Extend51

Page 1

¤Ó͸ԺÒÂà¾ÔèÁàμÔÁ»ÃСͺ

¤Ù‹Á×Í¡ÒûÃСѹ¤Ø³ÀÒ¾¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÀÒÂã¹Ê¶Ò¹ÈÖ¡ÉÒ ÃдѺÍØ´ÁÈÖ¡ÉÒ ¾.È. 2551

สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา


¤Ó͸ԺÒÂà¾ÔèÁàμÔÁ»ÃСͺ

¤Ù‹Á×Í¡ÒûÃСѹ¤Ø³ÀÒ¾¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÀÒÂã¹Ê¶Ò¹ÈÖ¡ÉÒ ÃдѺÍØ´ÁÈÖ¡ÉÒ ¾.È. 2551

ÊӹѡÁÒμðҹáÅлÃÐàÁÔ¹¼ÅÍØ´ÁÈÖ¡ÉÒ Êӹѡ§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáÒÃÍØ´ÁÈÖ¡ÉÒ


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบคูมือการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 จัดทำโดย คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา (ค.ป.ภ.) คณะอนุกรรมการพัฒนาองคประกอบและตัวบงชี้การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พิมพครั้งที่ 1 : พฤษภาคม 2552 จำนวนพิมพ : 5,000 เลม ISBN 978-611-15-0000-4 จัดพิมพเผยแพร : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 328 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2610-5373, 0-2610-5374 โทรสาร 0-2354-5530, 0-2354-5491

พิมพที่

: หางหุนสวนจำกัด ภาพพิมพ 296 ซอยจรัญสนิทวงศ 40 ถนนจรัญสนิทวงศ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท 0-2433-0026-7, 0-2433-8587 โทรสาร 0-2433-8587 ผูพิมพผูโฆษณา : นายอนันต ศรีฉ่ำพันธ


¤Ó¹Ó สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดพัฒนาตัวบงชีการ ้ ประกัน คุณภาพ การ ศึกษา ภายใน สถานศึกษา ระดับ อุดมศึกษา โดย ใหมีความ ครอบคลุมทุกองคประกอบคุณภาพตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 และสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการ อุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑทีเกี ่ ย่ วของกับการจัดการศึกษาอืน่ และ ไดจัดทำเปนคูมือเผยแพรใหสถาบันอุดมศึกษานำไปใชเปนแนวทางพัฒนา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตั้งแตปการศึกษา 2550 เปนตนมา ซึ่งสถาบันอุดมศึกษาไดดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตาม แนวทางที่ สกอ. กำหนด และจัดทำรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา ภายในเสนอตอหนวยงานตนสังกัดเพื่อเผยแพรตอสาธารณะ ในการนี้ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาไดรับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ ที่เปนประโยชนจากสถาบันอุดมศึกษา ผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน และผูที่นำคูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับ อุดมศึกษาไปใช มาปรับปรุงคำอธิบายตัวบงชีและ ้ เกณฑการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาใหมีความชัดเจนยิ่งขึ้น สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ขอขอบคุณคณะอนุกรรมการ พัฒนาองคประกอบและตัวบงชีการ ้ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา และคณะอนุกรรมการดำเนินการฝกอบรมเพื่อ สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา ที่ไดมีสวนสำคัญในการจัดทำคำชี้แจงทั่วไป นิยามศัพท และคำอธิบายตัวบงชี้และเกณฑการประเมินเพิ่มเติม เพื่อใช


เป น เอกสาร ประกอบการ ใช คู  ม ื อ การ ประกั น คุ ณ ภาพ การ ศึ ก ษา ภายใน สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551 ใหมีความชัดเจนเพื่อความเขาใจที่ ตรงกัน จึงหวังเปนอยางยิ่งวาสถาบันอุดมศึกษาและผูประเมินคุณภาพการ ศึกษาภายใน จะไดนำไปใชประโยชนในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาตอไป

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีนาคม 2552


ÊÒúÑÞ คำนำ คำชี้แจงทั่วไป

หนา 1

นิยามศัพท (เพิ่มเติม/ปรับปรุงจากคูมือการประกันคุณภาพฯ พ.ศ.2551) 6 คำอธิบายเพิ่มเติมตัวบงชี้และเกณฑการประเมิน

12


¤ÓªÕéᨧ·ÑèÇä» 1. คณะกรรมการประเมินระดับคณะหรือหนวยงานเทียบเทา ในคูมือกำหนดไวดังนี้ - ควรมีกรรมการอยางนอย 3 คน ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับขนาดของคณะ หรือหนวยงานเทียบเทา - เปนผูประเมินจากภายนอกสถาบันที่ผานการฝกอบรมหลักสูตร ผูประเมินของ สกอ. อยางนอย 1 คน สวนผูประเมินจากภายในสถาบัน ตองผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. หรือที่สถาบันจัด ฝกอบรมให - ประธานคณะกรรมการประเมินฯ เปนผูประเมินจากภายนอก สถาบันที่ผานการฝกอบรมหลักสูตรผูประเมินของ สกอ. มีการปรับแกไข โดยประธานคณะกรรมการประเมินอาจเปนผูประเมินจากภายในสถาบัน ก็ได ในกรณีเชนนี้ตองมีผูประเมินจากภายนอกสถาบันอยางนอย 1 คน รวมในคณะกรรมการฯ นอกจากนั้นยังอนุโลมใหคุณสมบัติของประธาน และหรือกรรมการผูประเมินจากภายนอกสถาบันที่มีความรู ความสามารถ และมีประสบการณ ซึ่งจะใหคำแนะนำที่เปนประโยชนอยางยิ่งตอคณะ ไมจำเปนตองผานการฝกอบรมหลักสูตรผูป ระเมินของ สกอ. หรือทีสถาบั ่ น จัดฝกอบรมให ก็ได แตควรมีการชีแ้ จงหลักเกณฑและแนวทางการประเมิน คุณภาพใหทราบ เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน 2. เกณฑการประเมินเปน 3 ระดับ มีความหมายดังนี้ คะแนน 1 หมายถึง มีการดำเนินการบางสวนและต่ำกวามาตรฐานที่ ควรจะเปน หรือผลการดำเนินงานต่ำกวามาตรฐานที่ควรจะเปน คะแนน 2 หมายถึง มีการดำเนินงานในระดับทียอมรั ่ บไดและใกลเคียง กับมาตรฐาน หรือผลการดำเนินงานใกลเคียงกับมาตรฐาน


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

2 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คะแนน 3 หมายถึง มีการดำเนินงานครบถวนเปนไปตามมาตรฐาน ที่กำหนด หรือผลการดำเนินงานไดมาตรฐาน ในกรณีทไม ่ี มการ ี ดำเนินการ หรือไมมผี ลการดำเนินงานหรือผลการ ดำเนินงานไมถึงเกณฑการประเมินคะแนน 1 ใหถือวาได คะแนน 0 3. กรณีที่สถาบันการศึกษา เลือกกำหนดตนเองอยูในกลุมสถาบันการ ศึกษาประเภทใด ไมวา จะเปนสถาบันทีเน ่ นการผลิตบัณฑิตและวิจยั สถาบัน ที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิต และพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม และสถาบันที่เนนเฉพาะการผลิตบัณฑิต จะตองประเมินคุณภาพตามตัวบงชี้ทุกตัวของสถาบันประเภทนั้น หาก ตัวบงชี้ใดที่ยังไมมีขอมูลหรือไมมีผลดำเนินการ ใหมีผลการประเมินเปน 0 (ศูนย) 4. ตัวบงชีที้ มี่ เกณฑมาตรฐานเปนระดับ ตองมีการดำเนินการเรียงตามลำดับ ไมวา เปนเกณฑการประเมินคะแนน 1 หรือ 2 หรือ 3 ทัง้ นีหาก ้ มีการดำเนินการ บางขอและไมไดเรียงตามลำดับ จะไมไดคะแนนการประเมินตามที่กำหนด 5. การเก็บขอมูลในตัวบงชี้ที่ระบุใหใชรอบปงบประมาณ หรือปปฎิทิน ใหใชพ.ศ.ที่ตรงกันกับปการศึกษาที่ประเมิน เชน เก็บขอมูลเพื่อประเมิน ปการศึกษา 2551 จะตองเก็บขอมูลในปงบประมาณ 2551 ดวยเชนกัน และกรณีที่ใชปปฏิทินจะเปน ป พ.ศ. 2551 ดวย 6. อาจารยประจำที่ปฏิบัติงานจริง หมายถึง อาจารยขาราชการ อาจารย พนักงาน รวมทั้งอาจารยที่มีสัญญาจางกับสถาบันหรือสถานศึกษาทั้ง ปการศึกษา ที่มีระยะเวลาการทำงานดังนี้ 9 – 12 เดือน คิดเปน 1 คน 6 เดือนขึ้นไปแตไมถึง 9 เดือน คิดเปน 0.5 คน นอยกวา 6 เดือนไมสามารถนำมานับได


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

7. การนับจำนวนนักศึกษา ในทุกตัวบงชีที้ เกี ่ ย่ วของใหนับรวมทัง้ ภาคปกติ และภาคพิเศษ 8. การนับจำนวนนักศึกษาในตัวบงชีที้ เกี ่ ย่ วของใหนับเปนจำนวนนักศึกษา เต็มเวลาเทียบเทา (FTES) ทั้งหมด ยกเวนตัวบงชี้ที่ 2.12 ในการนับใหนับ FTESรวมทัง้ ปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา โดยเทียบบัณฑิตศึกษาเปน FTES ระดับปริญญาตรี 9. การนับจำนวนอาจารยและนักวิจัย 1) ตัวบงชี้ที่ 2.4, 2.13 และตัวบงชี้ที่ 5.3 นั บ จำนวน อาจารย ประจำ เฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง 2) ตัวบงชี้ที่ 2.5, 2.6 และตัวบงชี้ที่ 5.2 นั บ จำนวน อาจารย ประจำ ทัง้ หมด (ปฏิบตั งาน ิ จริงและ ลาศึกษาตอ) 3) ตัวบงชี้ที่ 4.3 และตัวบงชี้ที่ 4.4 นั บ จำนวน อาจารย ประจำ และนักวิจัยเฉพาะที่ปฏิบัติ งานจริง 4) ตัวบงชี้ที่ 4.5 และตัวบงชี้ที่ 7.7 นั บ จำนวน อาจารย ประจำ และนักวิจัยทั้งหมด (ปฏิบัติ งานจริง และลาศึกษาตอ) 10. สำหรับการคำนวณใหนำหลักการปดเศษมาใชดังนี้ หากผลปฏิบัติงานไมเปนเลขจำนวนเต็มใหแสดงผลโดยใชทศนิยม 2 ตำแหนง (ยกเวนตัวบงชี้ที่ 2.12 ใหใชทศนิยม 3 ตำแหนง) และถา ผลการปฏิบัติงานมีทศนิยมมากกวา 2 ตำแหนง (หรือมากกวา 3 ตำแหนง ในกรณีตัวบงชี้ที่ 2.12) ใหใชหลักการปดเศษตามหลักสากลโดยใหปดขึ้น

3


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

4 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวอยางเชน 69.99 69.9945 69.9956

แสดงผลเปน ปดเศษและแสดงผลเปน ปดเศษและแสดงผลเปน

69.99 69.99 70.00


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

¹ÔÂÒÁÈѾ· (à¾ÔèÁàμÔÁ/»ÃѺ»Ãا¨Ò¡¤Ù‹Á×Í¡Òà »ÃСѹ¤Ø³ÀÒ¾Ï ¾.È. 2551) กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ หมายถึง การจัดการ ศึกษาที่ถือวาผูเรียนสำคัญที่สุด เปนกระบวนการจัดการศึกษาที่ตองเนน ใหผูเรียนแสวงหาความรู และพัฒนาความรูไดดวยตนเอง หรือรวมทั้ง มีการฝกและปฏิบตั ใน ิ สภาพจริงของการทำงาน มีการเชือ่ มโยงสิง่ ทีเรี ่ ยนกับ สังคมและการประยุกตใช มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการใหผูเ รียนไดคิด วิเคราะห สังเคราะห ประเมินและสรางสรรคสิ่งตางๆ นอกจากนี้ ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ โดยสะทอนจากการที่นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชา หรือเลือกทำโครงงานหรือชิน้ งานในหัวขอทีสนใจใน ่ ขอบเขตเนือ้ หาของวิชา นั้นๆ รูปแบบการจัดการเรียนรูในระดับการอุดมศึกษาตามแนวทางเนน ผูเรียนเปนสำคัญ ซึ่งมุงพัฒนาความรูและทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิต และทักษะสังคม มีปรากฏในวงการศึกษาไทยหลายรูปแบบตัวอยางเชน 1 1) การเรียนรูจากกรณีปญหา (Problem-based Learning : PBL) เปนรูปแบบการเรียนรูที่ใหผูเรียนควบคุมการเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนคิดและดำเนินการเรียนรู กำหนดวัตถุประสงค และเลือกแหลง เรียนรูดวยตนเอง โดยผูสอนเปนผูใหคำแนะนำ เปนการสงเสริมใหเกิด การแกปญหามากกวาการจำเนื้อหาขอเท็จจริง เปนการสงเสริมการทำงาน 1

ดูเพิ่มเติม “รายงานการวิจัย การสังเคราะหองคความรูเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูที่ เนนตัวผูเรียนเปนสำคัญ ตั้งแต พ.ศ. 2542-2547”

5


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

6 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

เปนกลุม และพัฒนาทักษะทางสังคม ซึง่ วิธกี ารนีจะ ้ ทำไดดใน ี การจัดการเรียน การสอนระดับอุดมศึกษา เพราะผูเ รียนมีระดับความสามารถทางการคิดและ การดำเนินการดวยตนเองไดดี เงือ่ นไขทีทำให ่ เกิดการเรียนรู ประกอบดวย ความรูเดิ  มของผูเ รียน ทำใหเกิดความเขาใจขอมูลใหมได การจัดสถานการณทีเหมื ่ อนจริง สงเสริม การแสดงออกและการนำไปใชอยางมีประสิทธิภาพ การใหโอกาสผูเรียน ไดไตรตรองขอมูลอยางลึกซึ้ง ทำใหผูเรียนตอบคำถาม จดบันทึก สอน เพื่อน สรุป วิพากษวิจารณสมมติฐานที่ไดตั้งไวไดดี 2) การเรียนรูเปนรายบุคคล (individual study) เนื่องจากผูเรียนแตละบุคคลมีความสามารถในการเรียนรู และ ความสนใจในการเรียนรูที่แตกตางกัน ดังนั้นจึงจำเปนที่จะตองมีเทคนิค หลายวิธี เพื่อชวยใหการจัดการเรียนในกลุมใหญสามารถตอบสนองผูเรียน แตละคนที่แตกตางกันไดดวย อาทิ 2.1 เทคนิคการใช Concept Mapping ทีมี่ หลักการใชตรวจสอบ ความคิดของผูเรียนวาคิดอะไร เขาใจสิ่งที่เรียนอยางไรแลวแสดงออกมา เปนกราฟฟก 2.2 เทคนิค Learning Contracts คือ สัญญาที่ผูเรียนกับผูสอน รวมกันกำหนด เพื่อใชเปนหลักยึดในการเรียนวาจะเรียนอะไร อยางไร เวลาใด ใชเกณฑอะไรประเมิน 2.3 เทคนิค Know –Want-Learned ใชเชื่อมโยงความรูเดิมกับ ความรูใหม ผสมผสานกับการใช Mapping ความรูเดิม เทคนิคการรายงาน หนาชั้นที่ใหผูเรียนไปศึกษาคนควาดวยตนเองมานำเสนอหนาชั้นซึ่งอาจ มีกิจกรรมทดสอบผูฟงดวย 2.4 เทคนิคกระบวนการกลุม (Group Process) เปนการเรียน ที่ทำใหผูเรียนไดรวมมือกัน แลกเปลี่ยนความรูความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อ ใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน เพื่อแกปญหาใหสำเร็จตามวัตถุประสงค


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

3) การเรียนรูแบบสรรคนิยม (Constructivism) การเรียนรูแบบนี้มีความเชื่อพื้นฐานวา “ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดย  การอาศัยประสบการณแหงชีวติ ทีได ่ รบั เพือ่ คนหาความจริง” โดย มีรากฐานจากทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาที่หลากหลาย ซึ่งนัก ทฤษฎีสรรคนิยมไดประยุกตทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาดังกลาว ในรูปแบบและมุมมองใหม ซึ่งแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ 3.1 กลุมที่เนนกระบวนการรูคิดในตัวบุคคล (radical constructivism or personal constructivism or cognitive oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนนการเรียนรูของมนุษยเปนรายบุคคล โดยมีความเชื่อ วามนุษยแตละคนรูวิธีเรียนและรูวิธีคิด เพื่อสรางองคความรูดวยตนเอง 3.2 กลุมที่เนนการสรางความรูโดยอาศัยปฏิสัมพันธทางสังคม (social constructivism or socially oriented constructivist theories) เปน กลุมที่เนนวา ความรู คือ ผลผลิตทางสังคม โดยมีขอตกลงเบื้องตนสอง ประการ คือ 1) ความรูตองสัมพันธกับชุมชน 2) ปจจัยทางวัฒนธรรม สังคมและประวัติศาสตรมีผลตอการเรียนรู ดังนั้น ครูจึงมีบทบาทเปน ผูอำนวยความสะดวกในการเรียนรู 4) การเรียนรูจากการสอนแบบเอส ไอ พี การสอนแบบ เอส ไอ พี เปนรูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้นเพื่อ ฝกทักษะทางการสอนใหกับผูเรียนระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาการศึกษาให  เขาใจ และความสามารถเกีย่ วกับทักษะการสอน โดยผลทีเ่ กิด มีความรูความ กับผูเรียนมีผลทางตรง คือ การมีทักษะการสอน การมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับทักษะทางการสอนและผลทางออม คือ การสรางความรูดวยตนเอง ความรวมมือในการเรียนรู และความพึงพอใจในการเรียนรู วิธีการที่ใชในการสอน คือ การทดลองฝกปฏิบัติจริงอยางเขมขน ตอเนื่อง และเปนระบบ โดยการสอนแบบจุลภาค มีที่ใหผูเรียนทุกคน มีบทบาทในการฝกทดลองตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดการฝก ขั้นตอนการสอน

7


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

8 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คือ ขั้นความรูความเขาใจ ขั้นสำรวจ วิเคราะหและออกแบบการฝกทักษะ ขัน้ ฝกทักษะ ขัน้ ประเมินผล โครงสรางทางสังคมของรูปแบบการสอนอยูใน  ระดับปานกลางถึงต่ำ ในขณะที่ผูเรียนฝกทดลองทักษะการสอนนั้น ผูสอน ตองใหการชวยเหลือสนับสนุนอยางใกลชิด สิง่ ทีจ่ ะทำใหการฝกเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ ความพรอมของระบบสนับสนุน ไดแก หองปฏิบัติการสอน หองสื่อเอกสารหลักสูตรและการสอน และเครื่องมือ โสตทัศนูปกรณตางๆ ที่เกี่ยวของ 5) การเรียนรูแบบแสวงหาความรูไดดวยตนเอง (Self-Study) การเรียนรูแบบนี  เป ้ นการใหผูเ รียนศึกษาและแสวงหาความรูด วย ตนเอง เชน การจัดการเรียนการสอนแบบสืบคน (Inquiry Instruction) การ เรียนแบบคนพบ (Discovery Learning) การเรียนแบบแกปญหา (Problem Solving) การเรียนรูเชิงประสบการณ (Experiential Learning) ซึ่งการเรียน การสอนแบบแสวงหาความรูด วยตนเองนีใช ้ ในการเรียนรูทั ง้ ทีเป ่ นรายบุคคล และกระบวนการกลุม 6) การเรียนรูจากการทำงาน (Work-based Learning) การเรียนรูแบบนี้เปนการจัดการเรียนการสอนที่สงเสริมผูเรียน ใหเกิดพัฒนาการทุกดาน ไมวา จะเปนการเรียนรูเนื  อ้ หาสาระ การฝกปฏิบตั จริ ิ ง ฝกฝนทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะวิชาชีพ การพัฒนาทักษะการคิด ขั้นสูง โดยสถาบันการศึกษามักรวมมือกับแหลงงานในชุมชน รับผิดชอบ การจัดการเรียนการสอนรวมกัน ตัง้ แตการกำหนดวัตถุประสงค การกำหนด เนื้อหากิจกรรม และวิธีการประเมิน 7) การเรียนรูที เน ่ นการวิจยั เพือ่ สรางองคความรู (Research–based Learning) การเรียนรูที่เนนการวิจัยถือไดวาเปนหัวใจของบัณฑิตศึกษา เพราะเปนการเรียนที่เนนการแสวงหาความรูดวยตนเองของผูเรียนโดยตรง


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

เปนการพัฒนากระบวนการแสวงหาความรู และการทดสอบความสามารถ ทางการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน โดยรูปแบบการเรียนการสอนอาจแบง ไดเปน 4 ลักษณะใหญ ๆ ไดแก การสอนโดยใชวิธีวิจัยเปนวิธีสอน การสอน โดยผูเรียนรวมทำโครงการวิจัยกับอาจารยหรือเปนผูชวยโครงการวิจัยของ อาจารย การสอนโดยผูเ รียนศึกษางานวิจยั ของอาจารยและของนักวิจยั ชัน้ นำ ในศาสตรที่ศึกษา และการสอนโดยใชผลการวิจัยประกอบการสอน 8) การเรียนรูที ใช ่ วิธสร ี างผลงานจากการตกผลึกทางปญญา (CrystalBased Approach) การจัดการเรียนรูในรูปแบบนี้ เปนการสงเสริมใหผูเรียนได สรางสรรคความรูความคิดดวยตนเองดวยการรวบรวม ทำความเขาใจ สรุป วิเคราะห และสังเคราะหจากการศึกษาดวยตนเอง เหมาะสำหรับ บัณฑิตศึกษา เพราะผูเรียนที่เปนผูใหญ มีประสบการณเกี่ยวกับศาสตร ที่ศึกษามาในระดับหนึ่งแลว วิธีการเรียนรูเริ่มจากการทำความเขาใจกับผูเรียนใหเขาใจวัตถุประสงคของการเรียนรูตามแนวนี้ จากนั้นทำความเขาใจในเนื้อหาและ ประเด็นหลัก ๆ ของรายวิชา มอบหมายใหผูเรียนไปศึกษาวิเคราะหเอกสาร แนวคิดตามประเด็นทีกำหนด ่ แลวใหผูเ รียนพัฒนาแนวคิดในประเด็นตาง ๆ แยกทีละประเด็น โดยใหผูเ รียนเขียนประเด็นเหลานัน้ เปนผลงานในลักษณะ ที่เปนแนวคิดของตนเองที่ผานการกลั่นกรอง วิเคราะหเจาะลึกจนตกผลึก ทางความคิดเปนของตนเอง จากนัน้ จึงนำเสนอใหกลุม เพือ่ นไดชวยวิเคราะห วิจารณอีกครั้ง การนำไปใชประโยชนระดับชาติ หมายถึง การนำไปใชประโยชนนอกสถาบัน โดยหนวยงานราชการระดับกรมหรือเทียบเทาขึ้นไป หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองคการมหาชน หรือองคกรกลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชน เชน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สภาหอการคาไทย

9


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

10 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

การนำไปใชประโยชนระดับชาติ ไมวาผลงานจะเกิดขึ้นในปใด ก็ตามหากนำมาใชประโยชนในปนั้นสามารถนำมานับได แตการนับจะไม นับซ้ำ งานสรางสรรค หมายถึง ผลงานประดิษฐคิดคนหรืองานสรางสรรคทาง ศิลปกรรมและจิตรกรรม หรือผลงานแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี อันเปน ที่ยอมรับระดับนานาชาติและระดับชาติ หรืองานที่ไดรับสิทธิบัตรเปน การแสดงความกาวหนาทางวิชาการ เสริมสรางองคความรูหรือวิธีการที่ เปนประโยชนตอสาขาวิชา หรือแสดงความเปนตนแบบ ตนความคิดของ ผลงาน หรือแสดงความสามารถในการบุกเบิกงานในสาขาวิชานั้น รางวัลหรือประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ หมายถึง ผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพที่ผานการแขงขันหรือไดรับการคัดเลือก ในระดับชาติหรือนานาชาติ ระดับชาติ หมายถึง ระดับหนวยงานราชการ ที่เปนระดับกรมหรือเทียบเทา ขึ้นไป หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองคการมหาชน หรือองคกรกลางระดับชาติ ทั้งภาครัฐและเอกชน

ระบบและกลไก ระบบ (system) ประกอบดวย วัตถุประสงค (objective) ปจจัย นำเขา (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) แตในการ ประเมินตามคูมือของ สกอ. คำวาระบบ (system) จะเนนที่กระบวนการ ซึ่ง หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการกำหนดอยางชัดเจนวาตองทำอะไร บางเพือ่ ใหไดผลออกมาตามทีต่ องการ ขัน้ ตอนการปฏิบตั งาน ิ จะตองปรากฏ ใหทราบโดยทัว่ กันไมวา จะในรูปของเอกสารหรือสือ่ อิเล็กทรอนิกสหรือโดย วิธีการอื่นๆ


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

กลไก (mechanism) หมายถึง สิง่ ทีทำให ่ ระบบมีการขับเคลือ่ นหรือ ดำเนินอยูได โดยมีการจัดสรรทรัพยากร มีการจัดองคกร หนวยงาน หรือ กลุมบุคคลเปนผูดำเนินงาน วารสารระดับนานาชาติที่ไมอยูในฐานขอมูลสากล หมายถึง วารสารที่ คณะบรรณาธิการ จะตองเปนผูที่มีชื่อเสียงในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับ วารสาร โดยตองเปนชาวตางประเทศ อยางนอย 1 คน และตองมีผูทรงคุ  ณวุฒิ รวมกลั่นกรองตนฉบับกอนตีพิมพ (Peer Review) นอกจากนั้นวารสาร ตองมีบทความวิจัยจากตางประเทศลงตีพิมพดวย วารสารระดับชาติ หมายถึง วารสารที่ตีพิมพบทความจากนักวิชาการ สถาบันตางๆ และคณะบรรณาธิการจะตองเปนผูที่มีชื่อเสียงในสาขา วิชาที่เกี่ยวของกับวารสาร โดยจะตองมาจากสถาบันอื่นๆ ไมนอยกวา รอยละ 25 และตองมีผูทรงคุณวุฒิรวมกลั่นกรองตนฉบับกอนตีพิมพ (Peer Review)

11


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

12 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

¤Ó͸ԺÒÂà¾ÔèÁàμÔÁμÑǺ‹§ªÕéáÅÐࡳ± ¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ตัวบงชี้

การนับจำนวน

1.1 มีการกำหนดปรัชญาหรือ ปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ แผนดำเนิน งานและมีการกำหนดตัวบงชี้ เพื่อวัดความสำเร็จของการ ดำเนินงานตามแผนใหครบ ทุกภารกิจ

-

การคิดรอบป ปงบประมาณ


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ เกณฑมาตรฐาน ระดับ 2 และเกณฑมาตรฐาน ระดับ 3 กลยุ ท ธ หมายถึ ง แผน กลยุ ท ธ ซึ ่ ง เป น แผน ระยะยาว โดย ทั ่ ว ไป มั ก ใช เวลา 5 ป เป น แผนที ่ กำหนด ทิ ศ ทางการ พั ฒ นา ของ สถาบั น จาก แผน กลยุ ท ธ นำมา จั ด ทำ แผน ดำเนิ น การ หรื อ แผน ปฏิ บ ั ต ิ การ หรื อ แผน ประจำป ซึ่งเปนแผนการทำงานของเวลา 1 ป ในแผน 1 ปนี้จะมีรายละเอียดโครงการ กิจกรรม ผูรับผิดชอบ งบประมาณ ตัวบงชีความ ้ สำเร็จของการดำเนินงานตาม โครงการหรือกิจกรรม และคาเปาหมายของตัวบงชี้ที่กำหนดวาจะตองทำให ได การบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ดังกลาวนี้จะนำไปคำนวณตัวบงชี้ที่ 1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กำหนด เกณฑมาตรฐาน ระดับ 4 ภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา มี 4 ภารกิจ ไดแก การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และการทำนุ บำรุงศิลปวัฒนธรรม เกณฑมาตรฐาน ระดับ 6 “....อยางสม่ำเสมอ” หมายถึง มีการดำเนินการ ในชวงเวลาที่ควรดำเนินการทุกครั้ง นั่นคือมีการวิเคราะหแผนการดำเนินงาน กับแผนกลยุทธทุกป เนื่องจากแผนการดำเนินงานเปนแผนที่จัดทำเปนรายป สวนการวิเคราะหความสอดคลองกับแผนของชาติ และสภาพการณปจจุบันและ แนวโนมในอนาคต ดำเนินการเมือ่ มีการปรับเปลีย่ นแผนของชาติ หรือเมือ่ สภาพ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง มีการเปลีย่ นแปลงทีกระทบ ่ ตอการดำเนินงานของ สถาบันอุดมศึกษา เกณฑมาตรฐาน ระดับ 7 “...อยางตอเนื่อง...” หมายถึง มีการนำผลการ ประเมินและผลการวิเคราะหในเกณฑมาตรฐานระดับ 5 และระดับ 6 มาปรับปรุง แผนการดำเนินงานทุกป เริ่มตั้งแตปการศึกษา 2550

13


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

14 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

1.2 รอยละของการบรรลุเปาหมาย ตามตัวบงชีของ ้ การปฏิบตั งาน ิ ที่กำหนด

-

การคิดรอบป ปงบประมาณ


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กำหนด หมายถึง ตัวบงชีของ ้ การดำเนินงานตาม แผนปฏิบตั การ ิ ประจำปทีกำหนด ่ โดยสถาบัน ตามทีระบุ ่ ในเกณฑมาตรฐานระดับ 3 ของตัวบงชี้ที่ 1.1 (ทั้งนี้ อาจซ้ำหรือไมซ้ำกับตัวบงชี้ ของ สกอ. สมศ. หรือ กพร. ก็ได) ตัวอยางในการคำนวณ ในปงบประมาณ 2551 หนวยงานมีกิจกรรมตามแผนปฏิบตั การ ิ ประจำปทีกำหนด ่ ไว 48 กิจกรรม มีตัวบงชี้การดำเนินงานตามแผนทั้งหมด 62 ตัวบงชี้ เมื่อสิ้น ปการศึกษา หนวยงานสามารถดำเนินกิจกรรมตามแผนได 42 กิจกรรม มีตัวบงชี้ ที่ปฏิบัติไดสูงกวาเปาหมาย 30 ตัวบงชี้ เปนไปตามเปาหมาย 13 ตัวบงชี้ ต่ำกวา เปาหมาย 10 ตัวบงชี้ และเปนตัวบงชี้ในกิจกรรมที่ไมไดดำเนินการ 9 ตัวบงชี้ รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่กำหนดเปน ดังนี้ ตัวตั้ง - จำนวนตัวบงชี้ที่ปฏิบัติไดบรรลุเปาหมาย = 30 + 13 = 43 ตัวบงชี้ ตัวหาร - จำนวนตัวบงชี้ทั้งหมดของกิจกรรมตามแผนงาน = 62 ตัวบงชี้ สูตรในการคำนวณ จำนวนตัวบงชี้ตามแผนปฎิบัติการประจำปที่ปฏิบัติไดบรรลุเปาหมาย

X 100

จำนวนตัวบงชี้ทั้งหมดของกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำป ดังนั้น รอยละของการบรรลุเปาหมายตามตัวบงชี้ของการปฏิบัติงานที่ กำหนด 43 = X 100 = 69.35 % 62

15


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

16 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้ 2.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนา และบริหารหลักสูตร

การนับจำนวน

-

การคิดรอบป ปการศึกษา (ใชปการศึกษาสำหรับ ทุกตัวบงชี้ของ องคประกอบที่ 2)


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ เกณฑมาตรฐานระดับ 6 หลักสูตรที่ไดมาตรฐาน หมายถึง หลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนในรอบ ปการศึกษาที่ทำการประเมิน ที่เปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ อุดมศึกษา พ.ศ. 2548 ของ สกอ. เกณฑมาตรฐานระดับ 7 การนับหลักสูตรปริญญาโท แผน ก. ใหนับหลักสูตรที่มีนักศึกษาลงทะเบียน เรียนในรอบปการศึกษาที่ทำการประเมิน (ทั้งนี้ การนับหลักสูตรทั้งหมดใหนับ หลักสูตรทีได ่ รบั อนุมตั ให ิ เปดสอนทุกระดับปริญญา โดยนับรวมหลักสูตรทีงด ่ รับ นักศึกษา แตไมนับรวมหลักสูตรที่สภาสถาบันอนุมัติใหปดดำเนินการแลว) ตัวอยางในการคำนวณ จากการอานรายงานประจำปฯ ของมหาวิทยาลัยแหงหนึง่ พบวา ในปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยมีหลักสูตรที่เปดสอนทุกระดับทั้งหมด 200 หลักสูตร จำแนก เปนหลักสูตรระดับอนุปริญญา 2 หลักสูตร ระดับปริญญาตรี 118 หลักสูตร ระดับปริญญาโท (แผน ก) 20 หลักสูตร (ใน 20 หลักสูตร มี 1 หลักสูตร ที่ไมมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรอบปที่ผานมา) ระดับปริญญาโทที่ระบุ ทั้งแผน ก และ แผน ข จำนวน 40 หลักสูตร (ใน 40 หลักสูตรมีนักศึกษาเลือก ทำวิทยานิพนธ (แผน ก) 31 หลักสูตร) ระดับปริญญาโท (แผน ข) 10 หลักสูตร และระดับปริญญาเอก 10 หลักสูตร ดังนั้นรอยละของจำนวนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปริญญาโท เฉพาะแผน (ก) และปริญญาเอกทีเป ่ ดสอนเทียบกับจำนวนหลักสูตร ทั้งหมดเปนดังนี้ ตัวตั้ง - หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปริญญาโท เฉพาะแผน (ก) และ ปริญญาเอก) = (20 - 1) + (31) + 10 = 60 หลักสูตร

17


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

18 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป

2.2 มีกระบวนการเรียนรูที่เนน ผูเรียนเปนสำคัญ

ปการศึกษา

2.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบ จำนวนอาจารยประจำ ิ จริง เทาตอจำนวนอาจารยประจำ ที่ปฏิบัตงาน

ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ตัวหาร หลักสูตรที่เปดสอนทั้งหมด

= 200 หลักสูตร

สูตรในการคำนวณ หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย (ปริญญาโท เฉพาะแผน (ก) และปริญญาเอก) หลักสูตรที่เปดสอนทั้งหมด

X 100

ดังนั้น รอยละของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เนนการวิจัย =

60 X 100 = 30 % 200

เกณฑมาตรฐานระดับ 5 มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคลอง กับสภาพการเรียนรูที่จัดใหผูเรียนและอิงพัฒนาการของผูเรียนทุกหลักสูตร หมายถึง มีวิธีการประเมินผลการเรียนของนักศึกษาและการสอนของอาจารย ที่สอดคลองกับวัตถุประสงคของการเรียนรูในรายวิชานั้น โดยมีการวิเคราะห พัฒนาการของผูเรียนประกอบ 1. เกณฑมาตรฐานของ FTES ระดับปริญญาตรีตอจำนวนอาจารยประจำ ในกลุมสาขาวิชาใหใชตามที่กำหนดในตารางหนา 31 หนังสือคูมือการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา หรือตามเกณฑวิชาชีพ ที่มีการกำหนดโดยสภาวิชาชีพ (มีหลักฐานชัดเจน) 2. ในการคำนวณเพื่อหาคารอยละของความเบี่ยงเบนระหวางจำนวน FTES ตออาจารยประจำกับเกณฑมาตรฐานในระดับกลุม สาขาวิชา ใชสูตรการคำนวณ และเกณฑการประเมินเหมือนเดิม ตามที่ปรากฏในหนา 31 – 32 หนังสือคูมือ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา

19


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

20 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ แตระดับสถาบันมีการเปลี่ยนแปลง กลาวคือ เกณฑการประเมิน ใหพิจารณาจากรอยละของจำนวนคณะหรือหนวยงาน จัดการเรียนการสอนที่เทียบเทาที่ไดมาตรฐานตามเกณฑที่กำหนด (คะแนน 3) โดยมีเกณฑการประเมินดังนี้ (ทั้งนี้ ยกเลิกสูตรการคำนวณเกณฑมาตรฐาน ของ FTES ตออาจารยประจำของสถาบันในหนาที่ 32) เกณฑการประเมิน คะแนน 1 นอยกวารอยละ 80

คะแนน 2 รอยละ80 – 99

คะแนน 3 รอยละ 100

ตัวอยางในการคำนวณ ในปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง มีคณะหรือหนวยงานที่จัด การเรียนการสอนที่เทียบเทา ทั้งหมด 20 คณะ โดยมีคณะหรือหนวยงานที่จัด การเรียนการสอนที่เทียบเทา ที่มีจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจำนวน อาจารยประจำที่ไดมาตรฐานตามเกณฑที่กำหนด (คะแนน 3) จำนวน 15 คณะ รอยละของจำนวนคณะหรือหนวยงานจัดการเรียนการสอนที่เทียบเทาที่ ไดมาตรฐานตามเกณฑที่กำหนด (คะแนน 3) เปนดังนี้ ตัวตั้ง - คณะหรือหนวยงานจัดการเรียนการสอนที่เทียบเทา 15 คณะ ที่มีจำนวน นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเทาตอจำนวนอาจารยประจำที่ไดมาตรฐานตามเกณฑที่ กำหนด(คือไดคะแนน 3) ตัวหาร - คณะหรือหนวยงานจัดการเรียนการสอนที่เทียบเทาทั้งหมด 20 คณะ

สูตรในการคำนวณ จำนวนคณะหรือหนวยงานจัดการเรียนการสอนที่เทียบเทาที่ไดคะแนน 3 คะแนน X 100 จำนวนคณะหรือหนวยงานจัดการเรียนการสอนที่เทียบเทาทั้งหมด

21


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

22 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

2.5 สัดสวนของอาจารยประจำที่ จำนวนอาจารยประจำ มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท รวมที่ปฏิบัติงานจริง ปริญญาเอกหรือเทียบเทาตอ และลาศึกษาตอ อาจารยประจำ

การคิดรอบป

ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ =

15 X 100 = 75 % 20

คำนวณไดรอยละ 75 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ จะได 1 คะแนน เพราะรอยละ ของจำนวนคณะหรือหนวยงานจัดการเรียนการสอนที่เทียบเทาที่ไดมาตรฐาน ตามเกณฑที่กำหนดนอยกวารอยละ 80 คุณวุฒิอาจารยประจำพิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ไดรับหรือเทียบเทา ตาม หลักเกณฑการพิจารณาคุณวุฒของ ิ กระทรวงศึกษาธิการ กรณีทมี่ี การปรับคุณวุฒิ การศึกษา ใหมีหลักฐานการสำเร็จการศึกษาภายในรอบปการศึกษานั้น ตัวอยางในการคำนวณ ในรอบปการศึกษา 2551 ( 1 มิย 51 – 31 พค 52) มหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง มีอาจารยประจำที่ปฏิบตั ิงานจริง 1,753 คน (โดยเปนอาจารยที่ทำงานเกิน 9 เดือน 1,750 คน และเปนอาจารยใหมวุฒิปริญญาเอก บรรจุเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 จำนวน 6 คน) มีอาจารยลาศึกษาตอ 150 คน ในจำนวนอาจารยทัง้ หมด 1903 คนนี้ มีคุณวุฒิระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทา 89 คน คุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทา 575 คน คุณวุฒปริ ิ ญญาเอกหรือเทียบเทา 1,239 คน (เปนอาจารยปฏิบตั งาน ิ จริงเกิน 9 เดือน 1,236 คน และเปนอาจารยใหมวุฒิปริญญาเอก บรรจุเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 จำนวน 6 คน) สัดสวนของอาจารยประจำที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือ เทียบเทาตออาจารยประจำของมหาวิทยาลัยแหงนี้ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2552 เปนดังนี้ ตัวตั้ง - จำนวนอาจารยประจำทั้งหมดวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเทาที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาตอ = 89 คน

23


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

24 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

2.6 สั ด ส ว น ของ อาจารย ประจำ จำนวนอาจารยประจำ ที่ดำรงตำแหนงอาจารย รวมที่ปฏิบัติงานจริง ผูชวยศาสตราจารย และลาศึกษาตอ

การคิดรอบป

ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ - จำนวนอาจารยประจำทั้งหมดวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาตอ = 1,239 คน ตัวหาร - จำนวนอาจารยประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ = 1,903 คน สูตรในการคำนวณ อาจารยประจำทั้งหมดวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา อาจารยประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

X 100

และ อาจารยประจำทั้งหมดวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเทา อาจารยประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

X 100

ดังนั้น สัดสวนอาจารยประจำวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจำ =

1,239 X 100 = 65.11 % 1,903

และสัดสวนอาจารยประจำวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเทาตออาจารยประจำ 89 = X 100 = 4.68 % 1,903 กรณีสถาบันการศึกษาที่ไมอยูในสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการ และไมมี ระบบตำแหนงวิชาการ ไมตองประเมินตัวบงชี้นี้

25


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

26 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้ รองศาสตราจารย และ ศาสตราจารย

การนับจำนวน

การคิดรอบป


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ตัวอยางในการคำนวณ ในรอบปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยแหงหนึ่งมีอาจารยประจำที่ปฏิบัติงาน จริงและลาศึกษาตอจำนวน 1,903 คน โดยเปนอาจารยประจำที่ไมมีตำแหนง ทางวิชาการจำนวน 560 คน เปนอาจารยประจำที่มีตำแหนงผูชวยศาสตราจารย จำนวน 581 คน ตำแหนงรองศาสตราจารยจำนวน 540 คน และตำแหนง ศาสตราจารย จำนวน 222 คน สัดสวนอาจารยประจำที่ดำรงตำแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารยทางวิชาการ เปนดังนี้ ตัวตั้ง - จำนวนอาจารยประจำทั้งหมดที่มีตำแหนง ผศ. รศ. และ ศ.รวมกัน = 581 + 540 + 222 = 1,343 คน - จำนวนอาจารยประจำทั้งหมดที่มีตำแหนง รศ. ขึ้นไป = 540 + 222 = 762 คน ตัวหาร - จำนวนอาจารยประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ = 1,903 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนอาจารยประจำที่ดำรงตำแหนง ผศ. รศ. และ ศ. รวมกัน จำนวนอาจารยประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ และ จำนวนอาจารยประจำที่ดำรงตำแหนง รศ. และ ศ. รวมกัน จำนวนอาจารยประจำทั้งหมดรวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

X 100

X 100

27


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

28 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป

2.7 มีกระบวนการสงเสริมการ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ วิชาชีพของคณาจารย

ปการศึกษา

2.9 รอยละของบัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ไดงานทำและ การประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ป

ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ดังนั้นสัดสวนอาจารยประจำที่ดำรงตำแหนง ผศ. รศ. และศ. 1,343 = X 100 = 70.57 % 1,903 และสัดสวนอาจารยประจำที่ดำรงตำแหนง รศ.ขึ้นไป 762 = X 100 = 40.04 % 1,903 ให พิ จ ารณา ตาม ประกาศ คณะกรรมการ ข า ราชการ พลเรื อ น ใน สถาบั น อุดมศึกษา วาดวยมาตรฐานจรรยาบรรณที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษา ที่ กพอ. กำหนด เปนอยางนอย สำหรับเกณฑมาตรฐานระดับ 5 หมายถึง มีการวิเคราะห และสรุปปจจัยเสี่ยง รวมถึงจัดทำแผนปองกันความเสี่ยงที่จะเกิดการทำผิด จรรยาบรรณและดำเนินการตามแผนที่กำหนด การเกณฑทหาร ศึกษาตอ และอุปสมบท ไมนับวามีงานทำ และใหนับเฉพาะ ผูที่ตอบแบบสอบถามในเรื่องนั้น ๆ เทานั้น ตัวอยางในการคำนวณ ผล จาก การ ศึ ก ษา หลั ก ฐาน ป ก ารศึ ก ษา 2551 ระหว า ง การ ตรวจ เยี ่ ย ม มหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง พบวา ในปการศึกษา 2551 มีผูสำเร็จการศึกษาในระดับ ปริญญาตรีที่เรียนในหลักสูตรภาคปกติและภาคพิเศษจากคณะตางๆ 10 คณะ รวมทั้งสิ้น 5,734 คน และไดตอบแบบสำรวจการมีงานทำพรอมสงขอมูลใหกับ มหาวิทยาลัยรวมทั้งสิ้น 5,500 คน จากการตอบแบบสำรวจเรือ่ งการมีงานทำจำนวน 5,500 คน พบวา เปนผูส ำเร็จ การศึกษาทีไม ่ มงานประจำ ี ทำกอนเขาศึกษาจำนวน 5,000 คน และมีงานประจำ ทำอยูแลวจำนวน 500 คน เมื่อสำเร็จการศึกษาแลว ผูสำเร็จการศึกษาที่ยังไมมี งานทำไดเขาศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 998 คน ลาอุปสมบท 1 คน เกณฑทหาร 1 คน และไดงานทำหรือมีกิจการของตนเองทีมี่ รายไดประจำภายใน

29


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

30 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

2.10 รอยละของบัณฑิตระดับ ปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือน เริ่มตนเปนไปตามเกณฑ

การนับจำนวน

การคิดรอบป

ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ระยะเวลา 1 ป นับจากสำเร็จการศึกษาจำนวน 3,800 คน ตัวตั้ง - จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ไมมีงานทำประจำกอนเขาศึกษา และไดงานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระหลังสำเร็จการศึกษา = 3,800 คน ตัวหาร - จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไมมีงานทำประจำกอนเขาศึกษา = 5,000 คน - จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา ลาอุปสมบท และเกณฑทหาร = 998 + 1 + 1 = 1,000 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนบัณฑิตระดับ ป.ตรีที่ไมมีงานทำประจำกอนเขาศึกษาและไดงานทำ และประกอบอาชีพอิสระหลังสำเร็จการศึกษา จำนวนบัณฑิตระดับ ป.ตรีที่ไมมีงานทำประจำกอนเขาศึกษา – จำนวนบัณฑิต ระดับ ป.ตรีที่ศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา และลาอุปสมบทและเกณฑทหาร

X 100

ดังนั้น รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทำและการประกอบอาชีพ อิสระภายใน 1 ป เทากับ 3,800 = X 100 = 95.00 % 5,000 - 1,000 เงินเดือนหมายถึง เงินเดือนหรือรายรับหรือรายไดที่ไดรับเปนประจำทุกเดือน ตัวอยางในการคำนวณ ผลจากการศึกษาภาวะการมีงานทำของบัณฑิต มหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง มีจำนวนผูสำเร็จการศึกษาที่ไมมีงานประจำกอนเขาศึกษา และไดงานทำหรือ มีกิจการของตนเองทีมี่ รายไดประจำภายในระยะเวลา 1 ป นับจากสำเร็จการศึกษา

31


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

32 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ จำนวน 3,800 คน โดยรับเงินเดือนรวมรายไดประจำอื่นๆ จำนวน 7,940 .- บาท (ตามเกณฑ ก.พ.) จำนวน 2,567 คน ไดรับเงินเดือนรวมรายไดประจำอื่นๆ 8,000 - 12,000.- บาท จำนวน 1,144 คน และไดรบั เงินเดือนรวมรายไดประจำอืน่ ๆ 7,000 - 7,900 บาท จำนวน 89 คน ่ รบั เงินเดือนเริม่ ตนเปนไปตามเกณฑ รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีทีได เปนดังนี้ ตัวตั้ง - จำนวนบัณฑิตระดับปริญญาตรี ทีไม ่ มงาน ี ทำประจำกอนเขาศึกษาและไดงาน ทำหรือประกอบอาชีพอิสระและไดรับเงินเดือนเริ่มเปนไปตามเกณฑหรือ สูงกวาเกณฑหลังสำเร็จการศึกษา = 2,567 + 1,144 = 3,711 คน ตัวหาร - จำนวนบัณฑิตปริญญาตรีที่ไมมีงานทำประจำกอนเขาศึกษา และไดงานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระหลังสำเร็จการศึกษา = 3,800 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนบัณฑิตระดับ ป.ตรี ที่ไมมีงานทำประจำกอนเขาศึกษา และไดงานทำและประกอบอาชีพอิสระ และไดรับเงินเริ่มตนเปนตามเกณฑ + บัณฑิตระดับ ป.ตรี ที่ไดงานทำและประกอบอาชีพอิสระและ ไดรับเงินเดือนเริ่มตนสูงกวาเกณฑหลังสำเร็จการศึกษา X 100 จำนวนบัณฑิตระดับ ป.ตรี ที่ไมมีงานทำประจำกอนเขาศึกษาและไดงานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระหลังสำเร็จการศึกษา

ดังนั้น รอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดรับเงินเดือนเริ่มตนเปนไป ตามเกณฑ เทากับ 3,711 = X 100 = 97.66 % 3,800

33


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

34 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

2.12 รอยละของนักศึกษาปจจุบัน 1. นับซ้ำได หาก และศิษยเกาทีสำเร็ ่ จการศึกษา นักศึกษาหรือ ในรอบ 5 ปที่ผานมาที่ไดรับ ศิษยเกาผูนั้นไดรับ การประกาศเกียรติคณ ุ ยกยอง รางวัลหรือประกาศ เกียรติคณ ุ หลายครั้ง ในดานวิชาการ วิชาชีพ 2. ถาผูไดรบั รางวัล คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม หรือประกาศ และดานสิ่งแวดลอม เกียรติคุณเปน ในระดับชาติหรือนานาชาติ ศิษยเกาหลายสถาบัน สถาบันเหลานั้น ตางก็สามารถ นับรางวัลนั้นได หมายเหตุ รางวัล หรือประกาศ เกียรติคุณยกยอง ในดานวิชาการ วิชาชีพ หมายถึง ผลงานทางวิชาการ หรือวิชาชีพ ที่ผาน การแขงขันหรือ ไดรับการคัดเลือก ในระดับชาติหรือ นานาชาติ

การคิดรอบป ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ตัวอยางในการคำนวณ จากการศึกษาหลักฐาน ปการศึกษา 2551 ระหวางการตรวจเยี่ยมมหาวิทยาลัย แหงหนึ่ง ซึ่งมีนักศึกษาปจจุบันจาก 380 หลักสูตรรวมทั้งสิ้น 27,768 คน จำแนก เปนนักศึกษาระดับระดับอนุปริญญา380 คน ระดับปริญญาตรี 22,294 คน ระดับ ปริญญาโท 4,920 คน และระดับปริญญาเอก 174 คน และมีศิษยเกาที่สำเร็จการ ศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาทั้งหมดทุกระดับการศึกษารวม 36,700 คน จำแนก เปนระดับอนุปริญญา 400 คน ระดับปริญญาตรี 26,000 คน ระดับปริญญาโท 10,000 คน และระดับปริญญาเอก 300 คน จากจำนวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษา ในรอบ 5 ป ที่ผานมาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา ไดรับรางวัลประกาศเกียรติคุณยกยอง ระดับชาติหรือนานาชาติในปการศึกษา 2551 จำนวนรวมทั้งสิ้น 36 คน จำแนก เปนรางวัลดานวิชาการวิชาชีพ 14 คน (เปนรางวัลผลงานวิจยั และหรือวิทยานิพนธ 4 คน) ดานคุณธรรม จริยธรรม 10 คน ดานกีฬา สุขภาพ 3 คน ดานศิลปะและ วัฒนธรรม 3 คน และดานสิ่งแวดลอม 6 คน รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ป ที่ผานมาที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติ หรือนานาชาติ เปนดังนี้ 1. สำหรับเกณฑทั่วไป การคิดคารอยละของตัวบงชี้ คำนวณมาจาก ตัวตั้ง - จำนวน นั ก ศึ ก ษา ป จ จุ บ ั น และ ศิ ษ ย เ ก า ที ่ สำเร็ จ การ ศึ ก ษา ใน รอบ 5 ป ที่ผานมาทั้งหมดทุกระดับการศึกษาที่ไดรับรางวัลทุกประเภทในปการศึกษา ปจจุบัน = 36 คน

35


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

36 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ตัวหาร - จำนวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ป ที่ผานมาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา = 27,768 + 36,700 = 64,468 คน สูตรการคำนวณ จำนวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาทั้งหมด ทุกระดับการศึกษาที่ไดรับรางวัลทุกประเภทในปการศึกษาปจจุบัน

X 100

จำนวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา

ดังนั้น รอยละของนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ป ที่ผานมาที่ไดรับการประกาศเกียรติคุณยกยองในดานวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และดานสิ่งแวดลอมในระดับชาติ หรือนานาชาติ 36 = X 100 = 0.056 % 64,468 2. สำหรับเกณฑเฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและวิจัย การคิดคารอยละคิดเหมือนเกณฑทั่วไป ยกเวนเกณฑคะแนน 3 ขอ 2 โดย คำนวณมาจาก ตัวตั้ง จำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาปจจุบันและศิษยเการะดับบัณฑิตศึกษาที่สำเร็จ การศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาทั้งหมดที่ไดรับรางวัลประกาศเกียรติคุณยกยอง ระดับชาติหรือนานาชาติจากผลงานวิจัยและหรือวิทยานิพนธ = 4 คน ตัวหาร จำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาปจจุบันและศิษยเการะดับบัณฑิตศึกษาที่สำเร็จ การศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาทั้งหมด = 4,920 + 174 + 10,000 + 300 = 15,394 คน

37


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

38 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ สูตรการคำนวณ จำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาปจจุบันและศิษยเการะดับบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมา ที่ไดรับรางวัล จากผลงานวิจัยและหรือวิทยานิพนธในปการศึกษาปจจุบัน X 100 จำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาปจจุบันและศิษยเการะดับบัณฑิตศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ป ที่ผานมาทั้งหมด

ดังนั้น นักศึกษาบัณฑิตศึกษาและศิษยเกาที่ไดรับรางวัลจากผลงานวิจัยและหรือ วิทยานิพนธ 4 = X 100 = 0.026 % 15,394 3. สำหรับเกณฑเฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม การคิดคารอยละคิดเหมือนเกณฑทั่วไป ยกเวนเกณฑคะแนน 3 ขอ 2 โดย คำนวณมาจาก ตัวตั้ง จำนวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษา ในรอบ 5 ปที่ผานมา ทัง้ หมดทุกระดับการศึกษาทีได ่ รบั รางวัลดานศิลปะและวัฒนธรรมในปการศึกษา ปจจุบัน = 3 คน ตัวหาร - จำนวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษา ในรอบ 5 ปที่ผานมา ทั้งหมดทุกระดับการศึกษา ที่ไดรับรางวัลทุกประเภทในปการศึกษาปจจุบัน = 36 คน สูตรการคำนวณ จำนวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา ที่ไดรับรางวัลดานศิลปะและวัฒนธรรมในปการศึกษาปจจุบัน X 100 จำนวนนักศึกษาปจจุบันและศิษยเกาที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปที่ผานมาทั้งหมดทุกระดับการศึกษา ที่ไดรับรางวัลทุกประเภทในปการศึกษาปจจุบัน

39


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

40 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

2.13 รอยละของอาจารยประจำ จำนวนอาจารยประจำ หลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึ่งมี (นับเฉพาะที่ปฏิบัติ งานจริง) คุณสมบัติเปนที่ปรึกษา วิทยานิพนธที่ทำหนาที่ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ (เฉพาะสถาบันที่เนนการผลิต บัณฑิตและวิจัย)

การคิดรอบป

ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ดังนั้น นักศึกษาบัณฑิตศึกษาและศิษยเกาที่ไดรับรางวัลดานศิลปวัฒนธรรม 3 = X 100 = 8.33 % 36 การนับอาจารยประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติเปนที่ปรึกษา วิทยานิพนธ หากประจำอยูใน  สาขาหนึง่ แลวไปเปนทีป่ รึกษาวิทยานิพนธใหกับ อีกสาขาหนึง่ ทัง้ ในระดับคณะและสถาบัน สามารถนำมานับได แตจะไมนับหาก เปนอาจารยประจำหลักสูตรของสถาบันหนึง่ และไปเปนทีป่ รึกษาวิทยานิพนธให อีกสถาบันหนึ่ง ตัวอยางในการคำนวณ ในรอบปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยแหงหนึ่งมีอาจารยประจำทีปฏิ ่ บัติงาน จริงและลาศึกษาตอจำนวน 1,903 คน โดยเปนอาจารยประจำหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษาทีปฏิ ่ บตั งาน ิ จริงและมีคุณสมบัตครบถ ิ วนทีจ่ ะเปนอาจารยทีป่ รึกษา วิทยานิพนธจำนวน 1,325 คน และทำหนาที่เปนที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1,325 คน ในจำนวนนี้เปนอาจารยที่ปรึกษาใหกับมหาวิทยาลัยอื่นโดยไมเปนใหกับ มหาวิทยาลัยตนเอง 76 คน ตัวตั้ง - จำนวน อาจารยประจำ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ที่ทำหนาที่เปนที่ปรึกษา วิทยานิพนธ (นับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง) = 1,325 – 76 = 1,249 คน ตัวหาร จำนวนอาจารยประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถวน ที่จะเปน อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ (นับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง) = 1,325 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนอาจารยประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่ทำหนาที่เปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ จำนวนอาจารยประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่มีคุณสมบัติครบถวนที่จะเปนอาจารย ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ (เฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง)

X 100

41


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

42 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป

3.2 มีการสงเสริมกิจกรรม นักศึกษาที่ครบถวนและ สอดคลองกับคุณลักษณะ ของบัณฑิตที่พึงประสงค

ปการศึกษา (ใชปการศึกษาสำหรับ ตัวบงชี้ที่ 3.1 ดวย)

4.1 มีการพัฒนาระบบและกลไก ใน การ สนั บ สนุ น การ ผลิ ต งานวิจัยและงานสรางสรรค

ปการศึกษา (ใชปการศึกษาสำหรับ ตัวบงชี้ที่ 4.2 ดวย)

- สำหรับจำนวนเงิน 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยและ 1. จำนวนอาจารย สามารถเลือกใชตาม งานสรางสรรคจากภายในและ ประจำใหนับรวม ปการศึกษา หรือ ภายนอก สถาบั น ต อ จำนวน นักวิจัย แตไมนับ รวมอาจารยประจำ ปงบประมาณ หรือ อาจารยประจำ


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ดังนั้น รอยละของอาจารยประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติเปน ที่ปรึกษาวิทยานิพนธที่ทำหนาที่อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ (เฉพาะสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและวิจัย) 1,249 = X 100 = 94.26 % 1,325 เกณฑมาตรฐานระดับ 2 ความหมายของกิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ และความหมายของ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชนและรักษาสิ่งแวดลอม เปนดังนี้ กิจกรรมกีฬาและการสงเสริมสุขภาพ หมายถึง การจัดกลุมกิจกรรม ไมวาจะ เปนกิจกรรมกีฬาหรือกิจกรรมสงเสริมสุขภาพจะอยูในกลุมเดียวกัน เชนเดียว กับ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชนและรักษาสิง่ แวดลอม หมายถึงการจัดกลุม กิจกรรม ไมวา จะเปนกิจกรรมบำเพ็ญประโยชนหรือกิจกรรมรักษาสิง่ แวดลอมจะอยูใน  กลุม เดียวกัน เกณฑมาตรฐานระดับ 4 “....ตอเนื่อง” หมายถึง นำผลการประเมิน ไปพิจารณาเพื่อปรับปรุงการจัดกิจกรรมทุกครั้งหลังการประเมิน เกณฑมาตรฐานระดับ 6 เพิ่มเติมคำอธิบายดังนี้ “มีระบบและกลไกสงเสริมความรวมมือระหวางนักวิจัยกับองคกรภายนอก ไมวาจะเปนภาครัฐหรือเอกชน หรือ อุตสาหกรรมอยางใดอยางหนึ่งก็ได ตัวอยางการคำนวณ ในปการศึกษา 2551 (ระหวางวันที่ 1 มิถุนายน 2551 – 31 พฤษภาคม 2552) มหาวิทยาลัยแหงหนึ่งไดจัดสรรทุนวิจัยใหกับคณาจารยคณะตางๆ จำนวน 10 คณะ รวมทั้งสิ้น 37,500,000 .- บาท โดยมีคณาจารยทำสัญญารับทุน เมื่อวันที่

43


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

44 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป

และนักวิจัยที่ลา ปปฏิทิน แตตอง ศึกษาตอ เปนระบบเดียวกัน 2. ใหนับจำนวนเงินที่ ทุกปที่ประเมินตอ มีการเซ็นสัญญารับ จากนี้ไป ทุนในปการศึกษา - สำหรับจำนวน หรือปงบประมาณ อาจารยประจำ หรือปปฏิทนิ นั้นๆ และนักวิจัย ไมใชจำนวนเงินที่ ใหใชตาม เบิกจายจริง ปการศึกษา 3. การแบงสัดสวน จำนวนเงินกรณี มีผูวิจัยจากหลาย คณะหรือหลาย สถาบัน ใหแบง สัดสวนจำนวนเงิน ตามที่คณะหรือ สถาบันตกลงกัน


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ 30 ตุลาคม 2551 ทั้งสิ้น 37,000,000.- บาท นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยไดรับทุน สนับสนุนงานวิจยั จากภายนอกและลงนามในสัญญารับทุนเมือ่ วันที่ 15 กันยายน 2551 โดยเปนทุนวิจัยตอเนื่องเปนเวลา 2 ป ในวงเงินทั้งสิ้น 90,000,000.- บาท มหาวิทยาลัยแหงนี้มีอาจารยประจำทั้งหมด (ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษา ตอ) 1,903 คน บุคลากรสายสนับสนุนที่เปนนักวิจัยทั้งหมด (ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาตอ) 490 คน โดยในปการศึกษาดังกลาวมีอาจารยลาศึกษาตอ 90 คนและนักวิจัยลาศึกษาตอ 50 คน เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตอ จำนวนอาจารยประจำ เปนดังนี้ ตัวตั้ง จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคทั้งภายในและภายนอกสถาบัน = 37,000,000 + 45,000,000 = 82,000,000 .- บาท ตัวหาร จำนวนอาจารยประจำและบุคลากรสายสนับสนุนที่เปนนักวิจัยเฉพาะที่ปฏิบัติ งานจริง = (1,903 – 90) + (490 – 50) = 2,253 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน

X 100

จำนวนอาจารยประจำและบุคคลากรสายสนับสนุนที่เปนนักวิจัย (เฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง)

ดังนัน้ เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบัน ตอจำนวนอาจารยประจำ 82,000,000 = = 36,395.92 บาท 2,253

45


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

46 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

4.4 รอยละของงานวิจัยและ อาจารยประจำรวม งานสรางสรรคที่ตีพิมพ นักวิจัย (เฉพาะที่ เผยแพร ไดรับการจด ปฏิบัติงานจริง) ทะเบียนทรัพยสินทางปญญา หรือนำไปใชประโยชนทั้ง ในระดับชาติและในระดับ นานาชาติตอจำนวนอาจารย ประจำ

การคิดรอบป - สำหรับจำนวนเงิน สามารถเลือกใช ตามปการศึกษา หรือปงบประมาณ หรือปปฏิทนิ แตตองเปนระบบ เดียวกันทุกปที่ ประเมินตอจากนีไ้ ป - สำหรับจำนวน อาจารยประจำ และนักวิจัย ใหใช ตามปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ การนำผลงานวิจัยและงานสรางสรรคไปใชประโยชนในการเรียนการสอน ไมนับเปนการนำไปใชประโยชนระดับชาติ การนับบทความทีตี่ พมิ พเผยแพรใหนับเฉพาะบทความจากการวิจยั และนำไป ตีพิมพเผยแพรเทานั้นโดยไมนับซ้ำหากเผยแพรหลายครั้ง และไมนับบทความ ทางวิชาการอื่นๆที่ไมใชงานวิจัย งานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ตองเปนงานวิจัยและงาน สรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพรในระดับชาติหรือระดับนานาชาติเทานั้น ทรั พ ย ส ิ น ทาง ป ญ ญา หมายความ รวมถึ ง สิ ท ธิ บ ั ต ร และ อนุ สิ ท ธิ บ ั ต ร ทั้งในและตางประเทศ ตัวอยางในการคำนวณ จากการตรวจสอบหลักฐานในระหวางการเยี่ยมชมมหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง พบวา ในปพ.ศ. 2551 มหาวิทยาลัยไดเผยแพรผลงานวิจยั และงานสรางสรรคและ การใชประโยชนจำนวนรวมทั้งสิ้น 980 ชื่อเรื่อง เปนผลงานที่ตีพิมพเผยแพร ระดับชาติ 673 ชื่อเรื่อง และตีพิมพเผยแพรระดับนานาชาติ 157 ชื่อเรื่อง เปน ผลงานที่จดทรัพยสินทางปญญา จดสิทธิบัตร อนุบัตร จำนวน 136 ชื่อเรื่อง เปน ผลงานที่นำไปใชประโยชนระดับชาติหรือนานาชาติ 14 ชื่อเรื่อง มหาวิ ท ยาลั ย แห ง นี ้ มี อาจารย ประจำ ทั ้ ง หมด (ปฏิ บ ั ต ิ งาน จริ ง และ ลา ศึ ก ษาต อ ) 1,903 คน บุ ค ลากร สาย สนั บ สนุ น ที ่ เป น นั ก วิ จ ั ย ทั ้ ง หมด (ปฏิ บ ั ต ิ งาน จริ ง และ ลา ศึ ก ษาต อ ) 490 คน โดย ใน ป ก ารศึ ก ษา ดั ง กล า ว มีอาจารยลาศึกษาตอ 90 คนและนักวิจัยลาศึกษาตอ 50 คน ร อ ยละ ของ งานวิ จ ั ย และ งาน สร า งสรรค ที ่ ตี พ ิ ม พ เผยแพร ได ร ั บ การ จดทะเบียนทรัพยสินทางปญญา หรือนำไปใชประโยชนทั้งในระดับ ชาติและใน ระดับนานาชาติตอจำนวนอาจารยประจำ เปนดังนี้

47


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

48 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

4.5 รอยละของบทความวิจัยที่ ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือใน ฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับ นานาชาติตออาจารยประจำ (เฉพาะสถาบันทีเน ่ นการผลิต บัณฑิตและวิจัย)

การนับจำนวน

การคิดรอบป

จำนวนอาจารยประจำ - สำหรับจำนวน และนักวิจัยทั้งหมด บทความวิจัยที่ (รวมผูลาศึกษาตอ ไดรับการอางอิง ดวย) สามารถเลือกใช ตามปการศึกษา หรือปงบประมาณ หรือปปฏิทิน


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ตัวตั้ง จำนวนการเผยแพรผลงานวิจัยและงานสรางสรรคและการใชประโยชน = 980 ชื่อเรื่อง ตัวหาร จำนวนอาจารยประจำและบุคลากรสายสนับสนุนที่เปนนักวิจัยเฉพาะ ที่ปฏิบัติงานจริง = (1,903 – 90) + (490 – 50) = 2,253 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนการเผยแพรผลงานวิจัยงานสรางสรรคและการใชประโยชน

X 100 จำนวนอาจารยประจำและบุคคลากรสายสนับสนุนที่เปนนักวิจัย (เฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง)

ดังนั้น รอยละของงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพร ไดรับการ จดทะเบียนทรัพยสินทางปญญาหรือนำไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและ ในระดับนานาชาติตอจำนวนอาจารยประจำ 980 = x 100 2,253

= 43.50 % บทความที่ไดรับการอางอิง หมายถึง บทความที่ถูกอางอิงโดยงานวิจัยของ ผูอื่น บทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใหนับตามปการศึกษา หรือ ปงบประมาณ หรือปปฏิทิน หากมีการอางอิงทุกปใหนับเปนผลงานอางอิงได ทุกป หากบทความดังกลาวไดรับการอางอิงหลายครั้งในปนั้นๆ ใหนับไดเพียง ครั้งเดียวในปนั้น

49


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

50 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป แตตองเปนระบบ เดียวกันทุกปที่ ประเมินตอ จากนี้ไป - สำหรับจำนวน อาจารยประจำและ นักวิจัย ใหใชตาม ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ตัวอยางในการคำนวณ ในป พ.ศ. 2551 มหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง มีผลงานวิจัยที่ตีพิมพในวารสาร วิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ 680 ชือ่ เรือ่ ง โดยในจำนวนนี้ 137 ชือ่ เรือ่ ง ถูกอางอิงโดยผลงานวิจัยอื่น ๆ ชื่อเรื่องละ 1-2 ครั้งในปนี้ และในปเดียวกันนี้ ผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่ตีพิมพ กอนป พ.ศ. 2551 จำนวน 800 ชื่อเรื่อง ถูก อางอิงโดยผลงานวิจัยอื่น ๆ ชื่อเรื่องละ 1-4 ครั้ง โดยการอางอิงดังกลาว ปรากฏ ในฐานขอมูล Web of Science มหาวิ ท ยาลั ย แห ง นี ้ มี อาจารย ประจำ ทั ้ ง หมด (ปฏิ บ ั ต ิ งาน จริ ง และ ลา ศึ ก ษาต อ ) 1,903 คน บุ ค ลากร สาย สนั บ สนุ น ที ่ เป น นั ก วิ จ ั ย ทั ้ ง หมด (ปฏิ บ ั ต ิ งาน จริ ง และ ลา ศึ ก ษาต อ ) 490 คน โดย ใน ป ก ารศึ ก ษา ดั ง กล า ว มีอาจารยลาศึกษาตอ 90 คนและนักวิจัยลาศึกษาตอ 50 คน ตัวตั้ง - จำนวนบทความที่ไดรับการอางอิงในฐานขอมูลตางๆ ในป พ.ศ. 2551 = 800 + 137 = 937 ชื่อเรื่อง ตัวหาร - จำนวนอาจารยประจำและบุคคลากรสายสนับสนุนที่เปนนักวิจัย ทั้งที่ปฏิบัติ งานจริงและลาศึกษาตอ = 1,903 + 490 = 2,393 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนบทความที่ไดรับการอางอิงในฐานขอมูลตางๆ

X 100 จำนวนอาจารยประจำและบุคคลากรสายสนับสนุนที่เปนนักวิจัย (รวมผูลาศึกษาตอดวย)

ดังนั้น รอยละของบทความวิจัยที่ไดรับการอางอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานขอมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติตอจำนวนอาจารยประจำ

51


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

52 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

5.2 รอยละของอาจารยประจำที่ มีสวนรวมในการใหบริการ ทางวิชาการแกสังคม เปน ที่ปรึกษา เปนกรรมการ วิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพ ในระดับ ชาติหรือระดับนานาชาติตอ อาจารยประจำ

การนับจำนวน

การคิดรอบป

ปการศึกษา จำนวนอาจารย ประจำทั้งหมด (ทั้งที่ (ใชปการศึกษาสำหรับ ปฏิบัติงานจริงและ ทุกตัวบงชี้ของ องคประกอบที่ 5) ลาศึกษาตอ)


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ =

937 x 100 = 39.16 % 2,393

- การใหบริการทางวิชาการแกสังคม หมายถึง กิจกรรมหรือโครงการให บริการแกสังคมภายนอกสถาบันการศึกษา หรือเปนการใหบริการที่จัด ในสถาบันการศึกษาโดยมีบุคคลภายนอกเขามาใชบริการ - ใหนับเฉพาะการเปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนวิทยากร ที่อยูในแผนของ สถาบัน และการ เปนกรรมการ วิชาการวิชาชีพ เปน ที่ปรึกษา ในหนวยงานระดับชาติ ไดแก หนวยงานราชการระดับกรม หรือเทียบเทาขึ้นไป หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองคการมหาชน หรือองคกร กลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชน ตัวอยางในการคำนวณ ผล จาก การ ศึ ก ษา หลั ก ฐาน ป ก ารศึ ก ษา 2551 มหาวิ ท ยาลั ย แห ง หนึ ่ ง มีอาจารยประจำทั้งหมด (ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ) 1,903 คน บุคลากร สาย สนั บ สนุ น ที ่ เป น นั ก วิ จ ั ย ทั ้ ง หมด (ปฏิ บ ั ต ิ งาน จริ ง และ ลา ศึ ก ษาต อ ) 490 คน โดย ใน ป ก ารศึ ก ษา ดั ง กล า ว มี อาจารย ลา ศึ ก ษาต อ 90 คน และ นั ก วิ จ ั ย ลา ศึ ก ษาต อ 50 คน ใน จำนวน ดั ง กล า ว มี อาจารย ประจำที ่ ไป เป น กรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน 450 คน เปนกรรมการวิชาการ วิชาชีพ ใน ระดั บ ชาติ และ นานาชาติ 76 คน เป น วิ ท ยากร ที ่ อ ยู  ใน แผน ของ สถาบั น 150 คน รอยละของอาจารยประจำที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการ แก สั ง คม เป น ที ่ ป รึ ก ษา เป น กรรมการ วิ ท ยานิ พ นธ ภายนอก สถาบั น เป น กรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารย ประจำ เปนดังนี้

53


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

54 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

จำนวนอาจารยประจำ 5.3 รอยละของกิจกรรมหรือ โครงการบริการทางวิชาการ ทั้งหมด (นับเฉพาะที่ และวิชาชีพทีตอบสนอง ่ ความ ปฏิบัติงานจริง) ตองการพัฒนาและเสริมสราง ความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและ นานาชาติตออาจารยประจำ

การคิดรอบป

ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ตัวตั้ง จำนวนอาจารยประจำทัง้ หมดรวมลาศึกษาตอทีมี่ สวนรวมในการบริการวิชาการ = 450 + 150 + 76 = 676 คน ตัวหาร จำนวนอาจารยประจำทั้งหมด (ที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ) = 1,903 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนอาจารยประจำทั้งหมดที่มีสวนรวมในการบริการวิชาการ เปนที่ปรึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธ ภายนอกสถาบัน เปนกรรมการวิชาการ วิชาชีพ ในระดับชาติและนานาชาติ X 100 จำนวนอาจารยประจำทั้งหมด (ทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ)

ดังนั้น รอยละของอาจารยประจำที่มีสวนรวมในการใหบริการทางวิชาการ แกสังคม เปนทีป่ รึกษา เปนกรรมการวิทยานิพนธภายนอกสถาบัน เปนกรรมการ วิชาการ กรรมการวิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาติตออาจารยประจำ 676 = x 100 = 35.52 % 1,903 การนับจำนวนกิจกรรมหรือโครงการบริการทางวิชาการและวิชาชีพในตัวบงชีนี้ ้ ใหนับเฉพาะโครงการ หรือในกรณีที่โครงการไดระบุกิจกรรมไวชัดเจน ใหนับ กิจกรรมแทนโครงการไดเฉพาะกรณีที่กิจกรรมเหลานั้นไดกำหนดวัตถุประสงค งบประมาณ ระยะเวลา เปาหมายผูเขารับบริการ และการประเมินกิจกรรมทุก กิจกรรมไวชัดเจน ทั้งนี้ สามารถนับซ้ำไดถาเปนโครงการหรือกิจกรรมที่ดำเนินการกับกลุม เปาหมายที่แตกตางกัน

55


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

56 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ตัวอยางในการคำนวณ ในรอบปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง มีอาจารยประจำทั้งหมด (ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ) 1,903 คน บุคลากรสายสนับสนุนที่เปน นั ก วิ จ ั ย ทั ้ ง หมด (ปฏิ บ ั ต ิ งาน จริ ง และ ลา ศึ ก ษาต อ ) 490 คน โดยใน ป ก าร ศึกษาดังกลาวมีอาจารยลาศึกษาตอ 90 คน และนักวิจัยลาศึกษาตอ 50 คน โดยในรอบปการศึกษาดังกลาว มหาวิทยาลัยไดจัดทำกิจกรรมหรือโครงการ บริการวิชาการตาง ๆ ตามที่กำหนดไวในแผนของสถาบันรวมทั้งสิ้น 744 โครงการ/กิจกรรม รอยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการทางวิชาการและวิชาชีพทีตอบสนอง ่ ความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติตออาจารยประจำ เปนดังนี้ ตัวตั้ง จำนวนกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการ = 744 โครงการ/กิจกรรม ตัวหาร จำนวนอาจารยประจำทั้งหมด = 1,903 – 90 = 1,813 คน (นับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง) สูตรในการคำนวณ จำนวนกิจกรรมหรือโครงการบริการวิชาการ X 100 จำนวนอาจารยประจำทั้งหมด (เฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง) ดังนั้น รอยละของกิจกรรมหรือโครงการ บริการทางวิชาการและวิชาชีพที่ ตอบสนองความตองการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติตออาจารยประจำ 744 = x 100 = 41.04 % 1,813

57


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

58 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้ 5.4 รอยละของระดับความ พึงพอใจของผูรับบริการ

การนับจำนวน

การคิดรอบป ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ ในตัวบงชี้นี้กำหนดใหนำผลการสำรวจความพึงพอใจของผูรับบริการของ สถาบันอุดมศึกษา โดยสำนักงาน ก.พ.ร. มาใชในตัวบงชี้นี้สำหรับสถาบัน อุดมศึกษาของรัฐ สวนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใหใชผลสำรวจของสถาบันนั้น สำหรับการคำนวณตามเกณฑการประเมินในกรณีที่ไมมีผลสำรวจ ของ ก.พ.ร. ใหนำผลการสำรวจความพึงพอใจเปนรายโครงการ/กิจกรรม มาคำนวณเปน ภาพรวมโดยใชสมการดังนี้ ความพึงพอใจ = = ni = i = p = ทั้งนี้

¦ x in i ¦ n i

คาเฉลี่ยโครงการ/กิจกรรมที่ i (คะแนนเต็ม 5) จำนวนคนที่ตอบแบบสอบถามของโครงการ/กิจกรรมที่ i 1 ถึง p จำนวนโครงการ/กิจกรรมทั้งหมด หากผลคำนวณได 3.51 ขึ้นไป ไดคะแนน 3 หากไดระหวาง 2.51 - 3.50 ไดคะแนน 2 หากไดระหวาง 1.51 - 2.50 ไดคะแนน 1 และหากต่ำกวา 1.51 ไดคะแนน 0 ในกรณีที่สถาบันไมไดประเมินความพึงพอใจครบทุกกิจกรรม/โครงการ ตามตัวบงชี้ที่ 5.3 จำเปนตองมีการประเมินความพึงพอใจของผูรับบริการ อยางนอย 80% ของกิจกรรม/โครงการที่ดำเนินการ (หากวัดระดับความพึงพอใจ ไมถึง 80 % ของกิจกรรม/โครงการที่ใหบริการทั้งหมด จะใหไดเพียง 1 คะแนน ถึงแมวาผลการประเมินระดับความพึงพอใจ จะได 3.51 ขึ้นไปก็ตาม) xi

59


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

60 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป

5.5 จำนวนแหลงใหบริการ ทางวิชาการและวิชาชีพ ที่ไดรับการยอมรับใน ระดับชาติหรือระดับ นานาชาติ (เฉพาะสถาบัน ที่เนนการผลิตบัณฑิตและ พัฒนาสังคม)

ปการศึกษา

6.1 มีระบบและกลไกในการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

ปการศึกษา (ใชปการศึกษาสำหรับ ทุกตัวบงชี้ของ องคประกอบที่ 6)

7.5 ศักยภาพของระบบ ฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และ การวิจัย

ปการศึกษา (ใชปการศึกษาสำหรับ ทุกตัวบงชี้ของ องคประกอบที่ 7)

7.7 รอยละของอาจารยประจำที่ 1. นับจำนวนอาจารย ไดรับรางวัลผลงาน ประจำและนักวิจัย ทางวิชาการหรือวิชาชีพใน ทั้งหมด (นับรวม ระดับชาติหรือนานาชาติ ทั้งที่ปฏิบัตงาน ิ จริง และลาศึกษาดวย) 2. นับซ้ำได หาก อาจารยและนักวิจัย นั้นไดรับรางวัล

ปการศึกษา


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ การนับเปนแหลงบริการวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ พิจารณาจากการ มีเอกสารรับรองจากหนวยงานระดับชาติ หรือนานาชาติ เชน วุฒิบัตร หรือ ใบรับรอง หรือหลักฐานการใหบริการวิชาการ

เกณฑมาตรฐานระดับ 4 การดำเนินงานดานศิลปวัฒนธรรม และ เกณฑมาตรฐานระดับ 6 การเผยแพรและบริการดานศิลปวัฒนธรรม ทั้งใน ระดับชาติ และนานาชาติ หมายความถึง การดำเนินงาน การเผยแพร และการ บริการดานศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติหรือนานาชาติอยางใดอยางหนึ่ง เกณฑมาตรฐานในตัวบงชี้นี้ครอบคลุมระบบฐานขอมูลทั้ง 3 ดาน ไดแก การบริหาร การเรียนการสอนและการวิจัยซึ่งผูบริหารสามารถใชฐานขอมูล ดังกลาวในการตัดสินใจได ตัวอยางในการคำนวณ ในรอบปการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง มีอาจารยประจำทั้งหมด (ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ) 1,903 คน บุคลากรสายสนับสนุนที่เปน นั ก วิ จ ั ย ทั ้ ง หมด ( ปฏิ บ ั ต ิ งาน จริ ง และ ลา ศึ ก ษาต อ ) 4 9 0 คน โดย ใน ป ก าร ศึกษาดังกลาวมีอาจารยลาศึกษาตอ 90 คน และนักวิจัยลาศึกษาตอ 50 คน โดยในรอบปการศึกษาดังกลาวอาจารยและนักวิจัยของมหาวิทยาลัยไดรับ รางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติในดานการวิจยั 56 คน ดานศิลปะและวัฒนธรรม 27 คน และดานอื่นๆ จำนวน 2 คน

61


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

62 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน หรือประกาศ เกียรติคุณหลาย รางวัล หมายเหตุ รางวัล หมายถึง ผลงานทาง วิชาการหรือวิชาชีพ ที่ผานการแขงขันหรือ ไดรับการคัดเลือก ในระดับชาติหรือ นานาชาติ

การคิดรอบป


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ รอยละของอาจารยประจำที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพ ในระดับชาติหรือนานาชาติ เปนดังนี้ ตัวตั้ง จำนวนอาจารยประจำ (รวมนักวิจัย) ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการ หรือวิชาชีพ ในระดับชาติหรือนานาชาติรวมทุกประเภท = 56 + 27 + 2 = 85 คน ตัวหาร จำนวนอาจารยประจำและนักวิจัยทั้งหมด (ทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ) = 1,903 + 490 = 2,393 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนอาจารยประจำ (รวมนักวิจัย) ที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพ ในระดับชาติหรือนานาชาติรวมทุกประเภท

X 100

จำนวนอาจารยประจำและนักวิจัยทั้งหมด (ทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ)

ดังนั้น รอยละของอาจารยประจำที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพ ในระดับชาติหรือนานาชาติ 85 = x 100 = 3.55 % 2,393 สำหรับเกณฑคะแนน 3 ในขอ 2 ของกลุมสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและวิจัย และกลุมสถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนา ศิลปวัฒนธรรม ใหคำนวณดังนี้

63


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

64 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

การนับจำนวน

การคิดรอบป


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและวิจัย ตัวตั้ง จำนวนอาจารยประจำ (รวมนักวิจยั ) ทีได ่ รบั รางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพ ในระดับชาติหรือนานาชาติดานการวิจัย = 56 คน ตัวหาร จำนวนอาจารยประจำ (รวมนักวิจยั )ทีได ่ รบั รางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพ ในระดับชาติหรือนานาชาติรวมทุกประเภท = 56 + 27 + 2 = 85 คน สูตรในการคำนวณ จำนวนอาจารยประจำ(รวมนักวิจัย) ที่ไดรับรางวัลผลงานวิชาการหรือวิชาชีพ เปนผลงานดานการวิจัย

X 100

จำนวนอาจารยประจำ (รวมนักวิจัย) ที่ไดรางวัลผลงานวิชาการหรือวิชาชีพ ในระดับชาติหรือนานาชาติรวมทุกประเภท

ดังนั้น รอยละของผูไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพ ตองเปนรางวัล ดานการวิจัย 56 = x 100 = 65.88 % 85 สถาบันที่เนนการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ตัวตั้ง จำนวนอาจารยประจำ (รวมนักวิจยั ) ทีได ่ รบั รางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพ ในระดับชาติหรือนานาชาติดานศิลปะและวัฒนธรรม = 27 คน ตัวหาร จำนวนอาจารยประจำ (รวมนักวิจัย) ที่ไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการ หรือ วิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติรวมทุกประเภท = 56 + 27 + 2 = 85 คน

65


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

66 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

ตัวบงชี้

7.9 ระดับความสำเร็จของ การถายทอดตัวบงชี้และ เปาหมายของระดับองคกร สูระดับบุคคล

การนับจำนวน

การคิดรอบป

ปการศึกษา

8.2 มีการใชทรัพยากรภายในและ ภายนอกสถาบันรวมกัน

ปงบประมาณ (ใชปงบประมาณสำหรับ ตัวบงชี้ที่ 8.1 ดวย)

9.3 ระดับความสำเร็จของการ ประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน

ปการศึกษา (ใชปการศึกษาสำหรับ ตัวบงชี้ที่ 9.1 และ 9.2 ดวย)


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คำอธิบายเพิ่มเติมพรอมตัวอยางการคำนวณ สูตรในการคำนวณ จำนวนอาจารยประจำ (รวมนักวิจัย ที่ไดรับรางวัลผลงานวิชาการหรือวิชาชีพ เปนผลงานดานศิลปะและวัฒนธรรม

X 100

จำนวนอาจารยประจำ (รวมนักวิจัย) ที่ไดรางวัลผลงานวิชาการหรือวิชาชีพ ในระดับชาติหรือนานาชาติรวมทุกประเภท

ดังนั้น รอยละของผูไดรับรางวัลผลงานทางวิชาการหรือวิชาชีพ ตองเปนรางวัล ดานศิลปะและวัฒนธรรม 27 = x 100 = 31.76 % 85 การ จั ด ทำ คำ รั บ รอง จะ ต อ ง มี หลั ก ฐาน เอกสาร แสดง การ ติ ด ตาม ผล การ ดำเนินงานตามตัวบงชี้ การจัดทำ strategy map สามารถดูตัวอยางของสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) โดยศึกษาเพิ่มเติมไดจากเว็บไซต www.opdc.go.th เกณฑมาตรฐานระดับ 5 มีผลการประหยัดงบประมาณใหแสดงหลักฐาน การประหยัดงบประมาณจากการใชทรัพยากรรวมกัน เกณฑมาตรฐานระดับ 3 ใหพิจารณาจากการสงรายงานประจำปที่เปน รายงานการประเมินคุณภาพภายใน ตอหนวยงานที่เกี่ยวของภายในเวลาที่ กำหนด (ภายใน 120 วัน นับจากวันสิ้นปการศึกษาของแตละสถานศึกษา (ดูจาก ปการศึกษาที่ผานมา))

67


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ

68 คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คณะอนุกรรมการพัฒนาองคประกอบและตัวบงชี้การประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา อนุกรรมการที่ปรึกษา รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (นางสาวจิรณี ตันติรัตนวงศ) ประธานอนุกรรมการ ศาสตราจารยกิตติคุณกิตติชัย วัฒนานิกร อนุกรรมการ ศาสตราจารย นายแพทยวุฒิชัย ธนาพงศธร ศาสตราจารยสุวิมล วองวาณิช รองศาสตราจารยสมบูรณวัลย สัตยารักษวิทย ผูชวยศาสตราจารยประเสริฐ อัครประถมพงศ ผูชวยศาสตราจารยจินดา งามสุทธิ นางสาวปรานี พรรณวิเชียร ผูอำนวยการสำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา (นางวราภรณ สีหนาท) อนุกรรมการและเลขานุการ เจาหนาที่สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา (นางอรสา ภาววิมล) ผูชวยเลขานุการ เจาหนาที่สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา (นางสาวนุชนภา รื่นอบเชย) เจาหนาที่สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา (นางสาวนพรัตน ประสาทเขตการณ)


คำอธิบายเพิ่มเติมประกอบ คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2551

คณะอนุกรรมการดำเนินการฝกอบรมเพือ่ สงเสริมสนับสนุนการพัฒนา ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา อนุกรรมการที่ปรึกษา รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (นางสาวจิรณี ตันติรัตนวงศ) ประธานอนุกรรมการ ศาสตราจารยกิตติคุณกิตติชัย วัฒนานิกร อนุกรรมการ ศาสตราจารยชัย จาตุรพิทักษกุล รองศาสตราจารยศรีสมรักษ อินทุจันทรยง ผูชวยศาสตราจารยจินดา งามสุทธิ นายชูศักดิ์ เตชะวิเศษ ผูอำนวยการสำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา (นางวราภรณ สีหนาท) อนุกรรมการและเลขานุการ เจาหนาที่สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา (นางอรสา ภาววิมล) ผูชวยเลขานุการ เจาหนาที่สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา (นางสาวนุชนภา รื่นอบเชย) เจาหนาที่สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา (นางสาวนพรัตน ประสาทเขตการณ)

69



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.