ชุมชนนักปฏิบัติ
รู้แล้วจะหนาว
เทคนิคการแปลงรูมเทอร์โมสตัทแทนชุดควบคุมเครื่องปรับอากาศ แบบ ติดผนัง ( วันที.่ .14 พ.ค. 2555..เวลา..1000...สถานที.่ รง.ซ่อมท่อเครื่องเย็นฯ .) คุณอานวย น.ท.ธเนศ กุลจิตติวารี คุณลิขิต
พ.จ.อ.เบญจพล พรมเกตุ
จุดมุ่งหมาย - เพื่อทราบถึงเทคนิคการแปลงคอนโทรลและอุปกรณ์ท่ถี ูกต้อง - เพื่อทดแทนชุดควบคุมในกรณีงบประมาณจากัด คุณกิจ ( สมาชิกที่ร่วมแลกเปลื่ยนเรียนรู้ ประกอบด้วย ) 1. นายกมล
ยวงศรี
2. นายอัครวัฒน์ จั่นแก้วโชติภัทร์ 3. นายสุชาติ
พงษ์เทศ
ผู้สังเกตการณ์ 1. ร.อ.จรัส
อุทิศโชคชัย
2. นายสายัณห์ อินแช่มชื่น สรุปเทคนิคที่ได้ 1. การซ่อมทาเครื่องปรับอากาศกรณีชุดควบคุมชารุด ( แบบเดิม ) ปัจจุบันเครื่องปรับอากาศเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีส่วนสาคัญในการดารงชีวิตประจาวันโดยเฉพาะในประเทศที่เป็น เมืองร้อน การใช้งานที่มากขึ้นเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เครื่องปรับอากาศมีอาการขัดข้องขึ้นมาได้ ซึ่งสาเหตุมีได้หลายประการ ประการหนึ่งซึ่งสาคัญมาก ก็คือชุดควบคุม ( control ) ชารุด ในการซ่อมทาเพื่อให้เครื่องปรับอากาศใช้งานได้ จะต้อง เปลื่ยนชุดควบคุม ซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง
ชุดควบคุมเสีย
ถอดออกแล้ว
ตัวอย่างชุดควบคุมที่เสีย 2. การซ่อมทาเครื่องปรับอากาศกรณีชุดควบคุมชารุด โดยใช้รูมเทอร์โมสตัท ในกรณีผู้ใช้งานมีงานระบบปรับอากาศขาด งบประมาณในการซื้อชุดควบคุมเพื่อเปลี่ ยนใหม่เราสามารถใช้รูมเทอร์โม ได้ เนื่องจากระบบควบคุมเครื่องปรับอากาศรุ่นใหม่เป็น ชุดควบคุม แบบอิเล็กทรอนิคการควบคุมสั่งการต่าง ๆ ผ่านทาง รีโมท ไอซีมีอายุการใช้งาน ประกอบกับการที่ต้องสัมผัสฝุ่นละออง ความชื้น ความร้อน ทาให้อายุการใช้งาน ของชุด ควบคุม ไม่มีประสิทธิภาพเหมือนเดิม แนวคิดในการปรับปรุงจึงเริ่มขึ้น อุปกรณ์ที่ใช้
รูมเทอร์โมสตัท
แมกเนติก
ทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิ ของห้องให้คงที่
ทาหน้าที่รับกระแสไฟฟ้าตัดหรือต่อวงจรไฟฟ้า
วิธีการทา ถอดชุดควบคุมแบบอิเล็คทรอนิคออก นารูมเข้าติดตั้งแทน วายริ่งสายไฟ เดินสายสัญญาณควบคุมแมกเนติก 1เส้น เดิน ไปหาคอนเดนซิ่งยูนิตเข้าหาคลอย์แมกเนติก ยึดด้วยสลักเกลียวปล่อยให้แน่ นหนา หาค่าสัญญาณสปีดพัดลมต่อกับ เข้า รูมเทอร์โม นาสายเซ็นเซอร์ควบคุมอุณหภูมิมาไว้หน้าแผงคลอย์เย็น ในรูมเทอร์โทสตัทจะมีไทเมอร์หน่วงเวลาในตัว ประมาณ 3 นาที มีสญ ั ลักษณ์ทั้งหมดดังนี้ L - ไฟไลต์ N - ไฟนิวตรอน H - พัดลมเบอร์ 3 M - พัดลมเบอร์ 2 L - พัดลมเบอร์ 1 C - สายควบคุมแมกเนติก เช็คระบบไฟฟ้าทั้งหมด ทดลองการทางานได้ตามปกติ
รูมเทอร์โมติดตั้งใหม่
พร้อมใช้งาน
จัดเก็บสายไฟให้เรียบร้อย ตัวอย่างงานที่มีการแปลงชุดควบคุม
ข้อพึงระวัง 1.
ในการใช้การช่างที่จะทางานต้องมีประสบการณ์ในการแปลงงานมาพอสมควรมีความรู้เกี่ยวกับงานไฟฟ้า
2.
พัดลมคลอย์เย็นบางยี่ห้อเป็นคลื่นความถี่ การใช้งานจะได้สปีดลมเบอร์สูงสุดเท่านั้น
3.
ควรมีการเก็บสายไฟให้สวยงาม เพราะรูม เทอร์โมสตัทที่ทาการดัดแปลงจะเป็นสาย อาจดูไม่เป็นระเบียบ
4.
เมื่อมีงบประมาณเพียงพอควรหาซื้อชุดควบคุมแบบเดิมมาติดตั้งเพื่อประสิทธิภาพ และ อนุรักษ์ธรรมชาติ * เครื่องปรับอากาศ ตราอักษร LG สามารถทาการแปลงได้ดี *
เอกสารอ้างอิง -
หนังสือเครื่องทาความเย็นและเครื่องปรับอากาศ ของ อ .สมศักดิ์ สุโมตยกุล