การจัดการความรู้ ชุมชนนักปฏิบตั ิ รู้แล้วจะหนาว (ช่ างเย็นตัวจริง) เรื่อง การตรวจสอบและซ่ อมบำารุ งระบบปรั บอากาศ ที่ควบคุมการทำางานด้ วย PLC
ผู้ดาำ เนินการ คุณอำานวย คุณลิขิต คุณกิจ
น.ท.รั งสรรค์ กาศเกษม ร.ต.เบญจพล พรมเกตุ
( สมาชิกที่ร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ประกอบด้ วย ) ร.อ.จรัส อุทศิ โชคชัย นายสุชาติ ถนอมวงศ์ นายสายัณห์ อินแช่ มชื่น นายกมล ยวงศรี นายสิทธิพร ทรั พย์ ปรี ชา
คุณสังเกต นายอนุพงษ์ อินอ่ อน นายสุรินทร์ ไพรอด นายปิ ยะพันธ์ ยามช่ วง
นายอำาพล คำายะรั ตน์ นายสุชาติ พงษ์ เทศ นายอัครวัฒน์ จั่นแก้ วโชติภทั ร์
วัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย เพื่อทราบโครงสร้ างหลักการทำางานในการ ควบคุมระบบปรับอากาศด้ วย PLC
เพื่อทราบขัน้ ตอนวิธีการตรวจสอบและ ซ่ อมบำารุ งระบบปรับอากาศที่ใช้ PLC ควบคุมการทำางาน
เครื่องปรั บอากาศที่ใช้ PLC ควบคุม หน่ วยเรื อ
-ร.ล.อ่ างทอง - ต.991 – ต.994 - ร.ล.มกุฎราชกุมาร - ร.ล.สุรินทร์ - ร.ล.ลาดหญ้ า
- ต.81 – ต.83 - ร.ล.กระบี่ - ร.ล.จักรี นฤเบศ - ร.ล.สีชัง - ร.ล.ท่ าดินแดง
ตรวจสอบและซ่ อมทำา คปอ.ให้ ใช้ งานได้ ดี
ที่มา ปั ญหา ความสำาคัญของปั ญหา หมวด
แผนก
ภารกิจหน่ วย กำาลังพล ตรวจสอบและซ่ อมทำา คปอ.ให้ ใช้ งานได้ ดี
ปั ญหา อุปสรรคข้ อขัดข้ อง INPUT
วงจรควบคุม อุปกรณ์ ในระบบ คปอ.
OUT PUT
LOAD
การควบคุม เปลี่ยนไป
PLC จำานวนผู้ร้ ู น้ อย
อปกรณ์ เปลี่ยนแบบ
ปั ญหา อุปสรรคข้ อขัดข้ อง รู้เขารู้ เรา รบร้ อยครั ง้ ไม่ พ่าย
อุปกรณ์ ใหม่ ไม่ เหมือนเดิม(NEW MODEL) กำาลังพล ๒๗ นาย ผ่ านการอบรม ๗ นาย ไม่ ร้ ู,ไม่ มี สิ่งที่ต้องมีและใช้ ในการซ่ อมบำารุ ง ไม่ ร้ ูระบบหลักการทำางาน ต้ องตรวจสอบและซ่ อมทำา คปอ.ให้ ใช้ งานได้ ดี
กระบวนการควบคุมการทำางาน คปอ. SENSOR
INPUT
อุปกรณ์ ขับ โหลด
CONTROL
ทั่วไปแบบเดิม วงจรควบคุม อุปกรณ์ ในระบบ คปอ.
PLC
OUT PUT
LOAD
PLC คือ อะไร ? PLC = Programmable Logic Controller เป็ นเครื่ องควบคุม อัตโนมัตทิ ่ สี ามารถจะโปรแกรมได้ ถูกสร้ างและพัฒนาขึน้ มาเพื่อ ทดแทนวงจรรี เลย์ การทำางานเป็ นแบบต่ อเนื่อง (Sequence Control) ซึ่งจะเป็ นระบบ การควบคุมการทำางานที่ประกอบด้ วยหลายๆ ขัน้ ตอน ตามลำาดับ ก่ อนหลังโดยเป็ นไปตามที่กาำ หนดในโปรแกรม
PLC คือ อะไร ? PLC จะมีโครงสร้ างคล้ ายกับคอมพิวเตอร์ ท่ วั ๆไปแต่ จะมี คุณลักษณะมีความแข็งแรงมีความทนทานต่ อสัญญาณรบกวน ต่ างๆ ได้ เป็ นอย่ างดีโครงสร้ างโดยทั่วไปจะเป็ นระบบถอดและ เสียบ จึงทำาให้ ง่ายต่ อการเปลี่ยนหรือการเพิ่มเติมส่ วนขยาย ต่ างๆ เข้ าไป การต่ อหน่ วยชุดสัญญาณอินพุตและเอาท์ พุตและระดับของ หน่ วยชุดสัญญาณอินพุตและเอาต์ พุตเป็ นมาตรฐานเดียวกัน ทุกๆ บริษัทผู้ผลิต
ส่ วนประกอบของ PLC เครื่ องมือป้อน โปรแกรมและข้ อมูล
อุปกรณ์ INPUT
หน่ วยความจำา เก็บโปรแกรม
หน่ วยความจำา ปฏิบตั ิการ,ข้ อมูล
หน่วยประมวลผล (CPU) วงจรภาค วงจรภาค INPUT OUTPUT แหล่ งจ่ ายไฟ.
อุปกรณ์ OUTPUT
ภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม PLC แต่ ละยี่ห้อจะใช้ ภาษาในการเขียนโปรแกรมควบคุม PLC แตกต่ างกันซึ่งมีด้วยกัน ๕ แบบดังนี ้ SFC (Sequential Function Chart) ST (Structured Text) FBD (Function Block Diagrams) IL (Instruction List) LD (Ladder Diagrams)
ผังการทำางาน รั บสั่งงาน
ตรวจสอบสถานะ PLC ตรวจสอบอุปกรณ์ INPUT ตรวจสอบอุปกรณ์ OUTPUT
ตรวจสอบสถานะ LOAD
ขัน้ ตอนการตรวจสอบและซ่ อมทำา รับใบสั่งงาน ตรวจสอบสภาพ PLC ไฟสถานะ PLC ตรวจสอบการแสดงผลการทำางานจาก PLC ตรวจสอบการแสดงข้ อขัดข้ องในการทำางานจาก PLC ตรวจสอบอุปกรณ์ INPUT ตรวจสอบอุปกรณ์ OUTPUT ตรวจสอบ LOAD
เตือนไว้ ก่อนซ่ อม PLC ให้ เปลี่ยนแบตเตอรี่ ในโอกาสแรกเมื่อมีเสียงสัญญาณเตือน ในการเปลี่ยนแบตเตอรี่ PLC ต้ องอยู่ในโหมด STOPและมี กระแสไฟในระบบ ควรมีการตรวจสภาพ และทำาความสะอาด PLC สม่ำ าเสมอ ตรวจเช็คระบบไฟฟ้า ที่ใช้ ในหน่ วยความจำา PLCหน่ วยอินพุท/ เอาท์ พุท
สิ่งที่ต้องใช้ ในการซ่ อมบำารุ ง คู่มือประจำาเครื่อง วงจร PLC วงจรควบคุมไฟฟ้า ตารางและตำาแหน่ งที่ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ INPUT OUTPUT รายละเอียดอุปกรณ์ PLC รายละเอียดอุปกรณ์ ในระบบ
ความรู้ ท่ ไี ด้ โครงสร้ างหลักการทำางานของ PLC ขัน้ ตอนและวิธีการซ่ อมบำารุ ง ระบบเครื่องปรั บอากาศที่ ใช้ PLC ควบคุมการทำางาน สิ่งจำาเป็ นที่ต้องมีเพื่อใช้ ในการซ่ อมบำารุ งระบบเครื่องปรั บ อากาศ ที่มี PLC เพิ่มขีดความสามารถและจำานวนกำาลังพลให้ มีความรู้ ความสามารถในการซ่ อมบำารุ งระบบ PLC
จบการบรรยาย