากฏวาเอกานุภาพนั้นอยูที่พระองค ความสูงสงแหงพระองคนั้นดํารงอยูดวยเอกานุภาพในตัว ของพระองค ไมไดมีหลายองค หากมีการใชภาษาวา “‫ ”ﺍﷲ ﺍﻷﺣﺪ‬สํานวนก็จะมีความหมายวา พวกเขามี ความเชื่อในเอกานุภาพ แตเปนเอกานุภาพที่อยูกับใคร ? ทั้งๆ ที่ความหมายที่ตองการก็คือการปฏิเสธความ หลากหลาย ซึ่งพวกเขา(อยางเชนพวกคริสต ซึ่งมีความเชื่อในพระเจาสามองค ที่เรียกวาตรีเอกานุภาพ ) มี ความเชื่อเชนนั้น ดวยเหตุนี้เองอัลลอฮจึงทรงตรัสวา “‫ ”ﺍﷲ ﺍﺣﺪ ﺍﷲ ﺍﻟﺼﻤﺪ‬ซึ่งมีความหมายวา อัลลอฮคือผู ทรงเอกะ ผูทรงเปนที่พึ่ง ไมมีใครมีอํานาจเหนือพระองคอีก พระองคไมประสงคที่จะพึงพาผูใด แตพระองค ทรงเอกะที่ใครตอใครตองพึ่งพาพระองค พระองคคือที่คืนกลับของเหลามัคลูก(สิ่งถูกสรางทั้งหมด) เมื่อถึง คราวคับขันมีปญหา พระองคคือผูทรงสูงสง ผูทรงยิ่งในความเปนศิริมงคล พระองคไมมีภริยาและบุตร เปนการประกาศถึงความบริสุทธิ์แหงพระองคจากการมีบุตร ไมวาจะ เปนชายหรือหญิง ไมมีใครใหกําเนิดพระองค หลักฐานเหลานี้ทั้งหมดเปนการตอบโตตอพวกมุชริกีนที่ กลาวหาวามลาอิกะฮฺเปนบุตรหญิงของอัลลอฮ และเปนการตอบโตตอพวกคริสตที่ก ลาวหาว า อัลอุซิรฺ และอัลมะซิฮฺเปนบุตรของอัลลอฮ จากนั้นพวกเขาก็ทําการนมัสการตออัลลอฮประหนึ่งวาพระองคคือพระ บิดา ซึ่งเปนไปไมไดวาพระองคจะทรงมีบุตร เพราะบุตรเปนสวนที่แยกสวนมาจากผูเปนบิดา หากเปน เชนนั้นก็หมายความวา พระเจาจะตองมีหลายองค กลายเปนสิ่งใหม ที่คลายคลึงกับสิ่งถูกสราง แตอัลลอฮ พระองคไมไดตองการที่จะตองมีลูก เพราะพระองคคือผูทรงสรางสรรคสรรพสิ่งทั้งหมด ผูทรงสรางชั้นฟา และแผนดิน ผูที่ทรงใหชั้นฟาและแผนดินกลายมาเปนมรดกตกทอดสืบสานตอกันมา สวนเหตุผลที่จะบอกวาเปนไปไมไดกับการที่พระองคจะเปนผูที่ถูกใหกําเนิดมา หากทําความเขาใจ ใหถองแทก็จะเปนเรื่องงายตอการทําความเขาใจ ลูกจะตองมีพอมีแม จะตองมีผูใหนม แตพระองคทรง สูงสงเกินกวาที่จะพึงพิงสิ่งเหลานี้ทั้งหมด “‫ ”ﱂ ﻳﻜﻦ ﻟﻪ ﻛﻔﻮﺍ ﺃﺣﺪ‬ในเมื่อพระองคทรงเอกะในตัวของ พระองคเอง อัลลอฮไมไดมีหลายองค ไมมีพอผูใหกําเนิด และพระองคก็ไมไดถูกใหกําเนิดมาโดยผูใด ไมมี ใครเสมอเหมือนหรือเทียบเทียมตอพระองค ไมมีพระเจาอื่นใด ไมมีภาคีใด ๆ พระองคทรงสูงสงจากสิ่งที่ พวกเขาตั้งภาคีทั้งหมด ซูเราะฮฺนี้เปนการตอบโตตอบรรดามุชริกีน (บรรดาผูตั้งภาคีตออัลลอฮ กลาวหาวาอัลลอฮมีบุตรมี ผูใหกําเนิด มีภาคีหุนสวน) ทั้งพวกยิวและพวกคริสต ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน พวกคริสตมีความเชื่อแบบ ตรีเอกานุภาพ เปนการตอบโตแกพวกที่นมัสการตอดวงดาวและทางชางเผือก เปนการตอบโตตอพวกมุช ริกีนอาหรับที่เขาใจวาอัลลอฮมีภาคี ซึ่งความจริงแลวอัลลอฮทรงบริสุทธิ์และสูงสงกวาสิ่งเหลานี้ทั้งหมด ซู เ ราะฮฺ นี้ มี ชื่ อ เรี ย กว า ซู เ ราะฮฺ อั ล อิ ค ลาส เพราะสาระในซู เ ราะฮฺ เ ป น การยื น ยั น ในเอกานุ ภ าพ แหงอัลลอฮ ว าพระองค ไ มมี ภ าคีใด ๆ และพระองคคือผูทรงเอกานุภ าพที่ แทจ ริง ทรงกํ าหนดและทรง ดําเนินการแตเพียงพระองคเดียว พระองคไมมีผูใหกําเนิด และไมเคยใหกําเนิดใคร พระองคไมมีสิ่งเสมอ เหมือนหรือเทียบเทียมพระองค เมื่อเปนเชนนี้ก็จะนําไปสูการอีบาดะฮฺตอพระองคแตเพียงพระองคเดียวดวย ความบริสุทธิ์ใจ มุงมั่นสูพระองคแตเพียงผูเดียว

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

-81-

ซูเราะฮฺอัลฟะลัค ชื่อซูเราะฮฺ อัลฟะลัค ซึ่งมีความหมายวา รุงอรุณ เปนซูเราะฮฺมักกียะฮฺ แตนักวิชาการบางทาน กลาว วาเปนซูเราะฮฺมาดานียะฮฺ มีทั้งหมด 5 อายะฮฺ เปนหนึ่งในซูเราะฮฺที่ เริม่ ตนดวยการขอความคุมครอง ที่เรียก กันวา “‫”ﻣﻌﻮﺫﺗﲔ‬ ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

∩⊂∪ |=s%uρ #sŒÎ) @,Å™%yñ ÎhŸ° ÏΒuρ

∩⊄∪ t,n=y{ $tΒ ÎhŸ° ÏΒ

∩⊇∪ È,n=xø9$# Éb>tÎ/ èŒθããr& ö≅è%

∩∈∪ y‰|¡ym #sŒÎ) >‰Å™%tn Ìhx© ÏΒuρ ∩⊆∪ ωs)ãèø9$# †Îû ÏM≈sV≈¤¨Ζ9$# Ìhx© ÏΒuρ

ความหมาย จงกลาว (วอนขอ) เถิด ขาพเจาขอความคุมครองตอองคอภิบาลแหงรุงอรุณ (1) ใหพน จากความ เลวรายของสิ่งที่พระองคไดบันดาลไว (2) และใหพนจากความเลวรายแหงยามกลางคืน เมื่อมันแผคลุมความ มืดเขามา( 3) และใหพนจากความเลวรายของบรรดาผูเสกเปาในตระกรุด(4) และใหพนจากผูริษยา เมื่อเขา (แสดงความ) ริษยา(5) คําอธิบายศัพท (‫ )ﺍﻟﻔﻠﻖ‬การทํ าให สวาง กระจาง แตก แยก ผาออกจากกัน และกัน ความหมายในที่ นี้ หมายถึง อั ล ลอฮทรงแยกแผ น ดิ น ออกมาด ว ยพื ช พั น ธ ด ว ยภู เ ขาเลากา ด ว ยตาน้ํ า และด ว ยสายฝนจากฟากฟ า (‫ )ﻏﺎﺳﻖ‬ความมืดมิด (‫ )ﺍﺫﺍ ﻭﻗﺐ‬ปกคลุมทุกสิ่งใหมืดมิด (‫ )ﺍﻟﻨﻔﺎﺛﺎﺕ‬การเสกเปา เปามนต (‫ )ﰲ ﺍﻟﻌﻘﺪ‬ตระ กรุด (อยางที่เขาใจกัน) เงื่อนปม หรืออาจจะเปนการผูกมัดใหเกิดความรัก ความผูกพันระหวางชายหญิง มีรายงานบันทึกไววา พวกยิว (ยะฮุดีย) บางคนไดทําไสยศาสตรทําคุณไสยตอทานนบี ทําใหทานนบี มีอาการไมสบายถึงสามวันสามคืน จนกระทั่งบางครั้งอาการหนักถึงขนาดวาทานมีอาการเพอฝนวากระทํา อะไรสักอยางหนึ่ง ทั้ง ๆที่ยังไมไดกระทํา ตอมาทานมลาอิกะฮฺญิบรออีลก็มาหาทาน และแจงแกทานถึงเรือง ของมายากลหรือคุณไสย โดยชี้ใหทานวามันถูกวางไวที่ใด หลังจากนั้นทานก็อานซูเราะฮฺอัลฟะลัค หรือมะอู ซะตัยน เมื่อทานอานอาการก็ผอนคลายไปจากที่ตองคุณไสย อาการก็กลับเปนปกติ รายงานดังกลาวทั้งหมด ไมนาจะเปนเรื่องจริงนักวิชาการหลายทานไดพิสูจนทางวิชาการแลว แต เปนเรื่องที่พวกยะฮูดีย(ยิว)กุขึ้นเพื่อใหผูคนเกิดขอสงสัยเกี่ยวกับทานนบี  เพื่อใหพวกเขาผูกพันอยูกับพิธี การทางไสยศาสตร ทั้ง ๆ ที่อัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานแลววา (Al-Maidah 067)

Ĩ$¨Ζ9$# zÏΒ šßϑÅÁ÷ètƒ ª!$#uρ

และอัลลอฮทรงพิทักษเจาจาก (ความชั่วรายของ) มวลมนุษย ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-82-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

และทรงตรัสไวอีกวา (Al-Hijr 095)

∩∈∪ šÏÌ“öκtJó¡ßϑø9$# y7≈oΨø‹xx. $¯ΡÎ)

แทจริงเราไดทาํ ความเพียงพอแกเจาแลว ดวยการลงโทษบรรดาพวกทีท่ ําการเยยหยัน จงประกาศเถิด..โอ มูฮําหมัด แทจริงแลวขาขอความคุมครองจากองคอภิบาลแหงสรรพสิ่งทั้งมวล พระองคผูทรงสรางฟากฟาและแผนดิน ขาขอความคุมครองตอพระองคจากความชั่วรายทุกประเภท ขอ ความคุมครองจากพระองคใหรอดพนจากความทุกขยากลําบากที่จะมาประสบตอตัวขาเอง ตอครอบครัว ตอ วิถีก ารเรีย กรอ งเผยแพร ข องข า ขอความคุม ครองแก บ รรดาซอฮาบะฮฺ ข องข า ข า ขอความคุม ครองจาก พระองคใหรอดพนจากความชั่วรายในตอนกลางคืน ครั้นเมื่อความมืดมิดปกคลุมสรรพสิ่งทั้งหมด แทจริง แลวความมืดมิดของมันจะเปนเสมือนมานบังตาใหกับคนที่กระทําความชั่ว ขอขอความคุมครองจากพระองค ใหรอดพนจากการเสกเปาตะกรุด ที่พวกเขาผูกเปนเงื่อนปม ดังที่ไดกลาวมา แตความหมายที่นาจะถูกตอง ที่สุดคือการขอความคุมครองจากพระองคใหรอดพนจากความชั่วรายของพวกยุยงปลุกปน ที่คอยยุยงใหผูคน แตกแยกกัน ใหผูคนหางเหิรเมินหนาตัดขาดความรักความปรองดองตอกัน(คําวา ‫ ﺍﻟﻨﻔﺎﺛﺔ‬ซึ่งมีตัว ‫ ﺓ‬ในที่นี้ ใช สําหรับ ‫ ﻣﺒﺎﻟﻐﺔ‬ไมใช เพื่อแสดงความเปนเพศหญิง) ขอความคุมครองจากพระองคใหรอดพนจากคนที่คอยยุยง ปลุกปนใหเกิดใหคิดในสิ่งที่ไมพึงประสงค ซึ่งคนกลุมนี้จะพยายามทําในเรื่องดังกลาวอยางทุมเท ไมมีอะไร ที่จ ะทํ า ให พ วกเขาพอใจและละทิ้งพฤติกรรมได นอกเสี ย จากวาเราจะตองมุงสูอัลลอฮ ขอให พระองค คุมครองพวกเราใหรอดพนจากความชั่วรายของคนกลุมนี้ เพราะพระองคทรงเดชานุภาพเหนือสรรพสิ่ง ทั้งหมด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-83-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ซูเราะฮฺ อัลนาส ซูเราะฮฺ อัลนาส ซึ่งมีความหมายวา “มนุษย” มีปรากฏอยูในอายะฮฺแรกของซูเราะฮฺ เปนซูเราะฮฺ มักกียะฮฺ มีทั้งหมด 6 อายะฮฺ เปนซูเราะฮฺทสี่ องที่เรียกกันวา “มะอูซะฮฺ” (กลาวถึงการขอความคุมครอง จากอัลลอฮใหรอดพนจากสิง่ เลวรายตาง ๆ ) ‫ﺒﺴﻡ ﺍﷲ ﺍﻟﺭﺤﻤﻥ ﺍﻟﺭﺤﻴﻡ‬

Ĩ$¨Ψsƒø:$# Ĩ#uθó™uθø9$# Ìhx© ÏΒ ∩⊂∪ Ĩ$¨Ψ9$# ϵ≈s9Î) ∩⊄∪ Ĩ$¨Ψ9$# Å7Î=tΒ ∩⊇∪ Ĩ$¨Ψ9$# Éb>tÎ/ èŒθããr& ö≅è% ∩∉∪ Ĩ$¨Ψ9$#uρ Ïπ¨ΨÉfø9$# zÏΒ ∩∈∪ ÄZ$¨Ψ9$# Í‘ρ߉߹ †Îû â¨Èθó™uθム“Ï%©!$# ∩⊆∪

ความหมายของซูเราะฮฺ จงกลาว(วอนขอ) เถิด โอ..มูฮําหมัด ขาพเจาขอความคุมครองตอองคอภิบาลแหงมวลมนุษย (1) ผู ทรงอํานาจปกครองมนุษย (2) ผูทรงเปนพระเจาแหงมวลมนุษย (3) (ขอ)ใหรอดพนจากความเลวรายของผู กระซิบที่ซอนเรน (4) ซึ่งเปนผูทําการกระซิบในหัวอกของมนุษย (ซึ่งมา) จากญินและมนุษย คําอธิบายศัพท (‫ )ﺍﻟﻮﺳﻮﺍﺱ‬กระซิบกระซาบในหัวอกของมนุษยในเรื่องทีไ่ มดีไมงาม (‫ )ﺍﳋﻨﺎﺱ‬ซอนเรน ,ลาหลัง ,

ถอยหลัง, รับฟงคําเตือนแลวกลับไปทําใหม (‫ )ﻣﻦ ﺍﳉﻨﺔ‬เปนสิ่งถูกสรางประเภทหนึง่ ซึ่งไมมีใครสามารถรู รายละเอียดรูปลักษณของมันไดนอกจากอัลลอฮ อรรถาธิบายซูเราะฮฺ

จงกลาวประกาศเถิดโอมูฮําหมัดวา ขาเองไดมุงสูอัลลอฮและขอความคุมครองจากพระองค เพื่อให พระองคปกปองคุมครองขาพระองค จากความเลวรายของการกระซิบกระซาบ ขาขอความคุมครองจากองค อภิบาลแหงมนุษย ผูทรงคอยอภิบาลปกปองคุมครองรักษาพวกเขาอยูทุกเมื่อ แมในยามที่พวกเขายังออนแอ พระองคคือผูทรงอํานาจเหนือการงานของพวกเขาทั้งหมด ผูทรงคุมครองดูแลพวกเขา พระองคคือผูทรง อํานาจเหนือมวลมนุษย พระองคคือพระเจา พวกเขาคือมวลบาว พระองคทรงเหมาะสมยิ่งที่จะไดรับการ นมัสการ ไดรับการนอมคารวะและมุงไปหา อัลลอฮผูสูงสง เพราะพระองคคือผูทรงสรางมนุษย ผูทรงให การอภิบาลแกมวลมนุษย ผูทรงอํานาจเหนือการงานของมนุษยทั้งหมด พระองคคือผูคุมครองพวกเขา ที่ขอ ความคุมครอง ที่พึงพิง เปนที่ขอความชวยเหลือ ซึ่งมนุษยจะขอความคุมครองจากพระองคใหรอดพนจาก ความเลวรายของการกระซิบกระซาบ ที่เขามากระซิบในหัวอกของพวกเขา ใหคิดใหทําในสิ่งที่เปนความ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-84-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เลวราย สรางมโนภาพความเลวรายใหเห็นเปนเรื่องดี การกระซิบกระซาบมีอยูมากมายทั้งจากมนุษยและญิน สําหรับญินนั้นเปนสิ่งถูกสรางประเภทหนึ่งที่อัลลอฮทรงสรางขึ้นมา แตลักษณะที่แทจริงเปนเชนไร มีรูปราง ลักษณะแบบใดไมมีใครสามารถรูไดนอกจากอัลลอฮ พวกมันคือพลพรรคของอิบลิสและลูกหลานของมัน หรือพวกมวลมนุษยที่กระทําแตความชั่วชาสามาร ขอใหอัลลอฮทรงคุมครองปกปองพวกเราใหรอดพนจาก ความชั่วรายของพวกมารรายที่เปนมนุษยและญินทั้งหมด แทจริงแลวพระองคทรงไดยินและทรงตอบรับการ วอนขอและพระองคทรงเดชานุภาพยิ่ง อัลลอฮไดทรงชี้นําพวกเราถึงวิธีการขอความคุมครองจากความชั่ว ราย และสิ่งที่ไมพึงประสงคตางๆ ทั้งที่เปดเผยและที่ไมเปดเผย..และพระองคเทานั้นที่ทรงรอบรูยิ่งตอ ขอเท็จจริงตางๆ ทั้งหมด (6) กิจกรรมทายบท 1. ใหนักเรียนฝกอานและทองจําซูเราะฮฺใหจดจํา 2. บรรยายเรื่องของความมหัศจรรยของอัลกุรอานแลวบันทึกภาพและเสียงไวเปนสื่อเพื่อนําไปใชใน ครั้งตอ ๆ ไป 3. สรุปประเด็นสําคัญของแตละซูเราะฮฺแลวนํามาจัดทําเปนปายนิเทศ 4. เขียนเนื้อหาเปรียบเทียบการสืบสวนสอบสวนผูกระทําความดีและกระทําความชั่ว 5. ทําความเขาใจ วิเคราะหมุมมองตางๆ ของอายะฮฺที่ผานมาทั้งหมด 6. จัดการเรียนการสอนแบบกลุมในมัสยิด ( ‫ )ﺣﻠﻘـــﺔ ﻣـــﺴﺠﺪﻳﺔ‬โดยรวมกันทําความเขาใจ การ อรรถาธิบาย ,หลักการอานอัลกุรอาน ในแตละซูเราะฮฺ 7. ศึกษาคนควา (วิจัย,จัดทําโครงงาน)เกี่ยวกับคุณคาทางโภชนาการเกี่ยวกับอาหารที่อัลลอฮทรงใชเปน สื่อยืนยันไวในซูเราะฮฺวามีอะไรเปนคุณคาพิเศษ 8. ทําการบันทึกเสียงการบรรยาย อรรถาธิบายซูเราะฮฺตางๆ อยางงายเพื่อนําไปใชในครั้งตอไป 9. จัดทํา จัดหาเทปบันทึกเสียงอัลกุรอาน เพื่อนํามาเปนสื่อในหองสมุดของมัสยิด โดยคัดเลือกนักอาน ที่มีชื่อเสียงและเปนที่รูจักเพื่องายตอการศึกษาเรียนรู 10. เยี่ยมเยียนกุโบร เพื่อนํามาเปนขอคิดในเรื่องตาง ๆ เกี่ยวกับการดําเนินชีวิตในโลกนี้และโลกหนา 11. จัดบรรยายหรือรวมอภิปรายทางวิชาการเกี่ยวกับธรรมชาติของความเปนมนุษย โดยเฉพาะกลุมที่ไม มีความศรัทธาตออัลลอฮอยูในใจ 12. ทบทวนไตรตรองตัวเองเกี่ยวกับความผิด ไมวาจะเปนเรื่องของบาปนอย หรือบาปหนัก ๆ 13. ฝกออกเสียงใหเกิดความชํานาญในการอานเพื่อไมใหเกิดความผิดพลาด 14. บรรยายทางวิชาการเกี่ยวกับเรื่องของเชื่อที่เกี่ยวของกับการขอความคุมครอง (ตออัลลอฮ) 15. เขียนบทความในเรื่องเกี่ยวกับจริธรรมของผูประสบชัยชนะในอิสลาม 16. อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางอัลกุรอานกับอัลฮาดิษ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-85-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

(7) การวัดผลประเมินผล 1. รับฟงและสังเกตการณอานและการอรรถาธิบายอายะฮฺของแตละซูเราะฮฺ 2. ทดสอบเปนรายบุคคลเกี่ยวกับการอาน (ที่ถูกตองตามหลักการอาน) ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3. สอบถามเกี่ยวกับมารยาทในการอานอัลกุรอาน 4. ทดสอบเกี่ยวกับความสามารถในการอรรถาธิบายอายะฮฺและความสัมพันธระหวางอายะฮฺกับชีวิต จริง(ที่เกิดขึ้น) 5. สังเกตพฤติกรรมของแตละคนเกี่ยวกับการทองจํา การยึดมั่นและนําบทเรียน คําชี้นําตาง ๆ ที่ไดรับ จากอายะฮฺของแตละซูเราะฮฺ (ในหลักสูตร) มาถือปฏิบัติ 6. สังเกตการณรวมกิจกรรมของผูเรียน ผานการสอบถามเพิ่มเติม กอนสอน ขณะทําการสอนและหลัง สอน (8) จุดประสงคการเรียนรูดวยตนเอง สาระทั้งหมดในสวนที่สองของยุซ อัมมฺ (ซูเราะฮฺ อัลอะอฺลา ถึง ซูเราะฮฺอัลนาส) 1. บอกความหมายศัพทยาก และความหมายเฉพาะที่ปรากฏในอายะฮฺ 2. บอก อธิบายความสอดคลองลงตัวระหวางสาระธรรมแหงอิสลามกับสรรพสิ่งที่อัลลอฮทรงสรางมา ในจักรวาลทั้งหมด 3. บอกหนาที่ของผูเปนศาสนทูต โดยศึกษาทําความเขาใจจากความหมายของซูเราะฮฺที่เรียนทั้งหมด 4. บอกอธิบายถึงธรรมชาติของการเรียกรองเชิญชวนสูการศรัทธาตออัลลอฮ และความสัมพันธระหวาง การเรียกรองเชิญชวนกับการญีฮาดในหนทางของอัลลอฮ 5. จงอธิบายผลกระทบจากการตอตานคัดคานของผูไรศรัทธาที่มีตอความสําเร็จในการเผยแพรอิสลาม ทั้งกับการเผยแพรและผูเผยแพร 6. จงอธิบายปรัชญาและผลของการทดสอบจากอัลลอฮ (‫ـﺒﻼﺀ‬ ‫ )ﺍﻟـ‬ที่มีตอมวลบาว มุสลิมผูมีศรัทธาควรมี บทบาทอยางไรเกี่ยวกับการทดสอบของอัลลอฮ 7. จงอธิบายเกี่ยวกับคุณคาของการรีบเรงสูการทํารวามดี 8. ระหวางความศรัทธากับการปฏิบัติมีความสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไร ? 9. จงอธิบายเกี่ยวกับบทบาทของนักเผยแพรศาสนากับการเปนแบบอยางที่ดีในดานจริยธรรมอิสลาม 10. จงบอกเกี่ยวกับลักษณะพิเศษของมนุษยที่อัลลอฮทรงประทานใหทั้งทางรางกายและจิตใจ 11. จงอธิบายเกี่ยวกับคุณคาของการมีศรัทธาและการประพฤติปฏิบัติดีในชีวิตการเปนอยูของมนุษย 12. จงอธิบายบทบาทคุณคาของวิชาความรูกับการพัฒนาอารยธรรมและความเจริญกาวหนาของการ เรียกรองสูอิสลาม (ดะวะฮฺ) 13.จงบอกเกี่ยวกับการตอบโตของนักเผยแพรศาสนาตอการตอตานของพวกผูลวงละเมิด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

-86-

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

14. จงอธิบายความเปนเอกภาพของหลักการพื้นฐานของศาสนาที่มาจากอัลลอฮวา มีอะไรที่เหมือนกัน บาง และมีความสะดวกในการปฏิบัติอยางไร ? 15. จงอธิบายถึงความมหัศจรรยทางวิชาการและความละเอียดถี่ถวนของการตอบแทนจาก(การความ เขาใจของซูเราะฮฺที่ผานมา) วาเปนอยางไร ? 16. จากการที่ธรรมชาติของมนุษยที่มีแตความดื้อรั้น ดันทุรัง ซูเราะฮฺตาง ๆ ที่ไดเรียนมามีการแนะนํา วิธีการรักษาเยียวยาไวอยางไร ? และผลของการเยียวยาเปนอยางไร ? 17.จากการเรียนรูคําอรรถาธิบายในแตละซูเราะฮฺ ระหวางความศรัทธากับความรูสึกสํานึกทางดาน คุณธรรมจริยธรรมมีความสัมพันธกันอยางไร ? 18. ใหนักเรียนอธิบายหลักการพื้นฐานดานหลัก ๆ ที่ถูกตองซึ่งไดรับจากการทําความเขาใจตัวบท ของอัลกุรอาน 19.ใหนักเรียนแสดงหลักฐานสัญญาการตอบแทนที่อัลลอฮทรงใหไวกับศาสนทูต(ทานนบี)ของพระองค และสิ่งที่พระองคจะตอบแทนใหกับผูที่แสดงตนเปนศัตรูกับทาน (นบี) 20. ใหนักเรียนบอกเหตุผลที่แสดงวาความศรัทธากับความไรศรัทธานั้นจะตองแยกจากกัน 21.จงอธิบายผลของการยอมรับยอมจํานนตอแนวทางและการชี้นําของอัลลอฮแตเพียงพระองคเดียวใน การดําเนินชีวิต 22.ใหนักเรียนฝกอานซูเราะฮฺทั้งหมด(ที่กําหนด) พรอมกับทําความเขาใจหลักการอานและความหมาย 23.ใหนักเรียนอธิบายธรรมชาติหรือลักษณะของการเผชิญหนาระหวางอิบลิสและพลพรรคของมัน ไม วาจะเปนพวกญินกับบาวของอัลลอฮผูมีศรัทธา วาเปนอยางไร (9)หนังสืออางอิงเพื่อการเรียนรูเพิ่มเติมดวยตนเอง 1. ตัฟซีร อิบนุ กะซีร 2. ตัฟเซีร อัลกุรฏบีย 3. ซุบดะฮฺตุร ตะฟาซีร ดร.มุฮําหมัด สุไลมาน อัลอัชกอร 4. ซอฟวะตุล บะญาน ฟย ตัฟซีร มะอานีย อัลกุรอาน ของ ชัยค มุฮําหมัด ฮุสนัยน มัคลูฟ 5. อัตติบญาน ฟอาดาบ ฮัมละตุลกุรอาน ของ อีหมาม อัลนะวาวีย

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

87

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

2 : วิชา ตัจวีด (หลักการอานอัลกุรอาน) 1.มาตรฐานการเรียนรู ระยะเวลาเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

ผูเรียนมีจรรยามารยาทที่ดีงาม มีความเปนมุสลิมเปนฐานหลัก ไม วางตัวเปนปรปกษกับหลักคําสอนของอิสลาม หนึ่งปการศึกษา (สองภาคเรียน) มีความรูความเขาใจในอุดมการณของอิสลามโดยรวมทั้งทางดาน หลักความเชื่อ กฎหมายอิสลาม และคุณธรรมจริยธรรม.

2.จุดประสงคปลายทาง ฝกฝนการอานพระคําแหงอัลลอฮใหปราศจากการออกเสียงที่ผิดเพี้ยน โดยอานไดถูกตองตาม หลักการตามที่ไดรับรายงานสืบทอดมาจากทานรอซูลุลลอฮ  ซึ่งไดรับการถายทอดผานมลาอิกะฮฺญิบรออีล  3 จุดประสงคนําทาง 1) สามารถบอกคําจํากัดความของคําวา วิชาตัจวีดไดถูกตอง ทั้งดานภาษาและหลักวิชาการ 2) สามารถบอกคุณคาของการเรียนรูวิชาตัจวีดได 3) สามารถบอกบัญญัติ(หุกมฺ)เกี่ยวกับการเรียนวิชาตัจวีดได 4) สามารถบอกความหมายของคําวาผิดเพี้ยน(ตามหลักวิชาตัจวีด)ได 5) สามารถระบุระดับการอานและอธิบายความหมายแตละระดับการอานได 6) สามารถบอกบัญญัติ(หุกมฺ)เกี่ยวกับการอาน บิสมิลละฮฺและอะอูซุบิลละฮฺได 7) สามารถบอกหลักการเกี่ยวกับการหยุด(วักฟฺ)และการเริ่มตนอานใหมได 8) สามารถระบุแหลงกําเนิดเสียงและคุณลักษณะการอานออกเสียงของแตละพยัญชนะได 9) สามารถบอกหลักการอานนูนซากีนะฮฺและตันวีน (นูนที่เปนตัวสะกดและสระคู) ได 10) สามารถบอกหลักการอานออกเสียงมีมซากีนะฮฺได 11) สามารถบอกหลักการอานพยัญชนะลามซากีนะฮฺและลามในคํากริยา(ลามุลฟอฺลิ) ได 4 จุดประสงคเชิงพฤติกรรม (ทักษะพิสัยและจิตพิสัย) 1) ตระหนักและเห็นคุณคาของวิชาตัจวีด 2) สามารถอานออกเสียงพยัญชนะแตละตัวไดถูกตองตามแหลงกําเนิดเสียง 3) สามารถอานออกเสียงพยัญชนะแตละตัวไดถูกตองตามลักษณะการอาน(ออกเสียงหนักเบา) เฉพาะ ของแตละพยัญชนะได 4) สามารถนําหลักการอานตามหลักวิชาตัจวีดมาประยุกตใชในการอานไดถูกตอง ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

88

5) สามารถอานพระคําแหงอัลลอฮไดอยางถูกตองไมผิดเพี้ยน 6) สามารถอานอัลกุรอานดวยเสียงที่ไพเราะได 7) มีความนอบนอมถอมตนขณะอานอัลกุรอาน 8) สามารถดึงดูดใจใหผูฟงอยากฟงการอาน 9) ขณะอานสามารถเขาใจความหมายอายะฮฺที่อานไปพรอม ๆ กันได 10) สามารถอานอัลกุรอานอยางมีมารยาทได 5 สาระและเอกสารประกอบการเรียน หนังสือ ตัยซีรุตตัจวีด(‫ )ﺗﻴﺴﲑ ﺍﻟﺘﺠﻮﻳﺪ‬ของ อับดุลวาริษ ซะอีด ‫ﺑﺴﻢ ﺍﷲ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺍﻟﺮﺣﻴﻢ‬ ดวยพระนามแหงอัลลอฮผูทรงยิ่งในความเมตตา ผูทรงยิ่งในความกรุณา อัลลอฮไดทรงตรัสไวในอัลกุอานวา (4 ‫)اﻟﻤﺰﻣﻞ‬

∩⊆∪ ¸ξ‹Ï?ös? tβ#uöà)ø9$# È≅Ïo?u‘uρ

และเจาจงอานกุรอานใหถูกตองชัดเจน §ΝèO öΝåκ®5u‘ šχöθt±øƒs† tÏ%©!$# ߊθè=ã_ çµ÷ΖÏΒ ”Ïèt±ø)s? u’ÎΤ$sW¨Β $YγÎ6≈t±tF•Β $Y6≈tGÏ. Ï]ƒÏ‰ptø:$# z|¡ômr& tΑ¨“tΡ ª!$# 23 ‫اﻟﺰﻣﺮ‬... 4 «!$# Ìø.ÏŒ 4’n<Î) öΝßγç/θè=è%uρ öΝèδߊθè=ã_ ß,Î#s?

อัลลอฮฺทรงประทานพระคัมภีรที่งดงามที่สุดใหลงมา นั่นคือคัมภีรที่มีความสอดคลองตองกันใน เนื้อหาถูกประทานซ้ํา ผิวหนังของบรรดาพวกที่เกรงกลัวองคอภิบาลของพวกเขาสั่นสะทาน หลังจากนั้น ผิวหนังและหัวใจของพวกเขาก็ออนนุมสูการระลึกถึงอัลลอฮฺ ทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไววา ."‫"ﺍﳌﺎﻫ ُﺮ ﺑﺎﻟﻘﺮﺁﻥ ﻣﻊ ﺍﻟﺴﻔﺮﺓ ﺍﻟﻜﺮﺍﻡ ﺍﻟﱪﺭﺓ ﻭﺍﻟﺬﻱ ﻳﻘﺮﺃ ﺍﻟﻘﺮﺁﻥ ﻭﻳﺘﻌﺘﻊ ﻓﻴﻪ ﻭﻫﻮ ﻋﻠﻴﻪ ﺷﺎﻕ ﻟﻪ ﺃﺟﺮﺍﻥ‬ .(‫)ﺭﻭﺍﻩ ﺍﻟﺒ ﺎﺭﻱ ﻭﻣﺴﻠﻢ‬ .....‫ﺍﳊﻤﺪ ﷲ ﺭﺏ ﺍﻟﻌﺎﳌﲔ ﻭﺍﻟﺼﻼﺓ ﻭﺍﻟﺴﻼﻡ ﻋﻠﻰ ﺧﺎ ﺍﻷﻧﺒﻴﺎﺀ ﻭﺍﳌﺮﺳﻠﲔ‬ พี่นองมุสลิมที่รักยิ่ง..... อัลลอฮไดทรงประทานอัลกุรอานเลมนี้ลงมาก็เพื่อที่จะใหเปนทางนําใหแก มวลมนุษยชาติซึ่งนับไดวาเปนพระมหาเมตตาธิคุณแหงอัลลอฮที่มีตอมวลมนุษยยิ่ง พระองคทรงใหอัลกุร ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

89

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

อานเปนสิ่งนําพามนุษยออกจากความมืดมิดไปสูรัศมีแหงทางนํา โดยมีซุนนะฮฺ (แนวทาง)ของทานรอซูลผู ทรงเกียรติ คอยสนับสนุนอยูเบื้องหลัง ทั้งอัลกุรอานและซุนนะฮฺจะชวยชี้นําผูคนไปสูแนวทางที่เที่ยงธรรม และอัลลอฮก็ทรงกําหนดใหคัมภีรแหงพระองคเปนแหลงกําเนิด(สาระธรรม) อันดับแรกของอิสลาม และให คงอยู เ ป น มรดกตกทอดรุ น แล ว รุ น เล า สื บ สานต อ ไปให กั บ ผู ที่ อ ยู บ นผื น แผ น ดิ น ตลอดไป ด ว ยเหตุ นี้ เองอัลลอฮจึงทรงสัญญาไววา (15:9) ∩∪ tβθÝàÏ≈ptm: …çµs9 $¯ΡÎ)uρ tø.Ïe%!$# $uΖø9¨“tΡ ßøtwΥ $¯ΡÎ) แทจริงเราไดมอบขอตักเตือน (คัมภีรอัลกุรอาน) ลงมา และแทจริงเราเปนผูพิทักษไว (มิใหถูก เปลี่ยนแปลงหรือถูกทําลาย) ในทุกยุคทุกสมัยอัลลอฮจะทรงประทานความสะดวกใหกับมวลมนุษยดวยสื่อนานับประการในการ ที่จะพิทักษปกปองอัลกุรอาน เพื่อยืนยันในสัญญาที่พระองคทรงใหไววาจะพิทักษปกปองคัมภีรที่สําคัญเลม นี้ไวแลวอยางสมบูรณ และที่ผานมาวิชาที่วาดวยอัลกุรอาน(อุลูมุลกุรอาน)นั้นมีอยูหลากหลายสาขา และที่ นับไดวาอยูในระดับตน ๆ ของวิชาที่เกี่ยวของกับอัลกุรอานก็คือวิชาตัจวีด ซึ่งเปนวิชาที่เปนหลักการในการ อานอัลกุรอาน ในหนึ่งในจํานวนนั้นก็คือหนังสือเลมเล็ก ๆ เลมนี้ ซึ่งขาพเจาผูเขียนเองใครขอกลาวถึงพี่นอง ผูทรงเกียรติอีกทานหนึ่งคือทานอาจารยอับดุลมาลิค อัชชาฟอีย ที่เสนอใหขาพเจารวบรวมศึกษาคนควา ขึ้นมาเปนตํารา ทานไดรวมกับขาพเจาในการตรวจสอบความถูกตอง จากขอแนะนําของทานหลายตอหลาย ขอที่ทานไดเสนอแนะไวทําใหเกิดประโยชนที่มากมายเหลือคณานับ และขอใหอัลลอฮทรงตอบแทนทาน ดวยความดีดวย และทานก็มีสวนในการชวยเหลือในการบันทึกเสียงเพื่อการนําไปใชที่สะดวกตอไป...

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

90

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

บทนํา 1. ความหมายของคําวา “ตัจวีด” คําวา “ตัจวีด” ตามรากคํามีความหมายวา ทําใหดี ทําใหสวยงาม แตตามหลักวิชาการ หมายถึงวิชาที่ ชี้แจงเกี่ยวกับหลักการ กฎหรือวิธีการที่จําเปนที่จะตองนํามาปฏิบัติขณะอานอัลกุรอาน โดยที่มุสลิมทุกคน จะตองยึดถือใหสอดคลองกันรุนแลวรุนเลา โดยมีหลักการมาจากทานนบี  1 ซึ่งหลักการและกฏเกณฑตาง ๆ จะเปนเรื่องเกี่ยวกับการออกเสียงของพยัญชนะใหถูกตองถี่ถวนครบครันตามหลักการอานออกเสียงของ แตละพยัญชนะ โดยระวังมิใหเ สียงของแตละพยัญชนะผิ ดเพี้ยนไปเปนอีกพยัญชนะหนึ่งซึ่งมีลักษณะ คุณสมบัติที่ใกลเคียงกัน (อยางเชน ซีน กับ ซ็อด เปนตน) ดวยการอานตามระบบเรียบเบียบการออกเสียง ของภาษาอาหรับซึ่งเปนภาษาที่ไดรับการประทานอัลกุรอานลงมา นอกจากเรื่องนี้แลวยังมีอีกหลายหัวขอ หลัก ๆ ที่จะตองศึกษาตามหลักวิชาตัจวีด เพิ่มเติมเขามา เพื่อใหการอานออกเสียงเปนไปดวยความถูกตอง และหนักแนนแนนอน เชน การเรียนรูเกี่ยวกับแหลงกําเนิดเสียงและคุณลักษณะของการออกเสียงของ พยัญชนะแตละตัว นอกจากนั้นก็ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับ การวกัฟ (หยุด) และมารยาทในการอานอัลกุรอาน ทั้งหมด 2 บัญญัติเกี่ยวกับการเรียนรูวิชาตัจวีด (หุกมฺ) ผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับวิชาตัจวีดมีทัศนะที่เห็นพองตองกันวา มุสลิมทุกคนจะตองศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับ หลักการอานอัลกุรอานและนํามาถือปฏิบัติอยางเครงครัด การละเลยไมเรียนรูโดยปราศจากเหตุอันควร(ตาม หลักการทางศาสนา) ถือวาเปนบาป จึงนับไดวาวิชาตัจวีดเปนวิชาที่มีความสําคัญยิ่ง เชนเดียวกับวิชาที่วาดวยอัลกุรอานวิชาอื่น ๆ เพราะ เปนสวนหนึ่งของวิธีการในการพิทักษอัลกุรอานมิใหถูกทําลาย เปนเครื่องมือในการที่จะชวยสนับสนุน สงเสริมใหเกิดความถูกตองในการทําความเขาใจในความหมาย และสามารถนําเอาอายะฮฺแตละอายะฮฺไปจัด วางหรือถือปฏิบัติในที่ที่เหมาะสมและถูกตอง และนั่นคือเปาหมายสูงสุดที่จะนําพาไปสูความโปรดปราน แหงอัลลอฮ ผูใดมุงหวังที่จะเอาดีทางการอานแตเพียงอยางเดียว โดยที่ไมไดมีเปาหมายวาจะทําความเขาใจ ไปดวย หรือตองการทําความเขาใจอยางเดียวแตไมมีความมุงมั่นที่จะนําไปถือปฏิบัติ ถือวาการอานนั้นเปน บาป อัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานอายะฮฺหนึ่งวา

นี่ความหมายของวิชาตัจวีด โดยภาพรวม สําหรับวิชาตัจวีดแลว เปรียบเสมือนแนวทางที่จะตองนํามาประยุกใชขณะอานอัลกุรอาน โดยยึดถือ ตามหลักการและกฏเกณฑขณะอานอัลกุรอาน ดวยการอานออกเสียงพยัญชนะแตละตัวที่ปรากฏอยูในอัลกุรอานใหถูกตองตามลักษณะการอาน ออกเสียงหนักเบาหนาบาง ตามที่กําหนด 1

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

91

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

( 47:24) ∩⊄⊆∪ !$yγä9$xø%r& A>θè=è% 4’n?tã ôΘr& šχ#uöà)ø9$# tβρã−/y‰tGtƒ Ÿξsùr& แลวพวกเขาไมใครครวญอัลกุรอานดอกหรือ? หรือวาหัวใจ (ของพวกเขา) มีแตฝาปด (จนมืดบอด ไปแลว)? 3.การถือกําเนิดและพัฒนาการทางวิชาการของวิชาตัจวีด ทานรอซูลุลลอฮ  ไดรับมหาคัมภีรอัลกุรอานมาจากองคอภิบาลของทานผานมลาอิกะฮฺญิบรีล  จากนั้นบรรดาซอฮาบะฮฺของทานก็รับชวงตอมาจากทานสืบทอดมายังบรรดามุสลิมรุนตอ ๆ มาผาน การบอกเลาและทองจํากันมา จนกระทั่งถึงมายังยุคสมัยของพวกเรา ซึ่งคัมภีรอันเกรียงไกรนี้ไดรับการ ถายทอดสืบตอกันมาผานยุคผานสมัยจนกระทั่งมาถึงบัดนี้ แตเนื่องจากวาอิสลามไดรับการเผยแพรออกไปทั่วโลก ทําใหผูคนเขารับนับถืออิสลามมีมากมายหลายชาติ หลายภาษา บางคนไมมีความรูเกี่ยวกับภาษาอาหรับ และไมสามารถที่จะออกเสียงภาษาอาหรับใหถูกตอง และชัดเจนได ดวยเหตุนี้เองนักวิชาการมุสลิมผูเชี่ยวชาญก็เล็งเห็นความสําคัญในเรื่องนี้วา หากปลอยไปโดย ไมหาทางแกไข อาจจะกอใหเกิดความเสียหายขึ้นกับอัลกุรอานและภาษาอาหรับ นั่นคือเมื่อความผิดเพีย้ นใน การอานออกเสียงภาษาอาหรับแผกระจายออกไปก็จะมีการนํามาใชขณะอานอัลกุรอาน ความไมเหมาะสมก็ จะเกิดขึ้นกับพระคัมภีรแหงองคอภิบาลของพวกเขาและภาษาของคัมภีร ดวยเหตุนี้เองวิชาหลักภาษา วิชา หลักการอานและวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของจึงมีพัฒนาการเพื่อใหเกิดความสมบูรณและความละเอียดออนตอไป เรื่อย ๆ จนกระทั่งเขาสูความครบถวนสมบูรณและสามารถบรรลุวัตถุประสงคตามเปาหมายที่วางไวในที่สุด จนกระทั่งอัลกุรอาน วิชาที่เกี่ยวของกับอัลกุรอานและภาษาของอัลกุรอานก็ไดรับการพิทักษใหคงอยูคูกับเรา มาจนกระทั่งถึงทุกวันนี้ ...อัลฮัมดุลิลละฮฺ ขอบคุณอัลลอฮ และวิชาตัจวีดก็เหมือนกับวิชาอื่น ๆ ทั่วไป ที่มีพัฒนาการในแตละยุคแตละสมัยและเจริญเติบโตมา เรื่อย ๆ จากระดับแรกที่มี การถื อกํ าเนิดมาจนกระทั่งเขาสูการศึกษาคน ควาวิจัย ไปสูความสมบูรณทาง วิชาการและเขาสูวัตถุประสงคที่ไดวางไวหจนทําใหขอบกพรองตางก็คอยนอยลงไปในที่สุด การศึกษา คนควาทางทฤษฎีและรายละเอียดทางวิชาการไดมีการศึกษาคนความาเรื่อย ๆ จนกระทั่งสามารถไดรับ รายละเอียดตาง ๆ ทั้งที่จําเปนและไมจําเปน แตครั้นตอมาเมื่อการศึกษาคนควาวิจัยเขาสูระดับที่เรียกไดวา ศิลปะและผลงานของผูสันทัดกรณีในการที่จะวิจัยศึกษาคนควา พวกเขาจึงไดทําการศึกษาในรายละเอียด และทฤษฎีตาง ๆจนกระทั่งผลงานการวิจัยไดปรากฏออกมามากมาย จนกลับกลายเปนวาเปนสิ่ง(ที่ดูเหมือน จะ)ไรประโยชนไปเสียอีก

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

92

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

และในยุคปจจุบันมีหนังสือที่เขียนขึ้นเกี่ยวกับวิชานี้มากมายหลายเลม แตสวนใหญจะใชวิธีการและ แนวทาง ที่ไมเนนในเรื่องของภาคปฏิบัติหรือการประยุคใช คลายกับวาผูเขียนหนังสือเหลานี้ไดแตเพียง ศึกษารวบรวมสาระเกี่ยวกับวิชาตัจวีดและแนวทางตาง ๆ ที่เกี่ยวกับวิชาตัจวีด เพียงเพื่อศึกษาสาระที่จําเปน สําหรับอัลกุรอาน แตแนวทางที่จะทําใหเกิดความงาย ความสะดวกในการอานการนําไปใชนั้นกลับไมบรรลุ วัตถุประสงคตามที่วางไวแตอยางใด 4. ความสัมพันธระหวางวิชาตัจวีด กับวิชาที่เกี่ยวกับการอาน ( ‫)ﻗ ﺍ‬ เกี่ยวกับอานอัลกุรอานนั้นมีสํานักคิด(มัซฮับ)ที่แสดงทัศนะเกี่ยวกับการอานออกเสียงคําในอัลกุร อานที่แตกตางกันออกไปเปนการเฉพาะ ซึ่งแตละคนลวนแลวแตมีการสืบสายรายงานมาจากทานรอซู ลุลลอฮ  ทั้งหมด ซึ่งทานไดรับมาจากองคอภิบาล โดยมีความประสงคจะใหเกิดความสะดวกในการอาน แกมนุษย ดวยเหตุที่พวกเขามีสําเนียงภาษาอาหรับของแตละเผาที่แตกตางกันออกไป ในบันทึกของทานบุ คอรียและทานมุสลิมจากรายงานของทานอิบนุ อับบาสรายงานวา ครั้งหนึ่งทานนบี  ไดกลาวไววา ‫ ﻓﻠﻢ ﺃﺯﻝ ﺃﺭﺍﺟﻌﻪ ﻭﻳﺰﻳﺪ ﺣﱴ ﺍﻧﺘﻬﻰ ﺇﱃ ﺳﺒﻌﺔ ﺃﺣﺮﻑ" ﻭﰲ ﺑﻌﺾ‬.‫"ﺃﻗﺮﺃ ﺟﱪﻳﻞ ﻋﻠﻰ ﺣﺮﻑ ﻓﺮﺍﺟﻌﺘﻪ‬ . ."‫ ﻓﺄ ﺎ ﺣﺮﻑ ﻗﺮﺃﻭﺍ ﻋﻠﻴﻪ ﻓﻘﺪ ﺃﺻﺎﺑﻮﺍ‬..." :‫ﺍﻟﺮﻭﺍﻳﺎﺕ‬ ซึ่งมีความหมายวา มลาอิกะฮฺญิบรีล ไดสอนวิธีอานใหกับฉันรูปแบบหนึ่ง และฉันก็ยังคงกลับมาหา ทาน โดยที่ทานก็ไดสอนวิธีการอานเพิ่มใหกับฉันตอไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งครบทั้ง 7 วิธี ในบางรายงาน กลาว เพิ่มเติมไววา “วิธีการอานใดก็ไดที่พวกทานทําการอานก็ถูกตองทั้งหมด” วิธีการอานดังกลาวกลายเปนที่รูจัก ที่เรียกกันวา “กุรรออฺทั้งเจ็ด” โดยแตละวิธีการอานก็จะเรียกขาน ตามชื่อของนักวิชาการ(อุลามะอฺ) ที่แตละคนเรียนมาเปนชื่อเรียก เชน อาบูอุมัร บิน อัลอะลาอฺ อัลบัซรีย (เสียชีวิตเมื่อป ฮศ. 154) และ อิบนุ กะซีร อัลมักกีย (เสียชีวิตเมื่อป ฮ.ศ. 120 ) ทานนาฟอฺ บิน อับดุรเราะฮฺ มาน อัลมะดานีย (เสียชีวิตเมื่อป ฮ.ศ.169) ทานอิบนุ อามิร อัชชามีย(เสียชีวิตเมื่อป ฮ.ศ.118) อาซิม บิน อา บีย อัลนัจวัด อัลกูฟย (เสียชีวิตเมื่อ ป. ฮ.ศ.128) และทานอาซิมก็มีสานุศิษยหลายทาน ไมวาจะเปน ทานฮิฟซฺ บิน สุไลมาน อัลกูฟย ซึ่งเสีย ชีวิตเมื่อป ฮ.ศ. 180 วิ ธีการอานของทานเปนวิธีการอานที่เปนที่รูจัก และ ประเทศมุสลิมไดมีการนํามาใชมากมายหลายที่ อีกทานหนึ่งคือทาน ฮัมซะฮฺ บิน ฮะบีบ อัลกูฟย (เสียชีวิต เมื่อป ฮ.ศ. 156 ) และทานสุดทายคือทานที่เจ็ด คือ ทานอาลี บิน ฮัมซะฮฺ อัลกิซาอีย อัลกูฟย (เสียชีวิตเมื่อป ฮ. ศ.189 ) นอกจากทั้งเจ็ดทานนี้แลวก็ยังมีอีก 3 ทานซึ่งก็ครบ 10 ทานพอดี นั่นคือ ทานอาบูยะฟร อัลมะดานีย (เสียชีวิตในราวป ฮ.ศ. 128 หรือ 132 ) และทานยะกูบ อัลบะซอรีย (เสียชีวิตเมื่อป ฮ.ศ. 205 ) ทานสุดทาย คือ ทานคอลัฟ บิน ฮิชชาม อัลบัฆดาดีย (เสียชีวิตเมื่อป ฮ.ศ. 229 ) ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

93

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ผูเชี่ยวชาญการอานอัลกุรอานทั้ง 10 ทานที่กลาวมาแลวทั้งหมดลวนแลวแตเปนนักวิชาการดานการ อานที่เปนที่ยอมรับและเปนที่เชื่อถือของผูคนทั้งหมด วิธีอานอื่นที่นอกเหนือไปจากวิธีการอานของทั้ง 10 ทานนับวาเปนวิธีอานที่ไมเปนที่ยอมรับ หรือนอกกฎ (‫ )ﺷﺎﺫﺍ‬ไมมีใครนํามาใชในการอาน และใครก็ตามที่ เลือกอานตามแบบฉบับของนักวิชาการเหลานี้ จะเปนจากทานหนึ่งทานใด หรือทั้งหมด ก็จะตองอานไปตาม กฎ วิธีการอานและหลักการของพวกเขาเหลานี้อยางครบถวนและสมบูรณในทุกเรื่องทุกวิธี จะนําวิธีการของ ทานนั้นมาปะปนกับทานนี้ดังที่พวกดาราตลกที่ประสงคจะบิดเบือนอัลกุรอานนํามาแสดงในงานรื่นเริงตาง ๆ เพื่ อ หาผลกํ า ไรกระทํ า นั้ น ไม ไ ด ซึ่ ง การกระทํ า ในลั ก ษณะดั ง กล า วยั ง เป น การกระทํ า ที่ ฮ ารอม ดั ง ที่ นักวิชาการไดยืนยันไว และนี่คือวิชาที่วาดวยการอาน (‫ )ﻋﻠﻢ ﺍﻟﻘﺮﺍﺀﺍﺕ‬สวนวิชาตัจวีด ก็จะเปนวิชาที่วาดวยเรื่องของกฎ หลักการที่สําคัญ ๆ และวิธีการอานออกเสียงอัลกุรอาน(ดังที่ไดกลาวมาแลว) ที่ไดรับการถายทอดมาจาก ทานนบี  โดยไมตองพิจารณาวาเปนการอานจากนักวิชาการ(จากสํานักคิดเกี่ยวกับการอาน)ทานใด ในขณะที่อานตามวิธีการเฉพาะของผูเชี่ยวชาญทานใดทานหนึ่ง(จากสิบทานที่กลาวมา) ก็อาจจะมีการ เปลี่ยนแปลงวิธีการอานในบางหลักการที่กําหนดไวในหลักวิชาตัจวีดบาง ซึ่งการอานในบางสวนก็จะมี ความแตกตางไปจากผูเชี่ยวชาญ(กุรฺรออฺ)ทานอื่น ๆ แตสําหรับวิชาตัจวีดทั่วไปแลวผูเชี่ยวชาญ(กุรฺรออฺ)ทุก คนก็จะยึดถือมาเปนหลัก สวนความเปลี่ยนแปลงเฉพาะในบางเรื่องจะสอดแทรกเขามาเมื่อมีการนําเอา วิธีการเฉพาะของผูเชี่ยวชาญทานใดทานหนึ่งมาใช ตัวอยางเชน หลักการอาน พยัญชนะลาม ซึ่งปกติแลวจะ อานดวยลักษณะที่เรียกวา มุรอกกอเกาะฮฺ (‫( )ﻣﺮﻗﻘﻪ‬คืออานเปนเสียงสระอา) ยกเวนกับคําวา “‫ ”ﺍﷲ‬ที่มีเสียง ฎอมมะฮฺ และฟตฮะฮฺอยูกอนหนา ซึ่งจะอานเปนเสียง “สระออ” เชน ‫ ﻳﻘﻮ ﹸﻝ ﺍﷲ‬, ‫ ﻗﺎﻝ ﺍﷲ‬แตในกรณีที่ผูอาน อานตามแบบของ วะรัช ( ‫ )ﻗﺮﺍﺀﺓ ﻭﺭﺵ‬ก็จะมีการเปลี่ยนแปลงออกไปเล็กนอย เมื่อต องอานแบบตั ฟคี ม (‫ ) ُﻣـﻔ ﱠﻤَﺔ‬คืออานออกเสียง “สระออ” ในพยัญชนะ “ลาม” เมื่อมีกลุมพยัญชนะที่เรียกวา “‫”ﺣﺮﻑ ﺇﻃﺒﺎﻕ‬ที่ อานฟตหะฮฺ เชนคําวา “ ‫ﻕ‬ ُ ‫ ﺍﻟﻄﻼ‬, ‫ ﺍﻟﺼﱠﻼ ﹸﺓ‬, ‫”ﻇﻠﻤُﻮﺍ‬ 5.คัมภีรมุเยาวัด (َ‫ )ﺍﳌﺼﺤﻒ ﺍ ﱠﻮﺩ‬ไมใชวิชาตัจวีด ในชวงระยะหลังมีอยูคําหนึ่งซึ่งมักจะมีการเอยกันติดปากวา “ ‫”ﺍﳌﺼﺤﻒ ﺍ ﻮﱠﺩ‬และคําวา “ ‫ﺍﳋﺘﻤﺔ‬ ‫ ”ﺍ ﱠﻮﺩَﺓ‬โดยเฉพาะอยางยิ่งกับนักจัดรายการวิทยุรายการอัลกุรอานหลายสถานนี ซึ่งออกอากาศในประเทศ อาหรับหลายประเทศ โดยที่พวกเขาจะใชคําคํานี้แทนคําวา “‫”ﺍﳌﺼﺤﻒ ﺍﳌﺮﺗﻞ‬หรือ “‫ ”ﺍﳋﺘﻤَـ ﹸﺔ ﺍﳌﺮﺗﱠﻠﺔ‬ซึ่งก็ สรางความสับสนใหกับพี่นองมุสลิมพอสมควร เพราะสิ่งที่ผูพูด พูดออกมามีความหมายอีกทางหนึ่ง แทจริง แลวสิ่งที่เรียกวา “‫”ﺍ ﹸﳌﺮَﺗﻞ‬ที่ถูกตองคือคําที่จําเปนที่จะตองอานใหถูกตองตามหลักการอานในหลักวิชาตัจวีด ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

94

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

สวนคําวา “‫”ﺍ ﻮﱠﺩ‬ที่พวกดารานักแสดง นําไปใชนั้น เปนการนําคําไปใชในที่ที่ไมถูกตองตามหลักวิชาตัจวีด แตเปนเรื่องของการขับรอง เรื่องของทวงทํานอง ซึ่งจะเปนไปตามทวงทํานองของเพลงแบบชาวตะวันออก เชน แบบอัลบะยาตีย อัซซอบะฮฺ อัลนะฮาวะนัด อัลฮุญาซ อัรรอมัล อัลยุรกา...และอื่น ๆ ซึ่งเปนทวงทํานอง ที่แขงขันกันนํามาใชในรูปของศิลปะการอาน(เปนทํานอง)เพื่อจูงใจผูฟง ซึ่งบางครั้งก็ผิดเพี้ยนไปจาก หลักการอานในวิชาตัจวีดก็มี การอานที่เปนทํานองในลักษณะนี้ เปนเรื่องของศิลปะของศิลปนแตละคน เพือ่ สนองความตองการของผูฟง โดยไมคํานึงถึงการทําความเขาใจความหมาย และมารยาทที่ควรปฏิบัติขณะ อานอัลกุรอาน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

95

บทที่ 1 แหลงกําเนิดเสียงของพยัญชนะและลักษณะการอานออกเสียง เปนการศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับแหลงกําเนิดเสียงของพยัญชนะภาษาอาหรับและลักษณะการอาน(หนัก เบา,หนาบาง)เปนเรื่องสําคัญที่จะยังประโยชนใหกับผูที่ศึกษาเรียนรูวิชาตัจวีดและทุกคนที่ตองการจะ อานอัลกุรอานใหถูกตองชัดเจน คําวา “พยัญชนะ”ในที่นี้หมายถึงเสียงขณะอาน ไมไดหมายถึงสัญลักษณ หรือรูปของพยัญชนะที่ใชเขียน สําหรับในบทนี้ผูเขียนจะนําเสนอเกี่ยวกับเรื่องของแหลงกําเนิดเสียง ลักษณะการอานเฉพาะของ พยั ญ ชนะแต ละตัว (เทา ที่ ส ามารถจะทํา ได ) โดยจะนํ า เสนอไปพร อ มกั บ ผลการศึก ษาของนั ก วิช าการ ผูเชี่ยวชาญดานวิชาตัจวีดและผูเชี่ยวชาญดานการอานออกเสียงทางภาษาในยุคปจจุบัน ดวยเหตุนี้เองการ บอกลักษณะของการอานออกเสียงในหนังสือเลมนี้จะตางไปจากที่เคยมีปรากฏในหนังสือตัจวีดอื่นๆ ที่ผาน มา แตจะพบวาแนวทางการเรียนรูจะเขาใจไดงายกวาสะดวกและชัดเจนกวา ระบบการออกเสียงภาษาอาหรับและภาษาอัลกุรอาน ในแตละภาษาจะมีระเบียบการจัดการเกี่ยวกับเสียงเฉพาะของแตละภาษา ซึ่งจํานวน ประเภทและ ลักษณะเฉพาะของเสียงอาจจะเปนเอกเทศหรืออาจจะรวมอยูเปนกลุมในคําหรือประโยคก็ได และระบบ ระเบียบการออกเสียงในสวนของภาษาอาหรับมีอยู 2 ประเภท คือ 1) เสียงพยัญชนะ (เสียงแท) ซึ่งมีอยูทั้งหมด 28 พยัญชนะ คือ ‫ﻑ‬.

.‫ﻉ‬.

.‫ﻁ‬.‫ﺽ‬.

.‫ﺵ‬.‫ﺱ‬.‫ﺯ‬.‫ﺭ‬.‫ﺫ‬.‫ﺩ‬.

.‫ﺡ‬. .‫ﺙ‬.‫ﺕ‬.‫ﺏ‬.‫ﺀ‬ . ‫ ﻱ‬. ‫ ﻭ‬. ‫ ﻫـ‬. ‫ ﻥ‬. ‫ ﻡ‬. ‫ ﻝ‬. ‫ ﻙ‬. ‫ ﻕ‬.

สําหรับพยัญชนะอาหรับสองตัวสุดทาย (‫ ي‬, ‫)و‬จะนับวาเปนพยัญชนะไดก็ตอเมื่อ ทั้งสองเปน ตัวสะกด เชน คําวา “‫ ﺑَﻴﺖ‬, ‫ ”ﻳَﻮﻡ‬หรือมีสระกํากับอยูเชน คําวา “ ‫ ﻳُﺴﺮ ﻭﺭﺩ ﺣَﻴ َﻲ‬, ّ‫ ُﻭﺩ‬, ‫ ﻳَﻠﺪ‬, ‫ ”ﻭَﻟﺪ‬เมื่อ พยัญชนะทั้งสองอยูในลักษณะเชนนี้ก็จะเรียกไดวา เมื่อเปนตัวสะกดก็จะเรียกวา “‫ ”ﻟﻴﻦ‬การอานพยัญชนะ ในลักษณะนี้ อาจจะเพิ่มการอานในแบบที่เรียกวา “‫”ﺍﻟ ُﻐﻨﱠـﺔ‬เขาไปได แตจะอานในลักษณะนี้ก็เฉพาะการ อานกุรอานเทานั้น 2) เสียงสระ (เสียงแปร) มีอยูทั้งหมด 3 เสียง ที่เปนเสียงสั้นคือ ‫( ـَـ ـِـ ـُـ‬อะ ,อิ, อุ) และอีก 3 เสียง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

96

เปนเสีย งยาว คือ ‫ ـﻮ‬, ‫ ــﻲ‬, ‫( ﺁ‬อา,อี,อู) ทั้งสามเสียงนี้เ รีย กวา ฮุ รุฟ มัด (‫ )ﺣﺮﻭﻑ ﺍﳌﺪ‬และจะนํามา กลาวถึงในรายละเอียดตอไป สําหรับแหลงกําเนิดเสียง ทั้งเสียงแท(เสียงพยัญชนะ) และเสียงแปร(เสียงสระ) จะมีอยูในสองดาน คือ แหลงกําเนิดเสียงและลักษณะการออกเสียง เราก็จะทําความเขาใจในเรื่องนี้ทั้งหมด โดยจะเริ่มจาก ความหมายของแหลงกําเนิดเสียงกอนเปนอันดับแรก ความหมายของแหลงกําเนิดเสียง แหลงกําเนิดเสียงหมายถึง จุดที่เปนที่กักเก็บและใหกําเนิดเสียง และเมื่อเปลงออกมาก็จะไดยินเสียง นั้น และจุ ด นั้ น ตํ า แหน งนั้ น อาจจะเกิ ด จากระยะห า งที่ อยู ระหว า งคอหอยกั บริ มฝ ป ากทั้ งสอง ด ว ยการ ประสานกันกับอวัยวะที่ใชในการพูด เชน ริมฝปากทั้งสอง ฟน ลิ้น และคอหอย ซึ่งจะทําหนาที่ในการกัก เก็บหรือปลอยลมออกมาในทางลม จึงทําใหเกิดเสียงตามตองการ และเมื่อพิจารณาถึงความยืดหยุนและ ความสามารถในการบิดงอ การกระดิกภายในปากของลิ้นที่สามารถบิดงอไปไดในทุกทิศทางจึงนับไดวาลิ้น เปนอวัยวะที่สําคัญที่สุดสําหรับการพูดและการออกเสียงใหไดตามที่ตองการจะพูด แหลงกําเนิดเสียงที่ชัดเจนที่สุด (ตามที่นักวิชาการไดกําหนดไวหลังจากที่ไดมีการศึกษาคนควา เรื่องของเสียงในยุคใหม) มีทั้งหมด 11 ตําแหนง 1 โดยจะกําหนดตําแหนงของแหลงกําเนิดเสียงพยัญชนะ จากเสียงที่เปลงออกมาทั้งหมด วิธีงาย ๆ ก็คือใหลองอานออกเสียงพยัญชนะ “‫ ”ﺀ‬ที่ประสมกับฟตหะฮฺแลว มีตัว “‫ ﺃﺏ (”ﺏ‬,‫ ﺃﺏ‬, ‫)ﺃﺏ‬เปนตัวสะกดโดยเปลงเสียงหนัก ๆ หลาย ๆ ครั้งก็จะพบวา แหลงกําเนิดเสียง ของ “‫”ﺏ‬นั้นเกิดมาจาก ริมฝปากทั้งสองขาง และเมื่อตองการเรียนรูแหลงกําเนิด “‫ ”ﻑ‬ก็ใหลองอาน “‫ ﺃﻑ‬, ‫ﺃﻑ‬, ‫ ”ﺃﻑ‬หลาย ๆครั้งก็จะพบวา แหลงกําเนิดเสียงของ “‫ ”ﻑ‬จะอยูระหวางฟนหนาดานบนกับ ริมฝปากดานลาง จึงเรียกแหลงกําเนิดเสียง “‫ ”ﺏ‬วา อัสนานีย ชะฟะวีย (‫ )ﺃﺳﻨﺎﻧﻴﺎ ﺷﻔﻮﻳﺎ‬และเสียงอื่น ๆ ก็ สามารถเรียนรูไดดวยวิธีเดียวกัน ซึ่งแหลงกําเนิดเสียงบางตําแหนงจะมีเพียงเสียงเดียว แตบางตําแหนงกลับ มีหลายพยัญชนะ ดังจะนํามากลาวถึงในรายละเอียดตอไป แหลงกําเนิดเสียงและพยัญชนะ 1.ริมฝปากทั้งสอง (‫ ﻭ( )ﺷﻔﺘﺎﻥ‬. ‫ ُﻭ‬. ‫ ﻭ‬. ‫ َﻭ‬. ‫ ﻡ‬. ‫)ﺏ‬

2.ฟนหนาบนกับริมฝปากลาง (‫)ﻑ‬

ในตําราเการะบุไววา แหลงกําเนิดเสียงหรือ ‫ ﺮ ﺍﳊﺮﻭﻑ‬นั้นมีทั้งหมด 16 หรือ 17 ตําแหนง เพราะในบางตําแหนงมีการแยกยอยออกเปน หลายที่ แตในที่นี้จะนําเสนอในรูปแบบที่เรียนรูไดงายกวา 1

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

97

3.ระหวางฟนหนาบนกับฟนลาง ( . ‫ ﺫ‬. ‫)ﺙ‬

4.ปลายลิ้นกับโคนฟนหนาบน (‫ﻥ‬. ‫ ﺽ ﻁ ﻝ‬.‫)ﺕ ﺩ‬

5. เหงือก(โคนฟน) ( . ‫ ﺱ‬. ‫ ﺯ‬. ‫)ﺭ‬

6. โคนลิ้นกับขอบเพดานบน (‫ ﺵ‬. )

7.กลางเพดาน (‫ﻱ‬ ُ .‫ﻱ‬.‫ﻱ‬ َ . ‫)ﻱ‬

8.โคนเพดาน (‫)ﻙ‬

9. เพดานบนสวนที่ออน ( . . ‫)ﻕ‬

10.คอหอย (‫ ﺡ‬. ‫)ﻋـ‬

11. ชองปาก((‫ ـ ـﻮ ـ ـﻲ‬. ‫ ) ـَ ـَﺎ‬. ‫ ﻫـ‬. ‫) ﺀ‬ ลักษณะของเสียง ผลที่เกิดจากการกระทําของอวัยวะที่ใชสําหรับการพูดรวมกับการเปลงเสียงดวยรูปแบบเฉพาะ ซึ่ง บางครั้งในแหลงกําเนิดเสียงแหลงเดียวกันมีลักษณะการออกเสียงไดถึงสองเสียงหรือมากกวา ในแตละ เสียงจะมีลักษณะและเอกลักษณที่แตกตางกัน นั่นก็เปนเพราะวาวิธีการเปลงเสียงของแตละพยัญชนะที่ ตางกัน การวางอวัยวะขณะเปลงเสียงที่ตางกัน เชนการออกเสียง ‫ ﺩ‬/ ‫ ﺕ‬ทั้งสองพยัญชนะออกมาจาก แหลงเดียวกัน แตมีลักษณะการออกเสียงที่ตางกัน เชนเดียวกับ ‫ ﺱ‬/ ‫ﺯ‬/ ดังจะกลาวถึงในรายละเอียด ตอไป เมื่อในบางครั้งพยัญชนะสองตัวหรือมากกวามีลักษณะการออกเสียงที่เหมือนกัน จึงจําเปนที่จะตองมี แหลงกําเนิดเสียงที่ตางกัน เพื่อใหเ ห็นความแตกตาง เชนพยัญชนะ ‫ ﺏ‬/‫ ﺩ‬ลักษณะเสีย งของพยั ญชนะ เหมือนกัน แตแหลงกําเนิดเสียงตางกัน พยัญชนะ ‫ ﻭ‬, ‫ ﻡ‬,‫ ﺯ‬, ‫ ﺫ‬, ‫ ﻕ‬, ‫ ﻁ‬ก็เชนกัน แตพยัญชนะสองตัวมี ลักษณะของเสียงที่เหมือนกันและมีแหลงกําเนิดเสียงเดียวกันนั้นเปนไปไมได เพราะจะกลายเปนพยัญชนะ ตัวเดียวกัน ลักษณะหลัก ๆของเสียงมีอยู 2 ประเภทดังนี้ 1.ประเภทที่มีลักษณะเสียง(เฉพาะและมีลักษณะเสียง) ตรงกันขาม มีอยู 3 ลักษณะ คือ 1) ลักษณะเสียงแบบ ชิดดะฮฺ (‫ )ﺍﻟﺸﺪﱠﺓ‬ซึ่งตรงกันขามกับรุคอวะฮฺ(‫)ﺍﻟﺮﺧﺎﻭﺓ‬ 2) ลักษณะเสียงแบบ ยะฮฺร(‫ )ﺍﳉﻬﺮ‬ตรงกันขามกับ ฮะมุส ( ‫)ﺍﳍﻤ‬ 3)ลักษณะเสียงแบบตัฟคีม (‫)ﺍﻟﺘﻔ ﻴﻢ‬ตรงกันขามกับ ตัรกีก(‫)ﺍﻟﺘﺮﻗﻴﻖ‬1 2.ลักษณะเสียงที่ไมมีลักษณะตรงกันขาม คือ เสียงแบบ กอลลอเลาะฮฺ(‫)ﺍﻟﻘﻠﻘﻠﺔ‬, ฆุนนะฮฺ(‫)ﺍﻟﻐﻨﺔ‬,อินฮิ ตัฟคีม กับตัรกีก เปนลักษณะเสียงทีค่ ูกัน ในหนังสือตัจวีดเกา ๆ จะเรียกวา อิสติละอฺ ซึ่งตรงกันขามกับ อิสติฟาล ซึ่งมีความหมายเดียวกับ ตัฟ คีมกับตัรกีก สวนคําวา อิตบาก กับ อินฟตาฮฺ ในหนังสือสมัยกอนจะเรียกวา อิสมาต กับ อิซลาค แตในหนังสือเลมนี้จะไมนํามากลาวถึงอีก เพราะพิจารณาดูแลว ผูเรียนจะไดประโยชนนอยมาก

1

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

98

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

รอฟ(‫)ﺍﻹ ﺮﺍﻑ‬,และตักรีร (‫ )ﺍﻟﺘﻜﺮﻳﺮ‬ตอไปก็จะกลาวถึงในรายละเอียดของลักษณะแตละแบบดังที่ไดกลาวมา ทั้งหมด ลักษณะเสียงที่มีลักษณะตรงกันขาม 1.เสียงที่มีลักษณะตรงกันขาม คือ ก.เสียงแบบชิดดะฮฺ(‫ )ﺍﻟﺸﺪﱠﺓ‬คือการสกัดกั้นเสียงมิใหมีลมออก(ไวชั่วระยะหนึ่ง)กอนที่จะเปดเปลง ออกมาอยางแรงในทันทีซึ่งจะเกิดการแตกกระจายของเสียงจึงเรียกวาอินฟยาร กลุมพยัญชนะที่มีลักษณะ การออกเสียงแบบนี้คือพยัญชนะชิดดะฮฺทั้งแปด คือ ‫ﺀ‬,‫ﻕ‬,‫ﻙ‬,‫ﺕ‬,‫ﻁ‬,‫ﺩ‬, ‫ ﺏ‬หากจะคิดตามแหลงกําเนิดเสียงก็ จะพบวาพยัญชนะเหลานี้มีแหลงกําเนิดเสียงอยูระหวาง ริมฝปากทั้งสองไปจนถึงวงปาก1 ข. อัรรอคอวะฮฺ คือลักษณะตรงกันขามกับชิดดะฮฺ ลักษณะคือขณะออกเสียงทางผานลมจะไมถูกปด ทั้งหมด แตทางลมจะถูกทําใหแคบลงในระดับที่แตกตางกันตามแตละพยัญชนะ เมื่อปลอยลมออกมาก็จะ เกิดเสียง (บางพยัญชนะก็จะปลอยลมออกมาเพียงเล็กนอย) หากจะคิดถึงการออกเสียงในภาษาอาหรับทีห่ นัก ที่สุดคือเสียงแบบชิดดะฮฺ รองลงมาคือแบบรุเคาวะฮฺ ยกเวนเสียง ซึ่งมีเสียงหนัก นักวิชาการบางทานให พยัญชนะ (เสียงที่เปนภาษากลาง) จัดอยูในกลุมของพยัญชนะที่มีเสียงซอนคือเริ่มดวยชิดดะฮฺและสิ้นสุด ลงดวยรุเคาวะฮฺ (เริ่มเสียงหนักแลวจบลงดวยเสียงเบา) 2. อัลยะฮฺรุ เกิดคลื่นเสียงในเสนเสียง(เหนือริมฝปากทั้งสองขางในวงปาก) สามารถพิสูจณไดดวย การสัมผัสวงปากหรือวางนิ้วทั้งสองขางในรูหูขณะพูด หากรูสึกวามีคลื่นเสียงในตอนแรกของการออกเสียง และรูสึกมีเสียงสั่น (เสียงดังหึ่ง)ในศีรษะ แสดงวาพยัญชนะตัวนั้นอยูในกลุมของ ยะฮฺรุ(‫ ) ﻬﻮﺭ‬หากไมมี ลักษณะดังกลาวก็จะอยูในอีกกลุมหนึ่งคือ กลุม มะฮฺมูซ (‫ )ﻣﻬﻤﻮﺱ‬หากตองการพิสูจณความถูกตองให ทดลองอานออกเสียงใหเปนตัวสะกด(‫ )ﺳﺎﻛﻨﺔ‬หรือตัวที่อานมีตัชดี (‫ )ﻣﺸ ﱠﺪﺩَﺓ‬เชน ‫ﺃ ّﻡ ﺃ ﹼﻥ‬,‫ ﺃ ّﺯ‬.... เสียงกลุมนี้ (‫ ) ﻬﻮﺭﺓ‬นักวิชาการผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับเรื่องเสียงมีความเห็นพองกันวาคือพยัญชนะ ‫ ﻉ‬/ / ‫ ﻱ‬/ /‫ ﺭ‬, ‫ ﺯ‬/ ‫ﻥ‬, ‫ ﻝ‬,‫ ﺩ‬,‫ ﺽ‬,‫ ﺫ‬, ,‫ ﻭ‬,‫ ﻡ‬,‫( ﺏ‬ใชสัญลักษณ / กั้นเพื่อแสดงถึงการแยกแหลงกําเนิด เสียง) นอกจากนั้นก็มีสระเสียงสั้นทั้งสามแบบ พยัญชนะแทนสระเสียงยาว (‫)ﺣﺮﻭﻑ ﺍﳌﺪ‬ทั้งสามตัว และมี เสียงของพยัญชนะ 3 เสียง คือ ‫ ﺀ‬.‫ﻕ‬. ‫ ﻁ‬ที่ลักษณะเสียงของพยัญชนะเหลานี้นักวิชาการตัจวีด(บางคน)กลาว 1

ในตําราเกาพยัญชนะในกลุมนี้มีทั้งหมด 8 พยัญชนะดวยกันโดยกลาวรวมไวในคําพูดที่วา “ ‫ ”ﺃﺟﺪ ﻗ ﺑَﻜﺖ‬โดยที่มีพยัญชนะ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

มาแทน ‫ﺽ‬


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

99

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

วาอยูในกลุมของมัจฮูเราะฮฺ (‫ ) ﻬﻮﺭﺓ‬แตผูเชี่ยวชาญดานเสียงยุคใหมกลับเห็นวาจัดอยูในกลุม มะฮฺมูซะฮฺ (‫ )ﻣﻬﻤﻮﺳﺔ‬ซึ่งไดแสดงทัศนะไววานาจะถูกตองกวาและใกลเคียงกวา โดยวิเคราะหจากการออกเสียงของผูที่ อานออกเสียงไดดีที่สุดตามทัศนะของนักวิชาการในยุคปจจุบัน 3. อัตตัฟคีม1 (‫ )ﺍﻟﺘﻔ ﻴﻢ‬ซึ่งหมายถึงการยกปลายลิ้นขึ้นขณะออกเสียง ซึ่งระดับการยกขณะออก เสียงจะตางกันออกไป หากยกสูงขึ้นระดับเสียงก็จะยิ่งหนัก สวนพยัญชนะที่มีลักษณะการอานแบบนี้คือ ‫ ﻕ‬/ / /‫ ﻁ‬.‫ ﺽ‬/ พยั ญชนะ 4 ตั ว แรก ( ‫ ) ﺽ‬เสีย งจะหนั ก กว าพยัญ ชนะตัว อื่น ๆ นักวิชาการตัจวีดจะรูจักกันในชื่อ “ฮุรุฟ อิฏฏิบาค”(‫ )ﺣﺮﻭﻑ ﺍﻹﻃﺒﺎﻕ‬ปกติแลวลักษณะเสียงที่เรียกวาตัฟคีม ปกติแลวจะออกเสียงหนักไปพรอมกับเสียงฟตหะฮฺ ฎอมมะฮฺและซุกูน และเสียงจะผอนเบาเมื่อประสมกับ สระกัสเราะฮฺ โดยเฉพาะอยางยิ่งกับพยัญชนะสามตัวหลัง ( ‫ﻕ‬/ ) อัต ตั รกี ก 2(‫ )ﺍﻟﺘﺮﻗﻴﻖ‬เป น ลั ก ษณะการอ า นที่ ต รงกั น ข า มกั บ อัต ตั ฟ คี ม ( ‫ )ﺍﻟﺘﻔ ﻴﻢ‬คื อ เสีย งที่เ หลื อ ทั้งหมดที่ไมไดกลาวถึงขางตน เสียงในภาษาอาหรับที่เหลือจะอานออกเสียงแบบตัรกีกทั้งหมดยกเว น พยัญชนะดังนี้ 1. อลิฟที่ตองอานเสียงยาว(‫ )ﺍﻟﻒ ﺍﳌﺪ‬ที่มีเสียงกอนหนาอานแบบตัฟคีมและตัรกีก 2. ลามจะอานแบบตัฟคีมเฉพาะในคําวา “‫ ”ﺍﷲ‬ที่มีพยัญชนะกอนหนาอานฟตหะฮฺหรือฎอมมะฮฺ เชน ‫ﷲ‬ َ ‫ ﺇﻥﱠ ﺍ‬หรือ ‫( ﻓﻀﻞﹸ ﺍﷲ‬คือจะอานเปนเสียงสระออ ไมใชสระอา) 3. พยัญชนะ “รออฺ” (‫ )ر‬อานตัฟคีมและตัรกีก จะกลาวถึงรายละเอียดในภายหลัง เมื่อเขาสูเรื่องของ พยัญชนะรออฺ (‫ )ر‬ในบทตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อตองเรียนเกี่ยวกับหลักการอานตามหลักวิชาตัจวีด เพราะเรื่องดังกลาวจําเปนที่จะตองเรียนรูอยางละเอียดเพื่อนําไปใชในการประยุคใชกับการอานอัลกุรอาน ลักษณะการออกเสียงที่ไมมีลักษณะตรงกันขาม 1. กอลกอลอฮฺ (‫ )ﺍﻟﻘﻠﻘﻠﺔ‬คือการอานออกเสียงหนักแลวปลอยเสียงออกมาอีกครั้งหลังจากที่ไดกลั้นเสียงไว ฟงดูแลวคลายกับวาจะมีสระเสียงเบาประสมอยู พยัญชนะทีม่ ลี กั ษณะการอานเชนนีม้ ที งั้ หมด 5 ตัว คือ ‫ﻕ ﻁ‬ ‫ ﺏ ﺩ‬เมื่อตองอานเปนตัวสะกดหรือซากินะฮฺ (‫ )ﺳﺎﻛﻨﺔ‬การอานใหมีลักษณะแบบกอลกอลอฮฺจะยิ่งเพิ่ม เสียงหนัก เมื่อตองหยุดหรืออานวกัฟ (‫ )ﺍﻟﻮﻗﻒ‬โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อพยัญชนะเหลานี้มีเครื่องหมายชัดดะฮฺ ( ‫)ـ‬กํากับอยูดวย จุดหมายหลักของการอานอยูที่การรักษาไวซึ่งคุณคาทางเสียงและลักษณะพิเศษของ 1 2

นักวิชาการตัจวีด เรียกลักษณะนี้วา อิสติอฺละอฺ (‫)اﻹﺳﺘﻌﻼء‬ นักวิชาการตัจวีด เรียกลักษณะนี้วา อิสติฟะอฺ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

100

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เสียง เพื่อจะไดไมสับสนกับเสียงของพยัญชนะอื่น ๆ ที่คลายกัน 2. อัลฆุนนะฮฺ (‫ )ﺍﻟﻐﻨﺔ‬เปนลักษณะการอานที่มีเสียงขึ้นไปยังโพรงจมูก คือเสียงของ “นูน”และ “มีม” เพราะ เสียงจะขึ้นไปทางโพรงจมูก ไมใชทางปากเหมือนเสียงพยัญชนะตัวอื่นทั่วๆ ไป เมื่อออกเสียงพยัญชนะตัวนี้ ทุกครั้งที่อานอัลกุรอาน จะตองอานใหมีเสียงยืด(ยาว)ขณะอาน ซึ่งจะกลาวถึงในรายละเอียดตอไป เมื่อ กลาวถึงเรื่องนี้โดยเฉพาะ โดยจะกลาวถึงเรื่องของหลักการอานตามหลักวิชาตัจวีดตอไป 3. อัลอินฮิรอฟ (‫( )ﺍﻹ ﺮﺍﻑ‬เปลี่ยนทาง) เปนลักษณะของพยัญชนะ “ลาม” (‫ )ل‬เพราะเมื่อตองอานออกเสียง ลาม เสียงก็จะเปลี่ยนไปทางดานใดดานหนึ่งหรือทั้งสองดานของลิ้น โดยไมออกมาตรง ๆ เหมือนพยัญชนะ ตัวอื่น ๆ 4. อัตตักรีร (‫ )ﺍﻟﺘﻜﺮﻳﺮ‬เปนลักษณะการอานออกเสียงของ “รออฺ” (‫ )ﺭ‬เพราะปลายลิ้นจะกระดิกสองหรือสาม ครั้งเมื่ออานออกเสียงรออฺ ทางที่ดีไมควรกระดิกมากกวานั้น และลักษณะการออกเสียงทั้งสองประเภททั้งลักษณะการอานที่มีลักษณะตรงกันขามและที่ไมมี ลักษณะตรงกันขาม (เหมือนประเภทแรกที่กลาวมา) กอนที่จะนําเสนอในรายละเอียดเกี่ยวกับเสียง ผูเขียน อยากจะเสนอภาพรวมของของพยัญชนะในสองเรื่องคือขอสรุปของระบบเสียงเพื่อแยกแยะรายละเอียด เกี่ยวกับเสียงพยัญชนะ ตามแหลงกําเนิดเสียง ( ‫ ) ﺎﺭ‬และลักษณะการอาน (‫ )ﺻﻔﺎﺕ‬และประการที่สองจะ นําใหรายละเอียดเรื่องลักษณะของพยัญชนะทุกตัว 1. ระบบเสียง สรุป พยัญชนะ “ลาม”(‫ )ﻝ‬ในคําวา “‫ ”ﺍﷲ‬จะอานแบบตัฟคีม (อานออกเสียงสระออ) หากพยัญชนะกอน หนาลามประสมดวยสระฟตหะฮฺและฏอมมะฮฺ พยัญชนะ “รอ” (‫ )ﺭ‬จะตองอานแบบ “มุฟคคอมะฮฺ” (‫ )ﻣﻔ ﻤﺔ‬หาก “รออฺ” ประสมดวยสระฟต หะฮฺ ฏอมมะฮฺ หรือซากินะฮฺ และพยัญชนะกอนหนาอานฟตหะฮฺ หรือฏอมมะฮฺ ลักษณะอื่นนอกเหนือจาก ที่กลาวมาก็ใหอานแบบมุรอกกอเกาะฮฺ (‫ )ﻣﺮﻗﻘـﺔ‬ซึ่งจะนําเสนอในรายละเอียดเรื่อง ‫ ﺭ‬อีกครั้งหนึ่ง สระทั้งหมด ( ฟตหะฮฺ,ฏอมมะฮฺ,กัสเราะฮฺ,ที่ตองอานเสียงยาวหรือที่เรียกวา “ฮุรุฟมัด” แหลงกําเนิด จะรวมอยูกันระหวาง ริมฝปากทั้งสองกับชองปาก การกําหนดลักษณะเฉพาะของเสียง จะอานแบบตัฟคีม ตามพยัญชนะกอนหนา การเปลี่ยนแปลงของลักษณะเสียงจะเปนไปตามการอานคําหรือประโยคที่มากอน หนาคําที่จะอาน บางครั้งเสียงจะเปลี่ยนไปตามคํากอนหนา หรือในตัวมันเอง ซึ่งจะสงผลตอแหลงกําเนิด ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

101

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เสียงและลักษณะของเสียงหรือทั้งสองพรอมกัน ทั้งลักษณะและแหลงกําเนิดก็จะเปลี่ยนไปทั้งหมด ลักษณะ ดังกลาวเปนการยืนยันวาทั้งแหลงกําเนิดเสียงและลักษณะของเสียงนั้นมีผลตอกัน ซึ่งอาจจะเหมือนหรือ ใกลเคียงกัน ลักษณะดังกลาวเปนเรื่องปกติของภาษาทุกภาษา ซึ่งผูพูดสามารถพิสูจณไดงาย ๆ ขณะพยายาม ออกเสียงพูด ในบางคําบางที่ บางลักษณะการออกเสียง โดยจะเกิดเสียงใหมขึ้นมาในที่หรือคําเฉพาะ แตหาก นําคําไปวางในตําแหนงอื่น ลักษณะใหมที่กลาวมาก็จะหายไป บางครั้งลักษณะเฉพาะตัวของเสียง อยางเชน เสีย งแบบตัรกี ก (‫ )ﺍﻟﺘﺮﻗﻴﻖ‬เชนเสียงของฟตหะฮฺ และอลิฟซึ่งเปนเสียงยาว (‫ )ﺣﺮﻑ ﺍﳌﺪ‬เมื่อมาเชื่อมตอกับเสียงแบบมุฟคคอมะฮฺ (‫ )ﻣﻔ ﻤﺔ‬ก็จะกอใหเกิด ลักษณะเสียงใหมคือเสียงแบบตัฟคีม สวนแหลงกําเนิดเสียง( ‫) ﺮ‬มีตัวอยางใหเห็นมากมายหลายที่ เชน การอานอิกลาบ (‫ )ﺍﻹﻗﻼﺏ‬คือ เปลี่ยนพยัญชนะ ‫ ﻥ‬ซากินะฮฺ เปน ‫ ﻡ‬เมื่อมีพยัญชนะ ‫ ﺏ‬ตามติดมาหลัง ‫ ﻥ‬ซากินะฮฺ เชนคําวา ‫َﻧﺒَﺎﺀ‬ เมื่อเปลี่ยนเปนพหูพจน จะเปน ‫ ﺃﻧﺒـَﺎﺀ‬จะอานเปลี่ยนเปนเสียง ‫ ﻡ‬อัมบาอฺ ( ‫ )ﺃﻣﺒﺎﺀ‬การอานในลักษณะนี้ จะเปลี่ยนจากแหลงกําเนิดเสียง ‫ ﻥ‬ซึ่งอยูที่ปลายลิ้นกับโคนฟนหนามาเปน ‫ ﻡ‬ซึ่งมีแหลงกําเนิดเสียงอยูที่ ริมฝปากทั้งสอง (บนลาง) การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปนการเปลี่ยนมาเปนแหลงกําเนิดเสียงใหม เพื่อให ใกลเคียงกับเสียง ‫ ﺏ‬ซึ่งมีแหลงกําเนิดเสียงเดิมอยูที่ริมฝปากบนและลาง ดังจะไดนําเสนอตัวอยางและ รายละเอียดตาง ๆ ตอไป ในเรื่องของหลักการอาน อิดฆอม ,อิคฟะอฺ ,อิกลาบ,และอัตตัฟคีม สําหรับในบทนี้จะขอปดทายดวยขอควรระวังเล็ก ๆนอยที่มักจะอานผิดพลาดกันมาก เมื่อตองอาน ออกเสียง เพราะมักจะอานกันไปตามเสียงของคนสวนมาก ทั้งๆ ที่การอานในลักษณะดังกลาวนั้นไมถูกตอง ซึ่งหากปลอยไวจะลุกลามไปถึงการอานอัลกุรอาน จึงเปนเรื่องที่ควรระวังเปนอยางยิ่งและตองพยายามแกไข อยาใหมีขอผิดพลาดเกิดขึ้น สิ่งที่ควรระวังในการอานที่สําคัญคือความไมละเอียดลออในการอาน ไมใสใจเกี่ยวกับลักษณะการ อานของพยัญชนะแตละตัวที่มีความแตกตางไปจากพยัญชนะตัวอื่น ๆบางครั้งความผิดพลาดอาจจะเกิดจาก ความไมใสใจ ละเลย ไมเห็นความสําคัญ หรือไมมีความรูเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของเสียง หรือระบบเสียง ทวงทํานองของเสียงที่เปนเสียงพื้นเมือง (ภาษาพื้นเมือง) แมจะเปนที่ยอมรับ(ของชนพื้นเมือง) แตก็นับวา เปนการอานที่ไมถูกตอง สวนวิธีการแกปญหาในสวนนี้ก็ไมใชเรื่องยากนัก เพียงแคพยายามและมีความ ตั้งใจที่แนวแน พรอมกับทุมเทความพยายามอานใหถูกตองในขอควรระวังตาง ๆ ดังนี้ 1) การอ า นแบบ “ยะฮฺ รุ ล มะฮฺ มู ซ ” ( ‫ )ﺟﻬﺮﺍﳌﻬﻤﻮﺱ‬เมื่ อ มี ซ ากิ น ะฮฺ ก อ นเสี ย งมั จ ฮู ร ( ‫) ﻬﻮﺭ‬ ตัวอยางเชน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

‫ـﺯ‬

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

102

. / ‫ ﻣﻀﺒﻌﺔ‬/ ‫ ﻣَﻄﺒﻌﺔ ـ‬: ‫ﻁ ـ ﺽ‬./ ‫ ﺍﺯﺟﺪﻭﺍ‬/‫ ﺍﺳﺠﺪﻭﺍ ـ‬. / ‫ ﺍﻷﺯﺑﻮﻉ‬/ ‫ ﺍﻷﺳﺒﻮﻉ ـ‬: ‫ﺱ ـ ﺯ‬

เสียงแบบตัฟคีม (‫)ﻣﻔ ﻤﺔ‬ ./ ‫ ﺃﻓﻀَﻞ‬/ ‫ ﺃﻓﻀﻞ ـ‬: (v) ‫( ﻑ ــ ﻑ‬2) / ‫ ﺃﻛﱪ‬: (g) ‫ﻗﺎﻫﺮﻳﺔ‬

‫ﻛـ‬

(1)

. ‫ ﻣَﺰﺩَﺭ‬/ ‫ﻣَﺼﺪﺭ ـ‬

นักวิชาการผูเชี่ยวชาญดานตัจวีด ไดจัดวางกฎเพื่อปกปองความผิดพลาดในสวนนี้ไวภายใตชื่อกฎ วา “ ‫ ”ﺍﻟﺘﻬﻤﻴ‬ซึ่งมีความหมายวา การระมัดระวังจากลักษณะของ “ ‫ ”ﺍﳍﻤ‬เมื่อตองอานพยัญชนะเหลานี้ใน รูปแบบเฉพาะ 2) ฮัมซุลมัจฮูร (‫ )ﳘ ﺍ ﻬﻮﺭ‬เมื่อมีซากินะฮฺมากอนพยัญชนะมะฮฺมูซ (‫ )ﻣﻬﻤﻮﺱ‬ตัวอยางเชน . / ‫ ﻳَﺴﻜﹸﺮ‬/ ‫ ﻳَﺬﻛﹸﺮ ـ‬: ‫ ﺫ ـ ﺱ‬. / ‫ ﻣَﺘﻔﻮﻉ‬/‫ ﻣَﺪﻓﻮﻉ ـ‬: ‫ﺩ ـ ﺕ‬ วิธีระวังก็คือผูอานจะตองพยายามอานอยางรอบคอบเพื่อไมใหลักษณะการอานของพยัญชนะในคํา เหลานี้ผิดเพีย้ นไป 3) การอานโดยที่ปลายลิ้นไมโผลออกมาขณะอานพยัญชนะ “ .‫ﺫ‬. ‫ ”ﺙ‬ตัวอยางเชน . / ‫ ﺯَﺍﻟﻢ‬/‫ ﻇﺎﻟﻢ ـ‬:‫ ـ ﺯ ﻣﻔ ﻤﺔ‬. / ‫ َﺯ ﹼﻝ‬/‫ ﹼﺫ ﹼﻝ ـ‬. / ‫ ﻫﺰﺍ‬/‫ ﻫﺬﺍ ـ‬: ‫ﺫ ـ ﺯ‬. / ‫ ﺇﺳﻢ‬/ ‫ ﺇ ـ‬: ‫ﺙ ـ ﺱ‬ สวนวิธีปองกัน ก็ดังที่ไดกลาวมาแลวคือตองระมัดระวัง โดยพยายามใหปลายลิ้นยืน่ ออกมาระหวาง ฟนบนกับฟนลางขณะอานออกเสียงพยัญชนะทั้ง 3 ตัว 4) การอานพยัญชนะ “ ” ที่เปนภาษาพืน้ เมือง เชนการอานออกเสียงของชาวอิยิปต ซึ่งมักจะอาน “ ” เปนเสีย “g” สวนชาวซีเรียก็จะออกเสียงเปนเสียง “s” ในคําวา “Pleasure” ในภาษาอังกฤษ 5) การอานออกเสียงพยัญชนะ “‫ ”ﻕ‬แบบภาษาพืน้ เมืองของบางภูมิภาค อยางเชนชาวซูดาน มักจะ อานออกเสียงเปน “ ” หรือชาวเยแมน จะอานออกเสียงคลาย “ ” ของชาวอียิปต 6) การอานออกเสียง “‫ ”ﺽ‬เปนเสียง “ ” หรือเสียงทีใ่ กลเคียง เชนการอานของบางพื้นที่ ซึ่ง มักจะไดยินการอานคําวา “‫ ”ﺍﻟﻀ ﻟﲔ‬เปน “‫ ”ﺍﻟﻈ ﻟﲔ‬เปนตน

.‫ ﻟﻜﻦ ﺑﺪون إﺥﺮاج اﻟﻠﺴﺎن ﺑﻴﻦ اﻷﺳﻨﺎن‬/ ‫ ظ‬/ ‫ِز )زاي ﺕﺤﺘﻬﺎ ﺷﺮﻃﻪ( ﻳﻌﻨﻲ أﻧﻬﺎ ﻣﻔﺨﻤﺔ ﺕﻨﻄﻖ ﻣﺜﻞ اﻟـ‬ .( Garden ) ‫ اﻻﻧﺠﻠﻴﺰﻳﺔ ﻓﻲ‬/ g / ‫ك )آﺎف ﻣﻨﻘﻮﻃﺔ ﻣﻦ أﺳﻔﻞ( ﻳﻌﻨﻲ أﻧﻬﺎ ﻣﺠﻬﻮرة ﻣﺜﻞ اﻟـ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

(1) (2)


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

103

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

7) การอานเสียง “‫ ”ﻝ‬เปนเสียง “‫ ”ﻥ‬ในกรณีที่มี “‫ ”ﻥ‬หลัง “‫ ”ﻝ‬เชนการอานคําวา “ ‫ﻭﺟﻌﻠﻨﺎ ﺍﻟﻠﻴﻞ‬ ‫ ”ﻟﺒﺎﺳﹰﺎ‬เพี้ยนเปน “‫”ﻭﺟﻌّﻨﺎ ﺍﻟﻠﻴﻞ ﻟﺒﺎﺳﺎﹰ‬ จึงอยากจะเชิญชวนพี่นองมุสลิมทุกคนใหใสใจตอการอานภาษาอาหรับดวยภาษาอาหรับกลาง เพือ่ ไมใหการอานออกเสียงผิดเพี้ยนไปจากความถูกตองขณะอาน โดยเฉพาะอยางยิ่งการอานอัลกุรอาน เพราะ หากอานผิดเพีย้ นไปจากเสียงที่ถูกตองซึ่งเปนเรื่องที่ควรระวัง แลวความหมายก็จะผิดเพี้ยนไปดวย แบบฝกหัด 1. ใหนักเรียนบอกชื่อแหลงกําเนิดเสียงของพยัญชนะตอไปนี้ ‫ﻥ ﻫـ ﻱ ﻕ ﺍﻟﻀﻤﺔ ﺃﻟﻒ ﺍﳌﺪ‬

‫ﺏﻉ ﺩ‬

2. ใหนักเรียนบอกจํานวนและพยัญชนะที่มีเสียงออกมาจากแหลงกําเนิดเสียงตอไปนี้ 2.1 ริมฝปากทั้งสอง “‫”ﺍﻟﺸﻔﺘﲔ‬ 2.2 คอหอย “‫”ﺍﳊﻠﻖ‬ 2.3 กลางเพดาน “‫”ﻭﺳ ﺍﳊﻨﻚ‬ 2.4 เหงือก (‫)ﺍﻟﻠﺜﺔ‬ 3.ลักษณะการออกเสียงแบบ “มุจฮูร”(‫ )ﺍ ﻬﻮﺭ‬กับเสียงแบบ “มะฮฺมูส” (‫ )ﺍﳌﻬﻤﻮﺱ‬ตางกันอยางไร? 4. เมื่อใดที่ตอง “”ตัฟคีม” ในกลุมเสียง “มุฟคคอมะฮฺ” และมีพยัญชนะใดบาง ? 5. พยัญชนะใดบางที่ตองอานแบบ “อันฟยะฮฺ” และฟะมะวียะฮฺ (‫ ﻓﻤﻮﻳﺔ‬, ‫)ﺃﻧﻔﻴﺔ‬ 6. “เสียงอันฟยะฮฺ”หมายถึงการอานอยางไรและมีพยัญชนะที่ตองอานในลักษณะนี้กี่พยัญชนะ ? 7. เสียงแบบ “ชะดีดะฮฺ” (‫ )ﺍﻟﺸﺪﻳﺪﺓ‬หมายถึงการอานอยางไร ? และมีวิธีการอานออกเสียงอยางไร มีมี พยัญชนะใดบางที่ตองอานแบบ “ชะดีดะฮฺ” และมีวิธีอานอยางไร ? 8. เพราะเหตุใดจึงพยัญชนะ “‫ ”ﺭ‬วา “,มุกัรรอรฺ” (‫? )ﻣﻜﺮﺭﺍﹰ‬ 9. เพราะเหตุใดจึงเรียนพยัญชนะ “‫ ”ﻝ‬วาเปนเสียงแบบ “ยานิบียฺ” (‫? )ﺟﺎﻧﺒﻴﺎﹰ‬ 10. คุณลักษณะเสียงใดบางที่มีเสียงตรงกันขาม ? 11.ใหนักเรียนอธิบายคุณลักษณะเสียงแบบไมมีเสียงตรงกันขามมา 3 ประเภท 12. การอานในลักษณะใดที่กอใหเกิดลักษณะเสียงใหม และเมื่อใดลักษณะเสียงใหมจะหายไป ? 13.ใหนักเรียนบอกคุณลักษณะของเสียงพยัญชนะตอไปนี้ใหถูกตอง “ ‫ ﻥ ﺽ ﻉ ﻁ ﻭ ﻙ‬, ‫”ﺙ‬ 14. ใหนักเรียนยกตัวอยางเสียง “‫ ”ﺙ‬รูเคาวะฮฺ มะมูซและ มูรอกกอเกาะฮฺ (‫)ﺭﺧﻮﺓ ﻣﻬﻤﻮﺱ ﻣﺮﻗﻘﺔ‬ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

104

บทที่ 2 หลักการอาน (‫)ﺍﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺘﺠﻮﻳﺪ‬ หลังจากที่ไดกลาวถึงเรื่องของแหลงกําเนิดเสียงและคุณลักษณะการอานออกเสียงพยัญชนะไปแลว ในบทเรียนที่ผานมา ตอไปเราก็จะพูดถึงเรื่องของหลักการอาน (‫ )ﺍﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺘﺠﻮﻳﺪ‬หรือ (‫ )ﺍﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺘﻼﻭﺓ‬ซึ่ง จะไมกลาวถึงการอานแบบปกติทั่วไปของภาษาอาหรับตามที่ปรากฏใหเห็น แตจะเปนการเรียนรูการอานอัล กุรอานเปนการเฉพาะ โดยจะเนนในสวนที่มักจะอานผิดเพี้ยนขณะอานอัลกุรอานเทานั้น การนําเสนอหลักการอานจะพยายามนําเสนอในรูปแบบที่เขาใจงาย โดยจะนําเสนอเฉพาะในสวนที่ จําเปนตองเรียนรูและนําไปใชกับการอานอัลกุรอานใหถูกตองเทานั้น สวนอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของซึ่งเปนเรื่อง ของรายละเอียดปลีกยอย ใหผูที่ตองการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดจากหนังสืออื่น ๆ สําหรับผูที่เริ่มเรียนรูก็ จะนําเสนอเฉพาะในสวนของหลักการงาย ๆ แบบชัด ๆ เปนขั้นเปนตอน จากงายไปหายากตามลําดับ การเรียนรูตัจวิดหรือหลักการอานในที่นี้จะไมเนนเกี่ยวกับเรื่องของทฤษฎี แตจะเนนเรื่องของการ ฝกปฏิบัติ ฟงการอานออกเสียงและแกไขใหการอานใหเปนไปอยางถูกตอง ฝกทั้งการอานและการฟงไป พรอม ๆกัน โดยจะใหฝกอาน และเมื่อถึงคําหรือประโยคที่เกี่ยวของก็จะอธิบายเพิ่มเติมในเรื่องของทฤษฎี และตามดวยการฝกอานและบันทึกเสียงไว เพื่อแกไข และหากนักเรียนสามารถปฏิบัติไดตามวิธีการนี้ การ เรียนรูก็จะมีความกาวหนาพัฒนาได และหวังเปนอยางยิ่งวานักเรียนจะประสบความสําเร็จ “อินชาอัลลอฮ” 1.กอลกอลอฮฺ(‫ﺔ‬

‫)ﺍﻟ‬

กอลกอลอฮฺ(‫ )ﺍﻟﻘﻠﻘﻠﺔ‬หมายถึงการอานออกเสียงพยัญชนะดวยเสียงหนัก การเปลงเสียงที่ออกแรงลม อยางหนัก ๆ พยัญชนะที่ตองอานออกเสียงกอลกอลอฮฺ(‫ )ﺍﻟﻘﻠﻘﻠﺔ‬มีทั้งหมด 5 พยัญชนะ คือ , ‫ﻁ‬, ‫ﺏ ﻕ‬ ‫ﺩ‬, , รวมไวในคําวา “‫ ”ﻗﻄﺐ ﺟﺪ‬เสียงกอลกอลอฮฺ(‫ )ﺍﻟﻘﻠﻘﻠﺔ‬จะยิ่งหนักขึ้นหากพยัญชนะอยูทายคํา และ อานวกัฟที่พยัญชนะตัวนั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งพยัญชนะที่มีเครื่องหมายตัชดีด ให นักเรี ยนสังเกตพยัญชนะกอลกอลอฮฺ(‫ )ﺍﻟﻘﻠﻘﻠﺔ‬ทุ ก ตัว โดยการฟ งการอานออกเสียงจากเทป บันทึกเสียง พรอมสังเกตความแตกตางระหวางพยัญชนะที่อยูกลางคําที่มีตัชดีด และพยัญชนะที่อยูทายคํา พยัญชนะ “‫”ق‬ .(1 ‫ ∪⊇∩ )ﺍﻟﻘﻴﺎﻣﺔ ـ‬Ïπyϑ≈uŠÉ)ø9$# ÏΘöθu‹Î/ ãΝÅ¡ø%é& Iω ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

105

∩⊄∠∪ 9,ŠÏϑtã ?dksù Èe≅ä. ÏΒ šÏ?ù'tƒ 9ÏΒ$|Ê Èe≅à2 4’n?tãuρ Zω%y`Í‘ š‚θè?ù'tƒ Ædkptø:$$Î/ Ĩ$¨Ψ9$# ’Îû βÏiŒr&uρ .(27 ‫)اﻟﺤﺞ ـ‬

พยัญชนะ ‫ ﻁ‬ในอายะฮฺ ∩⊇⊂∪ AÏϑôÜÏ% ÏΒ šχθä3Î=÷Κtƒ $tΒ ϵÏΡρߊ ÏΒ šχθããô‰s? tÏ%©!$#uρ 4 Ûù=ßϑø9$# çµs9 öΝä3š/u‘ ª!$# ãΝà6Ï9≡sŒ 4 .(13 ‫)ﻓﺎﻃﺮ ـ‬ .(20،19 ‫)اﻟﺒﺮوج ـ‬

∩⊄⊃∪ 8ÝŠÏt’Χ ΝÍκÉ″!#u‘uρ ÏΒ ª!$#uρ ∩⊇∪ 5=ƒÉ‹õ3s? ’Îû (#ρãxx. tÏ%©!$# È≅t/

พยัญชนะ ‫ ب‬ในอายะฮฺ .(85 ‫)ﺁل ﻋﻤﺮان ـ‬

∩∇∈∪ zƒÌÅ¡≈y‚ø9$# zÏΒ ÍοtÅzFψ$# ’Îû uθèδuρ çµ÷ΨÏΒ Ÿ≅t6ø)ムn=sù $YΨƒÏŠ ÄΝ≈n=ó™M}$# uöxî ÆtGö;tƒ tΒuρ

.(13 ‫ ∪⊂⊇∩ )اﻟﻔﺠﺮ ـ‬A>#x‹tã xÞöθy™ y7•/u‘ óΟÎγøŠn=tæ ¡=|Ásù พยัญชนะ ‫ ج‬ในอายะฮฺ .(103 ‫× ∪⊂⊃⊇∩ )هﻮد ـ‬Šθßγô±¨Β ×Πöθtƒ y7Ï9≡sŒuρ â¨$¨Ψ9$# 絩9 ×íθßϑøg¤Χ ×Πöθtƒ y7Ï9≡sŒ .(1 ‫ ∪⊇∩ )اﻟﺒﺮوج ـ‬Ælρçã9ø9$# ÏN#sŒ Ï!$uΚ¡¡9$#uρ พยัญชนะ ‫ د‬ในอายะฮฺ .(117 ‫ ∪∠⊇⊇∩ " )اﻟﻤﺆﻣﻨﻮن ـ‬... …çµs9 z≈yδöç/ Ÿω tyz#u $·γ≈s9Î) «!$# yìtΒ äíô‰tƒ tΒuρ" ‫ ـ‬: ‫د‬ .(4 ‫ )اﻟﺒﺮوج ـ‬ÏŠρ߉÷{W{$# Ü=≈ptõ¾r& Ÿ≅ÏFè% ‫ـ‬ และตอไปใหนักเรียนฟงการอาน อายะฮฺ ในซูเราะฮฺ “‫ ”ﻕ‬ตั้งแตอายะฮฺที่ 6-8 จากนั้นใหนกั เรียน สังเกตใหไดวา คําใดเปนตัวอยางของการอาน “กอลกอเลาะฮฺ” (‫ )ﺍﻟﻘﻠﻘﻠﺔ‬แลวใหลองอานออกเสียงใหถูกตอง ตามหลักการอาน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

106

uÚö‘F{$#uρ ∩∉∪ 8lρãèù ÏΒ $oλm; $tΒuρ $yγ≈¨Ψ−ƒy—uρ $yγ≈oΨø‹t⊥t/ y#ø‹x. ôΜßγs%öθsù Ï!$yϑ¡¡9$# ’n<Î) (#ÿρãÝàΖtƒ óΟn=sùr& 7‰ö6tã Èe≅ä3Ï9 3“tø.ÏŒuρ ZοuÅÇö7s? ∩∠∪ 8kŠÎγt/ £l÷ρy— Èe≅ä. ÏΒ $pκÏù $uΖ÷Fu;/Ρr&uρ zÅ›≡uρu‘ $pκÏù $uΖøŠs)ø9r&uρ $yγ≈tΡ÷Šy‰tΒ

(8 -6 "‫ ∪∇∩ ) ﺳﻮﺭﺓ "ﻕ‬5=ŠÏΨ•Β ตัวอยางการเฉลย “ ”ในคําวา “ ‫ ”ﹸﻓﺮُﻭ‬เปนพยัญชนะหนึ่งของ กอลกอเลาะฮฺ (‫)ﺍﻟﻘﻠﻘﻠﺔ‬ 2.หลักการอาน “‫ ”م‬และ “‫ ”ن‬ที่มีตัชดีด( ‫)ﺍ ﱠﺪ َﺩ‬ หลักการอาน วายิบตองอานแบบฆุนนะฮฺ (‫ )ﺍﻟﻐﻨﺔ‬ดังที่ไดแนะนํามาแลว โดยใหอานเสียงฆุนนะฮฺ แบบสองฮัรกะฮฺ (‫)ﺣﺮﻛﺘﺎﻥ‬1 ตัวอยาง “‫ ”ن‬มุชัดดะดะฮฺ( ‫)ﺍ ﱠﺪ َﺩ‬ .(31 ‫ ∪⊇⊂∩ )اﻟﻨﺒﺄ ـ‬#·—$xtΒ tÉ)−Fßϑù=Ï9 ¨βÎ) Ĩ$¨Ψsƒø:$# Ĩ#uθó™uθø9$# Ìhx© ÏΒ ∩⊂∪ Ĩ$¨Ψ9$# ϵ≈s9Î) ∩⊄∪ Ĩ$¨Ψ9$# Å7Î=tΒ ∩⊇∪ Ĩ$¨Ψ9$# Éb>tÎ/ èŒθããr& ö≅è% .(‫)اﻟﻨﺎس‬

∩∉∪ Ĩ$¨Ψ9$#uρ Ïπ¨ΨÉfø9$# zÏΒ ∩∈∪ ÄZ$¨Ψ9$# Í‘ρ߉߹ †Îû â¨Èθó™uθム“Ï%©!$# ∩⊆∪

ตัวอยาง “‫ ”م‬อัลมุชัดดะดะฮฺ (‫)اﻟﻤُﺸﺪﱠدة‬ .(34 ‫ ∪⊆⊂∩ )اﻟﻨﺎزﻋﺎت ـ‬3“uö9ä3ø9$# èπ¨Β!$©Ü9$# ÏNu!%y` #sŒÎ*sù .(14 ‫ ∪⊆⊇∩ )اﻟﻤﺆﻣﻨﻮن ـ‬tÉ)Î=≈sƒø:$# ß|¡ômr& ª!$# x8u‘$t7tFsù 4 tyz#u $¸)ù=yz çµ≈tΡù't±Σr& ¢ΟèO .(7،5 ‫ ∪∠∩ )اﻟﻠﻴﻞ ـ‬3“uô£ãù=Ï9 …çνçÅc£uãΨ|¡sù ∩∉∪ 4o_ó¡çtø:$$Î/ s−£‰|¹uρ ∩∈∪ 4’s+¨?$#uρ 4‘sÜôãr& ôtΒ $¨Βr'sù

1

คําวา “สองฮะรอกะฮฺ” ผูเชี่ยวชาญดานวิชาตัจวิด ใหทัศนะไววา เปนการอานใหเสียงยาว เหมือนอานฮูรุฟมัดชวงระยะเวลากระดิกนิ้วสองครั้ง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

107

3. หลักการอาน “ ” ซากินะฮฺ มีม“‫”م‬ซากะนะฮฺมีหลักการอานอยู 2 หลักการ อิซฮารฺ (‫ )ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ‬ซึ่งเปนหลักการอานดั้งเดิม มีมซากินะฮฺจะตองอานอิซฮารฺ (‫ )ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ‬กอนทีจ่ ะ มารวมกับฟุซฮะอฺ นอกเหนือจากมีม 1. อิซฮารฺ (‫ )ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ‬หมายถึงการอานออกเสียงโดยออกเสียงของพยัญชนะออกมาอยางชัดเจน โดย ไมมีการเปลี่ยนแปลงเสียง ตัวอยางเชน (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(39 ‫⊂∩ )اﻟﺮﻋﺪ ـ‬∪ É=≈tGÅ6ø9$# ‘Πé& ÿ…çνy‰ΨÏãuρ ( àMÎ6÷Vãƒuρ â!$t±o„ $tΒ ª!$# (#θßsôϑtƒ .(3 ‫ـ‬

‫ ∪⊂∩ )ﺍﻹﺧﻼ‬ô‰s9θムöΝs9uρ ô$Î#tƒ öΝs9

.(6 ‫ ∪∉∩ )اﻟﺒﻘﺮة ـ‬tβθãΖÏΒ÷σムŸω öΝèδö‘É‹Ζè? öΝs9 ÷Πr& öΝßγs?ö‘x‹Ρr&u óΟÎγøŠn=tæ í!#uθy™ (#ρãxx. šÏ%©!$# ¨βÎ) ขอควรจํา พยัญชนะ “‫ ”ﻭ“ ”ﻡ‬เปนพยัญชนะที่มีแหลงกําเนิดเสียงมาจากริมฝปากทั้งสอง สวน “‫ ”ﻑ‬มี แหลงกําเนิดจาก ริมฝปากบนกับฟนลางหนา เมื่อมีมซากินะฮฺอยูหนา “วาว” (‫ )ﻭ‬หรือ “ฟะอฺ” (‫ )ﻑ‬งายตอ การที่จะอานออกเสียงรวมเขากับตัวหนึ่งตัวใดจากทั้งสองพยัญชนะ ดวยเหตุนี้เอง ผูอ านจะตองตั้งใจในการ อานออกเสียงใหชัดเจนแบบ “อิซฮารฺ” (‫ )ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ‬มีซากีนะฮฺ อยางชัดเจน กอนพยัญชนะทั้งสอง “‫”ﻭ ﻑ‬ ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(47 ‫)اﻟﻜﻬﻒ ـ‬

∩⊆∠∪ #Y‰tnr& öΝåκ÷]ÏΒ ö‘ÏŠ$tóçΡ öΝn=sù öΝßγ≈tΡ÷|³ymuρ Zοy—Í‘$t/ uÚö‘F{$# “ts?uρ tΑ$t6Ågø:$# çÉi|¡èΣ tΠöθtƒuρ

#Y‰àÒtã t,Íj#ÅÒßϑø9$# x‹Ï‚−GãΒ àMΖä. $tΒuρ öΝÍκŦàΡr& t,ù=yz Ÿωuρ ÇÚö‘F{$#uρ ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# t,ù=yz öΝåκ–E‰uηô©r& !$¨Β * .(51 ‫)ﺍﻟﻜﻬﻒ ـ‬

∩∈⊇∪

2. อัลอิดฆอม (‫ )ﺍﻹﺩﻏﺎﻡ‬เมื่อมีมซากินะฮฺนาํ หนา “มีม” (‫ )ﻡ‬ตัวอืน่ เวลาอานก็จะอานเปนเสียงมีมตัว เดียว ฟงดูแลวเหมือนมีชัดดะฮฺ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

108

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) ∩⊇⊂⊆∪ tβθè=uΚ÷ètƒ (#θçΡ%x. $£ϑtã tβθè=t↔ó¡è? Ÿωuρ ( öΝçFö;|¡x. $¨Β Νä3s9uρ ôMt6|¡x. $tΒ $yγs9 ( ôMn=yz ô‰s% ×π¨Βé& y7ù=Ï? .(134 ‫)اﻟﺒﻘﺮة ـ‬ .(89 ‫)ﻳﻮﺳﻒ ـ‬

∩∇∪ šχθè=Îγ≈y_ óΟçFΡr& øŒÎ) ϵ‹Åzr&uρ y#ß™θã‹Î/ Λäù=yèsù $¨Β ΛäôϑÎ=tæ ö≅yδ tΑ$s%

คัมภีร“อัลกุรอาน”ที่ตีพิมพในประเทศอียปิ ต จะพบวาพยัญชนะ “‫ ”ﻡ‬จะไมมเี ครื่องหมายซูกนู (เครื่องหมายตาย) สวน “‫ ”ﻡ‬ตัวที่สองจะมีเครื่องหมาย “ชัดดะฮฺ” (ّ‫ )ـ‬เชนคําวา “ُ‫ ”ﹸﻗﻠﹸـُﺒﻬُﻢ ﻣﱠﺮﺽ‬แต เมื่อตองอาน “อิสฮารฺ” (‫ )ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ‬ก็จะพบวาเครื่องหมายซุกูนปรากฏอยู ในกรณีที่มีมซากินะฮฺอยูหนาพยัญ ชะน “‫ ”ﺏ‬จะไมมีเครื่องหมายซูกูนปรากฏอยู พยัญชนะที่ตามมาก็จะไมมีเครื่องหมายชัดดะฮฺดว ยเชนกัน แบบฝกหัด ใหนกั เรียนฟงเสียงจากอายะฮฺในซูเราะฮฺ อัซซุมัร อายะฮฺที่ 1 – 7 แลวใหสังเกตมีมซากินะฮฺ และ หลักการอานในทุกที่ที่พบแลวใหนักเรียนฝกอานซ้ําหลาย ๆ ครั้ง ωç7ôã$$sù Èd,ysø9$$Î/ |=≈tFÅ6ø9$# šø‹s9Î) !$uΖø9t“Ρr& !$¯ΡÎ) ∩⊇∪ ÉΟ‹Å3ptø:$# Í“ƒÍ“yèø9$# «!$# zÏΒ É=≈tGÅ3ø9$# ã≅ƒÍ”∴s? $tΒ u!$uŠÏ9÷ρr& ÿϵÏΡρߊ ∅ÏΒ (#ρä‹sƒªB$# šÏ%©!$#uρ 4 ßÈÏ9$sƒø:$# ßƒÏe$!$# ¬! Ÿωr& ∩⊄∪ šÏe$!$# 絩9 $TÁÎ=øƒèΧ ©!$# Ÿω ©!$# ¨βÎ) 3 šχθàÎ=tGøƒs† ϵ‹Ïù öΝèδ $tΒ ’Îû óΟßγoΨ÷t/ ãΝä3øts† ©!$# ¨βÎ) #’s∀ø9ã— «!$# ’n<Î) !$tΡθç/Ìhs)ã‹Ï9 ωÎ) öΝèδ߉ç6÷ètΡ 4 â!$t±o„ $tΒ ß,è=øƒs† $£ϑÏΒ 4’s∀sÜô¹^ω #V$s!uρ x‹Ï‚−Gtƒ βr& ª!$# yŠ#u‘r& öθ©9 ∩⊂∪ Ö‘$¤Ÿ2 Ò>É‹≈x. uθèδ ôtΒ “ωôγtƒ Í‘$pκ¨]9$# ’n?tã Ÿ≅øŠ©9$# â‘Èhθs3ム( Èd,ysø9$$Î/ uÚö‘F{$#uρ ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# t,n=y{ ∩⊆∪ â‘$£γs)ø9$# ߉Ïm≡uθø9$# ª!$# uθèδ ( …çµoΨ≈ysö7ß™ Ⓝ͓yèø9$# uθèδ Ÿωr& 3 ‘‡Κ|¡•Β 9≅y_L{ “Ìøgs† @≅à2 ( tyϑs)ø9$#uρ }§ôϑ¤±9$# t¤‚y™uρ ( È≅øŠ©9$# †n?tã u‘$yγ¨Ψ9$# â‘Èhθs3ãƒuρ sπuŠÏΖ≈yϑrO ÉΟ≈yè÷ΡF{$# zÏiΒ /ä3s9 tΑt“Ρr&uρ $yγy_÷ρy— $pκ÷]ÏΒ Ÿ≅yèy_ §ΝèO ;οy‰Ïn≡uρ <§ø¯Ρ ÏiΒ /ä3s)n=s{ ∩∈∪ ã≈¤tóø9$# çµs9 öΝä3š/u‘ ª!$# ãΝä3Ï9≡sŒ 4 ;]≈n=rO ;M≈yϑè=àß ’Îû 9,ù=yz ω÷èt/ .ÏiΒ $Z)ù=yz öΝà6ÏG≈yγ¨Βé& ÈβθäÜç/ ’Îû öΝä3à)è=øƒs† 4 8l≡uρø—r&

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

109

ÍνÏŠ$t7ÏèÏ9 4yÌötƒ Ÿωuρ ( öΝä3Ζtã ;Í_xî ©!$# χÎ*sù (#ρãàõ3s? βÎ) ∩∉∪ tβθèùuóÇè? 4’¯Τr'sù ( uθèδ ωÎ) tµ≈s9Î) Iω ( à7ù=ßϑø9$# Νä3ã∞Îm7t⊥ã‹sù öΝà6ãèÅ_ö¨Β /ä3În/u‘ 4’n<Î) §ΝèO 3 3“t÷zé& u‘ø—Íρ ×οu‘Η#uρ â‘Ì“s? Ÿωuρ 3 öΝä3s9 çµ|Êötƒ (#ρãä3ô±n@ βÎ)uρ ( tøä3ø9$# ∩∠∪ Í‘ρ߉Á9$# ÏN#x‹Î/ 7ΟŠÎ=tæ …çµ¯ΡÎ) 4 tβθè=yϑ÷ès? ÷ΛäΖä. $yϑÎ/

4. หลักการอาน “ลาม ซากินะฮฺ” ลามซากินะฮฺ มีหลักการอานอยู 2 หลักการ 1. อิซฮารฺ (‫ )ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ‬คือเสียงดั้งเดิมของ “‫”ﻝ‬ ก. พยัญชนะลามที่เรียกวา “‫ ”ﻻﻡ ﺍﻟﺘﻌﺮﻳـﻒ‬หากเปนลามชนิดกอมะรียะฮฺ (‫ )ﺍﻟﻘﻤﺮﻳـﺔ‬นั่นคือลามที่ นําหนาพยัญชนะ 14 ตัว ในคําวา “ُ‫ ”ﺇﺑ ﺣﺠّﻚ ﻭَﺧﻒ ﻋَﻘﻴ َﻤﻪ‬ดังตัวอยางตอไปนี้ . ‫ ﺍﳍﻮَﻯ‬. ‫ ﺍﳌﺪّﺛﺮ‬. ‫ﺍﻟﻴﻮﻡ‬. ‫ ﺍﻟﻘﺎﺩﺭ‬. ‫ﺍﻟﻌﻠﻢ‬. ‫ ﺍﻟﻔﺼﻞ‬. ‫ ﺍﳋﻠﻖ‬. ‫ ﺍﻟﻮ‬. ‫ﺍﻟﻜﻮﺛﺮ‬. ‫ﺍﳉﻨﺔ‬. ‫ﺍﳊﹸﻜﻢ‬. ‫ﺍﻟﻐَﻨ ّﻲ‬. ‫ﺍﻟﺒﻴﺖ‬. ‫ﺍﻷﺑﺮﺍﺭ‬ ข. พยัญชนะลามที่เรียกวา “‫ﻻﻡ ﺍﳊـﺮﻑ‬, ‫ﻻﻡ ﺍﻟﻔﻌﻞ‬, ‫ ”ﻻﻡ ﺍﻹﺳﻢ‬ไมวาจะอยูตนคํา (หลังฮัมซะฮฺวะ ซอล) หรืออยูกลางคํา หรือทายคํา (ดูตัวอยางประกอบในตาราง) ทายคํา

กลางคํา

ตนคํา

ประเภทคํา

‫ﺍﻟﻌﺪﻝ‬

‫ﺍﳋﻠﻖ‬

‫ﺍﻟﺘﻔﺎﺕ‬

‫ﻗﺘﻞ‬

‫ﺍﺳﺘﻠ َﻬ َﻢ‬

‫ﺖ‬ َ ‫ﺍﻟﺘَﻔ‬

‫ﻻ ﺗﻘﹸﻞ‬

ُ‫ﻳﺴﺘﻠﻬﻢ‬

ُ‫ﻳَﻠﺘَﻔﺖ‬

: ‫ﺎﺭ‬

‫ﻌ‬

‫ﻗﹸﻞ‬

‫ﺍﺳﺘﻠﻬﻢ‬

‫ﺍﻟﺘَﻔﺖ‬

:

‫ﻌ‬

‫ﻫَﻞ ﺑَﻞ‬

-

-

: ‫ﺍ‬ : ‫ﺎ‬

:

ขอยกเวนไมอานอิซฮารฺ(‫ )ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ‬ในสองกรณี ในกรณีที่ “‫ ”ﻝ‬อยูทายคํา หลังจาก ‫ ﻝ‬เปนพยัญชนะ “‫ﺭ‬, ‫ ”ﻝ‬ในกรณีนี้ใหอาน “อิดฆอม” (‫)ﺇﺩﻏﺎﻡ‬ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

‫ﻌ‬


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

110

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ฟงตัวอยางการอานจากเทป ÷ρr& !$yϑèδ߉tnr& uy9Å6ø9$# x8y‰ΨÏã £tóè=ö7tƒ $¨ΒÎ) 4 $·Ζ≈|¡ômÎ) Èøt$Î!≡uθø9$$Î/uρ çν$−ƒÎ) HωÎ) (#ÿρ߉ç7÷ès? ωr& y7•/u‘ 4|Ós%uρ * yy$uΖy_ $yϑßγs9 ôÙÏ÷z$#uρ ∩⊄⊂∪ $VϑƒÌŸ2 Zωöθs% $yϑßγ©9 ≅è%uρ $yϑèδöpκ÷]s? Ÿωuρ 7e∃é& !$yϑçλ°; ≅à)s? Ÿξsù $yϑèδŸξÏ.

.(24 ، 23 ‫ ∪⊆⊄∩ )اﻹﺳﺮاء ـ‬#ZÉó|¹ ’ÎΤ$u‹−/u‘ $yϑx. $yϑßγ÷Ηxqö‘$# Éb>§‘ ≅è%uρ Ïπyϑôm§9$# zÏΒ ÉeΑ—%!$# แตก็มียกเวนอยู 1 คําที่ไมตองอาน อิดฆอม ‫ ﻝ‬เขากับ ‫ ﺭ‬คือ คําวา “‫”ﺑَﻞ ﺭﺍﻥ‬ในอายะฮฺ "‫ "ﺑَﻞ ﺭَﺍﻥ ﻋﻠﻰ ﹸﻗﻠﹸﻮﺑﻬﻢ ﻣﱠﺎ ﻛﺎﻧﻮﺍ ﻳَﻜﺴﺒُﻮﻥ‬แตใหหยุดอานที่เรียกวา “ซักตะฮฺคอฟฟะฮฺ”( ‫ )ﺳﻜﺘﺔ ﺧﻔﻴﻔﺔ‬หยุด อานโดยไมปลอยลม 2. อานอิดฆอม (‫ )ﺍﻹﺩﻏﺎﻡ‬ในสองที่ ก. ในกรณีที่หลังจาก ‫ ل‬ซากินะฮฺ เปนพยัญชนะ ‫ ل‬หรือ ‫ ر‬ในทันทีดังที่ไดกลาวมาแลว ∩⊇⊆∪ tβθç6Å¡õ3tƒ (#θçΡ%x. $¨Β ΝÍκÍ5θè=è% 4’n?tã tβ#u‘ 2ö≅t/ ( ξx.

ข.ในกรณีทเี่ ปนลามชัมชียะฮฺ (‫)ﺍﻻﻡ ﺍﻟﺸﻤﺴﻴﺔ‬ในคําวา “‫ ”اﻟـ‬คือ ‫ ل‬ที่อยูกอ นหนาพยัญชนะ .‫ﻥ‬.‫ﻝ‬.

.‫ﻁ‬.‫ﺽ‬.

.‫ﺵ‬.‫ﺱ‬.‫ﺯ‬.‫ﺭ‬.‫ﺫ‬.‫ﺩ‬.‫ﺙ‬.‫ﺕ‬

ตัวอยางเชน คําวา .‫ ﺍﻟﻀّﺎﻟﲔ‬. ‫ ﺍﻟﺼّﻼﺓ‬. ‫ ﺍﻟﺸّﻤ‬. ‫ ﺍﻟﺴّﻤﺎﺀ‬. ‫ ﺍﻟﺮّﺯﺍﻕ‬. ‫ ﺍﻟﺬﹼﺍﻛﺮﺍﺕ‬. ‫ ﺍﻟﺪﻳﻦ‬. ‫ ﺍﻟﺜﻮﺍﺏ‬. ‫ﺍﻟﺘﺎﺋﺒﻮﻥ‬ .(1)‫ ﺍﻟﻨّﻬﺎﺭ‬. ‫ ﺍﻟﻠﹼﻬﻮ‬. ‫ ﺍﻟﻈﹼﺎﳌﻮﻥ‬. ‫ﺍﻟﻄﹼﻴﺒﻮﻥ‬ แบบฝกหัด (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) 1.ใหนกั เรียนฟง(เสียงจากเทปบันทึกเสียง) ซูเราะฮฺ อัลฮุยุรอตอายะฮฺที่11-15 แลวบอกตําแหนง ลาม ซากินะฮฺและหลักการอานใหถูกตอง

(1) วิธีอานจะตองอาน อิดฆอม ‫ ل‬เขากับพยัญชนะทั้ง 14 ตัว เพราะมีแหลงกําเนิดเสียงใกลเคียงกัน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

111

>!$|¡ÎpΣ ÏiΒ Ö!$|¡ÎΣ Ÿωuρ öΝåκ÷]ÏiΒ #Zöyz (#θçΡθä3tƒ βr& #|¤tã BΘöθs% ÏiΒ ×Πöθs% öy‚ó¡o„ Ÿω (#θãΖtΒ#u tÏ%©!$# $pκš‰r'¯≈tƒ y‰÷èt/ ä−θÝ¡àø9$# ãΛôœeω$# }§ø♥Î/ ( É=≈s)ø9F{$$Î/ (#ρâ“t/$uΖs? Ÿωuρ ö/ä3|¡àΡr& (#ÿρâ“Ïϑù=s? Ÿωuρ ( £åκ÷]ÏiΒ #Zöyz £ä3tƒ βr& #|¤tã Çd©à9$# zÏiΒ #ZÏWx. (#θç7Ï⊥tGô_$# (#θãΖtΒ#u tÏ%©!$# $pκš‰r'¯≈tƒ ∩⊇⊇∪ tβθçΗÍ>≈©à9$# ãΝèδ y7Íׯ≈s9'ρé'sù ó=çGtƒ öΝ©9 tΒuρ 4 Ç≈yϑƒM}$# Ÿ≅à2ù'tƒ βr& óΟà2߉tnr& =Ïtä†r& 4 $³Ò÷èt/ Νä3àÒ÷è−/ =tGøótƒ Ÿωuρ (#θÝ¡¡¡pgrB Ÿωuρ ( ÒΟøOÎ) Çd©à9$# uÙ÷èt/ χÎ) ÏiΒ /ä3≈oΨø)n=yz $¯ΡÎ) â¨$¨Ζ9$# $pκš‰r'¯≈tƒ ∩⊇⊄∪ ×ΛÏm§‘ Ò>#§θs? ©!$# ¨βÎ) 4 ©!$# (#θà)¨?$#uρ 4 çνθßϑçF÷δÌs3sù $\GøŠtΒ ÏµŠÅzr& zΝóss9 îΛÎ=tã ©!$# ¨βÎ) 4 öΝä39s)ø?r& «!$# y‰ΨÏã ö/ä3tΒtò2r& ¨βÎ) 4 (#þθèùu‘$yètGÏ9 Ÿ≅Í←!$t7s%uρ $\/θãèä© öΝä3≈oΨù=yèy_uρ 4s\Ρé&uρ 9x.sŒ ß≈yϑƒM}$# È≅äzô‰tƒ $£ϑs9uρ $oΨôϑn=ó™r& (#þθä9θè% Å3≈s9uρ (#θãΖÏΒ÷σè? öΝ©9 ≅è% ( $¨ΨtΒ#u Ü>#{ôãF{$# ÏMs9$s% * ∩⊇⊂∪ ×Î7yz $yϑ¯ΡÎ) ∩⊇⊆∪ îΛÏm§‘ Ö‘θàxî ©!$# ¨βÎ) 4 $º↔ø‹x© öΝä3Î=≈yϑôãr& ôÏiΒ Νä3÷GÎ=tƒ Ÿω …ã&s!θß™u‘uρ ©!$# (#θãè‹ÏÜè? βÎ)uρ ( öΝä3Î/θè=è% ’Îû ’Îû óΟÎγÅ¡àΡr&uρ öΝÎγÏ9≡uθøΒr'Î/ (#ρ߉yγ≈y_uρ (#θç/$s?ötƒ öΝs9 §ΝèO Ï&Î!θß™u‘uρ «!$$Î/ (#θãΖtΒ#u tÏ%©!$# šχθãΨÏΒ÷σßϑø9$#

(15-11) ‫ ∪∈⊇∩ ﺳﻮرة اﻟﺤﺠﺮات‬šχθè%ω≈¢Á9$# ãΝèδ y7Íׯ≈s9'ρé& 4 «!$# È≅‹Î6y™ 2. ใหนักเรียนฟง(เสียงจากเทปบันทึกเสียง) อายะฮฺที่ 7-15 ซูเราะฮฺ อัลฮะดีด แลวบอกตําแหนง ลาม ซากินะฮฺและหลักการอานดังตอไปนี้ใหถูกตอง .‫ـ ﺍﻟﻘﻠﻘﻠﺔ‬ .‫ـ ﺃﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﻨﻮﻥ ﻭﺍﳌﻴﻢ ﺍﳌﺸﺪﺩﺗﲔ‬ .‫ـ ﺃﺣﻜﺎﻡ ﺍﳌﻴﻢ ﺍﻟﺴﺎﻛﻨﺔ‬ .‫ـ ﺃﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﻼﻡ ﺍﻟﺴﺎﻛﻨﺔ‬ 5. หลักการอาน “นูนซากินะฮฺ” (‫ﺍﻟ ﺎ ﻨﺔ‬

‫)ﺍﻟﻨ‬

สระคูหรือตันวีน (‫ )ﺗﻨﻮﻳﻦ‬ก็คือ นูนซากินะฮฺที่อยูทายคํานามขณะอานออกเสียงเทานั้น แตไมมี ปรากฏใหเห็น แตเมื่ออานวกัฟ ก็จะไมมีปรากฏเสียงตันวีน ดวยเหตุนี้เอง หลักการอานตันวีนจึงเปน หลักการเดียวกับหลักการอาน “‫ ”ﻥ‬ซากินะฮฺ ตันวีนจะใชสัญลักษณ สระคูในภาษาอาหรับ คือ “ ‫ـ ــ‬ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

112

‫ ”ــ‬ในกรณีที่ตองอาน นซัฟ (‫ )ﺍﻟﻨﺼﺐ‬จะมีอลิฟ เพิ่มมาในตอนทาย และเมื่อตองอานวกัฟ (‫ )ﺍﻟﻮﻗﻒ‬ก็จะ เปลี่ยนเปน “อลิฟมัด” (‫ )ﺍﻟﻒ ﻣﺪ‬ตัวอยางเชน .(‫ﻼ( ﻛﺒﲑﺍ )ﻭَﻗﻔﹰﺎ‬ ‫ ﻛﺒﲑﹰﺍ )ﻭَﺻ ﹰ‬. ‫ ﻋﻠﻴﻢ‬. ‫ﻏﻔﻮﺭ‬ หลักการอาน นูนซากินะฮฺและตันวีน มีอยูท ั้งหมด 4 หลักการ คือ อิซฮารฺ (‫ )ﺍﻇﻬﺎﺭ‬อิกลาบ (‫)ﺍﻗﻼﺏ‬ อิดฆอม ( ‫ )ﺍﺩﻏﺎﻡ‬และอิคฟะอฺ (‫)ﺍﺧﻔﺎﺀ‬ 1. อิซฮารฺ (‫ )ﺍﻇﻬﺎﺭ‬คือหลักการอานดั้งเดิมของการอาน นั่นก็หมายความวา จะตองอานเสียงนูนซากิ นะฮฺและตันวีนออกมาอยางชัด ๆ ตามลักษณะของการอานออกเสียงเฉพาะตัวของมัน โดยใหมีเสียงออกมา จากแหลงกําเนิดเสียงเดิมทั้งหมด นั่นคือใหปลายลิ้นแตะเหงือกในสวนของโคนฟนบน การอานนูนซากินะฮฺ หรือตันวีนจะตองอานแบบอิซฮารฺ เมื่อนูนซากินะฮฺหรือตันวีนนําหนาพยัญชนะ . . ‫ ﺡ‬. ‫ ﻉ‬. ‫ ﻫـ‬. ‫ﺀ‬ ไมวาจะอยูในคําเดียวกันหรืออยูในคําอื่น (เพราะตันวีนจะตองอยูทายคําเสมอ) ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) กรณีที่อยูในคําเดียวกัน เชน .(26 ‫ ﺃ ( )ﺍﻷﻧﻌﺎﻡ ـ‬+ ‫ ﻫـ ﻥ‬+ ‫ـ " َﻭﻫُﻢ ﻳَﻨﻬَﻮﻥ ﻋَﻨﻪُ َﻭﻳَﻨﺄﻭﻥ ﻋَﻨﻪُ" ) ﻥ‬ .(7 ‫ ﻉ ( )ﺍﻟﻔﺎﲢﺔ ـ‬+ ‫ﺖ ﻋَﻠﻴﻬﻢ" )ﻥ‬ َ ‫ـ "ﺻﺮَﺍﻁ ﺍﱠﻟﺬﻳ َﻦ ﺃﻧﻌَﻤ‬ .(149 ‫ ﺡ ( )ﺍﻟﺸﻌﺮﺍﺀ ـ‬+ ‫ـ " َﻭﺗَﻨﺤﺘُﻮﻥ ﻣﻦ ﺍﳉﺒَﺎﻝ ﺑُﻴُﻮﺗﹰﺎ ﻓﺎﺭﻫﲔ" ) ﻥ‬ .(51 ‫ ﻉ ( )ﺍﻹﺳﺮﺍﺀ ـ‬+ ‫ﻚ ﺭُﺀﻭﺳَﻬﺜﻢ" ) ﻥ‬ َ ‫ﺴﻴُﻨﻐﻀُﻮﻥ ﺇﻟﻴ‬ َ ‫ـ "ﻓ‬ .(3 ‫( )ﺍﳌﺎﺋﺪﺓ ـ‬

+ ‫ـ "ﻭﺍﳌﹸﻨ َﻨﻘﺔﹸ ﻭﺍﻟﻤَﻮﻗﹸﻮﺫ ﹸﺓ" ) ﻥ‬

กรณีที่อยูตางคํากัน เชน .(62 ‫ ﺃ( )ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ ـ‬+ ‫ـ "ﻣﻦ ﺁ َﻣ َﻦ ﺑﺎﷲ ﻭﺍﻟﻴَﻮﻡ ﺍ ﺧﺮ ﻭﻋَﻤﻞ ﺻﺎﻟﺤﹰﺎ ﻓﻠﻬُﻢ ﺃﺟ َﺮﻫُﻢ ﻋﻨ َﺪ ﺭَﺑﻬﻢ" ) ﻥ‬ .(33 ‫ ﻫـ ( )ﺍﻟﺮﻋﺪ ـ‬+ ‫ـ " َﻭﻣَﻦ ﻳُﻀﻠﻞ ﺍﷲ ﻓﻤَﺎ ﻟﻪُ ﻣﻦ ﻫَﺎﺩ" )ﻥ‬ .(14 ‫ ﻉ ( )ﺍﻷﻧﻌﺎﻡ ـ‬+ ‫ـ "ﻫَﻞ ﻋﻨ َﺪﻛﹸﻢ ﻣﻦ ﻋﻠﻢ ﻓﺘُ ﺮﺟُﻮ ُﻩ ﻟﻨَﺎ" ) ﻥ‬ .(79 ‫ ﺡ ( )ﺍﻟﻨﺴﺎﺀ ـ‬+ ‫ﻚ ﻣﻦ َﺣﺴَﻨﺔ ﻓﻤ َﻦ ﺍﷲ" ) ﻥ‬ َ ‫ـ " َﻣ ﺃﺻَﺎَﺑ‬ .(43 ‫( )ﺍﻷﻋﺮﺍﻑ ـ‬

+ ‫ﺻﺪُﻭﺭﻫﻢ ﻣﻦ ﻏ ﹼﻞ" ) ﻥ‬ ُ ‫ـ " َﻭَﻧﺰَﻋﻨﺎ ﻣَﺎ ﰲ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

.(24 ‫ـ‬

113

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

‫( )ﺍﻟﻘﺼ‬

+ ‫ﺖ ﺇﻟ ﱠﻲ ﻣﻦ ﺧَﻴﺮ ﻓﻘﲑ" ) ﻥ‬ َ ‫ـ "ﺭَﺏ ﺇﻧﻲ ﻟ َﻤ ﺃﻧﺰَﻟ‬

หากสังเกตในคัมภีรอัลกุรอาน ก็จะพบวาจะมีเครื่องหมาย ‫ ـَـ‬อยูเหนือนูน ที่ตองอานอิซฮารฺ แสดงไว ตัวอยางการอานตันวีน (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(5 ‫ ﺇ ( )ﺍﻟﻐﺎﺷﻴﺔ ـ‬+ ‫ـ "ﺗُﺴﻘﻰ ﻣﻦ ﻋﲔ ﺁﻧﻴﺔ" ) ﺗﻨﻮﻳﻦ ﺑﺎﻟﻜﺴﺮ‬ .(30 ‫ ﻫـ ﺡ ( )ﺍﻷﻋﺮﺍﻑ ـ‬+ ‫ـ "ﻓﺮﻳﻘﹰﺎ ﻫﺪﻯ ﻭﻓﺮﻳﻘﹰﺎ ﺣﻖ ﻋﻠﻴﻬﻢ ﺍﻟﻀﻼﻟﺔ" ) ﺗﻨﻮﻳﻦ ﺑﺎﻟﻔﺘﺢ‬ .(10 ‫ ﻉ ( )ﺍﻟﻐﺎﺷﻴﺔ ـ‬+ ‫ـ "ﰲ َﺟﻨﱠﺔ ﻋَﺎﻟﻴَﺔ" ) ﺗﻨﻮﻳﻦ ﺑﺎﻟﻜﺴﺮ‬ .(28 ‫( )ﻓﺎﻃﺮ ـ‬ .(2 ‫( )ﺍﻟﻐﺎﺷﻴﺔ ـ‬

+ ‫ـ "ﺇﻥ ﺍﷲ ﻋَﺰﻳﺰُ ﻏﻔﹸﻮﺭ" ) ﺗﻨﻮﻳﻦ ﺑﺎﻟﻀﻢ‬ + ‫ـ " ُﻭﺟُﻮ ُﻩ ﻳَﻮﻣَﺌﺬ ﺧَﺎﺷ َﻌﺔﹸ" ) ﺗﻨﻮﻳﻦ ﺑﺎﻟﻜﺴﺮ‬

ในคัมภีรอัลกุรอาน จะมีเครื่องหมาย (ٌ‫ )ـًـ ـٍـ ــ‬แสดงไวอยางชัดเจนในกรณีที่จะตองอานอิซฮารฺ 2. อิกลาบ (‫ )ﺍﻹﻗﻼﺏ‬นั่นคือการเปลี่ยนเสียงนูนซากินะฮฺหรือตันวีนใหเปนเสียง “มีม” (‫ )ﻡ‬กอนจาก พยัญชนะ ‫( ﺏ‬หลังจากนูนซากินะฮฺหรือตันวีนมีพยัญชนะ ‫ ﺏ‬ตามมา) จะมีเสียงมีม ปรากฏออกมาเฉพาะ เวลาอานออกเสียงเทานั้น ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(4‫ـ "ﻭﻣﺎ ﺗﻔﺮﻕ ﺍﻟﺬﻳﻦ ﺃﹸﻭﺗﻮﺍ ﺍﻟﻜﺘﺎﺏ ﺇﻻ ﻣﻦ ﺑَﻌﺪ ﻣﺎ ﺟﺎﺀ ﻢ ﺍﻟﺒﻴﻨﺔ" )ﺍﻟﻨﻮﻥ( )ﺍﻟﺒﻴﻨﺔ ـ‬ .(90 ‫ﻚ َﺣﺘﱠﻰ ﺗَﻔﺠُﺮ ﻟﻨَﺎ ﻣ َﻦ ﺍﻷﺭﺽ ﻳَﻨﺒُﻮﻋﹰﺎ" )ﺍﻟﻨﻮﻥ( )ﺍﻹﺳﺮﺍﺀ ـ‬ َ ‫ـ "ﻭﻗﺎﻟﻮﺍ ﻟﻦ ﻧُﺆﻣ َﻦ ﻟ‬ .(30 ‫ـ "ﺇﻧﱠ ُﻪ ﻛﺎﻥ ﺑﻌﺒَﺎﺩﻩ ﺧَﺒﲑﺍ ﺑﺼﲑﹰﺍ" )ﺍﻟﺘﻨﻮﻳﻦ( )ﺍﻹﺳﺮﺍﺀ ـ‬ .(41 ‫ﻒ ﺇﺫﺍ ﺟﺌﻨﺎ ﻣﻦ ﹸﻛﻞﱢ ﺃﹸﻣﱠﺔ ﺑﺸﻬﻴﺪ" )ﺍﻟﻨﺴﺎﺀ ـ‬ َ ‫ـ "ﻓﻜﻴ‬ ในคัมภีรอัลกุรอาน จะมีเครื่องหมายเปนตัว “‫”م‬เล็ก ๆ แสดงไวเหนือนูนซากินะฮฺ หรือเครื่องหมาย ‫م‬

(‫ ) ُـ ـ‬หรือเครื่องหมาย ( ‫ ــ‬، ‫ ــ‬، ‫ ) ــ‬ซึ่งแสดงวาจะตองอานอิกลาบ 3. อิดฆอม ( ‫ )ﺍ ﺩ ﺎ‬คือการเปลี่ยนเสียงจากเสียงของนูนซากินะฮฺและตันวีนไปเปนเสียงพยัญชนะ ที่ตามมา จึงฟงดูแลวคลายกับวาพยัญชนะตัวนั้นมีชัดดะฮฺ (ّ‫ )ــ‬อิดฆอมมี 2 ประเภท คือ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

114

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ก. อิดฆอมบิลาฆุนนะฮฺ (‫ )ﺇﺩﻏﺎﻡ ﺑﻼ ﻏﻨﺔ‬ในกรณีที่หลังจากนูนซากินะฮฺหรือตันวีนเปนพยัญชนะ ‫ﻝ‬ หรือ ‫ﺭ‬ ตัวอยางเชน (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) . (25 ‫ ﺭ( )ﺍﳌﻄﻔﻔﲔ ـ‬+ ‫ـ "ﻳُﺴﻘﻮﻥ ﻣﻦ ﺭﱠﺣﻴﻖ ﱠﻣ ﺘُﻮﻡ" )ﻥ‬ .(70 ‫ ﻝ( )ﺍﻟﺒﻠﺪ ـ‬+ ‫ﺴﺐُ ﺃﻥ ﻟﱠﻢ َﻳ َﺮﻩُ ﺃﺣَﺪ " )ﻥ‬ َ ‫ـ "ﺃﻳَﺤ‬ .(6 ‫ ﻝ( )ﺍﻟﺸﻤ ـ‬+ ‫ﺖ ﻣَﺎ ﹰﻻ ﻟﺒَﺪﹰﺍ" )ﺗﻨﻮﻳﻦ‬ ُ ‫ـ "َﻳﻘﹸﻮ ﹸﻝ ﺃﻫﻠﻜ‬ .(14 ‫ ﺭ( )ﺍﳊﺠﺮﺍﺕ ـ‬+ ‫ـ "ﺇﻥ ﺍﷲ ﻏﻔﻮﺭ ﺭﺣﻴﻢ" )ﺗﻨﻮﻳﻦ‬ ข. อิดฆอม บิฆุนนะฮฺ (‫ )ﺍﺩﻏﺎﻡ ﺑﻐﻨـﺔ‬เมื่อนูนซากินะฮฺหรือตันวีนนําหนาพยัญชนะ .‫ و‬. ‫ م‬. ‫ ن‬. ‫ي‬ ตัวอยางนูนซากินะฮฺ (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(7 ‫ ﻱ( )ﺍﻟﺰﻟﺰﻟﺔ ـ‬+ ‫ـ "ﻓﻤَﻦ ﻳَﻌﻤَﻞ ﻣﺜﻘﺎﻝ ﺫﺭﱠﺓ ﺧَﲑﹰﺍ َﻳ َﺮﻩُ" )ﻥ‬ .(53 ‫ ﻥ( )ﺍﻟﻨﺤﻞ ـ‬+ ‫ـ " َﻭ َﻣﺎﺑﻜﹸﻢ ﻣﻦ ﻧّﻌﻤَﺔ ﻓﻤ َﻦ ﺍﷲ" )ﻥ‬ .(20 ‫ ﻡ( )ﺍﳌﺮﺳﻼﺕ ـ‬+ ‫ـ "ﺃﻟﻢ َﻧ ﻠﹸﻘﻜﻢ ﻣﻦ ﻣﱠﺎﺀ ﻣﱠﻬﲔ" )ﻥ‬ .(11‫ ﻭ( )ﺍﻟﺮﻋﺪ ـ‬+ ‫ـ " َﻭﻣَﺎ ﻟﻬُﻢ ﻣﻦ ﺩُﻭﻧﻪ ﻣﻦ ﻭَﺍﻝ" )ﻥ‬ ตัวอยางตันวีน (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(8 ‫ ﻱ( ) ﺍﻟﺰﻟﺰﻟﺔ ـ‬+ ‫ـ " َﻭﻣَﻦ ﻳَﻌﻤَﻞ ﻣﺜﻘﺎﻝ ﺫ ﱠﺭﺓ َﺷ ﱠﺮﹰﺍ َﻳﺮَﻩ" )ﺗﻨﻮﻳﻦ‬ .(8 ‫ ﻥ( )ﺍﻟﻐﺎﺷﻴﺔ ـ‬+ ‫ـ " ُﻭﺟُﻮﻩ ﻳَﻮﻣَﺌﺬ ﻧﱠﺎﻋﻤَﺔ" )ﺗﻨﻮﻳﻦ‬ .(13 ‫ ﻡ( )ﺍﻟﻐﺎﺷﻴﺔ ـ‬+ ‫ـ "ﻓﻴﻬَﺎ ُﺳ ُﺮ ُﺭ ﻣﱠﺮﻓﻮُ َﻋﺔﹸ" )ﺗﻨﻮﻳﻦ‬ .( 255 : 2) ( ‫ ﻭ‬+ ‫ ) ﺗﻨﻮﻳﻦ‬. " ‫ـ " ﱠﻻ ﺗَﺄ ُﺧ ﹸﺬ ُﻩ ﺳَﻨﺔﹸ ﻭَﻻ ﻧَﻮﻡ‬ ขอควรจํา ในกรณีที่ ‫ ﻡ‬,‫ ﻥ‬,‫ ﺭ‬, ‫ ﻝ‬การอานจะอานอิดฆอมแบบสมบูรณ หากสังเกตจะพบวาในคัมภีรอัลกุ รอาน “นูน” จะไมมีเครื่องหมายซุกูน พรอมกับมีการทําเครื่องหมาย ّ‫ ـ‬ไวกับพยัญชนะที่ตามมา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

115

ในกรณีที่เป นพยั ญชนะ ‫ و‬, ‫ ي‬อยูหลัง การอานจะอานอิดฆอมแบบไมสมบูรณ พยัญชนะที่ ตามมาจะไมมีเครื่องหมายตัชดีด (ّ‫ )ــ‬อยูกับพยัญชนะตัวนั้น ๆ (ในคัมภีรอัลกุรอาน) ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียงเพื่อเปรียบเทียบระหวางอิดฆอมสมบูรณกับไมสมบูรณ) . ( 17 : 18 ) . (59 : 6 ) . ( 7 : 69 )

‫ ﻧﺎﻗ‬. " ‫ـ " ﻣﻦ ﻳَﻬﺪ ﺍﷲ ﻓﻬُ َﻮ ﺍﳌﹸﻬﺘَﺪ‬

‫ ﻧﺎﻗ‬." ‫ـ " ﻭﻣﺎ ﺗَﺴﻘﹸ ﹸ ﻣﻦ َﻭﺭَﻗﺔ ﺇ ﱠﻻ ﻳَﻌﻠ ُﻤﻬَﺎ‬

‫ ﻧﺎﻗ‬. " ‫ـ " َﺳ ﱠ َﺮﻫَﺎ ﻋَﻠﻴﻬﻢ ﺳَﺒ َﻊ ﻟﻴَﺎﻝ ﻭَﺛﻤَﺎﻧﻴَﺔ ﺃﻳﱠﺎﻡ‬ . ( 33 : 79 ) ‫ ﻛﺎﻣﻞ‬. " ‫ـ " َﻣﺘَﺎﻋﹰﺎ ﱠﻟﻜﹸﻢ َﻭ َﻷَﻧﻌَﺎﻣﻜﹸﻢ‬ . ( 39 : 80) ‫ ﻛﺎﻣﻞ‬. " ‫ـ " ﺿﺎﺣﻜ ﹸﺔ ﻣﺴﺘﺒﺸﺮﺓ‬

. ( 25 : 81 ) ‫ ﻛﺎﻣﻞ‬. " ‫ـ " َﻭﻣَﺎ ﻫُ َﻮ ﺑﻘﻮﻝ ﺷَﻴﻄﺎﻥ ﺭﱠﺟﻴﻢ‬ . ( 68 : 36 ) ‫ ﻛﺎﻣﻞ‬. " ‫ـ " َﻭﻣَﻦ ﻧﻌﻤﺮ ُﻩ ﻧُﻨَﻜﺴﻪُ ﰲ ﺍﻟ َﻠﻖ‬ . ( 65 : 18 ) (1) ‫ ﻛﺎﻣﻞ‬. " ‫ـ " َﻭ َﻋﻠﱠﻤﻨَﺎﻩُ ﻣﻦ ﻟﺪﻧﱠﺎ ﻋﻠﻤﺎ‬ 4.อิคฺฟะอฺ (‫ )ﺍﻹﺧﻔﺎﺀ‬คือการอานออกเสียงนูนซากินะฮฺและตันวีน ซึ่งเสียงจะออกมาระหวางเสียง อิดฆอมกับเสียงอิซฮารฺ (‫ﲔ ﺍﻹﺩﻏﺎﻡ ﻭﺍﻹﻇﻬﺎﺭ‬ َ ‫ )َﺑ‬ลิ้นจะเคลื่อนไหวอยูระหวางชองปากโดยไมไปแตะเหงือก เหมือนอิซฮารฺ การอานของอิคฟะอฺ จะมีเสียงฆุนนะฮฺ (‫ )ﺍﻟﻐﻨـﺔ‬พรอมอยูดวย พยัญชนะที่จะตองอานอิคฟะอฺ มีทั้งหมด 15 พยัญชนะ คือ ‫ ﺱ‬. ‫ ﻕ‬. ‫ ﺵ‬. . ‫ ﻙ‬. ‫ ﺙ‬. ‫ ﺫ‬. และ .‫ ﺽ‬.‫ ﺕ‬.‫ ﻑ‬.‫ ﺯ‬.‫ ﻁ‬.‫ﺩ‬ ตัวอยาง นูน (ในคําเดียวกัน) .‫ ﺃ ﻴﻨَﺎﻛﹸﻢ‬. ‫ ﻳﻨ ﹸﻜﺜﹸﻮﻥ‬. ‫ ﻣَﻨﺜﹸﻮﺭ‬. ‫ ﺃﺃﻧﺬﺭَﺗﻬُﻢ‬. ‫ ﻓﺎُﻧﺼُﺮﻧﺎ‬.‫ ﻓﺎﻧﻄﻠﻘﻮﺍ‬. ‫ ﺃﻧﺪﺍﺩﹰﺍ‬. ‫ ﻓﻼ ﺗَﻨﺴَﻰ‬. َ ‫ ﺃﻧﻘ‬. ‫ ﺃﻧﺸَﺄ‬.‫ ﺍﻧﻈﺮﻭﺍ‬. ‫ ﻣَﻨﻀُﻮﺩ‬. ‫ﺖ‬ َ ‫ ﺃﺃﻧ‬. ‫ﺴﻜﹸﻢ‬ َ ‫ ﺃﻧ ﹸﻔ‬. ‫ ُﻳ ﻓﹸﻮﻥ‬-

(1) ยกเวนการอานอิดฆอม ‫ ن‬เขากับ ‫ ر‬ในอัลกุรอานมีเพียงที่เดียวในอัลกุรอาน คือ ‫ق‬ ٍ ‫ﻦ را‬ ْ ‫ ﻣ‬ในซูเราะฮฺ อัลกียามะฮฺ แตใหอานซักตะฮฺแทน หลักการอาน ‫ ن‬กับ ‫ و‬ก็เชนกัน มียกเวนอยู 2 ที่ คือ " ‫ واﻟﻘﻠﻢ وﻣﺎ ﻳﺴﻄﺮون‬. ‫ واﻟﻘﺮﺁن اﻟﺤﻜﻴﻢ " و " ن‬. ‫ ﻳﺲ‬อนุญาตใหอานอิดฆอมกับ ‫و‬ หรือ อิซฮารฺ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

116

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ตัวอยาง นูน (ในสองคําแยกกัน) ‫ ﻣﻦ‬. ‫ ﺃﻥ َﺳَﻴﻜﹸﻮ ﹸﻥ‬. ‫ ﻭَﻟﺌﻦ ﻗﹸﻮﺗﻠﹸﻮﺍ‬. ‫ ﻣﻦ ﺷَﻲﺀ‬. ‫ ﻣﻦ َﺟﻨﱠﺎﺕ‬. ‫ ﻣﻦ ﻛﺄﺱ‬. ‫ ﻣﻦ ﺛ َﻤﺮَﺓ‬.‫ ﻣﻦ ﺫﻛﺮ‬. ‫ﻣﻦ ﺻﻴَﺎﻡ‬ .‫ ﻣﻦ ﻇﻬﲑ‬. ‫ ﺇﻥ ﺿَﻠﻠﺘُﻢ‬. ‫ ﻭَﺇﻥ ﺗُﺒﺘُﻢ‬. ‫ َﻭﻣَﻦ ﰲ ﺍﻷَﺭﺽ‬. ‫ ﻓ ﻥ ﺯَﻟﻠﺘُﻢ‬.‫ ﻣﻦ ﻃﲔ‬. ‫ﺩَﺁﺑَﺔ‬ ตัวอยาง ตันวีนอิคฟะอฺ ‫ ﻋَﻠﻴﻤﹰﺎ‬. ‫ ﻏﻔﹸﻮ ُﺭ َﺷﻜﹸﻮ ُﺭ‬. ‫ﻼ‬ ‫ ﺻَﱪﹰﺍ ﲨﻴ ﹰ‬. ‫ ﻳَﻮﻣﹰﺎ ﻛﺎﻥ‬. ‫ﺠﱠﺎﺟﹰﺎ‬ َ ‫ ﻣَﺎ ًﺀ ﺛ‬. ‫ ﻛﹸﻞ ﻧَﻔ ﺫﺍﺋﻘﺔﹸ ﺍﳌﻮﺕ‬. ‫ﻗﺎﻋﹰﺎ ﺻﻔﺼَﻔﹰﺎ‬ . ُ‫ َﺟﻨﱠﺎﺕ ﺗَﺠﺮﻱ ﻣﻦ ﺗَﺤﺘﻬﺎ ﺍﻷَﻧﻬَـﺎﺭ‬.‫ ﺧَﺎﻟﺪﹰﺍ ﻓﻴﻬَﺎ‬. ‫ ﻳَﻮﻣﺌﺬ ﺯُﺭﻗﹰﺎ‬. ‫ﲔ‬ َ ‫ ﻗﻮﻣﹰﺎ ﻃﺎﻏ‬. ‫ ﻗﻨﻮﺍ ﹸﻥ ﺩَﺍﻧﻴَﺔ‬.‫ ﻗﻮ ﹰﻻ ﺳَﺪﻳﺪﹰﺍ‬. ‫ﻗﺪﻳﺮﹰﺍ‬ .‫ﻼ‬ ‫ﻼ ﻇﻠﻴ ﹰ‬ ‫ﻇ ﹰ‬.‫ﲔ‬ َ ‫ﺿﻟ‬ َ ‫ﻗﻮﻣﹰﺎ‬ ขอควรจํา ระดับการอานทั้งแบบตัรกีก (‫ )ﺍﻟﺘﺮﻗﻴﻖ‬และตัฟคีม (‫ )ﺍﻟﺘﻔ ﻴﻢ‬ในเสียงอิคฟะอฺ จะขึ้นอยูกับพยัญชนะที่ ตามมา ใหนักเรียนฟงเสียงจากตัวอยางที่กลาวมา แบบฝกหัด 1. เมื่อใดที่นูนซากินะฮฺและตันวีนตองอานเปน “อิคลาบ” (‫ )اﻹﻗ ﻼب‬เพราะเหตุใดจึงเรียกการอานใน ลักษณะนี้วา “อิคลาบ” ? 2. นูนซากินะฮฺและตันวีนจะตองอานแบบอิดฆอมเมื่อใด ? และอิดฆอมมีกี่ประเภท ? 3. เพราะเหตุใดตองมีการกําหนดหลักเกณฑวา “นูนซากินะฮฺและพยัญชนะอิดฆอมจะตองไมอยูในคํา เดียวกัน” 4. คําวาอิคฟะอฺมีความหมายวาอยางไร ? พยัญชนะอิคฟะอฺมีอะไรบาง ? 5. หลักการอานแบบ ‫ ﺍﻹﺧﻔـﺎﺀ‬. ‫ ﺍﻹﻗﻼﺏ‬. ‫ ﺍﻹﺩﻏﺎﻡ ﺍﻟﻨﺎﻗ‬. ‫ ﺍﻹﺩﻏﺎﻡ ﺍﻟﻜﺎﻣﻞ‬. ‫ ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ‬ในคัมภีรอัลกุร อาน มีการทําเครื่องหมายแสดงการอานไวอยางไร ? 6. อิสฮารฺ ฮะกีกียฺ (‫ )ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ ﺍﳊﻘﻴﻘﻲ‬และอิซฮารฺชะฟะวีย (‫ )ﺍﻹﻇﻬﺎﺭ ﺍﻟﺸﻔﻮﻱ‬แตกตางกันอยางไร ? แบบฝกหัดฝกปฏิบัติ 1. ใหนักเรียนฟงและสังเกตการณอานจากซูเราะฮฺ อัลอะฮฺซาบ ตั้งแตอายะฮฺ 3 – 44 จากนั้นใหนักเรียน บอกหลักการอานของนูนซากินะฮฺและตันวีวาเปนหลักการใด ?

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

117

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

อายะฮฺ ‫ﺍﷲ‬

‫" َﻭﻣَﺎ ﻛﺎﻥ ﻟﻤُﺆﻣﻦ ﻭَﻻ ﻣُﺆﻣﻨَﺔ ﺇﺫﺍ ﻗﻀَﻰ ﺍﷲ َﻭ َﺭﺳُﻮﹸﻟ ُﻪ ﺃﻣﺮﺍ ﺃﻥ َﻳﻜﹸﻮﻥ ﻟﻬُﻢُ ﺍﻟ َﻴ َﺮﺓﹸ ﻣﻦ ﺃﻣﺮﻫﻢ َﻭﻣَﻦ ﻳَﻌ‬ .(36 ‫ﺿﻞﱠ ﺿَﻼ ﹰﻻ ﻣﺒﻴﻨﹰﺎ" )ﺁﻳﺔ‬ َ ‫َﻭ َﺭﺳُﻮﻟﻪُ ﻓﻘﺪ‬

ตัวอยางการตอบ ‫"ﳌﺆﻣﻦ ﻭَﻻ‬

อิดฆอม บิ ฆุนนะฮฺ หลังตันวีนมี “‫”و‬

‫"ﻭﻻ ﻣُﺆﻣﻨَﺔ ﺇﺫﺍ‬

อิซฮารฺ หลังตันวีนมี “‫”أ‬

‫"ﺃﻣﺮﹰﺍ ﺃﻥ َﻳﻜﹸﻮﻥ‬

อิซฮารฺ หลังตันวีนมี “‫”أ‬

"‫ "ﺃﻥ َﻳﻜﹸﻮﻥ ﻟﻬُﻢُ ﺍﻟ َﲑﺓﹸ‬อิดฆอม บิฆุนนะฮฺ ไมสมบูรณ หลังนูนซากินะฮฺ “‫”ي‬ ‫ﻣﻦ ﺃﻣﺮﻫﻢ‬

อิซฮารฺ หลังนูนซากินะฮฺ มี “‫”أ‬

‫ﷲ‬ َ‫ﺍ‬

อิดฆอม บิฆุนนะฮฺ ไมสมบูรณ หลังนูนซากินะฮฺ มี “‫”ي‬

‫" َﻭﻣَﻦ ﻳَﻌ‬

"‫"ﺿﻼ ﹰﻻ ﻣﺒﻴﻨﹰﺎ‬

อิดฆอมบิฆุนนะฮฺ สมบูรณ หลังตันวีน มี “‫”م‬

ตอไป...ใหนักเรียนรับฟงการอานอายะฮฺในสวนที่เหลือ จากนั้นใหนักเรียนระบุหลักการอานนูนซา กินะฮฺและตันวีนที่ไดฟงจากอายะฮฺ (บอกชื่อหลักการและสาเหตุใหชัดเจนตามตัวอยางที่ใหมา) 2. ใหนักเรียนฟงอายะฮฺ 1 – 5 ของซูเราะฮฺ อัลนูร จากนั้นใหนักเรียนบอกหลักการอานและบอก เหตุผลที่ตองอานตามหลักการอานนั้นใหชัดเจน ตัวอยางการตอบ 1. ตันวีนอิซฮารฺ (

‫)ﻨ ﻳ‬

"‫ "ﺳُﻮﺭَﺓ ﺃﻧﺰَﻟﻨﺎﻫﺎ‬อาน “อิซฮารฺ” เพราะมีพยัญชนะ “‫ ”أ‬หลังจาก ตันวีน 2. อิคฟะอฺ นูนซากินะฮฺ "‫ " ﺃﻧﺰَﻟﻨﺎﻫﺎ‬อาน “อิคฟะอฺ” เพราะหลังนูนซากินะฮฺ มีพยัญชนะ “‫ ”ز‬ซึ่งเปนพยัญชนะในกลุมอิคฟะอฺ ใหนักเรียนฟงอายะฮฺในสวนที่เหลือแลวนําเสนอตัวอยางตามหัวขอพรอมระบุเหตุผลใหชัดเจน 1.ตันวีนอิคลาบ (‫)ﺗﻨﻮﻳﻦ ﺇﻗﻼﺏ‬ 2. ตันวีนอิดฆอม บิลา ฆุนนะฮฺ (‫)ﺗﻨﻮﻳﻦ ﺍﺩﻏﺎﻡ ﺑﻼ ﻏﻨﺔ‬ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

118

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

3. มีมซากินะฮฺ ที่ตองอานอิซฮารฺ 4. นูนซากินะฮฺที่ตองอานอิคฟะอฺ 5.ตันวีนที่ตองอานอิดฆอมแบบสมบูรณ 6. กอลกอลอฮฺ 7.นูนซากินะฮฺที่ตองอานอิคลาบ 8. ตันวีนที่ตองอานอิดฆอมแบบไมสมบูรณ 9.มีม ซากินะฮฺที่ตองอานอิซฮารฺพรอมฆุนนะฮฺ 10.ตันวีน ฎอมมะฮฺที่ตองอานอิคฟะอฺ 3. ใหนักเรียนฟงอายะฮฺในซูเราะฮฺ อัลนูร อีกครั้งหนึ่ง จากนั้นใหนักเรียนบอกหลักการอานของอายะฮ ตอไปนี้ใหถูกตอง 1- ."‫ﻛﺮُﻭﻥ‬ ‫"ﻟ َﻌﱠﻠﻜﹸﻢ ﺗَﺬ ﱠ‬ 2- ."‫"ﻓﺎﺟﻠﺪُﻭﺍ‬ 3- ."‫ﻞ ﻭَﺍﺣﺪ ﻣّﻨ ُﻬﻤَﺎ‬ ‫" ﹸﻛ ﱠ‬ 4- ."‫"ﻣﺌﺔ ﺟَﻠﺪَﺓ ﻭَﻻ‬ 5- ."‫"ﻭَﻻ ﺗَﺄﺧُﺬﻛﹸﻢ ﺑﻬﻤَﺎ‬ 6- ."‫"ﺭَﺃﻓﺔﹸ ﻓﻲ ﺩﻳﻦ ﺍﷲ‬ 7- ."‫"ﺍﻟﺰﱠﺍﻧَﻴﺔﹸ ﻭَﺍﻟﺰﱠﺍﻧﻲ‬ 8- ."‫"ﺯَﺍﻧَﻴ ﹰﺔ ﺃﻭ ﻣُﺸﺮﻛ ﹰﺔ‬ 9- ."‫"ﻭَﻻ ﺗَﻘَﺒﻠﹸﻮﺍ‬ 10- ."‫ﺷﻬَﺎﺩَﺓ‬ َ ‫"ﻟﻬُﻢ‬ ตัวอยางการตอบ 1 - ‫ "ﻟﻌﻠﻜﻢ ﺗَﺬ ﱠﻛﺮُﻭﻥ‬อานอิซฮารฺชาฟะวียฺ ใน ‫ م‬ของคําวา ."‫"ﻟ َﻌﻠﱠﻜﹸﻢ‬ 2- คําวา “‫ ”ﻓﺎﺟﻠﺪُﻭﺍ‬อานกอลกอลอฮฺที่ “‫ ”ج‬ซากินะฮฺ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

119

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

6. หลักการอานมัด (‫) ﺪ‬ คําวา “มัด” (‫ )ﻣﺪ‬หมายถึงการอานยืดเสียงใหยาวขึ้นเมื่อที่พยัญชนะมัดมาตอทาย พยัญชนะมัด ทั้ง สามตัวคือ:(‫ )ـَ ﺍ ـ ﻭ ـ ﻱ‬คือ ‫ ﺍ‬ที่อยูหลังฟตฮะฮฺ ‫ ﻭ‬ที่อยูหลังฎอมมะฮฺ และ ‫ ﻱ‬ที่อยูหลังกัสเราะฮฺ เชน ‫ﻗﺎﻝ ﻳﻘﹸﻮ ﹸﻝ ﻗﻴﻞ‬ ประเภทของมัด (การอานเสียงยาว) เราจะแบงประเภทของมัด(การอานเสียงยาว)ออกตามความยาวของการอาน แตนักวิชาการตัจวีดจะ แบงการอานมัด (เสียงยาว) ในอีกวิธีรูปแบบหนึ่ง มัดแบงออกตามความยาวของการอาน มีทั้งหมด 6 ประเภท 1. มัด(คําที่ตองอานเสียงยาว) คือมัดที่ตองอานเสียงยาว 2 ฮะรอกะฮฺ มัดประเภทนี้มีทั้งหมด 4 ชนิด 1) มัดฏอบิอียฺ (‫ )ﺍﳌﺪ ﺍﻟﻄﺒﻴﻌﻲ‬หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา (‫ )ﺍﳌﺪ ﺍﻷﺻـﻠﻲ‬คือการอานเปนสระเสียงยาวไป ตามพยัญชนะมัดที่ตามมา ตัวอยาง (ฟงจากเทป) .(77 ‫ﻚ" )ﺍﻷﻟﻒ( )ﺍﻟﺰﺧﺮﻑ ـ‬ َ ‫ـ " َﻭﻧَﺎﺩﻭﺍ ﻳَﺎ ﻣَﺎﻟﻚُ ﻟﻴَﻘﺾ ﻋَﻠﻴﻨَﺎ ﺭَﺑ‬ .(48 ‫ﲔ" )ﺍﻟﻮﺍﻭ( )ﺍﻷﺣﺰﺍﺏ ـ‬ َ ‫ـ "ﻓﻜﺬﱠﺑُﻮ ُﻫﻤَﺎ ﻓﻜﺎﻧُﻮﺍ ﻣ َﻦ ﺍﻟﻤُﻬﻠﻜ‬ .(7 6 ‫ـ "ﻓﺄﻣﺎ ﻣﻦ ﺛﻘﹸﻠﺖ َﻣﻮَﺍﺯﻳﻨُﻪُ ﻓﻬُ َﻮ ﻓﻲ ﻋﻴﺸﺔ ﺭﱠﺍﺿﻴﺔ" )ﺍﻟﻴﺎﺀ( )ﺍﻟﻘﺎﺭﻋﺔ ـ‬ 2) มัดบะดัล (‫ )ﺍﳌﺪ ﺍﻟﺒـﺪﻝ‬คือพยัญชนะมัด ที่เปลี่ยนมาจาก “‫ ”ء‬ซึ่งมีหลักการอยูวา เมื่อมี “‫ ”ء‬ซอน กันสองตัวในตนคํา โดยที่ตัวที่สองอานซากินะฮฺ จึงเปลี่ยนตัวที่สองเปนพยัญชนะมัด ไปตามเสียงของสระ ของ “‫ ”ء‬ตัวแรก ตัวอยาง เชน :‫ ﺀﺍ َﻣ َﻦ‬เปลี่ยนมาจากคําวา ‫ﺃﺃ َﻣ َﻦ‬ : ‫ ﺃﹸﻭ‬เปลี่ยนมาจากคําวา ‫ﺇ ﺎﻥ‬

‫ﺃ‬

เปลี่ยนมาจากคําวา ‫ﺇﺋﻤﺎﻥ‬ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

120

3) มัดซีลัดกอซีเราะฮฺ (‫ )ﺍﳌﺪ ﺍﻟﺼﻠﺔ ﺍﻟﻘﺼﲑﺓ‬คําวา “‫ ”ﺍﻟﺼﻠﺔ‬ในที่นี้หมายถึงสรรพนามเอกพจนบุรุษที่ สามเพศชายที่เชื่อมตอกับคํานาม คือ คําวา ‫ ــ ُﻪ ــﻪ‬ซึ่งจะประสมดวยสระฎอมมะฮฺและกัสเราะฮฺ เวลาอานจะอานคลายกับการอานเสียงยาวขนาดมัดฏอบิอียฺ โดยมีหลักเกณฑอยูที่วา กอนหนาสรรพนาม จะตองเปนพยัญชนะที่มีสระ ( ‫ )ﺣﺮﻑ ﻣﺘﺤﺮﻙ‬และหลังสรรพนาม ‫ ـﻪ‬ไมใชฮัมซะฮฺวะซาล (‫)ﳘﺰﺓ ﻭﺻﻞ‬ ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(1 ‫ـ "َﺗﺒَﺎ َﺭ َﻙ ﺍﻟﺬﻱ ﻧﺰﻝ ﺍﻟﻔﹸﺮﻗﺎﻥ ﻋﻠﻰ ﻋﺒﺪﻩ ﻟﻴﻜﻮﻥ ﻟﻠﻌﺎﳌﲔ ﻧَﺬﻳﺮﹰﺍ" )ﺍﻟﻔﺮﻗﺎﻥ ـ‬ .(9 ‫ـ "ﻓﺄﹸﻣ ُﻪ ﻫَﺎﻭَﻳﺔﹸ" )ﺍﻟﻘﺎﺭﻋﺔ ـ‬ .(3 ‫ـ "ﺇّﻧ ُﻪ ﻛﺎﻥ َﺗﻮﱠﺍﺑﹰﺎ" )ﺍﻟﻨﺼﺮ ـ‬ ในกรณีที่พยัญชนะกอนหนาสรรพนาม ‫ ـ ُﻪ‬หรือ ‫ ـ ِﻪ‬เปนพยัญชนะอานซากินะฮฺ หรือกอนหนา สรรพนามทั้งสองเปน “มัด” ก็ใหอานเสียงตามปกติ (ไมอานยาวเปนเสียงมัด) เชน ‫ﺧُﺬﻭ ُﻩ ﻓ ُﻐﻠﹸﻮ ُﻩ" ﻭﺍﺳﺘَﻐﻔﺮ ُﻩ‬ ‫ "ﻟﻨَﻔﺘَﻨﻬُﻢ ﻓﻴﻪ‬ในคัมภีรอัลกุรอานจะมีการทําเครื่องหมาย “‫ ”ﻭ‬ตัวเล็ก ๆ ไวหลังสรรพนามที่อานฎอมมะฮฺ ‫ـ ُﻪ و‬ และมีสัญลักษณตัว “‫ ”ﻱ‬เล็ก ๆ ไวหลังสรรพนามที่อานกัสเราะฮฺ ‫ـ ِﻪ ي‬ 4)มัดอิวัฎ (‫ )ﺍﳌﺪﺍﻟﻌﻮﺽ‬เปนมัดหรือคําที่ตองอานออกเสียงยาว ขณะที่ตองอานวกัฟกับพยัญชนะที่ลง ทายดวยตันวีนฟตหะฮฺ เชน ‫ﲔ ﻣَﻔﺎﺯﹰﺍ‬ َ ‫ ﺇ ﱠﻥ ﻟﻠ ُﻤﺘﱠﻘ‬.‫ ﻭَﻛﺎﻥ ﺍﷲ ﻏﻔﻮﺭﹰﺍ ﺭﱠﺣﻴﻤﹰﺎ‬. 2.มัด(คําที่ตองอานเสียงยาว) คือคําที่สามารถอานเสียงยาวได 2 ,4 หรือ 6 ฮะรอกะฮฺ มีอยูชนิดเดียวคือ มัดลีน (‫ )ﻣﺪ ﺍﻟﻠﲔ‬ที่เกิดกับพยัญชนะ ‫ ي‬และ ‫ و‬ซากินะฮฺ ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(12 ‫ـ "ﻣﻦ ﺑَﻌﺪ ﻭَﺻﻴﱠﺔ ﻳُﻮﺻﻰ ﺑﻬَﺎ ﺃﻭ ﺩَﻳﻦ" )ﺍﻟﻨﺴﺎﺀ ـ‬ .(9 ‫ـ "ﻓﺎ ﺳﻌَﻮﺍ ﺇﻟﻰ ﺫﻛﺮ ﺍﷲ ﻭَﺫﺭُﻭﺍ ﺍﻟﺒﻴﻊ" )ﺍﳉﻤﻌﺔ ـ‬ .(4 ‫ـ "ﺃﻃ َﻌ َﻤﻬُﻢ ﻣﻦ ﺟُﻮﻉ ﻭَﺁ َﻣَﻨﻬُﻢ ﻣﻦ ﺧَﻮﻑ" )ﻗﺮﻳﺶ ـ‬ .(6 ‫ـ "ﻋَﻠﻴﻬﻢ ﺩَﺁﺋ َﺮﺓﹸ ﺍﻟﺴﱠﻮﺀ" )ﺍﻟﻔﺘﺢ ـ‬ การเกิดมัดลีน นั้นมีกฏเกณฑอยูวาจะตองอานวกัฟ (‫ )ﻭﻗﻒ‬ที่พยัญชนะซึ่งตามพยัญชนะลีนมา แต หากผูอานไมอานวกัฟ มัดลีนก็จะหายไป เชน อานวา “"...‫”ﻭﺫﺭﻭﺍ ﺍﻟﺒﻴ َﻊ ﺫﻟ ﹸﻜﻢ َﺧﻴﺮ ﻟﻜﻢ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

121

3. มัด (คําที่ตองอานเสียงยาว) ซึ่งอนุญาตใหอานยาวได 2, 3 หรือ 5 ฮะรอกะฮฺ กลุมนี้จะมีอยู 2 ชนิด คือ 1.มัดฮัมซฺ มุนฟะซิล (‫ )ﺍﳌﺪ ﺍﳍﻤﺰ ﺍﳌﻨﻔﺼﻞ‬คือการมัด (อานเสียงยาว)ที่เกิดกับพยัญชนะมัด (‫)ا و ي‬ที่ อยูทายคํา และหลังจากพยัญชนะมัดในคําตอไปจะเปน ‫أ‬ ตัวอยาง (ฟงจากเทป) .(1 ‫ـ "ﺇﻧﱠﺎ ﺃﻋﻄﻴﻨَﺎ َﻙ ﺍﻟﻜﻮﺛ َﺮ" )ﺍﻟﻜﻮﺛﺮ ـ‬ .(6 ‫ﺴﻜﹸﻢ ﻭَﺃﻫﻠﻴﻜﹸﻢ ﻧﺎﺭﹰﺍ" )ﺍﻟﺘﺤﺮﱘ ـ‬ َ ‫ـ "ﻗﹸﻮﺁ ﺃﻧﻔﹸ‬ .(35 ‫ـ "ﺃﻓﻤَﻦ ﻳَﻬﺪﻱ ﺇﱃ ﺍﳊﻖ ﺃ َﺣ ّﻖ ﺃﻥ ﻳُﱠﺘَﺒ َﻊ ﺃﻡ ﻣﱠﻦ ﱠﻻ ﻳَﻬﺪﻱ ﺇ ﱠﻻ ﺃﻥ ﻳُﻬﺪَﻯ" )ﻳﻮﻧ ـ‬ 2.มัดซิลัต ฏอวีละฮฺ (‫ـﺔ‬ ‫ـﺼﻠﺔ ﺍﻟﻄﻮﻳﻠـ‬ ‫ )ﻣﺪﺍﻟـ‬เปนมัด(การอานเสียงยาว)ที่เกิดกับสรรพนามบุรุษที่สาม เอกพจนเพศชาย ‫ــ ِﻪ‬, ‫ ـ ُﻪ‬ซึ่งมีพยัญชนะที่มีสระ (‫ )ﺣﺮﻑ ﻣﺘﺤﺮﻙ‬นําหนาและมี “‫ ”ء‬ตามมาขางหลัง ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(126 ‫ـ "ﹸﺛﻢﱠ ﺃﺿﻄﺮ ُﻩ ﺇﱃ ﻋَﺬﺍﺏ ﺍﻟﻨﱠﺎﺭ ﻭَﺑﺌ َ ﺍﻟﻤَﺼﲑُ" )ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ ـ‬ .(110 ‫ـ "ﻭَﻻ ﻳُﺸﺮﻙ ﺑﻌﺒَﺎﺩَﺓ َﺭﺑّﻪ ﺃﺣَﺪﹰﺍ " )ﺍﻟﻜﻬﻒ ـ‬ 4. คําที่ตองอานมัด (อานเสียงยาว) ถึงขนาด 4,5 หรือ 6 ฮะรอกะฮฺ มัดกลุมนี้มีอยูเพียงชนิดเดียวคือ มัดฮัมซฺ มุตตะซิล (‫ )ﻣﺪ ﺍﳍﻤﺰ ﺍﳌﺘﺼﻞ‬นั่นคือคําที่มีพยัญชนะมัดและฮัมซะฮฺ “‫ ”ء‬อยูในคําเดียวกัน ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(47 ‫ـ "ﻭَﺍﻟﺴﱠﻤ ﺀ ﺑَﻨﻴﻨﺎﻫﺎ " ) ﺍﻟﺬﺍﺭﻳﺎﺕ ـ‬ .(157 ‫ـ "ﺃﹸﻭﻟﺌﻚ ﻫُﻢ ﺍ ﹸﳌﻔﻠﺤُﻮﻥ " )ﺍﻷﻋﺮﺍﻑ ـ‬ .(7 ‫ـ "ﻟﻴﺴُﻮﺀﻭﺍ ُﻭﺟُﻮ َﻫﻜﹸﻢ " )ﺍﻹﺳﺮﺍﺀ ـ‬ . (23 ‫ﺠ َﻬﱠﻨ َﻢ ")ﺍﻟﻔﺠﺮ ـ‬ َ ‫ـ "ﻭَﺟ ﻳَﻮﻣﺌﺬ ﺑ‬ มัดประเภทนี้หากอยูทายคํา และมีการอานวกัฟ(อานหยุดพัก) กับพยัญชนะมัด อนุญาตใหอานยาว ไดถึง 6 ฮะรอกะฮฺ แตหากไมวกัฟ(คืออานผานตอไปยังคําอื่น) ก็อนุญาตใหอานยาวไดแคเพียง 4 หรือ 5 ฮะ รอกะฮฺ เทานั้น

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

122

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

5. มัด(คําที่ตองอานเสียงยาว) 2 , 4 หรือ 5 ฮะรอกะฮฺ คือมัดที่อนุญาตใหอานเสียงยาวได 2 ,4 หรือ 6 ฮะรอกะฮฺ มัดประเภทนี้มีอยูเพียงชนิดเดียวคือ มัดอาริฎ ลิซซุกูน (‫)ﻣﺪ ﺍﻟﻌﺎﺭﺽ ﻟﻠﺴﻠﻜﻮﻥ‬ มัดชนิดนี้จะเกิดขึ้นกับพยัญชนะมัด (‫ )ا و ي‬ที่อยูทายคํา มัดชนิดนี้เรียกวามัดเกิดใหมซึ่งเกิดขึ้น ใหมเพราะการอานวกัฟ (หยุดอานที่คําคํานั้น) ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) "‫ ﻣَﺎﻟﻚ ﻳَﻮﻡ ﺍﻟﺪّﻳﻦ‬ ‫ ﺍﻟﺮّﺣﻤﻦ ﺍﻟﺮﱠﺣﻴﻢ‬ ‫"ﺍﻟﺤَﻤ ُﺪ ﷲ ﺭَﺏ ﺍﻟﻌﺎﻟﻤﲔ‬ การอานแลวมาหยุดลงที่คําสุดทายของทุกอายะฮฺ จะกอใหเกิดมัดอาริฏ ลิซซุกูน ขึ้น โดยสามารถ อานไดสามวิธี คือ อาน 2 , 4 หรือ 5 ฮะรอกะฮฺ แตในกรณีที่ผานหรืออานตอไปยังอายะฮฺอื่นโดยไมหยุดใน ตอนทายของแตละอายะฮฺ มัดชนิดนีก้ ็จะหายไปพรอม ๆ กับ ซุกูนของพยัญชนะตัวสุดทายของอายะฮฺ มัดที่มี อยูจะเปนแคมดั ฏอบิอียฺ(‫ )ﻣﺪ ﻃﺒﻴﻌﻲ‬เทานั้น กลุมที่ 6 คือมัดที่ตองอานเสียงยาว 6 ฮะรอกะฮฺ มัดกลุมนี้มีเพียงชนิดเดียว คือ มัดลาซิม (‫ )ﻣﺪ ﺍﻟﻼﺯﻡ‬คือมัดที่เกิดกับคําที่มีพยัญชนะซากินะฮฺลาซิม (‫)ﺣﺮﻑ ﺳﺎﻛﻦ ﺳﻜﻮﻧﺎ ﻻﺯﻣـﹰﺎ‬ คือพยัญชนะที่ใชอานซุกูนตลอดไป (อานอยางอื่นไมได) พยัญชนะซุกูนนี้อาจจะมีเพียงตัวเดียว (ไมมีตัชดีด) ในกรณีนี้จะเรียกวา มุคอฟฟฟ (อานเบา) ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) "‫"ﺀﺁ ﻥ‬ มัดลักษณะนี้มีอยูเพียงคําเดียวในอัลกุรอาน ซึ่งมีกลาวไว 2 ครั้ง คือ อายะฮฺที่ 51 และอายะฮฺที่ 91 ของซูเราะฮฺ ยูนุส บางครั้งเราก็จะพบวา มีพยัญชนะซากินะฮฺที่มีตัชดีด (ّ ‫ )ـ‬กํากับอยูดวย คําประเภทนี้มีชื่อเรียกวา “มุ ซักกอล” (‫( ) ُﻣﺜﻘﱠـﻞ‬คําที่ตองอานเสียงหนัก) ตัวอยางเชน ‫ﺤ ﺟﻮﻧّﻲ ﰲ ﺍﷲ‬ َ ‫ ﺃُﺗ‬. ‫ﺼ ﺧﱠﺔ‬ ‫ ﺍﻟ ﱠ‬. ‫ﻀ ﻟﱢﲔ‬ ‫ﺍﻟ ﱠ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

123

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

นอกจากนั้นมัดชนิดนี้จะพบไดในตนซูเราะฮฺที่มีการใชพยัญชนะมุกอฏฏออะฮฺ (ตัวยอ) เชน “‫ ” “ ”ﻥ‬ซึ่ง ตามหลักการอานจะนับวาพยัญชนะเหลานี้จะตองอานใหพยัญชนะตัวสุดทายของคําที่อยูหลังพยัญชนะที่ เปนมัด ใหเปนซากินะฮฺอยูตลอด (‫ )ﺳﺎﻛﻨﺎ ﻻﺯﻣﺎ‬เชน พยัญชนะ “‫ ”ﻥ‬ก็จะอานวา “นูน” (‫ )ﻧُﻮﻥ‬นูนซึ่งอยูหลัง วาวจะอานซากินะฮฺ พยัญชนะ “ ” ก็เชนกัน จะอานวา “ซอด” (‫ )ﺻﺎﺩ‬พยัญชนะ “‫ ”د‬ซึ่งอยูหลัง ‫ ا‬จะอานซา กินะฮฺตลอด มัดชนิดนี้มีอยูทั้งหมด 8 พยัชนะ ซึ่งรวมอยูในคําวา “ ‫ ”ﻛﻢ َﻋﺴَﻞ ﻧَﻘ‬คือ พยัญชนะ , ‫ﻡ‬, ‫ﻙ‬ , ‫ ﻕ‬, ‫ ﻥ‬, ‫ﻝ‬, ‫ ﺱ‬,‫ ﻉ‬นั่นเอง ในชื่อของพยัญชนะเหลานี้จะมี พยัญชนะมัดรวมอยู ยกเวน ‫( ع‬อัยน) เพราะ ‫ ﻱ‬ในที่เปนพยัญชนะ “ลีน” (‫)ﻟﲔ‬ ขอควรจํา 1. เครื่องหมายหรือสัญลักษณ “มัด” (~) ในคัมภีรอัลกุรอาน จะใชแทนคําอานมัดทุกประเภท ยกเวน มัดฏอบิอียฺ (‫ )ﺍﻟﻄﺒﻴﻌﻲ‬จะไมมีเครื่องหมายนี้แสดงไว และมัดอื่น ๆที่อานลักษณะเดียวกับมัดฏอบิอียฺ เชนมัด ซีลัด กอซีเราะฮฺ มัดบะดัล มัดอิวัฎ (‫)ﺍﻟﺼﻠﺔ ﺍﻟﻘﺼﲑﺓ ﻭﺍﻟﺒﺪﻝ ﻭﺍﻟﻌﻮﺽ‬ 2. หากมัด(คําที่ตองอานเสียงยาว)ใดที่อนุญาตใหเลือกอานได 3 ระดับ และเมื่อผูอานเลือกอานแบบสั้น แบบปานกลาง หรือแบบยาว แบบใดแบบหนึ่งก็ใหยึดตามลักษณะการอานเดียวกันนั้นไปจนสิ้นสุด การอาน หากเขายังคงอานตอไป แตหากเขาเริ่มตนอานใหมในเวลาอื่น ก็สามารถที่จะเลือกรูปแบบ การอาน รูปแบบอื่นได วาจะอานมัด (คําที่ตองอานเสียงยาว) ใหยาวขนาดไหน (ตามกฎหรือหลักการ อานที่ไดกลาวมาแลวในแตละประเภท) การแบงกลุมของมัด(คําที่ตองอานเสียงยาว)ตามสาเหตุ ‫ﻓﺮﻋﻲ‬ ฟรอีย (ยอย)

‫ﺒﺒ ﺍ ﺒﺎ‬

( ‫أﺻﻠﻲ ) ﻃﺒﻴﻌﻲ‬ มัดอัซลีย (หลัก)

‫ﻭ ﺍﻟ ﻗ‬ ‫ﺒﺒ ﺍﻟ‬ การวกัฟ และ ซุกูน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

‫ﻩ‬

‫ﺒﺒ ﺍ‬

เกิดจาก “‫”ء‬


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

124

‫ ﺻﻠﺔ ﻗﺼﲑﺓ‬-1

‫ ﻻﺯﻡ‬-1

‫ ﻣﺘﺼﻞ‬-1

‫ ﻋﺎﺭﺽ ﻟﻠﺴﻜﻮﻥ‬-2

‫ ﻣﻨﻔﺼﻞ‬-2

‫ ﻋﻮﺽ‬-3

‫ ﺻﻠﺔ ﻃﻮﻳﻠﺔ‬-3

‫ ﻟﲔ‬-4

‫ ﺑﺪﻝ‬-4

ชนิดของมัด ตามลักษณะความยาวของการอาน ความยาว

ชนิดของมัด

บัญญัติเกี่ยวกับการอาน

ขอควรจํา

2

มัดฏอบิอียฺ ,มัดบะดัล,มัดซีลดั กอ ซีเราะฮฺ ,มัดอิวัฎ

วายิบ

จะมีเครื่องหมาย / เปน สัญลักษณระหวางระดับ การอานที่ใหเลือกอาน ได

2/4/6

มัดลีน(‫)ﻟﲔ‬

ยาอิซ(เลือกได)

(เปนฮะรอกะฮฺ)

_

(‫)ﺟﺎﺋﺰ‬ 2/4/5 2/4/6 4/5/6

6

มัดมุนฟะซิล ซิลัต ฏอวีละฮฺ

ยาอิซ (เลือกได)

(‫)ﻣﻨﻔﺼﻞ ﺻﻠﺔ ﻃﻮﻳﻠﺔ‬

(‫)ﺟﺎﺋﺰ‬

มัดาอาริฎ ลิซซุกูน

ยาอิซ (เลือกได)

(‫)ﻋﺎﺭﺽ ﻟﻠﺴﻜﻮﻥ‬

(‫)ﺟﺎﺋﺰ‬

มัดมุตตะซิล

วายิบ

(‫)ﻣﺘﺼﻞ‬

(‫)ﻭﺍﺟﺐ‬

มัดลาซิม

วายิบ

(‫)ﻣﺪ ﻻﺯﻡ‬

(‫)ﻭﺍﺟﺐ‬

`

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

125

แบบฝกหัด ภาคทฤษฎี 1. มัดฟรอีย หมายถึงอะไร ? ระหวางมัดฟรอียกับมัดอัซลีย มัดใดอานยาวกวากัน ? 2. มัดที่เกิดจากซุกูนมีกี่ชนิด มัดใดบาง ? 3. ระหวางมัดมุตตะซิลกับมัดมุนฟะซิลตางกันอยางไร ? 4. ระหวางมัดมุตตะซิลฏอวียฺละกับมัดมุตตะซิลกอซีเราะฮแตกตางกันอยางไร ? 5. มัดตอไปนี้จะตองอานยาวกีฮะรอกะฮฺ - มัดบะดาล (‫)ﻣﺪ ﺑﺪﻝ‬

- มัดอาริฎ ลิซซุกูน (‫)ﻣﺪ ﻋﺎﺭﺽ ﻟﻠﺴﻜﻮﻥ‬

- มัดลาซิม (‫)ﻣﺪ ﻻﺯﻡ‬

- มัดฏอบิอียฺ (‫)ﻣﺪ ﻃﺒﻴﻌﻲ‬

- มัดอิวัฎ (‫)ﻣﺪ ﻋﻮﺽ‬

- มัดซิลัต ฏอวียฺละฮฺ (‫)ﻣﺪ ﺻﻠﺔ ﻃﻮﻳﻠﺔ‬

ภาคปฏิบัติ 1- ฟงและทําความเขาใจหลักการอาน (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) มัดมุตตะซิล ,มัดมุนฟะซิล และหลักการอานของแตละชนิดของมัด จากอายะฮฺตอไปนี้ .(62 ‫ـ "ﺃ ﺇ ﱠﻥ ﺃﻭﻟﻴ ﺀ ﺍﷲ ﻻ ﺧَﻮﻑ ﻋَﻠﻴﻬﻢ ﻭَﻻ ﻫُﻢ ﻳَﺤ َﺰﻧُﻮ ﹸﻥ " )ﻳﻮﻧ ـ‬ .(2 ‫ـ "ﺍﱠﺗ ﺬﹸﻭﺍ ﺃ َﺎَﻧﻬُﻢ ﺟُﱠﻨ ﹰﺔ ﻓﺼَﺪﻭﺍ ﻋَﻦ ﺳَﺒﻴﻞ ﺍﷲ ﺇﱠﻧﻬُﻢ َﺳ َﺀ ﻣَﺎ ﻛﺎﻧُﻮﺍ ﻳَﻌ َﻤﻠﹸﻮﻥ" )ﺍﳌﻨﺎﻓﻘﻮﻥ ـ‬ ‫ـ " َﻭ َﻣ ﺃﺭﺳَﻠﻨَﺎ ﻣﻦ ﱠﺭﺳُﻮﻝ ﺇﻻﱠ ﺑﻠﺴَﺎﻥ ﻗﻮﻣﻪ ﻟﻴَُﺒّﻴ َﻦ ﻟﻬُﻢ ﻓﻴُﻀﻞ ﺍﷲ ﻣَﻦ َﻳﺸَﺎﺀ َﻭﻳَﻬﺪﻱ ﻣَﻦ ﻳَﺸ ﺀ َﻭﻫُ َﻮ ﺍﻟﻌَﺰﻳ ُﺰ ﺍﻟﺤَﻜﻴ ُﻢ‬ .(4 ‫" )ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ ـ‬ .(36 ‫ـ "ﻗﹸﻞ ﺇﻧﱠﻤﺎ ﺃﹸﻣﺮﺕُ ﺃﻥ ﺃﻋﺒُ َﺪ ﺍﷲ ﻭَﻻ ﺃﹸﺷﺮ َﻙ ﺑﻪ ﺇﻟﻴﻪ ﺃﺩﻋُﻮﺍ ﻭَﺇﻟﻴﻪ ﻣَﺌ ﺏ" )ﺍﻟﺮﻋﺪ ـ‬ "‫ﺽ ﺧَﺎﺷ َﻌ ﹰﺔ ﻓ ﺫﺍ ﺃﻧﺰﻟﻨﺎ ﻋَﻠﻴﻬَﺎ ﺍﻟ َﻤ ﺀ ﺍﻫَﺘﺰﱠﺕ َﻭ َﺭﺑَﺖ‬ َ ‫ﻚ َﺗﺮَﻯ ﺍﻷَﺭ‬ َ ‫ـ "ﻭَﻣﻦ ﺀﺍﻳَﺎﺗﻪ ﺃﱠﻧ‬ มัด ลาซิม มัดอาริฎ ลิสซุกูน (ฟงจากเทปบันทึกเสียง)จากอายะฮฺตอไปนี้ .(20 ‫ﺖ ﻭَﺟﻬ َﻲ ﷲ َﻭﻣَﻦ ﺍﱠﺗَﺒﻌَﻦ" )ﺁﻝ ﻋﻤﺮﺍﻥ ـ‬ ُ ‫ـ "ﻓ ﻥ َﺣ ﺟﻮ َﻙ ﻓﻘﹸﻞ ﺃﺳﻠﻤ‬ .(89 ‫ـ "ﻗﺎﻝ ﻗﺪ ﺃﹸﺟﻴﺒَﺖ ﺩﱠﻋ َﻮُﺗ ﹸﻜﻤَﺎ ﻓﺎﺳﺘَﻘﻴﻤَﺎ ﻭَﻻ َﺗﺘﱠﺒ َﻌ ﻥ ﺳَﺒﻴﻞ ﺍﻟﱠﺬﻳ َﻦ ﻻ ﻳَﻌﻠﻤُﻮﻥ" )ﻳﻮﻧ ـ‬ .(74 ‫ـ "ﻟﻢ ﻳَﻄﻤﺜ ُﻬ ﱠﻦ ﺇﻧ ُ ﻗﺒﻠﻬُﻢ ﻭَﻻ َﺟ ﻥ" )ﺍﻟﺮﲪﻦ ـ‬ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

126

.(64-63 ‫ـ "ﺃﻓﺮَﺃﻳﺘُﻢ ﻣﱠﺎ ﺗَﺤﺮُﺛﹸﻮﻥ ﺃﺃﻧﺘُﻢ ﺗَﺰ َﺭﻋُﻮَﻧﻪُ ﺃﻡ ﻧَﺤﻦُ ﺍﻟﺰﱠﺍﺭﻋُﻮﻥ" )ﺍﻟﻮﺍﻗﻌﺔ ـ‬ .(3 ‫ـ "ﻓﺘَﺤﺮﻳ ُﺮ ﺭَﻗﺒَﺔ ﻣﻦ ﻗﺒﻞ ﺃﻥ َﻳَﺘ َﻤ ﺳﱠﺎ" )ﺍ ﺎﺩﻟﺔ ـ‬ 2. ตอบคําถาม ก.ใหนักเรียนฟงเทปบันทึกเสียงอายะฮฺที่ 32 -38 จากนั้นใหนักเรียนระบุตัวอยาง “มัด” ดังตอไปนี้ ใหถูกตอง 1. มัดลาซิม (‫)ﻣﺪﺭ ﻻﺯﻡ‬ 2. มัดบะดัล (‫)ﻣﺪ ﺑﺪﻝ‬ 3. มัด มุนฟะซิล (‫)ﻣﺪ ﻣﻨﻔﺼﻞ‬ 4. มัดมุตตะซิล (‫)ﻣﺪ ﻣﺘﺼﻞ‬ 5. มัดฏอบีอียฺ (‫ )ﻣﺪ ﻃﺒﻴﻌﻲ‬กับพยัญชนะ “‫”ﻭ‬ 6. มัฏอบิอียฺกับพยัญชนะ “‫”ﻱ‬ 7. มัฏอบิอียฺกับพยัญชนะ “‫”ﺍ‬ 8. มัด ซิลัต กอซีเราะฮฺ (‫)ﻣﺪﺻﻠﺔ ﻗﺼﲑﺓ‬ ตัวอยางการตอบ • มัดฏอบิอียฺ ดวย “‫ ”ي‬คือคําวา “َ‫”ﺍﻟﺬﻳﻦ‬ • มัดมุนฟะซิล คือ คําวา “‫”ﻭﺗﺪﻋُﻮﺁ ﺇﱃ ﺍﻟﺴﻠﻢ‬ ข.ใหนักเรียนอานอายะฮฺที่ 5 ของซูเราะฮฺ อัลฮัจญ จากนั้นใหบอกตัวอยางคําในอายะฮฺตามหลักการอาน ดังตอไปนี้ใหถูกตอง • • • • • • • • •

มัดมุนฟะซิล (‫ )ﻣﺪ ﻣﻨﻔﺼﻞ‬, นูน มุชัดดะดะฮฺ ที่ตองอานฆุนนะฮฺ (‫)ﻧﻮﻥ ﺳﺎﻛﻨﺔ ﺫﺍﺕ ﹸﻏﻨﱠـﺔ‬, นูนซากินนะฮฺที่ตองอานแบบอิคฟะอฺ (‫)ﻧﻮﻥ ﺳﺎﻛﻨﺔ ﺃﺧﻔﺎﺀ‬, มีมซากินะฮฺที่ตองอาน อิซฮารฺ (‫)ﺍﻇﻬﺎﺭ‬ อิดฆอม บิฆุนนะฮฺ สมบูรณแบบ (‫)ﺍﺩﻏﺎﻡ ﺑﻐُﻨـّﺔ ﻛﺎﻣﻠﺔ‬ ลาม(‫)اﻟـ‬ที่ตองอานอิซฮารฺ (หมายถึงลามกอมะรียะฮฺ), กอลกอเลาะฮฺ , มีมที่ตองอานอิดฆอมพรอมกับฆุนนะฮฺ(‫)ﺍﺩﻏﺎﻡ ﻣﻊ ﺍﻟﻐﻨﺔ‬ นูนที่ตองอานอิซฮารฺ , ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

• • • •

127

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

อิดฆอมตันวีนพรอมอานฆุนนะฮฺ , มัดมุตตะซิล, มัดมุนฟะซิล , อิลลาบ “นูน” และอิคลาบ “ตันวีน”

ค.ใหนักเรียนฟงอายะฮฺที่ 1-10 จากซูเราะฮฺ อัซซะยาดะฮฺ (‫ )ﺳﻮﺭﺓ ﺍﻟـﺴﺠﺪﺓ‬จากนั้นใหระบุคําในอายะฮฺตาม หลักการในหัวขอตอไปนี้ใหถูกตอง 1. มัดลาซิม (‫)ﻣﺪ ﻻﺯﻡ‬ 2. มัดอาริฎลิซซุกูน (‫)ﻣﺪ ﻋﺎﺭﺽ ﻟﻠﺴﻜﻮﻥ‬ 3. มัดซิลัต (‫)ﻣﺪ ﺻﻠﺔ‬ 4. มัดมุนฟะซิล (‫)ﻣﺪ ﻣﻨﻔﺼﻞ‬ 5. มัดมุตตะซิล (‫)ﻣﺪ ﻣﺘﺼﻞ‬ 6. มีมซากินะฮฺที่ตองอานอิดฆอม 7. นูนซากินะฮฺที่ตองอานอิดฆอม 8. นูนซากินะฮฺที่ตองอานอิคฟะอฺ 9. ตันวีนที่ตองอานอิซฮารฺ 10. กอลกอเลาะฮฺ 11. อิซฮารฺ ง. การอาน อิซฮารฺ (อิคฟะอฺ) พรอมฆุนนะฮฺ กับมีซากินะฮฺ (‫)ﺇﻇﻬﺎﺭ ) ﺇﺧﻔﺎﺀ ( ﻣﻊ ﺍﻟﻐﻨﺔ ﳌﻴﻢ ﺳﺎﻛﻨﺔ‬ 1. 2. 3. 4.

การอานอิดฆอมลามซากินะฮฺ นูนซากินะฮฺที่ตองอานอิดฆอม พรอมฆุนนะฮฺ ตันวีนที่ตองอานอิดฆอมแบบไมสมบูรณ พรอมฆุนนะฮฺ (‫ﻣﻊ ﺍﻟﻐﻨﺔ‬ ตันวีนที่ตองอานอิดฆอมแบบสมบูรณพรอมฆุนนะฮฺ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

‫)ﺍﺩﻏﺎﻡ ﻧﺎﻗ‬


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

128

7.หลักการอานแบบตัรกีกและตัฟคีม1 (‫)ﺍﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﺘﺮﻗﻴﻖ ﻭﺍﻟﺘﻔ ﻴﻢ‬ เสียงที่เปนภาษากลางของภาษาอาหรับสวนใหญแลวจะเปนเสียงแบบ “มุรอกกอเกาะฮฺ”หรือเสียง ตัรกีก สวนพยัญชนะที่อยูใ นกลุมเสียง “ตัฟคีม” หรือมุฟคคอมะฮฺ มีทั้งหมด 7 ตัว โดยแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. พยัญชนะที่จะตองอานแบบ “ตัฟคีม”ตลอดคือ , ‫ ﺽ‬, ‫ ﻁ‬, , , ,‫ ﻕ‬พยัญชนะสี่ตัว แรก ( ‫ ﺽ‬,‫ ﻁ‬, ) เสียงตัฟคีมจะหนักกวาพยัญชนะตัวอื่น ๆ ทั้งสี่พยัญชนะจะเรียกวา “อิฏฏิบาค” (‫)ﺍﻷﻃﺒﺎﻕ‬ ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(3 ‫ـ "ﺍﻟﱠﺬﻳَﻦ ﻳُﺆﻣﻨُﻮﻥ ﺑﺎﻟﻐَﻴﺐ َﻭﻳُﻘﻴﻤُﻮﻥ ﺍﻟﺼﱠﻼﺓ ﻭَﻣﻤﱠﺎ َﺭﺯَﻗﻨﺎﻫُﻢ ﻳُﻨﻔﻘﹸﻮﻥ" )ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ ـ‬ .(7 6 ‫ﲔ" )ﺍﻟﻔﺎﲢﺔ‬ َ ‫ﻀ ﱢﻟ‬ ‫ﺖ ﻋَﻠﻴﻬﻢ ﻏﻴﺮ ﺍﳌﻐﻀُﻮﺏ ﻋَﻠﻴﻬﻢ ﻭَﻻ ﺍﻟ ﱠ‬ َ ‫ـ "ﺍﻫﺪﻧَﺎ ﺍﻟﺼﺮﺍﻁ ﺍﳌﹸﺴﺘَﻘﻴ َﻢ ﺻﺮَﺍﻁ ﺍﻟﱠﺬﻳ َﻦ ﺃﻧﻌَﻤ‬ .(15 ‫ـ "ﻗﺎﻝ ﺇﻧﱠﻚ ﻣ َﻦ ﺍﻟﻤُﻨﻈﺮﻳ َﻦ" )ﺍﻷﻋﺮﺍﻑ ـ‬ .(23 ‫)ﺍﻟﻨﺴﺎﺀ‬

"‫ﺕ ﺍﻷﺧﺖ‬ ُ ‫ﺕ ﺍ َﻷ َﻭَﺑﻨﺎ‬ ُ ‫ـ "ﺣُﺮﻣَﺖ ﻋَﻠﻴﻜﹸﻢ ﹸﺃ ﱠﻣﻬَﺎُﺗﻜﹸﻢ َﻭَﺑﻨَﺎُﺗﻜﹸﻢ ﻭَﺃ َﺧﻮَﺍﺗُﻜﹸﻢ َﻭ َﻋﻤﱠﺎُﺗﻜﹸﻢ َﻭﺧَﺎﻻﺗُﻜﹸﻢ َﻭَﺑﻨَﺎ‬ .(3 ‫)ﺍ ﺎﺩﻟﺔ ـ‬

"‫ـ "ﻭﺍﻟﱠﺬﻳ َﻦ ﻳُﻈﺎﻫﺮُﻭﻥ ﻣﻦ ﻧﺴﺎﺋﻬﻢ ﹸﺛﻢﱠ َﻳﻌُﻮﺩُﻭﻥ ﻟﻤَﺎ ﻗﺎﻟﻮﺍ ﻓﺘَﺤﺮﻳﺮُ ﺭَﻗﺒَﺔ‬

2. พยัญชนะที่บางกรณีตองอานตัฟคีม บางกรณีตองอานตัรกีก คือ “‫ ”ر‬ลักษณะการอานเดิมของ ‫ر‬ คือ ตัรกีก เพราะ ‫ ر‬ไมไดอยูในกลุมของพยัญชนะอิสติลาอฺ (‫ )ﺍﻹﺳﺘﻌﻼﺀ‬คือกลุมพยัญชนะในคําวา “ ‫ﺧ‬ ‫ ”ﺿﻐ ﻗ‬แตตองอานแบบตัฟคีมในกรณีดังตอไปนี้ ก.เมื่อ ‫ ر‬ประสมดวยสระ ฟตฮะฮฺ หรือฎอมมะฮฺ (‫ )ﻣﻔﺘﻮﺣﺔ ﺃﻭ ﻣﻀﻤﻮﻣﺔ‬เชน ‫ﺍﻟﺮﱠﺣﻤﻦ‬. ‫ﺭَﺑﻜﹸﻢ‬ . ‫ ﺭُﺩﻭﺍ ﻻ ﺭَﺁ ّﺩ‬. เปนตน ข. “‫ ”ر‬ซากินะฮฺ กอนจากรอเปนสระ ฟตหะฮฺหรือ ฎอมมะฮฺ เชน คําวา ‫ ﻳُﺮﺳﻞ‬. ‫ﺗَﺮﻣﻲ‬ ค. เมื่อ “‫ ”ر‬ซากินะฮฺ กอน “‫ ”ر‬อานกัสเราะฮฺ หลัง “‫ ”ر‬เปนพยัญชนะกลุม อิสติลาอฺ และประสม ดวยสระฟตหะฮฺ เชน คําวา ‫ ﻗﺮﻃﺎﺱ‬. ‫ ﻣﺮﺻَﺎﺩﹰﺍ‬. ‫ ﺇﺭﺻﺎﺩﹰﺍ‬แตในกรณีที่พยัญชนะในกลุมอิสติลาอฺ ที่ตามหลังมา เสียงแบบตัฟคีม เปนเสียงที่เกิดจากการยกโคนลิ้นขึ้นไปจนกับเพดานดานบนขณะเปลงเสียง ซึง่ เสียงแบบตัฟคีมจะหนักเบาแตกตางกัน ออกไปตามชนิดของสระที่เขามาประสมกับพยัญชนะ ระดับเสียงที่แรงที่สดุ คือเสียงของพยัญชนะกอน ‫ ا‬ที่เปนพยัญชนะมัด ระดับรองลงมาก็ เปน เสียงกอนฟตหะฮฺ และกอนจาก ‫ و‬มัด กอนจาก “ฎอมมะฮฺ” ตามลําดับ 1

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

129

อานดวยสระกัสเราะฮฺ ก็ใหอานแบบ “ตัรกีก (‫ ”)ﺗﺮﻗﻴﻖ‬แทน เชน คําวา ‫ ﹸﻛﻞ ﻓـﺮﻕ‬แตมีนักวิชาการบางทานก็ อนุญาตใหอานแบบตัฟคีมได ง. เมื่อ “‫ ”ر‬เปน ‫ ر‬ซากินะฮฺ (‫ )ﺳﺎﻛﻨﺔ‬อยูในตนคํา และถูกวางไวหลัง “‫ ”ء‬วะซาล เชนคําวา ‫ ﺍﺭﺟـﻌﻲ‬. ‫ﺃﻡ ﺍﺭﺗﺎﺑُﻮﺍ‬ 2. ลาม (‫ ) ل‬เดิมทีลามจะอานแบบ “ตัรกีก (‫ ”)ﺗﺮﻗﻴﻖ‬จะอานแบบ “ตัฟคีม (‫ ”)ﺗﻔ ﻴﻢ‬ไดก็เฉพาะในคําวา “‫”ﺍﷲ‬ เทานั้น แตตองมีขอแมวากอนจาก ‫ ل‬จะตองเปนสระ ฟตหะฮฺ (‫ )ﻓﺘﺤــﺔ‬หรือ ฎอมมะฮฺ (‫ )ﺿــﻤﺔ‬เทานั้น ตัวอยาง เชน ‫ ﻗﺎﻝ ﺍﷲ‬. ‫ﻳﻘﻮ ﹸﻝ ﺍﷲ‬ 3. อลิฟมัด (‫ )ﺍﻟﻒ ﻣﺪ‬เดิมที อลิฟมัด จะอานแบบ ตัรกีก (‫ )ﺗﺮﻗﻴﻖ‬เชนเดียวกับ ‫ ﺭ‬และ ‫ ﻝ‬แตจะอาน ตัฟคีม (‫ )ﺗﻔ ﻴﻢ‬ไดก็ตอเมื่อ อลิฟมัด อยูหลังพยัญชนะในกลุมอิสติลาอฺ เชน ‫ ﺍﻟﻄـﺎﻏﹸﻮﺕ‬. ‫ﺍﻟﺼﱠﺎﺑﺮﻳﻦ ﺍﳋﺎﻟـﺪﻳﻦ‬ ‫ ﺍﻟﻘﺎﺭﻋَﺔ‬. ‫ ﺍﻟﻐَﺎﻓﻠﲔ‬. ‫ ﺍﻟﻈﹼﺎﻟﻤﲔ‬. ‫ﻀ ﻟﲔ‬ ‫ﺍﻟ ﱠ‬. นักวิชาการบางทานกลาววา ฟตหะฮฺ ก็เชนเดียวกับ อลิฟมัด เพราะเปนชนิดเดียวกัน จึงจัดอยูใน กลุมที่ตองอานแบบ “ตัฟคีม (‫ ”)ﺗﻔ ﻴﻢ‬หากฟตหะฮฺอยูห ลังพยัญชนะในกลุม “อิสติลาอฺ” เชน ‫ َﺧﺮَﺟﺘُﻢ‬. ‫ﻕ‬ َ ‫ﺻ َﺪ‬ َ ‫ ﻗﻀَﻰ‬. ‫ﺿﻞﱠ ﻇﻠ َﻢ ﻏﻞﱠ‬ َ . ‫ ﻃَﺒ َﻊ‬. แบบฝกหัด (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) ใหนักเรียนฟงการอานซูเราะฮฺ อัลฟจรฺ (‫ )ﺳﻮﺭﺓ ﺍﻟﻔﺠـﺮ‬และทําความเขาใจการอานแบบ “ตัฟคีม (‫ )ﺗﻔ ﻴﻢ‬และ ตัรกีก (‫”)ﺗﺮﻗﻴﻖ‬ในซูเราะฮฺนี้ทั้งหมด 8.หลักการเกี่ยวกับ “อิดฆอม ( ‫ ”)ﺍﺩ ﺎ‬ทั่วไป 1. เมื่ อ มี พ ยั ญ ชนะสองตั ว ที่ มี แ หล ง กํ า เนิ ด เสี ย งและลั ก ษณะการอ า นที่ ค ล า ยกั น หรื อ ใกล เ คี ย งกั น หาก พยัญชนะตัวแรกอานซากินะฮฺ ตัวที่สอบมีสระ (‫ )ﻣﺘﺤﺮﻛﺔ‬วายิบตองอานอิดฆอมเขาดวยกัน ตัวอยาง (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) .(60 ‫ﺠ َﺮ" )ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ ـ‬ َ ‫ـ "ﺍﺿﺮﺏ ﺑ َﻌﺼَﺎ َﻙ ﺍﳊ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


‫‪วิชาอัลกุรอานและตัจวีด‬‬

‫‪130‬‬

‫‪หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01‬‬

‫ـ "ﻭَﻗﺪ ﱠﺩ َﺧﻠﹸﻮﺍ ﺑﺎﻟﻜﹸﻔﺮ َﻭﻫُﻢ ﻗﺪ َﺧ َﺮﺟُﻮﺍ ﺑﻪ" )ﺍﳌﺎﺋﺪﺓ ـ ‪.(61‬‬ ‫ـ " َﻭﻣَﻦ ﻳُﻜﺮﻫﻬ ﱠﻦ ﻓ ﱠﻥ ﺍﷲ ﻣﻦ ﺑَﻌﺪ ﺇﻛﺮَﺍﻫﻬ ﱠﻦ ﻏﻔ ُﻮ ُﺭ ﺭﱠﺣﻴ ُﻢ" )ﺍﻟﻨﻮﺭ ـ ‪.(33‬‬ ‫ﻚ ﻟﻦ ﺗَﺴﺘَﻄﻴ َﻊ ﻣَﻌ َﻲ ﺻَﺒﺮﹰﺍ")‪) (1‬ﺍﻟﻜﻬﻒ ـ ‪.(75‬‬ ‫ـ "ﻗﺎﻝ ﺃﻟﻢ ﺃﻗﹸﻞ ﺇﱠﻧ َ‬ ‫‪) และ‬ﺻــــﻔﺔ( ‪2.เมื่อพยัญชนะสองตัวอยูในแหลงกําเนิดเสียงเดียวกัน แตแตกตางกันที่ลักษณะการอาน‬‬ ‫‪) จะไมอานแบบอิดฆอมเขาดวยกัน ยกเวน‬ﻣﺘﺤﺮﻛـﺔ( ‪) ตัวที่สองมีสระ‬ﺳﺎﻛﻨﺔ(ฺ‪พยัญชนะตัวแรกอานซากินะฮ‬‬ ‫้ี‪พยัญชนะดังตอไปน‬‬ ‫ﺩ ‪ /‬ﺕ ‪" :‬ﻗﺪ ﱠﺗَﺒﱠﻴ َﻦ ﺍﻟﺮﺷ ُﺪ ﻣ َﻦ ﺍﻟﻐَﻲ" )ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ ـ ‪.(256‬‬ ‫ﺕ ‪ /‬ﺩ ‪ " :‬ﻗﺎﻝ ﻗﺪ ﺃﹸﺟﻴﺒَﺖ ﺩﱠﻋ َﻮُﺗ ﹸﻜﻤَﺎ " )ﻳﻮﻧ ـ ‪.(89‬‬ ‫ﺕ ‪ /‬ﻁ ‪" :‬ﻓ ﻣﻨﺖ ﻃ ﺋﻔ ﹸﺔ ﻣﻦ َﺑ ﺇﺳﺮﺁﺋﻴﻞ ﻭَﻛﻔﺮﺕ ﱠﻃ ﺋﻔ ﹸﺔ " )ﺍﻟﺼﻒ ـ ‪.(14‬‬ ‫‪ /‬ﺕ ‪" :‬ﻟﺌﻦ َﺑﺴَﻄ ﱠ‬ ‫ﻚ"‬ ‫ﻚ ﻟ ﻗﺘُﻠ َ‬ ‫ﻱ ﺇﻟﻴ َ‬ ‫ﺖ )‪ (2‬ﺇﻟ ﱠﻲ َﻳ َﺪ َﻙ ﻟﺘَﻘﺘُﻠﻨﻲ َﻣ ﺃﻧﺎ ﺑﺒَﺎﺳ ﻳَﺪ َ‬ ‫ﺫ‪/‬‬

‫‪" :‬ﻭَﻟﻦ ﻳَﻨﻔﻌﻜﹸﻢُ ﺍﻟﻴَﻮ َﻡ ﺇﺫ ﻇﱠﻠﻤﺘُﻢُ ﺃﱠﻧﻜﹸﻢ ﰲ ﺍﻟﻌَﺬﺍﺏ ﻣُﺸﺘﺮﻛﹸﻮﻥ" )ﺍﻟﺰﺧﺮﻑ ـ ‪.(39‬‬

‫ﻕ ‪ /‬ﻙ ‪" :‬ﺃﻟﻢ َﻧ ﻠﹸﻘﻜﻢ )‪(3‬ﻣﻦ ﱠﻣ ﺀ ﻣﱠﻬﲔ" )ﺍﳌﺮﺳﻼﺕ ـ ‪.(20‬‬ ‫ﻥ ‪ /‬ﻡ ‪" :‬ﺃﻟﻢ َﻧ ﻠﹸﻘﻜﻢ ﻣﻦ ﱠﻣ ﺀ ﻣﱠﻬﲔ" ) ﺍﳌﺮﺳﻼﺕ ـ ‪.(20‬‬ ‫ﻝ ‪ /‬ﺭ ‪" :‬ﺑَﻞ ﺭﱠﺑﻜﹸﻢ ﺭَﺏ ﺍﻟﺴ َﻤﻮَﺍﺕ ﻭَﺍﻷﺭﺽ ﺍﻟﱠﺬﻱ ﻓﻄ َﺮﻫُ ﱠﻦ " )ﺍﻷﻧﺒﻴﺎﺀ ـ ‪.(56‬‬ ‫ﺏ ‪ /‬ﻡ ‪" :‬ﻳَﺎُﺑَﻨﻲﱠ ﺍﺭﻛﺐ ﱠﻣ َﻌﻨَﺎ" )ﻫﻮﺩ ـ ‪.(42‬‬ ‫ﻚ ﻣَﺜﻞﹸ ﺍﻟﻘﻮﻡ ﺍﻟﱠﺬﻳ َﻦ ﻛﺬﱠﺑُﻮﺍ ﺑ ﻳﺎﺗﻨﺎ" )ﺍﻷﻋﺮﺍﻑ‬ ‫ﺙ ‪ /‬ﺫ ‪" :‬ﻛﻤَﺜﻞ ﺍﻟﻜﻠﺐ ﺇﻥ ﺗَﺤﻤﻞ ﻋَﻠﻴﻪ ﻳَﻠﻬَﺚ ﺃﻭ ﺗَﺘﺮُﻛﻪُ ﻳَﻠﻬَﺚ ﺫﻟ َ‬ ‫ـ ‪.(176‬‬

‫)‪(1‬‬ ‫)‪(2‬‬ ‫)‪(3‬‬

‫ﺳﺒﻘﺖ ﳕﺎﺫ ﺃﺧﺮﻯ ﻹﺩﻏﺎﻡ ﺍﳌﺘﻤﺎﺛﻠﲔ ﻭﺫﻟﻚ ﰲ ﺃﺣﻜﺎﻡ ﺍﻟﻼﻡ ﺍﻟﺴﺎﻛﻨﺔ ﻭﺍﳌﻴﻢ ﺍﻟﺴﺎﻛﻨﺔ ﻭﺍﻟﻨﻮﻥ ﺍﻟﺴﺎﻛﻨﺔ ﻭﺍﻟﺘﻨﻮﻳﻦ‪.‬‬ ‫ﻳﻼﺣ ﰲ ﻧﻄﻖ ﺍﻟﻄﺎﺀ ﻗﺒﻞ ﺍﻟﺘﺎﺀ ﻭﺍﻟﻘﺎﻑ ﻗﺒﻞ ﺍﻟﻜﺎﻑ ﺃﻥ ﺍﻹﺩﻏﺎﻡ ﻟﻴ ﺧﺎﻟﺼﹰﺎ ﺃﻭ ﺗﺎﻣﹰﺎ ﻣﻌﻬﻤﺎ‪ .‬ﻭﺇﳕﺎ ﺻﻔﺔ ﺍﻟﺘﻔ ﻴﻢ ﺍﳋﺎﺻﺔ ﺑﺎﻟﻄﺎﺀ ﻭﺍﻟﻘﺎﻑ‬ ‫ﻭﺍﺿﺤﺔ ﻣﻊ ﺍﻹﺩﻏﺎﻡ‪ .‬ﺃﻣﺎ ﺻﻮﺭ ﺍﻹﺩﻏﺎﻡ ﺍﻷﺧﺮﻯ ﻓﻠﻴ ﻓﻴﻬﺎ ﻫﺬﺍ ﺍﻷﻣﺮ‪ .‬ﻻﺣ ﺍﻟﻔﺮﻕ ﰲ ﺍﻟﻨﻄﻖ ﰲ ﺍﻟﺘﺴﺠﻴﻞ‪.‬‬ ‫ﺭﺍﺟﻊ ﺟﺪﻭﻝ ﺗﻮﺯﻳﻊ ﺍﻷﺻﻮﺍﺕ ﺣﺴﺐ ﺍﳌ ﺎﺭ ﻭﺍﻟﺼﻔﺎﺕ ) ‪ (13/‬ﻟﺘﺘﺤﻘﻖ ﻣﻦ ﺍ ﺎﺫ ﻛﻞ ﺯﻭ ﻣﻦ ﺍﻷﺻﻮﺍﺕ "ﺍﳌﺘﺠﺎﻧﺴﺔ" ﰲ ﺍﳌ ﺮ‬ ‫ﻭﺍﺧﺘﻼﻓﻪ ﰲ ﺍﻟﺼﻔﺔ‪.‬‬

‫‪ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา‬‬


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

131

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ในคัม ภีรอัล กุ ร อาน จะแสดงสั ญ ลัก ษณ การอ า นอิ ด ฆอมด ว ยการไมแ สดงเครื่ อ งหมายซุ กู น ใน พยัญชนะตัวแรก และในตัวที่สองจะแสดงเครื่องหมายตัชดีด (ّ‫)ـ‬ไว 9. หลัการอาน “วกัฟ”( ‫)ﺍﻟ ﻗ‬ หลักการอานที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่ควรแกการเรียนรูขณะอานอัลกุรอาน คือหลักการเกี่ยวกับ การ อาน “วกัฟ (‫( ”)ﻭﻗــﻒ‬หมายถึงการหยุดวรรค หรือหยุดพักเพื่อเริ่มตนใหม) การ “วกัฟ (‫”)ﻭﻗــﻒ‬ จะวกัฟไดที่ไหน มีหลักการอยางไร ? เมื่อเราอานไปแลวตองการหยุด (เพื่อสูดลมหายใจ) กอนที่จะสิ้นสุด อายะฮฺ ควรปฏิบัติอยางไร ? การอานแลววกัฟ (หยุด) นั้นทําไดในทุกที่หรือไม หรือจะวกัฟ (หยุด) ไดกับ คําประเภทใด ? หากมีการอานวกัฟ คําคํานั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไมอยางไร ? 1.วกัฟซุนนะฮฺ คือการวกัฟในตนอายะฮฺหรือตอนทายของอายะฮฺ เปนรูปแบบการอานที่ไดรับการ สืบทอดมาจากทานรอซูลุลลอฮ  ซึ่งทานเองรับมาจากมลาอิกะฮฺญิบรีล  จึงไมตองสงสัยเลยวาการ อานวกัฟ ที่ไดรับการถายทอดมาจากทานรอซูลุลลอฮ  นั้นจะตองมีปรัชญาหรือประโยชนแฝงอยูอยาง แน น อน การอ านโดยไมวกั ฟตามที่ท า นกํ าหนดไวจะทํ า ใหปรั ชญาหรื อประโยชน ห ายไป ทางที่ ดีค วร อานวกัฟในตอนทายของอายะฮฺ (ตามที่ทานสอนไว) แตในบางครั้ง หรือบางกรณี อยางเชนการอานอายะฮฺทวี่ า “‫ﺼﻠﱢﲔ ﺍﻟﱠﺬﻳ َﻦ ﻫُﻢ ﻋَﻦ ﺻَﻼﺗﻬﻢ ﺳَﺎﻫُﻮﻥ‬ َ ‫”ﻓﻮَﻳﻞﹸ ﻟﻠ ُﻤ‬ หากอานแลวมาวกัฟ (หยุด)ตรงคําวา “‫ﺼﻠﱢﲔ‬ َ ‫ ”ﻟﻠ ُﻤ‬อาจจะทําใหบางคนเขาใจไปวาความหมายของอายะฮฺจะ ผิดเพี้ยนไปจากขอเท็จจริง นั่นเปนความเขาใจที่ไมถูกตอง ในเมื่อเราเองมีเจตนาวาจะอานตอ (การหยุดตรงนี้ เพียงเพื่อพักเพื่อที่จะอานตอเทานั้น) ไมไดหยุดและยุติการอานแคนี้ แตหากอานแลวยุติอยูแคอายะฮฺนี้เปน การอานที่หามปฏิบัติ แตสําหรับการอานแลวมาหยุดเพื่อที่จะอานตอไปจนจบซูเราะฮฺนั้นสามารถกระทําได แตทางที่ดีควรอานและวกัฟ (หยุด)ในตําแหนงที่ถูกตอง (ทายอายะฮฺ) เพื่อเปนการปกปองและรักษาไวซึ่งซุน นะฮฺของทานรอซูลุลลอฮ  1.อนุญาตใหเราสามารถวกัฟ (หยุด) ไดที่ไหน ? อายะฮฺอัลกุรอานทั้งหมดลวนแลวแตมีความหมาย ฉะนั้นมุสลิมจะตองอานอายะฮฺและวกัฟ(หยุด) ในตําแหนงที่ไมทําใหความหมายของอายะฮฺผิดเพี้ยน หรือเสียหาย อยางเชนในตอนทายหรือจุดที่เปนที่ สิ้นสุดอายะฮฺดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน เพราะตําแหนงนี้ทั้งหมดจะเปนตําแหนงที่สามารถรักษาไวซึ่ง ความหมายของอายะฮฺมิใหผิดเพี้ยน ซึ่งนักวิชาการไดกําหนดสัญลักษณการวกัฟ (หยุด)ไว เพื่อความสะดวก ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

132

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ต อ ผู อ า นอั ล กุ ร อานทุ ก คน ซึ่ ง มี ห ลายสถานะ เช น วกั ฟ ยั ย ยิ ด (ระดั บ ดี ) ( ‫ )ﻭﺍﻟﻮﻗﻒ ﺍﳉﻴﺪ‬และมี ก ารทํ า เครื่องหมายเตือนเกี่ยวกับตําแหนงที่เรียกวา “วกัฟ กอบิฮฺ” (ไมควรวกัฟ) ดังจะนําเสนอในรายละเอียดของ สัญลักษณและความหมายในอันดับตอไป “‫ ”م‬เปนเครื่องหมายวกัฟ ที่เรียกวา “วกัฟลาซิม” (‫ـﻼﺯﻡ‬ ‫ـﻒ ﺍﻟـ‬ ‫ )ﺍﻟﻮﻗـ‬ซึ่งหมายถึง จุดที่จําเปนตอง หยุดวกัฟ เพราะหากอานตอไปจะทําใหความหมายของอายะฮฺไมถูกตอง ตัวอยางเชน .(36 ‫ﺐ ﺍﻟﱠﺬﻳ َﻦ ﻳَﺴ َﻤﻌُﻮﻥ ﻭَﺍﻟﻤﻮﺗَﻰ ﻳَﺒ َﻌﺜﹸﻬُﻢُ ﺍﷲ" )ﺍﻷﻧﻌﺎﻡ ـ‬ ُ ‫"ﺇﱠﻧﻤَﺎ ﻳَﺴﺘَﺠﻴ‬ ซึ่งมีความหมายวา “อันที่จริง บรรดาผูรับฟง (ดวยใจจริง) ยอมสนองตอบ (คําประกาศของเจา) แตวา (คนที่ไมยอมศรัทธาที่เปรียบเหมือน) คนตายนั้น อัลลอฮฺจะทรงทําใหพวกเขาฟนขึ้น (มาอีก) ... ” หากอานแลวไมหยุดตรงคําวา “‫ ”ﻳﺴﻤﻌﻮﻥ‬แลวมาหยุดอยูที่คําวา “‫ ”ﺍﳌ َﻮﺗَﻰ‬ความหมายของอายะฮฺ ก็จะ เพี้ ย นไปว า “คนตายจะสนองตอบ (คํ า ประกาศ) เหมื อ นบรรดาผู ที่ รั บ ฟ ง ด ว ย” ซึ่ ง แน น อนที่ สุ ด เป น ความหมายที่ไมถูกตอง ตัวอยางที่สอง .(65 ‫ﺟَﻤﻴﻌﹰﺎ" )ﻳﻮﻧ ـ‬

َ ‫"ﻭَﻻ َﻳﺤﺰُﻧ‬ ‫ﻚ ﻗﻮﻟﹸﻬُﻢ ﻡ ﺇ ﱠﻥ ﺍﻟﻌﺰﱠﺓ ﷲ‬

หากไมอานวกัฟที่คําวา “‫ ”ﻗﻮﻟﹸﻬُﻢ‬แตมาหยุดที่คําวา “‫ ”ﺟَﻤﻴﻌﺎﹰ‬ก็จะมีความหมายผิดเพีย้ นไปเปนวา “‫ ”ﻡﺇ ﱠﻥ ﺍﻟﻌﺰﱠﺓ ﷲ ﺟَﻤﻴﻌﹰﺎ‬นั้นเปนคําพูดของพวกมุชริกนี ทั้ง ๆ ที่ประโยคนี้เปนการเริ่มตนประโยคใหมซึ่งองค อภิบาลทรงตรัสกับศาสนทูตของพระองค “‫ ”ﻻ‬เปนสัญลักษณทแี่ สดงใหเห็นวา เปนตําแหนงที่ “หาม” วกัฟ (‫ )ﻭﻗﻒ‬เพราะหากวกัฟใน ตําแหนงนี้จะทําใหความหมายเดิมของอายะฮฺผิดเพี้ยนไปในทางอื่น ตัวอยาง เชน .(56 ‫"ﻗﹸﻞ ﻻ ﺃﺗﱠﺒ ُﻊ ﺃﻫﻮَﺁ َﺀﻛﹸﻢ ﻻﻗﺪ ﺿَﻠﻠﺖُ ﺇﺫﹰﺍ َﻭ َﻣ ﺃﻧَﺎ ﻣ َﻦ ﺍﳌﹸﻬﺘَﺪﻳ َﻦ" )ﺍﻷﻧﻌﺎﻡ ـ‬ ซึ่งมีความหมายวา “เจาจงประกาศอีกวา “ฉันไมขอตามอารมณของพวกทาน เพราะแทจริง (หาก ฉันตามอารมณพวกนั้น) ฉันก็ยอมหลงผิดโดยพลัน และตัวฉันก็จะมิใชผูหนึ่งจากบรรดาผูไดรับการชี้นํา อยางแนนอน” หากอานแลวมา วกัฟ (‫ )ﻭﻗﻒ‬หยุดอยูที่คําวา “‫ ”ﺃﻫﻮَﺁ َﺀﻛﹸﻢ‬จะทําใหความหมายของอายะฮฺแยกออกไป ระหวางประโยคกอนและประโยคหลังที่ตามมาที่วา “‫( ”ﻗﺪ ﺿَﻠﻠﺖُ ﺇﺫﹰﺍ‬ฉันยอมหลงผิด) จะมีความหมายวา ทานนบี ยอมรับวาตัวทานเองหลงผิด ซึ่งความหมายดังกลาวเปนการผิดเพี้ยนที่รับไมได เพราะประโยคที่วา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

133

“‫ ”ﻗﺪ ﺿَﻠﻠﺖُ ﺇﺫﹰﺍ‬นั้นเปนการตอบประโยคเงื่อนไขกอนหนาที่วา “หากฉันตามอารมณพวกนั้น”(การที่ทาน รอซูลุลลอฮเปนผูหลงผิดนั้นเปนเรื่องที่เปนไปไมไดเพราะมีการปฏิเสธไวแลวในตอนตนของอายะฮฺ) “ ‫ ”ﻗ‬เปนเครื่องหมายที่แสดงวา อนุญาตใหวกัฟได และการอานวกัฟในตําแหนงนี้จะเปนการดี ตัวอยางเชน .(22 ‫)ﺍﻟﻜﻬﻒ ـ‬

"‫"ﻗﹸﻞ ﺭﱠﺑﻲ ﺃﻋﻠﻢُ ﺑﻌﺪﱠﺗﻬﻢ ﻣﱠﺎ ﻳَﻌﻠﻤُﻬُﻢ ﺇ ﱠﻻ ﻗﻠﻴ ﹸﻞ ﻗﻠﻰ ﻓﻼ ُﺗﻤَﺎﺭ ﻓﻴﻬﻢ ﺇﻻ ﻣﺮَﺍ ًﺀ ﻇﺎﻫﺮﹰﺍ‬

ประโยคที่สองคือคําวา “‫ ”ﻓﻼ ُﺗﻤَﺎﺭ ﻓﻴﻬﻢ‬ไมไดมีความหมายเชื่อมตอกับประโยคกอนหนา ดวยเหตุนี้ เองการวกัฟ(หยุด)ในตําแหนงนี้จะดีกวาการอานตอ (‫)ﻭﺻﻞ‬ “ ” เปนเครื่องหมายที่แสดงใหเห็นวา อนุญาตใหอานวกัฟได แตการอานตอโดยไมหยุดจะ ดีกวา ตัวอยางเชน َ ‫" ﻭﺍﻟﱠﺬﻳ َﻦ ﻳَﺒَﺘﻐُﻮﻥ ﺍﻟﻜﺘَﺎ‬ ‫ﺏ ﻣﻤﱠﺎ ﻣَﻠﻜﺖ ﺃ َﺎُﻧﻜﹸﻢ ﻓﻜﺎﺗﺒُﻮﻫُﻢ ﺇﻥ ﻋَﻠﻤﺘُﻢ ﻓﻴﻬﻢ ﺧَﻴﺮﹰﺍﺻـﻠﻲ ﻭ ﺁﺗُﻮﻫُﻢ ﻣﻦ ﻣﱠﺎﻝ ﺍﷲ‬ . (33 : ‫ " )ﺍﻟﻨﻮﺭ‬. . ‫ﺍﻟﱠﺬﻱ ﺁﺗَﺎﻛﹸﻢ‬ ประโยคที่วา “‫ ”ﻭَﺁﺗُﻮﻫُﻢ ﻣـ ّﻦ ﻣﱠـﺎﻝ ﺍﷲ‬มีความหมายเปนสาระสําคัญเชื่อมตอกับประโยคกอนหนา ฉะนั้นการอานวาซัล (‫ )ﻭﺻﻞ‬อานเชื่อตอจะดีกวาอานวกัฟ (ความหมายจะไดไมผิดเพี้ยน) “ ” เปนเครื่องหมายที่แสดงใหเห็นวาสามารถอานวกัฟได แต ยังระบุไมไดวา การวกัฟ หรือการ วะฟล อยางไหนจะดีกวากัน . ( 13 : ‫ ")ﺍﻟﻜﻬﻒ‬.. ‫ﻚ َﻧﺒَﺄﻫُﻢ ﺑﺎﳊﻖ ﺇ ﻢ ﻓﺘﻴَﺔ ﺁ َﻣﻨُﻮﺍ ﺑﺮﺑﻬّﻢ‬ َ ‫ﻋَﻠﻴ‬

‫" ﻧَﺤﻦُ َﻧ ﹸﻘ‬

∴∴ เปนเครื่องที่แสดงใหเห็นวา อนุญาตใหอานวกัฟในจุดหนึ่งจุดใดในตําแหนงนี้ได แตหามอานวกัฟทั้ง สองที่พรอมกัน หรือจะไมวกัฟเลยก็ได ตัวอยาง เชน .( 2 : ‫ " ) ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ‬. . ‫ﲔ‬ َ ‫ﺐ∴ ﻓﻴﻪ ∴ ُﻫﺪﱠﻯ ﻟﻠﻤُﺘﱠﻘ‬ َ ‫ﺏ ﻻ ﺭَﻳ‬ ُ ‫ﻚ ﺍﻟﻜﺘَﺎ‬ َ ‫" ﺫﺍﻟ‬ อนุญาตให อานอายะฮฺทั้งหมดโดยไมตองวกัฟ และอนุญาตใหอานวกัฟที่คําวา “‫ ”ﺭﻳﺐ‬แตเมื่อวกัฟ ที่นี่แลว หามอานหยุดที่ “‫ـﻪ‬ ‫ ”ﻓﻴـ‬และสามารถวกัฟที่ “‫ـﻪ‬ ‫ ”ﻓﻴـ‬หากไมอานวกัฟที่ “‫ـﺐ‬ ‫ ”ﺭﻳـ‬จะอยางไรก็ตาม เครื่องหมายหรือสัญลักษณเหลานี้ทั้งหมดเปนสิ่งที่บงบอกใหเห็นถึงความพยายามของนักวิชาการ แตไมใช เปนสิ่งที่ไดรับการถายทอดมาจากทานนบี  จึงไมใชเรื่องจําเปนที่จะตองยึดถือเปนหลักนักแตใหพิจารณา เรื่องของความหมายในแตละอายะฮฺเปนสําคัญ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

134

3. การวกัฟ อิฎติรอรียฺ (‫( )ﺍﻟﻮﻗﻒ ﺍﻹﺿﻄﺮﺍﺭﻱ‬หมายถึงหยุดอานแบบฉุกเฉินเพราะผูอานตองการหยุดหายใจ) เมื่อผูอานตองการหยุดฉุกเฉินในที่ที่ไมเหมาะ เมื่อผูอานตองการเริ่มตนใหม ก็ใหยอนกลับไปอานคํากอน หนาเพื่อใหไดความหมายที่ไมผิดเพี้ยน ภาวะดังกลาวจะแตกตางกันไปตามสภาพของแตละคน 4. ผลของการวกัฟ (หยุดอาน) การวกัฟในบางกรณีอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของเสียงบาง เล็กนอย ผูที่อานอัลกุรอานจะตองมีความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ เพื่อปองกันมิใหเกิดความผิดเพี้ยนในเรื่องของ ความหมาย ขณะอาน ก.ตันวีนหรือเครื่องหมายอิอฺรอบ(‫ )ﺣﺮﻛﺎﺕ ﺍﻹﻋﺮﺍﺏ‬บางตัวจะตกไป ตัวอยางเชน (ฟงจากเทป บันทึกเสียง) ‫ ﺭﺣﻴﻢ‬เมื่อตองวกัฟ ก็จะอานวา ‫ ﺭﺣﻴـﻢ‬คําวา ُ‫ ﺍﻟﻘ َﻤﺮ‬อานเปน ‫ﺍﻟﻘﻤَﺮ‬ ข. การเปลี่ยนตันวีนมันซูฟ (‫)ﻣﻨﺼﻮﺑﺎﹰ‬เปนอลิฟ ตัวอยางเชน (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) . ‫ ﺗَﺮﺗﻴﻼ‬.. . ‫ﻼ‬ ‫َﻭﺭَﺗﻞ ﺍﻟﻘﹸﺮﺁﻥ ﺗَﺮﺗﻴ ﹰ‬ ค. การเปลี่ยนตะอฺมัรบูเฏาะฮฺ (‫ )ﺗﺎﺀ ﻣﺮﺑﻮﻃﺔ‬เปน “‫ ”ﻫﺎﺀ‬ขณะอาน (เทานั้น เขียนเหมือนเดิม) ตัวอยางเชน (ฟงจากเทปบันทึกเสียง) “‫ﺚ ﺍﻟﻐَﺎﺷﻴَﺔ‬ ‫ ”ﻫَﻞ ﺃﺗﺎ َﻙ ﺣَﺪﻳ ﹸ‬อานเปน “‫ ”ﺍﻟﻐﺎﺷﻴﻪ‬แตยังเขียนเปน “‫”ﺍﻟﻐﺎﺷﻴﺔ‬ เหมือนเดิม หลักการอาน “ฮัมซะฮฺวะซาล” (‫ )ﳘﺰﺓ ﺍﻟﻮﺻﻞ‬นั่นคือ ฮัมซะฮฺที่ประสมดวยสระ ‫ ـَـ ـِـ ـُـ‬เมื่อตองอาน เชื่อมตอกับพยัญชนะซากินะฮฺ เชน “ ‫ ﺿﺮﺏ‬เปน ‫” ﺍﺿﺮﺏ‬ ฮัมซะฮฺวะซาล จะมีอยูในคําดังตอไปนี้ 1. ในคํานาม เชน คําวา “‫ﺍﺑﻨﺔ‬, ‫ ﺍﺑﻦ‬, ‫ ﺍﻣﺮُﺀﺓ“ ”ﺍﺳﻢ‬, ‫ ﺍﻣﺮ‬, ‫ ﺍﺛﻨﺘﺎﻥ‬, ‫ ”ﺍﺛﻨﺎﻥ‬กลุม “ ‫ ﺍ ُﻦ‬, ‫”ﺍﺳﺖ‬ 2. อาการนาม(‫)ﻣﺼﺪﺭ‬ของกิรยาในกลุมแมบท “ ‫ ﺍﺳﺘَـﻔﻌَﻞ‬, ‫ ﺍﻓ َﻌﻞﱠ‬, ‫ ﺍﻓَﺘﻌَﻞ‬, ‫ ”ﺍﻧﻔﻌَﻞ‬และในกริยาที่ เปนคําสั่ง (‫ )ﻓﻌﻞ ﺍﻷﻣـﺮ‬จาก กริยามุฎอริอฺ (‫ )ﻣـﻀﺎﺭﻉ‬ที่พยัญชนะที่สองของคําอานซากินะฮฺ เชน ‫ﺍﺿﺮﺏ‬ 3. อลิฟ,ลาม (‫ )اﻟــ‬กอมะรียะฮฺหรือชัมชียะฮฺ . ‫ﰲ ﺍﻟـ ﺍﻳﻤُﻦ‬ . َ ‫ ﺍﺩﺧُﻞ ﺍﹸﻧُﺘ ﺐ ﺍﹸﺳﺘُ ﺮ‬: นอกเหนือจากคําที่กลาวมา

(‫ )ﻓﺘﺤﺔ‬ฟตหะฮฺ (‫)ﺿﻤﺔ‬ฎอมมะฮฺ (‫)ﻛﺴﺮﺓ‬กัสเราะฮฺ

: ‫ﺣﺮﻛﺘﺎﻫﺎ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

135

หากเริ่มตนที่คํานั้นก็จะมีเสียงปรากฏ แตหากเปนการ -1 อานเชือมตอกับคําอื่น เสียงก็จะหายไป ไมปรากฏทั้งการอานและการเขียนในคําวา -2 .‫ﺑﺴﻢ ﺍﷲ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺍﻟﺮﺣﻴﻢ‬ (‫ ) ﺍﺑﻦ‬เมื่อถูกวางไวระหวาง ชื่อคน สองซื่อ (อลิฟก็จะ หายไป) เชน “‫”ﻋﺒﺪ ﺍﷲ ﺑﻦ ﻋﻤﺮ‬ “‫ ”ا‬หลังจาก “‫ ”ﻟـ‬เชน ‫ﻟﻠﺒَﻴﺖ‬ เมื่อ “‫ ”ا‬อานกัสเราะฮฺ หรือฎอมมะฮฺ หลัง “‫ ”أ‬อิสติฟ ฮาม (‫ )ﺍﺳﺘﻔﻬﺎﻡ‬เชน ‫ﺕ‬ َ ‫ ﺍﺳﺘَﻐﻔﺮ‬/ ‫ﺍﺳﺘ ﺮ‬

หลักการอาน

เปลี่ยนเปน อลิฟมัด (‫ )ﺍﻟﻒ ﻣﺪ‬หากฮัมซะฮฺอยูหลังฮัม -3 ซะฮฺ อิสติฟฮาม เชน “‫”ﺁﷲ ﺧﲑ ﺃﻣﺎ ﻳﺸﺮﻛﻮﻥ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

136

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ภาคผนวก ในภาคผนวกจะกลาวถึงในหลายเรื่อง บางเรื่องจะไมเกี่ยวกับหลักการอานในวิชาตัจวีดโดยตรง แต เปนเรื่องที่ผูอานจะไดประโยชน ขณะอานอัลกุรอาน เรื่องที่ 1 ระดับการอานทั้ง 4 ระดับ 1. การอานแบบตัรตีล (‫ـﻞ‬ ‫ )ﺍﻟﺘﺮﺗﻴــ‬เปนระดับการอานที่ดีที่สุด เปนการอานอยางตั้งใจ ชา ๆ อานไป พรอม ๆ กับการทําความเขาใจความหมาย 2. การอานแบบ ฮัดรฺ (‫ )ﺍﳊﺪﺭ‬ตรงกันขามกับการอานแบบ ตัรตีล อัลฮัดรฺ มีความหมายวา “รวมเร็ว” ในการอาน แตจะยังรักษาไวซึ่งระดับการอานที่ถูกตองสั้นยาวและหลักการอานตามหลักวิชาตัจวีด สวนการ อานที่ทําใหผิดหลักการอานนั้นถือวาเปนการอานที่ผิด จะตองพึงระวัง 3. อัตตัดวีร (‫ )ﺍﻟﺘﺪﻭﻳﺮ‬เปนการอานในระดับปานกลางซึ่งอยูระหวางการอานแบบตัรตีนและอัลฮัดรฺ 4. อัลตะฮฺกีก(‫ )ﺍﻟﺘﺤﻘﻴﻖ‬เปนการอานที่ยาวและชาที่สุด โดยยึดหลักการอานที่เปนที่สุดทั้งหมด เปน การอานไปอยางชา ๆ การอานในระดับนี้มักจะใชสําหรับฝกปฏิบัติหรือออกเสียงใหถูกหลักการอานตาม หลักวิชาตัจวีดทั้งหมด เรื่องที่ 2 เรื่องของแบบอักษรในคัมภีรอัลกุรอาน ในสมัยกอนอาลักษณที่ทําการบันทึกอัลวะหฺยูซึ่งเปนอัลกุรอานที่อัลลอฮทรงประทานมายังทานนบี  ซึ่งบันทึกลงในแผนบันทึกหลายชนิด เชน แผนไม แผนกระดูก แผนหิน เปนตน ในสมัยของทานอาบีย บักร ทานไดทําการรวบรวมอัลกุรอานทั้งหมดซึ่งกระจัดกระจายอยูตามแผนบันทึกตาง ๆ มาไวในที่เดียวกัน ตอมาในสมัยของทานอุสมาน ทานไดทําการคัดลอกอัลกุรอานจากแผนบันทึกตาง ๆ ซึ่งทานอาบียบักรได รวบรวมไว ออกมาเปนหลายเลม โดยใชรูปแบบการเขียนที่เปนแบบเดียวกันทั้งหมด จนที่เปนที่รูจักกันวา เปนคัมภีรอัลกุรอานตามแบบของอุสมาน ( ‫ )ﺭﺳﻢ ﻋﺜﻤﺎ‬และการเขียนตามรูปแบบของทานก็ไดถูกถายทอด มายังพวกเราจนกระทั่งยังคงอยูจนถึงทุกวันนี้ และรูปแบบการเขียนของทานอุสมานนี่เองที่ใชสําหรับการ เขียนคัมภีรอัลกุรอานในปจจุบัน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

137

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

และการเขียนตามแบบของอุสมานก็ขามยุคขามสมัยมาจนผานเลยศตวรรษที่สิบสี่ ขามเลยยุคของ โลกแหงอิสลามมาจนกระทั่งถึงปจจุบัน ยุคสมัยที่หลักการเขียนไดวิวัฒนาการในการเขียนอื่น ๆ ที่ไมใชอัล กุรอาน จากยุคหนึ่งไปยั งอีกยุคหนึ่ง จากเมืองหนึ่งไปยังอีกเมืองหนึ่ ง และผลของวิวัฒนาการเหลานั้น กลายเปนวาเกิดขอแตกตางขึ้นมากมายระหวางการเขียนตามแบบของอุสมานและการเขียนตามแบบอื่นทั่วๆ ไปที่ไมใชอัลกุรอาน แตในที่นี้ไมไดมีจุดประสงคที่จะเปรียบเทียบระหวางสองรูปแบบแตประการใด และ ไมไดมีจุดประสงคที่จะใหเหตุผลของความแตกตางระหวางแบบการเขียนทั้งสอง แตที่สําคัญตองการที่จะ ใหนักอานทั้งหลายไดคิดและมองเห็นความแตกตางในบางจุด เพื่อจะไดไมกลายเปนเรื่องยาก(ในการอาน ตามรูปแบบการเขียนของอุสมาน) และจะไดไมเกิดขอผิดพลาดขณะอานอัลกุรอานตอไป 1.กลุมคําที่มีพยัญชนะบางตัวถูกตัดออกไป อยางเชน อลิฟมัด ในคําวา “ , ‫ ﺍﻟﺼﺮﺍﻁ‬, ‫ ﻣﺎﻟﻚ‬, ‫ﺍﻟﻌﺎﳌﲔ‬ ‫ ﺍﻟﺼﻮﻋﻖ‬, ‫ ”ﺍﻟﻜﺘﺎﺏ ﺭﺯﻗﻨﻬﻢ‬และคําอื่น ๆ อีกหลายคํา ในคัมภีรอัลกุรอานจะพบวา จะมีพยัญชนะ “‫ ”ا‬ตัวเล็ก ๆ กํากับอยูในที่ที่มีเสียง “‫ ”ا‬ที่ขาดหายไป หากมีเครื่องหมายดังกลาวก็แสดงวาเวลาอานออกเสียงจะตองมี เสียงของ “‫ ”ا‬อยูดวย และวายิบจะตองอานดวย “วาว มัด” (‫ )ﻭﺍﻭ ﺍﳌﺪ‬ที่ถูกตัดออกไปในบางคํา เชนคําวา “ ‫ﻱ‬ َ ‫ ﻭﻭﻭﺭ‬. ‫ﻳَﻠﻮﻭﻭﻥ‬. ‫ ”ﺩّﺍ ُﻭﻭﺩ‬ซึ่งจะพบวาคํา เหลานี้ ในตําแหลง “วาว มัด”ที่ขาดไปนั้น จะมีสัญลักษณ “‫ ”ﻭ‬ตัวเล็กกํากับอยู โดยมีวัตถุประสงคเดียวกับที่ ไดกลาวมาแลว “ยะอฺมัด ” ( ‫ )ﻳﺎﺀ ﺍﳌﺪ‬ในคํ าวา “‫ ﻭَﻟـ َﻰ ﺍﳊﻮَﺍﺭﻳﻴـ َﻦ‬. ‫ ﻳُﺤﻴﻲ‬:” ก็จ ะพบว ามี “‫ ”ﻱ‬ตัว เล็ก แสดงเป น สัญลักษณเพื่องายตอการอานตอไป พยัญชนะตัวอื่น ๆ : คําวา “‫ ”ﻧُـﺠﻲ‬เวลาอาน อานวา “‫”ﻧﻨﺠﻲ‬ 2. กลุมคําที่มีพยัญชนะเพิ่มเขามาแตไมมีการอานออกเสียง เชน คําวา “ . ‫ ﺳَﻼﺳﻼ‬. ‫ ﻭَﺛﻤُﻮﺩَﺍ ﻓﻤَﺎ ﺃﺑﻘﻰ‬. ‫ﻗﺎﻟﻮﺍ‬ ‫ ﺑﺄﻳﻴﺪ‬. ‫ﲔ‬ َ ‫ ﺃﹸﻭﻟﻮﺍ ﺍﻟﻌﻠﻢ ﻣﻦ ﱠﻧﺒَﺄﻱ ﺍﳌﹸﺮﺳَﻠ‬. ‫ ”ﻷﺃﺫَﺑﺤﻨﱠ ُﻪ‬หากสังเกต(ในคัมภีรอัลกุรอาน)จะมีสัญลักษณเปนวงกลม อยูเหนือพยัญชนะที่เพิ่มเขามา สัญลักษณเชนนี้แสดงใหเห็นวาไมตองอานออกเสียง 3. กลุมคําที่มีพยัญชนะที่ถูกตัดออกไปและมีพยัญชนะที่เปนตัวเพิ่มเขามาแตไมอานออกเสียง เชนคําวา “‫ ﺍﳊﻴـﻮﺓ‬. ‫ ﺍﻟﺰﻛـﻮﺓ‬. ‫ ﺍﻟﺼﻠـﻮﺓ‬. ‫ ”ﺃﻭﻟﺌﻚ‬พยัญชนะที่เปนตัวเพิ่ม จะมีเครื่องหมายเปนวงกลมเล็ก ๆ “{” แสดงกํากับไว หากพยัญชนะที่เพิ่มเขามาไมไดอยูในตําแหนงของพยัญชนะที่ถูกตัดออก แตหากอยูใน

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

138

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

ตําแหนงเดียวกันก็จะมีการทําสัญลักษณเปนพยัญชนะตัวเล็ก ๆ ไว เพื่อแสดงใหเห็นวามีการตัดพยัญชนะ บางตัวออกไปเหนือตําแหนงตัวที่เพิ่มเขามา เรื่องที่ 3 การสัมผัสคัมภีรอัลกุรอาน การจับตองหรือสัมผัสอัลกุรอานจําเปนตองมีน้ําละหมาดหรือไม อยางไร ? ในหนังสือฟกฮฺของมัซฮับ(สํานักคิด) มาลิก อัชชาฟอียและทานอะหมัด ไดใหทัศนะไววา วายิบตอง มีน้ํ า ละหมาด จึ ง จะสั ม ผั สหรือจั บต องอั ลกุร อานได แต มัซ ฮั บอื่ น ๆ ให ทั ศ นะไวว า ไม จํ า เป น ต อ งมีน้ํ า ละหมาด กลุมที่ใหทัศนะไววา “วายิบ”นั้น จากการศึกษาคนควาหลักฐานอางอิงและขอมูลสนับสนุนในเรื่อง นี้ไมหนักแนนพอ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจากหนังสือฟกฮฺซุนนะฮฺ ของซัยยิดซาบิก เลมที่ 1 ) สวนนักวิชาการที่ใหทัศนะไววาการจับตองหรือสัมผัสอัลกุรอานไมตองมีน้ําละหมาดนั้นไดอางอิง หลักฐานไวดังนี้ 1.ในเมื่อการอานอัลกุรอานโดยไมมีน้ําละหมาดนั้นสามารถทําได และเปนทัศนะที่นักวิชาการ มุสลิมทุกคนเห็นพองตองกันทั้งหมด แมกระทั่งเจาของทัศนะที่เห็นวาการสัมผัสคัมภีรอัลกุรอานตองมีน้ํา ละหมาด นักวิชาการมุสลิมทุกคนตางเห็นพองตองกันวาการอานอัลกุรอานเปนอีบาดะฮฺ แตการสัมผัสและ การพกพาอัลกุรอานไมใชอีบาดะฮฺ แลวทําไมสิ่งที่ไมใชอีบาดะฮฺจึงจําเปนตองมีน้ําละหมาด แตสิ่งที่เปนอีบา ดะฮฺกลับตองใหมีน้ําละหมาดกอน 2.หลักฐานที่นักวิชาการบางทานยึดถือมาเปนขอตัดสินวาจําเปนตองมีน้ําละหมาด หากตองการ สัมผัสหรือหยิบฉวยอัลกุรอานคืออายะฮฺที่วา “‫ ”" ﻻ َﻳﻤَﺴﻪُ ﺇ ﱠﻻ ﺍﳌﹸﻄﻬﱠﺮﻭﻥ‬ซึ่งมีความหมายวา “ไม (มีผูใด) สัมผัสกุรอานได นอกจากบรรดาผูที่มีความสะอาดแลวเทานั้น” การอรรถาธิบายคําวา “‫( ”ﺍﳌﹸﻄﻬﱠﺮﻭﻥ‬ผูที่มี ความสะอาด) ไดอธิบายไววาหมายถึงมลาอิกะฮฺ ไมใชมนุษย ซึ่งมีอายะฮฺกอนหนาสนับสนุนความหมายให มีความหนักแนนยิ่งขึ้น โดยกลาวถึงที่มาของอัลกุรอานวาจะไมมีทางที่จะถูกเปลี่ยนแปลงอยางเด็ดขาดโดย ที่อัลลอฮทรงตรัสไววา ‫ ﱠﻻ َﻳﻤَﺴﻪُ ﺇ ﱠﻻ ﺍﳌﹸﻄ ﱠ‬. ‫ ﰲ ﻛﺘَﺎﺏ ﻣَﻜﻨُﻮﻥ‬. ُ‫ﺇﻧﱠ ُﻪ ﻟﻘﹸﺮﺁﻥ ﻛﺮﱘ‬ (80-77 ‫ َﺗ ﻳﻞﹸ ﻣﻦ ﺭﱠﺏ ﺍﻟﻌﺎﳌﲔ” )ﺍﻟﻮﺍﻗﻌﺔ‬. ‫ﻬﺮُﻭﻥ‬ “แทจริงสิ่ง (ที่นบีมุฮํามัดนํามาอาน) นั้น เปนกรุอานที่มีเกียรติที่สุด(ซึ่งถูกบันทึก) ในคําภีรที่ถูกเก็บ รักษาไว (นั่นคือ เลาฮุลมะฮ. ฟูซ)ไม (มีผูใด) สัมผัสกุรอานได นอกจากบรรดาผูที่มีความสะอาดแลวอัลกุ รอานนั้น ถูกประทานลงมาจากองคอภิบาลแหงโลกทั้งหลาย”

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

139

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

การใชคําวา “‫ ”ﺍﳌﻄﻬﺮﻭﻥ‬ไมไดหมายถึง “‫ ”ﺍ ﹸﳌﺘَﻄﻬﺮﻭﻥ‬ซึ่งนักวิชาตางยืนยันแลววา หมายถึงมลาอิกะฮฺ เพราะผูที่มีความสะอาดแลวคือผูที่ไดรับการชําระใหสะอาดจากผูอื่น สวนผูที่มีน้ําละหมาดจะตองใชคําวา “‫ ”ﻣُﺘَﻄﻬﺮ‬ดังที่อัลลอฮไดทรงกลาวไวในอัลกุรอานวา “‫ﲔ ﻭﻳُﺤﺐ " ﺍ ﹸﳌﺘَﻄﻬﺮﻳ َﻦ‬ َ ‫ ”ﺇ ﱠﻥ ﺍﷲ ﻳُﺤﺐ ﺍﻟﱠﺘﻮﱠﺍﺑ‬อีกอายะฮฺ หนึ่งอัลลอฮทรงตรัสไววา .(222 : ‫ﻭﻻ ﺗَﻘﺮَﺑﻮﺍ ﺍﻟﻨﺴﺎ َﺀ َﺣﺘﱠﻰ ﻳَﻄﻬُﺮﻥ ﻓ ﺫﺍ ﺗَﻄﻬﱠﺮﻥ ﻓﺄﺗُﻮ ُﻫ ﱠﻦ ﻣﻦ ﺣَﻴﺚﹸ ﺃ َﻣ َﺮﻛﹸﻢُ ﺍﷲ )ﺍﻟﺒﻘﺮﺓ‬ ดังนัน้ เจาทั้งหลายจงแยกตัวออกจากสตรี (ผูเปนภริยา) ในชวงมีระดู และพวกเจาจงอยาเขาใกลพวก นางจนกวาพวกนางจะสะอาด(ในที่นี้หมายถึงการอาบน้ําชําระรางกาย) ดังนัน้ เมื่อพวกนามมีความสะอาด แลว พวกเจาก็จงเขาหานางเถิด ตามที่อัลเลาะฮฺไดทรงบัญชาแกพวกเจา นอกจากนั้นก็ยังมีฮาดิษทีเ่ ปนหลักฐานอางอิง ซึ่งทานรอซูลุลลอฮ  ไดกลาวไวในสารของทานที่ เขียนถึงชาวเยแมนวา “ُ‫( ”ﻻ َﻳ َﻤ ﺍﻟﻘﹸﺮﺁﻥ ﺇ ﱠﻻ ﻃﺎﻫﺮ‬อยาไดสัมผัสอัลกุรอานยกเวนผูที่มคี วามบริสุทธิ์สะอาด แลวเทานัน้ ) ซึง่ ก็ไมไดเปนหลักฐานยืนยันวาตองมีน้ําละหมาด เพราะในที่นี้คําวา “‫ ”ﻃﺎﻫﺮ‬หมายถึง “มุสลิม” ซึ่งมีความหมายตรงกันขามกับคําวา “ ” ที่ใชสําหรับบอกลักษณะของกาเฟร ดังที่ไดมีการกลาวไวในอัล กุรอานวา “ُ ‫ﺠ‬ َ ‫”ﺇﳕﺎ ﺍﳌﹸﺸﺮﻛﻮﻥ َﻧ‬ ขอควรจํา บรรดานักวิชาการที่รวมกันศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ไมมีใครแมแตสักทานเดียวที่ เรียกรองให ไมตองเอาน้ําละหมาดขณะอานหรือสัมผัสอัลกุรอาน แตในที่นี้นักวิชาการเหลานี้ตองการยืนยัน เกี่ยวกับหลักการหรือขอบัญญัติทางศาสนา เกี่ยวกับหลักฐานอางอิงซึ่งเปนจิตวิญญาณของการสนับสนุน หลักการใหเปนที่กระจางชัดเทานั้น และที่สําคัญคือตองการที่จะแกปญหาความยากลําบากในการปฏิบัติแก มุสลิมเทานั้น ซึ่งหลายคนปฏิเสธ(ไมกลา)ที่จะอานหรือสัมผัสคัมภีรอัลกุรอาน (ทั้ง ๆ ที่เขาเองก็รักที่จะอาน) ในขณะที่เขาเองไมมีน้ําละหมาด ซึ่งบางครั้งอาจจะยากลําบากสําหรับที่จะไปเอาน้ําละหมาดใหม การเอาน้ําละหมาดเพื่อที่จะอานอัลกุรอาน (ไมวาจะเปนการอานแบบทองจําหรืออานจากคัมภีร) เปนเพียงซูนัต ที่คิดวานาจะอยูในกรอบของหลักการสองประการ คือวายิบโดยที่ไมมีหลักฐานปรากฏยืนยัน ซึ่งก็สรางความยากลําบากในการปฏิบัติแกผูคนพอสมควร ซึ่งอัลลอฮเองไดทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา . ( 78 :

‫ )ﺍﳊ‬. "

‫ﻣَﺎ َﺟﻌَﻞ ﻋَﻠﻴﻜﹸﻢ ﰲ ﺍﻟﺪﻳﻦ ﻣﻦ َﺣ َﺮ‬

ในเรื่องของศาสนา (อัลลอฮ)จะไมทําใหพวกเจารูสึกยากลําบาก

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

140

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

เรื่องที่ 4 มารยาทในการอานอัลกุรอาน นักวิชการมุสลิมไดเขียนเกี่ยวกับมารยาทในการอานอัลกุรอานไวมากมายเพื่อใหมุสลิมยึดถือมา ปฏิบัติขณะอานอัลกุรอาน ซึ่งขอเขียนของนักวิชาการเหลานี้แตกตางกันออกไป บางก็เขียนไวอยางละเอียดถี่ ถวน บางก็เขียนไวพอสังเขป แตสําหรับในที่นี้จะขอนํามากลาวถึงแตเพียงสั้น ๆ เพื่อใหมุสลิมสามารถถือ ปฏิบัติได เพราะหากมุสลิมเองตระหนักวาตัวเขาเองกําลังอยูตอหนาองคอภิบาลของพวกเขา ขณะอานอัลกุร อาน เขาเองก็จะตองตระหนักอยูในตัวแลว ไมตองใหมีการสั่งสอนเพิ่มเติมในเรื่องของมารยาทที่จะตองถือ ปฏิบัติแตอยางใด เพื่อใหเขาสามารถยึดถือเอามารยาทขณะเขาเฝาองคอภิบาลแหงสากลโลก ก็ใหลอง เปรียบเทียบวา ขณะที่เขาเองเขาเฝาเขาพบผูหลักผูใหญ เขาเองจะตองมีการเตรียมตัว เตรียมพรอมใหดีที่สุด เทาที่จะสามารถกระทําได การเขาพบเขาเฝาจะตองเต็มเปยมไปดวยมารยาทที่เหมาะสม เพื่อแสดงออกถึง การแสดงความเคารพเทิดทูน นี่เปนแคผูใหญในบานเมืองเทานั้น กับองคอภิบาลผูทรงอุปถัมภฟากฟาและ แผนดิ น ผูทรงอํ านาจและพลัง ผูทรงเมตตาและทรงสู งสง พระองค คือผูทรงสรางชี วิต ผูทรงรอบรู ต อ ธรรมชาติของชีวิต ผูทรงบัญชาใหเราระลึกถึงพระองค เพราะการระลึกถึงอัลลอฮนั้นจะยังประโยชนใหกับ บรรดาผูศรัทธาทั้งมวล มารยาทในการอานอัลกุรอาน 1. มีเจตนาตออัลลอฮที่บริสุทธิ์ มีความตั้งใจที่จะอิบาดะฮฺตอพระองค ใหมีความรูสึกวาเปนการเขา เฝาอัลลอฮ ดวย(การอาน)อัลกุรอานเลมนี้ 2. เตรียมพรอมเพื่อการอานอัลกุรอานดวยการชําระลางรางกายใหสะอาดบริสุทธิ์ (ซุนัต) ใสเครื่อง หอม และนั่งในที่ที่สะอาด หันหนาไปทางกิบลัต ทําจิตใจใหปลอดโปรง 3. ขณะอาน ใหอานออกเสียงใหไพเราะถูกตอง (ตามหลักวิชาตัจวีด) นาฟง (โดยไมเนนทําลอง แบบเพลง) อานพรอม ๆ กับจิตใจที่แนวแน นอบนอมถอมตน 4. อานพรอม ๆ กับทําความเขาใจเนื้อหาสาระที่อาน เพื่อใหสามารถเขาใจความหมายในเรื่องของ ขาวดี ขาวราย พรอม ๆ กับการประเมินตนเองเกี่ยวกับการกระทําของตนเอง และที่ที่ตนเองจะคืนกลับในวัน โลกหนา โดยประเมินไปตามเรื่ องราวที่อานจากอายะฮฺ เ กี่ย วกับกุศลผลบุญหรือการลงโทษที่จะได รับ อัลลอฮทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา ‫ﺇﱠﻧﻤﺎ ﺍﳌﹸﺆﻣﻨُﻮﻥ ﺍﻟﱠﺬﻳ َﻦ ﺇﺫﺍ ﺫﹸﻛ َﺮ ﺍﷲ ﻭَﺟﻠﺖ ﻗﻠﹸﻮُﺑﻬُﻢ ﻭﺇﺫﺍ ﺗُﻠﻴَﺖ ﻋَﻠﻴﻬﻢ ﺀﺍﻳﺎُﺗ ُﻪ ﺯَﺍ َﺩﺗﻬُﻢ ﺇ ﺎﻧﹰﺎ َﻭﻋَﻠـﻰ ﺭَﺑﻬـﻢ‬ ( 2 ‫") ﺍﻷﻧﻔﺎﻝ ـ‬

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

‫َﻳَﺘ َﻮﻛﱠﻠﹸﻮﻥ‬


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

141

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

อันที่จริง บรรดาผูศรัทธาไดแกบรรดาผูซึ่งเมื่อมีการกลาวรําลึกถึงอัลเลาะฮฺ หัวใจของพวกเขาก็ สะทกสะทาน และเมื่อมีการอันเชิญโองการตางๆ ของพระองค โองการเหลานั้นก็เพิ่มพูนแกพวกเขาซึ่ง ศรัทธาภาพ และพวกเขามีจิตมอบหมายตอองคอภิบาลของพวกเขา ‫ﻚ ﺍﻷﻣﺜﺎ ﹸﻝ ﻧﻀﺮﺑُﻬﺎ ﻟﻠﻨﱠﺎﺱ‬ َ ‫" ﻟﻮ ﺃﻧﺰﻟﻨﺎ ﻫﺬﺍ ﺍﻟﻘﹸﺮﺁﻥ ﻋﻠﻰ َﺟﺒَﻞ ﻟﺮَﺃﻳَﺘﻪُ ﺧَﺎﺷﻌﹰﺎ ﻣﺘﺼﺪﻋﹰﺎ ﻣﻦ ﺧَﺸﻴَﺔ ﺍﷲ ﻭَﺗﻠ‬ .(21 ‫ﻜﺮُﻭﻥ " )ﺍﳊﺸﺮ ـ‬ ‫ﻟ َﻌﱠﻠﻬُﻢ َﻳﺘَﻔ ﱠ‬ มาดแมนเราไดลงอัลกุรอานนี้มายังภูเขา แนนอนเจาก็จะเห็นมันนอบนอม และแตกออกเปนเสี่ยงๆ เพราะความยําเกรงอัลเลาะฮฺ และอุทาหรณเหลานั้น เรายกมันมาแสดงแกมนุษยเพื่อพวกเขาจักไดตริตรอง 5. ออกเสียงอานใหเสียงดังฟงชัดเจนหากไมมีอะไรเปนอุปสรรคขัดขวาง เพราะการอานดวยเสียง อันดังฟงชัดนั้นจะชวยกระตุนใหจิตใจตื่นตัว และเหออกมาจากความยุงเหยิงตาง ๆ หรือบางครั้งอาจจะยัง ประโยชนกับผูที่ไดยินอีกดวย 6.ใหเริ่มตนการอานดวยการขอความคุมครองจากอัลลอฮใหรอดพนจากชัยฏอนมารราย (ดวยการ อาน... ‫ ﺃﻋﻮﺫ ﺑﺎﷲ ﻣﻦ ﺍﻟﺸﻴﻄﺎﻥ ﺍﻟﺮﺟﻴﻢ‬จากนั้นก็ใหอาน “ ‫ ”ﺑﺴﻢ ﺍﷲ‬ในกรณีที่การอานเริ่มอานมาจากตนซู เราะฮฺ หรือทุกครั้งที่อานซูเราะฮฺใหม ยกเวนซูเราะฮฺ อัลบะรออะฮฺ หรือซูเราะฮฺ อัตเตาบะอฺ 7.เมื่ออานจบ หรือตองการยุติการอานใหกลาววา “‫”ﺻﺪﻕ ﺍﷲ ﺍﻟﻌﻈﻴﻢ ﻭَﺑﻠﱠ ﺭﺳﻮﻟﻪ ﺍﻟﻜﺮﱘ ﻭ ﻦ ﻋﻠﻰ ﺫﻟﻚ ﻣﻦ ﺍﻟﺸﺎﻫﺪﻳﻦ ﺍﻟﺸﺎﻛﺮﻳﻦ‬ ซึ่งมีความหมายวา “พระดํารัสแหงอัลลอฮทรงสัจจริงเสมอ และศาสนทูตแหงพระองคไดทําการ เผยแพร (สาระแหงอัลกุรอานแลว) พวกเราขอเปนพยานในเรื่องดังกลาวและขอขอบคุณยิ่ง” 8. ไมควรใหมีคําพูดหรือการกระทําอยางอื่นมาสกัดกั้นหรือสอดแทรกเขามาขณะอานอัลกุร ยกเวน ในภาวะจําเปน 9. การอานอัลกุรอานเปนอิบาดะฮฺ (ศาสนกิจที่จะไดรับกุศลผลบุญ) ซึ่งอัลลอฮไดทรงสัญญากับผูที่ อานอัลกุรอานวาจะตอบแทนผลบุญใหสิบผลบุญตอหนึ่งตัวอักษรที่อาน ดวยเหตุนี้เองมุสลิมจึงควรที่จะอยู กับการอานอัลกุรอานทุกวันทุกเวลา ควรใหอานกุรอานใหไดหนึ่งจบ อยางนอยเดือนละครั้ง หรือทางที่ดี ควรจะตารางการอานการทองจําอัลกุรอานไวใหชัดเจน โดยกําหนดทองเทาที่ตนเองสามารถจะกระทําได เชนวันละหนึ่งหรือสองอายะฮฺ 10.สําหรับมุสลิมแลวเมื่ออานอัลกุรอานหมดเลมไปแลว ควรกลับมาอานใหมใหหลายอายะฮฺเพื่อ เปนการยืนยันวาจะอานตามติดตอไป เพื่อใหจบเลมในครั้งตอ ๆ ไป

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

142

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

11. สําหรับมุสลิมทุกคนทางที่ดีควรมีหองสมุดสวนตัว และในหองสมุดควรมีหนังสือเกี่ยวกับการ อรรถาธิบายอัลกุรอานฉบับงาย ๆ ที่สามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (อยางเชน ตัฟซีร อิบนุล กะซิร , ตัฟซีร อัล วาฎิหฺ ของ ทานมุฮัมหมัด มะฮฺมูด ฮิญาซิย หรือ ฝซิลาลิลกุรอาน ของทานซัยยิด กุฏบ) และหนังสือเกี่ยวกับ ความรูที่วาดวยอัลกุรอาน (เชน วิชาที่วาดวยอัลกุรอานวิทยา ของทานชัยคฺ ซุบฮิ อัซซอลิฮฺ,มะบาฮิษ ฟยฺ อุลู มมุลกุรอาน ของ ชัยคฺ มันนาอฺ อัลกอฏฏอน หนังสือ อัลมุญัม อัลมุฟะรอซ ลิอัลฟาซุลกุรอานิลกะรีม ของ ทาน มุฮําหมัด ฟูอาด อับดุลบากีย) หนังสือเหลานี้ทั้งหมดจะชวยใหเราสามารถเขาใจความหมายของอัลกุ รานและสามารถนําบัญญัติตาง ๆ ที่มีอยูในอัลกุรอานออกมาใชไดดียิ่งขึ้น เมื่อคราวจําเปน เรื่องที่ 6 เครื่องหมายและสัญลักษณที่ใชในคัมภีรอัลกุรอาน การเขียนเลขศูนย ในลักษณะวงรีเหนือพยัญชนะอิลละฮฺ แสดงใหเห็นวาพยัญชนะตัวนั้นเปนตัวที่ เพิ่มเขามา ไมตองอานออกเสียงขณะอานวะซาลและอานวกัฟ เชน ในกลุมคําดังตอไปนี้ ‫ ﺃﹸﻭﻟﹸـﻮﺍ‬. ‫ﻚ‬ َ ‫ ﺃﹸﻭﻟﺌ‬. ‫ ﺇﱠﻧ ﺃﻋﺘَﺪﻧَﺎ ﻟﻠﻜﺎﻓﺮﻳ َﻦ ﺳَﻼﺳﻼ‬. ‫ ﻭَﺛﻤُﻮﺩﺍ ﻓﻤَﺎ ﺃﺑﻘﻰ‬. ُ‫ﺤﱠﻨﻪ‬ َ ‫ ﻷﺍﺫَﺑ‬. ‫ﺻﺤُﻔﺎ‬ ُ ‫ ﻳﺘﻠﻮﺍ‬. ‫ﻗﺎﻟﻮﺍ‬ . ‫ َﺑﻨَﻴﻨَﺎﻫﺎ ﺑﺄﻳﻴﺪ‬. ‫ﲔ‬ َ ‫ ﻣﻦ ﻧﱠﺒ ﻱ ﺍﳌﹸﺮﺳَﻠ‬. ‫ﺍﻟﻌﻠﻢ‬ นอกจากนั้นก็ยังมีสัญลักษณวงกลมเหนือตัว ‫ ا‬และหลังจาก “‫ ”ا‬เปนพยัญชนะที่มีสระ (‫ )ﻣﺘﺤﺮﻙ‬เปน การบงบอกใหเขาใจวา เปนตัวเพิ่ม (ตองอานออกเสียง) เมื่อตองอานวะซัล (อานตอไมหยุด) และเวลาวกัฟ จะไมมี(เสียงตัวนั้นดังออกมา) เชน คําตอไปนี้

. ‫ ﻛﺎﻧﺖ ﻗﻮَﺍﺭﻳﺮَﺍ ﻣﻦ ﻓﻀﱠﺔ‬. ‫ﻚ‬ َ ‫ َﻭَﺗﻈﹸﻨﻮﻥ ﺑﺎﷲ ﺍﻟﻈﻨُﻮﻧَﺎ ُﻫﻨَﺎﻟ‬. ‫ﺃﻧَﺎ ﺧَﲑ ﻣﻨ ُﻪ ﻟﻜﻨﱠﺎ ﻫُ َﻮ ﺍﷲ ﺭَﰊ‬ แตในกรณีที่มี “‫ ”ا‬และหลังจาก “‫ ”ا‬เปนพยัญชนะที่ไมมีสระ (‫ )ﺳﺎﻛﻨﺔ‬เครื่องหมายนั้นก็จะไมมี เชน ในอายะฮฺที่วา “ُ‫ ”ﺃﻧﺎ ﺍﻟﻨﱠﺬﻳﺮ‬แมวาหลักการอานจะอานเหมือนกันก็ตาม สัญลักษณหวั ของพยัญชนะ “‫”ح‬ตัวเล็ก(ไมมีจุด)1 หากอยูเหนือพยัญชนะตัวใด ก็จะเปนการบงบอก ใหรูวาตัวนัน้ เปนตัวซากินะฮฺ และจะตองอานอิซฮารฺ เชน ในคําวา . ‫ ﻭﺇﺫ ﺯَﺍﻏﺖ‬. ‫ ﻭﺧُﻀﺘُﻢ‬. ‫ﺖ‬ َ ‫ ﺃ َﻭﻋَﻈ‬. ‫ ﻧﻀﺠﺖ ُﺟﻠﹸﻮ ُﺩﻫُﻢ‬. ‫ ﻓﻘﺪ ﺿﻞ‬.‫ ﻗﺪ ﲰﻊ‬. ‫ ﺑﻌﺒﺪﻩ‬. ‫ ﻭَﻳﻨﺌـﻮﻋﻨﻪ‬. ‫ﻣﻦ ﺧﲑ‬ หากพบวาชนะตัวหนึ่งไมมเี ครื่องหมายซุกนู (ْ‫ )ــ‬ปรากฏอยู แตพยัญชนะตัวหลังกลับมีตัชดีด นัน่ แสดงวาจะตองอานอิดฆอมตัวแรกเขากับตัวที่สองอยางสมบูรณแบบ เชนคําวา 1

ดูรายละเอียดและรูปแบบการเขียนจากคัมภีรอัลกุรอาน จะไดเห็นลักษณะของสัญลักษณที่แทจริง เพราะในที่นี้การพิมพสัญลักษณอาจจะจํากัด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

143

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

‫ ﺃﻟﻢ َﻧ ﻠﹸﻘﻜﻢ‬. ‫ ﻭﻣَﻦ ﻳُﻜﺮﻫﻬﻦ‬: ‫ ﻭﻗﺎﻟﺖ ﻃﱠﺎﺋﻔﺔﹸ‬. ‫ﻚ‬ َ ‫ ﻳَﻠﻬَﺚ ﺫﱠﻟ‬. ‫ﺩﱠﻋ َﻮُﺗ ﹸﻜﻤَﺎ‬ หากพบวาไมมีทั้งเครื่องหมายซุกูนและตัชดีดในพยัญชนะตัวถัดไป นั่นก็แสดงใหเห็นวาคํานั้น จะตองอานอิคฟะอฺ อยาไดอานแบบอิซฮารฺ และไมใชอิดฆอม เชนในคําดังตอไปนี้ เชน . ‫ ﺇ ﱠﻥ َﺭﱠﺑﻬُﻢ ﺑﻬﻢ‬. ‫ ﻣﻦ ﲦﺮﺓ‬. ‫ﻣﻦ ﲢﺘﻬﺎ‬ หรืออานอิดฆอมแบบไมสมบูรณ เชนคําวา “‫ﺖ‬ َ ‫ َﺑﺴَﻄ‬. ‫ ﻓﺮﱠﻃﺘُﻢ‬. ‫ ﻣﻦ ﻭَﺍﻝ‬. ‫”ﻣَﻦ َﻳﻘﹸﻮ ﹸﻝ‬ สัญลักษณ “‫ ”م‬ตัวเล็ก แทนสระสองหรือตันวีน เหนือพยัญชนะที่ตองอานตันวีน หรือเหนือ พยัญชนะ “‫ ”ن‬ซากินะฮฺ (‫ )ﺳﺎﻛﻨﺔ‬แทนสัญลักษณซุกูน (ْ‫ )ـ‬โดยไมมีเครื่องหมายตัชดีด (ّ‫ )ـ‬เหนือตัว “‫ ”ب‬ที่ ตามมา นั่นก็แสดงใหเขาใจไดวา จะตองเปลี่ยนตันวีนหรือนูน เปนเสียงมีม (‫ )م‬เชนคําวา

. ‫ ﻣﻨﺒﺜﹰﺎ‬. ‫ ﻣﻦﻡ ﺑﻌﺪ‬. ‫ ﻛﺮﺍﻡﻡ ﺑﺮﺭﺓ‬. ‫ ﺟﺰﺍﺀﻡ ﲟﺎ ﻛﺎﻧﻮﺍ‬. ‫ﻋَﻠﻴ ُﻢﻡ ﺑﺬﺍﺕ ﺍﻟﺼﺪﻭﺭ‬ สัญลักษณสระสองตัวซอนกัน (ٌ‫ )ـًـ ـٍـ ــ‬เปนการแสดงใหเห็นวาตองอานอิซฮารฺตันวีน เชน คําวา

‫ ﻭَﻟﻜﹸﻞ ﻗﻮﻡ ﻫَﺎﺩ‬. ‫ ﻭﻻ َﺷﺮَﺍﺑﹰﺎ ﺇﻻ‬. ‫ﲰﻴﻊ ﻋَﻠﻴﻢ‬ ในกรณีที่มีสระสอง (‫ )ـ ًـ ـ ٍـ ـ ٌـ‬แลวตามมาดวยพยัญชนะที่มีตัชดีด (ّ‫ )ـ‬แสดงวา พยัญชนะตัวนั้นตอง อานอิดฆอม เชนคําวา . ‫ ُﻭﺟُﻮﻩ ﻳﻮﻣﺌﺬ ﻧﱠﺎﻋﻤ ﹸﺔ‬. ‫ ﻏﻔﹸﻮﺭﹰﺍ ﺭﱠﺣﻴﻤﹰﺎ‬. ‫ﺴﱠﻨ َﺪﺓﹸ‬ َ‫ﺐﻣ‬ ُ ‫ﺸ‬ ُ ‫ُﺧ‬ หากมีพยัญชนะที่มีสระสองแลวตามมาดวยพยัญชนะที่ไมมีตัชดีด แสดงวาจะตองอานอิคฟะอฺ เชน ‫ ﺑﺄﻳﺪﻱ ﺳَﻔﺮَﺓ ﻛﺮَﺍﻡ‬. ‫ ﺳﺮَﺍﻋﹰﺎ ﺫﻟﻚ‬. ُ‫ﺏ ﺛﺎﻗﺐ‬ ُ ‫ ﺷﻬَﺎ‬: หรืออานอิดฆอมไมสมบูรณ เชน ‫ ُﻭﺟُﻮ ُﻩ ﻳَﻮﻣَﺌﺬ‬: ‫ ﺭَﺣﻴ ُﻢ َﻭﺩُﻭﺩ‬จึงเขียนสระสองไวในที่ของซุกูน การเขียนสัญลักษณพยัญชนะตัวเล็ก เปนการบงบอกใหรูวา มีพยัญชนะตัวนั้นถูกตัดออกไป ใน คัมภีรฉบับอุสมานีย สัญลักษณในลักษณะนี้จะตองอานออกเสียง เชน ในคําวา ‫ﺏ‬ ُ ‫ﻚ ﺍﻟﻜﺘَﺎ‬ َ ‫ ﺫﻟ‬คําวา ‫ ﺇﻟــﻔﻬﻢ‬. ‫ ﺇﻟﻰ ﺍﳊﻮَﺍﺭﻳــ َﻦ‬. ‫ ﺇ ﱠﻥ ﻭَﻟﻴـ َﻰ ﺍﷲ‬. ‫ﺖ ﻭَﻟﻲ ﰲ ﺍﻟﺪﻧﻴَﺎ‬ َ ‫ ﺃﻧ‬. ‫ﺖ‬ ُ ‫ ﻳُﺤﻲ ﻭﻳُﻤﻴ‬. ‫ ﻳَﻠ ُﻮﻭﻥ ﺃﻟﺴَﻨَﺘﻬُﻢ‬. ‫ﺩَﺍ ُﻭﻭﺩ‬ 1 .‫ﲔ‬ َ ‫ﻚ ﻧُـﺠﻲ ﺍﳌﹸﺆﻣﻨ‬ َ ‫ ﻭَﻛﺬﻟ‬. ‫ ﻛﺘَـَﺒ ُﻪ ﺑﻴَﻤﻴﻨﻪ ﻓَﻴﻘﹸﻮ ﹸﻝ‬. ‫ ﺇﻥﱠ َﺭﺑﱠ ُﻪﻭ ﻛﺎﻥ ﺑﻪ ﺑَﺼﲑﹰﺍ‬. ‫ﺭﺣﻠﺔ ﺍﻟﺸَﺘ ﺀ‬

สัญลักษณตาง ๆ ที่กลาวมาทั้งหมดบางครั้งจะพิมพออกมาใหเหมือนในคัมภีรอัลกุรอานไมได หากนักเรียนตองการดูสัญลักษณตามความเปน จริงวาแสดงไวอยางไร ก็ขอใหดูจากคัมภีรอัลกุรอานที่เขียนดวยแบบอักษรของอุสมานีย 1

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

144

เดิมทีนักวิชาการผูเชี่ยวชาญจะเขียนพยัญชนะเหลานี้ดวยสีแดง แตเนื่องจากจะเปนการยากในการ จัดพิมพจึงใชพยัญชนะตัวเล็กแทน เพื่อที่จะสื่อความหมายในทางที่ตองการ 1 เครื่องหมาย (~)ِ เหนือพยัญชนะตัวใดตัวหนึ่ง นั่นแสดงใหเห็นวาพยัญชนะตัวนั้นจะตองอานออก เสียงยาวกวามัดฏอบิอียฺ (‫ )ﻣﺪ ﻃﺒﻴﻌﻲ‬เชน ในกลุมคําดังตอไปนี้ . ‫ ﺑ َﻤ ﺃﻧﺰَﻝ‬. ‫ﺏ‬ َ ‫ ﻻ ﻳَﺴﺘَﺤﻲ ﺃﻥ ﻳَﻀﺮ‬. ‫ ﺗﺄﻭﻳﻠﻪُ ﺇﻻ ﺍﷲ‬. ‫ ﺷُﻔ َﻌﺆُﺍ‬. ‫ ﺳﻲ َﺀ ﺑﻬﻢ‬. ‫ ﹸﻗﺮُﻭﺀ‬. ‫ ﺍﻟﻄ ﻣﺔ‬$Ο!9# : สําหรับผูที่มีความเขาใจเกีย่ วกับหลักการอานตามหลักวิชาตัจวีด จะไมใชสัญลักษณทบี่ งบอกวาเปน “‫ ”ا‬ที่ถูกตัดออกไป หลังจาก “‫ ”ا‬ที่เขียนไว เชนคําวา “‫ ”ﺁﻣﻨﻮا‬ซึ่งมีการเขียนผิดกันอยางมากมาย โดยเขียนวา “‫ ”ءاﻣﻨﻮا‬เขียนโดยใช “‫ ”ء‬แลวตามมาดวย “‫”ا‬ สัญลักษณรูปวงกลมและมีตัวเลขอยูขางใน $ ∩⊇∪ หมายเลขนั้น ๆ ของซูเราะฮฺ เชน

เปนการแสดงใหเห็นวา สิ้นสุดอายะฮฺตาม

∩⊂∪ çtIö/F{$# uθèδ št∞ÏΡ$x© χÎ) ∩⊄∪ öptùΥ$#uρ y7În/tÏ9 Èe≅|Ásù ∩⊇∪ trOöθs3ø9$# š≈oΨø‹sÜôãr& !$¯ΡÎ)

สัญลักษณนี้หามนํามาวางไวในตนซูเราะฮฺอยางเด็ดขาด สัญลักษณ (*) แสดงใหเห็นวาเปนหนึ่งในสี่ของซูเราะฮฺ จึงไมพบในสวนแรกของซูเราะฮฺ อีก เครื่องหมายหนึ่งมีสัญลักษณคลายเสนตรงชี้ขึ้น()) แสดงวาเมื่ออานมาถึงตําแหนงนี้ตองซูยุด โดยจะมี เครื่องหมาย ( ) แสดงตําแหนงซูยุด (‫ )ﺳﺠﺪﺓ‬ไว Ÿω öΝèδuρ öΝÎγÎn/u‘ ωôϑpt¿2 (#θßs¬7y™uρ #Y‰£∨ß™ (#ρ”yz $pκÍ5 (#ρãÅe2èŒ #sŒÎ) tÏ%©!$# $uΖÏG≈tƒ$t↔Î/ ßÏΒ÷σム$yϑ¯ΡÎ) ∩⊇∈∪ ) šχρçÉ9õ3tFó¡o„ (As-Sajda 015)

∩⊆∪ tβρçÉ9õ3tGó¡o„ Ÿω öΝèδuρ èπs3Íׯ≈n=yϑø9$#uρ 7π−/!#yŠ ÏΒ ÇÚö‘F{$# †Îû $tΒuρ ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# ’Îû $tΒ ß‰àfó¡o„ ¬!uρ ∩∈⊃∪ ) tβρãtΒ÷σム$tΒ tβθè=yèøtƒuρ óΟÎγÏ%öθsù ÏiΒ Νåκ®5u‘ tβθèù$sƒs†

. ‫ ﺍﻟﺮﺑَـﻮﺍ‬. ‫ ﻛﻤﺸﻜﺎﻭﺓ‬. ‫ ﺍﻟﺼﻼﺓ‬: ‫ﻮ‬

‫ﻑ ﺍﳌﺘﺮﻭ ُﻙ ﺑﺪﻝ ﰲ ﺍﻟﻜﺘﺎﺑﺔ ﺍﻷﺻﻠﻴﺔ ﻋُﻮﻝ ﰲ ﺍﻟﻨﻄﻖ ﻋﻠﻰ ﺍﳊﺮﻑ ﺍﳌﻠﺤَﻖ ﻻ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﺒﺪﻝ‬ ُ ‫ ﻭﺇﺫﺍ ﻛﺎﻥ ﺍﳊﺮ‬1

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

145

การเขียนจุดไวบนตัว “‫ ”م‬กอนตัว “ّ‫ ”ن‬ทีม่ ีตัชดีดเล็กนอย อยางเชน อายะฮฺทวี่ า ‫ﻒ‬ َ ُ‫ﻚ ﻻ ﺗَﺄ َﻣﻨﱠﺎ ﻋَﻠﻰ ﻳُﻮﺳ‬ َ ‫ ﻣَﺎﻟ‬แสดงวาตองอานแบบอิชมาม (‫ )ﺍﻹ ﺎﻡ‬คือการอานแบบเมมริมฝปากทั้งสองเขา ดวยกัน เหมือคนที่ตองการอานออกเสียงฎอมมะฮฺ เพื่อแสดงใหเห็นวา ตําแหนงนั้นมีการตัดฎอมมะฮฺออกไป สัญลักษณรูปวงกลม บนพยัญชนะ “‫ ”ء‬ตัวที่สอง เชน ในคําวา “‫ أَﺍﻋﺠَﻤﻲ َﻭ َﻋﺮَﰊ‬:” เพื่องายตอการ แยกแยะระหวาง “‫ ”ا‬กับ “‫”ء‬ เครื่องหมายการ “วกัฟ ( ‫”)ﻭﻗ‬ ‫ ﻣـ‬แสดงวาการวกัฟ ในตําแหนงนีน้ ั้นจําเปน หามอานผาน เชน

. ‫ﺇﱠﻧ َﻤﺎ ﻳَﺴﺘﺠﻴﺐُ ﺍﻟﺬﻳﻦ ﻳَﺴ َﻤﻌُﻮﻥ ﻣـ ﻭَﺍﳌﻮﺗﻰ ﻳﺒﻌﹸﺜﻬُﻢ ﺍﷲ‬ ‫ ﻻ‬แสดงวาเปนตําแหนงที่หา มวกัฟ เชน .(32‫ ﻣﻦ ﺍ ﻳﺔ‬:‫ﺍﻟﱠﺬﻳ َﻦ َﺗﺘَﻮﻓﱠﺎﻫُﻢُ ﺍﳌﻼﺋﻜﺔ ﻃﻴﺒﲔﻻ ﻳﻘﻮﻟﻮﻥ ﺳَﻼﻡ ﻋَﻠﻴﻜﹸﻢُ ﺍﺩﺧﻠﻮﺍ ﺍﳉﻨﱠﺔ ﺑﻤَﺎ ﻛﹸﻨﺘُﻢ ﺗَﻌ َﻤﻠﹸﻮﻥ()ﺍﻟﻨﺤﻞ‬ ‫ ج‬แสดงวาเปนตําแหนงที่อนุญาตใหวกัฟได เชนอายะฮฺที่วา َ ‫ﻋَﻠﻴ‬ . ‫ﻚ َﻧﺒَﺄﻫُﻢ ﺑﺎﳊﻖ ﺇ ﻢ ﻓﺘَﻴ ﹸﺔ ﺀﺍﻣﻨﻮﺍ ﺑﺮَﺑﻬﻢ‬

‫ ﻧَﺤ ُﻦ َﻧ ﹸﻘ‬:

แสดงใหเห็นวาตําแหนงดังกลาวอนุญาตใหวกัฟได แตการอานวะซัลจะดีกวา เชนในอายะฮฺ ที่วา .‫ﻚ ﺑ َﲑ ﻓﻬُ َﻮ ﻋﻠﻰ ﻛﹸﻞ ﺷﻲﺀ ﻗﺪﻳﺮ‬ َ ‫( ﺇﻻ ﻫُ َﻮ ﻭﺇﻥ ﻳَﻤﺴَﺴ‬

)

‫ﻒ ﻟﻪ‬ َ ‫ ﻭﺇﻥ َﻳﻤﺴﺴﻚ ﺍﷲ ﺑﻀُﺮ ﻓﻼ ﻛﺎﺷ‬:

‫ ﻗ‬เปนสัญลักษณที่แสดงใหเห็นวาตําแหนงดังกลาวอนุญาตใหอานวกัฟได และการอานวกัฟจะ ดีกวา การอานวซัล เชน อายะฮฺที่วา . ‫ﻗﹸﻞ ﺭﱠﰊ ﺃﻋﻠﻢُ ﺑﻌﺪﱠﺗﻬﻢ ﻣﺎ ﻳَﻌﻠ ُﻤﻬُﻢ ﻏﻼ ﻗﻠﻴﻞﻗﻠﻲ ﻓﻼ ُﺗﻤَﺎﺭ ﻓﻴﻬﻢ‬ ∴∴ เปนสัญลักษณที่แสดงใหเห็นวา ทัง้ สองตําแหนงสามารถอานวกัฟได แตหากวกัฟตําแหนงหนึ่ง ตําแหนงใดแลว ตําแหนงที่สองหามอานวกัฟอีก ดังอายะฮฺที่วา ∩⊄∪ zŠÉ)−Fßϑù=Ïj9 “W‰èδ ¡ ϵ‹Ïù ¡ |=÷ƒu‘ Ÿω Ü=≈tGÅ6ø9$# y7Ï9≡sŒ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

146

วิชาอัลกุรอานและตัจวีด

สัญลักษณตาง ๆ เหลานี้ทั้งหมด จะปรากฏอยูในคัภีรอัลกุรอานที่พิมพโดยรัฐบาลคูเวต สวนคัมภีรที่ จัดพิมพในประเทศอื่นอาจจะไมมีสัญลักษณเหลานี้ปรากฏอยูก็ได (ใหนักเรียนสังเกตและศึกษาเพิ่มเติมดวย ตนเองหรื อสอบถามไดจ ากผู ที่มี ความรู เ กี่ย วกับ เรื่องนี้ โดยตรง โดยเฉพาะอยางยิ่ งภู มิปญญาทองถิ่น ที่ นักเรียนรูจัก)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.