โรงงานซ่อมท่อ เครื่องเย็นฯ แผนกโรงงานเครื่องกล กงน.กรง.ฐท.สส.
การจัดการความรู้ เรื่อง การประกอบและติดตั้งเครื่องปรับอากาศแบบน้้าชีล
หัวข้อการบรรยาย • • • • • • •
วัตถุประสงค์การดาเนินงาน ที่มาการดาเนินงาน แผนการดาเนินงานการจัดการความรู้ รง.ซ่อมท่อฯ รายชื่อชุมชนนักปฏิบัติ ขั้นตอนการปฏิบัติตามหัวข้อองค์ความรู้ องค์ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงาน อุปสรรค ข้อขัดข้อง
วัตถุประสงค์ของการด้าเนินงาน • เก็บความรู้อย่างมีระบบ • เพือ่ ให้กาลังพลสามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นนาไปใช้ใน การปฏิบัติงาน • เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วย
ที่มาของการด้าเนินงาน • เครื่องปรับอากาศของเรือ ชุด ต.๘.. • ทางโรงงานมีรถทาน้าเย็นไม่เพียงพอในการให้การ สนับสนุนนเรือที่เข้ารับการซ่อมทา • พิจารณาการนาอุปกรณ์เครื่องปรับอากาศของเรือ ชุด ต.๘.. มา ใช้งาน
แผนการด้าเนินงานการจัดการความรู้ รง.ซ่อมท่อฯ ประชุมวางแผนการดาเนินงานในโรงงาน สร้างชุมชนนักปฏิบัติขึ้นเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ดาเนินงาน ดาเนินงานตามแผนโดยมีผู้รวบรวมแนวทางการปฏิบัติให้เป็นขั้นตอน จัดทาเอกสารเพื่อนาเสนอผลการดาเนินการและเผยแพร่ความรู้
ชุมชนนักปฏิบัติงานท่อและเครื่องปรับอากาศ
ชุมชนนักปฏิบัติงานท่อและเครื่องปรับอากาศ น.ท.ธเนศ น.ต.สันติ ร.อ.จรัส นายสันทัด นายพัลลภ นาย วาสนา นายราเชนทร์ นายธงไทย นายทวีศักดิ์
กุลจิตติวารี ยี่ทอง อุทิศโชคชัย โชปะการ สีมานนท์ เจริญชัย รุ่งราไพ อาภรณ์รัตน์ แรมวงษ์
แกนนาชุมชนนักปฏิบัติ ผู้รวบรวมองค์ความรู้ เจ้าขององค์ความรู้ สมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ สมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ สมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ สมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ สมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ สมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ 7
ขั้นตอนในการปฏิบัติงานตามหัวข้อองค์ความรู้ ๑.ศึกษาคุณสมบัติเครื่องปรับอากาศที่จะประกอบและติดตั้ง ๒.จัดเตรียมออกแบบพื้นที่ในการติดตัง้ ๓.การประกอบ Compressor ๔.การประกอบ Condenser
ต่อ
๕.การประกอบชิลเลอร์
๖.การประกอบมอเตอร์พดั น้้าต่าง ๆ ๗.การเดินท่อทางเพื่อเชื่อมต่อระบบ ๘.การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมการท้างานของระบบ ๙.การตรวจสอบคุณภาพการติดตั้ง
๑.ศึกษาคุณสมบัติเครื่องปรับอากาศที่จะประกอบและติดตั้ง
๑.Compressor เป็นแบบ Semi-Hermetic, Squirrel Cage Induction Motor หล่อเย็นด้วย Suction Refrigerant Vapour ๒.Condenser เป็นแบบ Shell and Tube Heat Exchanger โดยออกแบบให้ มีค่า Designed Working Pressure ไม่ต่ากว่า 150 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ทางด้าน Water Side และ 200 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ๓.Chiller เป็นแบบ Plate type ๔.มอเตอร์ Pump ต่าง ๆ เป็นแบบ Centrifugal Pump
๒.จัดเตรียมออกแบบพื้นที่ในการติดตั้ง Top View ชั้นบน
Condensor
Chiller
Control Panel
Top View ชั้นล่าง
Condenser Water Pump
Chilled Water Pump No.1
Chilled Water Pump No.2
Compressor
๓.การประกอบ Compressor
รายละเอียดของการประกอบ Compressor
ถอดส่วนประกอบส่วนต่าง ๆ เพื่อทาการตรวจสอบ ◦ ข้อควรระวัง ก่อนทาการถอดส่วนประกอบต่าง ๆ ควรปล่อยกาลังดันที่ตกค้างอยู่ภายใน ระบบออกเสียก่อน
การประกอบ ◦ ข้อสังเกต ในการใส่แบริ่ง ต้องให้ร่องน้ามันที่แบริ่ง อยู่ในตาแหน่งด้านบนของ Case Bearing Housing ◦ การประกอบพัดน้ามันหล่อของ Compresser รุ่นนี้สามารถหมุนได้ทั้ง ๒ ทาง
๔.การประกอบ Condenser
รายละเอียดของการประกอบ Codenser
ตรวจสอบการรั่วไหลน้ายาในระบบ ◦ ข้อสังเกตุ Condenser มักจะมีการรั่วบริเวณฝา Condenser เนื่องจากเป็นจุดเชือ่ มต่อจึงต้องมี การตรวจสอบบริเวณดังกล่าวอย่างละเอียด ◦ เทคนิค ในการตรวจสอบการรั่วไหลหากมีเครื่องมือตรวจสอบโดย Infrared จะสามารถ ตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๕.การประกอบชิลเลอร์
รายละเอียดของการประกอบ Chiller
ตรวจสอบการรั่วไหลของน้ายาในระบบ ◦ ข้อสังเกต Chiller มักจะมีการรั่วไหลบริเวณข้อต่อของท่อทางเข้า ออก Chiller
การติดตั้ง ◦ เทคนิค ควรติดตั้งให้ Chiller อยุ่ในลักษณะตั้งให้สารทาความเย็นระเหยเป็นไอได้หมดก่อน เข้า Compresser เนื่องจากหาก Chiller อยุ่ในลักษณะนอน ทางเข้าและออกของ Chiller จะอยู่ ในระดับเดียวกัน ทาให้สารทาความเย็นที่กลับเข้า Compresser ยังมีสถานะของเหลวอยู่บ้าง ได้
๖.การประกอบมอเตอร์พัดน้้าต่าง ๆ
รายละเอียดของการประกอบ พัดน้้าต่าง ๆ
พัดน้าประกอบด้วยพัดน้าเย็น จานวน 2 ชุด พัดน้าระบายคอนเดนเซอร์จานวน 1 ชุด ◦ เทคนิค เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นในการใช้งานควรมีท่อทาง Bypass เพื่อให้สามารถรับน้า ระบายคอนเดนเซอร์จากแหล่งอื่นได้ด้วย ◦ ควรมี หน้าแปลน Flexible ให้กับพัดน้าแต่ละตัว
๗.การเดินท่อทางเพื่อเชื่อมต่อระบบ
รายละเอียดการเดินท่อทางเพื่อเชื่อมต่อระบบ
ในการเดินท่อทางจะต้องประกอบอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในระบบอื่น ๆ ดังนี้ ◦ ◦ ◦ ◦
อุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมิ อุปกรณ์ตรวจวัดกาลังดัน อุปกรณ์ตรวจวัดอัตราการไหล อุปกรณ์กรองสารทาความเย็น ข้อสังเกตุ Drier นั้นควรคานึงถึงชนิดของน้ายาที่ใช้ในระบบ ขนาดของเครื่องทาความเย็น ขนาดท่อน้ายา และค่าความดันลด
การเดินท่อทาง ◦ เทคนิค การประกอบท่อทาง CuNi นั้นจะใช้วิธีการใส่หน้าแปลนแล้วทาการบานแฟร์แทน การเชื่อมหน้าแปลนกับท่อเพื่อป้องกันการรั่วไหลที่เกิดจากแนวเชื่อมไม่ดีและง่ายต่อการ ประกอบ ◦ การเชื่อมรอยต่อของท่อทางจะต้องใช้ลวดเชื่อมที่มีส่วนประกอบเดียวกับท่อทาง
รายละเอียดการเดินท่อทางเพื่อเชื่อมต่อระบบ
การหุ้มฉนวน ◦ ข้อควรระวัง การหุ้มฉนวนนัน้ จะต้องไม่ให้มีอากาศด้านในซึ่งจะทาให้เกิดการคอนเดนซ์ใน ระบบได้
การติดตั้งลิ้นของท่อทางสารทาความเย็น ◦ ข้อสังเกต จะต้องมีลิ้นที่ทางเข้าออก Condenser เพื่อใช้ในการ Pump Down เก็บสารทาความ เย็น
๘.การติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมการท้างานของระบบ
รายละเอียดการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมการท้างานของระบบ
ติดตั้งตู้ Control ในตาแหน่งที่จะไม่โดนความชื้นในระบบรบกวน อุปกรณ์ Safety ที่ควรมีในระบบ Overload Relay ◦ Balance Phase ◦ Flow Switch ◦ High Pressure Switch ◦ Low Pressure Switch ◦ Oil Pressure Switch ◦ Anti Freeze ◦ เทคนิค ในการสตาร์ทคอมเพรสเซอร์ ระบบจะบังคับให้เดินมอเตอร์ขับปั๊มน้าต่าง ๆ ก่อน เสมอจึงจะสามารถสตาร์ทคอมเพรสเซอร์ ได้
๙.การตรวจสอบคุณภาพการติดตั้ง
รายละเอียดการตรวจสอบคุณภาพการติดตั้ง ทา Vacumm เติมน้ายา ทดลองเดินเครื่องตาม Checklist จดบันทึกค่าลงแบบฟอร์มเพื่อตรวจสอบค่าการทางานต่าง ๆ
◦ ค่ากาลังดัน ◦ ค่าอุณหภูมิ ◦ ค่าต่าง ๆ ทางไฟฟ้า
ทดลองเดินเครื่อง
•เตรียมการเดินเครื่อง •เปิดลิ้นน้าดับความร้อนเข้า ออก Condenser •เปิดลิ้นน้าเย็นเข้า ออก Chiller •เปิดลิ้น Discharge และ Suction Valve ของ Compresser •ตรวจดูระดับ นมล.ในห้องแคร้งของ Compressor ให้อยู่ในระดับ ใช้การ ของหลอดแก้ว •ตรวจสิ่งกิดขวางทางหมุนของเครื่อง •การเดินเครื่อง •เดินมอเตอร์ขับปั๊มน้าหล่อ Condenser •เดินมอเตอร์ขับปั๊มน้าหล่อ Chiller •เดินมอเตอร์ขับ Compresser
องค์ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงาน ๑.การถอดประกอบ Compressor 30 HWA 028 ๒.การตรวจสอบรอยรั่วของ Condenser และ Chiller ๓.รูปแบบในการวาง Chiller เพื่อให้เกดิประสิทธิภาพที่ดีในการทา ความเย็น ๔. การประกอบท่อทาง CuNi ๕. การแก้ไขระบบควบคุมการทางานของระบบการทาความเย็น
34
ปัญหาข้อขัดข้อง ๑.ทางโรงงานพยายามสร้างแรงจูงใจให้แก่สมาชิกในชุมชนมี ความสนใจ ใส่ใจในการดาเนินการจัดการความรู้ การแก้ไข ๑.วางแผนการปฏิบัติงานของช่างอย่างเป็นขั้นตอนไม่กระทบกับ การปฏิบัติงานในหน้าที่ ๒.ให้ผู้มีหน้าที่รวบรวมองค์ความรู้ ติดตามประสานงานอย่าง ใกล้ชิดและต่อเนื่อง
รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการเสวนาจัดเป็นแนวทางการจัดท้าเอกสารและ ถ่ายทอดความรู้ต่อไป
จบการนาเสนอ
โรงงานซ่อมท่อ เครื่องเย็นฯ แผนกโรงงานเครื่องกล กงน.กรง.ฐท.สส.