หน่วยการเรียนรู้ ร่วมมือร่วมใจ...วัยในสร้างสรรค์
ใบความรู้ หน่วยการเรียนรู้ ร่วมมือร่วมใจ วัยใส...สร้างสรรค์ สาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 เวลา 1 ชั่วโมง
โครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นกิจกรรมอิสระที่ผู้เ รียนสามารถเลือกศึกษาตามความสนใจ โดยใช้ทักษะ ตลอดจนประสบการณ์ของผู้เรียนด้านคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ในการแกปัญหาต่างๆ ผู้เรียนจะต้องวางแผน ดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมที่จัดว่าเป็นโครงงานควรมีองค์ประกอบหลัก ดังนี้ - เป็นกิจกรรมที่เกีย่ วข้องซอฟต์แวร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ - ผู้เรียนเป็นริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษา ค้นคว้า พัฒนา - เก็บรวบรวมหรือประดิษฐ์คิดค้นด้วยตนเองตามความสนใจและระดับความรู้ความสามารถ - ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา สรุป และเสนอผลการศึกษาด้วยตนเอง โดยมีผู้เสนอเป็นที่ปรึกษา
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 3 ประเภท 1.โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา โครงงานประเภทนี้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อด้านการเรียนการสอน การศึกษาค้นคว้าข้อมูล รวมทั้งการ นาเสนอหรือเผยแพร่ข้อมูลเพื่อการศึกษาค้นคว้า จุดสาคัญจะอยู่ที่เนื้อหาน่าสนใจ มีความสวยงามและเพิ่มความ สะดวกให้กับผู้ศึกษาค้นคว้า เช่น การสร้างสื่อ CAI ,การสร้างเว็บไซต์ 2.โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิ ตประจาวัน โครงงาน ประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ 3.โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์ เกมเพื่อความรู้ หรือเพื่อความเพลิดเพลิน เกมที่พัฒนา น่าจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงการประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะ และกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการ สารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่ แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
วิธีการดาเนินงานการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความสนใจ ในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามา พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้ 1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ 2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน 5. งานอดิเรกของนักเรียน 6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้ 1. ต้องมีความรู้และทักษะพืน้ ฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภัย
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุ ณวุฒิจะช่วยให้ นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้ เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ใน การศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า 1. จะทาอะไร 2. ทาไมต้องทา 3. ต้องการให้เกิดอะไร 4. ทาอย่างไร 5. ใช้ทรัพยากรอะไร 6. ทากับใคร 7. เสนอผลอย่างไร
การจัดทาเค้าโครงของโครงงานที่จะทา 1. ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ 2. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา 3. ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และตัวแปลภาษา โปรแกรม และวัสดุต่างๆ ที่ต้องใช้ พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลง มือทาโครงงาน และสรุปรายงานโครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้างๆ 4. ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย ๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรก ให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น 5. เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุงแก้ไข ทั้งนี้ เพราะในการวางแผนการศึกษาพัฒนา นักเรียนอาจจะคิดได้ไม่ครอบคลุมทุกด้าน เนื่องจากยังมีประสบการณ์น้อย ดังนั้นนักเรียนจึงควรถ่ายทอดความคิดของตนเองที่ได้ศึกษาและบันทึกไว้ให้อาจารย์ที่ปรึกษาทราบ เพื่ออาจารย์
จะได้แนะนาในส่วนที่ยังขาดตกบกพร่องอยู่ ทั้ งนี้เพื่อให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่าง เหมาะสมเป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนโครงงานสาเร็จ
องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน หัวข้อ/รายงาน ชื่อโครงงาน ชื่อผู้จัดทาโครงงาน อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ระยะเวลาดาเนินงาน แนวคิด ที่มา และความสาคัญ วัตถุประสงค์ หลักการและทฤษฎี วิธีดาเนินงาน
รายละเอียดที่ต้องระบุ ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ควบคุมการทาโครงงานของ นักเรียน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต หลักการและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน กิจกรรมหรือขัน้ ตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ และ งบประมาณ
ขั้นตอนการปฏิบัติ
วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิน้ สุด
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ
เอกสารอ้างอิง
ซื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
แบบฟอร์มเขียนเค้าโครงโครงงาน ชื่อโครงงาน………………………………………………..……………… สาขาของงานวิจัย………………………………………………………. ชื่อผู้ทาโครงงาน 1…………………………………….……………เลขที่ …………ชั้น ……………. 2…………………………….……………………เลขที่ …………ชั้น ……………. 3…………………………………….……………เลขที่ …………ชั้น ……………. โรงเรียน.................................................. อาเภอ........................... จังหวัด.................................... ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา…………………………………………………………………………………….…………………… ชือ่ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี)………………………………………………………..………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน………………………………………………………วัน..................................................
รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน 1. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. วัตถุประสงค์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. หลักการและทฤษฎี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. คานิยามศัพท์เฉพาะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5. ขั้นตอนการดาเนินงาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 6. แผนปฏิบัติงาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. เอกสรอ้างอิง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นขอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้
การเตรียมการ การเตรียมการ ต้องเตรียมเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรม ต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้ง ข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
การลงมือพัฒนา 1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดี ขึ้น 2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงต่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบ หรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทาให้ตกลงรายละเอียดใน การต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
การทดสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้อง ตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุมเพื่อช่วยให้ผู้อ่าน ได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วยเพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับ
นาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผอู้ ื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย
แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียน เป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน จัดทาคู่มือการใช้ และการนาเสนอผลงาน
รายงานผลการจัดทาโครงงาน การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูล ที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน นักเรียนควรใช้ภาษาที่ อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ เหล่านี้
ส่วนนา ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงานนี้ประสบความสาเร็จ 5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้ โดยย่อ ( ประมาณ 150250 คา)
บทนา บทนา เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 3. ขอบเขตของโครงงาน
หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะ นามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติม ด้วย
วิธีดาเนินการ
วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้ง วิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน
ผลการศึกษา ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือ ข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทางาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่ ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนาผลการทดลองหรือ พัฒนาไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตทีส่ าคัญหรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้น จากการทาโครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องทานองนี้ต่อไปใน อนาคตด้วย
ประโยชน์ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และประโยชน์ที่ ผู้ใช้จะได้รับจากการนาผลงานของโครงงานได้ใช้ด้วย
บรรณานุกรม บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทาโครงงานใช้ค้นคว้า หรือ อ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทาโครงงานนี้ การเขียนเอกสาร บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
การจัดทาคู่มือการใช้งาน หาโครงงานที่นักเรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทาคู่มืออธิบายวิธีการใช้ผลงาน นั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อผลงาน 2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้นได้ 3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ผลงานนั้น ทางานได้อย่างสมบูรณ์ 4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้า และส่วนอะไร ออกมาเป็นข้อมูลขาออก 5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทางานในฟังก์ชัน หนึ่งๆ
การนาเสนอและการแสดงผลงานของโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อแสดงออก ถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรูแ้ ละเข้าใจถึง ผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบ การรายงานด้วยคาพูด การอภิปราย การสร้างเป็นสื่อนาเสนอ การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วย คาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
แบบประเมิน ก แบบประเมินการนาเสนอหน้าห้อง หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง กรสร้างชิ้นงานคอมพิวเตอร์และการนาเสนอ สมาชิกในกลุม่ 1............................................................................ 2............................................................................ 3............................................................................ 4............................................................................ ประเมินตนเอง รายการประเมิน
5
พฤติกรรมบ่งชี้ 4 3 2
1
รวม
5
พฤติกรรมบ่งชี้ 4 3 2
1
รวม
5
พฤติกรรมบ่งชี้ 4 3 2
1
รวม
1. มีการวางแผนการทางาน 2. มีคามพร้อมในการนาเสนอ 3. มีความน่าสนใจในการนาเสนอ 4. มีความคิดสร้างสรรค์ 5. ประโยชน์ – ความถูกต้องของงานนาเสนอ เพื่อนประเมิน รายการประเมิน 1. มีการวางแผนการทางาน 2. มีคามพร้อมในการนาเสนอ 3. มีความน่าสนใจในการนาเสนอ 4. มีความคิดสร้างสรรค์ 5. ประโยชน์ – ความถูกต้องของงานนาเสนอ เพื่อนประเมิน รายการประเมิน 1. มีการวางแผนการทางาน 2. มีคามพร้อมในการนาเสนอ 3. มีความน่าสนใจในการนาเสนอ 4. มีความคิดสร้างสรรค์ 5. ประโยชน์ – ความถูกต้องของงานนาเสนอ
เกณฑ์การประเมิน
5 ดีมาก
4 ดี
3 ปานกลาง
ลงชื่อ................................ผู้ประเมิน
2 น้อย
ลงชื่อ..............................ผู้ประเมิน
1 ต้องปรับปรุง
ลงชื่อ..............................ผู้ประเมิน
แบบประเมิน ข แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานของนักเรียนเป็นราย บุคคล กลุ่ม กลุ่มที่.............. ครั้งที่.............ชั้น ม................... คาชี้แจง : ครูผู้สอนสังเกตการณ์ทางานของนักเรียนโดยการทาเครื่องหมาย (/) ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 หมายถึง ดีมาก คะแนน 2 หมายถึง ดี คะแนน 1 หมายถึง พอใช้
เกณฑ์การประเมินคะแนน ได้คะแนน 15 คะแนน หมายถึง ดีมาก ได้คะแนน 10 - 14 คะแนน หมายถึง ดี ได้คะแนน 5 - 9 คะแนน หมายถึง พอใช้
รวม
สนใจใฝ่รู้
มุ่งมั่นในการทางาน
ตรงเวลา
เจตคติ (A)
รวม
ความสาเร็จของงาน
ความคิดริเริ่ม
ความร่วมมือ
เลขที่
แสดงความคิดเห็น
ชื่อ
การวางแผน
ที่
ความรู(้ K)
กระบวนการ (P)
ลงชื่อ ..................................................ผู้ประเมิน (...........................................) ............./............./............. แบบประเมิน ค แบบประเมินชิ้นงาน ผู้เรียนประเมิน รายการประเมิน กลุ่มที่
ครูประเมิน ความคิด ความ คุณภาพ ประโยชน์ เทคนิคใน รวม การนาเสนอ คะแนน สร้างสรรค์ น่าสนใจ ของงาน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 หมายถึง ดีมาก คะแนน 2 หมายถึง ดี คะแนน 1 หมายถึง พอใช้
เกณฑ์การประเมินคะแนน ได้คะแนน 15 คะแนน หมายถึง ดีมาก ได้คะแนน 10 - 14 คะแนน หมายถึง ดี ได้คะแนน 5 - 9 คะแนน หมายถึง พอใช้
ลงชื่อ ..................................................ผู้ประเมิน (...........................................) ............./............./.............
บันทึกผลหลังการสอน 1. ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการ
ระดับคะแนน 4 3 2 1
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. เนื้อหาสาระ 3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4. สื่อ/อุปกรณ์การเรียนการสอน 5. การวัดและประเมินผล 6. ความสอดคล้อง (ข้อ 1-5) รวมคะแนน สรุปผล เกณฑ์การประเมิน 21-24 คะแนน หมายถึง ดีมาก 10-15 คะแนน หมายถึง พอใช้
ข้อเสนอแนะ
16-20 คะแนน หมายถึง ดี 6-9 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง
รายการ 1. ระยะเวลาที่ใช้
2. เนื้อหาตามแผน
3. กิจกรรมการเรียนรู้ 4. สื่อที่ใช้
คุณภาพ
2. ผลการสอนที่เกิดขึน้ จริง
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2
ห้องเรียนที่ 2
4
6
8
10
รวม
เฉลี่ย
คุณภาพ
รายการ
ห้องเรียนที่ 2
4
6
8
10
รวม
เฉลี่ย
1 3 5. การวัดและประเมินผล 2 1 3 6. พฤติกรรมของนักเรียน 2 1 รวม สรุปผลการสังเกตโดยเฉลี่ย 3. ผลการปฏิบัติกิจกรรม/ใบงาน/การทดสอบความรู้ความเข้าใจ/ทักษะการปฏิบตั ิงาน 3.1 ผลการเรียนของนักเรียน จากคะแนนการทดสอบก่อนเรียน- หลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่..................... เรื่อง ............................................................. จานวน ........... ห้อง นักเรียนรวม ...........คน ปรากฏดังนี้ SD. ค่า t จานวนนักเรียน คะแนนเต็ม X ห้องที่ (คน) (คะแนน) ก่อน หลัง ก่อน หลัง 4/2 4/4 4/6 4/8 4/10 รวม จากตารางแสดงให้เห็นว่าการประเมินผลความรู้ ก่อนเรียน - หลังเรียน โดยใช้........................... จานวน.................ข้อ พบว่า นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ย..........................จากคะแนนเต็ม............คะแนน มีนักเรียนร้อยละ..................ไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนดไว้ 3.2 ผลการปฏิ บั ติ กิ จ กรรม/ใบงาน โดยใช้ แ บบสั ง เกตพฤติ ก รรม/แบบประเมิ น ผลงาน พบว่ า นักเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพในระดับดี ร้อยละ.............. ระดับพอใช้ (ต้องพัฒนา) ร้อยละ........... ระดับต้องปรับปรุง ร้อยละ..................และมีนักเรียนร้อยละ................ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีสาเหตุมา จากไม่ส่งงานตามที่กาหนด/คัดลอกผลงานจากผู้อื่น 3.3 การประเมินด้านทักษะปฏิบัติ ผลการประเมินโดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม/ผลงานที่ปรากฏ พบว่า มีนักเรียนร้อยละ..................ผ่านเกณฑ์การประเมิน และมีนักเรียนร้อยละ..............ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 3.4 การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผลการประเมินโดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม พบว่านักเรียน ร้อยละ.....................ผ่านเกณฑ์การประเมิน และนักเรียนร้อยละ............ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
4. บันทึกเพิ่มเติม ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 5. ข้อสังเกต/อุปสรรค/ปัญหาจากสภาพการเรียนการสอนและแนวทางแก้ไข ที่ได้จากการจัดการเรียนรู้ ตามแผนการเรียนรู้ มีดงั ต่อไปนี้ ข้อสังเกต/อุปสรรค/ปัญหา
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ลงชื่อ........................................ผู้สอน (นางสาวสุรารักษ์ มานะประสพสุข) ครูผู้ช่วย ............../............../...............
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน.................................................................................... 1…………………………………….……………เลขที่ …………ชั้น ……………. 2…………………………….……………………เลขที่ …………ชั้น ……………. 3…………………………………….……………เลขที่ …………ชั้น ……………. โรงเรียน.................................................. อาเภอ........................... จังหวัด.................................... ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา…………………………………………………………………………………….…………………… ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี)………………………………………………………..………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน………………………………………………………วัน.................................................. 1. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. วัตถุประสงค์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. หลักการและทฤษฎี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. คานิยามศัพท์เฉพาะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5. ขั้นตอนการดาเนินงาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. แผนปฏิบัติงาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ผลที่คาดว่าจะได้รบั ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8. เอกสรอ้างอิง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………