วิชาอัลหะดีษ หลักสูตร 01

Page 1


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

1

วิชาอัลหะดีษ

1. มาตรฐานการเรียนรู ระดับชั้น และคุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรู ผูเรียนมีจรรยามารยาทที่ดีงาม และมีคุณลักษณะพื้นฐานของอิสลาม ไมวางตัวเปน ปรปกษกับหลักคําสอนของอิสลาม ระยะเวลาเรียน 1 ป (สองภาคเรียน) คุณลักษณะอันพึงประสงค มีความรูความเขาใจในหลักการพื้นฐานโดยรวมของอิสลาม ทั้งทางดานหลัก ความเชื่อ กฎหมายอิสลาม คุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ 2. จุดประสงคปลายทาง สรางความผูกพันกับสุนนะฮฺของทานเราะสูลุลลอฮฺ  ใหแนนแฟนยิ่งขึ้น บนพื้นฐานของความรูความ เขาใจ ความรัก ความครอบคลุมในหลักคําสอนของสุนนะฮฺ ผูกพันกับการแนะนําของสุนนะฮฺและปฏิบัติตาม บัญญัติของสุนนะฮฺ พรอมกับความเขาใจที่ถูกตองและสรุปเปาหมายของหะดีษที่สามารถชี้นําสําหรับ ทุกยุคทุก สมัย และกลับคืนสูสุนนะฮฺในทุกๆกิจการงาน โดยเฉพาะเวลาที่เกิดความขัดแยง 3 . จุดประสงคนําทาง 1. ทองจําตัวบทหะดีษจากหนังสือ “อัรบะอีน นะวะวียะฮฺ” จํานวนยี่สิบหะดีษ 2. ทองจําหะดีษจากหนังสือ “รียาดุศศอลิฮีน” ในแตละบทอยางนอยสามหะดีษ 3. อานสํานวนหะดีษไดอยางถูกตองแมนยํา 4. บอกชื่อผูรายงานหะดีษ แหลงที่มาของหะดีษ และระดับความถูกตองของหะดีษ 5. บอกความหมายของคําศัพทในแตละตัวบทหะดีษ 6. สรุปผลขอเท็จจริงและคุณคาทางการอบรม (ตัรบิยะฮฺ) ตามที่หะดีษไดบงชี้ไว 7. เชื่อมโยงระหวางหะดีษกับอายะฮฺอัลกุรอานที่มีความหมายทํานองเดียวกันได 8. นําหะดีษไปใชในชีวิตจริงได 9. บอกตัวอยางจากเหตุการณจริงที่สอดคลองกับความหมายของหะดีษ 10. ยกตัวอยางจากเหตุการณจริงที่ตรงกันขามกับความหมายของหะดีษ 11. วิเคราะหคุณคา และพฤติกรรมดานคุณธรรมจริยธรรมที่มีบทบาทตอชีวิตของแตละคน 12. บอกบาปใหญ และสิ่งตองหามตางๆที่ปรากฏในหะดีษ 13. บอกสาเหตุและที่มาของหะดีษเทาที่จะทําได 14. ยกหะดีษเปนหลักฐานอางอิงในสภาพการณตางๆไดอยางถูกตอง 15. รูจักหุกมทางนิติศาสตรที่ปรากฏในหะดีษ 16. ทองจําตัวบทหะดีษเทาที่จะทําได 17. รวบรวมคําชี้นําตางๆ ของทานเราะสูลุลลอฮฺ  ที่ปรากฏในหะดีษ และนําไปใชเปนวิถีการ ดําเนินชีวิตประจําวัน


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

2

วิชาอัลหะดีษ

4. จุดประสงคทักษะพิสัยและจิตพิสัย 1. สงเสริมใหมีการเชื่อมสัมพันธระหวางเครือญาติและตักเตือนจากการตัดสัมพันธกับพวกเขา 2. เชื่อมสัมพันธกับผูที่ตัดสัมพันธกับเราและใหอภัยตอผูที่อธรรมตอเรา 3. มีความรักความเอ็นดูตอลูกๆ ทั้งชายและหญิง 4. มีความเมตตาซึ่งกันและกัน 5. ชวยเปนธุระ (ใหความชวยเหลือ) แกหญิงหมาย คนยากจนและเอ็นดูตอเด็กกําพรา 6. ปฏิบัติตามสัญญาของสามีหรือภรรยา -หลังจากที่เขาหรือนางไดเสียชีวิตลง- ไดเปนอยางดี 7. ใหความสําคัญตอสิทธิของชาวมุสลิม 8. ปฏิบัติดีตอเพื่อนบาน 9. นําทรัพยสินไปบริจาคทาน 10. หางไกลจากคําพูดที่โสมม 11. ตองทําดีกับคนตางศาสนิกตราบใดที่พวกเขายอมสิโรราบใหกับเรา 12. ทําดีตอบิดามารดา 13. ขอความชวยเหลือตอบรรดาผูมีอํานาจเพื่อปลดปลอยความยากลําบากของประชาชน 14. ดํารงละหมาดในเวลาที่กําหนด โดยเฉพาะละหมาดศุบหฺ 15. มีความบริสุทธิ์ใจในการงาน 16. มอบสิทธิอันชอบธรรมแกผูที่ชอบธรรม 17. พอบานมีความนอบนอมตอสมาชิกในครอบครัวและใหความรวมมือกับพวกเขา 18. เคารพตอผูอื่น และไมเยาะเยยถากถางพวกเขา 5. เนื้อหา / สาระการเรียนรู กลุมหะดีษจากหนังสือ "อัลมุนตะค็อบ มิน อัสสุนนะฮฺ" โดยสภาสูงสุดเพื่อกิจการอิสลาม (กรุงไคโร) ทํา ความเขาใจและทองจําหะดีษ (เรื่อง มารยาทการทําความดีตอบิดามารดาและความสัมพันธกับเครือญาติ) โดยศึกษา เกี่ยวกับ ความหมาย สาระ และบทเรียนสําคัญที่ไดรับจากหะดีษ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

3

วิชาอัลหะดีษ

เรื่องมารยาท “การทําความดีตอบิดามารดาและเครือญาติ” ผลการเรียนรูที่คาดหวัง • สามารถบอกการงานที่ประเสริฐที่สุดตามที่ระบุในหะดีษ • สามารถชี้แจงทัศนะตางๆ ของอุละมาอเกี่ยวกับความหมายของคําวา “ประเสริฐที่สุด” • สามารถชี้แจงปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นกับหะดีษบทนี้กับหะดีษบทอื่นๆ ที่กลาววาการงาน ที่ ประเสริฐที่สุดคือการใหทานอาหาร • สามารถบอกความหมายของคําศัพทในหะดีษได • สามารถสรุปขอเท็จจริงและคุณคาดานคุณธรรมจริยธรรมที่ไดรับคําชี้นําจากหะดีษได บท: การทําดีตอบิดามารดาและมีสัมพันธไมตรีกับเครือญาติ ตัวบทหะดีษ @  …đ ìž ÈŽ  ž ßfl åiž  č a †č jž Çfl å ž Çfl .(1)Q P O N  óÛbÈfl mflëfl éŽ ãflbz fl jž  Ž  č aÞ Ž ìž Ó ëfl ñ ý  – Ş Ûa :Þ fl bÓ _ Ý Şu fl ëfl ŒŞ Çfl   č a óÛg k ş y fl c Ýàfl Èfl Û a ð ş c :  ï Ş jčäŞÛa o Ž Û d fl ":Þ fl bÓ  éŽ äž Çfl   aï fl™ č ‰fl

:Þ fl bÓ . č a Ýîž jč fl ïÏč …Ž bèfl v č Û a :Þ fl bÓ _ ð ş c ᪠qŽ :Þ fl bÓ  åíž †fl Ûčaìfl Û a Šş ič ᪠qŽ :Þ fl bÓ _ð ş c ᪠qŽ :Þ fl bÓ .bèfl nčÓ ëfl óÜ Çfl ð‰b‚jÛa êaë‰ ."ïãč…fl aŒfl Û éŽ mŽ…ž Œfl nfl ž a ìÛ Láž èič ïäčqfl†Ş y fl ความหมาย อัลลอฮฺทรงตรัสไวในอัลกุรอานความวา “และเราไดสั่งเสียแกมวลมนุษยใหทําดีตอบิดามารดาของเขา” จากทานอับดุลลอฮฺ บิน มัสอูด  ไดรายงานไววา (ครั้งหนึ่ง) ฉันไดเรียนถามทานนบี  วา “การงานใดหรือ ที่อัลลอฮฺทรงโปรดปรานมากที่สุด ?” ทานตอบวา “ การทําละหมาดในเวลาของมัน “ จากนั้นทานก็ถามตอไปวา “แลวมีการงานใดอีก?” ทานตอบวา “หลังจากนั้นเปนการทําดีตอบิดามารดา” ทานถามตอไปวา แลวมีการงานใด อีก? ทานตอบวา “การตอสูในหนทางของอัลลอฮฺ” จากนั้นทานอับดุลลอฮฺก็กลาววา ทานนบีไดบอกสิ่งเหลานี้แก ฉัน แมนวาฉันเรียนถามทานอีก แนนอนวาทานตองใหคําตอบแกฉัน” (บันทึกโดยอัลบุคอรีย)

(1)

สูเราะฮฺอัลอันกะบูต, อายะฮฺที่ 8

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

4

วิชาอัลหะดีษ

คําอธิบาย คําวา "มารยาท" (l @ …fl@ þ @ a) คือ การยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงาม หรือถือปฏิบัติดวยสิ่งที่ นา สรรเสริญทั้งดานคําพูดและการกระทํา หรือการจํานนตอสิ่งที่ดีงาม เชน การใหความเคารพตอผูอาวุโส และการให ความรักเอ็นดูตอผูนอย การทําดีตอบิดามารดาและมีสัมพันธไมตรีกับเครือญาติเปนสิ่งที่วาญิบตองปฏิบัติ คําวา “Šş jčÛ@a” หมายถึง ทุกๆการทําดีที่สามารถนําพาผูกระทําสูสรวงสวรรค และการมีสัมพันธไมตรี (ระหวางเครือญาติ) มีอยูหลายระดับ บางระดับจะสูงสงกวาอีกระดับหนึ่ง และระดับที่ต่ําที่สุดคือ ละทิ้งการไม พูดจาและคบคาสมาคมกับเขา ทาน อัล–กุรฏบีย ไดอธิบายวา “Ꭰy č ŠŞ Ûa” (อัร-เราะหิม) เปนชื่อเรียกที่ครอบคลุมเครือญาติทุกระดับชั้น โดย ไมมีการแยกแยะวาจะเปนญาติ (ผูใกลชิด) ที่ไมสามารถแตงงานกันได (มะหฺร็อม) หรือญาติหางๆ อับดุลลอฮฺ บิน มัสอูด  เปนฟุเกาะฮาอเศาะหาบะฮฺ (เศาะหาบะฮฺที่เชี่ยวชาญดานนิติศาสตรอิสลาม) ทานหนึ่ง ทานเปนผูหนึ่งที่รวมทําสงครามในสมรภูมิบะดัร และสงครามอื่นๆทั้งหมด ทานกลาววา (ครั้งหนึ่ง) ฉันไดเรียนถามทานเราะสูลุลลอฮฺ  ฉันกลาววา “การงานใดหรือที่อัลลอฮฺทรงโปรดปรานมากที่สุด ?” ทานนบี  ตอบวา “ การละหมาดในเวลาของมัน และการละหมาดในตนเวลาจะประเสริฐที่สุด ดังที่ทานอบูดาวูด อัตติร มีซีย และอัลหากิม ไดรายงานจากทานอุมมุ ฟรวะฮฺ  วา ทานเราะสูลุลลอฮฺ  กลาววา @ÞbflàÇž þ Ž@ š fl Ï c )  aÝ (bflènčÓ ëfl ÞëŞ c ïčÏ ñý – Şfl Ûa “การงานที่ประเสริฐที่สุดคือการละหมาดในตนเวลาของมัน” และ อับดุลลอฮฺ ไดถามตอไป วา “จากนั้นมีการงานใดอีกหรือ โอทานเราะสูลุลลอฮฺ” หมายความวา หลังจากการดํารงละหมาดในเวลาแลว ยังมีการ งานใดอีกที่เปนที่โปรดปรานของอัลลอฮฺ? ทานตอบวา “การทําดีตอบิดามารดา ดวยการปฏิบัติดีประพฤติดีตอทาน ทั้งสอง ทําใหทั้งสองรูสึกมีความสุข ซึ่งอัลลอฮฺทรงตรัสในอัลกุรอานวา .(2)Q P O N ความวา “และเราไดสั่งเสียแกมวลมนุษยใหทําดีตอบิดามารดาของเขา” ทานอะหฺมัด มุสลิมและอัตติรมิซีย ไดรายงานวา มารดาของทานสะอัด บิน อบีวักกอศ คือนางหิมนะฮฺ บินตฺ สุฟยาน บิน อุมัยยะฮฺ ซึ่งเปนบุตรีของลุงอบูสุฟยาน บิน อุมัยยะฮฺ ไดสาบานไววาจะไมปริปากพูดกับ สะอัด ตลอดไป จนกวา สะอัดจะปฏิเสธตอศาสนา (ละทิ้งอิสลาม) นางไดกลาวกับสะอัดวา “เจาเชื่อวา อัลลอฮฺไดทรงสั่ง เสียแกเจาใหทําดีตอบิดามารดาของเจา ฉันเปนมารดาของเจา และฉันขอสั่งเจาดวยสิ่งนั้น (หมายถึงใหทิ้งศาสนา อิสลามเสีย) ดังนั้นอายะฮฺนี้จึงถูกประทานลงมา ซึ่งเปนการสั่งใหพวกเราปฏิบัติดีตอบิดามารดา หรือการกระทํา ใดๆที่เปนสิ่งที่ดี (และไมขัดกับหลักการของอิสลาม) และอายะฮฺที่สมบูรณ (ตอจากอายะฮฺขางตน) ในสูเราะฮฺ อัล อันกะบูตคือ (2)

สูเราะฮฺอัลอันกะบูต, อายะฮฺที่ 8

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลหะดีษ

5

` _ ^] \ [ Z Y X W V U T S { . (3)z e d c b a

ความวา “และถาทั้งสองบังคับเจาเพื่อใหตั้งภาคีในสิ่งที่เจาไมมีความรู เจาก็อยาปฏิบัติตามเขาทั้งสอง ยัง ขาคือการกลับของพวกเจา ดังนั้นขาจะแจงแกพวกเขาในสิ่งที่พวกเจาไดกระทําไว” ดังนั้นความหมายที่ถูกตองของอายะฮฺคือการสั่งเสียใหทําดีตอบิดามารดา และสั่งใหเชื่อฟงทาน ทั้งสอง ถึงแมวาทานทั้งสองจะเปนคนตางศาสนาก็ตาม ยกเวนเมื่อทานทั้งสองสั่งใหปฏิบัติในสิ่งที่เปนการทรยศและตั้ง ภาคีตออัลลอฮฺ – ดังที่มารดาของสะอัดไดสั่งสะอัด (ใหละทิ้งอิสลามและกลับไปเปนผูที่บูชาเจว็ดเหมือนเดิม) ใน กรณีเชนนี้จําเปนตองขัดขืนและไมปฏิบัติตามคําสั่งของทานทั้งสองอยางเด็ดขาด อายะฮฺนี้ไดแจกแจงรายละเอียดในสิ่งที่ไดกลาวไวโดยรวมในอายะฮฺอื่น เกี่ยวกับการทําดีตอบิดามารดา เชนเดียวกับที่ไดกลาวไวในหะดีษบทนี้เกี่ยวกับคําสั่งใหทําดีตอทานทั้งสอง ซึ่งเปนคําสั่งแบบกวางๆ และอายะฮฺนี้ ก็ไดกลาวแจกแจงถึงรายละเอียดของมัน ทานอัลบุคอรีย มุสลิม อบูดาวูด และอันนะสาอีย ไดรายงานจากทานอาลี  วา ทานเราะสูลุลลอฮฺ  ไดกลาวไววา ((Ò č 뎊Ȟ àfl Ûa ïčÏ òÇfl bİÛa bflàãŞg L č a òč îfl– č Èž ßfl ïčÏ †đ y flþ  ò Çfl b ü  )) “ไมมีการเชื่อฟงใดๆตอผูใดก็ตาม ในสิ่งที่เปนการทรยศตออัลลอฮฺ แนแท การเชื่อฟงจะเกิดขึ้นในสิ่งที่ เปนความดี (และสอดคลองกับบัญญัติศาสนา) เทานั้น” อีหมาม อะหฺมัด และอัลหากิม ไดรายงานจากทานอิมรอน บิน หุศ็อยนฺ และทานอัลหะกัม บิน อัมรฺ อัลฆิ ฟารีย  วา ทานเราะสูลุลลอฮฺ  ไดกลาวไววา ((ÕÛčb¨a òč îč–Èž ßfl ïčÏ Ö  ìÜ‚ ž àfl Ûč ò Çfl b ü  )) “ไมมีการเชื่อฟงใดๆตอบรรดาสิ่งที่ถูกสราง (มัคลูก) ในสิ่งที่เปนการทรยศตอพระผูทรงสราง” การทําดีตอบิดามารดา ครอบคลุมการทําดีดีตอมิตรสหายของทานทั้งสองดวย ดังที่ไดมีการกลาวไวใน เศาะหีหฺอัลบุคอรียและมุสลิม และในวรรณกรรมอาหรับมีลํานําบทหนึ่งกลาวไววา ÝÈfl Ð mfl áž Û æž g Ú  biflc o fl Ô Ô Çfl †ž Ô Ûëfl éŽ nflîž Ô Û s Ž îž y fl Ù  îž ičc Ý fl îž Üč  fl âž Š× c "จงใหเกียรติตอผูเปนที่รัก (มิตรรัก) ของบิดาทาน ทุกแหงที่พานพบ แทจริงทานไดอกตัญูตอบิดาทานแลวหากทานไมกระทํา" ในอายะฮฺที่อัลลอฮฺทรงตรัสไววา (4)

(3) (4)

zt s r q{

สูเราะฮฺอัลอันกะบูต, อายะฮฺที่ 8 สูเราะฮฺลุกมาน, อายะฮฺที่ 14

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

6

วิชาอัลหะดีษ

ความวา "เพื่อใหเจาขอบคุณขา และบิดามารดาของเจา" ทานสุฟยาน บิน อุยัยนะฮฺ ไดอธิบายความหมายของอายะฮฺนี้วา "ผูใดทําละหมาดทั้งหาเวลา แสดงวาเขา ไดขอบคุณอัลลอฮฺแลว และผูใดขอดุอาตออัลลอฮฺใหกับบิดามารดาทั้งสองหลังการละหมาด แสดงวาเขาได ขอบคุณตอบุคคลทั้งสองแลว ทานอับดุลลอฮฺไดกลาววา ฉันไดเรียนถามตอไปวา “จากนั้นมีการงานใดอีก” ทานเราะสูลุลลอฮฺ  ตอบ วา “การญิฮาด (ตอสู) ในหนทางของอัลลอฮฺ” สวนหนึ่งของการญิฮาด (ตอสู) ในหนทางของอัลลอฮฺ คือการตอสูเพื่อปกปองแผนดินเกิดที่ตนสามารถ ภักดีตออัลลอฮฺ เพื่อใหเกิดความปลอดภัย ทั้งในชีวิต ครอบครัว เกียรติยศ และทรัพยสิน สาเหตุที่ไดกลาวถึงการทําดีตอบิดามารดากอนการญิฮาด เนื่องจากวาการญิฮาดหรือการตอสูในหนทาง ของอัลลอฮฺจะขึ้นอยูกับการอนุญาตของบิดามารดา เพราะสวนหนึ่งของการทําดีตอบิดามารดา คือการขออนุญาต ตอทานทั้งสองเพื่อออกไปทําญิฮาด เพราะมีหลักฐานที่ถูกตองไดหามออกไปญิฮาดโดยปราศจากการยินยอมของ ทานทั้งสอง และเชนเดียวกับที่ผูทําดีตอบิดามารดาเห็นวาการทําดีของเขาตอทานทั้งสองนั้นคือการตอบแทนในสิ่ง ที่ทานทั้งสองไดกระทําไวตอตน เสมือนกับวา ไมมีความประเสริฐใดๆอีกแลวสําหรับเขาที่เหนือกวาการทําดีตอ ทานทั้งสอง ดวยเหตุนี้ จึงเตือนไวดวยการใหความสําคัญกับการทําดีตอบิดามารดากอนการญิฮาด เพื่อเปนการ ยืนยันถึงความประเสริฐของการทําดีตอทานทั้งสอง ทาน อับดุลลอฮฺ กลาววา “ทานเราะสูลุลลอฮฺ  ไดบอกสิ่งเหลานี้แกฉัน" หมายถึง ดวยคําตอบทั้งสามที่ มีระบุในหะดีษขางตน คําพูดดังกลาวเปนการประมาณการและยืนยันในคําตอบเหลานั้น ทั้งยังเปนการยืนยันวา ทานอับดุลลอฮฺ  บิน มัสอูดไดเรียนถามทานนบี  ดวยตัวเอง และไดรับฟงคําตอบจากทานนบี  ดวยตัวเอง อีกเชนกัน ทานอับดุลลอฮฺ  กลาววา "แมนวาฉันเรียนถามทานอีก" ถึงการงานอื่น ๆเชนเดียวกันนี้ นั่นคือ ลําดับการ งานที่ประเสริฐที่สุด หรือคําถามทั่วๆไปที่จําเปนตองทราบคําตอบ "แนนอนวา ทานตองใหคําตอบแกฉันอีก" ทานอัลกอศฏ็อลลานีย ไดกลาวไวในชัรหฺ อัลบุคอรีย วา ไดเกิดขอสงสัยเกี่ยวกับสิ่งที่มีระบุในบทการ ศรัทธาวา "การใหทานอาหารเปนการงานที่ประเสริฐที่สุด" และ "การงานที่อัลลอฮฺทรงโปรดปรานที่สุดคือ การตั้ง มั่นและยืนหยัดในงาน" และอื่นๆ พรอมกับคําพูดในบทนี้ที่กลาววา "การงานที่ประเสริฐที่สุด และเปนที่โปรด ปรานของอัลลอฮฺที่สุดคือการดํารงละหมาดในเวลาของมัน" (ซึ่งดูเหมือนจะขัดแยงกัน) สามารถตอบขอสงสัยในประเด็นดังกลาววา การตอบคําถาม จะแตกตางกันออกไปตามสภาพการณของผู ถาม ซึ่งทานเราะสูลุลลอฮฺ  จะทราบดีวา ชนกลุมใดมีความจําเปนตอสิ่งใด หรือสิ่งใดที่พวกเขาตองการ หรือสิ่ง ใดที่เหมาะสมกับพวกเขา หรือคําตอบที่ทานตอบจะแตกตางกันออกไปตามความแตกตางของกาลเวลา เชน การงาน ประเภทหนึ่งในชวงเวลาหนึ่งจะมีความประเสริฐกวาการงานประเภทอื่นๆที่กระทําในเวลานั้น การญิฮาดใน ชวงแรกของอิสลามเปนการงานที่ถือวาประเสริฐที่สุด เพราะเปนวิธีการที่จะทําใหสามารถปฏิบัติอามัลไดอยาง สมบูรณ แทจริงไดมีหลักฐานมากมายยืนยันวาการละหมาดประเสริฐกวาการบริจาคทาน ขณะเดียวกัน ในชวงเวลา ที่เปนภาวะขาวยากหมากแพง การบริจาคทานก็จะเปนสิ่งที่ประเสริฐกวาการละหมาด หรือ (เปนไปไดวา) คําวา ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

7

วิชาอัลหะดีษ

อัฟฎ็อล ในที่นี้ ไมไดมีความหมาย (วาประเสริฐกวา) ตามนัยยะของมัน แตจะหมายถึงความประเสริฐโดยทั่วไป ที่ ใหความหมายวา "สวนหนึ่งของการงานที่ประเสริฐที่สุด" แลวมีการตัดคําวา "สวนหนึ่ง" ออกไป และนี่ คือ ความหมายที่ตองการ สวนความหมายของคําวา “การงานที่ประเสริฐที่สุด” หมายถึงการกระทําทางกาย ดังนั้นจึงไมไดขัดแยง กันระหวางหะดีษบทนี้กับหะดีษอีกบทหนึ่งซึ่งรายงานจากทานอบีฮุร็อยเราะฮฺ  วามีคนถามทานเราะสูลุลลอฮฺ  วา การงานใดประเสริฐที่สุด ? ทานตอบวา “การศรัทธามั่นตออัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค แลวถามตอไป อีกวา ตอจากนั้นจะเปนอะไร? ทานตอบวา การญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ แลวถามตอไปอีกวา หลังจากนั้นจะ เปนอะไร? ทานตอบวา การประกอบพิธีหัจญที่อัลลอฮฺทรงรับ” บันทึกโดยอัลบุคอรีย บทเรียนที่ไดรับจากหะดีษ 1. ความประเสริฐของการละหมาดในเวลา และการละหมาดในเวลาแรกจะประเสริฐกวาเวลาหลังจากนั้น ซึ่ง ความประเสริฐของมันจะลดนอยลงไปตามลําดับเวลาที่ผานไปจนกระทั่งหมดเวลา 2. ความประเสริฐของการทําดีตอบิดามารดา โดยไดขอสรุปวาการทําดีตอบิดามารดาจะไดรับกุศลและ ประโยชนที่ใหญหลวงยิ่ง ซึ่งในหะดีษไดกลาวถึงกอนการญิฮาด 3. ความประเสริฐของการญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ พระองคไดตรัสไวในอัลกุรอานวา } | { z y x w v u t s r q p o{ ¯ ® ¬ « ª © ¨ § ¦ ¥¤ £ ¢ ¡ ~

¿ ¾ ½¼ » º ¹ ¸ ¶ µ ´ ³ ² ± °

z Í Ì Ë ÊÉ È Ç Æ Å ÄÃ Â Á À ความวา "โอมวลชนผูมีศรัทธาทั้งหลาย เอาไหมขาจะชี้ใหพวกเจาทําการคาหนึ่ง ซึ่งจะทําใหพวกเจา ปลอดภัยจากการลงโทษอันแสนทรมานนั่นคือ ใหพวกเจามีศรัทธาในอัลลอฮฺและศาสนทูตของพระองค และพวก เจาตอสูในวิถีทางของอัลลอฮฺ โดยใชทรัพยสินและตัวของพวกเจาเอง นั้นเปนสิ่งประเสริฐที่สุดหากพวกเจารู แนนอนที่สุด พระองคจะทรงอภัยโทษตอบรรดาความผิดตาง ๆ แกพวกเจา และทรงนําพวกเจาไปเขาสวรรค ซึ่งมี ธารน้ําหลากสายไหลผาน ณ เบื้องใตของมัน พรอมทั้งใหมีที่อยูอันยอดเยี่ยมในสวรรคอันอมตะนั้นเปนรางวัลที่ ยิ่งใหญที่สุด และยังมีความโปรดปรานอื่นๆ ซึ่งพวกเจารักชอบมัน สิ่งนั้นคือการชวยเหลือจากอัลลอฮฺ และชัยชนะ อันใกล และเจาจงแจงขาวดีแกมวลศรัทธาชนเถิด" (5)

(5)

สูเราะฮฺอัศ-ศ็อฟ, อายะฮฺที่ 10-13

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

8

วิชาอัลหะดีษ

หนังสืออางอิงเพื่อการศึกษาดวยตนเอง • ริญาฎศศอลิฮีน ของ อันนะวะวีย • อัตตัรฆีบ วัตตัรฮีบ ของ อัลมุนซิรีย การประยุกตใช/กิจกรรมเชิงปฏิบัติ • ใหทําละหมาดหาเวลาในเวลาที่กําหนดโดยเฉพาะละหมาดฟจริ • ไหววานใหเพื่อนชวยปลุกใหตื่นเพื่อละหมาดฟจริ ดวยโทรศัพท หรืออื่นๆ หรือใชนาฬิกาปลุก • สรางความเคยชินในการละหมาดในเวลาใหกับสมาชิกในบาน • ตอบรับความตองการของบิดามารดาอยูเสมอ ตราบใดที่สิ่งนั้นไมไดเปนบาปและสามารถทําได • สรางความสุขใหกับบิดามารดาอยูเสมอ • หมั่นขอดุอาตออัลลอฮฺใหกับบิดามารดา ขอใหพระองคทรงใหอภัยตอทานทั้งสอง ใหบริจาคทานในนาม ของทานทั้งสอง และประกอบพิธีหัจญใหแกทานทั้งสองหลังจากที่ไดเสียชีวิตไปแลว • ออกกําลังกายเปนประจําทุกเชาอยางนอยวันละ 10 นาที • พูดเตือนตนเองเสมอในเรื่องการญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ และตั้งเจตนาที่บริสุทธิ์เพื่อการนั้น • ฝกรับประทานอาหารงาย ๆ สัปดาหละหนึ่งครั้ง • ฝกนอนบนเสื่อหยาบ ๆ สัปดาหละหนึ่งครั้งหรือเดือนละหนึ่งครั้ง • สรางความเคยชินกับการเดินเทาไปไหนมาไหน หากยังพอมีเวลา การวัดผลประเมินผลดวยตนเอง 1. การกระทําใดที่นับวาเปนการกระทําที่ประเสริฐที่สุดตามที่มีระบุในหะดีษ ? 2. เพราะเหตุใดการละหมาดในเวลาจึงเปนการงานหนึ่งที่ประเสริฐที่สุด ? 3. การละหมาดเปนการทําหนาที่ในสิทธิของอัลลอฮฺ แลวตามดวยสิทธิของบิดามารดา...ลําดับการปฏิบัติ ดังกลาวบงบอกถึงสิ่งใด ? 4. จงบอกหะดีษบทอื่นที่ชี้นําใหทําดีตอบิดามารดา? 5. จงบอกหะดีษที่ชี้นําใหทําละหมาดในเวลา ? 6. การญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺมีความหมายวาอยางไร ? มีประเภทใดบาง ? ขอชี้แนะที่ไดรับจากหะดีษ 1. ใหดํารงละหมาดในเวลา โดยเฉพาะละหมาดฟจริ 2. ใหทําดีตอบิดามารดา 3. ใหตั้งเจตนาวา จะทําญิฮาดในหนทางของอัลลอฮฺ และเตรียมพรอมทั้งทางจิตใจ ความคิด และรางกาย สําหรับการญิฮาด

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลหะดีษ

9

เรื่อง “ไมออกญิฮาดจนกวาจะไดรับอนุญาตจากบิดามารดา” ผลการเรียนรูที่คาดหวัง • สามารถอธิบายขอเท็จจริงดานคุณธรรมจริยธรรม และคุณคาจากหะดีษ • สามารถอธิบายสาเหตุที่ตองขออนุญาตตอบิดามารดากอนจะไปทําญิฮาด • สามารถบอกประเภทของการญิฮาดที่จําเปนตองขออนุญาตตอบิดามารดากอน ตัวบทหะดีษ fl bÓ .Ž†çč bfluc : ï ğ jčäŞÜčÛ Ý ću Ž ‰fl Þ fl bÓ :flÞbÓ ëŠàž Çfl åiž  č a †č jž Çfl å ž Çfl :Þ fl bÓ . «æaflìiflc Ù  Û c» :Þ .«†ž çč bflvÏ bflàèîÐč Ï » :Þ fl bÓ .áž Èfl ãfl áÜßë ð‰b‚jÛa êaë‰ ความหมาย จากทานอับดุลลอฮฺ บิน อัมรุ  กลาววา "ชายคนหนึ่งไดเรียนถามทานนบี  วา “ฉันจะออกไปญิฮาด ไดหรือไม ?” ทานถามวา “บิดามารดาของทานยังมีชีวิตอยูหรือไม ?” เขาตอบวา "ยังมีชีวิตอยู" ทานตอบวา "ถา เชนนั้น ทานจงไปญิฮาดที่คนทั้งสองเถิด” (บันทึกโดยอัลบุคอรียและมุสลิม) คําอธิบาย (จากทานอับดุลลอฮฺ บิน อัมรุ ) อับดุลลอฮฺ และอัมรุ บิดาของทาน ตางเปนเศาะหาบะฮฺ (อับดุลลอฮฺกลาววา "ชายคนหนึ่งไดเรียนถาม...") ทานอัลกอศฏ็อลลานีย ไดอธิบายไวในหนังสือ (อุม ดะตุลกอรี) ชัรหฺ อัลบุคอรีย วา "ไมไดระบุชื่อชายคนนั้น และเปนไปไดวาทาน ญาฮิมะฮฺ บิน อัลอับบาส" คําวา “†Ž çč bu fl c” (ฉันจะออกไปทําญิฮาด) หมายถึง "_Ž†çč bu fl cc" ซึ่งมีความหมายวา “ฉันจะออกไปทําญิฮาดได หรือไม ?” ในรายงานอื่น ไดบันทึกไววา ทานอับดุลลอฮฺ บิน อัมรฺ บิน อัลอาศ  ไดกลาววา "ชายคนหนึ่งไดไปหา ทานนบี  แลวขออนุญาตทานเพื่อออกไปทําญิฮาด ทานถามวา “ทานมีบิดามารดาหรือไม ?” (ในหะดีษไมไดระบุ ชื่อชายคนที่ถามเชนกัน) และในอีกรายงานหนึ่งระบุวา ทานนบี  ไดถามชายคนนั้นวา “บิดามารดาของทานยังมี ชีวิตอยูหรือไม ?” เขาตอบวา “ยังมีชีวิตอยู” ทานเราะสูลุลลอฮฺ  จึงตอบวา “ทาน ไปทําญิฮาดที่คนทั้งสอง เถอะ” หมายความวา หากบิดามารดาของทานยังมีชีวิตอยู ทานก็จงทุมเทจนถึงที่สุดในการรับใชและทําดีตอทาน ทั้งสอง แลวทานจะไดผลบุญเทียบเทากับการตอสูกับศัตรูในสนามรบ

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

10

วิชาอัลหะดีษ

หะดีษนี้ไดบงชี้ตามนัยของหะดีษที่บันทึกโดยอะหฺมัดจากทานอะบีสะอีด ทานเลาวา ชายคนหนึ่งได อพยพ (ไปหาทานนบี ) ดังนั้นทานจึงถามชายคนนั้นวา "บิดามารดาของทานยังอยูที่เยเมนใชไหม?” เขาตอบ วา "ใช" ทานนบี  ถามตอวา "ทานทั้งสองอนุญาตใหทานอพยพมาที่นี่แลวหรือ?" เขาตอบวา "ยังเลย" ทานกลาววา "ทานจงกลับไปขออนุญาตทานทั้งสองเสีย หากทั้งสองอนุญาตแกทาน หากไมอนุญาต ทานก็จงทําดีตอทานทั้งสอง เถิด" สาเหตุที่วางเงื่อนไขวา การที่จะออกไปทําญิฮาดนั้นจะตองไดรับการอนุญาตจากบิดามารดากอน เพราะ จะสรางความลําบากใจแกทานทั้งสองจากการคาดคะเนวาบุตรชายจะถูกฆาตายหรือพิการทางรางกาย ดังนั้น หะดีษนี้จึงเปนหลักฐานที่บงชี้วาการทําดีตอบิดามารดาตองมากอนการทําญิฮาด และไมอนุญาต ใหผูเปนลูกออกไปทําญิฮาด นอกจากจะไดรับอนุญาตจากบิดามารดาเสียกอน หนังสืออางอิงสําหรับการเรียนรูดวยตนเอง • ริญาฎศศอลิหีน ของ อันนะวะวีย • อัตตัรฆีบ วัตตัรฮีบ ของ อัลมุนซิรีย การประยุกตใช / กิจกรรมเชิงปฏิบัติ 1. ใหเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับเยาวชนมุสลิมทานหนึ่งที่ความมุงมั่นจะออกไปทําญิฮาด แตเขาเปนบุตรชายเพียง คนเดียวของบิดามารดา และเขาตองตัดสินใจเลือกระหวางการทําดีตอบิดามารดากับการออกไปทําญิฮาด 2. เชิญนักนิติศาสตร (ฟุเกาะฮาอ) ทานใดทานหนึ่งมาใหความรูวา (การญิฮาด) ในสภาวะใดที่จําเปนตองขอ อนุญาตตอบิดามารดา และ (การญิฮาดใน) สภาวะใดที่ไมจําเปนตองขออนุญาตตอทานทั้งสอง 3. ใหเลาเรื่องของทานสะอัด อิบนุ อะบี วักกอศที่เกิดขึ้นกับมารดาของทานตอหนาบรรดาผูที่ไปละหมาด การวัดผลประเมินผล 1. สัจธรรม และคุณคาทางคุณธรรมจริยธรรมที่ไดรับจากหะดีษมีอะไรบาง ? 2. ในสภาวะใดบางที่จําเปนตองขออนุญาตจากผูบิดามารดากอนที่จะออกไปทําญิฮาด? 3. เมื่อใดที่อนุญาตใหออกไปทําญิฮาดโดยไมจําเปนตองขออนุญาตจากบิดามารดากอน ? 4. จําเปนตองเชื่อฟงบิดามารดาในทุกกรณีหรือไม? 5. อิสลามแนะนําใหปฏิบัติอยางไรตอบิดามารดาที่เปนคนตางศาสนา หรือทรยศตออัลลอฮฺ ? ขอชี้นําและบทสรุปที่ไดรับจากหะดีษ • จําเปนตองขออนุญาตบิดามารดาในกรณีที่การญิฮาดเปนฟรฎกิฟายะฮฺ • ไมจําเปนตองขออนุญาตในกรณีที่การญิฮาดเปนฟรฎอีน • ใหทําดีตอบิดามารดาและคลุกคลีกับทานทั้งสองดวยดี ในกรณีที่ทั้งสองเปนคนนอกศาสนาหรืออยูใน ภาวะที่ทรยศตออัลลอฮฺ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

11

วิชาอัลหะดีษ

เรื่อง “ไมแชงบิดามารดาของตนเอง” ผลการเรียนรูที่คาดหวัง • สามารถสรุปขอเท็จจริงและคุณคาดานคุณธรรมจริยธรรมจากหะดีษ • สามารถชี้แจงถึงบาปใหญที่หะดีษอางถึง • สามารถอธิบายถึงความสําคัญของการปองกันจากบาปใหญ ตัวบทและความหมายหะดีษ ŠöčbfljØ Û a Šjfl× c å ž ßč æŞ g» :   č aÞ Ž ìŽ‰fl Þ fl bÓ :Þ fl bÓ – bàèäÇ a ó™‰ - ëŠàž Çfl åiž  č a †č jž Çfl å ž Çfl k ş@  Ž flí» :Þ fl@ bÓ ._éč íž †fl Ûčaflë Ý Žu Ž ŞŠÛa ŽåÈfl Ü ífl Ñ fl îž × ëfl L č aÞ fl ìŽ‰fl bflí :Ý fl îčÓ .«éč íž †fl Ûčaflë Ý Žu Ž ŞŠÛa å fl Èfl Ü ífl æž c .«éŽ Şßc k ş ŽîflÏ éŽ Şßc k ş Žíflëfl LŽêbflic k ş ŽîflÏ LÝu Ž ŠŞ Ûa bflic Ý Žu Ž ŞŠÛa ðˆßÛaë L…ëa… ìicë LáÜßë Lð‰b‚jÛa êaë‰ จากทานอับดุลลอฮฺ อิบนุ อัมรุ  ทานเราะสูลุลลอฮฺ  ไดกลาวไววา “สวนหนึ่งของบาปใหญที่ รุนแรงที่สุดคือการที่ชายคนหนึ่งแชงบิดามารดาของตัวเอง” มีคนถามวา "โอทานเราะสูลุลลอฮฺ ชายคนหนึ่งจะแชง บิดามารดาของตัวเองไดอยางไร?" ทานตอบวา "คือการที่ชายคนหนึ่งแชงบิดาของชายอีกคนหนึ่ง แลวชายคนนั้นก็ (ตอบโตดวยการ) แชงบิดาของเขา แลวเขาก็แชงมารดาของชายคนนั้น ชายคนนั้นก็ (ตอบโตดวยการ) แชงมารดา ของเขา” (บันทึกโดยอัลบุคอรีย, มุสลิม, อบูดาวูด และอัตติรมิซีย) คําอธิบาย (éč@ íž †fl Ûč aflë Ý Ž@ u Ž ŠŞ Ûa k ş@  Ž ífl ü @ ) "ไมแชงบิดามารดาของตนเอง" หมายความวา ไมเปนตนเหตุที่นําไปสูการ แชงคนใดคนหนึ่งจากบิดามารดา (éč@ íž †fl Ûčaflë Ý Ž@ u Ž ŠŞ Ûa å fl@ Èfl Ü ífl æž@ c @ŠöčbfljØ Û a @Šjfl× c å ž@ ßč æŞ@ g) "สวนหนึ่งของบาปใหญที่รุนแรงที่สุดคือการที่ชายคนหนึ่ง แชงบิดามารดาของตัวเอง” นี่เปนสํานวนของอัลบุคอรีย สวนสํานวนของมุสลิมคือ (éč@ 힆fl Ûčaflë @Ýu Ž ŠŞ Ûa Žánž‘ fl @ŠöčbfljØ Û a å fl@ ßč ) "สวนหนึ่งของบาปใหญคือการที่ชายคนหนึ่งแชงบิดามารดาของตนเอง" ในสํานวนของอัลบุคอรียทําใหเขาใจวาบาปใหญตางๆมีความเหลื่อมล้ํากัน สวนหนึ่งจะรุนแรงกวาอีก สวนหนึ่ง นี่คือทัศนะของนักวิชาการสวนใหญ สวนเหตุผลที่ทําใหการสาปแชง การดาทอ และการตําหนิติเตียน เปนสวนหนึ่งของบาปใหญ หรือเปนสวนหนึ่งของบาปใหญที่รุนแรงที่สุด เพราะมันเปนการอกตัญูประเภทหนึ่ง นั่นคือการกระทําที่ไมดีแทนการทําดีตอบิดามารดา และเปนการปฏิเสธตอสิทธิของทั้งสอง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

12

วิชาอัลหะดีษ

(_@ éč íž †fl Ûčaflë Ý Ž@ u Ž ŠŞ Ûa å Ž@ Èfl Ü ífl Ñ fl@ îž × ëfl L@ č aÞ fl@ ìŽ‰fl b@ífl :Ý fl@ îčÓ) "มีคนถามวา โอทานเราะสูลุลลอฮฺ ชายคนหนึ่งจะ แชงบิดามารดาของตนเองไดอยางไร?" ผูถามไมเชื่อวาผูเปนบุตรจะทําเชนนั้นกับบิดามารดาของตนเอง เพราะภาวะปกติของผูคนจะปฏิเสธตอ การกระทําเชนนั้น ดังนั้นทานนบี  จึงตอบ –ชี้แจงวา ถึงแมวาเขาไมไดทําการแชง (บิดามารดาของเขา) ดวย ตัวเอง แตโดยสวนใหญแลวเขามักจะเปนตนเหตุสูการแชง (บิดามารดาของตนเอง) ซึ่งเปนสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นได บอยครั้ง- ดวยคําวา (éŽ@ ߪ c k ş@  Ž îflÏ éŽ@ ߪ c k ş@  Ž íflëfl LŽêbflic k ş ŽîflÏ LÝu Ž ŠŞ Ûa bflic Ý Žu Ž ŞŠÛa şk Ž ífl) "คือการที่ชายคนหนึ่งแชงบิดา ของชายอีกคนหนึ่ง แลวชายคนนั้นก็ (ตอบโตดวยการ) แชงบิดาของเขา แลวเขาก็แชงมารดาของชายคนนั้น ชายคน นั้นก็ (โตกลับดวยการ) แชงมารดาของเขา” ในเมื่อการเปนสาเหตุใหเกิดการแชงและดาทอบิดามารดาเปนสวนหนึ่งของบาปใหญที่รายแรง ดังนั้น การแชงและดาทออยางเปดเผย (ดวยตนเอง) ยิ่งเปนบาปหนักกวาอยางแนนอน ทานอัลฮาฟซ อิบนุ หะญัร ไดกลาว ไวในหนังสือของทาน ฟตหุลบารีย วา ทานอิบนุ บัฏฏอล ไดกลาวไววา "หะดีษนี้เปนมูลฐาน ของหลักการปองกัน มูลเหตุ (สัด อัซซะรออิอฺ)" บทเรียนที่ไดรับจากหะดีษ ผูใดที่การกระทําของเขาเอนเอียงไปในทางหะรอม (ตองหาม) การกระทํานั้นก็เปนที่ตองหามสําหรับตัว เขา ถึงแมวาเขาไมไดมีเจตนาที่จะทําสิ่งที่ตองหามก็ตาม สวนที่มาของหะดีษนี้ก็คือ คําตรัสของอัลลอฮฺที่วา z¨ § ¦ ¥ ¤ £ ¢ ¡ ~ } |{ ความวา "และพวกเจาจงอยาไดบริภาษบรรดากลุมชนที่กราบไหวสิ่งอื่นจากอัลลอฮฺ อันจะเปนเหตุให พวกเขาบริภาษอัลลอฮฺแบบกาวราวโดยปราศจากความรู" ทานอัลมาวัรดีย ไดสรุปความเขาใจจากอายะฮฺขางตนวา หามขายผาไหมใหแกผูชายที่รูชัดวาจะนําไป สวมใส และหามขายน้ําผลไมใหแกผูที่รูชัดวาจะนําไปทําสุรา สวนบทเรียนที่ไดรับจากหะดีษ ทานเชค อบูมุหัมมัด อิบนุ อบีหัมซะฮฺกลาววา 1. หะดีษนี้เปนหลักฐานยืนยันถึงความยิ่งใหญของสิทธิของบิดามารดา 2. ผูที่ชอบดาทอบิดาของผูอื่น เปนไปไดวาคนอื่นจะดาทอบิดาของตนเอง และเปนไปไดวาเขาจะ ไมดาทอกลับ แตโดยสวนใหญแลวมักจะตอบโตในทํานองเดียวกัน 3. นักเรียนสามารถขอคําอธิบายเพิ่มเติมจากผูสอนในสวนที่ยังคลุมเครือหรือไมชัดเจน ดังที่ปรากฏ ในหะดีษทีว่ า “ชายคนหนึ่งจะแชงบิดามารดาของตัวเองไดอยางไร?" 4. หะดีษนี้ไดยืนยันถึง (การมีจริงของ) บาปใหญ (6)

(6)

สูเราะฮฺอัล-อันอาม, อายะฮฺที่ 108

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

13

วิชาอัลหะดีษ

5. หลักการดั้งเดิมนั้น ลําตน (บิดามารดา) ยอมตองประเสริฐกวากิ่งกาน (บุตรหลาน) ถึงแมวากิ่งกาน (บุตรหลาน) จะมีคุณลักษณะบางประการที่ประเสริฐกวาลําตน (บิดามารดา) ก็ตาม ดังนั้น ไมวา บุตรหลานจะมีคุณลักษณะที่ดีเลิศตางๆ-ที่ไมมีอยูในตัวบิดามารดาของเขา- มากมายขนาดไหนก็ ตาม การเนรคุณตอบิดามารดาก็ยังคงเปนสวนหนึ่งของบาปใหญที่รายแรง หนังสืออางอิงเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง 1. เศาะหีหฺอัลบุคอรียและเศาะหีหฺมุสลิม 2. ริยาฎ อัศศอลิฮีน 3. ญามิอฺ อัลอุลูม วะอัลฮิกัม ของ อิบนุ เราะญับ อัลฮันบะลีย การประยุกตใช/กิจกรรมเชิงปฏิบัติ 1. ใหพูดตอหนาชุมชนเกี่ยวกับความสําคัญของการทําดีตอบิดามารดาและไมแชงหรือดาทอทาน ทั้งสอง 2. ใหเขียนบทความ โดยชี้แจงวาชายคนหนึ่งสามารถสรางความเดือดรอนใหแกบิดามารดาของตน ดวยเจตนาดีและรูเทาไมถึงการไดอยางไรบาง 3. ใหเขียนเรื่องเลาที่มีเนื้อหาที่บงชี้วา เยาวชนคนหนึ่งสามารถสรางความเดือดรอนแกบิดามารดา ไดอยางไร ทั้งๆที่ตัวเองรักทั้งสองอยางเปยมลน ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเขาไดนําพาทั้งสองไปตกอยูสถานการณที่ยุงยาก เนื่องเพราะความรีบรอน พลั้งปาก และแสดงอาการที่ไมพึงประสงค 4. ใหแปลงเรื่องเลาดังกลาวเปนละครสนุกๆเปนตอนๆ หรือเปลี่ยนเปนหนัง 5. ใหแปลงเรื่องเลาดังกลาวเปนหนังการตูนเพื่อนําเสนอใหกับเด็ก ๆ การวัดผลประเมินผล 1. คําคมที่วา “เสนทางไปสูนรกบางครั้งก็ถูกปูดวยบรรดาเจตนาที่ดี” มีสวนสอดคลองกับหะดีษขางตน มากนอยเพียงใด? 2. การทําดีตอบิดามารดาจะจํากัดอยูเพียงแคการไมดาทอหรือวารายทั้งสอง และเชื่อฟงทั้งสองเทานั้น หรือไมอยางไร?” 3. หะดีษขางตนไดชี้นําเราใหปฏิบัติตนอยางไรบาง? ขอชี้นําและบทสรุปที่ไดรับจากหะดีษ • ใหเราปองกันมูลเหตุที่อาจนําไปสูการสรางความเดือดรอนแกบิดามารดา ถึงแมวาเราไมไดเจตนาที่ จะทําเชนนั้นก็ตาม • ผูมีสัญชาตญาณที่สมบูรณ โดยวิสัยแลวยอมรับไมไดตอการดาทอและวารายตอบิดามารดาของ ตนเอง

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

14

วิชาอัลหะดีษ

เรื่อง “การตอบรับดุอาของผูที่กตัญูตอบิดามารดา” ผลการเรียนรูที่คาดหวังประจําบทเรียน • นักเรียนสามารถสรุปขอเท็จจริง และคุณคาดานคุณธรรมจริยธรรมที่ไดรับจากหะดีษ • นักเรียนสามารถอธิบายวาความบริสุทธิ์ใจตออัลลอฮฺสามารถทําใหผูศรัทธาคลี่คลายจากความโศกเศรา บนโลกนี้ • นักเรียนสามารถชี้แจงวาความกลัวและยําเกรงตออัลลอฮฺสามารถยับยั้งมนุษยไมใหกระทําบาป • นักเรียนสามารถระบุถึงความบะเราะกะฮฺของการทําดีตอบิดามารดาที่จะมีผลตอผูศรัทธาทั้งในโลกนี้และ โลกอาคิเราะฮฺ ตัวบทหะดีษ aëž ëfl f@ Ï ŠŽ@ İàfl Û a áŽ@ çŽ ˆfl flc æfl ìž ‘ fl bflànflífl Š Ð ãfl òqflýflq bflàäflîž ifl Þ fl bÓ@   č a ÞìŽ‰fl å ž Çfl  Šfl àfl ŽÇ åiža åÇfl Þ fl@ bÔÏ Lžáèîž Ü Çfl o ž Ô jfl  dÏ LÝjflv fl Û a å fl ßč ñ Šfl ‚ ž • fl áž çč ‰bË áÏ óÜÇfl o ž İ z fl ãžbÏ LÝjflv fl Û a ïčÏ ‰ bË óÛg .á@ ØäÇ b@flèu Ž ŠŽ Ð ífl éŽ@ ÜÈfl Û b@flèič a@ìŽÇ…ž bÏ ò z fl Ûčbfl• éč ÜÛč bflçìŽàŽnÜ àč Çfl ü  bflàÇž c a뎊Ä ãža :œ  Èž jflÛč áž ŽèŽšÈž ifl o Ž@ žä× ‰ć@ bflÌč• ò îfljž • č ïčÛëfl LïmcŠßaë æafljč× æbfl‚îž ‘ fl æafl†Ûčaflë ïčÛ æfl b× éŽ Şãg ŞáèŽ Ü Ûa ŽáŽçŽ†y fl c Þ fl bÔÏ ï@ ič ôd@ ãfl éŽ@ Şãgëfl Li Ý fl jž Ó bflàèîčÔ ž c LŞð†fl Ûčaflìič Žpc†fl ifl LŽojž Ü y fl áž èîž Ü Çfl o Ž y ž ‰Ž afl‡hÏ áž èîž Ü Çfl óflljž c k Ž@ Üy ž c o Ž@ žä× b@flà× L Žojž Ü z fl Ï bflßbflã †ž Ó bflàèŽ mŽ†ž u fl ìfl Ï LŽoîž  fl ßž c óŞny fl p č e bflàÏ LŽŠv fl’ Ş Ûa â ìž ífl p fl a‡fl ï @ Ôc æž c êŽ@Šfl ×cëfl Lbflàèßč ìž ãfl å ž ßč bflàèŽ Ä Óč ëc æž c ŽêŠfl × c bflàè č ëŽõ‰Ž †fl äž Çč Žoàž ÔÏ LčlýčzÛ bči Žo÷ž v č Ï Éfl@ Ü  ó @ Şny fl L@áž Žèiflc…fl ëfl ïčic…fl Ù  Ûč‡fl Þ ž Œfl ífl áž Ü Ï  ï Ş ßfl †fl Ó †fl äž Çč æfl ìž Ë bflšnflífl òîfljž – ğ Ûaflë  bflàèŽ Ü jž Ó òč îfljž – ğ Ûa fl äž × æž hÏ LŽŠv ž Ð Û a b@flèäž ßč ô @ Šfl flã ò@ fluŠž Ï b@fläÛ x ž@ ŠŽ Ï bÏ @  Ù @ èu ž ëfl õfl bflÌnčiža Ù  Ûč‡fl ŽoÜ Èfl Ï  ïğãc ŽáÜ Èž mfl o ï @ čÛ o ž@ flãb× éŽ@ Şãg ŞáèŽ Ü Ûa :ïčãbŞrÛa Þ fl bÓëfl Lflõbflà Ş Ûa bflèäž ßč æfl ëž Šfl ífl óŞny fl ò u fl Šž Ï áž èŽ Û éŽ Ü Ûa x fl Šfl Ð Ï Lõfl bflà Ş Ûa b@flèîflmče ó @ Şny fl o ž@ flidÏ L@bflè fl Ðãfl bflèîž Ûg Žojž Ü İ Ï LflõbfläğÛa Þ Ž bfluŠğ Ûa şkz č íŽ bflß †ğ ‘ fl d× Lbflènşjjčyc á Çfl òäfliža bflí o ž ÛbÓ Lbflèîž Ü u ž ‰ å fl îž ifl o Ž Èž Ó ëfl bŞàÜ Ï Lbflèič bèn÷vÏ ‰ bfläíč… ò öflbčß ŽoÈž àfl u fl óŞny fl Žoîž Èfl nflÏ L‰bfläíč… òč öflbčàič o Ž@ ÜÈfl Ï †ž@ Ó ïğãc ŽáÜ Èž mfl o fl äž × æž hÏ Lbflèäž Çfl Žoàž ÔÏ Léč Ô z fl ič ü  g áfl mflbfl‚Û a |nflÐ mfl üflë   a ÕmŞa .éč ÜÛa †fl jž Çfl ï @ ğãg áŞ@ ŽèÜ Ûa :ŠŽ@ flŁa Þ fl@ bÓëfl L@ò fluŠž Ï áž èŽ Û x fl Šfl Ð Ï Lò u fl Šž Ï bflèäž ßč bfläÛ x ž ŠŽ Ï bÏ LÙèu ž ëfl õfl bflÌnčiža LÙÛč‡fl č c p Ž Šž u fl d nfl ž ao Ž äž × o Ž@ ž™Šfl Èfl Ï L@ïÔy fl ï @ čäİč Çž c :ïÛ Þ fl bÓ  ŽéÜ àfl Çfl óflšÓ bŞàÜ Ï L‹‰Ž c ÖŠfl Ð ič aĆu ÕmŞa Þ fl bÔÏ ïčãõfl bflvÏ Lbflçõfl bÇfl ‰fl ëfl aĆŠÔ ifl Žéäž ßč ŽoÈž àfl u fl óŞny fl ŽéŽÇ‰fl ‹ž c Þ ž ‹fl c áž Ü Ï LéŽ äž Çfl k fl Ëč Šfl Ï LéŽ Ó Šfl Ï éč îž Ü Çfl

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

15

วิชาอัลหะดีษ

üflë L  a Õ @ Şma Þ fl@ bÔÏ .bçfl ˆž ‚ Ž Ï Lbflèöbčljfl ëfl ŠÔ jflÛ a Ù  Ü mfl óÛg k ž çfl ‡ž a o Ž Ü Ó LïÔ y fl ïčäàž Üč Ä mfl üflë   a L@éi k @ çˆÏ L@êŽ ˆfl fldÏ Lbflçõbljflë Šfl Ô jflÛ a Ù  Ûč‡fl ˆž  Ž LÙič ù Ž Œžènflc ü ïğãg o Ž Ü Ô Ï Lïči ù ž Œžènflm  ax fl Šfl Ð Ï .ï fl Ôč ifl bflß x ž ŠŽ Ï bÏ  Ù  èu ž ëfl õfl bflÌnčiža Ù  Ûč‡fl ŽoÜ Èfl Ï ïğãc ŽáÜ Èž mfl o fl äž × æž hÏ .ï fl Ôč ifl bflß  áÜßë ð‰b‚jÛa êaë‰ ความหมาย เลาจากทาน อับดุลลอฮฺ อิบนุ อุมัร  จากทานเราะสูลุลลอฮฺ  วา ขณะที่มีชายสามคนกําลังเดินทอดนอง อยูบนถนน พลันไดเกิดฝนตกหนัก ดังนั้นพวกเขาจึงหลบเขาไปอาศัยอยูในถ้ําแหงหนึ่งบนภูเขา ทันใดนั้นหินกอนใหญ บนภูเขาไดตกลงมายังปากถ้ํา (ที่พวกเขาหลบฝนอยู) และปด (ประตูทางออกของ) พวกเขา พวกเขาจึงปรึกษากันวา พวก ทานลองตรึกตรองดูสิวามีความดีใดบางที่พวกทานเคยปฏิบัติเพื่ออัลลอฮฺ แลวใชความดีนั้น (เปนสื่อ) ขอดุอา (ตอ พระองค) เผื่อวาอัลลอฮฺจะทําใหกอนหินเคลื่อนออกจากปากถ้ํา ดังนั้น หนึ่งในสามก็พูดขึ้นวา โออัลลอฮฺ เมื่อกอนฉัน เคยมีพอแมซึ่งอายุมากแลว มีภริยา และลูกชายอีกหลายคน ซึ่งฉันจะเปนคนดูแลพวกเขาทั้งหมด เมื่อฉันกลับไปหาพวก เขา ฉันก็รีดนมใหพวกเขาดื่ม ฉันจะเริ่มตนจากพอแมทั้งสองคนโดยใหทานทั้งสองคนดื่มกอนลูก ๆ ของฉันทั้งหมด อยู มาวันหนึ่งฉันเองตองออกไปเลี้ยงสัตวที่ทุงหญาไกลออกไป กวาจะกลับมาถึงบานก็เปนเวลาค่ํามืดแลว (และเมื่อเขาไป ในบาน) ฉันพบวาพอแมของฉันไดหลับไปแลว ดังนั้นฉันจึงรีดนมเหมือนที่ฉันเคยทําเปนประจํา แลวนําภาชนะที่ใส นมไปยืนรออยูตรงหัวนอนของทั้งสองคน เพราะฉันไมชอบที่จะปลุกทานทั้งสองใหตื่นจากนอน และฉันไมชอบที่จะ ใหลูก ๆของฉันดื่มนมกอนทานทั้งสองดวย ทั้งๆที่ลูกๆ ตางรองไหเสียงระงมอยูที่ขาของฉันดวยความหิวโหย ฉันและ ลูกๆของฉันยังคงอยูในสภาพนั้นจนกระทั่งรุงเชาของวันใหม หากพระองคเห็นวา ฉันไดกระทําเชนนั้นเพื่อหวังความ โปรดปรานจากพระองค ก็ขอใหพระองคโปรดเปดชอง (ขยับกอนหินออกจากปากถ้ํา) สักสวนหนึ่ง เพื่อใหเราได มองเห็นฟากฟาจากชองนั้น ดังนั้น อัลลอฮฺก็ทรงเปดชอง (ขยับกอนหิน) ออกจากปากถ้ําสวนหนึ่ง จนพวกเขาสามารถ มองเห็นแสงสวางจากฟากฟาจากชองนั้น (หลังจากนั้น) คนที่สองกลาววา โอพระผูอภิบาลของฉัน แทจริงฉันมีใจรักอยูกับลูกสาวของลุง เสมือนกับ ที่ชายทั่วๆไปรักชอบหญิงสาว ดังนั้น ฉันจึงไดขอรวมหลับนอน (มีเพศสัมพันธ) กับนาง แตนางบายเบี่ยงไมยอมรวม หลับนอนดวย จนกวาฉันจะนําเงินจํานวน 100 ดีนารไปใหนางกอน ดังนั้นฉันจึงไดรวบรวมเงินจนครบ 100 ดีนาร แลวฉันก็นําเงินจํานวนดังกลาวไปหานาง และขณะที่ฉันกําลังอยูระหวางสองขาของนาง (เพื่อที่จะมีเพศสัมพันธ) นาง ไดกลาว (เตือนฉัน) วา โอบาวของอัลลอฮฺ ทานจงยําเกรงตออัลลอฮฺ และจงอยาไดเปดผนึก (พรหมจารีย) นอกจากดวย สิทธิอันชอบธรรม (การแตงงาน) ดังนั้น ฉันจึงผละออกจากนาง หากพระองคเห็นวา ฉันไดกระทําเชนนั้นเพื่อหวัง ความโปรดปรานจากพระองค ก็ขอใหพระองคโปรดเปดชอง (ขยับกอนหินออกจากปากถ้ํา) สักสวนหนึ่ง ดังนั้น พระองคก็ทรงเปดชอง (ขยับกอนหิน) ออกจากปากถ้ําอีกสวนหนึ่ง และคนสุดทายกลาววา โอพระผูอภิบาลของฉัน แทจริงฉันเคยวาจางชายคนหนึ่ง ดวยคาจางจํานวนหนึ่งฟะ ร็อกขาวสาร (มาตราตวงชนิดหนึ่ง มีความจุประมาณ 16 ปอนด หรือสามทะนานขาวสาร) เมื่อเขาทํางานเสร็จ เขาไดกลาว ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

16

วิชาอัลหะดีษ

แกฉันวา "จงมอบสิทธิ(คาจาง) ของฉันมา" ดังนั้น ฉันจึงไดแสดง (ขาวสารที่เปนคาจางจํานวน) หนึ่งฟะรอกแกเขา แต เขากลับปฏิเสธ (เพราะไมพอใจกับคาจางที่ไดรับ) ดังนั้น ฉันจึงปลูกขาวสาร (สวนที่เปนคาจางของเขา) จนกระทั่งฉัน สามารถรวบรวม (รายไดจากการขายขาวสารและสามารถซื้อ) ฝูงวัวจํานวนหนึ่งพรอมกับ (จาง) ผูดูแลมัน (วันหนึ่ง) ชาย คนนั้นไดมาหาฉัน (เพื่อทวงคาจาง) แลวกลาวกับฉันวา "ทานจงยําเกรงตออัลลอฮฺและอยาไดอธรรมตอฉันในสิทธิที่ ฉันพึงไดรับ" ฉันจึงกลาว (แกเขา) วา "ทานจงไปที่วัวฝูงนั้น และผูดูแลมัน แลวรับมันไปเสีย" เขาก็กลาววา "ทานจงยํา เกรงตออัลลอฮฺ และจงอยาไดลอเลนกับฉัน" ฉันจึงกลาว (กับเขา) วา "ฉันไมไดลอเลนกับทาน ทานจงรับวัวฝูงนั้น พรอมกับผูดูแลมันไปเสีย" ดังนั้น เขาจึงรับมันไป หากพระองคเห็นวา ฉันไดกระทําเชนนั้นเพื่อหวังความโปรดปราน จากพระองค ก็ขอพระองคโปรดเปดชองที่เหลือ (ขยับกอนหิน) ออก (จากปากถ้ํา) ใหหมด ดังนั้น อัลลอฮฺจึงทรงเปดชอง ที่เหลือ (ดวยการขยับหินออกจากปากถ้ําทั้งหมด) (บันทึกโดย อัลบุคอรียและมุสลิม) คําอธิบาย (Š@ Ð ãfl ò@ qflýflq bflàäflîžifl@) "ขณะที่มีชายสามคน" จากประชาชาติกอนพวกทาน หมายถึง จากชาวอิสรออีล ตามที่มี ระบุในบางรายงาน โดยที่ไมทราบวาพวกเขามีชื่อวาอะไรบาง (‰@ bË ó @ Ûg a@ëž ëfl fÏ) "ดังนั้นพวกเขาจึงหลบเขาไปอาศัยอยูในถ้ําแหงหนึ่ง" หมายถึง หยุดพัก (เพื่อหลบฝน) อยูในถ้ํา (@Ýjflv fl Û a å fl@ ßč ñ@Šfl ‚ ž • fl áž@ çč ‰bË á@ Ï ó @ Ü Çfl o ž@ İ z fl ãžbÏ) “ทันใดนั้นหินกอนใหญบนภูเขาไดตกลงมาปดปากถ้ํา” ในบางรายงานกลาววา l č bfli "ประตู" แทนคําวา áÏ "ปาก" (ò@ z fl Ûčbfl• éč@ Ü Ûč b@çfl ìŽànŽÜ àč Çfl ü @ bflàÇž c a@뎊Ä ãž a) "พวกทานลองตรึกตรองดูสิวามีความดีใดบางที่พวกทานเคย ปฏิบัติเพื่ออัลลอฮฺ" คําวา "ความดี" ในที่นี้หมายถึง การกระทําที่บริสุทธิ์ใจ (อิคลาศ) เพื่อพระองค ไมไดกระทําเพื่อ @ èu ž ëfl õfl@ bflÌnčiža) "เพื่อหวัง โออวด และชื่อเสียงหรือการชมเชยจากมนุษย ดังที่ไดบงชี้จากคํากลาวหลังจากนั้นวา (Ù ความโปรดปรานจากพระองค" (òîfljž• č ) "บรรดาลูกชาย" อานพยัญชนะ "ศอด" ดวยสระกัสเราะฮฺ ซึ่งเปนคําพหูพจนของคําวา (Ğïjč• fl ) (áž èîžÜ Çfl óflljž c) หมายถึง ใหการสงเสียและเลี้ยงดูพวกเขา ดวยการเลี้ยงแพะ (áž@ è îžÜ Çfl o Ž@ y ž ‰Ž a@‡fl hÏ ) "เมื่อฉันกลับไปหาพวกเขา" หมายความวา เมื่อฉันพาฝูงสัตวกลับจากทุงหญาไปยัง สถานที่นอนพักของมัน (flæìž Ë bflšnflífl) รองไหเสียงระงมเพราะความหิว (ò u fl Šž Ï áž èŽ Û   ax fl Šfl Ð Ï ) "ดังนั้น อัลลอฮฺจึงทรงเปดชอง ดวยการทําใหหินขยับออกจากปากถ้ําบางสวน" (õfl bflà Ş Ûa bflèäžßč æfl ëž Šfl ífl óŞny fl ) "จนกระทั่งพวกเขาสามารถมองเห็นแสงสวางจากฟากฟาจากชองนั้น" เนื่องจาก ดุอาของเขาถูกตอบรับ เพราะเขาไดแสดงออกถึงความกตัญูตอบิดามารดาที่สูงสงยิ่ง เราลองพิจารณาดูสิวาเขาจะ ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

17

วิชาอัลหะดีษ

รูสึกขมขื่นปานใดที่เห็นลูกๆ กําลังร่ําไหที่แทบเทาทั้งสองของตัวเองเนื่องจากความหิวโหย ดังนั้น เมื่อเขามองไปยัง บิดามารดาของเขาดวยสายตาแหงความกตัญู เพื่อหวังความโปรดปรานจากอัลลอฮฺ อัลลอฮฺจึงทรงมองเขาดวย สายตาแหงความกรุณา ดังนั้น พระองคจึงทรงปลดปลอยความทุกขของเขาออกไปสวนหนึ่ง (ดวยการทําใหกอนหิน ที่ปดปากถ้ําอยูขยับออกจนเห็นแสงสวางของทองฟา) (b@èfl  fl Ð ãfl b@èfl îžÛg o Ž@ jžÜİ Ï ) "ฉั นจึ งได ขอร วมหลั บนอน (มี เพศสั มพั นธ ) กั บนาง" หมายความว า ขอให นาง ตอบสนองตอสิ่งที่รองขอ (หมายถึง ยอมมีเพศสัมพันธกับเขา) (žoifldÏ ) "แตนางบายเบี่ยงไมยอมรวมหลับนอนดวย" (áfl@ mflbfl‚Û a | @ nflÐ mfl ü @ ëfl ) "และเจาจงอยาเปดผนึก (พรหมจารีย) " เปนคําเรียกแทนพรหมจารีย หรือความ บริสุทธิ์ของหญิงสาว หมายความวา เจาจงอยาเปดความบริสุทธิ์ของฉัน และจงอยากระทําความเสื่อมเสีย (éč@ Ô z fl ič ü @ g) "นอกจากดวยสิทธิอันชอบธรรมของผนึก (พรหมจารีย)" นั่นคือการแตงงานที่ถูกตองตาม หลักชะรีอะฮฺอิสลาม และอนุญาตใหมีเพศสัมพันธกัน (b@èfl äžÇfl o Ž@ àž Ô Ï ) "ดังนั้น ฉันจึงผละออกจากนาง" และปลอยนางไปโดยไมมีเพศสัมพันธกับนางแตอยางใด เพราะรูสึกสํานึกกับคํากลาวตักเตือนของนาง ซึ่งเปนความโปรดปรานของอัลลอฮฺที่มีตอนาง เพราะแทจริงแลว นางไมไดปรารถนาที่จะกระทําสิ่งที่หยาบชาลามกและทรยศตออัลลอฮฺ แตเหตุที่นางยอมรวมหลับนอนดวยกับเขา เพราะเขาไมยอมใหความชวยเหลือนาง (ในปญหาเงินทองที่นางกําลังประสบอยู) ไมวานางจะรองขอและวิงวอน เขาปานใดก็ตาม ดวยเหตุที่นางเกรงวาตัวเองจะตองประสบกับความหายนะ จนถึงขั้นที่จําเปน (ตองนําตัวเองเขา แลก) อันนําไปสูการกระทําที่นางไมเปนที่ปรารถนาดังกลาว ครั้นเมื่ออัลลอฮฺไดทราบถึงความสัจจริงของนาง พระองคก็ทรงใหนางหางไกลจากการกระทําอันโสมม ดังกลาว และทรงปกปองนางจากการกระทําที่เปนการทรยศของเขา ดวยการดลใจใหเขาผละออกนาง และละทิ้งการ ลวงละเมิดทางเพศ (ซินา) ทั้งๆ ที่เขาสามารถจะกระทําเชนนั้น โดยไมมีอุปสรรคใดๆมาขวางกั้น และโอกาสก็ เอื้ออํานวย เพราะความยําเกรงตออัลลอฮฺ -หลังจากที่เขาไดอยูระหวางสองหวางขาของนาง ในขณะที่กําลังเกิด อารมณทางเพศอยางเต็มที่ อารมณทางเพศ ขณะที่มันกําลังรอนแรง จะเปนอารมณที่มีอํานาจเหนือมนุษย เปนอารมณที่ฝาฝนและ แข็งขอตอสติสัมปชัญญะ (จะทําใหสติปญญาตองยอมจํานนตามความปรารถนาของอารมณ เพราะสติปญญาไม สามารถที่จะควบคุมอารมณได) ดวยเหตุผลดังกลาว จึงเปนการสมเหตุสมผลที่อัลลอฮฺจะทรงตอบรับดุอาของเขา (@@ÖŠfl Ð ič) อานวา "ฟรกฺ" (ราอสากินะฮฺ) หรือ "ฟะร็อก" (ราอมัฟตูหะฮฺ) หมายถึงมาตราตวงชนิดหนึ่งที่ใช กันที่นครมะดินะฮฺ ซึ่งมีความจุประมาณ 16 ปอนด หรือประมาณ 3 ทะนาน (ï fl@ Ôč ifl b@ßfl  @ a x fl@ Šfl Ð Ï ) "ดังนั้น อัลลอฮฺจึงทรงเปดชองที่เหลือ (ดวยการขยับหินออกจากปากถ้ําทั้งหมด)" จนกระทั่งพวกเขาสามารถออกจากถ้ําดวยความปลอดภัย การที่ดุอาของคนที่สามถูกตอบรับ เพราะเขาไดชดเชยไดอยางที่สุด โดยไดจายคาจางใหกับลูกจางตาม สิทธิที่เขาพึงไดรับ พรอมกับสวนที่เพิ่มพูนอีกมากมาย ซึ่งความจริงแลวลูกจางจะไดรับคาจางเทากับงานที่ได

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

18

วิชาอัลหะดีษ

ปฏิบัติเทานั้น แตเขากลับใหมากกวานั้น โดยถือวาเปนการบริจาคจากเขา เพื่อหวังความโปรดปรานจากอัลลอฮฺ ดังนั้น จึงเปนการสมควรอยางยิ่งที่ดุอาของเขาจะถูกตอบรับ หะดีษดังกลาวไดบงบอกอยางชัดเจนถึงการตอบรับของอัลลอฮฺตอดุอาของผูกตัญูและทําดีตอบิดา มารดา ดุอาของผูที่สามารถยับยั้งตนเองจากสิ่งหะรอม และดุอาของผูที่มอบใหแกเจาของสิทธิ์ในสิทธิที่เขาพึง จะไดรับ เชนเดียวกับความหมายที่รวมอยูในคําตรัสของอัลลอฮฺวา lu t s r q p o n m l k j m "และผูใดยําเกรงอัลลอฮฺ พระองคก็จะทรงหาทางออกใหแกเขา และจะทรงประทานปจจัยยังชีพแกเขาจากที่ ที่เขามิไดคาดคิด" (7)

หนังสืออางอิงเพื่อการเรียนรูเพิ่มเติมดวยตนเอง • เศาะหีหฺอัลบุคอรียและเศาะหีหฺมุสลิม • ริยาฎ อัศศอลิฮีน • ญามิอฺ อัลอุลูม วัลหิกัม ของอิบนุเราะญับ อัลหันบะลีย การประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน • นําสาระในหะดีษมาแปลงเปนบทภาพยนตร • นําสาระในหะดีษมาแปลงเปนภาพเคลื่อนไหวเพื่อใหเด็กๆ ไดชม • คัดหะดีษดวยลายมือที่ชัดเจนแลวนําไปติดที่บอรดมัสยิด • เขียนเรื่องราวที่มีความหมายเดียวกันกับหะดีษ การวัดผลประเมินผล 1. หะดีษไดชี้นําเราเกี่ยวกับเรื่องใด ? 2. บอกความสําคัญของความอิคลาศ (บริสุทธิ์ใจ) ในการปฏิบัติอามัล และตนเหตุแหงความรอดพน ของผูที่ความอิคลาสในการปฏิบัติอามัล 3. อัลลอฮฺทรงตรัสวา lo n m l k j m สาระสวนใดของหะดีษที่ สอดคลองกับความหมายของอายะฮฺนี้ ? 4. ทานเคยพยายามและจริงจังกับตัวเองในการที่จะปฏิบัติอามัลใดๆ เพื่ออัลลอฮฺดวยความบริสุทธิ์ ใจและปราศจากการปนเปอนของการโออวด (ริยาอ) หรือไม ? (7)

สูเราะฮฺอัฏ-เฏาะลาก, อายะฮฺที่ 2

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

19

วิชาอัลหะดีษ

ขอชี้นําและบทสรุปที่ไดรับจากหะดีษ • จําเปนตองบริสุทธิ์ใจเพื่ออัลลอฮฺในการปฏิบัติอามัล • เราตองกตัญูตอบิดามารดา และทําดีตอทั้งสอง • เราตองไมฉวยโอกาสในขณะทีผ่ ูอื่นกําลังคับแคบ และตกทุกข เพื่อทีจ่ ะชักชวนเขาใหกระทําการทรยศ ตออัลลอฮฺ • เราตองมอบทุกๆสิทธิที่เจาของสิทธิ์พึงไดรับ พรอมกับปฏิบัติดีตอเขา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลหะดีษ

20

เรื่อง “การเนรคุณตอบิดามารดาเปนบาปใหญ” ผลการเรียนรูที่คาดหวังประจําบทเรียน • นักเรียนสามารถสรุปขอเท็จจริง และคุณคาดานคุณธรรมจริยธรรมที่ไดรับการชี้นําจากหะดีษทั้งสองบท ได • นักเรียนสามารถอธิบายถึงสาเหตุของการหามเนรคุณตอบิดามารดาได • นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของการฆาดวยการฝงลูกผูหญิงทั้งเปน ผูกระทํา และสาเหตุที่กระทํา เชนนั้นได • นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของคําพูดของทานนบี  วา “p č bçfl ëfl bÈĆ äž ßfl ” ได • นักเรียนสามารถชี้แจงถึงเหตุผลที่ไมชอบใหพูดมากโดยเปลาประโยชน ชอบซักถามมากความ และใชจาย ทรัพยสินในทางที่มิชอบ • นักเรียนสามารถอธิบายถึงเหตุผลที่ทานนบี  ตองกลาวเตือนซ้ําๆ เกี่ยวกับการเปนพยานเท็จถึงสามครั้ง ตัวบทหะดีษที่หนึ่ง LčpbfläjflÛa …fl cëfl ëfl Lčpbflèߪ þ  aÖ fl ìÔÇŽ áž Ø îžÜ Çfl âfl ŠŞ y fl   a æŞ g» Þ fl bÓ  ó ğ jčäŞÛa åÇfl ò jflÈž Ž‘ åiž ñč  fl Ìč ŽàÛa åÇfl «ÞbflàÛa ò Çfl bfl™gëfl LÞaflû ş Ûa ñ Šfl rž× ëfl LflÞbÓëfl Ý fl îčÓ áž Ø Û êfl Š× ëfl Lčpbflçëfl bĆÈäžßfl ëfl áÜßë ð‰b‚jÛa êaë‰ ความหมายหะดีษ ทานอัลมุฆีเราะฮฺ บิน ชุอฺบะฮฺ  ไดรายงานวา ทานนบี  ไดกลาววา "แทจริง อัลลอฮฺทรงบัญญัติหาม พวกทานเนรคุณตอมารดา การฝงฆาลูกหญิง (ทั้งเปน) ไมยอมใหในสิ่งที่ตองให และอยากไดในสิ่งที่ไมมีสิทธิ์ ไมชอบ ใหพวกทานพูดมากโดยเปลาประโยชน ไมชอบใหซักถามมากความ และใชจายทรัพยสินในทางที่มิชอบ (บันทึกโดยอัลบุคอรียและมุสลิม) คําอธิบายหะดีษ การเนรคุณตอบิดามารดา หมายถึง การทําใหทั้งสองรูสึกเจ็บปวดและชอกช้ําใจดวยวิธีใดก็ตาม ไมวาจะ นอยหรือมาก ไมวาทานทั้งสองจะหาม หรือไมหามก็ตาม หากวาการกระทํานั้นไดคานกับสิ่งที่ทั้งสองไดสั่งให

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

วิชาอัลหะดีษ

21

กระทํา หรือหามไมใหกระทํา โดยมีเงื่อนไขวา ตองไมเปนการทรยศตออัลลอฮฺในทุกๆสิ่ง หากไมแลว ก็ไม อนุญาตใหปฏิบัติตามในสิ่งที่เปนการทรยศตอพระผูทรงสราง คําอธิบายหะดีษที่ 1 (p č@ bflèߪ þ  aÖ fl@ ìÔÇŽ áž@ Ø îžÜ Çfl âfl@ ŠŞ y fl  @ a æŞ@ g :Þ fl@ bÓ @áÜë@éîÜÇ@a@óÜ•@ó ğ@ jčäŞÛa å @ Çfl ) "ทานนบี  ไดกลาววา "แทจริง อัลลอฮฺทรงบัญญัติหามพวกทานเนรคุณตอมารดา” ดวยการตัดสัมพันธกับบิดามารดา และไมเชื่อฟงทาน ทั้งสอง ในหะดีษนี้ระบุเพียง “มารดา” เทานั้น โดยไมไดระบุถึงบิดา แตโดยความหมายแลว การเนรคุณตอบิดาก็ เปนบาปใหญเหมือนกับการเนรคุณตอมารดาเชนกัน หรือการที่เจาะจงกลาวถึงเพียง “มารดา” เพราะการเนรคุณตอ มารดานั้นนับวาเปนพฤติกรรมที่เลวทรามและนาละอายกวา หรือเพราะความออนแอของนางโดยสวนใหญ (p č@ bfläjflÛ a …fl@ cëfl ëfl ) หมายความวา หามฝงลูกหญิงทั้งเปน ชาวญาฮิลียะฮฺในสมัยกอนอิสลามมักจะใชวิธีนี้ กําจัดลูกหญิงของตนเอง เพราะไมพอใจตอ (ความเปนสตรีของ) นาง กลาวกันวาคนแรกที่ฝงลูกหญิงทั้งเปนคือ ก็อยสฺ บิน อาศิม อัตตะมีมีย โดยครั้งหนึ่ง ศัตรูของทานไดบุกจูโจมทานโดยไมทันรูตัว และไดจับลูกสาวของทาน ไปเปนเชลย แลวยกนางขึ้นเปนภรรยา ตอมาก็มีการเจรจาสงบศึก แลวก็อยสก็ใหลูกสาวเลือกวาจะอยูกับใคร ลูก สาวก็เลือกที่จะอยูกับสามี ดังนั้นก็อยสฺจึงใหคําสัตยสาบานกับตัวเองวา หากใหกําเนิดลูกหญิงแกเขา เขาจะฝงทั้ง เปนทันที ดังนั้น ชาวอาหรับจึงเลียนแบบการกระทําของก็อยสฺ สืบตอกันมา สวนชาวอาหรับอีกกลุมหนึ่ง จะฆาลูกของพวกเขา ไมวาจะเปนหญิงหรือชาย เพราะกลัววาลูก ๆ จะมา แยงทรัพยสมบัติของพวกเขาใหเหลือนอยลง หรือเพราะความตระหนี่และหวงสมบัติ หรือเพราะไมมีทรัพยสินที่ จะใชเลี้ยงดูพวกเขา อัลลอฮฺไดกลาวถึงเรื่องราวของพวกเขาไวในอัลกุรอานหลายตอหลายอายะฮฺ เชน l ¼ » º ¹¸ ¶ µ ´ ³ m

(8)

"และพวกทานทั้งหลายจงอยาฆาลูกๆของพวกเจา เนื่องจากความจน เราเปนผูใหปจ จัยยังชีพแกพวกเจา และแกพวกเขา" l k j i h g f e d c b am ~ } | {z y x w v u t sr q p o n m

l`_

(9)

"และเมื่อผูใดในหมูพวกเขาไดรับขาววาไดลูกผูหญิง ใบหนาของเขาจะอยูในสภาพที่หมองคล้ําเนื่องจาก ความโกรธและเสียใจ เขาจะซอนตัวเองจากกลุมชน เนื่องจากความอับอายและอัปยศจากสิ่งที่ไดรับแจงขาว (การได (8) (9)

สูเราะฮฺอัล-อันอาม, อายะฮฺที่ 151 สูเราะฮฺอัน-นะหฺลุ, อายะฮฺที่ 58-59

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

22

วิชาอัลหะดีษ

บุตรหญิง) เขาจะเลี้ยงไวดวยความอดสูและทิ้งขวาง หรือเหยียบมันลงดิน (ฝงทั้งเปน) พึงทราบเถิด ! สิ่งที่พวกเขา ตัดสินใจนั้นชางเลวทรามยิ่งนัก" l d c b a ` _ ^ ]m "และเมื่อทารกหญิงที่ถูกฝง (ไดฟนคืนชีพและ) ถูกถามวาเพราะความผิดอันใดหรือที่เธอถูกฆา" เศาะอฺเศาะอะฮฺ บิน นาญิยะฮฺ อัตตะมีมีย -ปูของอัลฟะรัซดัก คือฮัมมาม บินฆอลิบ บิน เศาะเศาะอะฮฺ ซึ่ง เปนนักกวีผูโดงดัง - เปนคนแรกที่ทําการไถถอนลูกหญิงที่จะถูกนําไปฝงทั้งเปน โดยเขาจะไปหาผูที่ประสงคจะฝงลูก แลวขอไถถอนดวยทรัพยสินของตัวเอง ซึ่งอัลฟะรัซดักไดเขียนบทกวีดวยความภาคภูมิใจวา …ž õfl ìž Ží áž Ü Ï Lñ†fl îž öčìfl Û a bîfly ž cëfl p č a†fl öčaìfl Û a Éfl äflßfl ðˆč Ûa ð†ğ u fl ëfl (10)

"และปูของฉันคือผูที่หามการฝงลูกหญิงทั้งเปน และไดใหชีวิตแกลูกหญิงที่จะถูกฝงทั้งเปน ดังนั้นจึงไมมีการฝงทั้งเปน” กรณีนี้นาจะเกิดขึ้นกับชาวอาหรับกลุมที่สอง ก็อยสฺและเศาะอฺเศาะอะฮฺ ก็มีชีวิตอยูจนทันเขารับอิสลาม และถือวาทั้งสองเปนเศาะหาบะฮฺ สาเหตุที่เจาะจง กลาวเฉพาะลูกหญิง เพราะชาวอาหรับสวนใหญจะนิยมฝงลูกหญิง เนื่องเพราะลูกชายเปนเพศที่มีความสามารถในการ ทํามาหาเลี้ยงชีพ ลักษณะการฝงลูกทั้งเปนของชาวอาหรับนั้นมีดวยกันสองวิธี - วิธีแรก เมื่อภรรยาของพวกเขาเจ็บทองใกลคลอด พวกเขาก็จะสั่งใหนางไปนั่งใกลหลุมที่ขุดเตรียมไว หากนางคลอดออกมาเปนชาย นางก็จะรักษาชีวิตลูกไว แตหากนางคลอดออกมาเปนหญิง นางก็จะโยนทารกลงไป ในหลุม การกระทําเชนนี้เหมาะสมกับชาวอาหรับกลุมแรก - อี กวิธี หนึ่ ง เมื่ อลูกสาวของพวกเขาอายุ ครบ 6 ขวบ ก็จะสั่ งใหแมของเด็กชวยแตงตั วใหสวยงาม เพื่อที่จะไดพาเธอไปเยี่ยมญาติ จากนั้นก็จะพาเธอไปยังทะเลทรายที่ไกลออกไป จนกระทั่งไปถึงบอ (ที่ไดเตรียมไว) แลวบอกกับเธอวา เธอลองชะเงอดูในบอสิวามีอะไร แลวก็ผลักเธอจากดานหลังใหตกลงไปในบอ หลังจากนั้นก็ทํา การกลบบอ และเคลียรพื้นที่ใหเปนปกติ การกระทําเชนนี้เหมาะสมกับชาวอาหรับกลุมที่สอง (bÈĆ äž ßfl ëfl ) หมายถึง ไมอนุญาตใหระงับ (ไมยอมแบงปน) ในสิ่งที่พวกเจามีหนาที่ (วาญิบ) ตองให (p č bçfl ) หมายถึง ไมอนุญาตใหรองขอหรือรับเอาในสิ่งที่พวกเจาไมมีสิทธิ์ที่จะรับ (êَ Š× ëfl ) หมายถึง อัลลอฮฺไมชอบ (َÞ @ bÓëfl Ý fl@ îčÓ áž@ Ø Û) สําหรับพวกเจาที่ (ชอบพูดมากโดยเปลาประโยชน) ชอบกลาววา “คนนั้นพูดอยางนั้น คนนี้พูดอยางนี้” ซึ่งเปนสิ่งที่ไรสาระที่ชอบนํามาพูดคุยกันในมัจญลิส เชนกลาววา "คนนั้นพูดอยางนั้น" ในสิ่งที่ ไมถูกตอง และไมทราบวาขอเท็จจริงเปนอยางไร ซึ่งบางทีอาจจะนําไปสูการนินทาลับหลัง หรือกลาวใหรายผูอื่น (10)

สูเราะฮฺอัต-ตักวีรฺ, อายะฮฺที่ 9

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

23

วิชาอัลหะดีษ

สวนผูที่เลาในสิ่งที่ถูกตอง และทราบวาขอเท็จจริงเปนอยางไร โดยสามารถแจงถึงที่มาของเรื่องไดวานํามาจากผูที่ นาเชื่อถือ และไมไดนําไปสูสิ่งที่ตองหาม (การนินทาวาราย) เชนนี้ ก็วาไมเปนที่นาตําหนิ (@Þaflû ş Ûa ñ@Šfl rž× ëfl ) หมายความ อัลลอฮฺทรงไมชอบใหพวกเจาซักถามมากความโดยปราศจากความจําเปน หรือถามเกี่ยวกับปญหาที่ไมตองการใช หรือถามเพื่อลองเชิงวารูจริงหรือไม ไมไดถามเพราะตองการจะสรางความ เชื่อมั่นและทราบขอเท็จจริง แตถามเพราะตองการจะทดสอบภูมิปญญา ตองการที่จะโออวดความรูของตนเอง และ โตเถียง หรือถามเกี่ยวกับเรื่องราวของผูอื่น โดยที่ตัวเองไมไดใหความสําคัญหรือเหลียวแลตอความเปนอยูของพวก เขาเลย (@ÞbflàÛ a ò@ Çfl bfl™gëfl ) หมายความวา อัลลอฮฺไมชอบใหทําการผลาญทรัพยสิน ดวยการใชจายในสิ่งที่ศาสนา ไมอนุญาต เพราะอัลลอฮฺสรางทรัพยสินเพื่อประโยชนของมวลบาวของพระองค ดังนั้น การใชทรัพยสินอยาง ฟุมเฟอย จึงเทากับเปนการผลาญ (ประโยชนดังกลาว) ใหสูญเปลา เชนเดียวกับการใชทรัพยสินในหนทางที่เปน การทรยศตออัลลอฮฺ และทุมเททรัพยสินเพื่อเปาหมายที่เล็กนอยและไรสาระ ทานอัลหาฟซ อิบนุ หะญัร ไดกลาวในตอนทายของการอธิบายหะดีษบทนี้ในหนังสือฟตหุลบารีย วา "ทาน อัฏฏีบีย กลาววา "หะดีษบทนี้เปนมูลฐานในการรูจักมารยาทที่ดีงาม นั่นคือ การสืบหาและติดตามทุกๆ จรรยามารยาทที่ดีงาม และคุณลักษณะตางๆที่สวยงาม ตัวบทหะดีษที่สอง . č aÞ fl@ ìŽ‰fl b@flí ó @ Üifl bfläÜ Ó .bĆqý  qfl «ŠöčbfljØ Ûa Šjfl× dič áž Ø ÷Žğjãflc ü  c»   č aÞ Ž ìŽ‰fl Þ fl bÓ :Þ fl bÓ ñ Šfl Ø ifl óčic å ž Çfl ñ@…fl bflèfl‘ëfl ‰@ ëşŒÛa ŽÞìž Ó ëfl ü  c» Þ fl bÔÏ  fl Ü v fl Ï bĆ÷Øč nŞßŽ æfl b×ëfl .«å힆fl ÛčaflìÛa Ö Ž ìÔÇŽ ëfl L č bči Ú  aflŠ‘ ž ⁄a» Þ fl bÓ .ŽoØ ž ífl ü  o Ž Ü Ó óŞny fl bflèÛìÔífl Þ fl afl‹ bflàÏ .«‰ëşŒÛa ñ…fl bflè‘ fl ëfl ‰ëşŒÛa ŽÞìž Ó ëfl ü  c L‰ëşŒÛa áÜßë ð‰b‚jÛa êaë‰ ความหมายหะดีษ ทานอบูบักเราะฮฺ  กลาววา ทานเราะสูลุลลอฮฺ  กลาววา "พึงทราบเถิด ฉันจะแจงใหพวกทานทราบ เกี่ยวกับบาปใหญที่หนักหนาที่สุด (ทานกลาว) 3 ครั้ง พวกเราตอบทานวา อยากฟง โอทานเราะสูลุลลอฮฺ ทานจึง กลาววา คือการตั้งภาคีตออัลลอฮฺ การเนรคุณตอบิดามารดา" ในตอนแรกทานเอนกายอยู แลวทานก็ลุกนั่ง และกลาว ตอไปวา พึงระวังจากการพูดเท็จ และการเปนพยานเท็จ พึงระวังจากการพูดเท็จ และการเปนพยานเท็จ และทานก็ ยังคงพูดตอไป จนฉันคิดวา ทานจะไมหยุดพูด” (บันทึกโดยอัลบุคอรียและมุสลิม)

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

24

วิชาอัลหะดีษ

คําอธิบายศัพทหะดีษที่ 2 (ñ Šfl Ø ifl óčic å ž Çfl ) อบูบักเราะฮฺ มีชื่อวา นุฟยอฺ อัษษะเกาะฟย (@ü @ c) เปนคําเริ่มตนการบอกเลา กลาวขึ้นเพื่อเตือนใหผูที่สดับฟงใสใจกับสิ่งที่จะเลาตอจากนั้น เพื่อให เขาไดยึดมั่นกับมัน (ŠöčbfljØ Ûa Šjfl× dič) "Šöčbflj× " เปนคําพหูพจนของคําวา "@ñ@Šfl îž jč× " หมายถึง ทุกๆความผิดที่มีระบุในอัลกุรอานและ สุนนะฮฺ ถึงสัญญาคาดโทษที่รุนแรง (ในวันอาคิเราะฮฺ) ถึงแมวาจะไมมีการทําโทษ (ในโลกนี้) ก็ตาม ดังนั้น ความ หนักหนาของความผิด จะขึ้นอยูกับความรุนแรงของความเสื่อมเสีย และความหนักหนวงของบทลงโทษ (ในวันกียา มะฮฺ) คําวา “ŠöčbfljØ Ûa Šjfl× c” "บาปใหญที่หนักหนาที่สุด" ไมไดจํากัดจํานวนตามที่ปรากฏในหะดีษเทานั้น เพราะ ในสํานวนของหะดีษนี้มี คําวา "@å ž ßč " ที่ใหความหมายวา "สวนหนึ่ง" หมายความวา "ฉันจะแจงใหพวกทานทราบ เกี่ยวกับสิ่งตางๆที่เปนสวนหนึ่งของบาปใหญที่หนักหนาที่สุด" เพราะไดมีการยืนยันจากหะดีษอื่นๆถึงประเภท ตางๆของบาปใหญที่หนักหนาซึ่งไมไดกลาวถึงในหะดีษนี้ เชน การฆาทําลายชีวิตที่อัลลอฮฺทรงบัญญัติหามไว โดยปราศจากสิทธิ์อันชอบธรรม การผิดประเวณี (ซินา) กับภรรยาของเพื่อนบาน และการมีทรรศนะคติที่ไมดี ตออัลลอฮฺ (@b@qĆý  qfl) "สามครั้ง" หมายความวา ทานนบีไดกลาวสํานวนที่วา «Š@ öčbjfl@Ø Û a @Šjfl× dič áž@ Ø ÷Žjğãflc ü @ c» "พึงทราบเถิด ฉัน จะแจงใหพวกทานทราบเกี่ยวกับบาปใหญที่หนักหนาที่สุด" จํานวนสามครั้ง ตามความเคยชินของทานในที่ชอบกลาว ทวนซ้ําถึงสามครั้ง เพื่อเปนการย้ําเตือนใหผูฟงเตรียมใจพรอมรับฟงและทําความเขาใจในสิ่งที่จะนํามาบอกเลา ( č@ a Þ fl@ ìŽ‰fl b@ífl ó @ Ü ifl :b@äflÜ Ó ) "พวกเรา (เศาะหาบะฮฺ) ตอบวา “หาไม..โอทานรอซูลุลลอฮฺ" หมายความวา "ได โปรดเลาใหพวกเราฟงเถิด โอทานเราะสูลุลลอฮฺ" ( č bči Ú  aflŠ‘ ž ⁄a) ทานเราะสูลุลลอฮฺ  กลาววา ประการแรกคือ การตั้งภาคีตออัลลอฮฺ หมายความวานําสิ่งอื่น มาเปนหุนสวนกับอัลลอฮฺในเรื่องของอุลูฮิยะฮฺ (ความเปนพระเจา) และการอิบาดะฮฺ หรือหมายถึงการปฏิเสธศรัทธา โดยทั่วไปที่ครอบคลุมทุกรูปแบบ ซึ่งเปนเปาประสงคของหะดีษนี้ ดังนั้น การใชสํานวนวา "ตั้งภาคี" เพราะเปนสิ่งที่ เกิดเปนสวนใหญ โดยเฉพาะในดินแดนอาหรับ เพราะถาหากวาประสงคในความหมายแรก ยอมตองตัดสินวา เปน ประเภทของการปฏิเสธศรัทธาที่ยิ่งใหญและรุนแรงที่สุด เพราะเปนการทําใหการศรัทธาเปนโมฆะ (@å힆fl ÛčaflìÛ a Ö Ž@ ìÔÇŽ ëfl ) ประการที่สองคือ "การเนรคุณตอบิดามารดา" ซึ่งเปนการกระทําที่ตรงขามกับคําวา (@åíž †fl ÛčaflìÛ a Šş@ ič) ที่หมายถึงการเชื่อฟง และทําดีกับบิดามารดา ดังนั้น การทรยศ ไมเชื่อฟง และกระทําไมดี หรือ กาวราวตอบิดามารดาในเรื่องที่ไมเกี่ยวกับการเชื่อฟงอัลลอฮฺ จึงถือวาเปนการเนรคุณตอทานทั้งสอง (‰ëŒş Ûa ñ…fl bflè‘ fl ëfl ‰ëşŒÛa ŽÞìž Ó ëfl ü  c :Þ fl bÔÏ  fl Ü v fl Ï bĆ÷Øč nŞßŽ æfl b×ëfl ) "ในตอนแรกทานเอนกายอยู แลวทานก็ลุกนั่ง และกลาวตอไปวา พึงระวังจากการพูดเท็จ และการเปนพยานเท็จ" การสันธานพยานเท็จตอจากการพูดเท็จเปนการ อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายของการพูดเท็จ ซึ่งคําวาพูดเท็จจะมีความหมายที่กวางกวา การปฏิเสธศรัทธา ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

25

วิชาอัลหะดีษ

และกวางกวาการเปนพยานเท็จ หรือเปนการสันธานความหมายเฉพาะตอจากความหมายรวม เพราะการเปนพยาน เท็จเปนรูปแบบหนึ่งของการพูดเท็จ แตไมใชกลับกัน (@@‰ëşŒÛa) "ความเท็จ" หมายถึง การพรรณาถึงสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ผิดเพี้ยนและไมตรงกับสภาพความเปนจริง ของมัน ซึ่งครอบคลุมความโกหกมดเท็จ และความจอมปลอม และ "การเปนพยานเท็จ” ก็คือการปฏิบัติในสิ่งที่เปน เท็จ ซึ่งเหมือนกับการปฏิบัติดีที่ออกจากผูที่โออวดและกลับกลอก ทานอัล-กุรฏบียกลาววา “การเปนพยานเท็จ คือการเปนพยานดวยการกุเรื่องโกหก เพื่อใชเปนสะพานที่ ทอดไปสูความจอมปลอมจากการทําลายชีวิต หรือเอาทรัพยสิน หรือทําใหสิ่งที่หะรอมกลายเปนสิ่งที่หะลาล หรือ ทําใหสิ่งที่หะลาลกลายเปนสิ่งที่หะรอม ดังนั้น จึงไมมีการกระทําที่เปนบาปใหญใดๆที่เปนอันตรายและภัยพิบัติที่ รายแรงไปกวาการเปนพยานเท็จ และไมมีการกระทําใดที่เปนการบอนทําลายที่เลวรายที่สุด หลังจากการตั้งภาคี ตออัลลอฮฺ ดวยเหตุนี้ ทานเราะสูลุลลอฮฺจึงกลาวทวนคําวา (@‰ëşŒÛa ñ@…fl bflè‘ fl ëfl @‰ëşŒÛa Þ Ž@ ìž Ó ëfl ü @ c) "พึงระวังจากการพูด เท็จ และการเปนพยานเท็จ” ซ้ําแลวซ้ําเลา จนกระทั่งผูรายงานหะดีษ (หมายถึงอบูบักเราะฮฺ) กลาววา "ทานจะไม หยุด" และในสํานวนของอีกรายงานหนึ่งกลาววา (o fl Ø  fl éŽ@ nflîž Û b@äflÜ Ó ó @ nŞy fl b@çfl ‰Ž Šğ Ø íŽ Þ fl@ afl‹ b@àfl Ï ) "ดังนั้น ทานยังคงกลาว ทวนซ้ําแลวซ้ําเลา จนพวกเรากลาววา "มาตรวาทานจะยุติ" หมายความวา จนกระทั่งพวกเรากลาวในขณะที่พวกเรา กําลังรับฟงคํากลาวซ้ําๆ ดังกลาวของทานเราะสูล  วา "มาตรวาทานจะยุติ" หมายถึง พวกเขาตางปรารถนาให ทานเราะสูลยุติคําพูดนั้นเสีย เพราะรูสึกสงสารที่เห็นทานวิตกกังวลและไมสบายใจกับเรื่องดังกลาว ในหะดีษนี้ ครอบคลุมการเตือนสําทับ (ขมขู) ใหระวังจากการเปนพยานเท็จของทานเราะสูลุลลอฮฺ  ซึ่งทานไดประกาศถึง ความนากลัวและอันตรายของมันถึงสามรูปแบบ คือ 1. ทานพูดในขณะที่เอนกายนอน แลวเปลี่ยนอิริยาบถมาเปน ทานั่ง 2. ทานเริ่มตนของการบอกเลาโดยใชคําวา “ü @ c@” ซึ่งเปนการเรียกความสนใจจากผูฟงใหหันมารับฟงในสิ่งที่ กลาวตอจากนั้น 3. ทานกลาวทวนซ้ําอีกสองครั้ง และในบางรายงานระบุวา สามครั้ง และสุดทายทานนบี  ได กลาวเนนย้ําเปนครั้งที่สี่ ดวยคําวา “การพูดเท็จ และการเปนพยานเท็จ” ในขณะที่ประโยคทั้งสองมีความหมาย เดียวกัน (หรือใกลเคียงกัน) การใหความสําคัญของทานเราะสูล  ตอการเปนพยานเท็จ และตักเตือนใหหลีกหางจากการเปนพยาน เท็จ ก็เพื่อกระตุนใหมนุษย -ที่ตระหนักถึงอันตรายของมัน- มุงมั่นที่จะหลีกหาง และหนีเตลิดจากมัน เพื่อที่พวกเขา จะไดรอดปลอดภัย เพราะ (การกระทําบาปดวย) การพูดเท็จหรือการเปนพยานเท็จจะเกิดขึ้นกับมนุษยไดงายกวา การกระทําบาปดวยอีกสองประเภท นั่นคือ การตั้งภาคีตออัลลอฮฺ และการเนรคุณตอบิดามารดา การประมาท เลินเลอ (และไมระวังตัว) ตอการพูดเท็จและการเปนพยานเท็จก็มีมากกวา และอันตรายจากการพูดเท็จและการเปน พยานเท็จก็งายที่จะเกิด เพราะการตั้งภาคีนั้นเปนสิ่งที่มุสลิมจะหลีกเลี่ยงและออกหางจากมัน สวนการเนรคุณตอ บิดามารดาก็เปนสิ่งที่ธรรมชาติของความเปนมนุษยจะปฏิเสธและไมคลอยตาม แตเรื่องของการเปนพยานเท็จปจจัย หรือตัวแปรที่จะชักนําไปสูเรื่องนี้มีมากมายหลายประการ ดังนั้นจึงเปนการดีที่จะตองใหความสําคัญดวยการ ตักเตือนใหเฝาระวังและออกหางจากมัน ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

26

วิชาอัลหะดีษ

บทเรียนที่ไดรับจากหะดีษ 1. ในการตักเตือน สงเสริมใหมีการกลาวทวนสามครั้งเพื่อใหเกิดความเขาใจ ตามแบบอยางของทาน เราะสูลุลลอฮฺ ซึ่งทานไดกลาวทวนคําวา (@‰ëşŒÛa ñ@…fl bflè‘ fl ëfl @‰ëşŒÛa Þ Ž@ ìž Ó ëfl ü @ c) "พึงระวังจากการพูดเท็จ และการเปนพยานเท็จ” สามครั้งติดตอกัน 2. ผูตักเตือนแสดงออกถึงความหวงใยและความรูสึกไมสบายใจในเรื่องที่กําลังตักเตือน เพื่อใหผูฟง รูสึกคลอยตามในการที่จะหลีกหาง และไมกระทําสิ่งที่ไดเตือนไว 3. ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากการเปนพยานเท็จนั้นมากมายและรุนแรงยิ่ง 4. การตั้งภาคีตออัลลอฮฺเปนบาปใหญที่หนักและรุนแรงที่สุด ซึ่งอัลลอฮฺไดตรัสไวในอัลกุรอานวา ¡ ~ } | { z y x w v u t s r{

‫¦ § ¨ژ‬¥¤£¢ "แทจริงอัลลอฮฺจะไมทรงอภัยโทษตอการนําสิ่งหนึ่งมาเปนภาคีกับพระองค และพระองคจะทรงอภัยตอ สการกระทําอื่นจากนั้น สําหรับผูที่พระองคทรงประสงค และผูใดสรางภาคีกับอัลลอฮฺ แนนอนเขาก็ไดอุปโลกน บาปกรรมอันใหญหลวงขึ้น" 5. การเนรคุณตอบิดามารดาเปนบาปใหญหรือเปนบาปหนักที่รุนแรงประเภทหนึ่ง (11)

หนังสืออางอิงเพื่อการเรียนรูเพิ่มเติมดวยตนเอง • เศาะหีหฺอัลบุคอรียและเศาะหีหฺมุสลิม • ริยาฎ อัศศอลิฮีน • ญามิอฺ อัลอุลูม วัลหิกัม ของ อิบนุ เราะญับ อัลฮหันบะลีย การปฏิบัติจริงกับขอเท็จจริงของหะดีษดวยกิจกรรมเสนอแนะ • ใหเขียนเรื่องราวที่บรรยายถึงผลลัพภของผูที่เนรคุณตอบิดามารดา • ใหเขียนเรื่องราวที่บรรยายถึงความขยะแขยงของการฝงลูกหญิงทั้งเปนของชาวอาหรับบางกลุม • ใหพูดคุยหรือบรรยายตอหนาผูที่ไปละหมาดที่มัสยิด เกี่ยวกับ “สิ่งที่มุสลิมควรหลีกหาง” อาทิ การตระหนี่ ในสิ่ งที่ตนเองต องให และอยากไดในสิ่งที่ ตนเองไมมีสิทธิ์ การพู ดมากโดยเปล าประโยชน และใช จาย ทรัพยสินในทางที่มิชอบ • ใหอานคุตบะฮฺ โดยอธิบายถึงความหมายของการเปนพยานเท็จ และสวนหนึ่งของการเปนพยานเท็จคือ การใชสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งใหแกผูที่ไมเหมาะสม

(11)

สูเราะฮฺอัน-นิสาอ, อายะฮฺที่ 48

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

27

วิชาอัลหะดีษ

การวัดผลประเมินผล 1. หะดีษทั้งสองบทไดการชี้นําเราเกี่ยวกับเรื่องใด ? 2. หะดีษทั้งสองบทมีความพองกันในสวนใด ? 3. เพราะเหตุใดหะดีษแรกจึงเจาะจงหามไมใหเนรคุณตอมารดาเทานั้น ไมไดกลาวถึงการเนรคุณตอบิดา ? 4. คําวา “‫ت‬ ِ ‫ ” َوْأ َد اْﻟَﺒَﻨﺎ‬มีความหมายวาอยางไร เพราะเหตุใดชาวอาหรับในสมัยญาฮิลียะฮฺจึงกระทําเชนนั้น? 5. จงชี้แจงถึงผลเสียที่กระทบตอสังคมอันเนื่องจาก “ความตระหนี่และอยากไดในสิ่งที่ตนเองไมมีสิทธิ์ การ พูดจามากความในสิ่งที่ไรสาระ การชอบซักไซรดวยคําถามที่มากมาย” ? 6. เพราะเหตุใดทานนบี  จึงย้ําเตือนจากการเปนพยานเท็จถึงสาม ? ขอชี้นําและบทเรียนที่ไดรับจากหะดีษ • หามตั้งภาคีตออัลลอฮฺ • ไมอนุญาตใหเนรคุณตอบิดามารดา • ตองมอบหมายตออัลลอฮฺ (ตะวักกัล) ในการแสวงหาริซกี • เราตองไมแสวงหาในสิ่งที่ไมใชสิทธิของเรา และอยาไมสกัดกั้นผูอื่นจากสิทธิที่เขาพึงไดรับ • เราตองไมเลาเรื่องราวใดๆ แกผูอื่น นอกจากวาเรื่องราวนั้นมีน้ําหนักและเชื่อถือได • เราตองไมซักไซรดวยคําถามตางๆที่ไมนํามาซึ่งประโยชนใดๆ • เราตองไมใชจายทรัพยสิน นอกจากในสิ่งที่เปนประโยชนเทานั้น การประยุกตใช 1. จัดใหมีการเยี่ยมเยียนภายในครอบครัว เพื่อกระชับความสัมพันธกับบิดามารดาและเครือญาติให แนนแฟนยิ่งขึ้น 2. ทําตารางการติดตอทางโทรศัพทกับบิดามารดาและเครือญาติอยางเปนระบบ (เชน รายวัน ราย สามวัน หรือ รายสัปดาห เปนตน) 3. รวบรวมอายะฮฺจากอัลกุรอานและหะดีษที่กลาวถึงคุณคาและความประเสริฐของการทําดีตอบิดา มารดา และการสรางสัมพันธที่ดีกับเครือญาติ 4. รวบรวมหตุการณหรือทาที่ดานการศรัทธาและคุณธรรมจริยธรรมที่มีความสัมพันธกับการทําดี ตอบิดามารดาและการสรางสัมพันธที่ดีกับเครือญาติ และมีปฏิสัมพันธที่ดีกับเพื่อนบาน 5. บอกแนวทางการปฏิบัติหรือสื่อที่จะชวยกระชับสัมพันธกับเครือญาติและทําดีตอบิดามารดาให แนนแฟนและแข็งแกรงยิ่งขึ้น 6. ศึกษาและอภิปรายในประเด็น “วันแมถือเปนสื่อในการทําดีตอบิดามารดาหรือไม ?” 7. สรรหารายชื่อบุคคลจํานวนหนึ่งที่ (โดดเดนดานการ) ทําความดีตอบิดามารดา

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

28

วิชาอัลหะดีษ

8. ศึกษาและอภิปรายในประเด็น "ปญหาหรือปจจัยที่สรางความขุนมัวตอความสัมพันธอันบริสุทธิ์ ระหวางบิดามารดาและบุตร” โดยมีเปาหมายเพื่อหาแนวทางในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น 9. กําหนดใหวันใดวันหนึ่งในหนึ่งสัปดาห และสัปดาหใดสัปดาหหนึ่งในหนึ่งเดือน และการทําดี ตอบิดามารดา เพื่อเปนการฝกฝนตนเองในเชิงปฏิบัติ 10. บอกแนวทางหรือวิธีการทําดีตอบิดามารดาหลังจากที่ทานทั้งสองไดเสียชีวิตแลว 11. วางมโนภาพหรือจินตนาการในเรื่อง "เสี้ยวหนึ่งของการปฏิบัติการ” ที่ทําใหการทําความดีตอ บิดามารดาและสรางสัมพันธตอเครือญาติไดบรรลุผลภายในเสี้ยวเวลาดังกลาว 12. “อัลลอฮฺทรงเมตตาตอผูที่ชวยเหลือลูกของตนเองในการทําดีตอตน” ใหอภิปรายประโยคขางตน พรอมยกตัวอยางประกอบ 13. เขียนบทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับสภาพที่เกิดขึ้นจากการเนรคุณตอบิดามารดาและผลกระทบ ทางสังคม เครื่องมือสําหรับใชวัดผลประเมินผล 1. สรางคําถามสําหรับใชซักถามเพื่อชี้วัดวามีความเขาใจที่แจมแจงและครอบคลุมเพียงใด 2. สรางแบบสอบถามเพื่อใหทราบถึงวิสัยทัศนในดานการทําดีตอบิดามารดาและการมีสัมพันธ ระหวางเครือญาติ 3. ตั้งขอสังเกตุดานความสัมพันธระหวางบุคคล กับบิดามารดา และเครือญาติวาอยูในระดับใด เพื่อ เปาหมายดานการเยียวยาในสวนที่บกพรอง 4. วิริดเพื่อตรวจสอบตนเองในเรื่องที่เกี่ยวกับการทําดีและมีสัมพันธที่ดี 5. ทํารายงานเกี่ยวกับสภาพของแตละบุคคลในดานการทําดี และการมีสัมพันธที่ดี หลังจากที่ได ดําเนินโครงการ "สัปดาหแหงความสัมพันธ" ที่ถูกเสนอ เชนเดียว "เดือนแหงความสัมพันธ" ที่ ถูกเสนอ 6. ทําแบบประเมิณที่ครอบคลุมหัวขอตางๆอยางเปนเอกเทศ เกี่ยวกับแนวทางตางๆของการทําความ ดีตอบิดามารดา และการมีสัมพันธทางเครือญาติ การทําความดีตอเพื่อนบาน พรอมกับประเมิณ ทุ กๆสาระ และกํ าหนดระดับทั่วไปของความสัมพันธในด านการทําดีต อบิ ดามารดา การมี สัมพันธที่ดีกับเครือญาติ และการทําดีตอเพื่อนบาน ระหวางบุคคลกับกลุมเปาหมาย กิจกรรมการเรียนรูดวยตนเองเพิ่มเติม 1. ใหใชชีวิตและคลุกคลีกับหะดีษของทานเราะสูล  เพื่อนํามาเปนแบบอยางและปฏิบัติตาม 2. ใหทําความรูจักกับสาเหตุและที่มาของหะดีษ โดยผานชีวประวัติของทานนบี  3. ใหตระหนักวา หะดีษแตละบท มีกระแสรายงานที่หลากหลาย 4. ใหทําความรูจักกับชื่อบรรดาชื่อเจาของบรรดาหนังสือหะดีษที่เปนที่รูจัก และหนังสือที่ อธิบายบรรดาหนังสือหะดีษเหลานั้น

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


หลักสูตรสันติศึกษา ระดับ 01

หนังสืออางอิง 1. 2. 3. 4.

29

ริยาฎ อัศศอลิฮีน ของอีหมามอันนะวะวีย อัตตัรฆีบ วัตตัรฮีบ (หรือฉบับยอ) เศาะหีหฺอัลบุคอรีย เศาะหีหฺมุสลิม

ฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

วิชาอัลหะดีษ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.