เอกสารสำหรับนักเรียน หน่วยที่ 1

Page 1

เอกสารสาหรับนักเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารสนเทศในชีวิตประจาวัน


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สาระการเรียนรู้พื้นฐาน

ใบความรู้ที่ 1 สารสนเทศในชีวิตประจาวัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง ระบบสารสนเทศ

ข้อมูล ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อการสื่อสาร คุณสมบัติของข้อมูล ข้อมูลที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. ความถูกต้อง 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน 3. ความสมบูรณ์ 4. ความกระชับและชัดเจน 5. ความสอดคล้อง สารสนเทศ สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนาข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาผ่านกระบวนการประมวลผล เพื่อนามาใช้ ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์กระบวนการประมวลผลอาจเป็นการแยกแยะ จัดเก็บ จัดลาดับ คานวณ โดยเลือกและ จัดรูปแบบให้เหมาะสม ทันต่อความต้องการและทันสมัยกับเหตุการณ์ กระบวนการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศจาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยดาเนินการ เริ่มตั้งแต่การ รวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ และการดูแลรักษาข้อมูลเพื่อการ ใช้งาน 1. การรวบรวมข้อมูล ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บข้อมูลอยู่เป็นจานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่อง คอมพิวเตอร์ผ่านแผงแป้นอักขระ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การกราดตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอ ดาในตาแหน่งต่าง ๆ 2. การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูลเพื่อความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บ เข้าในระบบต้องมีความน่าเชื่อถือ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลอาจตรวจสอบโดยสายตา มนุษย์หรือตั้งกฎเกณฑ์ให้คอมพิวเตอร์ตรวจสอบ 3. การประมวลผลข้อมูล เป็นการจัดกระทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่นาไปใช้งานหรือช่วยในการตัดสินใจได้ เช่น o การจัดเรียง เช่น เรียงชื่อพนักงานจาก ก ไปหา ฮ o การหาค่าเฉลี่ย เช่น หาค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบของนักเรียน


o o

การเปรียบเทียบ เช่น การนาคะแนนเฉลี่ยมาเปรียบเทียบระหว่างระหว่างสองกลุ่ม การหาแนวโน้ม เช่น การนาคะแนนรวมของเด็กคนหนึ่ง มาพิจารณาตั้งแต่เรียน จนถึงชั้น ปัจจุบันว่ามีพัฒนาการเป็นอย่างไร

4. การดูแลรักษาข้อมูล การดูแลรักษาข้อมูล อาจประกอบด้วยกิจกรรมต่อไปนี้ 4.1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อ บันทึกต่าง ๆ รวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้ 4.2 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อเก็บรักษาข้อมูล หรือนาไปแจกจ่าย จึงควรคานึงถึง ความจุและความทนทานของสื่อบันทึกข้อมูล 4.3 การสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูล ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสาคัญและมีบทบาทที่สาคัญยิ่งที่จะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและ ทันเวลา 4.4 การปรับปรุงข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์เพื่อการใช้งาน เช่น ในการตัดสินเพื่อ ดาเนินการ ดังนั้นข้อมูลจึงต้องมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา และจัดเก็บอย่างเป็นระบบเพื่อการค้นหา ได้อย่างรวดเร็ว สรุปคุณลักษณะสาคัญของสารสนเทศ ได้ 3 ประการ คือ 1. เป็นข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว 2. มีรูปแบบที่มีประโยชน์นาไปใช้งานได้ 3. มีคุณค่าสาหรับใช้ในการดาเนินงาน หรือตัดสินใจ เทคโนโลยี หมายถึง วิชาการที่นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้ประโยชน์ต่อการดารงชีวิต ของ มนุษย์ หรือหมายถึงการนาความรู้ และทักษะ และทรัพยากรมาสร้างสิ่งของเครื่องใช้ วิธีการโดยผ่าน กระบวนการ เพื่อแก้ปัญหาสนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามรถในการทางานของมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีในการจัดการซึ่งข้อมูลต่างๆ ตลอดจนการสร้างสรรค์ จัดเก็บ แสดงผล แลกเปลี่ยน เผยแพร่และจัดการข้อมูลในรูปแบบเสียง ภาพ ข้อความหรือ ตัวเลขด้วยการใช้คอมพิวเตอร์และ การสื่อสารข้อมูล ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information Systems) หมายถึง ระบบที่ดาเนินการจัดการข้อมูลข่าวสารใน องค์กรให้สามารถนามาใช้ได้อย่างเป็นระบบระเบียบ ในที่นี้จะหมายถึงระบบที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาช่วยจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่สามารถนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจในเวลา อันรวดเร็วและถูกต้องที่สุด ดังนั้น ระบบสารสนเทศ จึงประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ผู้ใช้ กระบวนการ และตัวข้อมูลโดยมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนสามารถตรวจสอบและประเมินผลระบบได้


องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ มี 5 ส่วนคือ 1. ฮาร์ดแวร์ (เครื่องคอมพิวเตอร์) 2. ซอฟต์แวร์ 3. ข้อมูล 4. บุคลากร 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการจัดการสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ช่วยประมวลผล คัดเลือก คานวณ หรือพิมพ์รายงาน ผลตามที่ต้องการ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทางานได้รวดเร็ว มีความ แม่นยาในการทางาน และทางานได้ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ จึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งของ ระบบสารสนเทศ ซอฟต์แวร์ คือ ลาดับขั้นตอนคาสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางานตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ซอฟต์แวร์ จึงหมายถึงชุดคาสั่งที่เรียงเป็นลาดับขั้นตอนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานตามต้องการ และประมวลผลเพื่อให้ได้ สารสนเทศที่ตอ้ งการ ได้แก่ โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ที่ช่วยในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศได้ ข้อมูล เป็นวัตถุดิบที่ทาให้เกิดสารสนเทศ ข้อมูลที่เป็นวัตถุดิบจะต่างกัน ขึ้นกับสารสนเทศที่ต้องการ เช่น ในสถานศึกษามักจะต้องการ สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลนักเรียน ข้อมูลผลการเรียน ข้อมูลอาจารย์ ข้อมูลการใช้จา่ ยต่าง ๆ ข้อมูลเป็นสิ่งที่สาคัญประการหนึ่งที่มีบทบาทต่อการให้เกิดสารสนเทศ บุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สาคัญ เพราะบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และเข้าใจวิธีการให้ ได้มาซึ่งสารสนเทศ จะเป็นผู้ดาเนินการ ในการทางานทั้งหมด บุคลากรจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรภายในองค์กรเป็นส่วนประกอบที่จะทาให้เกิด ระบบสารสนเทศด้วยกันทุกคน เช่น ร้านขายสินค้าแห่งหนึง่ บุคลากรที่ดาเนินการในร้านค้าทุกคน ตั้งแต่ผู้จัดการถึงพนักงานขาย เป็น ส่วนประกอบที่จะทาให้เกิดสารสนเทศได้ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เป็นระเบียบวิธีการปฏิบัติงานในการจัดเก็บรักษาข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่จะ ทาให้เป็นสารสนเทศได้ เช่น กาหนดให้ มีการป้อนข้อมูลทุกวัน ป้อนข้อมูลให้ทันตามกาหนดเวลา มีการแก้ไข ข้อมูลให้ถูกต้องอยู่เสมอ กาหนดเวลาในการประมวลผล การทารายงาน การดาเนินการ ต่าง ๆ ต้องมีขั้นตอน หากขั้นตอนใดมีปัญหาระบบก็จะมีปัญหาด้วย เพราะทุกขั้นตอนมีผลต่อระบบสารสนเทศ ประเภทของระบบสารสนเทศ 1. ระบบการประมวลผลทางธุรกิจ(Transaction Processing System : TPS) ระบบการประมวลผล มักเป็นการประมวลผลแบบวันต่อวัน เช่น การรับ-จ่ายบิล ระบบควบคุม สินค้า คงคลัง ระบบการรับ-จ่ายสินค้า เป็นต้น การใช้งานในระดับผู้ปฏิบัติการระบบนี้เป็นระบบสารสนเทศ ลาดับแรกที่ได้รับการพัฒนาให้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(Management Information System : MIS) คือระบบที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารที่ต้องการการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ให้ประโยชน์ มากกว่าการช่วยงานแบบวันต่อวัน MIS จึงมีความสามารถในการคานวณ และเปรียบเทียบข้อมูล ซึ่งมี ความหมายต่อการจัดการและบริหารงานเป็นอย่างมาก นอกจากนั้น ระบบนี้ยังสามารถ สร้างสารสนเทศที่ ถูกต้องและทันสมัยอีกด้วย โดยทั่วไป MIS มักรวมระบบ TPS เข้าไว้ด้วย


3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS) หมายถึง ระบบที่ทาหน้าที่จัดเตรียมสารสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจ หากเป็นการใช้โดยผู้บริหาร ระดับสูง เรียกระบบนี้ว่า "ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อผู้บริหารระดับสูง" (Executive Support System: ESS) บางครั้งสารสนเทศที่ TPS และ MIS ไม่สามารถช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจเพื่อช่วยในการ ตัดสินใจภายใต้ผลสรุปได้ จาเป็นต้องพัฒนาระบบช่วยตัดสินใจ DSS ขึ้น และการเปรียบเทียบข้อมูลจาก แหล่งอื่น ทั้งภายในและนอกองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อช่วยในการตัดสินใจที่ไม่ได้คาดไว้ล่วงหน้า เช่น การตัดสินใจเกี่ยวกับการรวมบริษัทและการหาบริษัทร่วม การขยายโรงงาน ผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นต้น 4.ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System : EIS) คือ MIS ประเภทพิเศษที่ถูกพัฒนาสาหรับผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะช่วยให้ผู้บริหารระดับสูง ที่ไม่ คุ้นเคยกับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถใช้ระบบสารสนเทศได้ง่ายขึ้น โดยใช้เมาส์เลื่อนหรือจอภาพแบบสัมผัส เพื่อเชื่อมโยงข่าวสารระหว่างกัน ทาให้ผู้บริหารไม่ต้องจาคาสั่ง 5.ระบบผู้เชี่ยวชาญ(Artificial Intelligence/Expert System : AI/ES) หมายถึง ระบบที่ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้ชานาญการในสาขาใดสาขาหนึ่ง คล้ายกับ มนุษย์ ระบบนี้จะได้รับความรู้จากมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาใดสาขาหนึ่งเก็บไว้ ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ สามารถวิเคราะห์เหตุผล เพื่อตัดสินใจ ความรู้ที่เก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์นี้ ประกอบด้วย ฐานความรู้(Knowledge Base) และกฎข้อวินิจฉัย(Inference Rule) ซึ่งเป็นความสามารถเฉพาะที่ทาให้ ระบบคอมพิวเตอร์ สามารถตัดสินใจได้เอง เช่น การวินิจฉัยความผิดพลาดของรถจักรดีเซลไฟฟ้า โดยใช้ คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems-DSS) ระบบสารสนเทศแบบ DSS เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการตัดสินใจ ซึ่งมีลักษณะโครงสร้างไม่ ชัดเจน โดยนาข้อมูลมาจากหลายแหล่งช่วยในการนาเสนอและมีลักษณะยืดหยุ่นตามความต้องการ ลักษณะ ของ DSS ได้แก่ 1) ระบบสารสนเทศที่ใช้สาหรับการสนับสนุนผู้ตัดสินใจทางการบริหารทั้งที่เป็นตัวบุคคลหรือกลุ่ม โดยการตัดสินใจนั้นจะเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่มีลักษณะเป็นแบบ ไม่มีโครงสร้าง (unstructured situations) โดยจะมีการนาวิจารณญาณของมนุษย์กับข้อมูล จากคอมพิวเตอร์มาใช้ประกอบในการตัดสินใจ 2) ระบบ DSS ช่วยในการตอบสนองความต้องการที่ไม่ได้คาดการณ์มาก่อนโดยผู้ใช้สามารถปรับ ข้อมูลใน DSS ได้ตลอดเวลาเพื่อจัดการกับเงื่อนไขต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้การวิเคราะห์ที่เรียกว่ า Sensitivity Analysis 3) ช่วยในการตัดสินใจที่ต้องการความรวดเร็วสูง เพื่อใช้ประกอบในการกาหนดกลยุทธ์ในการแข่งขัน ดังนั้น DSS จึงมีลักษณะการโต้ตอบได้ (interactive) 4) เสนอทางวิเคราะห์ในทางเลือกต่างๆ ในสถานการณ์ที่มีความซับซ้อน 5) จัดการเก็บข้อมูลซึ่งมาจากหลายแหล่งได้ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน 6) นาเสนอได้ทั้งรายงานที่เป็นข้อความและกราฟิก


แบบฝึกหัด เรื่อง ระบบสารสนเทศ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารสนเทศในชีวิตประจาวัน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง ระบบสารสนเทศ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 5 นาที 10 คะแนน

จุดประสงค์ทตี่ ้องการวัด (เวลา 5 นาที) 1. อธิบายความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ 2. บอกคุณสมบัตขิ องข้อมูลที่ดี 3. อธิบายกระบวนการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 4. บอกวิธีการดูแลรักษาข้อมูล คาชี้แจง : ข้อสอบมีทั้งหมด 3 ข้อ เป็นแบบถูกผิด 1 ข้อ แบบปรนัย 1 ข้อ และแบบอัตนัย 2 ข้อ 1. ให้ทาเครื่องหมายหน้าประโยคที่ถูกต้อง และทาเครื่องหมาย หน้าประโยคที่ผิด (๓ คะแนน) � ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยงข้องกับสิ่งต่างๆ อยู่ในรูปที่สื่อความหมายได้ � สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล ยังอยู่ในรูปแบบที่แปลความหมายได้อยาก � สารสนเทศ สามารถนากลับไปเป็นข้อมูลได้ใหม่ 2. ข้อใด ไม่ใช่คุณสมบัติที่ดีของข้อมูล (1 คะแนน) ก. อาจถูกต้องหรือผิดพลาด เนื่องจากเป็นข้อเท็จจริง ข. ถูกต้อง เพราะข้อมูลที่ผิดพลาด ทาให้สารสนเทศที่ได้ขาดความน่าเชื่อถือ ค. รวดเร็ว และเป็นปัจจุบัน ทาให้ได้สารสนเทศที่ทันต่อเหตุการณ์ ง. ความสมบูรณ์สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ จ. กระชับและชัดเจน ใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บน้อย แต่สามารถสื่อความหมายได้ครบถ้วน 3. กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วยขั้นตอนใดบ้าง (2 คะแนน) …………………………………………………………............................................................................................................. ......................................................................................................………………………………………………………………. …………………………………………………………............................................................................................................. ......................................................................................................………………………………………………………………. …………………………………………………………............................................................................................................. ......................................................................................................………………………………………………………………. 4. ให้นักเรียนบอกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาข้อมูล (4 คะแนน) …………………………………………………………............................................................................................................. ......................................................................................................………………………………………………………………. …………………………………………………………............................................................................................................. ......................................................................................................………………………………………………………………. …………………………………………………………............................................................................................................. ......................................................................................................………………………………………………………………. (หมายเหตุ ข้อ 3 และ 4 ใช้ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ ครั้งที่ 1) ชื่อ............................................................ชั้น..................เลขที.่ ..............


ใบความรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารสนเทศในชีวิตประจาวัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียด ของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน ที่จะนามาใช้ในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูลจึง นับเป็นการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยผู้ใช้สามารถจัดการเก็บข้อมูล ได้ในลักษณะต่าง ๆ ทั้งการเพิ่ม ข้อมูล การแก้ไข การลบ การค้นหา ตลอดจนการเรีย กดูข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่ งส่ว นใหญ่ จะเป็นการ ประยุกต์นาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการฐานข้อมูล และนาฐานข้อมูลผ่านกระบวนการ ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่ต้องการ คาศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล เพื่อให้รู้จักคาศัพท์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล โดยเฉพาะเรื่องของการประมวลผลใน ระบบแฟ้มข้อมูล ซึ่งมีการแบ่งระดับของข้อมูลในฐานข้อมูลไว้ ดังต่อไปนี้ 1. บิต (Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่มีการจัดเก็บในลักษณะของ เลขฐานสอง คือ 0 และ 1 2. ไบต์ (Bite) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาบิตมารวมกันเป็นตัวอักขระ หรือ ตัวอักษร (Character) 3. ฟิลด์ (Field) หมายถึง เขตข้อมูลหรือหน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากไบต์ หรือตัวอักขระ ตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป มารวมกันแล้วได้ความหมายเป็นคา เป็นข้อความ หรือของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ชื่อ บุคคล ตาแหน่ง อายุ เป็นต้น 4. เรคคอร์ด (Record) หมายถึง ระเบียนหรือหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาเอาฟิลด์หรือเขต ข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกัน เพื่อเกิดเป็นรายการข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น ข้อมูล พนักงาน 1 ระเบียน (1 คน) จะประกอบด้วย รหัสพนักงาน ชื่อ-สกุล ที่อยู่ ตาแหน่งเงินเดือน เป็นต้น 5. ไฟล์ (File) หมายถึง แฟ้มข้อมูล หรือหน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาข้อมูลหลายระเบียนที่ เป็นเรื่องเดียวกัน เช่น แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มข้อมูลลูกค้า แฟ้มข้อมูลสินค้า ฯลฯ ส่วนในระบบข้อมูล ก็ จะมีคาศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่ควรรู้จัก 6. เอนทิตี้ (Entity) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคานาม อาจได้แก่ คน สถานที่ สิ่งของ การกระทา ซึ่งต้องการจัดเก็บข้อมูลไว้ เช่น เอนทิตี้พนักงาน เอนทิตี้นักเรียน เป็น ต้น บางเอนทิตี้อาจไม่มีความหมายหากขาดเอนทิตี้อื่นในฐานข้อมูล เช่น เอนทิตี้ประวัติพนักงาน จะไม่มี ความหมายหากปราศจากเอนทิตี้พนักงานเพราะจะไม่ทราบว่าเป็นประวัติพนักงานคนใดเช่ นนี้แล้ว เอนทิตี้ป ระวัติพนักงานนับเป็นเอนทิตี้ชนิดอ่อนแอ (WeakEntity) 7. แอททริบิวต์ (Attribute) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะ และคุณสมบัติของ แอททริบิวต์หนึ่ง ๆ เช่น เอนทิตี้สินค้า ประกอบด้วย แอททริบิวต์รหัสสินค้า ประเภทสินค้า ชื่อ สินค้า ราคาต่อหน่วย เป็นต้น


- บางเอนทิ ตี้ ก็ ยั ง อาจประกอบด้ ว ยข้ อ มู ล หลายส่ ว น หลายแอททริ บิ ว ต์ ย่ อ ยมา รวมกัน เช่น แอททริบิวต์ที่อยู่พนักงงาน ประกอบด้วย บ้านเลขที่ ถนน ตาบล อาเภอ จังหวัด เช่นนี้ แล้วแอททริบิวต์ที่อยู่พนักงาน จึงเรียกว่าเป็น แอททริบิวต์ผสม (Composite Attribute) - บางแอททริบิวต์อาจจะไม่มีค่าของตัวมันเอง แต่จะสามารถหาค่าได้จากแอททริบิวต์อื่น ๆ เช่น แอททริบิวต์อายุปัจจุบัน อาจคานวณได้จาก แอททริบิวต์วันเกิด ลักษณะเช่นนี้จึงอาจ เรียกแอททริ บิวต์อายุว่าเป็น แอททริบิวต์ที่แปลค่ามา (DerivedAttribute) 8. ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์ ระหว่างเอนทิตี้นักศึกษา และเอนทิตี้คณะวิชา เป็นลักษณะว่า นักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่ คณะวิชา ใด คณะวิชาหนึ่ง เป็นต้น ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จึงอาจแบ่งออกเป็น 3ประเภท คือ 8.1 ความสั ม พั น ธ์ แ บบหนึ่ ง ต่ อ หนึ่ ง (One-to-OneRelationships) เป็ น การแสดง ความสั ม พั น ธ์ ข องข้ อ มู ล ในเอนทิ ตี้ ห นึ่ ง ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ข้ อ มู ล ในอี ก เอนทิ ตี้ ห นึ่ ง ในลั ก ษณะหนึ่ ง ต่ อ หนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คน สามารถเช่าหนั งสือได้เพียง 1 เล่ม หรือ 1 ชุดเท่านั้น ใน ขณะเดียวกัน หนังสือ 1 เล่ม หรือ 1 ชุด ก็จะมีผู้เช่าเพียงคนเดียว เพราะมีเพียงเล่มเดียวเท่านั้น รหัสหนังสือ 1001 2023 3022 รหัสหนังสือ 1001 2023 3022

ประเภทหนังสือ นวนิยาย การ์ตูน หนังสือชุด

ชื่อหนังสือ แต่ปางก่อน โดเรมอน มังกรหยก

สต๊อก 1 เล่ม 1 เล่ม 1 ชุด

ชื่อผู้เช่า เลขที่บัตรประชาชน วันที่เช่า สมชาย มีสกุล 12300123012 02/05/2548 สมศรี สกุลวงศ์ 23562120247 05/05/2548 สมพล ชาติสกุล 26655443582 07/05/2548 รูปที่ 1.1 แสดงความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง

8.2 ความสัม พันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationships) เป็นการแสดง ความสั ม พั น ธ์ ข องข้ อ มู ล ในเอนทิ ตี้ ห นึ่ ง ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ข้ อ มู ล หลาย ๆ ข้ อ มู ล ในอี ก เอนทิ ตี้ หนึง่ ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คน สามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่ม หรือ 1 ชุด แต่หนังสือรหัสเดียวกันสามารถ มีผู้เช่ามากกว่า 1 คน เพราะมีหนังสือให้เช่ามากกว่า 1 เล่ม หรือมากกว่า 1 ชุด รหัสหนังสือ 1001 2023 3022

ประเภทหนังสือ นวนิยาย การ์ตูน หนังสือชุด

ชื่อหนังสือ แต่ปางก่อน โดเรมอน มังกรหยก

สต๊อก 1 เล่ม 1 เล่ม 1 ชุด


รหัสหนังสือ ชื่อผู้เช่า 1001 สมชาย มีสกุล 2023 สมศรี สกุลวงศ์ 1001 สุชาติ สกุลภพ

เลขที่บัตรประชาชน 12300123012 23562120247 25645621548

วันที่เช่า 02/05/2548 05/05/2548 05/05/2548

รูปที่ 1.2 แสดงความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม 8.3 ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships) เป็นการแสดง ความสัมพันธ์ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุม่ ตัวอย่างเช่น หนังสือ 1เรื่อง จะมีผู้ยืมหนังสือได้ มากกว่า 1 คน ในขณะเดียวกัน ผู้ยืมหนังสือ 1 คน ก็สามารถยืมหนังสือได้มากกว่า 1 เรื่อง รหัสหนังสือ 1001 2023 3022 รหัสหนังสือ 1001 3022 1001 2023

ประเภทหนังสือ นวนิยาย การ์ตูน หนังสือชุด

ชื่อหนังสือ แต่ปางก่อน โดเรมอน มังกรหยก

สต๊อก 1 เล่ม 1 เล่ม 1 ชุด

ชื่อผู้เช่า เลขที่บัตรประชาชน วันที่เช่า สมชาย มีสกุล 12300123012 02/05/2548 สมชาย มีสกุล 12300123012 02/05/2548 สุชาติ สกุลภพ 25645621548 05/05/2548 สุชาติ สกุลภพ 25645621548 05/05/2548 รูปที่ 1.3 แสดงความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม

ประโยชน์ของการประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล ผลจากการจัดเก็บข้อมูลรวมกันเป็นฐานข้อมูล จะให้เกิดประโยชน์ได้หลายประการ พอสรุปได้ดังนี้ 1. สามารถลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดานั้น อาจ จาเป็นที่ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึงอาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกัน ไว้หลาย ๆ ที่ ทาให้เกิดความซ้าซ้อน (Redundancy) การนาข้อมูลมารวมเก็บไว้ในฐานข้อมูลจะช่วยลดปัญหา การเกิดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ โดยระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System DBMS) จะช่วยควบคุมความซ้าซ้อนได้ เนื่องจากระบบจัดการฐานข้อมูลจะทราบได้ตลอดเวลาว่ามีข้อมูล ซ้าซ้อนกันอยู่ที่ใดบ้าง 2. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ดังที่ได้กล่าวมาในตอนต้นแล้วว่า ฐานข้อมูลจะเป็นการจัดเก็บ ข้อมูลรวมไว้ด้วยกัน ดังนั้น หากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลที่มาจากแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ก็สามารถติดต่อ และเรียกใช้ข้อมูลได้โดยง่าย


3. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้สืบเนื่องจากการเก็บข้อมูลชนิดเดียวกันไว้หลายๆ ที่ เมื่อมีการปรับปรุงข้อมูลเดียวกันนี้ แต่ปรับปรุงไม่ครบทุกที่ที่มีข้อมูลเก็บอยู่ ก็จะทาให้เกิดปัญหาข้อมูลชนิด เดี ย วกั น อาจมี ค่ า ไม่ เ หมื อ นกั น ในแต่ ล ะที่ ที่ เ ก็ บ ข้ อ มู ล อยู่ จึ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ของข้ อ มู ล ขึ้น (Inconsistency) 4. สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล ในระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) จะ สามารถใส่กฎเกณฑ์เพื่อควบคุมความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น การป้อนข้อมูลที่ผิดพลาด การคานวณค่าที่ ให้ค่าความถูกต้องแม่นยาฯลฯ 5. สามารถกาหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ ระบบความปลอดภัยของข้อมูลในที่นี้ เป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิมาใช้ หรือมาเห็นข้อมูลบางอย่างในระบบ ผู้บริหารฐานข้อมูลจะสามารถ กาหนดระดับการเรียกใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้เนื่องจากผู้ใช้แต่ละคนจะสามารถ มองข้อมูลในฐานข้อมูลที่ต่างกันตามสิทธิที่ตนเองได้รับในการเข้าถึงฐานข้อมูล 6. สามารถกาหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้ การเก็บข้อมูลรวมกันไว้ใน ฐานข้อมูล จะทาให้สามารถกาหนดมาตรฐานของข้อมูลได้ รวมทั้งมาตรฐานต่าง ๆ ในการจัดเก็บข้อมูลให้ เป็นไปในลักษณะเดียวกันได้ เช่น การกาหนดรูปแบบการเขียนวันที่ในลักษณะ วัน /เดือน/ปี หรือ ปี/เดือน/ วัน ก็สามารถกาหนดได้ ทั้งนี้จะมีผู้ที่คอยบริหารฐานข้อมูลที่เราเรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator:DBA) เป็นผู้กาหนดมาตรฐานต่างเหล่านี้ 7. เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล โดยปกติโปรแกรมที่เขียนขึ้นใช้งาน จะมีความสัมพันธ์ กับรายละเอียดหรือโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลที่ต้องการใช้ ดังนั้น หากมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูลใน แฟ้มข้อมูลใดเกิดขึ้นก็ต้องแก้ไขโปรแกรมทุกโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง การเรียกข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลดังกล่าว ด้วย ถึงแม้ว่าโปรแกรมเหล่านั้นอาจจะเป็นเพียงเรียกใช้แฟ้มข้อมูลดังกล่าว เพื่อดูข้อมูลบางอย่างที่มิได้มีการ ปรับโครงสร้างก็ ตาม ในระบบฐานข้อมูลจะมีตัวจัดการฐานข้อมูล ทาหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงกับ ฐานข้อมูล โปรแกรมต่างๆ อาจไม่จาเป็นต้องมีโครงสร้างข้อมูลทุกครั้ง ดังนั้นการแก้ไขข้อมูลบางครั้ง จึงอาจ กระทาเฉพาะกับโปรแกรมที่เรียกใช้ข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงเท่านั้น ส่วนโปรแกรมที่ไม่ได้เรียกใช้ข้อมูลดังกล่าวก็ จะเป็นอิสระจากการเปลี่ยนแปลงที่กล่าวมา รูปแบบของระบบฐานข้อมูล รูปแบบของระบบฐานข้อมูล มีอยู่ด้วยกัน 3 ประการคือ 1. ฐ า น ข้ อ มู ล เชิ ง สั ม พั น ธ์ (RelationalDatabase) เป็ นก า รเ ก็ บ ข้ อมู ล ใ น รู ป แ บ บ ที่ เ ป็ น ตาราง (Table) หรื อ เรี ย กว่ า รี เ ลชั่ น (Relation) มี ลั ก ษณะเป็ น 2 มิ ติ คื อ เป็ น แถว (Row)และเป็ น คอลัม น์ (Column) การเชื่อ มโยงข้ อ มู ล ระหว่า งตารางจะเชื่ อมโยง โดยใช้ แอททริ บิว ต์ (Attribute) หรื อ คอลัมน์ ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ตัวอย่างเช่น ตารางลงทะเบียน ถ้าต้องการทราบ ว่านักเรียนรหัส 1001 ลงทะเบียนวิชาอะไร กี่หน่วยกิต ก็สามารถนารหัสวิชาในตารางนักเรียนไปตรวจสอบ กับรหัสวิชาซึ่งเป็นคีย์หลักในตารางหลักสูตร เพื่อนาชื่อวิชา และจานวนหน่วยกิตมาใช้


รูปที่ 1.4 แสดงตารางที่มีความสัมพันธ์เชิงสัมพันธ์ 2. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database) ฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะเป็นการรวม ระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียน แต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์จะแฝงความสัมพันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่มีความสัมพันธ์กนั จะต้องมีค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์หนึ่ง เหมือนกัน แต่ในฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดงความสัมพันธ์อย่างชัดเจน โดยแสดงไว้ใน โครงสร้าง ตัวอย่างเช่น

รูปที่ 1.5 แสดงการออกแบบข้อมูลแบบเครือข่าย จากรูปที่ 1.5 จะเห็นได้ว่า กรอบสี่เหลี่ยมแสดงถึงชนิดของระเบียนในฐานข้อมูล ลูกศรเป็นการ แสดงความสัมพันธ์ จากรูปเป็นการแสดงความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม การค้นหาข้อมูลที่ต้องการ เช่น ถ้า ต้องการค้นหารายชื่อนักเรียนที่เรียนอยู่แผนกที่ 5 ก็ทาโดยออกคาสั่งบอกDBMS ให้ค้นหาแผนกที่ 5 จาก ระเบียนของทะเบียนและวิ่งตามลูกศร ซึ่งจะเชื่อมข้อมูลของแผนกที่ 5 เป็นการค้นโดยใช้ลูกศรเชื่อมโยงไปถึง ความสัมพันธ์ จึงไม่จาเป็นต้องเก็บแอททริบิวต์ รหัสแผนกไว้ในระเบียนของทะเบียน เช่นที่ทาในฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์ 3. ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น (Hierarchical Database) ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น เป็น โครงสร้างที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบ (Parent-Child Relationship Type) หรือเป็น โครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record)ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขต ข้อมูล (Field) ของเอนทิตี้หนึ่งๆนั่นเอง ฐานข้อมูลแบบลาดับขั้นนี้คล้ายคลึงกับฐานข้อมูลเครือข่าย ต่างกันที่ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น มีกฏเพิ่มขึ้นมาหนึ่งประการ คือ ในแต่ละกรอบจะมีลูกศรวิ่งเข้าหาได้ไม่เกิน 1 หัวลูกศร ดังนี้น จากตัวอย่าง รูปที่ 1.5 จะพบว่า กรอบนักเรียนจะมีลูกศรเข้ามา 2 ทาง ดังนั้นจึงไม่อาจสร้างฐานข้อมูลสาหรับตัวอย่างรูป ที่ 1.6 โดยใช้ฐานข้อมูลแบบลาดับขั้นด้วยวิธีปกติได้


รูปที่ 1.6 แสดงตัวอย่างฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น จากรูปที่ 1.6 ข้างต้น แสดงตัวอย่างฐานข้อมูลแบบลาดับชั้นประกอบด้วย 1. ระเบียน 3 ระเบียน คือ แผนกนักเรียนและหลักสูตรแต่ละรายวิชา 2. ความสัมพันธ์แบบ PCR 2 ประเภท คือ ความสัมพันธ์ของข้อมูลแผนกกับนักเรียนและ ความสัมพันธ์ของข้อมูลแผนกกับหลักสูตร โดยมีแผนกเป็นระเบียนประเภท พ่อ-แม่ ส่วนนักเรียนและหลักสูตร เป็นระเบียนประเภทลูก ความสัมพันธ์ของทั้ง 2 ประเภทแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (1: ก) สรุปเป็นคุณสมบัติของฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น ได้ดังนี้ 1. หากระเบียนใดเป็นประเภท พ่อ-แม่ (Parent Record Type) แล้วจะมีคุณสมบัติเป็น ประเภทลูก (ChildRecordType)ไม่ได้ 2. ทุกระเบียนยกเว้นระเบียนที่เป็นพ่อ-แม่ สามารถมีความสัมพันธ์กับระเบียนที่เป็น ประเภทพ่อ-แม่ได้ 1 ความสัมพันธ์ 3. ทุกระเบียนสามารถมีคณ ุ สมบัติเป็นระเบียนประเภทพ่อ-แม่ได้ 4. ถ้าระเบียนหนึ่งมีระเบียนลูกมากกว่าหนึ่งระเบียนแล้ว การลาดับความสัมพันธ์ของ ระเบียนที่เป็นลูกจะลาดับจากซ้ายไปขวา โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้ โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ช่วยจัดการข้อมูลหรือรายการต่างๆ ที่อยู่ใน ฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การเรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูล จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งโปรแกรมฐานข้อมูลที่ นิยมใช้มีอยู่ด้วยกันหลายตัว เช่น Access, FoxPro, Clipper, dBASE, FoxBASE, Oracle, DB2, SQL เป็น ต้น โดยแต่ละโปรแกรมจะมีความสามารถต่างกัน บางโปรแกรมใช้ง่ายแต่จะจากัดขอบเขตการใช้งาน บาง โปรแกรมใช้งานยากกว่า แต่จะมีความสามารถในการทางานมากกว่า จึงจะขอกล่าวถึงโปรแกรมฐานข้อมูลบาง โปรแกรมที่นิยมใช้กัน ได้แก่ 1. โ ป ร แ ก ร ม DBASE เ ป็ น โ ป ร แ ก ร ม ฐ า น ข้ อ มู ล อี ก ช นิ ด ห นึ่ ง ก า ร ใ ช้ ง า น จ ะ ค ล้ า ย กั บ โปรแกรม FoxPro ข้อมูลหรือรายงานที่อยู่ในไฟล์บน dBASE จะสามารถส่งไปประมวลผลในโปรแกรม Word Processor ได้และแม้แต่โปรแกรม Excel ก็สามารถอ่านไฟล์ DBF ที่สร้างขึ้นโดยโปรแกรม dBASE ได้ด้วย 2. โปรแกรม Access นับเป็นโปรแกรมที่นิยมใช้กันมากในขณะนี้ โดยเฉพาะในระบบฐานข้อมูล ขนาดใหญ่สามารถสร้างแบบฟอร์มที่ต้องการจะเรียกดูข้อมูลในฐานข้อมูลหลังจากบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล เรียบร้อยแล้ว จะสามารถค้นหาหรือเรียกดูข้อมูลจากเขตข้อมูลใดก็ได้ การแสดงผลก็อาจแสดงทาง จอภาพ หรือส่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ได้ นอกจากนี้ Access ยังมีระบบความปลอดภัยของข้อมูล โดยการ


กาหนดรหัสผ่านเพื่อป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลในระบบได้ด้วยสาหรับโปรแกรม Access นี้จะกล่าวถึง วิธีการใช้เบื้องต้นโดยสังเขปไว้ในหน่วยถัดไป 3. โปรแกรม FoxPro เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่มีผู้ใช้งานมากที่สุด เนื่องจากใช้ง่ายทั้งวิธีการเรียก จากเมนูของ FoxPro และประยุกต์โปรแกรมขึ้นใช้งาน โปรแกรมที่เขียนด้วยFoxPro จะสามารถใช้ กับ dBASE คาสั่งและฟังก์ชั่นต่าง ๆ ใน dBASE จะสามารถใช้งานบนFoxPro ได้นอกจากนี้ใน FoxPro ยังมี เครื่องมือช่วยในการเขียนโปรแกรม เช่น การสร้างรายงาน โปรแกรมที่เขียนด้วย FoxPro จะสามารถแปรเป็น ไฟล์ .EXE ได้เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาอื่น ๆ และสามารถนาไปใช้งานกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ได้โดยไม่ จาเป็นต้องมีโครงสร้างของFoxPro อยู่ในเครื่องด้วย 4. โปรแกรม SQL เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างของภาษาที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน มี ประสิทธิภาพในการทางานสูง สามารถทางานที่ซับซ้อนได้โดยใช้คาสั่งเพียงไม่กี่คาสั่ง โปรแกรม SQL จึงเหมาะ ที่จะใช้กับระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ และเป็นภาษาหนึ่งที่มีผู้นิยมใช้กันมาก โดยทั่วไปโปรแกรมฐานข้อมูล ของบริษัทต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เช่น Oracle, DB2 ก็มักจะมีคาสั่ง SQL ที่ต่างจากมาตรฐานไปบ้างเพื่อให้ เป็นจุดเด่นของแต่ละโปรแกรมไป คีย์ (Key) ในการอ้างอิง การค้นหา การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรือการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูล จะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องกาหนด คีย์ (Key) ให้กับ Table ก่อน นอกจากนี้การกาหนดคีย์ จะทาให้การอ้างอิงและการประมวลผลข้อมูลได้สะดวกขึ้นและยังช่วยประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ คีย์ที่ใช้ใน ระบบฐานข้อมูลแบ่งออกได้หลายประเภท ดังต่อไปนี้ 1. Primary Key หมายถึง คีย์หลักที่กาหนดจากฟิลด์ที่ไม่มีข้อมูลซ้าซ้อน (unique) ใน Table เดียวกันโดยเด็ดขาด และจะต้องมีค่าเสมอ จะเป็นค่าว่าง (Null) ไม่ได้ สามารถนามาจัด เรียงลาดับและแยกแยะข้อมูลแต่ละรายการออกจากกันได้เป็นอย่างดี ตัวอย่างของข้อมูลที่นามากาหนดเป็นคีย์ หลัก ได้แก่ รหัสนักเรียน, รหัสสินค้า, หมายเลขห้องพัก, รหัสวิชา ฯลฯ

รูปที่ 1.7 แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์หลัก 2. Secondary Key หมายถึง คีย์รอง โดยโปรแกรม Access จะเรียกคีย์ชนิดนี้ ว่า Index (ดัชนี) ซึ่งเป็นคุณสมบัติหนึ่งในการกาหนดคีย์หลัก (Primary Key) และยังใช้Index ในการค้นหา และจัดเรียงรายการข้อมูลที่มีจานวนมากได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการค้นหาฟิลด์ชื่อพนักงาน ถ้า ฟิลด์ดังกล่าวไม่กาหนด Index ไว้โปรแกรมจะเริ่มต้นตั้งแต่รายการแรกไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งพบ ดังนั้น ถ้าชื่อ พนักงานที่ต้องการค้นหาอยู่รายการท้าย ๆ จะเสียเวลาในการสืบค้น โดยเฉพาะข้อมูลที่มีจานวนมากๆ ถ้า กาหนด Index ให้กับฟิลด์ดังกล่าว ฟิลด์ชื่อพนักงานจะถูกเก็บในแฟ้ม Index ของ DBMS และ จะจัดเรียงชื่อ ตามลาดับตัวอักษร เมื่อมีการสืบค้นก็จะค้นหาที่แฟ้ม Index เพื่อทราบตาแหน่งรายการที่ต้องการและเข้าถึง


ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ฟิ ล ด์ ที่ ก าหนดเป็ น Index จะยอมให้ ข้ อ มู ล ซ้ ากั น ได้ (Duplicate) 3. Foreign Key หมายถึง คีย์นอก เป็นคีย์ที่เชื่อม Table ที่เกี่ยวข้องหรือมีความสัมพันธ์ กัน เช่น ใน Table หลักสูตร กาหนดให้รหัสวิชาเป็น Primary Key และทาการเชื่อมโยงไป ยัง Table ลงทะเบียนเพื่อต้องการทราบชื่อวิชาและหน่วยกิตที่นักเรียนลงทะเบียน โดยกาหนดฟิลด์ รหัส วิชา ใน Table ลงทะเบียนเป็น Foreign Key ในลักษณะความสัมพันธ์One to Many หมายความว่า รหัส วิชา 1 วิชา สามารถให้นักเรียนลงทะเบียนได้มากกว่า 1 คน ดังนั้นจึงมีรหัสซ้ากันได้ใน Table ลงทะเบียน

รูปที่ 1.8 แสดงตัวอย่างกาหนดคีย์นอก (Foreign Key) 4. Candidate Key หมายถึง คีย์ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับคีย์หลัก (Primary Key) หรือ สามารถแทนคีย์หลักได้ เช่น ในตารางพนักงาน กาหนดให้รหัสพนักงานเป็นคีย์หลัก ซึ่งมีค่าไม่ซ้ากัน แต่ พบว่าหมายเลขบัตรประชาชนของพนักงานก็มีค่าไม่ซ้ากัน ดังนั้น หมายเลขบัตรประชาชนมีลักษณะ เป็น Candidate Key ซื่งสามารถนามาเป็นคีย์สารองแทนคีย์หลักได้

รูปที่ 1.9 แสดงตัวอย่างการกาหนดคีย์สารองคีย์หลัก (Candidate Key) 5. Compound Key หมายถึง คีย์ที่เกิดจากการรวมข้อมูลหลายฟิลด์ให้มีคุณสมบัติ เหมือนคีย์หลัก (มีค่าไม่ซ้ากันและไม่มีค่าว่าง หรือ null value) เช่น การนาฟิลด์ชื่อพนักงาน มารวมกับฟิลด์ สกุลของพนักงาน ทาให้เกิดเป็นฟิลด์ข้อมูลที่มีค่าไม่ซ้าซ้อนกัน เราเรียกคีย์ที่เกิดจากการรวมชื่อ พนักงาน และสกุลว่า Compound Key หรือ คีย์รวม


ใบงานกิจกรรมที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารสนเทศในชีวติ ประจาวัน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 10 คะแนน

1.ระบบฐานข้อมูลหมายถึง (อธิบายมาพอสังเขป) ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 2. บิต (Bit) หมายถึง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 3. ฟิลด์ (Field) หมายถึง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 4. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationships) ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 5. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationships) ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 6. ประโยชน์ของการประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 7. Primary Key หมายถึง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................

ชื่อ-สกุล..................................................ชั้น ............เลขที่.............


ใบความรู้ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารสนเทศในชีวิตประจาวัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เวลา 2 ชั่วโมง เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft Access เบื้องต้น

Microsoft Office Access 2003 Microsoft Office Access 2003 Access 2003 ซึ่งเป็นโปรแกรมบริหารจัดการฐานข้อมูลของ Microsoft Office จะมีการปรับปรุงให้ใช้งานได้ง่ายขึ้น และมีความสามารถเพิ่มเติมในการส่งออก นาเข้า และทางาน กับแฟ้มข้อมูล XML ได้ดียิ่งขึ้น การทางานในAccess 2003 จะง่ายดายยิ่งขึ้น เนื่องจากข้อผิดพลาดทั่วไปจะถูกระบุและกาหนดสถานะเพื่อให้คุณทราบ จากนั้นคุณจะได้รับ ตัวเลือกเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดเหล่านั้น คุณลักษณะใหม่นยี้ ังช่วยให้นักพัฒนาฐานข้อมูลสามารถค้นหา ความสัมพันธ์ของวัตถุเหล่านั้นได้ Access เป็นโปรแกรมหนึ่งในชุด Microsoft Office Professional Edition 2003 และ Microsoft Office Professional Enterprise 2003 ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของ Microsoft Office System นั่นเอง ระบบ บริหารดาต้าเบสชนิดนี้ถูกออกแบบขึ้นมาให้มีเครื่องมือต่างๆที่มีประสิทธิภาพสูงเพี ยงพอสาหรับนักพัฒนา แต่ ผู้ใช้มือใหม่ก็ยังสามารถเรียนรู้เครื่องมือเหล่านี้ได้โดยง่ายเช่นกัน โดยปกติแล้ว ดาต้าเบสก็คือการนาข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาอยู่รวมกัน เพื่อทาให้การจัด ระเบียบ เรียกใช้และแลกเปลี่ยนข้อมูลทาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างเช่นคุณอาจมีรายชื่อลูกค้า เพียงบางส่วนเท่านั้นที่เก็บเอาไว้ในพีซี ในขณะที่ข้อมูลส่วนที่เหลือเก็บเอาไว้บนโต๊ะของเลขา ในแผนกบัญชี ใน ตู้เอกสาร หรือในสเปรดชีทแผนกขายที่เก็บประวัติการสั่งซื้อเอาไว้ ถ้าหากหมายเลขโทรศัพท์ของลูกค้ารายใด รายหนึ่ ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลง คุ ณ จ าเป็ น ต้ อ งแก้ ไ ขข้ อ มู ล ในสถานที่ ทั้ ง สี่ แ ห่ ง แต่ ถ้ า หากคุ ณ ใช้ ด าต้ า เบส Access แล้ว คุณจะทาการแก้ไขข้อมูลเพียงจุดเดียว -จากนั้นหมายเลขโทรศัพท์ของลูกค้ารายนี้จะถูก แก้ไขโดยอัตโนมัติ ทุกจุดที่คุณนาไปใช้แน่ละ สาเหตุอย่างหนึ่งที่คุณรวบรวมข้อมูลเอาไว้ในดาต้าเบสก็คื อ คุณ ต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองความต้องการทางธุรกิจของคุณเอง ดังนั้นการใช้ Access 2003 จะช่วยให้คุณแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกันคนอื่นๆผ่านทางรายงานและเว็บเพจได้ โดยง่าย

รายงาน รายงานจัดเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการนาเสนอข้อมูลของคุณในรูปของเอกสาร Access จะช่วย ให้คุณควบคุมขนาดและหน้าตาขององค์ประกอบทุกอย่างที่จะไปปรากฏในรายงานได้ ดังนั้นคุณจะสามารถ นาเสนอข้อมูลในวิธีที่คุณอยากเห็นได้ ตัวอย่างเช่น คุณอาจพิมพ์รายงานที่รวมเอาข้อมูลยอดขายของลูกค้า เอาไว้ รวมทั้งยังมีการคานวณยอดรวมเอาไว้ด้วย หรือรายงานอีกชนิดหนึ่งที่มีข้อมูลในฟอร์แมทที่ต่างออกไป


เพื่อใช้สาหรับพิมพ์ฉลากเมื่อส่งจดหมายออกไปเป็นต้น วิซาร์ดจะช่วยให้คุณสร้างรายงานชนิดต่างๆขึ้นมาได้ รวมทั้งยังช่วยทาแผนภูมิข้อมูลในรูปของกราฟได้อีกด้วย

เว็บเพจ Access มี วิ ธี ก ารหลายชนิ ด ที่ ช่ ว ยให้ คุ ณ แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล กั บ คนอื่ น ๆผ่ า นทางอิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ อินทราเน็ตได้ ซึ่งจะทาให้ข้อมูลของคุณเข้าถึงผู้ใช้ในวงกว้างมากขึ้นกว่าเดิม วิธีการนี้จะมีประโยชน์อย่างมาก ถ้าหากคุณมีพนักงานขายที่เดินทางหรือทางานจากสถานที่ต่างกัน คุณสามารถเอกซ์พอร์ตแบบฟอร์ม รายงาน และตารางข้อมูลไปเป็นฟอร์แมท HTML ซึ่งสามารถเผยแพร่ทางเว็บไซต์ได้ นอกจากนั้นคุณยังสามารถเอกซ์ พ อ ร์ ต ต า ร า ง ห รื อ คิ ว รี ไ ป สู่ ไ ซ ต์ Windows SharePoint Services ไ ด้ โ ด ย ต ร ง อี ก ด้ ว ย ทั้ ง BCM Update และ Access จัดเป็นโปรแกรมที่น่าสนใจอย่างยิ่งเนื่องจากในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม ชุด Microsoft Officeคุณอาจจะใช้โปรแกรมนี้อยู่แล้ว แต่ถ้าหากคุณให้ความสาคัญกับการสร้างความสัมพันธ์ ที่เอื้อประโยชน์กับลูกค้า คุณอาจจาเป็นต้องพิจารณาเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาสาหรับจุดประสงค์ ดังกล่าวโดยตรงก็เป็นได้

ข้อมูล ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบซึง่ เกิดจากเหตุการณ์ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น อาจเป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และเสียง เป็นข้อมูลยังไม่ผ่านกระบวนการจัดทาหรือประมวลผลข้อมูล

ฐานข้อมูล ฐานข้อมูล :หมายถึง แหล่งที่ใช้สาหรับเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) หรือแฟ้มข้อมูลที่ถูก จัดเก็บไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยที่ข้อมูลเหล่านั้นต้องมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน สามารถสืบค้นได้ (Retrieval) สามารถแก้ไขข้อมูลได้ (Modified) สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล ได้ (Update) หรือจัดเรียงได้ (Sort) โดยมีโปรแกรมที่ใช้ในการจัดระบบฐานข้อมูลเป็นส่วนที่รับผิดชอบจัดการ ฐานข้อมูล (Database Management System: DBMS)

ระบบฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล :หมายถึง การพัฒนาแฟ้มข้อมูล โดยการรวบรวมแฟ้มข้อมูลหลาย ๆ แฟ้มข้อมูลเข้า ด้วยกัน มีการขจัดความซ้าซ้อนของข้อมูลออก และเก็บแฟ้มข้อมูลเหล่านี้ไว้ที่ศูนย์กลาง เพื่อการใช้งานและ ควบคุมดูแลรักษาร่วมกัน เมือ่ ต้องการใช้งานและเป็นผู้มสี ิทธิที่จะใช้ข้อมูลเท่านั้น ทีส่ ามารถดึงข้อมูลที่ต้องการ ออกไปใช้ได้ ข้อมูลบางส่วนอาจใช้ร่วมกัน ผู้อื่นได้ แต่บางส่วนผู้มีสทิ ธิเท่านั้นจึงจะสามารถใช้ได้

หลักการจัดทาฐานข้อมูล การจัดฐานข้อมูลที่ดี 1. ต้องมีระเบียบและง่ายต่อการจัดการ ส่วนการนาคอมพิวเตอร์มาใช้กับฐานข้อมูล ช่วยทาให้เพิ่ม ความเร็วในการค้นหาข้อมูล และจัดเก็บข้อมูลได้มาก 2. ต้องมีการวางแผนที่ดีและต้องทราบวัตถุประสงค์ของการใช้งาน มีข้อมูลอะไรบ้างที่ต้องการบันทึก เอาไว้ในระบบคอมพิวเตอร์


แนวทางการวิเคราะห์ระบบก่อนจัดทาฐานข้อมูล ควรวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โดยอาจทดลองถามคาถามกับตัวเองดังนี้ คือ 1. ข้อมูลอะไรที่เราต้องการเรียกใช้จากฐานข้อมูล 2. หัวเรื่องอะไรที่เราต้องการใส่ลงในฐานข้อมูล 3. แต่ละหัวเรื่องมีความสัมพันธ์กันอย่างไร 4. ข้อมูลประเภทใดที่จะใส่ลงในแต่ละหัวเรื่อง

เริ่มใช้งาน Microsoft Office Access 2003 วิธีเปิดโปรแกรม Microsoft Access 2003 1. คลิกเมาส์เริ่มต้นที่ปุ่ม Start 2. เลื่อนเมาส์ขึ้นไปที่ไอคอน Program 3. เลื่อนเมาส์ไปทีไ่ อคอน Office 2003 4. เลื่อนเมาส์ไปทีไ่ อคอน Microsoft Access แล้วคลิก 1 ครั้ง การเปิดโปรแกรม Microsoft Office Access 2003จากหน้าต่างDesktop

Click เพือ่ สร้ างแฟ้ม ใหม่

Click เพือ่ สร้ างฐานข้ อมูลเปล่ า ใหม่


เมื่อเปิดใช้ database จะปรากฏ database windows มี tab 6 tab ให้เลือกใช้ดังรูป

ตั้งชื่อแฟ้มว่ าโครงงาน ใหม่

1. Tables เพื่ อ ใช้ ใ นการสร้ า งตารางเพื่ อ จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล มี ก ารจั ด การในรู ป คล้ า ย กับ Spreadsheet ส่วน Column เทียบได้กับ Field Row เทียบได้กับ Records 2. Queries เป็นส่วนที่จัดการข้อมูลจากตารางที่มีอยู่ เช่นการเลือกแสดงผลเฉพาะ บาง Field ที่ต้องการ หรือการกรอกข้อมูลเพื่อแสดงเฉพาะ Record ที่กาหนดCriteria 3. Forms (แบบฟอร์ม) เพื่อใช้สร้างฟอร์มในการบันทึกข้อมูลแทนการป้อนข้อมูลจาก ตารางโดยตรง อาจจะใช้ แ สดงผลข้ อ มู ล ที่ ต้ อ งการแทนการเลื อ กจาก Queriesหรื อ อาจใช้ ส ร้ า งเป็ น เมนู โดยทั่วไปแล้วยังเป็นส่วนช่วยเพิ่มสีสันให้กับฐานข้อมูลของลักษณะการทางานกับจอภาพ เพิ่มความสะดวก ให้กับผู้ใช้งาน 4. Report (รายงาน) ใช้ในการสร้างรายงานที่ต้องการพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ 5.เพจ Page


6. Macros (มาโคร) เป็ น ส่ ว นที่ เ ก็ บ ค าสั่ ง ส าเร็ จ ในรู ป ของ macro เมื่ อ ต้ อ งการสร้ า งโปรแกรม อัตโนมัติ 7. Module (โมดูล) เป็นส่วนที่เก็บชุดคาสั่งในรูปของภาษา Access Basic Code เมื่อ ต้องการสร้างโปรแกรมสาเร็จรูป เช่นกัน แต่มีความซับซ้อนและมีชุดคาสั่งมากขึ้น

แถบเครื่องมือ Database ใน Access จะมีแถบเครื่องมือหลายชุด และแถบเครื่องมือที่แสดงแต่ละขณะจะขึ้นอยู่กับว่าวินโดวส์ ของส่ ว นประกอบชนิ ด ใดถู ก เลื อ กใช้ ง านอยู่ เช่ น ถ้ า เลื อ กวิ น โดวส์ ข องDatabase จะปรากฏแถบ เครื่อง Database ถ้าเลือกวินโดวส์ของตาราง หรือ Table ก็จะปรากฏ แต่แถบเครื่องมือของ Table เท่านั้น เป็นต้น แถบเครื่องมือ Database มีปุ่มต่าง ๆ ซึ่งใช้งานดังนี้

สร้างไฟล์ฐานข้อมูลใหม่ เปิดไฟล์ฐานข้อมูลที่มีอยู่เดิม เก็บบันทึกข้อมูล พิมพ์ ดูตัวอย่างก่อนพิมพ์จริง การตรวจสะกดคา สลับตัวอักษรเป็นภาษาไทยหรือภาษ อังกฤษ เปิดพจนานุกรม ตัด ก๊อปปี้ วาง

คัดลอกรูปแบบ ยกเลิกคาสั่งที่ได้ทาไปแล้ว (Undo) เชื่อมโยงกับโปรแกรมอื่น วิเคราะห์ แสดงแบบไอคอนใหญ่ แสดงแบบไอคอนเล็ก แสดงแบบรายการ แสองแบบรายละเอียด คาสั่งที่ใช้แล้ว สร้างฟอร์มอัตโนมัติ ผู้ช่วย Office

สร้าง Database ใหม่ สิ่ง ที่ ท าให้ Access ต่ า งจากโปรแกรมอื่ น ๆ ในชุ ด Office ก็ คื อ การใช้ง าน Access นั บ ตั้ ง แต่ ก าร สร้ า ง Database ใหม่ นั้ น จะต้ อ งมี ก ารวางแผนล่ว งหน้ าพอสมควรว่ าจะให้ มีส่ ว นประกอบย่อ ย ๆ ใดบ้ า ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตาราง ซึ่งใช้เก็บข้อมูลจริงว่าจะมีอะไรบ้างและสัมพันธ์กันอย่างไร ไม่ใช่ค่อย ๆ เขียนไปทา ไป หรือค่อย ๆ ป้อนข้อมูลอย่างใน Word หรือ Excel ขั้นตอนโดยสังเขปในการสร้าง Database ใหม่สรุปได้ ดังนี้


1. วางแผนว่ า จะมี ต ารางอะไรบ้ า ง เก็ บ ข้ อ มู ล ประเภทใด มี ร ายละเอี ย ดอย่ า งไร และมี ความสัมพันธ์กันอย่างไรใน Database ใหม่นี้ 2. ลงมือสร้าง database ใหม่ที่ว่าง ๆ ขึ้นมา 3. สร้างตารางย่อยต่าง ๆ 4. กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างตารางเหล่านั้น 5. สร้างส่วนประกอบอื่น ๆ เพิ่มเติมตามที่จาเป็น เช่น แบบสอบถาม (Query) แบบฟอร์ม (Form) รายงาน (Report) ซึ่ ง ตรงนี้ ค่ อ ยท าไปเรื่ อ ย ๆ ได้ จ ากขั้ น ตอนข้ า งต้ น จะเห็ น ได้ ว่ า ตั ว หลั ก ก็ คื อ ฐานข้อมูล (Database) และตาราง (Table) สาหรับแนวคิดในการสร้างตารางว่าจะมีหน้าตาอย่างไร มีข้อมูล อะไรบ้าง การสร้าง Database อาจทาได้ 2 ลักษณะ คือ สร้าง Database ว่าง ๆ ขึ้นมาก่อน โดยใช้คาสั่ง ของ Access หรือสร้าง Database พร้อมกับตารางที่เกี่ยวข้องโดยอัตโนมัติจากแบบที่ Access เตรียมไว้ให้ แล้ว โดยใช้ตัวช่วยเหลือที่เรียกว่า Database Wizard แต่ในเอกสารฉบับนี้จะกล่าวถึงเฉพาะวิธีแรกเท่านั้น เมื่อผู้เขียนเกิดทักษะในการเขียนโปรแกรมแล้วการศึกษาเพิ่มเติมก็เป็นสิ่งที่ไม่ยากมากนัก


แบบฝึกทบทวนกิจกรรมหน่วยที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารสนเทศในชีวิตประจาวัน สาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง สารสนเทศในชีวิตประจาวัน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 10 คะแนน

1. การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความจริงเกี่ยวกับ การแลกเปลี่ยนสารสนเทศในรูปแบบดิจติ อล ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาทาให้เกิดประโยชน์ตอ่ ง. การทางานร่วมกันของ เทคโนโลยี มนุษย์ คากล่าวนี้ตรงกับข้อใด คอมพิวเตอร์ ก. เทคโนโลยี 6. ข้อใดเป็น สารสนเทศ ข. สารสนเทศ ก. นักเรียนคนนีช้ อ่ื เล่นว่า ดา ข. บ้านต้องตาอยู่ในอาเภอเมือง ค. เทคโนโลยีสารสนเทศ ค. โทรศัพท์มือถือของฉันคือ 05-5555550 ง. นวัตกรรม ง. นักเรียนห้องนี้เป็นผู้หญิงทั้งหมด 2. ข้อใดไม่ใช่วิธีการดูแลรักษาข้อมูล 7. หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาเอาเขตข้อมูล ก. การสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูล หลายๆเขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกันเพื่อเกิดเป็น ข. การรวบรวมข้อมูล รายการข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เรียกว่าอะไร ค. การทาสาเนาข้อมูล ก.ไฟล์ ง. การปรับปรุงให้ทันสมัย ข. ฟิลด์ 3. ข้อใดถูกต้อง ค. บิต ก. สารสนเทศ  ข้อมูล  ประมวลผล ง. เรคคอร์ด ข. สารสนเทศ  ประมวลผล  ข้อมูล 8. ชนิดของข้อมูลในตารางสามารถแบ่งได้กี่ชนิด ค. ข้อมูล  ประมวลผล  สารสนเทศ ก. 6 ชนิด ง. ข้อมูล  สารสนเทศ  ประมวลผล ข. 9 ชนิด 4. ระบบสารสนเทศระดับบุคคลคือข้อใด ค. 10 ชนิด ก. ระบบข้อมูลของแต่ละคน ง. 12 ชนิด ข. การที่บคุ คลทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ 9. แฟ้มข้อมูลของโปรแกรม Microsoft Access ค. ระบบข้อมูลที่เสริมประสิทธิภาพให้บุคลากร จะให้ค่าส่วนขยาย (นามสกุล) ของแฟ้มมีค่าอะไร และคนในองค์การ ก. *.DBF ง. ถูกทุกข้อ ข. *.XLS 5. ข้อใดคือความหมายที่ดีที่สุดของคาว่า "เทคโนโลยี ค. *.MDB สารสนเทศ” ง. *.DOC ก. การทางานร่วมกันของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 10. หน่วยของข้อมูลที่มีการจัดเก็บในลักษณะของ เทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูล และเทคโนโลยี เลขฐานสองคือ 0 กับ 1 เรียกว่าอะไร การสื่อสารโทรคมนาคม ก.ไฟล์ ข. การทางานร่วมกันของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ข. ฟิลด์ เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยี ค. บิต เครือข่าย และเทคโนโลยีการผลิต ง. เรคคอร์ด ค. การทางานร่วมกันของ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อให้เกิด


แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียนหน่วยที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารสนเทศในชีวิตประจาวัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง สารสนเทศในชีวิตประจาวัน 1. การนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความจริงเกี่ยวกับ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาทาให้เกิดประโยชน์ต่อ มนุษย์ คากล่าวนี้ตรงกับข้อใด ก. เทคโนโลยี ข. สารสนเทศ ค. เทคโนโลยีสารสนเทศ ง. นวัตกรรม 2. ข้อใดคือประโยชน์สูงสุดที่ได้จากเทคโนโลยี สารสนเทศ ก. ทันต่อเหตุการณ์ ข. ประเทศชาติเจริญ ค. ได้รับความสะดวกสบาย ง. เกิดความรวดเร็วในการทางาน 3. ข้อใดไม่ใช่วิธีการดูแลรักษาข้อมูล ก. การสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูล ข. การรวบรวมข้อมูล ค. การทาสาเนาข้อมูล ง. การปรับปรุงให้ทันสมัย 4. ข้อใดถูกต้อง ก. สารสนเทศ  ข้อมูล  ประมวลผล ข. สารสนเทศ  ประมวลผล  ข้อมูล ค. ข้อมูล  ง. ข้อมูล 

ประมวลผล  สารสนเทศ สารสนเทศ  ประมวลผล

5. ข้อใดไม่ใช่การจัดกระทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ก. การเรียบเรียงข้อมูล ข. การเปรียบเทียบข้อมูล ค. การคานวณค่าเฉลี่ย ง. การเผยแพร่ขอ้ มูล 6. ข้อใดคือความหมายที่ดีที่สุดของคาว่า "เทคโนโลยีสารสนเทศ” ก. การทางานร่วมกันของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เทคโนโลยีการประมวลผลข้อมูล และเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม

ข. การทางานร่วมกันของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เทคโนโลยีการสื่อสาร โทรคมนาคม เทคโนโลยี เครือข่าย และเทคโนโลยีการผลิต ค. การทางานร่วมกันของ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อให้เกิด การแลกเปลี่ยนสารสนเทศในรูปแบบ ดิจิตอล ง. การทางานร่วมกันของ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อให้เกิด การแลกเปลี่ยนสารสนเทศในรูปแบบ อนาลอก 7. ข้อใดให้ความหมายของคาว่า "ข้อมูลและ สารสนเทศ”ไม่ถูกต้อง ก. สารสนเทศมีความถูกต้องมากกว่าข้อมูล ข. ข้อมูลเป็น Input สารสนเทศเป็น Output ค. สารสนเทศใช้ประโยชน์ได้ดีกว่าข้อมูล ง. สารสนเทศคือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล 8. ระบบสารสนเทศระดับบุคคลคือข้อใด ก. ระบบข้อมูลของแต่ละคน ข. การที่บุคคลทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ค. ระบบข้อมูลที่เสริมประสิทธิภาพให้ บุคลากรและคนในองค์การ ง. ถูกทุกข้อ 9. บุคคลใดต่อไปนี้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี สารสนเทศได้ถูกต้องที่สุด ก. อาพล Hack ข้อมูลบริษัท ข. สุดารัตน์ ลบข้อมูลออกจากเครื่อง คอมพิวเตอร์ ค. ทวีใช้ E-mail ส่งหาเพื่อนหลายๆคนแทน การส่งจดหมาย ง. แดง Copy รายงานของเพื่อนส่งคุณครู


10. ข้อใดหมายถึง ข้อมูล ก. วิชัย ได้คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ 25 คะแนน ข. เดือนเป็นนักเรียนโรงเรียนสตรีวิทยา ค. อุดมได้รับเงินเดือน ๆ ละ 15,000 บาท ง. สุรีย์ตดิ “0” วิชาภาษาอังกฤษ 11. ข้อใดคือความหมายของสารสนเทศ ก. ผลลัพธ์ของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว

ข. ข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลหลายครั้ง ค. ผลลัพธ์ของข้อมูลหลาย ๆ แห่ง ง. ข้อมูลที่เป็นจริงและเชือ่ ถือได้ 12. ข้อใดเป็น สารสนเทศ ก. นักเรียนคนนีช้ อ่ื เล่นว่า ดา ข. บ้านต้องตาอยู่ในอาเภอเมือง ค. โทรศัพท์มือถือของฉันคือ 05-5555550 ง. นักเรียนห้องนีเ้ ป็นผูห้ ญิงทัง้ หมด 13. ข้อใดไม่จดั ว่าเป็นบุคลากรในระบบสารสนเทศ ก. โปรแกรมเมอร์ ข. ผู้ดูแลระบบ ค. ตัวแทนจาหน่าย ง. ผู้ใช้ 14. ระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อผู้บริหารระดับสูง โดยเฉพาะคือข้อใด ก. ระบบ EIS ข. ระบบ MIS ค. ระบบ TPS ง. ระบบ DSS 15. หน่วยของข้อมูลที่มกี ารจัดเก็บในลักษณะของ เลขฐานสองคือ 0 กับ 1 เรียกว่าอะไร ก.ไฟล์ ข. ฟิลด์ ค. บิต ง. เรคคอร์ด

16. หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนาเอาเขตข้อมูล หลายๆเขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกันเพื่อเกิดเป็น รายการข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เรียกว่าอะไร ก.ไฟล์ ข. ฟิลด์ ค. บิต ง. เรคคอร์ด 17. โครงสร้างที่จัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์แบบ ต้นไม้ (Tree) เป็นฐานข้อมูลแบบใด ก. ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น ข. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย ค. ฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ ง. ฐานข้อมูลเชิงชั้น 18. แฟ้มข้อมูลของโปรแกรม Microsoft Access จะให้ค่าส่วนขยาย (นามสกุล) ของแฟ้มมีค่าอะไร ก. *.DBF ข. *.XLS ค. *.MDB ง. *.DOC 19. แฟ้มข้อมูล Access สามารถแบ่งส่วนของแฟ้ม ออกเป็นกี่ส่วน ก.4 ส่วน ข. 5 ส่วน ค. 6 ส่วน ง. 7 ส่วน 20. ชนิดของข้อมูลในตารางสามารถแบ่งได้กี่ชนิด ก. 6 ชนิด ข. 9 ชนิด ค. 10 ชนิด ง. 12 ชนิด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.