กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ยูคลิ ดบิดาแห่งคณิ ตศาสตร์ ยุคลิด (อังกฤษ: Euclid) หรื อ ยุคลิดแห่ งอเล็กซานเด รีย เป็ นนักคณิ ตศาสตร์ชาวกรี กที่มีชีวิตอยูป่ ระมาณพ.ศ. 218 ได้ กล่าวถึงการหา ห.ร.ม. หรื อ ตัวหารร่ วมมาก ของจานวนนับ 2 จานวนที่มีค่ามากอย่างรวดเร็ ว ซึ่ งในปั จจุบนั เรี ยกว่า ขั้นตอนวิธี แบบยุคลิด หลักฐานและเรื่ องราวเกีย่ วกับตัวยูคลิดยังคงสับสน เพราะมีผเู้ ขียนไว้หลายรู ปแบบ อย่างไรก็ตามผลงานเรื่ อง The Elements ยังคงหลงเหลืออยู่จนถึงทุกวันนี้ จากหลักฐานที่สับสน ทาให้สันนิษฐานที่เกีย่ วกับยูคลิดมีหลายแนวทาง เช่น ยุคลิดเป็ น บุคคลที่เขียนเรื่ อง The Element หรื อยูคลิดเป็ นหัวหน้าทีมนัก คณิ ตศาสตร์ที่อาศัยอยู่ที่อเล็กซานเดรี ย และได้ช่วยกันเขียนเรื่ อง The Elements อย่างไรก็ดีส่วนใหญ่กม็ นั่ ใจว่ายูคลิดมีตวั ตนจริ ง และเป็ นปราชญ์อจั ฉริ ยะทางด้านคณิ ตศาสตร์ที่มีชีวิตในยุคกว่า 2,000 ปี ผลงาน The Elements แบ่งออกเป็ นหนังสื อได้ 13 เล่ม ใน 6 เล่มแรกเป็ นผลงานเกีย่ วกับเรขาคณิ ต เล่ม 7, 8 และ 9 เป็ น เรื่ องราวเกีย่ วกับทฤษฎีตวั เลข เล่ม 10 เป็ นเรื่ องราวเกีย่ วกับทฤษฎี ที่ว่าด้วยจานวนอตรรกยะ เล่ม 11, 12 และ 13 เกีย่ วข้องกับเรื่ องราว รู ปเรขาคณิ ตทรงตัน และปิ ดท้ายด้วยการกล่าวถึงรูปทรงหลาย เหลี่ยม และข้อพิสูจน์เกีย่ วกับรู ปทรงหลายเหลี่ยม ผลงานของยูคลิดเป็ นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางมาก และ กล่าวกันว่าผลงาน The Elements เป็ นผลงานที่ต่อเนื่อง และดาเนิน มาก่อนแล้วในเรื่ องผลงานของนักคณิ ตศาสตร์ยุคก่อน เช่น ทา ลีส (Thales), ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) และพีธา กอรัส
พาย หรือ ไพ (อักษรกรีก: π) เป็นค่าคงตัวทาง คณิตศาสตร์ ที่เกิดจากความยาวเส้นรอบวงหาร ด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม ค่า π มักใช้ใน คณิตศาสตร์, ฟิสกิ ส์ และวิศวกรรม π เป็นอักษร กรีกที่ตรงกับตัว "p" ในอักษรละติน มีช่อื ว่า "pi" (อ่านว่า พาย ในภาษาอังกฤษ แต่อ่าน ว่า พี ในภาษากรีก) บางครัง้ เรียกว่า ค่าคงตัวของ อาร์คิมิดีส (Archimedes' Constant) หรือจานวนของลูดอล์ฟ(Ludolphine number หรือ Ludolph's Constant)
การหาพืน้ ทีผ่ ิวของร่ างกาย นึกดูว่าหากจะทาการคานวณหาพื้นที่ผิวของร่ างกายของเราจะทาได้ อย่างไร คงเป็ นเรื่ องที่ยากมากในการคานวณหรื อหาวิธีในการหาพื้นที่ ผิวของร่ างกาย ได้มีนกั วิทยาศาสตร์ ชื่อ DuBois ได้ทาการสร้างโมเดล คณิ ตศาสตร์ สาหรับการคานวณหาพื้นที่ผิวของร่ างกายมนุษย์ไว้แล้ว ตั้งแต่ปี คศ.1916 โดย DuBois ได้ทาการทดลองและหาความสัมพันธ์ จากข้อมูล เพื่อแสดงโมเดลที่มีความสัมพันธ์กบั น้ าหนักและส่ วนสูงของ มนุษย์ โดยสูตรที่ได้เป็ น
ในเรขาคณิตแบบยุคลิด π มีนิยามว่าเป็น อัตราส่วนของเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่าน ศูนย์กลางของวงกลม หรือเป็นอัตราส่วนของพืน้ ที่ วงกลม หารด้วย รัศมียกกาลังกาลังสอง ใน ั ชนั คณิตศาสตร์ชนั ้ สูงจะนิยาม π โดยใช้ฟงก์ ตรีโกณมิติ เช่น π คือจานวนบวก x ที่น้อยสุดที่
เมื่อ S คือ พื้นที่ผิวของร่ างกายที่หน่วยเป็ นตารางเมตร
ค่าของพาย
S = 0.007184(W)0.425 x (H)0.725
W คือ น้ าหนักของผูน้ ้ นั มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม H คือ ส่ วนสูงมีหน่วยเป็ นเซ็นติเมตร นี้ลองดูว่า ถ้าคนหนึ่งมีน้ าหนัก 70 กิโลกรัม ส่ วนสูง 200 เซ็นติเมตร จะ มีพ้นื ที่ผิวเท่าไร
S = 0.007184(W)0.425 x (H)0.725 การคานวณกรณี น้ ีจาเป็ นต้องใช้ log โดยการใส่ log ทั้งสองข้าง
log S = log 0.007184 + 0.425 log 70 + 0.725 log 200 จากเทอมทางด้านขวา
log 0.007184
log 70 0.425 log 70 log 200 0.725 log 200
= log(7.184 x 10-3) = log(7.184) + log(10-3) = 0.8563 + (-3) = -2.1437 = 1.8451 = 0.7841 = 2.3010 = 1.6680
ดังนั้นlog S = -2.1437 + 0.7841 + 1.6680 ได้ S = 2.03 ตารางเมตร