เทคนิคการหาพีทซ์ใบจักร เรือ PGM & PCF

Page 1

ชุ มชนเป็ นหนึ่ง

หัวข้ อองค์ ความรู้ เทคนิคการหาพีทซ์ ใบจักร เรือ PGM & PCF โดยใช้ เครื่องมือเครื่องช่ วยจากสิ่ งประดิษฐ์ ที่ เกิดจากแนวความคิดและสร้ างขึน้ เอง เจ้ าขององค์ ความรู้ นาย พงษ์ สถิต สหนาวิน ผู้ควบคุม ว่ าที่ ร.ต.ชลธี เก่ งกล้า


สมาชิกทีร่ ่ วมแลกเปลีย่ นความรู้ ๑. นาย มนตรี วรรณพิรุณ ๒. นาย ธนสาร อินทมงคล ๓. นาย ทวี อยู่พร้ อม ๔. นาย ณัฐพงษ์ ขาวคม ผู้สังเกตการณ์ ๑. นาย นรนารถ จันทร์ ทอง ๒. นาย เสกสรรค์ พิชิตมารกุล ๓. นาย อัครวุฒิ คงรอด


ใบจักร เป็ นส่ วนประกอบทีส่ ำ าคัญส่ วนหนึ่งของเรือรบ เมือ่ เกิดการชำารุ ดเสี ยหาย เกิดการแตกหัก หรือบิดงอ จำาเป็ นต้ องเข้ ารับการ ซ่ อมทำาด้ วยวิธีการการ ดัด หรือปรับแต่ งให้ คงรู ป แบบเดิมให้ มากทีส่ ุ ด


pitch (พิทช์ ) หมายความว่ า ระยะห่ างระหว่ างเกลียว โดย วัดจากยอดฟันของเกลียว หรือตามพจนานุกรม ความหมายคือ ความบิดงอของใบจักร หรือใบพัด

การหาค่าพีทซ์ ใบจักรนั้น คือขั้นตอนการทำางาน เพือ่ ให้ เรารู้ ค่าระยะพีทซ์ ของใบจักรแต่ ละใบว่ามีความแตกต่ าง กันบริเวณจุดใด เพือ่ ทีเ่ ราจะได้ ซ่อมทำาหรือปรับแต่ ง ใบจักรทีช่ ำารุ ดผิดเพีย้ นให้ เป็ นไปตามค่าและขนาด ของเดิมมากทีส่ ุ ด - เนื่องจากใบจักรเป็ นส่ วนประกอบทีส่ ำ าคัญของเรือรบ เช่ นเดียวกับ อุปกรณ์ อนื่ ๆ ถ้ าไม่ มใี บจักรเรือก็ไม่ สามาร ทีจ่ ะขับเคลือ่ นไปได้ เราจึงขอหยิบยกเทคนิคการหา พีทซ์ ใบจักรมานำาเสนอ ตั้งแต่ ข้นั ตอนเริ่มต้ นของการ ทำางาน


ประโยชน์ ขององค์ ความรู้ ทมี่ ีต่อหน่ วย สิ่ งประดิษฐ์ ทเี่ ราคิดค้ นขึน้ มาประกอบใช้ ร่วมกับ เครื่องมือในการหาพีทซ์ เรียกว่า เส้ นฟุตวัดระยะพีทซ์ ซึ่งจะช่ วยทำาให้ เราสามารถซ่ อมทำาใบจักรได้ โดยง่ ายขึน้ สามารถหาค่ าระยะพีทซ์ ใบจักรแต่ ละใบได้ โดยละเอียด ง่ ายต่ อการปรับแต่ ง สะดวกและรวดเร็ว ช่ วยให้ งาน สำ าเร็จรุร่วงตามแผนทีก่ าำ หนดไว้ - สามารถถ่ ายทอดความรู้ให้ คนรุ่นหลังใช้ งานได้ อย่ าง ไม่ ยากนัก - เก็บข้ อมูลเรือแต่ ละลำาไว้ทาำ ประวัติได้


ลักษณะการหาพีทซ์ ใบจักรแบบเดิม จะใช้ ตลับเมตรในการวัดระยะพีทซ์ โดยวัดจาก ปลายแกนเหล็กชี้มุมทีป่ ี กใบจักร จนถึงระยะ ความสู งตรงแขนวัดมุม ให้ จดค่าทีอ่ ่านได้ ลงบน ใบจักรในตำาแหน่ งทีแ่ กนชี้ ทุกใบจะต้ องวัด เหมือนกันทุก ๆ ระยะ จนหมุนรอบใบจักร เราถึง จะทราบระยะทีต่ ่ างกัน การใช้ ตลับเมตรวัดเราจะ ไม่ ทราบค่ าของพีทซ์ ใบจักรใบนั้นจะรู้ แต่ ความ แตกต่ างของพีทช์ แต่ ละปี ก ถ้ าเราอยากทราบค่ า พีทซ์ ของใบจักรใบนั้นเราต้ องคำานวณหาตามสู ตร คือ (Y คูณ 360 หาร X) การใช้ ตลับเมตรวัดนั้น เป็ นวิธีทไี่ ม่ มีความแน่ นอน ไม่ ละเอียด และมี ความคลาดเคลือ่ นค่ อนข้ างง่ าย


ลักษณะการทำางาน

อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ร่วมกันจะมีอยู่ ๔ ชนิด ดังนี้

๑. จานแบ่ ง ๓๖๐ องศา มีหน้ าทีบ่ อกระยะองค์ ศาตาม ขนาดทีเ่ รากำาหนด โดยการหมุนรอบใบจักร เพือ่ หาค่า ความลาดเอียง เช่ น เมือ่ เรากำาหนดครั้งละ ๑๐ องศา แขนองศาก็จะเลือ่ นขึน้ หรือเลือ่ นลงให้ เราอ่านค่า พีทซ์ ทีช่ ่ องบอกระยะว่าเกิน หรือขาด


๒. แขนแบ่ งระยะ แนวขวาง มีหน้ าทีก่ าำ หนด ขนาดทีข่ ยายออกด้ านข้ าง เป็ นจำานวน นิว้ ซึ่ง แล้วแต่ จะกำาหนดอย่ างละเอียด หรือไม่ ละเอียด เช่ น ขยายออกข้ างละ ๑ นิว้ หรือ ๒ นิว้ ไปจนสุ ด ปลายปี กใบจักร


๓. แกนเหล็กชี้มุมองศา

แนวตั้ง

มีหน้ ากำาหนดจุดทีจ่ ะมาร์ คตัวเลขทีเ่ ราอ่ านค่ าของ

พีทซ์ ได้ ลงบนใบจักรโดยการเขียนด้ วยชอร์ ค ซึ่ง จะเลือ่ นขึน้ เลือ่ นลง ตามขนาดของพีทซ์

ขีดที่ กำาหนด ให้ อ่าน ค่าพีทช์


๔. อุปกรณ์ วดั ค่ า ๔.๑ ตลับเมตร (อดีตเคยใช้ งาน) ๔.๒ เส้ นฟุตวัดระยะพีทซ์ (ใช้ งานอยู่ปัจจุบัน)


ขั้นตอนการปฏิบัติ ๑. ตรวจสอบสภาพใบจักร ว่า ชำารุ ดแตกหักหรือ บิดงอไป จากเดิมหรือไม่ ถ้ าบิดงอมาก ให้ ทาำ การตีหรือดัดให้ เข้ ารู ป ก่อน ด้ วยวิธีดดั ดิบ หรือ ดัดร้ อน ๒. เมื่อดัดเรียบร้ อยแล้วนำาขึน้ แท่ นหาพีทซ์ โดยกำาหนดให้ ด้านหน้ าใบจักรอยู่ด้านบน คือด้ านทีผ่ ลักน้ำ า (หรือด้ านทีห่ ันไปท้ ายเรือ) พร้ อมกับประกอบชุ ดอุปกรณ์ การหา พีทช์ ใบจักร


๓. ทำาการวัดหาระยะพีทซ์

โดยเริ่มจากการ กำาหนดจุดกึง่ กลางของปี กใบจักร ซี่งมีวธิ ีคดิ คือ (รัศมีของใบจักร คูณ 3 หาร 5) - จากนั้นให้ หมุนแขนแบ่ งระยะไปครั้งละ ๑๐ องศา แกนวัดก็จะเลือ่ นไปชี้บริเวณตำาแหน่ ง ของระยะพีทช์ ให้ อ่านค่ าแล้ วจดบันทึกลงบน ใบจักร ทำาต่ อไปตามระยะจนหมุนครบ 360 องศา - จากนั้นให้ ขยายแขนแบ่ งระยะออกมาด้ านข้ างครั้งละ ๑ หรือ ๒ นิว้ แล้วหมุนแขนระยะไปครั้งละ ๑๐ องศาของจานแบ่ ง จนครบ ๓๖๐ องศา ทำาแบบเดียวกันไปจนสุ ดปลายปี กใบจักร ก็จะทราบค่ า พีทช์ แต่ ละใบว่ าต่ างกันบริเวณใด


๔. ทำาการปรับแต่ งใบจักร ทีเ่ ราหาค่าพีทช์ และเขียนค่ า ไว้ บนใบจักรทุกปี ก - ให้ ได้ ตามขนาดพีทซ์ ทกี่ าำ หนด โดย - ใช้ เครื่องเจียร์ ปรับแต่ งบริเวณส่ วนทีค่ ่าเกินกำาหนด ให้ เท่ ากันทุกปี ก ทั้งนีใ้ ห้ มีค่ายอมรับความผิดพลาด ได้ ไม่ เกิน ๕ มม. (ถ้ าเกินกว่านีต้ ้ องดัดหรือปรับ แต่ งใหม่ ) - เมือ่ ดำาเนินการปรับแต่ งเรียบร้ อยแล้วก็เป็ นอันเสร็จ สิ้นการหาพีทช์ ใบจักร จากนั้นก็เป็ นขั้นตอนของการนำาใบจักรไปหา ความสมดุล หรือ หาบาล้านซ์ ต่อไป


สรุ ปเทคนิคทีไ่ ด้ การหาพีทซ์ ใบจักรโดยการใช้ ฟุตวัดระยะทีท่ าำ ขึน้ นั้น ทำาให้ เราสามารถทราบค่ าพีทซ์ ของใบจักร นั้น ๆ อย่ าง ละเอียด และยังนำาไปใช้ ได้ กบั ใบจักรของเรือลำาอืน่ ๆ ทีม่ คี ่ าพีทซ์ ขนาดเดียวกัน เช่ น เรือชุ ด ต.๒๑ – ๒๖ หรือ ต.๒๒๔ – ๒๒๖ โดยไม่ ต้องมาเริ่มคำานวณหาพีทซ์ ใหม่ และ ยังสามารถใช้ ได้ กบั ใบจักรทีห่ ล่อใหม่ ซึ่งใบจักร หล่อใหม่ น้ันจะไม่ มกี ารกำาหนดค่าพีทซ์ มาให้ เราทราบ


- มาตรฐานอุตสาหกรรม งานช่ างกรมอู่ทหารเรือ การ ตั้งศูนย์ เพลาใบจักร โดย พล.ร.ต.ดำารงค์ เชี่ยววิทย์ จก.พัฒนาการช่ าง ฯ - และจากทั้งหมดทีไ่ ด้ กล่ าวมานั้น เราได้ รวบรวม ข้ อมูลมาจากแนวความคิดของนายพงษ์ สถิต์ สหนาวิน ช่ างกลโรงงานระดับ ๓ ทีม่ ีประสบการณ์ การทำางาน ตลอดระยะเวลาทีร่ ับราชการมามากว่า ๔๐ ปี ซึ่งท่ านได้ ปฏิบัติงานทางด้ านการหาศูนย์ หาความสมดุล เช่ น ใบ จักร, เพลา มอเตอร์ และ พัดน้ำ าขนาดต่ าง ๆ มาโดย ตลอด ท่ านได้ ท่ ุมเทให้ กบั งานในหน้ าทีไ่ ด้ อย่ างดียงิ่ และได้ ถ่ายทอดความรู้ ให้ กบั น้ องๆ ด้ วยการปฏิบัติงาน จริง และข้ อมูลจากสมุดจดบันทึกประวัติการซ่ อมทำา - ทั้งนีย้ งั มีอปุ กรณ์ ทที่ ่ านประดิษฐ์ ขนึ้ มาใช้ งานอีกหลาย อย่ าง เช่ น เครื่องมือหาศูนย์ เพลาใบจักรด้ วยวิธีการขึง ลวด , จานองศาสำ าหรับหาพีทช์ ใบจักรห้ าปี ก เช่ น เรือ ชุ ด ต.83, อุปกรณ์ ตัวช่ วยจับไดอัลเกดในพืน้ ทีแ่ คบ


ข้ อพึงระวัง การปรับแต่ งใบจักร ถ้ าเป็ น การดัดร้ อนจะต้ องใช้ เครื่องพ่นไฟเผา ใบจักร จะต้ องใช้ ความระมัดระวังให้ มาก เพราะอาจเกิดอัตรายจากเปลวไฟทีพ่ ่น ออกมาจากเครื่องพ่นไฟ - ถ้ าดัดดิบจะใช้ พะเนินตีดดั ควรเพิม่ ความ ระมัดระวังให้ มากไม่ ควรหยอกล้ อกันเล่ น ขณะปฏิบตั งิ าน - ขอรับรองว่ าได้ ใช้ งานอย่ างมีประสิ ทธิภาพจริง

ว่ าที่ ร.ต. ชลธี เก่งกล้า นายช่ าง รง.ปรับซ่ อมที่ ๑ ฯ


ซ่ อมดี ใช้ ดี ราชนาวีเจริญ จบการนำาเสนอ ขอบคุณครับ


วิธีการสร้ างฟุตวัดค่ าพีทซ์

1. ใช้ แผ่ นทองเหลือง ขนาด ความหนา 2มม. กว้าง 1.3 ซม X ยาว 45 ซม. 2. นำามาประกอบเข้ ากับแกนเหล็กชี้มุมองศา 3. กำาหนดเส้ นด้ านล่างให้ พอดีกบั ตัวจับแผ่ นฟุตด้ านล่าง 4. จากนั้นหาจุดศูนย์ กลางของใบจักร โดยใช้ สูตร (รัศมีของใบจักร คูณ 3 หาร 5 ) 5. นำาแกนเหล็กชี้มุมองศา ไปชี้ทตี่ ำาแหน่ งกึง่ กลางของใบ จักรทีเ่ ราหาได้ 6. หมุนจานแบ่ งองศาให้ แขนแบ่ งองศา อยู่ทตี่ ำาแหน่ งศูนย์ องศา 7. ขีดเส้ นบนแผ่ นฟุตให้ อยู่ในระดับเดียวกับเลขศูนย์ ที่ แกนเหล็กชี้องศา


8. ต่ อไปหมุนแขนองศาไปทีต่ าำ แหน่ ง 10 องศาของ จานแบ่ งองศา จะได้ ระดับความลาดเอียงเพิม่ ขึน้ หรือลดลงมาอีก 1 ช่ อง การขีดเส้ นไว้ บนแผ่ นฟุต พร้ อมกับกำาหนด หมายเลข 10 ไว้ ทแี่ ผ่ นฟุต 9. ทำาต่ อไปเลือ่ ย ๆ จนกว่าจะสุ ดปลายปี กใบจักร ก็ จะได้ จำานวนช่ องทีเ่ พิม่ ขึน้ ทำาการขีดเส้ นกำากับไว้ บน แผ่ นฟุตไปเรื่อย ๆ เช่ น ขีดทีห่ นึ่งเท่ ากับ 10 ขีด ทีส่ องเท่ ากับ 20 ขีดทีส่ ามเท่ ากับ 30


10. เสร็จแล้วนำาแผ่ นฟุตทีข่ ีดเส้ นแบ่ งระยะไว้ ออก จากแกนเหล็กชี้องศา นำาไม้ บรรทัดมาวัดระยะจาก เส้ นด้ านล่างสุ ดมาถึงเส้ นบนสุ ด เพือ่ ให้ ได้ ขนาดค่า Y ตามสู ตร และให้ นับจำานวนช่ องของแต่ ละช่ อง ทีข่ ีดเส้ นไว้ ช่องละ 10 องศาว่ ามีท้งั หมดกีช่ ่ อง บน แผ่ นฟุต (เช่ น นับได้ 10 ช่ องเท่ ากับ 100) และนั่นก็คอื ค่า X ของสู ตร จากนั้น ดำาเนินการคิด สู ตรการหาพีทซ์ ดังนี้ (Y คูณ 360 หาร X) จะได้ ค่าพีทซ์ ของใบจักร ใบนั้น จึงกำาหนดลงไปในแผ่ นฟุตโดยการตอก หมายเลขกำากับไว้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.