photographer

Page 1

เอกสารวิชาการ

ชางภาพ

กรมอูทหารเรือ (จัดพิมพเมื่อ กันยายน ๒๕๔๘)


สารบัญ หนา บทที่ 1 ประวัติการถายภาพ 1. ผูบุกเบิกการถายภาพ 2. กําเนิดกลองถายภาพ 3. พัฒนาการวาดภาพไปสูการถายภาพ 4. การถายภาพในเมืองไทย

1 2 3 6

บทที่ 2 กลองถายรูป และอุปกรณ 1. พัฒนาการของกลองถายรูป 2. สวนตาง ๆ ของกลองถายรูป 3. ประเภทตาง ๆ ของกลองถายรูป - แบงตามรูปรางและลักษณะของการใชงาน - แบงตามขนาดของกลอง - แบงตามวัสดุที่ใชรับภาพ 4. เทคโนโลยีการถายภาพ 5. อุปกรณตาง ๆ ที่ใชกับกลองถายรูป 6. การรักษากลองถายรูป

32 38 43

บทที่ 3 ความรูเกี่ยวกับการถายภาพ 1. การตั้งหนากลองถายรูป 2. เลนสและความรูเ กี่ยวกับเลนส 3. รูรับแสง เลนสไดอะแฟรม และเอฟสตอป 4. ชัตเตอรและความเร็วชัตเตอร 5. สภาพของแสงและการใชเครื่องวัดแสง 6. ฟลมและความไวของฟลม 7. การปรับโฟกัสหรือการหาระยะชัด 8. ชองมองภาพและการประกอบภาพ 9. ชองระยะชัดกับการถายภาพ 10. ฟลเตอรและความรูเกี่ยวกับฟลเตอร 11. การใสฟลมและการถอดฟลม

47 48 54 56 63 67 70 72 77 80 90

9 11 13


12. ลําดับขั้นของการถายรูป

93

บทที่ 4 การถายภาพแบบตาง ๆ 1. การถายภาพบุคคล 2. การถายภาพทิวทัศน 3. การถายภาพสิ่งกอสราง 4. การถายภาพสิ่งที่เคลื่อนไหว 5. การถายภาพในเวลากลางคืน 6. การถายภาพเงาดําหรือภาพซีลลุเอ็ท 7. การถายภาพวัตถุสิ่งของ 8. การถายภาพดอกไม 9. การถายภาพสัตว

96 110 113 116 120 126 128 130 134

บทที่ 5 การถายภาพดิจิตอล 1. ขนาดภาพ และจํานวนพิกเซล 2. อิมเมจเซ็นเซอร 3. ความลึกของสีและขนาดไฟล 4. อัตราสวนของภาพ 5. ความไวแสง 6. ขนาดภาพ

138 139 144 146 147 149

บทที่ 6 กลองถายภาพดิจิตอล 1. ชนิดของกลองดิจิตอล 2. การจัดเก็บภาพ 3. คุณสมบัติตาง ๆ ในกลองดิจติ อล 4. ฟงกชั่นเมนู - การเปลี่ยนโทนสีของภาพ - การเปลี่ยนโทนภาพมืดหรือสวาง

153 159 169 180

บทที่ 7 วิธีเลือกใชกลองดิจติ อลและการรักษา - เรื่องนารูการใชกลองดิจิตอล - การดูแลรักษากลองดิจิตอล

205 210

บทที่ 8 ระบบควบคุมการทํางานของกลอง - การถายภาพใหคมชัด

222


- ควบคุมการเปดรับแสง - การบันทึกแสงสี - เทคนิคการใชแฟลช

228 238 248

บทที่ 9 การตกแตง อัด ขยาย พิมพภาพดิจิตอล 1. หองมืดดิจิตอล 2. Adobe Photoshop 3. การพิมพภาพดิจติ อล 4. การใชประโยชนจากภาพดิจิตอล 5. ศัพทภาพถายดิจิตอล

254 263 343 357 361

บรรณานุกรม

387


บทที่ 1 ประวัติและเทคโนโลยีการถายภาพ 1. ผูบุกเบิกการถายภาพ ผูบุกเบิกงานดานการถายภาพตั้งแต เริ่มแรกโดยพยายามคิดคนกลองถายภาพและวัสดุไว แสง เพื่อบันทึกสิ่งตาง ๆ เก็บไว ไดแกบุคคลตอไปนี้ หลุยส จักส แมนเด ดาแกร (Louis Jacques Mende Dagurre) ค.ศ.1787 – 1851 เปนผู ประดิษฐคดิ คนกลองถายภาพโดยใชกลอง 2 ใบซอน กัน เนียพฟอร เนียพซ (Nicephore Niepce)ค.ศ.1765 – 1833 ไดคิดคนการทําแมพิมพ ซึ่ง กอใหเกิดวิธีการดาแกโรไทป อันไดรับความนิยมเปน อยางสูงในเวลาตอมา วิลเลี่ยม เฮนรี่ ฟอกซ ทัลบอท (William Hanry Fox Talbot) ค.ศ.1800 – 1877 ไดคนพบ กระบวนการอันเปนหลักการของการถายภาพ สมัยใหม โดยการบันทึกภาพเนกาตีฟไวบนกระดาษ ซึ่งสามารถอัดไดเทาตัวจริงหรือพิมพเพิ่มไดอีก มากมาย โทมัส เวดจวดู (Thomas Wedgwood) ค.ศ.1771 – 1805 ไดคนคิดเรื่องวัสดุไวแสง และการ ใหแสงอันเปนรากฐานของฟลมถายภาพ จอรจ อิสตแมน (George Eastman) ค.ศ.1854 – 1932 เปนผูคิดคนวิธีการถายภาพใหเปน ของงายและราคาเยา เหมาะสําหรับเปนเครื่องเลนของ คนทุกวัย ไดสรางกลองถายภาพทีใ่ ชฟลม มวนถายได 100 ภาพ

ดาแกร

เนียพซ

ทัลบอท

เวดจวูด

อิสตแมน ภาพที่ 1 ผูบุกเบิกการถายภาพ


2

2. กําเนิดกลองถายภาพ ในอดีตมนุษยรูจักการบันทึกสิ่งที่มองเห็น โดยการวาดสิ่งตาง ๆ ลงบนฝาผนังถ้ําเปน ภาพลายเสนงาย ๆ จิตรกรในสมัยกอนพยายามจะวาดภาพใหเหมือนจริงซึ่งตองใชเวลานานและเปนที่ ยุงยาก จนกระทั่งมีการคิดประดิษฐกลองชนิดแรกขึน้ คือกลองออบสคูรา (Obscura) มาใชวาดภาพกัน การใชกลองออบสคูราจิตรกรจะตองเขาไปในตัวกลองซึ่งมีขนาดใหญเทากับหอง ๆ หนึ่งโดยแสงจะ ผานเขาไปในรูที่ขางฝาดานหนึ่งแลวไปปรากฏเปนภาพหัวกลับบนฝาดานตรงขาม แนวความคิดของกลอง ออบสคูราไดมาจากอริสโตเติล (Aristotle) นักวิทยาศาสตรชาวกรีกได บันทึกไวเมื่อ 400 ปกอนคริสตศักราชวา ถาใหแสงผานรูเล็ก ๆ เขาไปในหองมืด แลวถือกระดาษขาวหางจากรูเข็ม 6 นิ้ว แสงที่ผานมาจากภายนอกจะปรากฏภาพ บนกระดาษมีลักษณะหัวกลับแตไมคอย ชัดเจนนัก เมือ่ ศตวรรษที่ 10 ไดมีชาว อาหรับชื่อ อัลฮาเซน(Alhazen) แหง ภาพที่ 2 กลองออบสคูราที่ใชในการวาด เมืองบัสซาราไดพบวาเต็นท ที่มรี ูเล็ก ๆ เมื่อลําแสงสองผานเขาไปภาพกลุมของบุคคลจะปรากฏบนผนังอีกดานหนึ่ง ภาพที่ปรากฏในกลอง ออบสคูราไมสวางเทาที่ควร ในป ค.ศ.1550 กิโลราโม การแดโน (Girolamo Gardano) ชาวอิตาเลี่ยนไดนําเลนสนูน ไปใสไวที่รูรับแสงของกลองจึงทําใหภาพดูสวางขึ้นแตภาพก็ยังไมชัดเทาที่ควร จนถึงป ค.ศ.1568 แดนีล บารบาโร (Daniel Barbaro) ไดคิดมานบังแสง (Diaphragm) เพื่อปรับขนาดรูรับแสงใหกวาง หรือแคบไดตามตองการ จึงทําใหมองเห็นภาพที่ปรากฏมีความชัดมากขึ้น ในศตวรรษที่ 16 จิตรกร ชาว อิตาเลี่ยนชื่อ กายดี และกานาเลตโต (Guidi and Ganaletto) ใชกลองออบสคูราวาดภาพ เมืองเว นิชเปนครั้งแรก การวาดภาพโดยจิตรกรตองเขาไปอยูภายในหองมืดในเวลานาน ๆ นั้นเปนการลําบากตอ การวาดภาพมาก จนถึงป ค.ศ.1769 จอรจ แบรนเดอร (George Brander) ชาวฝรั่งเศสไดประดิษฐกลอง ออบสคูราแบบตั้งโตะโดยสรางตัวกลองเปนกลองสี่เหลี่ยมมืดทึบซอนตอกันหลายใบ ทําใหการรับ ภาพในระยะไกลไดชัดเจนขึน้ ใชกระจกเงาวางมุม 45° รับภาพแทนฝาผนังดานใน ภาพจากกระจกเงา สะทอนขึ้นดานบนจิตรกรสามารถนั่งเขียนจากภาพที่ปรากฏ โดยไมตองเขาไปวาดในหองมืดอีก ตอไป


3 จากความคิดของ กลอง ออบสคูราที่ใชในการวาด ภาพนัน้ นักวิทยาศาสตรก็พยายาม หาทางที่จะใหภาพที่ปรากฏบนฝา ผนังดานในหรือบนกระจกรับภาพ ใหอยูคงทนถาวรโดยพยายามคิดหา วัสดุอะไรไปรับแสงใหเกิดภาพ โดยไมตองวาดใหเสียเวลา

3. พัฒนาการวาดภาพไปสูการถายภาพ

ภาพที่ 3 กลองออบสคูราแบบตั้งโตะ การคนพบสารไวแสง สารเคมีที่ไดรับการคนพบคือซิลเวอรคลอไรด (AgCI) เมื่อป ค.ศ.1663 โรเบิรต บอยล (Robert Boyle) พบวาเมื่อซิลเวอรคลอไรดโดนแสงสวางจะเปลี่ยนเปนสีเขม แตเขากลับคิดวาสารเคมี นั้นเกิดจากการถูกอากาศไมใชแสงสวาง ผูที่ทําการทดลองและยืนยันไดพบวาเกลือเงินจะเปลี่ยนเปนสีดําเมื่อถูกแสงสวางคือ โจ ฮัน เฮน ริช ชุลส (Johann Heinrich Schulze) ชาวเยอรมัน ทดลองในป ค.ศ.1727 โดยผสมชอลค เงิน และกรดไนตริกเขาดวยกันไดเกลือเงินสีขาว เมื่อนําไปถูกแสงสวางจะเปลี่ยนเปนสีดาํ โทมัส เวดจวดู (Thomas Wedgwood) ชาวอังกฤษ ทดลองใชกระดาษหรือหนังสัตวออน แชไวในสารละลายเงินไนเตรท ใชใบไมและปกแมลงวางทับบนกระดาษนําไปถูกแสง จากนั้นจึงเอา ใบไมและปกแมลงออกจึงมองเห็นบริเวณพื้นกระดาษสวนนัน้ เปนสีขาว สวนบริเวณที่โดนแสงเปน เงาดํา และพบวาหากใชวัสดุบาง ๆ ใหแสงลอดผานไปไดบางสีของภาพที่ไดจะเปนสีเทา แตภาพที่ เกิดขึ้นนัน้ ไมคงสภาพโดยสวนของสีขาวจะเริ่มมืดและคอย ๆ ดํามืดทั้งแผน การถายภาพโพสิตีฟ ภาพแรกของโลกเปนภาพถายโพสิตีฟถายโดย โจเซฟ เนียพฟอร เนียพซ (Joseph Nicephore Niepce) ชาวฝรั่งเศส เมื่อป ค.ศ.1826 ถายภาพอาคารที่อยูตรงขามกับหองทํางานของเขาที่ เมืองแกรส (Grass) ดวยกลองออบสคูราใชเวลา 8 ชั่วโมง โดยใชแผนดีบุกผสมตะกั่วฉาบดวยสารบีทู เมนสีขาว (White Bitumen) ถายเสร็จแลวนําไปลางดวยสวนผสมของน้ํามันจากตนลาเวนเดอร (Lavander) บริเวณที่ไมถูกแสงสารบีทูเมนจะถูกลางหลุดออกไป บริเวณทีถ่ ูกแสงสารบีทูเมนจะ แข็งตัวเหลือเปนแผนดีบกุ ผสมตะกั่ว ซึ่งมีสีดําเปนภาพโพสิตีฟ เนียพซตั้งชื่อกระบวนการถายภาพนี้ วาเฮโลกราฟฟ (Heliography) มีความหมายวาภาพทีว่ าดโดยดวงอาทิตย


4 กระบวนการถายภาพโดยใชสารบีทูเมนยังไมเปนที่แพรหลาย เนื่องจากสารบีทูเมนมี ความไวแสงต่าํ จะถายภาพหนึ่งตองใชเวลานาน และภาพที่ไดยังมีคณ ุ ภาพไมดีพอ แตวิธีการนี้กน็ บั วา เปนผลงานตนแบบการถายภาพที่นักวิทยาศาสตรรุนหลังไดนําไปคิดและพัฒนาตอไปอีก กระบวนการดาแกโรไทป (Daguerrotype) พัฒนาการถายภาพที่ใชเวลาลดลงจาก 8 ชั่วโมงเปน 30 นาที โดยหลุยส จักส แมนเด ดา แกร (Louis Jacques Mande Daguerre) จิตรชาวฝรั่งเศสนําแผนทองแดงชุบผิวดานหนึ่งดวยเงินแลว อาบดวยไอโอดีน แผนโลหะที่ชุบเงินกลายเปนสีเหลืองซึ่งเกิดจากเงินกับไอโอดีน (Ag+I2) นําแผน โลหะดังกลาวไปถายภาพในกลองออบสคูราใชเวลาถายประมาณ 30 นาที แลวนําเงินโลหะออกมาอัง ไอปรอท (Mercury Vapour) ภาพจะปรากฎขึ้นที่ละนอย เมื่อไดภาพชัดเจนเต็มที่แลวนําไปลางในน้ํา กลั่นซึ่งผสมดวยไฮโปเปนการคงสภาพ จากนั้นทําใหแหงดวยการลนเปลวไฟขัน้ สุดทายหุมดวยแกว อีกชั้นหนึ่ง เพือ่ ปองกันผิวปรอทที่ละเอียดออนหลุด และปองกันการเกิดปฏิกิริยาของเงินกับออกซิเจน การทดลองดังกลาวของดาแกรไดแสดงที่โรงแรมแกรนดในปารีส เมื่อป ค.ศ.1839 ลักษณะของภาพตาม กระบวนการดาแกโรไทปจะไดภาพที่ ละเอียดคมชัด ลักษณะของภาพจะกลับซาย เปนขวา เหมือนภาพในกระจกเงาถายได เพียงครั้งละ 1 ภาพ นําไปอัดขยายซ้ําไมได ผูที่ตองการถายภาพจะตองมีความอดทนใน การนั่งนิ่ง ๆ เปนเวลาครึ่งชั่วโมงเพราะ ความไวแสงของน้ํายาต่ํา รานถายภาพจึงทํา แกนเหล็กจับยึดศีรษะ ดานหลังเพื่อบังคับ ภาพที่ 4 การถายภาพทีใ่ ชเวลานาน ใหลูกคานั่งไดนิ่ง ๆ จนกวาจะบันทึกภาพ เสร็จ การคิดคนภาพเนกาตีฟ ความตองการที่จะไดภาพโพสิตีฟจํานวนมาก ๆ ในการถายภาพครั้งเดียว นั่นคือการ คิดคนภาพเนกาตีฟเปนภาพตนฉบับ แลวนําไปถายทอดใหเปนภาพโพสิตีฟจํานวนมาก ๆ เกิดจากการ วิจัยคนควาของ วิลเลี่ยม เฮนรี ฟอกซ ทัลบอล (William Henry Fox Tolbot) นักวิทยาศาสตรและนัก คณิตศาสตรชาวอังกฤษในป ค.ศ.1840 ไดพบกระบวนการถายภาพจากเนกาตีฟเปนโพสิตีฟใหชื่อ กระบวนการนี้วา แคโลไทพ (Calotype) ซึ่งมาจากภาษากรีก 2 คํา คือ Kalos (beautiful) และ typos (impression) รวมแลวมีความหมายวา ความประทับใจในภาพที่สวยงาม แตเพื่อน ๆ ของเขาแนะนําให ใชชื่อวา ทัลโบไทพ (Talbotype) ตามชื่อของเขา


5 กระบวนการทัลโบไทพเริ่มตนจากการถายภาพใหเปนเนกาตีฟ โดยนําเอากระดาษที่ฉาบ ผิวหนาดวยซิลเวอรไอโอไดดใสไปในกลองถายภาพ บันทึกภาพเสร็จแลวนํากระดาษที่ผานน้ํายา สรางภาพ ซึ่งมีชื่อวา แกลโลไนเตรทออฟซิลเวอร (Gallo nitrate of silver) ภาพจะคอย ๆ ปรากฏขึ้น จนไดความเขมพอดีจึงลงในน้ํายา คงสภาพซึ่งมีสวนผสมของโปรแต สเซียมโบรไมด และไฮโป ภาพที่ ไดนี้จะเปนภาพเนกาตีฟตอจากนั้น จึงนําภาพเนกาตีฟอัดลงบน กระดาษที่อาบผิวหนาดวยเงินคลอ ไรดลางกระดาษแผนใหมทถี่ ูกฉาย แสงนี้ดวยน้ํายาสรางภาพและน้ํายา คงสภาพ จึงไดภาพโพสิตีฟที่ สมบูรณเหมือนวัตถุที่ถายในครั้ง ภาพที่ 5 กระบวนการทัลโบไทพโดยทัลบอท แรก เพลทเปยก (Wet plate) กระบวนการนี้ไดพัฒนาวัสดุที่ใชถายจากแผนโลหะมาเปนกระจกและลดเวลาการ ถายภาพใหนอยลงโดยใชเวลาเพียง 3 วินาทีเทานั้น ผูที่คิดกระบวนการเพลทเปยกคือชางแกะสลักชาวอังกฤษชื่อ เฟรดเดอริค สก็อต อาร เชอร (Frederick Scolt Archer) ในป ค.ศ.1851 เขาทํากระดาษไวแสงใหมีความไวแสงมากขึ้นโดยใช กันคอตตอน (Gun cotton) ละลายในแอลกอฮอลและอีเธอรจะไดสารละลายเรียกวาโคโลเดียน (Collodion) มีชื่อทางเคมีวา เซลลูโลสไนเตรท (Cellulose Nitrate) มีลักษณะเปนของเหลวขนนําไป ฉาบบนแผนกระจก แลวจุม ลงในสารละลายเงินในเตรท และถายภาพขณะทีย่ ังเปยกอยูเ พราะจะทํา ปฏิกิริยากับแสงไดเร็ว ถาแผนกระจกแหงจะทําปฏิกริ ิยากับแสงชาลง เพื่อถายภาพเสร็จก็นําแผน กระจกไปลางในน้ํายากรดไพโรแกลลิก (Pyrogallic Acid) 2-3 วินาที ภาพจะคอย ๆ ปรากฏขึ้นจน พอดีแลวจึงคงสภาพดวยน้ํายาไฮโป เสร็จแลวจึงลางดวยน้ําทําแหงดวยการอังเปลวไฟออน ๆ ใช น้ํามันชักเงาฉาบแผนกระจกเพื่อปองกันความชื้นและรอยสกปรก เพลทแหง (Dry plate) เนื่องจากเพลทเปยกมีความไมสะดวกในการทํางาน เพราะผูถายภาพจะตองเตรียม กระโจมหองมืด ขวดน้ํายาและอุปกรณอื่น ๆ ชางภาพจะตองมีความชํานาญทําอยางรวดเร็วตองถายให เสร็จกอนที่เพลทจะแหง และสารโคโลเดียมมีกลิ่นเหม็น ยิ่งอากาศรอน ๆ ตองเขาไปอยูในกระโจม หองมืดที่อบอาวนับวาเปนการทํางานที่ยากลําบาก ดังนัน้ ในป ค.ศ.1871 นายแพทยชาวอังกฤษชื่อ ดร.


6 ริชารด ลีช แมคดอกซ (Dr. Richard Leach Maddox) ไดคิดทําน้ํายาไวแสงโดยใชสารเจลาติน (Gelatin) แทนโคโลเดียนทีม่ ีกลิ่นเหม็นผสมกับแคดเมียมโบรไมดและเงินไนเตรท ฉาบลงบนกระจก ผึ่งใหแหงในหองมืด เมือ่ แหงแลวจึงนําไปถายภาพ แมดดอกซ เรียกเพลทเจลาตินแหงนี้วา กระบวนการปราศจากกลิ่น (Ordorless process) ในป ค.ศ.1978 ชารล เบนเนท (Charles Bennet) ไดพบวิธกี ารทําเพลทแหง เชนเดียวกับแมดดอกซ แตมีวิธีการที่ดีกวา คือ เตรียมเพลทจากแผนเจลาติน เชน เงินโบรไมด (gelatin silver bromide) เพลทมีความไวแสงเพิ่มขึ้นสามารถถายภาพไดโดยใชเวลาเพียง 1/25 วินาทีเทานั้น ฟลมมวนกระดาษโปรงแสง ฟลมถายภาพมีการพัฒนาติดตอกันมาจนถึงป ค.ศ.1888 ยอรจ อีสตแมน (George Eastman) ชาวอเมริกัน ไดผลิตเพลทแหงใหใชกับกลองถายภาพแบบมือถือรุนแรกเปนรูปสี่เหลี่ยม มี ชื่อวากลองบอกซ โกดัก (Kodak Box Camera) ฟลมเปนกระดาษโปรงแสงฉาบน้ํายาเจลาตินโบรไมด เปนมวนยาวถายได 100 ภาพติดตอกัน ฟลมมวนเซลลูลอยด ในป ค.ศ.1889 อิสตแมนไดนําเซลลูลอยดมาใชเปนฟลมถายรูปแทนกระดาษโปรงแสง อันเปนจุดเริ่มตนของการผลิตฟลมที่ใชกันในปจจุบนั ฟลมในปจจุบันมีบริษัทผูผลิตจําหนายหลาย บริษัท มีทั้งฟลมเนกาตีฟและโพสิตีฟ ฟลม สีและขาวดํา ฟลมมีขนาดตาง ๆ กัน ทัง้ เปนมวนและเปน แผนตามลักษณะของกลองถายภาพแตละชนิด

4. การถายภาพในเมืองไทย อเนก นาวิกมูล (2530:14) ไดกลาวถึง การถายภาพเมืองไทยสมัยแรก ๆ ไวดังนี้ เมืองไทย เริ่มมีการถายภาพครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 โดย สังฆราชชาวฝรั่งเศสชื่อ ปาเลอกัว เกิดในสมัย รัชกาลที่ 1 พออายุ 20 ปก็บวชเปนพระและเดิน ทางเขามาเมืองไทยทั้ง ๆ ที่ยังพูดภาษาไทยไมไดเลย แมแตคําเดียว การถายภาพครั้งแรกนี้จะถายไดครั้ง ละ 1 รูปอัดซ้ําไมได เรียกวา ถายภาพระบบดาแกโร ไทป คนไทยยังไมกลาถายรูปกันเพราะเกรงวาจะทํา ใหอายุสั้น ชาวสยามคนแรกที่ถายรูปเปนคือ พระยา กระสาปนกจิ โกศล (นายโหมด อมาตยกุล) นอกจากนั้นยังมีชางถายภาพรุนแรกคนอืน่ ๆ คือ

ภาพที่ 6 สังฆราชปาเลออกัว


7 - พระปรีชากลการ (นายสําอาง อมาตยกุล) ลูกชายของนายโหมด - หลวงอัคนีนฤมิตร (นายจิตร จิตราคนี) เปนชางภาพหลวงสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาล ที่ 5 เปนขุนสุทนทรสาทิศลักาษณมากอน ตั้งรานอยูที่แพลอยน้ําหนาวัดกุฎจี ีนหรือวัดซางตาครูซ ตรงขามกับปากคลองตลาด - กรมหมื่นอลงกฎกิจปรีชา นองชายคนหนึ่งของรัชกาลที่ 4 ไมพบผลงานถายภาพ แตพบ บันทึกในหนังสือรัชกาลที่ 4 ที่เขียนไวในหนังสือการเดินทางไปสูมะละกาอินโดจีนและจีน หรือสิบปแหงการทองเที่ยวการผจญภัยและการพํานักในตางแดน ทรงเขียนไววาโปรดใหกรม หมื่นอลงกฎฯ เปนผูพาเขาเที่ยวชมพระราชวัง เพราะพระเจานองยาเธอเปนผูมีความเขาใจดีในงาน ถายรูป สมัยรัชกาลที่ 4 (พ.ศ.2394 – 2411) มีรานถายรูป ของคนไทยทีร่ ับจางถายภาพโดยตรง เปนของนายจิตร หรือขุนสุนทรสาทิศลักษณ เมื่อ พ.ศ.2406 เปนราน ถายรูปแหงแรกของชาวสยาม พระบาทสมเด็จพระจอม เกลาเจาอยูห ัว เปนพระมหากษัตริยไทยองคแรกที่ฉาย พระรูปใหปรากฏไวในสมัยนี้ นอกจากจะมีการถายรูป ดวยระบบดาแกโรไทปแลว ยังถายดวยระบบกระจก เปยก (Wet plate) อีกดวย สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ กลาว ภาพที่ 7 สมเด็จกรมพระยาดํารงฯ วาเมื่อแรกมีชา งถายรูปนั้น ไมคอยมีใครยอมถายรูปกัน เพราะเกรงวาจะเอาไปใชทํารายดวยเวทมนต ขนาด ขุนนางชั้นสูงก็ยังไมยอมถายรูป มีอยูคนหนึ่งไปถายรูป ที่รานนายจิตร ซึ่งเปนชางถายรูปที่มีชื่อเสียงสมัยรัชกาล ที่ 4 นายจิตรถายใหครึ่งตัว พอเจาของไปรับรูปก็ตกใจตี โพยตีพายวาจะตัดตัวใหเปนอันตรายไปเสียอีก สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ พระ บิดาแหงประวัติศาสตร ก็เปนเจานายพระองคหนึ่งที่ ภาพที่ 8 เจาจอมเอิบ บุนนาค กําลังถายรูปบิดา สนพระทัยการถายรูปมาก ไดทรงถายรูปในวังวรดิต บานเมืองและประชาชนตาง ๆ ระหวางเสด็จตรวจงาน เปนอัลบั้มหลายชุด


8 สมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ.2411-2452) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัว และ เจานายบางพระองค ไดเริ่มสนพระทัยถายรูปเองใน ปลายรัชกาลไดทรงเลนกลองอยางจริงจัง เมื่อเสด็จ ประพาสไป ณ ที่ใด ๆ นายและขุนนางตลอดจน พอคา ขาราชการ นิยมเลนกลองถายรูปกันอยาง แพรหลาย รานถายรูปในสมัยรัชกาลที่ 5 ก็เพิ่ม ปริมาณขึ้นจากสมัยรัชกาลที่ 4 มาก ปรากฏวาใน ภาพที่ 9 รานถายรูป สมัย ร.5 กรุงเทพ ฯ สมัยนั้น มีสตูดิโอถายรูป 20 กวาแหง ลูกคาสวนใหญเปนเชื้อพระวงศ ขุนนาง พอคา คนมี เงิน สวนชาวบานทั่วไปยังไมคอยรูจักถายรูปกันนัก ในป พ.ศ.2447 ไดทรงจัดใหมีการอวดรูป ขึ้นเปนครั้งแรกในงานไหวพระพุทธชินราช วัดเบญจมบพิตร จัดใหมีรานถายรูปหลวงดวย พระองคจะเสร็จไปแวะเปนประจําทุกคืน บางครัง้ จะ ทรงเปนชางถายรูปเองดวย ในป พ.ศ.2448 ไดจัดใหมีการประกวดรูปขึ้นเปนครั้งแรก มีผูสงเขา ประกวดถึง 140 คนมีรูปถายทั้งสิ้น 1,184 รูป การถายรูปในป พ.ศ.2423 ยังใชวิธีถายระบบกระจกแหง (Dry plate) จนถึงป พ.ศ.2448 ในราชสํานักมีการถายรูปดวยฟลมเซลลูลอยดควบคูไ ปกับการถายดวยกระจก แตสว นใหญยังนิยมใช กระจกกันอยูห ลายป ตอจากสมัยรัชกาลที่ 5 วิชาถายภาพ ก็เปนที่รูจกั กันแพรหลายและไมกลายเปนของ แปลกอีก ตอไป ปจจุบันเมืองไทยมีรานถายรูปทั่วทุกแหงจนกลายเปนธุรกิจอยางหนึง่ มีการถายภาพ โดยใชกลองโพราลอยดซึ่งจะไดภาพภายใน 1 นาที มีรานโฟโตฟาสตที่สามารถจะบริการลูกจาอัด ขยายภาพจากฟลมที่ถายมาแลวไดภายใน 23 นาที นอกจากนัน้ ธุรกิจที่สําคัญอีกอยางหนึ่งคือ การ ถายภาพโฆษณาซึ่งเปนหัวใจของการผลิตภาพ เพื่อลงในวารสาร นิตยสารตาง ๆ ดังนั้นวิชาการ ถายภาพจึงจัดใหมีสอนในสาขาวิชาตาง ๆ สําหรับผูเรียนสาขาการถายภาพเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทางการศึกษา นิเทศศาสตร ในสถาบันการศึกษาตาง ๆ และยังแยกแขนงยอยสําหรับงานถายภาพ เฉพาะดาน เพือ่ ผลิตชางภาพใหมีความสามารถในการถายภาพตอไป


9

บทที่ 2 กลองถายรูปและอุปกรณ 1. พัฒนาการของกลองถายรูป - กลองออบสคูรา (obscura) เปนกลองมืดที่เจาะรูเล็ก ๆ ดานหนึ่ง เมือ่ แสงผานรูเล็ก ๆ นั้น ไปกระทบที่ฝาดานตรงขาม จะเกิดเปนภาพหัวกลับ ตอมาจึงมีการคิดนําเอาเลนสและมานรูรับ แสงไปชวยศิลปนจะใชเปนเครื่องชวยวาดรูป - ป ค.ศ.1820 ดาแกร (Daguarre) เนียพย (Niepce) ชาวฝรั่งเศสและทัลบอต (Talbot) ชาว อังกฤษ คิดประดิษฐกลองถายภาพมีลกั ษณะเปนกลองไมมีเลนสติดอยูดา นหนา ใชแผนกระจกเคลือบ น้ํายาเปนฟลมถายไดครั้งละ 1 ภาพ - ป ค.ศ.1885 สามารถใชฟลมกระจกถายไดทีละหลายภาพ ฟลมแผนวางซอนกันอยูเมื่อ ถายแลวแผนฟลมจะพับตกลงไปในสวนลางของตัวกลอง - ป ค.ศ. 1888 บริษัท Eastman ผลิตกลองที่ใชกับฟลมมวนถายไดจํานวน 100 ภาพ เมื่อ ถายเสร็จจะตองสงกลองและฟลมไปใหบริษัทบรรจุฟลมมวนใหมมาให - ป ค.ศ. 1890 มีการประดิษฐกลองพับ (Folding Camera) ฝาเปดปดดานหนามีบานพับ เมื่อเปดฝาเลนสจะยืดออกมา - ป ค.ศ. 1913 นายออสกา บารแนค(Oskar Barnack) ประดิษฐกลองใชกับฟลมภาพยนตร 35 มม.

ภาพที่ 10 พัฒนาของกลองถายภาพแบบตาง ๆ


10 - ป ค.ศ. 1923 บริษัท ไลทซ (Leitz) ไดผลิตกลองไลกา (Leica) ออกจําหนายใชกับฟลม ขนาด 35 มม. - ป ค.ศ. 1905 เยอรมันมีโรงงานผลิตกลองถายภาพสิบกวาแหง เลนสผลิตจากโรงงาน Zeiss เปนสวนใหญ

กลองถายภาพ และสวนประกอบ กลองถายรูปเปนอุปกรณทสี่ ําคัญที่สุดที่ใชในการบันทึกภาพ ที่เรียกกันวา “การถายรูป” หลักในการเกิดภาพมีดังนี้คอื เมื่อแสงสวางสองไปยังวัตถุแสงจะสะทอนกลับไปยังกลองถายรูปโดย ผานเลนสเขาไปภายในกลอง ผานชัดเตอรซึ่งเปนตัวกําหนดชวงเวลาที่แสงผาน ผานรูรับแสงหรือ เลนสไดอะแฟรมซึ่งเปนตัวกําหนดพืน้ ที่ที่แสงผาน แลวผานตอไปยังฟลมถายรูปซึ่งเปนวัสดุไวแสง และเมื่อถายรูปตอๆ ไปจนกระทั่งฟลมหมดมวน นําฟลมออกจากกลองถายรูปไปลาง เมื่อไดฟลมเนกา ตีฟที่ผานกระบวนการลางฟลมมาแลว นําเนกาตีฟนีไ้ ปเขาเครื่องอัดขยายรูป โดยใหแสงผาน ฟลมเนกาตีฟลงไปบนกระดาษ แลวนํากระดาษไปลางตามขบวนการลางกระดาษ ก็จะไดรูปภาพถาย ตอไป

หากจะเปรียบกลองถายรูปกับนัยนตาของมนุษยแลว กระเปาะนัยนตาก็มีสภาพคลายกับ ตัวกลองถายรูป ที่หนาของกระบอกตาจะมีเลนสซึ่งที่กลองถายรูปก็จะมีเลนสเชนเดียวกันผิดกันแตวา นัยนตาของมนุษยดีกวาของกลองถายรูปมาก เมื่อแสงถูกสองไปยังวัตถุแสงนี้จะสะทอนผานเลนสตา เขาไปในกระบอกตา และไปปรากฏภาพที่เรตินา (Retina) ซึ่งอยูดานหลังของกระบอกตา เรตินานี้จะ ทําหนาที่คลายกับฟลมถายรูปนั่นเอง โดยทําหนาที่รับภาพและสงตอไปยังสมอง สวนฟลมถายรูปนั้น จะทําหนาที่บนั ทึกภาพเอาไวเพื่อรอการนําไปลางตอไป นอกจากนี้ภายในกลองถายรูปยังมีกลไกที่ ชวยในการควบคุมปริมาณของแสงที่จะเขาไปทําปฏิกิริยากับฟลมกลไกนี้เราเรียกวา “เลนส ไดอะแฟรม” (Lens Diaphragm) ทําหนาที่เปนตัวกําหนดขนาดของรูรับแสงภายในกลองถายรูป แสง


11 จะสะทอนจากวัตถุเขาไปทําปฏิกิริยากับฟลมถายรูปมากหรือนอยเพียงใดขึ้นอยูก ับกลไกนี้ หากจะ เปรียบเทียบกับนัยนตาของมนุษยก็คือ “มานตา” (Iris) ที่สามารถขยายใหมีขนาดกวางขึ้น หรือ หดให มีขนาดเล็กลงไดตามสภาพของแสงในขณะนัน้ เชน หากอยูในสภาพที่มีแสงสวางมาก ขนาดของชอง มานตาก็จะหรีเ่ ล็กลง และถาหากอยูใ นสถานที่ที่มีแสงนอย เชน การเดินเขาไปในโรงภาพยนตรทมี่ ืด ขนาดของชองมานตาก็จะขยายใหใหญขึ้น

2. สวนตาง ๆ ของกลองถายรูป สวนตาง ๆ ของกลองถายรูปในแตละชนิดอาจมีขอปลีกยอยแตกตางกันไปบางตามชนิด และราคาของกลองถายรูป แตอยางไรก็ตามโดยทั่วไปแลวไมวาจะเปนกลองถายรูปชนิดใด จะราคา ถูกหรือแพงเพียงใดก็ตาม กลองถายรูปจะตองมีสวนประกอบที่สําคัญดังตอไปนี้คอื เลนสกระบอก เลนส รูรับแสง ชัตเตอร ฟลม และชองมองภาพ


12 สวนตาง ๆ ของกลองถายรูปโดยทั่วไป ไมวาจะเปนกลองใด ๆ ก็ตาม จะตองมีสวน ตาง ๆ ดังตอไปนี้คือ 1. เลนส (Lens) มีหนาที่รบั แสงที่สะทอนจากวัตถุผานเขาไปยังฟลม ซึ่งอยูภายในตัว กลองถายรูป เลนสนี้จะทําหนาที่ขยายภาพของวัตถุใหมขี นาดใหญขึ้น เชน กลองที่ใชในวงการพิมพ หรือมีหนาทีย่ อ ขนาดใหภาพมีขนาดเล็กลงกวาวัตถุ เชน กลองถายภาพโดยทัว่ ไปเลนสของกลอง ถายรูปนี้มีตั้งแตกระจกเพียงชิ้นเดียว เชน เลนสของกลองบอกซ หรือ กลองอินสตราเมติก หรือ อาจจะประกอบดวยกลุมของเลนสตั้งแต 4 – 6 ชิ้น ขึ้นไป เชน เลนสของกลองสะทอนเลนสเดี่ยว เปน ตน 2. กระบอกเลนส เปนสวนที่ตอออกมาจากตัวกลองไปยังเลนส เพือ่ ใหสามารถปรับ ระยะระหวางเลนสถึงฟลมได การปรับระยะระหวาเลนสถึงฟลมนี้เราเรียกวา “การปรับโพกัส” ซึ่งทํา ไดโดยการหดเลนสเขาหรือยืดเลนสออกนั่นเอง สวนที่เปนกระบอกเลนสนี้มีทงั้ ชนิดที่ทําดวยโลหะ และชนิดที่ทําดวยหนัง เชน กลองพับ 3. เลนสไดอะแฟรม หรือ รูรับแสง เลนสไดอะแฟรม (Lens Diaphragm) เปนกลีบโลหะ ที่ควบคุมขนาดของรูรับแสง จะพบในกลองชั้นดีโดยทัว่ ไป กลีบโลหะนีจ้ ะปรับขนาดของรูรับแสง (Aperture) ใหมีขนาดใหญหรือเล็กไดตามใจชอบ โดยมีตัวเลขบอกที่วงแหวนรอบเลนสตัวเลขนี้เรา เรียกวา “เอฟสตอป” หรือ “เอฟนับเบอร” 4. ชัตเตอร (Shutter) เปนตัวควบคุมเวลาที่แสงจะผานไปยังฟลม ซัตเตอรนี้มีทั้งชนิดที่ อยูระหวางเลนส และ ซัตเตอรมาน ที่อยูด านหลังของตัวกลอง ดานหนาของฟลม ในการนี้จะมีตัวเลข ที่บอกชวงเวลาที่แสงจะผานไปยังฟลม เราเรียกวา “ความเร็วของชัตเตอร” (Shutter Speed) 5. แผนรองรับฟลม เปนสวนที่ฟลมจะตองเคลื่อนผาน แผนนี้จะเปนตัวที่บังคับฟลมใหมี ลักษณะราบเรียบเพื่อรอรับแสงที่ผานเลนสเขามา 6. ชองมองภาพ (View finder) เปนชองมองภาพของผูทําหนาที่ถายภาพไดมองไปยัง วัตถุที่ตองการถาย เพื่อที่ผูทที่ ําหนาที่ถายภาพจะไดปรับโฟกัสหรือหาระยะชัด ประกอบภาพชองมอง ภาพนี้มีทั้งชนิดที่เกิดความเหลื่อมของภาพ และ ชนิดทีไ่ มเกิดความเหลี่อมของภาพ


13 สวนตาง ๆ ของกลองถายรูป

3. ประเภทตาง ๆ ของกลองถายรูป ในปจจุบนั กลองถายรูปไดมผี ูประดิษฐออกมาจําหนายหลายประเภทดวยกัน ในแตละ ประเภทก็มีขอแตกตางออกไป บางประเภทก็มีราคาถูก ใชงาย และมีระบบภายในไมซับซอน เหมาะ สําหรับนักถายภาพสมัครเลน แตภาพที่ไดมามักมีคุณภาพต่ํา บางประเภทก็มีราคาแพง มีระบบภายใน ยุงยากซับซอน หากรูจักวิธีการใชที่ถูกตองแลว การถายภาพนัน้ ก็จะทําไดโดยวิธกี ารที่ไมยุงยากนัก และภาพที่ไดก็จัดวามีคุณภาพดีมาก ในกลองถายรูปแตละประเภทจะมีคุณสมบัติที่แตกตางกันออกไป บางชนิดมีขอดีใน เรื่องหนึ่ง แตอาจจะมีขอเสียในอีกเรื่องหนึ่ง เนื่องจากไมมีกลองใดทีม่ ีคุณสมบัติดที ี่สุดครบถวนอยูใน กลองเดียวกัน ดังนั้นกอนที่จะซอกลองถายรูปจึงควรจะตองตั้งคําถามตัวเองกอนวาควรจะเลือกซื้อ กลองประเภทใด งบประมาณที่จะใชในการซื้อกลองมีอยูเทาใด ใชอุปกรณประกอบกลองอะไรบาง ตองการนําไปถายภาพประเภทใดบาง เมื่อไดทราบวัตถุประสงคอยางกวาง ๆ นี้แลว การเลือกซื้อกลอง ถายรูปก็จะทําไดงายขึ้น


14 โดยทั่วไปแลวในกลองถายรูปก็มักจะมีลักษณะที่เหมือนกันในเรื่องที่ไดกลาวมาแลวคือ ประกอบดวยเลนส ตัวกลอง เครื่องควบคุมแสงอันประกอบดวย รูรับแสง และ ชัตเตอรแผนรองรับ ฟลม ชองมองภาพ ฯลฯ แตสวนอื่น ๆ ของกลองถายรูปนั้นจะมีขอที่แตกตางกันออกไป เชน คุณภาพ ในการใชงาน และ กลไกประกอบพิเศษตาง ๆ ซึ่งแลวแตบริษัทผูผลิตจะไดดดั แปลงทําขึ้น การแบงประเภทของกลองถายรูปตามรูปรางและลักษณะของการใชงาน ซึ่งแบงออกได เปน 8 ประเภทดวยกันคือ 1. กลองบ็อกซ (Box Cameras) เปนกลองที่มีกลไกไมยงุ ยากซับซอน จัดไดวาเปนกลอง ประเภทแรกทีไ่ ดมีผูผลิตขึ้นมาใชในโลก ปจจุบันนีเ้ กือบจะไมพบกลองชนิดนีว้ างจําหนายแลว กลอง ประเภทนี้มีวิธกี ารใชงายมาก เพียงแตขึ้นซัตเตอรและมองผานไปยังวัตถุโดยผานชองมองภาพ ไมตอ ง ปรับโฟกัสก็สามารถถายภาพไดแลว

กลองบ็อกซนี้จะมีหนากลองตายตัว หรือ มีหนากลอง (F-Stop) เพียง 2-3 อัตรา เชน เอฟ/8, เอฟ/11, เอฟ/16 และมีอัตราความเร็วของซัตเตอรคงที่เพียงอัตราเดียวคือประมาณ 1/50 วินาที ฉะนัน้ การใช กลองถายภาพชนิดนี้ควรใชเฉพาะวัตถุทหี่ ยุดนิ่งไมเคลื่อนที่ถายในสถานที่มีแสงสวางมากเพียงพอ เชน กลางแจง ระยะของการถายใกลสุด 6 ฟุต จนถึงระยะไกลสุด กลองชนิดนี้จึงเหมาะสําหรับผูที่เริ่ม เลนกลองใหม ๆ คุณภาพที่ไดจากการถายภาพดวยกลองประเภทนี้ ไดภาพที่มีคุณภาพไมดีนกั


15

กลองบ็อกซ จัดวาเปนกลองชนิดแรกที่ถูกผลิตขึ้นมาใชในโลก นับวาเปนกลองที่เหมาะแกการนํามาเปนตัวอยางในการสอนเรื่องกลองถายรูป 2. กลองพับ (Folding Camere) เปนกลองที่มีลักษะคลายกลองบ็อกซ แตชวงระหวาง เลนสถึงตัวกลอง จะมีกระดาษหรือหนังซอน ๆ กันเปนกลีบ ๆ ยืดหรือพับได มีลักษณะเปนลูกฟูก หรือ กระโปรง (Bellow) กลองพับที่มีคุณภาพดีจะมีเลนสชนิดดี ซัตเตอรมีความเร็วสูง มีกลไกตั้งแต วงแหวนสําหรับปรับโฟกัสจนถึงสวิตชไฟแวบ มีทั้งชนิดใชฟลมมวนขนาด 3 นิ้ว หรือ ฟลมนัมเบอร 120 เหมือนกลองบ็อกซ บางชนิดใชฟลม แผนหรือกระจก กลองพับเปนกลองทีส่ ามารถนําติดตัวไป ตามที่ตาง ๆ ไดสะดวก ใชในการถายภาพระดับตาไดอยางรวดเร็วฟลมที่ใชมีขนาดใหญเหมาะแกการ นํามาขยายเปนภาพขนาดใหญ ขอเสียของกลองถายรูปชนิดนี้คือลูกฟูก หรือ กระโปรงเมื่อเกาอาจรั่ว และคนหารูรวั่ ไดยาก ปจจุบันกลองชนิดนี้จึงหมดความนิยมไปเปลีย่ นมาเปนกลองมินิเอเจอร และ กลองสะทอนเลนสเดี่ยวแทน


16 3. กลองสะทอนเลนสเดี่ยว (Single Len Reflex) เปนกลองที่กําลังไดรับความนิยมมาก ในปจจุบนั นี้ กลองชนิดนี้มีราคาคอนขางแพงเมื่อเทียบกับกลองมินิเอเจอร แตประสิทธิภาพในการ ทํางานดีกวา คือใชประโยชนในการถายภาพสไสดไดดี โดยไมเกิดความเหลื่อมของภาพและ นอกจากนั้นยังเปนกลองที่สะดวกในการใชกับอุปกรณตา ง ๆ ประกอบ เชน เลนสชนิดตาง ๆ ฟลเตอรชนิดตาง ๆ ซึ่งกลองชนิดอื่น ๆ ทําไดไมสะดวกเทา

กลองชนิดนี้มีทั้งใชฟลมขนาด 35 ม.ม. และ ใชฟลมขนาด 3 นิ้ว ซึ่งฟลมขนาด 3 นิ้วนี้สะดวก มากในการนํามาขยายภาพขนาดใหญไดโดยเกรนของภาพไมแตก สวนกลองที่ใชฟล มขนาด 35 มม. นั้นใชสะดวกในการถายภาพและถายสไลด


17 4. กลองสะทอนเลนสคู (Twin Lens Reflex) เปนกลองที่ใชระบบการมองเห็นภาพจาก แสงสะทอนทีผ่ านเลนสเขามายังชองมองภาพเหมือนกลองสะทอนเลนสเดี่ยว แตแตกตางกันที่ กลอง สะทอนลนสคูนี้จะมีเลนส 2 ตัว เลนสบนสําหรับการมองภาพของผูถายภาพ สวนเลนสตัวลางสําหรับ การเกิดภาพบนฟลม กลองชนิดนี้เปนที่นิยมมากสําหรับชางภาพหนังสือพิมพโดยทัว่ ไป ทั้งนี้เพราะใช สะดวกในการถายภาพทามกลางฝูงคนจํานวนมาก เพียงแตชกู ลองขึ้นเหนือศีรษะแลวมองผานชอง มองภาพ ก็จะสามารถเห็นภาพขามศีรษะฝูงคนไปยังสิ่งทีต่ องการถายภาพไดแลว นอกจากนัน้ ฟลม ที่ ใชกับกลองถายภาพชนิดนีย้ งั เปนฟลมขนาดใหญคือ 3 นิ้ว ซึ่งขนาดที่แทจริงคือ 21/2 คูณ 21/4 นิ้ว ฟลมชนิดนี้เปนฟลมนัมเบอร 120 มีจํานวน 12 หรือ 24 ภาพตอฟลม 1 มวนสามารถนําฟลมมาอัด ขยายภาพใหญไดสะดวก


18 สวนตาง ๆ ของกลองถายรูปสะทอนเลนสคู สําหรับกลองถายรูปสะทอนเลนสคูนั้นมีสวนประกอบที่สําคัญดังภาพขางลางนี้


19 5. กลองเล็กหรือกลองมินิเอเจอร ( Miniature Cameras ) เปนกลองทีม่ ีลักษณะตาง ๆ เหมือนกับกลองสะทอนเลนสเดี่ยวมาก แตกตางกันเฉพาะระบบการมองภาพ สวนที่เกิดภาพกับสวนที่ ผูถายรูปมองไปยังวัตถุอยูคนละชองกัน กลองชนิดนี้สว นใหญจะใชฟลมขนาด 35 มม. เปนกลองที่มี ราคาถูกกวากลองสะทอนเลนสเดี่ยว และกลองสะทอนเลนสคู กลองมินิเอเจอรนี้เปนกลองที่ใช กับฟลมขาวดํา สี และสไลดได สวนใหญจะมีเครื่องวัดแสงภายในตัวกลองเหมือนกับกลองสะทอน เลนสเดี่ยว และกลองสะทอนเลนสคู แตกลองชนิดนี้เลนสจะติดกับตัวกลองและเปลี่ยนเปนเลนสอื่น ๆ ไมได หรือจะใชเทเลพลัสมาตอเลนสก็จะมีปญหาในเรื่องภาพที่เห็นจากชองมองภาพและสวนทีท่ ํา ใหเกิดภาพอยูค นละชองกัน กลองชนิดนี้จงึ ไมเหมาะจะใชกับอุปกรณประกอบ กลองมินิเอเจอรนี้บางกลองอาจจะไมมวี งแหวนปรับโฟกัส หรือบางกลองอาจจะมี ระบบปรับโฟกัสเพียงเปนรูปภาพของวัสดุที่ตองการถายแทน เชน ภาพของภูเขา หมูคน คนเต็มตัว คนครึ่งตัว และ เฉพาะใบหนาแทน กลองมินิเอเจอรบางชนิดอาจจะใชตัวเอฟสตอบแปรตามความเร็ว ของซัตเตอร และบางชนิดอาจใชความเร็วของชัตเตอรแปรตามเอฟสตอป


20 6. กลองที่ใชในวงการพิมพ (Press Typpe Camera) เปนกลองพับขนาดใหญ มีน้ําหนัก มากราคาแพง กลองประเภทนี้นิยมใชอยูใ นวงการนักถายภาพบุคคลในสติวดิโอตาง ๆ เปนที่นิยมกัน ในหมูน ักถายภาพอาชีพ นักหนังสือพิมพ สถาปนิก และ นักศิลปะโดยทั่วไป กลองชนิดนี้เนื่องจากเปนกลองที่มีขนาดใหญและมีน้ําหนักมาก จึงนิยมใชสามขาในการ ถายภาพ ฟลมที่ใชกับกลองประเภทนี้นิยมฟลมแผน มีตั้งแตขนาด 11/4 คูณ 31/4 นิ้วขึน้ ไป จนถึง กลองที่ใชถายฟลมในโรงพิมพซึ่งมีขนาดใหญมาก

กลองชนิดนี้เปนกลองที่ไมเกิด “ความเหลื่อม” ของภาพ เหมือนกับกลองสะทอนเลนส เดี่ยว


21 7. กลองขนาดใหญ เปนกลองที่ใชประโยชนในการถายภาพในงานเฉพาะตาง ๆ เชน กลองในสติวดิโอ (Studio Cameras) ตาง ๆ เพื่อใชในการถายภาพบุคคลโดยทั่วไป มีทั้งถายภาพหมู คน ภาพคนเต็มตัว ครึ่งตัว และ เฉพาะใบหนา กลองถายภาพทางอากาศเพื่อใชประโยชนในการถายทํา แผนที่ กลองถายภาพหมุนสําหรับการถายภาพหมูคนเปนจํานวนมาก ซึ่งกลองธรรมดาไมสามารถใช ถายภาพได กลัองสําหรับใชถายภาพทิวทัศนเพื่อใชประโยชนในการถายภาพเพื่อจัดทําปฏิทนิ หรือ รูปภาพขนาดใหญที่ตองการความชัดสูง ฯลฯ กลองทุกประเภทดังกลาวนี้ขอจัดอยูในกลองขนาดใหญ


22 8. กลองโพลารอยด ( Polaroid Land Cameras ) เปนกลองถายรูปเมื่อถายรูปแลวจะได ภาพทันที วัสดุที่ใชกับกลองชนิดนี้มีลักษณะเปนฟลมและกระดาษอัดรูปอยูในชุดเดียวกัน ภายหลัง จากการถายรูปแลวนําเอากระดาษและฟลม มาถูกแสงตามกําหนดเวลาแลวลอกเอาก็จะไดภาพถายที่ ตองการนับไดวาเปนกลองที่สะดวกมากจึงไดมีผูนํามาใชในวงการถายภาพเพื่อติดบัตรประจําตัว

ฟลมที่ใชกับกลองโพลารอยดนี้สามารถนํามาใชกับกลองสะทอนเลนสเดี่ยวทีใ่ ชกับฟลม 3 นิ้ว ได จึงนับวาสะดวกและไดภาพทีม่ ีคุณภาพเปนอันมาก ฟลมโพลารอยดนี้จงึ ไดรับความนิยมใน หมูนักถายภาพอาชีพใช ในการทดสอบการถายภาพนางแบบโดยวิธีการใหแสงในลักษณะตาง ๆ กอน การถายภาพจริงตอไป 9. กลองอัตโนมัติ (Automatic Setting Caneras) หรือกลองอินสตราเมติคเปนกลองที่มี ระบบถายภาพอยางงาย ๆ ไมตองตั้งความเร็วของชัดเตอร ไมตองตั้งระยะ และไมตอ งตั้งเอฟสตอป พอเลื่อนฟลมก็สามารถถายภาพไดเลย แตคุณภาพทีไ่ ดไมคอยดีนกั เปนกลองที่ไดรับความนิยมขึ้นมา แทนกลองบอกซในอดีต


23

กลองถายรูปเปนอุปกรณสําหรับบันทึกภาพมีรูปแบบตาง ๆ ตามลักษณะการใชงานแต ละอยางกลองถายภาพที่ออกแบบมาเพื่อใหความสะดวกแกผูใชที่ไมไดเรียนรูเรื่องการถายภาพ จะเปน กลองที่ไมมีกลไกสลับซับซอน เพียงแตจัดสิ่งที่ถายใหอยูในกรอบของชองมองภาพก็กดชัดเตอร บันทึกภาพไดเลย แตถาเปนกลองถายภาพที่ตองการคุณภาพหรือผลพิเศษบางอยางก็ตองมีกลไกของ กลองที่ทํางานไดมากขึ้น เชน การเปลี่ยนขนาดรูรับแสง การเปลี่ยนความเร็วชัดเตอร หรือมีกลไก อื่น ๆ เพิ่มเติมมากขึ้นตามจุดประสงค นอกจากนัน้ กลองถายรูปยังผลิตขึ้นมาสําหรับใชกับฟลมขนาด ตาง ๆ จึงมีรูปรางแตกตางกันไป กลองถายรูปสามารถแบงตามขนาดของกลองถายภาพได 3 ชนิด คือ 1. กลองถายภาพขนาดใหญ (Large Format Camera) หรือกลองวิว (Vlew Camera) กลองถายภาพขนาดใหญเปนกลองที่ใชสําหรับถายโฆษณา การถายภาพสถาปตยกรรม กลองชนิดนี้ใชพิลมแผนขนาด 4x5 นิ้ว, 5x7 นิ้ว, 8x10 นิ้ว ฟลมแผนขนาดใหญสามารถอัดขยายเปน ภาพขนาดใหญมาก ๆ ได โดยภาพจะมีความคมชัดเก็บรายละเอียดตาง ๆ ไดจัดเจน ฟลมแผนมีความ สะดวกโดแตละแผนบันทึกภาพและลางไดอยางอิสระนําไปใชงานไดทันที นอกจากนั้นยังมีผู ประดิษฐตดั แปลงทําที่ใสฟลมชนิดมวนมาใชกับกลองถายภาพขนาดใหญไดอีกดวย ภาพบนกระจกรับภาพของกลองถายภาพขนาดใหญ เปนภาพหัวกลับทําใหมองดูภาพ ลําบาก การใชเลนสขยายชวยในการมองภาพ จะชวยตรวจสอบความคมชัดของภาพทุกจุดโดยการวาง


24 เลนสขยายใหชิดกับแผนกระจกรับภาพ หากสวนหนึ่งสวนใดของภาพไมชัดสามารถแกไขไดโดยการ ปรับที่แผงยึดเลนสและกระจกรับภาพ กลองถายภาพขนาดใหญยังสามารถถายวัตถุระยะใกลไดโดยไมตองใชเลนส Close up ชวยโดยใชการยืดกระโปรงจีบใหยาวขึน้ ภาพบนกระจกรับภาพจะใหญเพิ่มขึ้น หากขนาดภาพยังไม ใหญพอก็ตอกระโปรงจีบเพิม่ ขึ้นไป และตอรางใหมีความยาวเพิม่ ขึ้น เนื่องจากแสงภายนอก โดยทั่วไปสวางทําใหการมองภาพบนกระจกรับภาพไมชัด จึงตองใชสิ่งที่ชวยบังแสงเพื่อทําใหการ ปรับภาพไดงายขึ้น ไดแก ผาคลุมศีรษะสีดําหนาไมใหแสงลอดผานไป เปนวัสดุที่มรี าคาถูก แตถาจะ ให สะดวกก็ใชกลองบังแสงวางปดตอจากกระจกฝา ดานลางของกลองบังแสงเปนกระจกเงา ดานบน เปนชองเล็ก ๆ ใชตามองใหชิดจะมองเห็นภาพในลักษณะตรงหัวตั้งขึ้นตามปกติ กลองถายภาพขนาด ใหญมีลักษณะพิเศษดีกวากลองถายประเภทอื่น ๆ คือสามารถควบคุมสัดสวนของภาพไดตามตองการ เชน การถายภาพตึกสูง ๆ กลองโดยทั่วไปจะตองเงยขึ้นเพื่อใหไดภาพทั้งยอดและโคน ภาพที่ไดจาก การถายลักษณะนี้จะเปนภาพตึกที่มีโคนใหญปลายเล็ก วิธีแกไขทําไดโดยปรับแผงยึดเลนสและ กระจกรับภาพใหขนานกับตัวตึก ลักษณะภาพทีไ่ ดจะเปนภาพที่เสนขอบตึกขนานกันทั้งหมด การ ปรับภาพใหอยูบริเวณใดของกระจกรับภาพทําไดโดยปรับเลื่อนใหกระจกไปอยูใ นตําแหนงที่ตองการ นอกจากนี้เมื่อกมกลองถายสิ่งของบนพื้นทีต่ ่ํากวาระดับกลอง ถายสิ่งของที่วางกระจัดกระจายใหชัด ทั้งสิ่งที่อยูใกลและไกลออกไป โดยการปรับสวนตาง ๆ ของกลองใหไดภาพตามตองการสามารถ ทดสอบโดยใชฟลมโพลารอยดถายกอนใชฟลมจริง สวนเสียของกลองถายภาพขนาดใหญ ไดแก น้ําหนักและขนาดของตัวกลอง ในการ ถายภาพแตละครั้ง จะตองจัดวางใหอยูในตําแหนงที่ถูกตอง วางบนขาตั้งกลองที่รับน้ําหนักไดมาก การเปลี่ยนยายมุมกลองไมมีความคลองตัว เหมาะกับการถายสิ่งของที่อยูนิ่ง ๆ กลองถายภาพ ที่มชี ื่อ เปนที่นิยมยอมมีราคาแพง อุปกรณประกอบการใชงานแตละชิ้นก็มีราคาแพงไปดวย ผูที่ใชกลองใหม ๆ ยังไมเคยชินจะมีความลําบากในการดูภาพหัวกลับบนกระจกรับภาพ อยางไรก็ตามกลองถายภาพขนาดใหญก็นบั วาเปนกลองสําหรับมืออาชีพ ที่ตองการ ถายภาพใหมีคณ ุ ภาพจริง ๆ นั่นคือการเนนสวนที่ตองการในภาพใหเดน การปรับแกไขลักษณะของ ภาพ สิ่งเหลานี้จะตองเรียนรูและเขาใจระบบการทํางานของกลองอยางแทจริง


25

ภาพที่ 11 กลองถายภาพขนาดใหญ 2. กลองถายภาพขนาดกลาง (Medlum Format Cameta) กลองถายภาพขนาดกลาง เปนกลองสําหรับชางถายภาพระดับอาชีพใชกับฟลม ชนิด มวน 120 ใชสะดวกและมีความคลองตัวในการใชงาน เนือ้ ที่ภาพบนฟลม มีขนาดตาง ๆ ตามตลับฟลม ที่บรรจุ ไดแก 6x4.5 ซม., 6x6 ซม. และ 6x7 ชม. กลองถายภาพขนาดกลางแบงเปน 2 ชนิด 2.1 กลอง 120 เลนสเดียวสะทอนภาพ (Single Lens Reflex) กลอง 120 เลนสเดี่ยวสะทอนภาพ เปนกลองที่ใชงานไดสะดวกและมีความ คลองตัวมากทีส่ ุด โดยแสงจะผานเลนสเขาไปในกลองกระทบกระจกเงาที่วางมุม 45 สะทอนไป ปรากฎบนกระจกฝาที่ดานบน ภาพที่กระจกฝาเปนภาพกลับซายเปนขวา มีความลําบากในการปรับ ภาพสําหรับผูท ี่ไมเคยชินเพราะทิศทางของการปรับตัวกลองจะตรงขามกัน แตสะดวกในการดูภาพบน กระจกฝาในการปรับระยะชัดเพราะมองเห็นภาพชัดเจน กลองชนิดนี้แบงชิ้นสวนที่สําคัญไดเปน 4 สวน ไดแก สวนที่ 1 ตัวกลอง เปนสวนที่มีกลไกการทํางาน ไดแกที่หมุนฟลม ทีต่ ั้งความเร็ว ชัดเตอร ปุมกดชัดเตอร ที่ตงั้ ความไวฟลม เปนตน ตัวกลองมี 3 ขนาด ตามที่ใสฟลม ดานหนาของตัว กลองมีกระจกเงาวางเอียง 45 เมื่อกดชัดเตอรกระจกเงาจะกระดกขึน้ เพื่อใหแสงจากเลนสผานไปยัง ฟลม ที่หมุนฟลมดานขางสามารถติดที่ขับเคลื่อนฟลม (motor drive) หรือจะติดมือจับเพื่อถือกลองได สบายขึ้น มีรูเสียบสายแฟลชและปุมถอดเลนส


26 สวนที่ 2 เลนส สามารถเลือกใชเลนสขนาดตาง ๆ ถอดเปลี่ยนไดตามความ ตองการ เลนสธรรมดา ((Normal Lens) มีความยาวโฟกัส 80-90 มม. ชางภาพควรมีเลนส 3 ขนาดเพือ่ เลือกใชใหเหมาะสมกับงานคือ เลนสธรรมดา เลนสมุมกวาง และเลนสถายระยะไกล สวนที่ 3 ชองมองภาพ แบงเปน 2 ชนิดคือ ชองมองภาพระดับเอว เปนชองมอง ภาพที่มีชองบังแสงเปนกรอบชองสี่เหลี่ยม กรอบนี้ชวยบังแสงรบกวนจากภายนอกไมใหสองไปที่ ภาพบนกระจก มีเลนสขยายเพื่อดูรายละเอียดของภาพโดยกมมองใหชิดกับเลนส เมื่อเลิกใชงานพับ กรอบบังแสงปดสวนบนของกลอง ชองมองภาพชนิดนีส้ ามารถจัดวางมุมกลองไดหลายแบบ เชน วาง กลองถายภาพลงติดกับพื้นโดยเงยกลองขึน้ หันเลนสไปดานขางกรณีแอบถายไมใหคนที่อยูดานขาง รูตัว ยกชูกลองขึ้นสูงกลับที่มองภาพลงเงยหนาดูภาพในชองมองเพื่อปรับภาพ ในกรณีที่ตองการถาย สิ่งที่อยูขางหนาแตมีคนหรือสิ่งของบังชองมองภาพอีกชนิดหนึ่งคือ ชองมองภาพระดับตา เปนชอง มองภาพแบบปริซึม ชองมองภาพแบบนีส้ ะดวกในการมองดูภาพ เพราะมองเห็นภาพตามที่เปนจริง ทุกอยาง ทําใหการปรับมุมกลองไมสับสน สวนที่ 4 ตลับใสฟลม มีขนาดภาพตาง ๆ ไดแก 6x4.5 ชม. ถายได 15 รูป, 6x6 ซม. ถายได 10 รูป, 6x7 ซม. ถายได 8 รูป การเลือกที่ใสฟลมจึงตองเลือกใหเหมาะสมกับการนํา สัดสวนของภาพไปใชกับลักษณะของงาน หากใชฟลมหลายชนิดในคราวเดียวกัน ก็ใชที่ใสฟลมหลาย อันแยกกัน

ภาพที่ 12 กลอง 120 เลนสเดี่ยวสะทอนภาพ 2.2 กลอง 120 เลนสคูสะทอนภาพ (Twin Lens Reflex) กลอง 120 เลนสคูสะทอนภาพ เนื้อฟลมมีขนาด 3 นิ้ว นิยมใชกนั มากในระยะแรก ปจจุบันใชกันนอยมาก เพราะมีกลองขนาด 35 มม. และกลอง 120 เลนสเดี่ยวสะทอนภาพซึ่งใชงานได ดีกวาลักษณะของกลองมีเลนส 2 ตัวที่มีขนาดความยาวโฟกัสเทากันยึดติดอยูแ ผงหนากลอง ระยะทาง จากเลนสตัวบนไปยังภาพทีป่ รากฏบนกระจกฝามีระยะทางเทากับเลนสตัวลางไปยังฟลมที่อยูใน กลอง เลนสทั้ง 2 ตัว ทําหนาที่คนละอยางคือ เลนสตัวบนใชสําหรับมองและปรับความชัดของภาพ สวนเลนสตัวลางทําหนาที่รับแสงผานกลองไปสูฟลม กลองถายภาพชนิดนี้ดกี วากลองถายภาพขนาด


27 ใหญตรงที่สามารถมองปรับภาพในขณะทีม่ ีฟลมอยูในตัวกลอง จะมองไมเห็นภาพชัว่ ขณะเมื่อกระจก เงากระดกขึ้นมาปดขณะทีก่ ดชัตเตอรเทานั้นสวนกลองถายภาพขนาดใหญ เมื่อใสฟลมลงหนากระจก รับภาพจะมองไมเห็น ภาพที่กระจกมองภาพดานหลังหากถายภาพบุคคลตองใหผูเปนแบบนั่งใหนิ่ง จนกวาจะถายภาพเสร็จ รูรับแสงของเลนสตัวบนมีขนาดความกวางคงที่และมีความกวางกวาขนาดรูรับแสงของ เลนสตัวลาง ทําใหการมองเห็นภาพไดสวางและชัดเจนงายตอการปรับความชัดของภาพที่ปรากฎบน กระจก กลอง 120 เลนสคูสะทอนภาพทัว่ ไปใชกับฟลมมวน มีขนาดภาพเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส กลองถายภาพบางรุนสามารถเปลี่ยนเลนสไดแตหาซื้อลําบากบางแบบมีเครื่องวัดแสงในตัวกลองแต ชางภาพมืออาชีพนิยมใชเครื่องวัดแสงแยกตางหาก เพราะวัดแสงไดแมนยํามากกวา ระบบการทํางานของกลอง 120 เลนสคูสะทอนภาพ ในกลองถายภาพมีลอฟลมเปลาอยู 1 อัน เปนลอสํารองอยูดานบน บรรจุฟลมมวนใหมไวดานลาง ดึงปลายกระดาษหุม ฟลมเสียบลงกลาง แกนลอฟลมดานบน โดยดานในของกระดาษหุมฟลมสีดาํ หันเขารับแสงจากเลนสในตัวกลอง หมุนที่ เลื่อนฟลมจนเห็นลูกศรหันหลังกระดาษหุมฟลมตรงตําแหนงที่บอกไวในตัวกลองจึงปดฝาหลังกลอง หมุนฟลมไปจนกวาตัวเลขบอกจํานวนฟลม ปรากฏเลข 1 จึงเริ่มถายภาพ ขอเสียของกลองถายภาพ ชนิด นี้คือการถายภาพวัตถุระยะใกลมากๆ ภาพที่เกิดบนฟลมจะเหลื่อม ไมตรงกับ ภาพที่ปรากฏบนกระจกรับภาพ เพราะ ตําแหนงของเลนสทั้งสองหางกันเล็กนอย การมองเห็นภาพกลับซายเปนขวา ทิศทาง กลับกัน ทําใหปรับภาพลําบาก และการ ใชเลนสมีขอจํากัดที่ไมสามารถเปลี่ยน เลนสได กลอง 120 เลนสคูสะทอน ภาพโดยทั่ ว ไปใช กั บ ฟ ล ม ม ว น มี ข นาด ภาพเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส กลองถายภาพบาง ภาพที่ 13 กลอง 120 เลนสคูสะทานภาพ รุ น สามารถเปลี่ ย นเลนส ไ ด แ ต ห าซื้ อ ลําบาก บางแบบมีเครื่องวัดแสงในตัว กลอง แตชางภาพมืออาชีพนิยมใชเครื่องวัดแสงแยกตางหากเพราะวัดแสงไดแมนยํามากกวา


28 3. กลองถายภาพขนาดเล็ก ( Small Format Camera ) กลอง ถายภาพขนาดเล็ก เปน กลองถายภาพที่นิยมใช กันทั่วไปใชกบั ฟลมชนิด มวน 35 ม.ม. ฟลมมวน หนึ่งถายได 24 ภาพ หรือ 36 ภาพ หาซื้อฟลมไดงาย กลองถายภาพ 35 ม.ม. เลนสเดี่ยวสะทอนภาพ เปนกลองที่สะดวกใน ภาพที่ 14 กลอง 35 มม. เลนสเดี่ยวสะทอนภาพ การใช มีความคลองตัว สามารถถอดเปลี่ยนเลนส ชนิดตาง ๆ ได ใชอปุ กรณเสริมตาง ๆ ไดอกี หลายอยาง เลนเทคนิคการถายภาพในลักษณะพิเศษตาง ๆ ไดตามตองการ กลอง 35 ม.ม. เลนสเดี่ยวสะทอนภาพ เปนกลองที่สงผานเลนสเขาสูตาเรียกวาระบบ TTL (Through The Lens ) กลอง 35 ม.ม.เลนสเดี่ยวสะทอนภาพแยกไดเปน 2 สวนคือ สวนที่เปนตัว กลอง (Body) และ เลนส ( Lens) 4. กลองถายภาพเฉพาะงาน กลองถายภาพยังมีอีกหลายชนิด ผลิตขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงคในการใชงานที่แตกตาง กันไป เชน 4.1 กลองถายภาพขนาดจิ๋ว กลองถายภาพขนาดจิว๋ เปนกลองที่ใชฟลม 110 แบบกลัก ฟลมมีความกวาง 16 มม. ตัวกลองมีขนาดเล็กแบนสะดวกตอการพกติดตัว มีดามจับถือกระชับมือ กลองที่เล็กมากๆ เรียกวา Mini 110 ตัวกลองสั้นเมื่อใสฟลมกลัก กลักฟลมครึ่งหนึ่งจะเลยออกมานอกตัวกลอง กลอง ชนิดนี้มีขอ เสียคือนําฟลมไปอัดขยายเปนภาพที่มีขนาดใหญมากๆ ไมได จะมองเห็นรอยแตกเพราะ เนื้อฟลมถูกขยายสวนมากปจจุบันกลองที่ใชฟลม 110 ไดพัฒนารูปแบบใหไดภาพที่มีคุณภาพดีขึ้น โดยปรับความเร็ว ชัตเตอร ขนาดรูรับแสง ปรับระยะชัดได 4.2 กลองถายภาพ 126 กลองถายภาพ 126 ใชฟลมแบบกลักเชนเดียวกับกลองขนาดจิว๋ มีเนือ้ ที่ของภาพ บนฟลมขนาด 26 x 26 ม.ม. ใหความสะดวกแกผใู ชคือขนาดรูรับแสง และความเร็วชัตเตอรคงที่


29 กลองถายภาพที่ใชฟลมแบบกลักจะมีความสะดวกคือวางกลักฟลมทั้งกลักลงในกลอง ถายจนหมด มวนแลวเปดฝาหลัง หยิบกลักฟลมออกไปไดโดยไมตองกรอฟลมกลับ 4.3 กลองคอมแพ็ค (Compact ) กลองคอมแพ็ค เปนกลองถายภาพทีใ่ หความสะดวกแกผูใชเปนอยางมาก เริ่ม ตั้งแตการใสฟล ม ผูใชเปดฝาหลังกลองออกวางฟลม ลงในชองใสฟลมใหปลายฟลมวางพาดไปที่ ตําแหนงกลองบอกไวปด ฝากลองกดชัตเตอรปลายฟลมจะเลื่อนเขาแกนฟลมจนถึงตําแหนงภาพที่ 1 ยกกลองขึ้นมองภาพถายใหอยูในกรอบภาพของกลอง เมื่อกดชัตเตอรบันทึกภาพฟลม ใหมจะเลื่อนมา แทนที่ เมื่อถายภาพหมดมวนฟลมจะกรอกลับมาอยูในกลักตามเดิม ความสะดวกอีกประการหนึ่งคือ ไมตองปรับความเร็วชัตเตอรและขนาดรูรบั แสง ผูผลิตไดจํากัดความเร็วไวคงที่และขนาดรูรับแสง ตายตัวนอกจากนี้กลองบางรุน ยังมีไฟแฟลชในตัวสามารถใชถายภาพในที่มืดได กลองชนิดนี้ใชกับ ฟลมขนาด 35 ม.ม. ซึ่งหาซื้อไดงาย 4.4 กลองอินสแตนท (Instant) กลองอินสแตนทเปนกลองที่ใชฟลมแผนชนิดกระดาษเคลือบน้ํายา กระดาษ กลองหนึ่งมี 10 แผน เมื่อถายภาพเสร็จ ดึงปลายกระดาษที่มีเลขลําดับจํานวนภาพไว ลูกกลิ้งในตัว กลองจะรีดน้ํายาในถุงใหแตกออกทําปฏิกริ ิยากับกระดาษใหเกิดภาพในเวลาประมาณ 1 1/2 นาที กลองถายภาพชนิดนี้จึงเหมาะกับการถายภาพที่ตองการดวน แตมีขอเสียคือไมมีฟล มที่จะนําไปอัด ขยายตอไปได 4.5 กลองถายภาพทางอากาศ กลองถายภาพทางอากาศเปนกลองที่ใชมอื ถือสําหรับถายภาพบนเครือ่ งบิน ใช ฟลมแผนขนาด 4 x 5 นิ้ว ถายภาพสิ่งที่ลอยอยูในอากาศดวยกัน หรือถายจากอากาศลงสูพื้นดิน ความ ยาวโฟกัสของเลนสตายตัวที่ Infinity 4.6 กลองถายภาพใตน้ํา (Under water camera) กลองถายภาพใตน้ํา ตัวกลองจะไมมีสวนใดที่น้ําเขาไปขางในไดเลย เปนกลอง ถายที่ใชฟลม ขนาด 35 ม.ม. กลองถายภาพใตน้ํายังมีทตี่ ิดไฟแฟลช สําหรับถายภาพใตทะเลลึก 4.7 กลองพาโนรามา (Panorama) กลองพาโนรามาเปนกลองทีถ่ ายภาพมุมกวาง กลองถายภาพพาโนรามามีชนิด หมุน (Rofation) และชนิดไมหมุน (Nonrotation) กลองชนิดไมหมุนตัวกลองและเลนสอยูคงที่ มีมุม การรับภาพประมาณ 140 °


30 4.8 กลอง 4 เลนส กลอง 4 เลนสเปนกลองที่ใชกับฟลมโพลารอยด สวนมากจะใชถายรูปติดบัตร ถายครั้งเดียวได 4 รูป เพราะภายในกลองมีชองแบงไว 4 ชอง ใหเลนสแตละตัวรับแสงตกลงบนฟลม พรอมกันกลองบางรุนมี 6 เลนส ก็จะได 6 รูปติดกัน ในการถายภาพเพียงครั้งเดียว 4.9 กลอง 3 มิติ (Stereo camera ) กลอง 3 มิติ เปนกลองถายภาพที่มเี ลนส 2 เลนสติดกันอยูทหี่ นากลองมีระยะหาง เทากับตําแหนงของตาทั้ง 2 ขาง แสงผานเลนสทั้งสองบันทึกบนฟลมพรอมกัน ภาพที่ปรากฏบนฟลม จะเหลื่อมซอนกัน ตองมองผานแวนตาสีแดงและสีน้ําเงินจะเห็นเปนภาพ 3 มิติ 4.10 กลองหมุน ( Rotation camera ) กลองหมุนเปนกลองทีถ่ ายหมุนไดรอบตัว 360° สามารถตั้งอัตราความเร็วของ การหมุนของตัวกลอง รูรับแสงของกลองชนิดนี้เปนแถบยาวขวางแนวฟลม การตั้งความเร็วในการ หมุนของตัวกลองขึ้นอยูกับปริมาณแสงทีม่ ากหรือนอย 4.11 กลองเลนสหมุน ( Swing lens camera ) กลองเลนสหมุนเปนกลองถายภาพมุมกวาง มุมรับภาพ 110-150° ขึ้นอยูกับ คุณสมบัติของกลองแตละชนิด กลองเลนสหมุน 35 ม.ม. จะไดภาพมีขนาด 24 x 50 ซ.ม. กลองเลนส หมุนมีขอจํากัดคือไดมุมของภาพเทาที่มองเห็นในกลองเทานั้น 4.12 กลองพับ ( Folding camera ) กลองพับมีลักษณะพิเศษคือเวลาโฟกัสภาพเลนสจะเลื่อนเขาออกตามรางโดย กระโปรงจีบจะยืดหดเมื่อหดจนชิดตัวกลอง รางที่ติดกับฝาดานลางจะพับปดหนาเลนสพอดี

ภาพที่ 15 กลองถายภาพเฉพาะงาน


31

ภาพนี้ถายดวยกลองหมุน Round shot นิยมใชถายรูปหมู ใชพื้นที่ในการถายนอยโดยใหคนยืนหางจาก เลนสเปนรัศมีเทากัน สวนมากถายรูปหมูบณ ั ฑิต คนจีนนิยมถายญาติทั้งหมดในงานศพ กลองหมุนสามารถหมุนได 360 ภาพนี้ถายในมุม 100 ใชฟลม 120

ภาพนี้ถายดวยกลอง Swing lens ใชฟลม 135 ภาพนี้ถายดวยกลอง Instant ชนิด 6 เลนส ขนาดภาพบนฟลมยาวกวากลอง 35 ม.ม. ทั่วไป นิยมถายเปนรูปดวน ขนาดภาพ 1” ใชติดบัตร ภาพที่ 16 ภาพถายจากลองชนิดตาง ๆ กลองถายภาพสามารถแบงตามวัสดุที่ใชรบั ภาพได 2 ชนิด คือ 1. กลองถายภาพชนิดที่ใชฟลม กลองถายภาพชนิดที่ใชฟลมเปนกลองถายภาพที่เริ่มใชกนั มาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบนั เปนที่รูจักกันดี ในวงการถายภาพทัว่ ไป เมือ่ แสงผานเขาไปในกลอง ฟลม จะเปนตัวบันทึกภาพบนวัสดุไวแสงที่อยู บนฟลม ผานกระบวนการลางจะเกิดภาพเนกาตีฟ เมื่อนําเนกาตีฟไปฉายแสงผานไปบนกระดาษจึงจะ ไดภาพที่สมบูรณ กลองถายภาพขนาดเล็กที่ใชกับฟลม 135 ไดแก Niklon,Cannon, Minaita, Olmpus, Pentax, Yashica ฯลฯ กลองถายภาพขนาดกลางที่ใชกับฟลม 120 ไดแก Hasellblad, Mamiya, Bronica ฯลฯ กลองถายภาพขนาดใหญทใี่ ชกับฟลม 4 x 5 ซม. ไดแก Sinar , Horseman ,Gambo ฯลฯ 2. กลองถายภาพชนิดที่ไมใชฟล ม กลองถายภาพชนิดที่ไมใชฟล มหรือที่เรียกวากลองถายภาพดิจิตอล ปจจุบันกลอง ถายภาพชนิดนี้กําลังเขามามีบทบาทในการถายภาพมากขึ้น เมื่อแสงผานเขาไปในกลอง CCD เปน


32 อุปกรณไวแสงรับภาพและแปลงเปนสัญญาณทางไฟฟา บันทึกเก็บไวในหนวยความจําของกลอง สามารถนําภาพไปใชงานไดทันที เปนการประหยัดเวลาและไมตองใชฟลมใหสนิ้ เปลือง เพราะ สามารถลบและบันทึกภาพใหมได แตกลองถายภาพชนิดนีย้ ังมีราคาแพงเมื่อเปรียบเทียบกับกลอง ถายภาพชนิดที่ใชฟลม

ภาพที่ 17 กลองถายภาพทีใ่ ชฟลม และกลองถายภาพดิจิตอล

4. เทคโนโลยีการถายภาพ พัฒนารูปแบบการใชงานของกลองถายภาพและระบบระบบการทํางานอาศัยเทศโนโลยี ใหม ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของงาน ยุคนี้จึงพัฒนาไปสูคอมพิวเตอร ตั้งแตระบบการ ถายภาพระบบการเก็บภาพ ระบบการดูภาพและระบบการพิมพภาพ ลวนอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร ทั้งสิ้น การควบคุมระยะไกลดวยอินฟราเรด การถายภาพแบบหนวงเวลา โดยกดปุนชัดเตอรแลววิ่งไปอยูดานหนาเลนสเพื่อถาย ตนเองตองรีบวิ่งไปยังจุดที่โฟกัสรอไวในเวลา 10 วินาที เทคโนโลยีใหมไดตดั ปญหาดังกลาวใหหมด ไปได โดยใชระบบการควบคุมระยะไกลดวยอินฟราเรด การถายตนเองวิธีนี้เพียงแตถือเครื่องควบคุมระยะไกลดวยอินฟราเรดไปยืนในตําแหนงที่ ตองการหันใหทิศทางชองอินฟราเรดใหตรงกับกลองกดปุนกลองก็ทํางานทันที เหมือนกับการ ปรับเปลี่ยนชองโทรทัศนนั่นเอง เลนสถายภาพ 3 มิติ เลนสซูม 70-210 มม. F/2.8-4 ของ Vivitar เปนเลนสพิเศษที่สรางขึ้นมาเพื่อถายภาพ 3 มิติ ดวยระบบ Q-DOS โดยการใชสวิทชเลื่อนบนกระบอกเลนสและดูภาพจากแวนสามมิติที่กระจก ดานซาย เปนสีแดงดานขวาเปนสีน้ําเงิน


33 โปรแกรมการดคอมพิวเตอร กลองถายภาพโดยทั่วไปที่ใชกันกอนถายภาพแตละครั้ง ตองปรับความเร็วชัดเตอร ตั้ง ขนาดรูรับแสง ปรับระยะชัดของภาพ ดังนั้นผูถายภาพจะตองมีความรูเรื่องความสัมพันธระหวาง ความเร็ว ชัดเตอรและรูรบั แสง ไมเชนนั้นจะไดภาพที่มีปริมาณแสงผิดพลาดไป กลองถายภาพรุน ใหมจึงสรางโปรแกรมถายภาพพิเศษ เพือ่ ใหความสะดวกแกผูถายที่ไมจําเปนตองรูเรื่องการถายภาพ เพียงแตใช โปรกแกรมที่กาํ หนดไว กลอง Minolta รุน Dynax 7x1 จัดสรางโปรแกรมแรมการดคอมพิวเตอร 17 แบบ เชน โปรแกรมถายภาพกีฬา ถายภาพชัดลึก ชัดตื้น ถายภาพใกล ฯลฯ โดยเลือกการดที่เหมาะสมกับระบบ การถายแตละชนิดใสไปในกลองเทานั้น

ภาพที่ 18 โปรแกรมการดคอมพิวเตอร พัฒนาดานความเร็วชัดเตอร บริษัทผูผลิตกลองถายภาพพยายามแขงขันในดานความเร็วชัดเตอรของกลองถายภาพ แตเดิมซึ่งกลองมีความเร็วสูงสุดที่ 1/8000 วินาทีปจจุบนั กลองถายภาพ Minolta รุน Dynax 9xi มี ความเร็วชัดเตอรสูงสุดที่ 1/12000 วินาที ความเร็วชัดเตอรสูงมาก ทําใหผูถายภาพใชประโยชน 2 ประการคือ 1. ถายสิ่งที่เคลื่อนไหวเร็วมาก ๆ ใหหยุดนิง่ ได 2. ทําใหภาพชัดเฉพาะจุดที่ถา ยเพราะสามารถเปดความกวางของรูรับแสงไดมาก


34

กลองไรฟลม การใชฟลมถายภาพ ตองผานกระบวนการบันทึกภาพลงบน ฟลมลางฟลมดวยน้ํายาแลวจึงอัดขยาย เปนภาพแตการบันทึกภาพในระบบ ใหมไมตองยุงยากกับวัสดุที่เปนน้ํายา ตาง ๆ เพียงแตใชกระบวนการสราง ภาพระบบดิจติ อลผานคอมพิวเตอร และเครื่องพิมพภาพสี การถายภาพทีไ่ มตอง ใชฟลมจะตองใชกลองถายภาพดิจิตอล ที่ออกแบบมาเฉพาะและอุปกรณ ภาพที่ 19 การทํางานของกลองไรฟลม ตอพวง นํามาตอเขากับฟลมตอสายอินเตอรเฟสเขากับคอมพิวเตอรระดับสูง เมื่อกดชัดเตอรภาพที่ไดจะแปลงสัญญาณดิจิตอลสูคอมพิวเตอร สามารถตกแตงแกไข ภาพไดจากนัน้ จึงเอาทพทุ ออกเปนฟลม เปนภาพ หรือสงผานสายโทรศัพทไปยังที่ตอง ๆ ในเวลา อันรวดเร็ว จึงเหมาะสําหรับการบันทึกสิ่งที่ตองการไดภาพทันที เมื่อป พ.ศ.2529 กลองถายภาพแคนนอนไดพัฒนากลองถายนิ่ง อิเล็กทรอนิกส ระบบ ESP (Electronic Still Photography) แทนที่จะบันทึกภาพลงมาบนฟลมกลับใชบันทึกภาพลงบนแผน บันทึก ขอมูล (Micro Floppy Disc) ขนาดเสนผาศูนยกลาง 47 ม.ม. สามารถถายภาพได 50 ภาพ การดูภาพถายจะตองใชเครื่องอานและบันทึกแผนเก็บขอมูล (play/record) แสดงภาพ ผานจอ (High Resolution Graphic Monitor) ใหรายละเอียดทางแนวนอนได 300 เสน แนวดิ่งได 320 เสน หากตองการพิมพภาพลงบนกระดาษสามารถใชเครื่องพิมพ (Thermal Transfer Printer) เหมือนกับ การอัดรูปนั่นเองภาพดังกลาวสามารถสงผานโทรศัพทไปยังเครื่องรับ ซึ่งอยูหางไกลออกไปโดยใช เครื่องรับสงภาพ แผนบันทึกขอมูลสามารถนํากลับมาใชใหมโดยการลบภาพเกาออกไปไดคลายกับเทป บันทึกภาพทั่วไป คือการบันทึกภาพใหมลงไปภาพเกาจะถูกลบออกโดยสิ้นเชิง นอกจากนี้ยังสามารถ โอนยายภาพที่บันทึกไวแลวไปเก็บไวบนแผนบันทึกขอมูลแผนอื่นไดเหมือนกับการถายเทปนั่นเอง


35 โฟโตซีดี โฟโตซีดี เปนระบบ บันทึกภาพลงบนแผนจากตนฉบับ ที่ เ ป น รู ป หรื อ ฟ ล ม ใช สั ญ ญาณ ดิ จิ ต อ ล บั น ทึ ก ล ง บ น แ ผ น ซี ดี ลั ก ษ ณ ะ รู ป ร า ง ข อ ง แ ผ น ซี ดี ที่ บันทึกภาพเหมือนกับแผนซีดีที่ใช บันทึกเพลงตางกันเฉพาะสัญญาณ ที่ ใ ช บั น ทึ ก คนละแบบ โดยปกติ ก า ร เ ก็ บ ภ า พ จ ะ ต อ ง คํ า นึ ง ถึ ง ส ว นประกอบหลายอย า ง เช น อุ ณ หภูมิแ ละความชื่ น คุ ณสมบั ติ ของกระดาษอัดภาพหรือฟลมแตละ ชนิดแตละภาพที่บันทึกบนแผนซีดี สามารถเก็ บ ไว ไ ด น านกว า การ ภาพที่ 20 แสดงภาพสีเก็บไวบนแผนซีดี ถายภาพทั่วๆไปโดย สีไมซีดจาง กลองถายภาพ 3 มิติ การทําภาพ 3 มิติมีวิธีการตาง ๆ กันไดแก ทําใหภาพมีสีเหลื่อมแลวใชแวนโพลาไรซ หรือแวน 2 สีสองดู ใชกลองถายภาพในมุมเดียวกัน 2 ภาพ โดยใชกลองถายภาพที่ตดิ เลนส 2 ตัว ภาพที่ ไดเปนภาพในมุมเดียวกันแตมี ๒ เฟรม สองดูภาพดวยแวน 2 ตาสําหรับดูภาพ 3 มิติ เทคโนโลยีใหมของภาพ 3 มิติ ใชกลองถายภาพ 3 เลนส ใชฟลมขนาด 35 ม.ม. ถายภาพ ครั้งหนึ่งจะไดภาพ 3 เฟรม แตละเฟรมมีขนาด ½ เฟรม ของฟลมที่ถายจากกลองปกติ ฟลม 1 มวน จึงถายภาพ 3 มิติได 24 ภาพ สําหรับกลองถายภาพ 3 มิติ ชนิด 5 เลนสเปนกลอง 3 มิติระดับ มืออาชีพใชฟล ม 120ถายได 2 ภาพ มอง ดานหนาเห็นเลนส 6 ตัว โดยเลนสตัวบน ใชมองภาพอีก 5 ตัว บันทึก 5 ภาพ ทําให มองเห็นมุมภาพตอเนื่องวัตถุจึงมีทรวดทรง ภาพที่ 21 กลองถายภาพ 3 มิติ ใกลเคียงกับตาของคนเรา


36 เมื่อไดฟลมทีม่ ี 3 เฟรมแลว จึงนําไปเขาเครื่องอัดขยายภาพ 3 มิติซึ่งจะทําหนาที่สแกน ฟลมทั้ง 3 เฟรม แลวยิงรวมเปนภาพเดียวบนกระดาษอัดภาพพิเศษ เปนพลาสติกเคลือบสารเยลาติน พื้นผิวเปนลายเสนเปนลอนโคงคลายลายลูกฟูก เพื่อชวยในการกลืนภาพเขาดวยกัน และทําใหเกิดมุม ภาพที่ตางกัน จากการมองดวยตาทั้ง 2 ขาง ถาปดตามองทีละขางจะเห็น มุมภาพที่แตกตางกันระหวางวัตถุ และฉากหลังและภาพจะไมเปน 3 ภาพที่ 22 การมองเห็นภาพ 3 มิติ มิติ ภาพลักษณะเชนนี้ไมตองใช แวนแตจะมองเห็นภาพลึกเขาไป เปน 3 มิติ

การถายภาพระบบ APS ป พ.ศ. 2538 บริษัทผูผลิตอุปกรณถายภาพ 5 บริษัทคือ โกดัก ฟูจิ แคนนอน มินอลตา คิด ระบบถายภาพ Advanced Photographic System เรียกยอ ๆ วา APS เพือ่ พัฒนากลองถายภาพฟลม และ อุปกรณการถายภาพ ซึ่งมีขอแตกตางกับระบบการถายภาพแบบเดิมคือ 1 .ตัวกลองมีขนาด 2/3 ของกลองถายภาพ 35 ม.ม. ทั่วไป เพื่อสะดวกตอการพกพาและ ใชงาย 2. ฟลม 35 ม.ม. มีขนาดฟลม 24x36 ม.ม. แตฟลม APS มีขนาด 16.7x30.2 ม.ม. มีรู หนามเตยภาพละ 1 ชอง ทั้ง 2 ดาน ฟลม 1 มวนสามารถถายได 15, 25, หรือ 40 ภาพ 3. สัดสวนของภาพเลือกได 3 สัดสวนคือ ขนาดโปสการดทั่วไป (3 1/2x5 นิ้ว) ขนาด จัมโบ (4x6 นิ้ว) ขนาดพาโนรามา (3 1/2x10 นิ้ว) 4. ภายในกลักฟลมมีแถบแมเหล็กสําหรับบันทึกขอมูลการถายภาพ ไดแก ฟลมยังไมได ถายฟลมถายไปบางสวน ฟลม ถายไปแลวยังไมไดลาง ฟลมที่ลางเสร็จแลว 5. ถายแลวลางเสร็จเก็บไวในกลักได นําไปฉายดูบนจอทีวีและอัดเสียงบรรยายได 6. ตองลางกับเครื่องระบบ APS ซึ่งเครื่องลางสามารถทําภาพทั้งมวนออกมาในกระดาษ 8 นิ้ว เครื่องจะอานขอมูลและทําภาพที่บนั ทึกไวขณะถาย การตกแตงภาพดวยคอมพิวเตอร ภาพถายอาคารที่มีเสาไฟหรือสายไฟฟาที่ระโยงระยางเกะกะ สามารถลบออกดวยระบบ ดิจิตอลบนคอมพิวเตอร สีของทองฟาในภาพเดิมซีดจางมากเลือกทองฟาจากสไลดอกี รูปหนึ่งมาซอน เขาไปใหทองฟาเขมขึ้น จัดองคประกอบหรือเพิ่มเติมสิ่งตางๆเขาไปในภาพไดอยางกลมกลืนโดยใช โปรกแกรม Photoshop เปนอีกกาวหนึ่งของงานโฆษณาหรืองานสรางสรรคภาพใหดมู ีคุณคามาก ยิ่งขึ้น


37 สิ่งกอสรางสถาปตยกรรมที่สวยงาม ถูกสายไฟพาดไปมาทําใหภาพนั้นลดความเดนลง ไป หากหลีกเลี่ยงไปถายบริเวณอื่นทําใหองคประกอบของภาพขาดความสมดุล การแกไขวิธีธรรมดา ทั่วไปตองใชการขูดสิ่งที่รกนั้นออกและตกแตงสีใหมใหกลมกลืนกับภาพบริเวณนั้นเปนวิธีที่ลําบาก และไมแนบเนียนระบบดิจิตอลจึงสามารถแกไขปญหาเหลานี้ได กลองถายภาพระบบดิจิตอล ก ล อ ง ถ า ย ภ า พ ร ะ บ บ ดิ จิ ต อ ล เ ป น เทคโนโลยีการถายภาพที่นําสมัยที่สุด มีการคาดการณ วาระบบดิจิตอลจะเขามาแทนที่กลองที่ใชฟลมหรือไม เปนสิ่งที่ชางภาพจะตองพิจารณาความเหมาะสมกับการ ใชงาน กล องถา ยภาพระบบดิจิตอลพัฒนาไปอยาง รวดเร็วมากคือความละเอียดของภาพ สวนหลังดิจิตอล (Digltal back) บริษัทโก ดักไดผลิตสวนหลังดิจิตอลที่ใชกับกลอง 120 สามารถ ภาพที่ 23 สวนหลังดิจิตอล ใชกับกลอง Hasselblan 555ELD และ Mamiya RZ67 Pro 11 Kodak DCS Proback สําหรับกลองถายภาพ ขนาดกลาง มีความละเอียดถึง 16 ลานพิกเซล ใหไฟลภาพขนาด 48 MB เปนระบบ one –shot ที่ สามารถถายไดทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว กลองหมุนระบบดิจิตอล กลองหมุน 360 โดยใชฟลมบันทึกภาพ มีใชักันมานาน เมื่อนําระบบดิจิตอลมาใชกับกลอง ถายภาพทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ กล อ งหมุ น จึ ง พั ฒ นาไปสู ร ะบบดิ จิ ต อล บริ ษั ท Spheron ไดผลิตกลองดิจิตอล สามารถบันทึกภาพ ได 360° คือการหมุนของกลองไดรอบตัวนั่นเอง กลองนี้มีชื่อวา Spheron VB Panocam กลองหมุนชนิดนี้มี CCD อยูภายใน กระบอกที่ตดิ อยูเหนือแทนหมุน บันทึกภาพ แบบตอเนื่องของการสแกนภาพแนวตั้ง สงผาน

ภาพที่ 24 กลองหมุนดิจิตอล


38 ขอมูลทางพอรต USB เขาสูฮารดดิสก การสแกน ภาพ 360° ใชเวลานอยกวา 60 วินาที กลองดิจิตอลมี Printer ในตัว Canon ไดเปดตัวกลองดิจิตอลรุน Micro B5 เปนกลอง ดิจิตอลแบบคอมแพ็คที่มี Printer ในตัว เมื่อถายแลวสามารถพิมพ ภาพออกมาไดในเวลา 30 วินาที เชนเดียวกับกลองอินสแตนท ดาน หลังจึงมีคาสเซ็ทสําหรับใสกระดาษเทานามบัตร ขนาด 54x54 ม.ม. ออกจําหนายในป 2001 กลองปากกา Spypen กลองถายภาพสําหรับนักสืบหรือตํารวจ มีรูปราง เหมือนปากกา ผลิตโดยบริษัท แอดวานซโฟโตซีสเต็มส จํากัด ประเทศเยอรมันมีขนาดความกวาง x ยาว x หนา 3.0 x 12.5 x 54 ซ. ภาพที่ 25 กลองปากกา ม.หนัก 55 กรัมเหน็บติดกระเปาเสื้อไดสบาย บันทึกไดทั้งภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว เทคโนโลยีทางการถายภาพมีการพัฒนาไปอยางรวดเร็วจนตามไมทัน เราจะตองกาวและ พัฒนาตามใหทันขาวคราวและขอมูลที่เปลี่ยนไป แตเทคโนโลยีใหมดังกลาวหมายถึงการใช งบประมาณในการจัดซั้อซึ่งตองใชจายคอนขางสูง จึงตองพิจารณาถึงความจําเปนและความเหมาะสม ในการนํามาใชวาคุมคากับการลงทุนหรือไปไม

5. อุปกรณตาง ๆ ที่ใชกับกลองถายรูป นอกจากกลองถายรูปแลว ในการถายภาพเพื่อใหไดภาพที่มีคุณภาพ เราจําเปนที่จะตอง ใชอุปกรณตาง ๆ เขามาชวย อุปกรณตา ง ๆ ที่เห็นวามีความสําคัญที่นักถายภาพควรจะไดรูจกั มี ดังตอไปนี้


39 1. ที่บังแสง (Lens Shade) หมายถึงวัสดุทนี่ ํามาสวมตอจากเลนสกลองออกไปมีทั้งชนิด ที่ทําดวยยาง และ ชนิดที่ทําดวยโลหะ ประโยชนของที่บงั แสงนี้คือการปองกันแสงสวางที่สองมาจาก ดานขางหรือดานบนของกลองและจะมาถูกผิวหนาของเลนส ที่บังแสงนี้จะทําหนาที่ขวางทางของ แสงที่จะสองเขามาที่เลนส ซึ่งถาหากไมมีที่บังแสงนี้ภาพทีไ่ ดจะมีฝาหรือหมอกที่บังแสงนี้มผี ูผลิต ออกมาหลายขนาด เหมาะกับขนาดของเลนสที่แตกตางกัน

2. แวนกรองแสง (Filters) เปนวัสดุโปรงใสทํามาจากกระจก หรือ เจลาติน ใชสําหรับ สวมครอบเลนส แวนกรองแสงหรือฟลเตอรนี้ทําหนาที่แตกตางกันไปตามประเภทของฟลเตอร แวน กรองแสงสําหรับถายภาพขาวดําที่มีสีสันตาง ๆ กัน เชน สีเหลือง สม เขียว แดง ฟา น้ําเงิน ฯลฯ เมือ่ ใส แวนกรองแสงสีใดแลว แวนกรองแสงก็จะยอมใหแสงสีนั้นผานจะทําใหไดภาพของวัตถุสีนั้นมีสี สดใสขึ้น และ ในทํานองเดียวกันก็จะทําใหสีตรงขามเขมมืดลง นอกจากนัน้ ยังมีแวนกรองแสง “ยูว”ี ที่ใชประโยชนในการตัดแสงอุลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือมวง ซึ่งจะชวยใหไดภาพที่สดใสขึ้น นอกจากนั้นฟลเตอร “ยูว”ี ยังใหประโยชนในการปองกันรอยขูดขีดตาง ๆ หรือ เศษฝุนละอองที่จะมา ติดเลนสดวย นอกจากนั้นยังมีฟลเตอรตาง ๆ เพื่อใชในการถายภาพเพื่อใหไดผลพิเศษทางภาพ เชน ครอสสกรีน เช็นเตอรโฟกัส มิราจเลนส และ โคลสอัพเลนส ฯลฯ ซึ่งเปนฟลเตอรที่ใชไดทั้งฟลมสี และพิลมขาวดํา


40 3. กระเปาสําหรับใสกลอง (Camera Case) ใชประโยชนในการบรรจุกลองเลนส ฟลม และอุปกรณตา ง ๆ เพื่อสะดวกในการนําติดตัวไปถายภาพนอกสถานที่ ทั้งนี้เพื่อปองกันการขูดขีดและ ฝุนละออง งายตอการเก็บรักษาและตรวจเช็คภายหลังจากการใชงาน กระเปาสําหรับใสกลองนี้มีทั้ง ชนิดที่เปนกระเปาแข็ง และ กระเปานิ่ม โดยเฉพาะกระเปานิ่มเปนกระเปาที่หาซื้อไดงายตามตลาดทั่ว ๆ ไป โดยการตัดแปลงกระเปาใสสิ่งของตาง ๆ นํามาเพื่อใชบรรจุกลองพรอมอุปกรณ

4. ขาตั้งกลอง (Tripod) ใชประโยชนในการติดตั้งกลองเพื่อใชในงานถายภาพ เหมาะ สําหรับใชในการถายภาพก็อปป การถายภาพโดยใชความเร็วชัตเตอรต่ํา การถายภาพในเวลากลางคืน และ การถายภาพตนเอง ฯลฯ โดยทัว่ ไปแลวเราจะใชขาตั้งกลองในกรณีทจี่ ําเปนตองถายภาพดวย ความเร็วชัดเตอรต่ํากวา 1/30 วินาที เพราะถาไมใชขาตั้งกลองแลวภาพที่ถายจะไหว


41 5. ชุดทําความสะอาดเลนส (Lens Cleaning Set) ใชประโยชนในการทําความสะอาด เลนสกอนการเก็บกลอง และ กอนการนํากลองออกมาใช ชุดทําความสะอาดเลนสโดยทั่วไปจะ ประกอบดวย ลูกยางสําหรับเปาลมโดยมีปลายเปนขนออน น้ํายาสําหรับลางเลนส กระดาษเยื่อสําหรับ เช็ดเลนส และผาชามัวรสําหรับเช็ดเลนส ชุดทําความสะอาดเลนสนี้มีจําหนายเปนชุดบรรจุอยูใน กลองหรือซองชวยใหสะดวกแกการนําติดตัวไปในที่ตาง ๆ การทําความสะอาดเลนสนั้นขั้นแรกเริ่มจากการใชแปรงและลูกยางเปาฝุนออกจาก บริเวณเลนสใหหมด สวนแปรงนั้นโดยทัว่ ไปไมนิยมใหถูกบริเวณเลนส แตใชปดฝุนออกจากบริเวณ กระเปาสําหรับใสกลองได เมื่อเห็นวาไมมีฝุนที่บริเวณเลนสแลวก็ใชน้ํายาลางเลนสหยดเพียง 1-2 หยดลงบนเลนส ระมัดระวังอยาหยดมากเกินไปเพราะน้ํายาจะแทรกเขาไปในบริเวณขอบเลนส หลังจากนัน้ ก็ใชกระดาษเยื่อเช็ดคราบสกปรกตาง ๆ ออกจากเลนสใหหมดแลวจึงใชผาชามัวรเช็ดซ้ํา อีกครั้งหนี่งที่เลนสก็จะสะอาด และเมือ่ เลนสสะอาดแลวเพื่อทีจ่ ะไมตองเสียเวลาเช็ดเลนสบอยครั้ง จนเกินไป ควรหาฟลเตอรสกายไลท หรือ ฟลเตอรยวู ี ครอบทับอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเวลาที่จะนํากลองใช ถายภาพในโอกาสตอไป ก็ใชเพียงการทําความสะอาดทีฟ่ ลเตอรเทานัน้ 6. สายลั่นชัตเตอร (Shutter Cable Release) เปนสายที่ตอออกมาจากปุมลั่นชัตเตอร สายนี้อาจทําดวยโลหะหรือผาก็ได สายลั่นชัดเตอรนี้ใชคูกับขาตั้งกลอง ใชถายภาพดวยความเร็วชัต เตอรต่ํากวา 1/30 วินาที ในการถายรูปดวยสายลั่นชัดเตอรนี้เมื่อใชคูกบั ขาตั้งกลองแลว จะใชความเร็ว ของชัดเตอรต่ําเพียงใดก็ได เหมาะสําหรับการถายภาพก็อปปภาพ การถายภาพวัตถุที่มีขนาดเล็ก เชน ดอกไม พระเครื่อง หรือ ใชในการถายภาพในที่มีแสงสวางนอย เชน ในตอนกลางคืน ฯลฯ โดยปกติที่ สวนปลายของสายลั่นชัดเตอรนี้จะมีปุมสําหรับล็อค และเมื่อคลายปุมนี้สายลั่นชัดเตอรจะบังคับใหชัด เตอรของกลองลั่นไกทันที

7. เครื่องวัดแสง (Exposure Meter) กลองถายรูปโดยทั่วไปมักจะมีเครื่องวัดแสงอยูที่ ตัวกลอง เพือ่ วัดแสงที่สะทอนออกมาจากวัตถุและผานเลนสเขาไปในเครื่องวัดแสง ทําใหสามารถ ปรับความเร็วของชัดเตอรและเอฟสตอปไดพอเหมาะกับสภาพของแสงและความไวของฟลมทําให สะดวกแกการถายภาพเปนอันมาก แตอยางไรก็ตามการใชเครื่องวัดแสงที่ติดอยูที่ตวั กลอง ในบาง


42 โอกาสทําใหการวัดแสงผิดพลาดไปจากสิ่งที่ตองการ เชน กรณีที่จําเปนตองถายภาพทวนแสง หรือ แสงสองสวนทิศทางกับกลองและอยูดานหลังของวัตถุ ยังมีเครื่องวัดแสงอีกชนิดหนึง่ คือเครื่องวัดแสงที่แยกออกจากตัวกลอง ใชวดั ไดทั้งแสงที่ สะทอนออกมาจากวัตถุที่ตองการถายภาพ และ แสงที่สองมาจากดวงอาทิตย ไฟฟลัด หรือ ไฟแฟลช เปนตน

8. ไฟแฟลช (Flash gun) เปนอุปกรณสําคัญที่ใชคูกับกลองในการถายภาพในสถานที่ที่มี แสงสวางนอย เชน ในเวลากลางคืน ภายในหองที่แสงอาทิตยสองเขาไปไดนอย ฯลฯ ในบางครั้ง แมแตกลางแจงเวลาเที่ยงมีแสงแดดจัด บางครั้งการใชแฟลชก็เปนสิ่งที่จําเปน เพื่อเปนการลบเงา บริเวณใตคาง ใตจมูก และ ใตตา ทําใหไดภาพที่มีความสวยงามขึ้น แฟลชที่นิยมใชกันอยูมี 2 ชนิดคือชนิดที่ใชไฟหลอด โดยตองเปลี่ยนหลอดทุกครั้งที่ ถายภาพกับแฟลชอิเล็กทรอนิกสที่ใชในการถายภาพโดยใชแบตเตอรี่ และไมตองเปลี่ยนหลอดทุกครั้ง ที่ถายภาพ ปจจุบันแฟลชอิเล็กทรอนิกสไดมีการพัฒนากาวหนาไปมาก และในทางตรงกันขามความ นิยมในแฟลชหลอดก็คอย ๆ หมดไป จนกระทั่งในปจจุบันนี้รูเสียบแฟลชในกลองรุนใหมจะมีเพียงรู เดียวเพื่อใหกบั แฟลชอิเล็กทรอนิกส นอกจากนัน้ แฟลชอิเล็กทรอนิกสในปจจุบันไดมีการพัฒนา โดย เอาระบบคอมพิวเตอรมาใช โดยปรับความเขมของแสงที่จะถูกสงไปจากแฟลชไดเอง และมีการสะสม กระแสไวในตัวแฟลช โดยสามารถกดใหแสงแวบติดตอกันหลายครั้งได


43

6. วิธีการรักษากลองถายรูป กลองถายรูปในปจจุบันมีราคาแพงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ คาซอมแซมเมื่อเกิดความเสียหายก็มี ราคาสูงขึ้น ฉะนั้นวิธีการรักษากลองถายรูปเพื่อใหสามารถใชกลองไปไดนาน เพือ่ ไมตองซอมแซม บอย ๆ จึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญมาก หลักการรักษากลองถายรูปมีดังนี้

6.1 วิธีการรักษาเลนสกลองถายรูป เลนสของกลองถายรูปเปนอุปกรณที่สําคัญที่ทําใหเกิดภาพ ภาพที่ไดจากการถายรูปนีจ้ ะ มีความชัดเจนมากนอยเพียงใดนั้น เลนสของกลองถายรูปมีความสําคัญเปนอยางมาก โดยทัว่ ไปเลนส ตัวที่ติดกลองจะมีราคาอยูระหวาง 1 ใน 3 หรือ 1 ใน 4 ของราคากลองถายรูป หลักในการรักษาเลนส กลองถายรูปมีดังนี้ 1. อยาใหเลนสกลองถูกน้ําหรือเปยกน้ําเปนอันขาด ถาหากทํากลองตกน้ําจะตองรีบ นําสงชางซอมโดยเร็ว เพราะถาหากไมนําสงชางซอม น้ําสวนที่คางอยูตามชองวางระหวางเลนสก็จะ ทําใหเกิดคราบขึ้นตามผิวของเลนส หรือเกิดเชื้อราทีก่ ินอยูตามผิวของเลนสซึ่งจะขจัดใหหมดไปได ยาก คุณภาพของเลนสก็จะเสื่อมลงเรื่อย ๆ เมื่อเชื้อรากระจายมากขึน้ 2. อยาใหเกิดความชื้นบริเวณหนาเลนส โดยเฉพาะการนํากลองไปถายภาพหรือเก็บใน สถานที่ที่มีความชื้นสูง เชน บริเวณน้ําตก หองทําความเย็นที่มีความชื้นมาก ในตูเสื้อผาซึ่งเก็บ


44 ความชื้นไวมาก ฯลฯ เพราะถาหากเกิดความชื้นแลวจะทําใหเปนทีเ่ พาะเชื้อราได วิธีการปองกันก็คือ ภายหลังจากการนํากลองไปถายภาพในบริเวณที่มีความชืน้ สูงตองนํากลองมาทําความสะอาดทันที และเพื่อปองกันความชื้นบริเวณหนาเลนสควรหาสารดูดความชื้นบรรจุในถุงใสไวบริเวณหนาเลนส ดวยก็จะแกปญ  หานี้ได 3. อยาใหเลนสไดรับความรอนจัดจนเกินไป สถานที่ที่มีความรอนจัดไดแก กระโปรง หลังรถยนต หากจําเปนก็ควรบรรจุไวภายในกระเปาอีกชั้นหนึ่ง บริเวณใกลตูอบ เตา เพราะจะเปนเหตุ ใหสารเคลือบเลนสเสื่อมหรือแตก ซึ่งจะมีผลตอภาพที่ถาย 4. อยาถายภาพทวนแสงแดดจัด ในการถายภาพทวนแสงโดยทั่วไปเรานิยมถายภาพ เฉพาะตอนเชาหรือตอนเย็น ซึ่งเปนเวลาทีม่ ีแสงแดดออน หากเปนเวลาตอนเที่ยงซึ่งมีแสงแดดจัดมาก หากเราถายภาพทวนแสงแลว แสงจากดวงอาทิตยจะผานเลนสของกลองถายรูปซึ่งเปนเลนสนูน แสง จะถูกรวมแสงเปนจุดเล็ก ๆ ซึ่งเพียงพอที่จะเผาชิ้นสวนตาง ๆ ภายในกลองถายรูปได รวมทั้งมีผลตอ สารเคลือบเลนสซึ่งอาจแตกหรือหลุดรอนได 5. อยาเปดฝาครอบเลนสและทิ้งกลองไวในที่มีฝุนละอองมาก เพราะจะมีผลทําใหตอ งทํา ความสะอาดเลนสบอย ๆ ซึ่งทําใหเลนสเสื่อมโดยไมจําเปน การทําความสะอาดเลนสทําไดโดยการใช ลูกยางเปาฝุนละอองออกใหหมด ใชน้ํายาหยดตรงกลางเลนสเพียง 1-2 หยดใชกระดาษเช็ดเลนสเพียง เบา ๆ แลวจึงใชผาชามัวรเช็ด ขอควรระวังจะตองไมมีฝนุ ละอองใด ๆ อยูที่เลนส หรือผาชามัวรเปน อันขาด เพราะการเช็ดเลนสจะเทากับเปนการขัดกระดาษทรายทําใหเลนสเปนรอย 6. อยาใชผาหรือกระดาษเช็ดหนาเช็ดเลนส เพราะจะทําใหเลนสเปนรอยขนแมวแกไข ยาก 7. ระมัดระวังละอองจากน้ําทะเล หากนํากลองถายรูปไปถายรูปตามชายหาด ระมัดระวัง ละอองจากน้ําทะเลใหมาก เพราะเปนตัวการสําคัญที่จะทําใหเลนสของกลองถายรูปเสื่อม 8. หาฟลเตอรใส ๆ ครอบเลนส วิธีการที่จะชวยใหเลนสเสื่อมคุณภาพขาที่สุดก็คือการ จัดหาฟลเตอรใส ๆ เชน ฟลเตอรสกายไลท ฟลเตอรปองกันแสงอุลตราไวโอเลต ฯลฯ ครอบเลนสเปน ประจํา เพราะการใชฟลเตอรชนิดนี้จะชวยปองกันฝุนละอองไดดี และไมตองทําความสะอาดเลนส บอย ๆ


45

6.2 ขอควรระวังในขณะใชกลองถายรูป ในขณะถายภาพเปนเวลาที่ชางภาพจําเปนตองใชความคิดเปนอยางมาก ทําอยางไรจึงจะ เลือกมุมถายภาพที่ดี จะตองถายภาพใหทนั กับเวลา การฝกหัดปฏิบัติตวั ใหถกู หลักและติดเปนนิสัย จะ เปนการชวยลดอุบัติเหตุ ความเสียหาย และขอผิดพลาดตาง ๆ ลงไดมาก หลักควรปฎิบัติมีดังนี้ 1. การเปดกลองเพื่อนําฟลมใสควรอยูในสถานที่ปลอดภัย เชน บนโตะ ในสนามหญา ทั้งนี้เนื่องจากวาในขณะนําฟลมใสเขาในในกลองนั้นจะตองถอดชิ้นสวนหลายชิน้ เชน กระเปากลอง ฝาครอบเลนส กลองฟลม ฯลฯ หากทําในสถานที่ไมปลอดภัยแลวอาจเกิดความเสียหายไดเชน กลอง หลุดมือ ลืมอุปกรณบางอยางทิ้งไว เปนตน 2. ขณะถายรูปควรใชสายคลองคอ เพื่อปองกันอุบัติเหตุเนื่องจากกลองหลุดมือหรือลืม กลองทิ้งไวในขณะถายภาพ 3. จัดหากระเปาเพื่อใสกลองและอุปกรณ นักเลนกลองโดยทั่วไปจะตองมีอุปกรณอนื่ ๆ ที่จําเปนอีกมากมาย เชน แฟลชถายรูป ขาตั้งกลอง เลนสถายใกลและถายไกล ฟลเตอรสายลั่นชัดเตอร ฯลฯ ซึ่งตองนําติดตัวไปดวยขณะถายภาพ เพราะหลีกเลี่ยงการสูญหาย ควรจัดกระเปาสําหรับใส อุปกรณเหลานี้ไวโดยเฉพาะ 4. ปรับปุมตาง ๆ ดวยความนุมนวล ไมวาจะเปนการปรับความเร็วของชัดเตอร การปรับ เอฟสตอป จะตองทําอยางชา ๆ เลื่อนทีละสตอบและอยาเลื่อนเร็วเกินไป เพราะกลไกที่อยูภ ายใน กลองที่จะทํางานตามการทํางานของวงแหวนที่อยูรอบเลนสดวย การปรับอยางเร็ว ๆ กลไกที่อยู ภายในอาจปรับตามไมทันได 5. ปรับเอฟสตอปกอนขึน้ ชัดเตอร โดยเฉพาะในกลองที่มีจุดออนบางชนิดการขึน้ ชัด ฉะนั้นตามหลักการใชกลองควรปรับทั้ง เตอรแลวมาปรับเอฟสตอปทีหลังจะทําใหชัดเตอรคาง ความเร็วของชัตเตอรและเอฟสตอปใหเรียบรอยกอน แลวจึงขึ้นชัตเตอร 6. ขึ้นชัดเตอรกอนตั้งอัตโนมัติ ในการถายภาพโดยใชขาตั้งและตองการถายภาพตนเอง ซึ่งจําเปนตองตั้งปุมอัตโนมัติ จะตองขึ้นชัดเตอรกอนตั้งอัตโนมัติ หากไมทําเชนนี้ชดั เตอรอาจคางได 7. ตรวจดูความเรียบรอยกอนเก็บกลอง สิ่งที่มักลืมกันเปนประจําไดแก ฝาครอบเลนสฝา ครอบรูเสียบแฟลช ปุมวัดแสง ฯลฯ ฉะนัน้ กอนเก็บกลองควรตรวจดูใหเรียบรอยเสียกอน 8. ในกรณีที่ตอ งการเก็บกลองและไมใชในชวงเวลานาน ๆ ใหปฏิบัตดิ ังนี้ 8.1 ปรับเอฟสตอปใหอยูใ นตําแหนงที่มีรรู ับแสงกวางทีส่ ุด หรือตัวเลขต่ําสุด


46 8.2 ตั้งความเร็วของชัตเตอรใหอยูที่ตําแหนง บี. เพื่อใหคลายสปริงมากที่สุดชวย ใหความคงทนของชัตเตอรอยูในระดับคงที่ตลอดไป หรือรักษาคุณภาพของลาน ใหอยูใ นระดับเดิม 8.3 อยาขึ้นชัตเตอรคางเอาไว เพราะจะทําใหลานตึงโดยใชเหตุ 8.4 เอาถานวัดแสงออก เพื่อหลีกเลี่ยงไฟช็อตและขี้เกลือขึ้น


บทที่ 3 ความรูเ กี่ยวกับการถายภาพ 1. การตั้งหนากลองถายรูป สิ่งที่สําคัญในการถายรูปนั้นมีสิ่งที่สําคัญอยู 2 ประการดวยกันคือ 1.1 การปรับแสง หมายถึงขบวนการที่แสงสะทอนจากวัตถุผานเลนสของกลองถายรูป ผานรูรับแสง และชัตเตอร เขาไปทําปฏิกิริยากับฟลม มีองคประกอบทีส่ ําคัญ 4 ประการคือ 1.1.1 แสงที่สะทอนจากวัตถุ แสงที่จะสะทอนจากวัตถุที่ตองการถายภาพจะมีมากหรือ นอยขึ้นอยูกับองคประกอบที่สําคัญอยู 2 ประการคือ ปริมาณของแสงที่สงมายังวัตถุมากหรือนอย ประการหนึ่ง และการสะทอนแสงของวัตถุอีกประการหนึ่ง เชน วัตถุสีขาวยอมสะทอนแสงไดดกี วา วัตถุที่เปนสีดําหรือสีเทา เปนตน 1.1.2 รูรับแสง (Aperture) คือชองทางที่แสงผานเลนสไปยังฟลม ขนาดของรูรับแสงนี้ อาจปรับใหมขี นาดใหญหรือเล็กได โดยกลไกที่เรียกวา “เลนสไดอะแฟรม”(Lens Diaphragm) ซึ่งมี ลักษณะเหมือนกลีบดอกไมทําดวยโลหะแผนบาง ๆ โดยมีตวั เลขที่บอกขนาดของรูรับแสงซึ่งเรา เรียกวา “เอฟสตอป” (F-Stop) หรือ “เอฟนัมเบอร” (F- Number) 1.1.3 ความเร็วของชัตเตอร (Shutter Speed) หมายถึงชวงเวลาที่แสงผานเลนสไปยัง ฟลม กลไกที่ควบคุมเวลาทีแ่ สงผานนี้เราเรียกวา “ชัตเตอร” มีทั้งชนิดที่อยูระหวางเลนส และชนิดมาน ที่อยูดานหนาของฟลมภายในตัวกลอง 1.1.4 ความไวของฟลม (Film SpeedD) หมายถึงคุณสมบัติในการรับแสงของฟลม ฟลม ในแตละชนิดมีความไวแสงไมเทากัน ฟลมที่มีความไวแสงมาก แสงเพียงเล็กนอยก็เพียงพอทีจ่ ะทํา ปฏิกิริยากับสารไวแสงบนเนือ้ ฟลมแลว แตสวนฟลมทีม่ ีความไวแสงนอยก็เพียงพอที่จะทําปฎิกิรยิ า กับสารไวแสงบนเนื้อฟลมแลว แตสวนฟลมที่มีความไวแสงนอยก็จะตองการปริมาณของแสงมากจึง จะเพียงพอที่จะทําใหปฏิกิริยากับสารไวแสงบนเนื้อฟลม หนวยวัดความไวของแสงที่นิยมใชกันอยูมี อยู 3 หนวยดวยกันคือ เอเอสเอ. (ASA.-American Standard Association) ซึ่งเปนหนวยวัดแสงตาม ระบบอเมริกัน และ ดิน (DIN Deutsch industry Norm) เปนหนวยวัดแสงตามระบบเยอรมัน ซึ่งองคประกอบทั้ง 4 ประการนี้มีสวนเกีย่ วของกับการปรับแสง ดังแสดงไดจากรูปใน หนาถัดไป


48

1.2 การปรับภาพ หมายถึงขบวนการนับตั้งแตเรามองผานชองมองภาพไปยังวัตถุที่ตองการถายภาพ ผูที่จะ ทําการถายภาพจะตองคํานึงถึงสิ่งที่สําคัญ 3 ประการดวยกันคือ 1.2.1 การปรับโฟกัส (Focusing) คือการปรับชวงระยะระหวางเลนสถึงวัตถุใหสัมพันธ กับเลนสถึงฟลม การปรับโฟกัสนี้ทําไดโดยการหมุนวงแหวนรอบเลนส เลนสจะยืดออกหรือหดเขา จนกระทั่งไดระยะพอเหมาะ ซึ่งจะดูไดจากภาพของวัตถุที่ผูที่ทําการถายภาพเห็นจากชองมองภาพ 1.2.2 การประกอบภาพ (Composition) คือการมองผานชองมองภาพไปยังวัตถุที่ ตองการถาย สิ่งนั้นอาจจะเปนภาพคน ภาพทิวทัศน หรือ สิ่งกอสรางก็ตาม จําเปนอยูเองที่เราจะตอง คํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ที่จะประกอบเปนภาพ เพื่อใหไดภาพที่สื่อความหมายมากที่สุด มุมถายดีที่สุดอัตรา ของทองฟา พื้นดินและพื้นน้าํ ฯลฯ สิ่งเหลานี้อยูในเรื่องการประกอบภาพทั้งสิ้น 1.2.3 ชวงระยะชัด (Depth of field) คือชวงระยะชัดของวัตถุตาง ๆ ที่เราถายภาพ เนื่องจากภาพที่ถายดวยกลองถายภาพนัน้ ไมเหมือนกับภาพที่เราเห็นดวยตา ภาพที่เห็นดวยตานัน้ จะ ชัดตลอดทุกระยะ แตภาพทีเ่ กิดจากการถายภาพนั้นจะมีชวงหนึ่งชัด และอีกชวงหนึง่ ไมชัดฉะนัน้ การ ถายภาพนัน้ ผูถ ายภาพจึงควรจะมีความรูในเรื่องชวงระยะชัดบางพอสมควร เพื่อจะไดนําไปใชในการ ถายภาพเพื่อใหไดภาพที่สวยงามที่สุดตอไป รายละเอียดในแตละเรื่องจะไดกลาวเปนเรื่อง ๆ ไป

2. เลนสและความรูเกี่ยวกับเลนส ในกลองถายรูปทุกกลองในปจจุบันจะตองมีเลนส เลนสของกลองถายรูปนี้ ทํามาจาก แกวหรือกระจกคุณภาพดี มีความใสมาก ไมมีฟองอากาศ ทําหนาที่เหมือนกับเลนสนูน หรือปริซึม 2 อัน หันฐานเขาหากัน ในกลองราคาถูก ๆ อาจจะใชเลนสเพียงชิ้นเดียวโดยจัดทําเปนเลนสนูน ลักษณะ ของการรับแสงและรวมแสงตังในภาพ


49

แสงที่ผานเลนสนูนจะไปเกิดภาพที่จดุ หนึ่ง สวนในกลองถายรูปชั้นดีและมีราคาแพงโดยทั่วไป เลนสของกลองถายรูปจะมีลักษณะ เปนกลุมของเลนส มีตั้งแต 6 ถึง 8 ชิ้นดวยกัน แตละชิ้นมีลักษณะแตกตางกันออกไป บางชิ้นก็เปน เลนสนูนทั้งสองดาน บางชิ้นก็เปนเลนสเวาทั้งสองดาน แตถาสรุปการทํางานแลวก็จะทํางาน เหมือนกับเลนสนูนหรือปริซึมนั่นเอง เลนสของกลองถายรูปในปจจุบันไดมกี ารพัฒนาไปมาก มีการนําเอาน้าํ ยามาฉาบผิวหนา ของเลนสในแตละชิ้น ทําใหสามารถถายภาพทวนแสงไดดีขึ้น ไดภาพที่มีความคมชัดมากยิ่งขึน้

2.1 ชนิดของเลนส สําหรับกลองถายรูปที่สามารถถอดเลนสเปลี่ยนไดนั้น อาจสับเปลี่ยนเลนสไดเพื่อให เหมาะสมกับสิ่งที่จะถายและสถานที่ถายภาพ เราอาจแบงชนิดของเลนสไดดังนี้ 2.1.1 เลนสธรรมดาหรือเลนสปกติ (Normal Lens) เปนเลนสที่ติดกับตัวกลองมาแตเดิม เหมาะสําหรับการถายภาพทัว่ ๆ ไป สิ่งที่ถูกถายภาพจะอยูในสภาพที่เหมือนจริงเหมือนกับการ มองเห็นของนัยนตามนุษย ความยาวโฟกัสของเลนสชนิดนี้หากดูทหี่ นาเลนสจะอยูป ระมาณ 50 มม. หรือ 2 นิ้ว หรือระหวาง 45-58 มม. ซึ่งจะเทากับเสนทแยงมุมของฟลมถายรูปขนาด 35 มม. ซึ่ง ใกลเคียงการเห็นของนัยนตามนุษยคือ ประมาณ 54 องศา


50 2.1.2 เลนสมุมกวาง (Wide Angle Lens) เปนเลนสที่มีความยาวโฟกัสสั้นกวาเลนสปกติ และมีมุมถายภาพกวางกวาปกติคือประมาณ 60 องศาขึ้นไป เลนสมุมกวางนีเ้ หมาะสําหรับใชในการ ถายภาพในสถานที่จํากัด เชน ภายในหองที่ถายดวยเลนสปกติจะครอบคลุมสวนที่ตองการถายภาพไม หมด หรือ ภาพสิ่งกอสรางหรือทิวทัศนซงึ่ ถาจะถายภาพจะตองถอยหลังออกไปมากจะเห็นภาพไดไม กระจางชัด ภาพที่ถายดวยเลนสมุมกวางนีจ้ ะไดภาพที่ “ชวงระยะชัด” ลึกมากคือชัดตั้งแตระยะใกลซึ่ง อยูขางหนาวัตถุที่ถาย จนถึงระยะไกลสุดที่อยูดานหลังของวัตถุที่ถายแตเลนสมุมกวางนี้ก็มีขอเสียอยู ตรงที่ภาพของสิ่งที่อยูใกลจะมีขนาดโตไมไดสวนสัมพันธกับสิ่งที่อยูไกล ทําใหภาพที่ไดผิดเพีย้ นไป จากความจริง ฉะนั้นในกลองที่ราคาถูก ๆ ชนิดที่ไมมี “การหาโฟกัส” โดยการมองผานชองมองภาพ จะใชเลนสมุมกวางเปนเลนสติดกลองแทน โดย ใชภาพแทนการหาโฟกัส โดยทําเปนภาพของ ภูเขา (ระยะไกล) ภาพหมูคน ภาพคนเต็มตัว ภาพคนครึ่งหัว ภาพเคนเฉพาะใบหนา แทน 2.1.3 เลนสถายไกล หรือ เลนสเทเลโฟโต (Telephoto Lens) เปนเลนสที่มีคุณสมบัติ คลายกลองสองทางไกล เลนสถายไกลนีจ้ ะมีความยาวโฟกัสยาวกวาเลนสปกติ คือมีความยาวโฟกัส ตั้งแต 100 มม. ขึ้นไปจากความจริงที่วาหากเลนสของกลองถายรูปยิ่งมีความยาวโฟกัสมาก ขนาดของ ภาพจะมีขนาดโตขึ้น เลนสถายไกลนี้มมี ุมในการถายแคบกวาเลนสปกติ ทําหนาที่ขยายภาพที่อยูไกล ใหโตขึ้น เหมือนกับการเคลือ่ นกลองเขาไปถายในระยะใกลกับวัตถุ จึงสะดวกในการถายภาพสิ่งทีอ่ ยู ไกล ๆ ซึ่งผูถายภาพไมสามารถเขาไปถายภาพในระยะใกลวัตถุได เชน การถายภาพนก สัตวปา หรือ สัตวในสวนสัตว ฯลฯ เลนสถายไกลนี้มีราคาแพงและใชไดเฉพาะกลองสะทอนเลนสเดี่ยว สวนกลอง ที่ไมสามารถถอดเลนสไดจะตองใชเลนสเทเลพลัส (Tele-plus Lens) แทน โดยตอออกมาจากเลนสที่ ติดกลอง 2.1.4 เลนสซูม (Zoom Lens) เปนเลนสที่สามารถเปลี่ยนความยาวโฟกัสของเลนสไดใช ประโยชนเหมือนกับเลนสถายไกล หรือเลนสเทเลโฟโต แตกตางกันตรงที่เลนสเทเลโฟโตปรับความ ยาวโฟกัสไมได แตเลนสซูมนั้นปรับความยาวโฟกัสของเลนสได เชน 36-105 มม. หรือ 85-205 มม. เปนตน ยังมีขอที่จําเปนตองทําความเขาใจคือคําวา ซูมเลนส กับ เทเลซูมเลนสนั้น หากเลนสมี ความยาวโฟกัสอยูในชวงตั้งแตเปนเลนสมมุ กวางจนถึงเทเลโฟโตนั้นเราเรียกวา “ซูมเลนส” หรือ “เลนสซูม” แตถาเลนสนั้นมีความยาวโฟกัสอยูในชวงเทเลโฟโตขึ้นไปเราเรียกวา “เทเลซูมเลนส” เชน เลนสที่มีความยาวโฟกัส 36-105 มม. เปน “เลนสซูม” และ เลนสที่มีความยาวโฟกัส 85-205 มม. เปน “เลนสเทเลซูม” ขอแตกตางในการใชงานนัน้ “เลนสเทเลโฟโต” และ “เลนสซูม” มีขอดีกันคนละอยาง คือหากตองการถายภาพประเภทเดียวและระยะเดียวติดตอกัน เชน การถายภาพบุคคลหรือนางแบบ


51 เรานิยมใช “เทเลโฟโต” แตถาหากถายภาพการแขงขันกีฬา จําเปนตองเปลี่ยนความยาวโฟกัสอยาง รวดเร็ว เราก็นยิ มใช “เลนสซูม”

2.2 คุณสมบัตขิ องเลนส เลนสแตละเลนสมีคุณสมบัติไมเหมือนกัน กอนที่จะซื้อเลนสแตละเลนสมาใชงานควร จะไดศกึ ษาคุณสมบัติของเลนสนั้น ๆ ใหเขาใจเสียกอน สิ่งที่เราควรทําความเขาใจมีดังนี้ 2.2.1 ความยาวโฟกัสของเลนส เลนสแตละเลนสจะมีความยาวโฟกัสแตกตางกันออกไป ที่ขอบของเลนสจะมีตัวเลขบอกเอาไว เชน เอฟ. เทากับ 28 มม., 35 มม., 45 มม., 50 มม., 55 มม., 85 มม., 105 มม., 205 มม.,400 มม. เปนตน ตามความหมายของตัวเลขทีแ่ สดงไวทหี่ นาเลนสนั้น หากเขียนวาความยาวโฟกัสของ เลนสเทากับ 50 มม. แสดงวาเลนสนั้นเปนเลนสปกติ ถาเขียนวาความยาวโฟกัสของเลนสเทากับ 28 มม. หรือ 35 มม. ก็แสดงวาเลนสนั้นเปนเลนสมุมกวาง และ หากเขียนวาความยาวโฟกัสเทากับ 85 มม. หรือ 105 มม. หรือ 135 มม. หรือ 205 มม. แสดงวาเลนสนั้นเปนเลนสเทเลโฟโต และ ถาเลนส นั้นเขียนวาความยาวโฟกัสของเลนสเทากับ 85-205 มม. ก็แสดงวาเปนเลนสเทเลซูม เปนตน ตัวเลขของความยาวโฟกัสของเลนสนี้หมายถึงระยะที่วดั จากแกนมุมของเลนสจนถึง แผนฟลมดานหลังของกลอง การวัดจะตองวัดในขณะที่ปรับโฟกัสในระยะไกลสุด หรือ อินฟนิตี้ โดยทั่วไปในกลองถายรูปธรรมดาทั่วไป เลนสธรรมดาหมายถึงเลนสที่มีความยาวโฟกัสเทากับเสน ทแยงมุมของภาพที่ปรากฏบนฟลมเพราะเลนสที่มีความยาวโฟกัสขนาดนั้นเหมาะสําหรับถายรูปทั่ว ๆ ไป ความรูที่ควรทราบเกี่ยวกับความยาวโฟกัสของเลนสก็คือ เมื่อความยาวโฟกัสของเลนสยิ่งยาวก็จะ ทําใหมุมถายภาพแคบเขา และ การยนระยะทางที่มองเห็นไดไกลเขามาใกล เชน เลนสเทเลโฟโต หรือ


52 เลนสเทเลซูบ แตถาความยาวโฟกัสของเลนสยิ่งสั้น ก็จะทําใหมุมถายภาพกวางขึน้ เชน เลนสมุมกวาง หรือ เลนสวายแองเกิล เปนตน

2.2.2 ขนาดของเลนส เลนสของกลองถายรูปแตละกลองมักเขียนขนาดของเลนสไวบน ขอบเลนส เชน f/1.9, f/3.5, f/2.8 หรือ 1/3.5 เชน กลองถายรูปกลองหนึ่งที่หนาเลนสเขียนไววา f = 1.9 F = 55 มม. ถาทานตองการทราบเสนผาศูนยกลางของเลนสวาเลนสนี้จะยาวเทากับเทาใด ก็สามารถคํานวณไดจากสูตร f = F/D (f คือขนาดของเลนส, F คือ ความยาวโฟกัสของเลนส และ D คือเสนผาศูนยกลางของ เลนส) แทนคาในสูตร f = F /D หรือ f = F/D/f เทากับ 50/1.9 จะเทากับ 26.31 ดังนั้น เสนผาศูนยกลางของเลนสจะเทากับ 26.31 มม. แสดงวาขนาดของเลนส F ยิ่งนอยเทาใด ยิ่งตัวเลขนอย เทาใด ขนาดของเลนสก็จะยิง่ โตมากขึ้นเทานั้น 2.2.3 ความไวของเลนส (เลนสสปด) คือตัวเลขที่บอกความกวางที่สุดของรูรับแสงของ เลนสที่จะสามารถเปดได ดังตัวอยางเชน กลองถายรูปที่ใชฟลมขนาด 35 มม. กลองหนึ่ง ที่หนาเลนส เขียนวา 1/1.7/40 แสดงวากลองถายรูปกลองนี้มีความไวของเลนสเทากับ 1.7 หรือสามารถปรับเอฟ สตอปใหไดตวั เลขต่ําสุดเทากับ 1.7 และ มีความยาวโฟกัสของเลนสเทากับ 40 มม. ซึ่งจัดไดวาเปน เลนสมุมกวางหรือเลนสไวดแองเกิล


53 กลองนี้เลนสมีความยาวโฟกัส 50 มม.เปนเลนสปกติ และความ ไวของเลนส1.4 คือเปดรูปรับ แสงต่ําสุด 1.4

กลองนี้เลนสมีความยาวโฟกัส เทากับ 50 มม. และมีความไว ของเลนสเทากับ 1.7

2.3 สิ่งที่มีสวนเกี่ยวของกับเลนส สิ่งที่มีสวนเกี่ยวของกับเลนส พอสรุปเปนขอ ๆ ไดดังนี้ 2.3.1 โฟกัส (Focus) หมายถึงการปรับระยะระหวางเกมส กับ วัสดุไวแสงใหสมั พันธกับ ระยะจากเลนสถึงวัตถุ หากวัตถุอยูไกลมาก (๐๐) ระยะของการเกิดภาพชัด จะอยูที่จดุ โฟกัสของเลนส


54 หาก F เทากับ U เทากับ V เทากับ สูตรจะเปนดังนี้

ความยาวโฟกัสของเลนส ระยะจากวัตถุถึงเลนส ระยะจากเลนสถึงภาพ 1 F

=

1 1 + u V

2.3.2 ขนาดของภาพ (Image Size) ขนาดของภาพ กับ เลนสมีสวนสําคัญ พอสรุปเปน ขอ ๆ ไดดังนี้ 2.3.2.1 ขนาดของภาพจะใหญ หรือ เล็ก ยอมขึ้นอยูก ับ ระยะของวัตถุที่อยูหางจาก เลนสหากวัตถุอยูใกลเลนส ภาพที่เกิดขึน้ ที่ฟลมจะมีขนาดใหญ หากวัตถุอยูไ กลจากเลนส ภาพที่ เกิดขึ้นที่ฟลมก็จะมีขนาดเล็กลง 2.3.2.2 ขนาดของภาพจะขึน้ อยูกับความยาวโฟกัสของเลนส หากเลนสมีความยาว โฟกัสมาก ขนาดของภาพจะใหญกวาเลนสที่มีความยาวโฟกัสนอย อาจเขียนเปนสูตรไดดังนี้ ขนาดของภาพ เทากับ ขนาดของวัตถุ x ความยาวโฟกัสของเลนส ระยะจากวัตถุถึงเลนส

3. รูรับแสง เลนสไดอะแฟรม และ เอฟสตอป รูรับแสง (Aperture) คือชองหรือรูกลม ๆ สําหรับชองทางที่แสงผาน ชอง หรือ รู กลม ๆ นี้ อาจจะอยูที่แผนโลหะแผนเดียวเจาะรู หรือ อยูระหวางกลีบโลหะก็ได สําหรับในกลองมินิเอเจอร หรือ กลองรีเฟลกซ โดยทั่วไปแลวรูรับแสงนี้จะอยูระหวางกลีบโลหะที่วางเรียงซอน ๆ กัน กลีบโลหะนี้เรา


55 เรียกวา “เลนสไดอะแฟรม” (Lens Diaphragm) เลนสไดอะแฟรมนีจ้ ะทําหนาที่ควบคุมขนาดของรูรับ แสงซึ่งอยูตรงกลาง ใหมีขนาดใหญหรือเล็กลงได (ดังรูป)

ในการปรับใหเลนสไดอะแฟรมทํางานนี้จะตรงปรับที่บริเวณวงแหวนทีอ่ ยูรอบเลนสซึ่ง จะทําหนาที่ควบคุม โดยมีตวั เลขกํากับเอาไว ตัวเลขนี้เราเรียกวา “เอฟ สตอป” (F-Stop) หรือ “เอฟ นัม เบอร” (F-Number) โดยเขียนไวทวี่ งแหวนรอบเลนส ตัวเลขที่เขียนกํากับไวจะเรียงลําดับตั้งแตนอยไป หามากดังนี้ 1, 1.4, 2, 2.8, 4, 5.6, 8, 11, 16, 22, 34, 64,………………….. ระหวางตัวเลขหนึ่ง ๆ เราเรียกวา “สตอป” ในแตละสตอปจะกําหนดพื้นที่ทแี่ สงผาน เพิ่มขึ้นเปน 2 เทาของอีกสตอปหนึ่ง เชน พื้นที่ที่แสงฝานเมื่อตั้งเอฟสตอป 5.6 จะมากกวา เมื่อตั้งเอฟ สตอป 8 พื้นที่แสงผานจะมากกวา เอฟสตอป 11 อยู 2 เทา ดังแสดงในรูป

ภาพแสดงขนาดรูรับแสงและเอฟสตอป

ภาพกลองถายรูปแสดงใหเห็น วงแหวนเอฟสตอป


56

4. ชัตเตอร และ ความเร็วของชัตเตอร ชัตเตอร (Shutter) เปนกลไกอยางหนึ่งซึ่งอยูภายในตัวกลองถายรูป ทําหนาที่ในการควบคุม เวลาของแสงที่จะผานเลนสไปยังฟลม ชัตเตอรจะทําหนาที่ขวางกัน้ แสงที่จะผานนีไ้ วในการที่แสงจะ ผานชัตเตอรไปยังฟลมนี้ หากชวงเวลาที่แสงผานนาน ปริมาณแสงที่จะไปตกยังฟลม ก็จะมาก และใน ทํานองเดียวกันหากชวงเวลาที่แสงผานชัตเตอรนั้นสั้น แสงก็จะไปตกยังฟลมนั้นก็จะนอย ใน สมัยกอนการควบคุมเวลาทีแ่ สงจะผานไปยังฟลมนี้เราใชฝาครอบการเปดและปดใชมือจับฝาครอบ เปดออก ชวงเวลาใชความชํานาญในการกะเวลาเมื่อไดปริมาณแสงพอสมควรแลวก็จะปดฝาครอบ ในขณะนั้นฟลมเนกาตีฟทีใ่ ชในการถายภาพยังเปนฟลมที่มีความไวแสงนอย ปจจุบันฟลมเนกาตีฟที่ ใชอยูโดยทั่วไปนั้นเปนฟลมที่มีความไวแสงมากทั้งสิ้น ความรวดเร็วในการกําหนดชวงเปดปดของ ชัตเตอรจึงใชระยะเวลาสั้น ๆ โดยทั่วไปแลวจะสัน้ กวา 1 วินาที 4.1 ประเภทของชัตเตอร กลองถายรูปในปจจุบันนี้หากจะแบงประเภทตามความแตกตางของชัตเตอรแลว อาจ แบงออกไดเปน 2 ชนิดคือ 4.1.1 ชัตเตอรระหวางเลนส เปนชัตเตอรที่อยูระหวางเลนสในกลองถายรูป มีลักษณะ เปนแผนโลหะบาง ๆ ซอนกันเหมือนกลีบดอกไม เวลาชัตเตอรปดหมดแผนโลหะนี้จะวางซอนกันจน สนิทจนกระทัง่ แสงไมสามารถผานไปได สวนเวลาเปดแผนโลหะนีจ้ ะบานออก ชวงเวลานี้เองแสงจะ ผานเลนสเขาสูฟลม


57 กลองถายรูปในปจจุบันนี้จะมีความเร็วชัตเตอรตั้งแต 1 วินาที จนกระทัง้ 1/1,000 วินาที ลักษณะของการเปดปดชัตเตอรอาจแสดงใหเห็นได ดังรูปขางลางนี้

4.1.2. ชัตเตอรมาน ( Focal Plane) เปนชัตเตอรทที่ ําดวยแผนโลหะบางๆ หรือแผนผาอยู บริเวณดานหลังของกลองถายรูปในสวนที่บังแสงที่ผานเลนสไปยังฟลม ชัตเตอรมานนี้มีความเร็ว ตั้งแต 1 วินาที จนถึง 1 / 2,000 วินาที ชัตเตอรมานนีม้ ีขอเสียตรงที่หากนํามาถายภาพดวยแฟลชแลว จะตองตั้งความเร็วชัตเตอร 1 / 30 หรือ 1 / 60 วินาทีเทานั้น โดยที่กลองจะทําเครื่องหมายความเร็วของ ชัตเตอรที่ใชแฟลช “เอ็กซ ” หากตั้งความเร็วชัตเตอรเร็วกวานี้แลวภาพที่ถายไดจะไดรับแสงไมเต็ม ภาพ


58 นอกจากกลองถายรูปที่มีชัตเตอรอยางใดอยางหนึ่งใน 2 ประเภทนี้แลว ยังมีกลองที่มี ชัตเตอรทั้ง 2 ประเภทนี้อยูภ ายในกลองเดียวกัน

กลองที่มีชัตเตอรมานและชัตเตอรระหวางเลนสอยูภายในกลองเดียวกัน

4.2 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับความเร็วของชัตเตอร ความเร็วของชัตเตอรหมายถึงชวงเวลาทีแ่ สงผานเลนสไปยังฟลม กลไกที่ควบคุมการ เปดปดของชัตเตอรนี้เราใชระบบสปริง หากตั้งใหสปริงตึงมากชวงเปดปดของชัตเตอรจะเร็ว หากตั้ง สปริงออนชวงเปดปดชัตเตอรจะชา ตําแหนงทีใ่ ชในการปรับความเร็วของชัตเตอรนั้นในบางกลองก็ จะอยูที่ตวั วงแหวนรอบเลนส บางกลองก็จะมาอยูที่ตัวกลองถายรูป ตัวเลขที่แสดงความเร็วของชัต เตอรนี้เริ่มจาก


59 T (timer)

หมายถึงเวลาถายรูปที่ตองนับเวลา การถายรูปโดยการตัง้ “T” นี้ทําไดโดยการถายรูปที่ ใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอร ในการกดชัตเตอรครัง้ แรกนั้น ชัตเตอรจะเปดคางอยู เพื่อใหแสงฝานเขาไปทําปฏิกิริยากับฟลมตลอดเวลา จนกระทั่งกดปุนลั่นชัตเตอรครั้งที่ 2 ชัตเตอรจึงจะปด “T” นี้จะพบอยูใ นกลองถายรูปขนาดใหญราคาแพงที่ตองการ ชวงเวลาในการเปดรับแสงนาน ๆ เชน กลองที่ใชในงานกราฟคตามโรงพิมพตาง ๆ สวน ในกลองถายรูปขนาดเล็กเราอาจใชสายลั่นชัตเตอรตออกมาจากตัวกลองถายรูป โดยตอ ออกมาจากปุมลั่นชัตเตอร โดยสายลั่นชัตเตอรนี้จะมีปุมเกลียวสําหรับล็อค เหมือนกับ การตั้งความเร็วจองชัตเตอรที่ “T” B (Bulb) หมายถึงการถายรูปดวยการนับเวลาเหมือนกับการตั้ง “T” ที่กลองถายรูป แตกตางกัน ตรงที่ การตั้ง “B” นี้ใชเวลานอยกวา ฉะนัน้ ในชวงเวลาที่ตองการใหชตั เตอรเปดอยูก ็ให กดปุตชัตเตอร หรือ ปุมที่สายลั่นชัตเตอรและคางเอาไว จนกระทั่งครบตามกําหนดเวลา จึงถอนนิ้วมือออก ชัตเตอรก็จะลั่นปดตามเวลาที่เราตองการ ทั่ง “T” และ “B” นี้ นอกจากจะใชประโยชนในการถายภาพทีต่ องการชวงเวลาในการ เปดปดชัตเตอรนาน ๆ แลว อาจนํามาใชประโยชนในการตรวจดูความสะอาดของเลนสกลองถายรูป ได สวนในการถายภาพที่ตอ งการใชเวลาที่แสงเขาไปทําปฏิกิริยากับฟลมนาน ๆ นั้น ไดแกการ ถายภาพดวยแสงจากหลอดไฟขนาดเล็ก การถายภาพทิวทัศนในเวลากลางคืน การถายภาพวัสดุจดั ตั้ง ที่ใชแสงนอย ๆ ในการถายภาพนั้น ๆ จําเปนตองใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอรเขามาดวย สวนความเร็วของชัตเตอรตามปกตินั้น จะเริ่มตั้งแต 1 วินาทีลงมาและจะลดลงมาทีละ ครึ่งเสมอ การลดลงมาทีละตําแหนงนี้เราเรียกวา “สตอป” เชนเดียวกับ “เอฟ-สตอป” ซึ่งจะมีผลทําให ปริมาณแสงทีผ่ านเลนสไปยังฟลมจะลดลงทีละครึ่งเชนกัน โดยเริ่มจาก 1 วินาที, ½ วินาที, ¼ วินาที….อาจเขียนไดโดยเรียงลําดับดังนี้ T, B, 1, 1/2, 1/4, 1/8, 1/16, 1/32, 1/64, 1/128, 1/256, 1/512, 1/1,024 วินาที ซึ่งหากเขียน เต็มที่ดังกลาวนี้จะตองเปลืองเนื้อที่เปนอยางมาก เพราะจําเปนจะตองบรรจุลงภายในวงแหวนรอบ กลองหรือ ภายในวงกลมเล็กที่ตัวกลอง ฉะนั้นจึงจําเปนที่จะตองปดตัวเศษที่เปน 1 ออกนํามาเขียนได ดังนี้ T, B, 1, 2, 4, 8, 16, 32, 64, 128, 256, 512, 1,024 และ เพื่อใหตวั เลขดูงายขึ้นโดยคํานึงถึงหลักที่วา ใหเปนหลักเต็ม เชน 1,000, 500, 250, 125, 60, 30, 15, โดยใชเหตุผลที่วาตามขอเท็จจริงแลวชวงความเร็วมาก ๆ ดังกลาวนี้ความเร็วจะเริ่ม ไมคอยแนนอนแลว เพราะกลไกในการทํางานของสปริง หรือ ความฝดของชัตเตอรที่เปนกลีบโลหะ หรือ ชัตเตอรที่เปนมานที่ทาํ มาจากผา ฉะนั้นจึงมีการปรับตัวเลขใหจําไดงายเขา ดังนี้


60 T, B, 1, 2, 4, 8, 15, 30, 60, 125, 250, 500, 1,000 หมายเหตุ

เฉพาะ “T” และ 1,000 มีเฉพาะในกลองถายรูปที่มีคุณภาพดี และ ราคาแพง ๆ เทานั้น สวนในกลองทั่วๆ ไป มักจะมีความเร็วของชัตเตอรต่ําสุดเพียงแค “B” และสูงสุดเพียง แค 500 เทานัน้

4.3 ความสัมพันธระหวางความเร็วของชัตเตอรกับเอฟสตอป จากที่ไดอธิบายมาแลวเราจะเห็นไดวา ความเร็วของชัตเตอรเพิ่มขึ้น 1 สตอป ปริมาณ ของแสงจะลดลงครึ่งหนึ่ง และในทํานองเดียวกันเมื่อปรับเอฟสตอปเพิม่ ขึ้น 1 สตอป ปริมาณของแสง ก็จะลดลงเหลือเพียงครึ่งหนึง่ เชนกัน ฉะนัน้ ในการถายภาพหากถายภาพที่เดิมความไวของฟลมเทาเดิม ตัวเลขของความเร็วของชัตเตอร และ ตัวเลขเอฟสตอป จะแปรตามซึ่งกันและกัน เชน ความเร็วของชัตเตอร เอฟ – สตอป

8 22

15 16

30 11

60 8

125 5.6

การปรับตัวเลขเอฟสตอป และ ความเร็วของชัตเตอร ในแตละชอง โดยการเพิ่มความเร็ว ของชัตเตอรขึ้นไป 1 สตอป และ ลดเอฟสตอปลงมา 1 สตอป ปริมาณของแสงที่จะผานเลนสเขาไปทํา ปฏิกิริยาบฟลมจะคงเดิม หากเราสามารถปรับเอฟสตอปใหสัมพันธกับความเร็วของชัตเตอรอยาง พอเหมาะแลว เข็มของเครื่องวัดแสงจะชี้ในตําแหนงที่พอดี ( ไมไปทาง บวก หรือ ลบ ) หากนําฟลม เนกาตีฟนี้ไปผานขบวนการลางฟลม สีดาํ เทา ขาว ของเนื้อฟลมเนกาตีฟก็จะเปนไปอยางสม่ําเสมอ ไมดําจัด หรือ ขาวจัด จนเกินไป สะดวกแกการนําไปอัดขยายรูปตอไป


61 4.4 ความสัมพันธระหวางความเร็วของชัตเตอรกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ในการถายภาพวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่เพื่อที่จะใหไดภาพที่มีความชัดเจน ความเร็วของ ชัตเตอรมีความสําคัญมากเปนอยางยิ่ง โดยหลักแลัวความเร็วของชัตเตอรจะตองมีความเร็วมากกวา ความเร็วของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่ หลักในการตั้งความเร็วของชัตเตอรใหยดึ หลักสําคัญ 2 ประการ คือ 4.4.1 การสั่นของกลอง เพื่อหลีกเลี่ยงปญหากลองสั่นในขณะทีก่ ําลังอยูในมือของผูท ี่ ถายภาพ ตามหลักแลวหากการถายภาพในครั้งนั้นไมมีการใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอรแลวการ ถายภาพควรตั้งความเร็วของชัตเตอรมากกวา 1/30 วินาทีขึ้นไป และทั้งนีห้ มายความวาผูถายภาพ จะตองรูจักวิธกี ารถายภาพอยางถูกตอง วัตถุไมมีการเคลื่อนไหว เชน เปนภาพของคนที่กําลังยืนนิ่ง สิ่งกอสราง ทิวทัศน ฯลฯ 4.4.2 การเคลื่อนไหวของวัตถุ ในการถายภาพของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่ นอกจาก จะตองตั้งความเร็วของชัตเตอรใหเร็วกวาวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่แลว ยังจะตองคํานึงถึงระยะระหวาง กลองถายรูปกับวัตถุ และทิศทางของวัตถุที่เคลื่อนที่ดวย ตัวอยางของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่ไดแก คนเดิน คนวิ่ง คนเลนกีฬา รถยนตวิ่ง คนเลน สกี เครื่องบินบิน โดยตามหลักแลววัตถุที่อยูใกลจะตองตั้งความเร็วของชัตเตอรใหเร็วกวาวัตถุที่อยู ไกลและการถายภาพทีเ่ คลื่อนที่อยูในแนวตั้งฉากกับกลอง ก็จําเปนตองตั้งความเร็วของชัตเตอร มากกวาวัตถุทเี่ คลื่อนที่ตามแนวเฉียง และการถายภาพวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวเฉียงจะตองตั้ง ความเร็วของ ชัตเตอรมากกวาวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวเขาหากลองหรือเคลื่อนออกจากกลอง ความสัมพันธระหวางความเร็วของชัตเตอรกับความเร็วของวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่อาจ สรุปไดดังตารางในหนาถัดไปนี้


62 4.5 ความสัมพันธระหวางความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่ ทิศทาง และระยะของการถายภาพ ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ

ระยะของการถายภาพ

วัตถุที่อยูนิ่ง ไมเคลื่อนไหว คนหรือสัตวทกี่ ําลังเดิน การเลนของเด็ก ๆ

คนกําลังวิ่ง, มาแขง ความเร็วประมาณ 30 ไมล/ช.ม. การเลนบาสเก็ตบอล, ฟุตบอล, วายน้ํา

รถยนต, รถไฟ, และ เครื่องบิน ดวยความเร็วสูง สําหรับวัตถุที่เคลื่อนที่ดวยความเร็วดังกลาว หากถายภาพในระยะใกลกวากําหนดใหเพิ่มความ เร็วของชัตเตอรมากขึ้น


63

5. สภาพของแสงและการใชเครื่องวัดแสง ในการวัดแสงเพื่อการถายภาพนั้นอาจวัดแสงไดใน 2 ลักษณะดวยกันคือ การวัดแสงที่ สะทอนจากวัตถุกลับมายังกลอง โดยการวัดจากเครื่องวัดแสงภายในกลอง หรือ วัดจากเครื่องวัดแสงที่ รับแสงสะทอนจากวัตถุ และ การวัดแสงจากแหลงกําเนิดของแสงโดยตรง โดยนําเครื่องวัดแสงเขาไป รอรับแสงที่สองมาจากแหลงกําเนิดของแสง เชน ดวงอาทิตย หลอดโฟโตฟลัดอิเล็กทรอนิกสแฟลช หรือ แฟลชหลอด ฯลฯ อยางไรก็ตามการวัดแสงนี้เราดูไดจากเครื่องวัดแสงภายในตัวกลอง และ เครื่องวัดแสง โดยเฉพาะ ซึ่งการที่เครื่องวัดแสงจะขึน้ ตัวเลขใดนัน้ ขึน้ อยูกับองคประกอบที่สําคัญดังตอไปนี้ คือ 5.1 ความสวางของตนกําเนิดของแสง แสงที่เราใชในการถายภาพไดแก แสงอาทิตย หลอดโฟโตฟลัด และ แฟลชถายภาพ ซึ่งจะกลาวโดยละเอียดไดดังนี้ 5.1.1 แสงจากดวงอาทิตย โดยทั่วไปแลวระยะทางจากดวงอาทิตยมายังโลกนัน้ ประมาณ 93 ลานไมล อาจจะใกลหรือไกลจากนี้กเ็ พียงเล็กนอย แตอยางไรก็ตามความสวางจากดวง อาทิตยก็มีความแตกตางกันไปตามแตละชวงเวลา โดยเรียงลําดับจากแสงมากไปหานอยไดดังนี้ - สภาพกลางแจง ไมมีเมฆ และริมชายหาดที่มีแสงสะทอนจากพืน้ ทราย - สภาพกลางแจงธรรมดา ไมมีเมฆมาบังดวงอาทิตย - สภาพกลางแจงธรรมดา แตมีเมฆครึ้มมาบังแสงจากดวงอาทิตย - สภาพภายใตรมไม หรือ ตามชายคาบาน - สภาพภายในบาน 5.1.2 แสงจากหลอดโฟโตฟลัดหรือแฟลช แสงจากหลอดไฟประเภทนี้จะมากหรือ นอยขึ้นอยูกับระยะหางระหวางหลอดไฟกับวัตถุ หากวัตถุหางจากหลอดไฟมากแสงที่จะสะทอนจาก วัตถุกลับไปยังกลองถายรูปและไปทําปฏิกิริยากับฟลมก็จะนอย และ ในทางกลับกันถาวัถตุหา งจาก หลอดไฟนอยแสงที่สะทอนจากวัตถุกลับไปยังกลองถายรูปและไปทําปฏิกิริยากับฟลมก็จะมาก 5.2 การสะทอนแสงของวัตถุ วัตถุแตละชนิดมีสภาพการสะทอนแสงแตกตางกัน โดยทั่วไปแลว วัตถุที่มีสีออนจะสะทอนแสงไดมากกวาวัตถุที่มีสีเขม ฉะนั้นในการถายภาพให พยายามหลีกเลี่ยงวัตถุที่มีสีตัดกันจัด เชน ผูที่ใสเสื้อขาว กางเกงดํา และ ถาหากมายืนกลางแจง บริเวณ ที่มีแสงแดดจัดดวยแลว การตัดกันของสียิ่งเพิ่มมากขึน้ อีก ภาพทีไ่ ดจะมีสีตัดกันจัดและทําใหบางสวน ของภาพขาดรายละเอียด ดวยเหตุนี้เองในการถายภาพบุคคล การถายภาพผูท ี่ผิวขาวผมดําตาดําจึงไดภาพไม สวยงามเทาตัวจริง หากจะถายภาพใหไดผลดีควรหลีกเลี่ยงมาถายภาพในบริเวณที่มแี สงนอยเพื่อ หลีกเลี่ยงสีที่ตดั กันจัด ในทํานองเดียวกันการถายภาพบุคคลที่มีผิวคล้ํามักไดภาพทีส่ วยงามกวาตัวจริง


64 เปนอันมาก แมจะใชไฟสองมากเทาใดสีก็ไมตัดกันมาก ทําใหผทู ี่มีผิวคล้ําเปนผูที่ถายภาพขึน้ และ เหมาะทีจ่ ะเลือกเปนแบบเพื่อถายภาพ

วัตถุที่มีสีแตกตางกันยอมสะทอนแสงแตกตางกัน 5.3 วิธีการใชเครื่องวัดแสง เครื่องวัดแสงในปจจุบันไดมกี ารพัฒนามากขึ้น บางเครื่องสามารถวัดแสงสะทอน จากไฟแฟลชได ทั้ง ๆ ที่ชวงระยะเวลาที่แสงแฟลชแวบนั้นสั้นมาก เครื่องวัดแสงบางเครื่องสามารถ วัดแสงสะทอนมาเฉพาะจุดได ทําใหการวัดแสงเปนไปอยางละเอียดลออมาก อยางไรก็ตาม การใช เครื่องวัดแสงก็ยังจัดแบงออกไดเปน 2 วิธีดวยกันคือ 5.3.1 วัดแสงที่สะทอนมาจากวัตถุ การวัดแสงดวยวิธีนเี้ รามักพบในเครื่องวัดแสงที่ ติดมากับตัวกลองถายรูป และ เครื่องวัดแสงโดยทั่วไป การวัดแสงดวยวิธีดังกลาวนีจ้ ะเปนผลรวมของ แสงทั้งหมดทีส่ ะทอนกลับมาที่เครื่องวัดแสงหรือตัวกลอง เปนการวัดแสงอยางหยาบ ๆ เหมาะสําหรับ การถายภาพตามแสงโดยทั่วไป โดยแสงจะสองผานมาทางดานหลังของผูเปนชางภาพไปยังวัตถุ และ การสะทอนแสงของวัตถุ รวมทั้งฉากหลังและฉากหนาใกลเคียงกัน (ดังภาพ)

การวัดแสงที่สะทอนมาจากวัตถุ


65 5.3.2 วัดแสงจากตนกําเนิดของแสง การวัดแสงโดยวิธีนที้ ําไดโดยการนําเอาเครื่องวัด แสงเขาไปขวางทิศทางที่แสงจะสองไปยังวัตถุ การวัดแสงดวยวิธนี ี้ปริมาณของแสงที่สองไปยัง เครื่องวัดแสงจะมากกวาวิธแี รก จึงจําเปนตองปรับปริมาณของแสงที่จะผานเขาไปในเครื่องวัดแสงให นอยลง การวัดแสงโดยวิธีนที้ ําไดละเอียดกวา จึงเหมาะแกการถายทําสไลดการถายภาพสีขนาดใหญ และ ภาพยนตร แตอยางไรก็ตามการคํานวณแสงเพื่อนําไปปรับเอฟสตอป และความเร็วของชัตเตอรก็ เปนไปอยางลําบากมากขึ้น เชนกัน

การวัดแสงจากตนกําเนิดของแสง 5.4 ความรูเกี่ยวกับเรื่องการแปลสี ในการถายภาพขาวดํา สีทกุ สีจะถูกแปลออกมาเปนสีที่อยูระหวาง สีขาวกับสีดํา คือ สี เทา ตาของคนเรามีความรูส ึกตอสีของวัตถุแตกตางกันไปจากวัสดุถายภาพ คือมีความรูสึกวาสีนา้ํ เงิน เปนสีที่เขม สีเหลืองและสีเขียวเปนสีที่ออน และสีแดงเปนสีที่เขม แตจากการถายภาพดวยฟลมขาวดํา เราพบวาการบันทึกลงบนฟลม มีความแตกตางไปจากที่ตามองเห็น เชนสีน้ําเงินจะกลายเปนสีเทาออน แทนที่จะเปนสีเทาแกตามความรูสึกที่ตามองเห็น สวนสีอื่น ๆ นั้นการบันทึกภาพกับที่ตามองเห็น ใกลเคียงกัน ในการบันทึกภาพลงบนวัสดุไวแสงนี้ภาพจะบันทึกในชวงที่เลนสเปดรับแสง การที่เรา มองเห็นภาพปรากฏขึ้นบนฟลมนั้นเนื่องจากสะทอนแสงของวัตถุผานเลนสไปทําปฏิกิริยากับฟลมนั้น ไมเทากัน บางสวนก็สะทอนแสงมากสวนของฟลมเนกาตีฟก็จะเปลี่ยนเปนสีดําจัด สวนที่สะทอนแสง กําลังดีก็จะเปนสีเทา และ สวนที่สะทอนแสงนอยหรือไมสะทอนแสงเลยก็จะไมเปลี่ยนแปลง เนื้อ ฟลมก็จะยังคงใสอยูเมื่อผานการลางในน้ํายาฟกเซอรแลว


66 หลักของการแปลสี หลักของการแปลสีสามารถสรุปไดเปนขอ ๆ ดังตอไปนี้ 1. แสงจะถูกดูดกลืนเมื่อแสงผานตัวกลางทีโ่ ปรงแสง 1.1 ถาเปนวัสดุโปรงแสงอยางสมบูรณ แสงจะสามารถผานไปไดหมด

1.2 ถาเปนวัสดุที่โปรงแสงไมสมบูรณ จะดูดกลืนแสงบางสวนเอาไวบาง

2. แสงจะสะทอนจากวัสดุผิวเรียบ หากวัสดุนั้นทํามุม 45 องศาจนหมด และจะถูกดูดไว บางเมื่อวัสดุนนั้ ไมโปรงใสอยางแทจริง

3. แสงที่สองไปยังวัตถุที่มีสอี อนมาก แสงจะสะทอนกลับคืนไปมากกวาแสงที่สอง ไปยังวัตถุที่มีสีเขม แสงจะสะทอนกลับไปนอย


67 4. สื่อที่มีสีและผิวหนาที่มีสี จะดูดกลิ่นสีที่เหมือนกับตัวเองนอยกวาสีอื่น ๆ เชน กระจําสีแดงจะดูดกลืนสีแดงไดนอยที่สุด และ จะปลอยใหสแี ดงผานไปไดมาก ที่สุด การที่เราเห็นวาวัตถุนนั้ มีสีแดง เนื่องมาจากเรามองผานมัน ในทํานองเดียว กัน การที่เรามองเห็นผิวหนาของวัตถุมสี ีอะไร เนื่องจากมันสะทอนหรือกระจาย แสงที่เหมือนกับตัวมันเองมากวาสีอื่น ๆ

6. ฟลมและความไวของฟลม ฟลมถายรูปเปนวัสดุไวแสงชนิดหนึง่ ซึ่งเมื่อถูกแสงแลวเกลือเงินซึ่งฉาบผิวของหนา ของฟลมจะเปนตัวที่ทําปฏิกริ ิยากับแสง เมื่อนําฟลมนี้ไปผานขบวนการลางฟลม โดยเริ่มจากน้ํายา สรางภาพ น้ํายาหยุดสภาพ และน้ํายาคงสภาพแลว ก็จะไดฟลมเนกาตีฟที่พรอมในการนําไปอัดขยาย ภาพตอไป


68 ประเภทของฟลมถายรูป ในการแบงประเภทของฟลมถายรูปนั้น มีหลักอยูห ลายประการที่นํามาพิจารณา ดังจะ สรุปเปนขอ ๆ ไดดังนี้ 6.1 แบงตามสี ฟลมถายรูปโดยทั่วไปอาจแบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ ฟลมขาวดํา และฟลมสี 6.2 แบงตามขนาดของฟลม ขนาดของฟลมที่นิยมใชกันมากคือ ขนาด 35 มม. (ฟลม นัมเบอร 135) และฟลมขนาด 3 นิ้ว (ฟลมนัมเบอร 120) เปนตน ฟลมที่มีขนาดแตกตางกันจะตองใช กลองตางชนิดกัน ฉะนัน้ กอนที่จะไปซื้อฟลมควรไดศึกษากลองถายรูปที่ใชอยูเสียกอนวาใชฟลม ขนาดเทาใด 6.3 แบงตามสภาพความไวของสี ฟลมถายรูปไมวาจะเปนฟลมขาวดําหรือสไลดขาว ดําอาจแบงออกไดเปน 2 ชนิดดวยกันคือ “ฟลมแพนโครมาติก” และ “ฟลมออรโธโครมาติก” ฟลม แพนโครมาติก เปนฟลมทีม่ ีความไวตอแสงทุกสี บางทีเราเรียกวา “ฟลมเขียว” เปนฟลมที่นิยมใชกัน อยูในวงการถายภาพโดยทัว่ ไป ในการลางฟลมจะตองทําในหองที่มดื สนิทโดยเฉพาะตอนบรรจุฟลม ที่ไวแสงเกือบทุกชนิด ยกเวนสีแดง ฉะนัน้ ฟลมชนิดนีจ้ งึ สามารถนํามาลางไดภายในหองมืดที่เปดไฟ สีแดง บางทีเราจึงเรียกวา “ฟลมสีแดง” เปนฟลมที่ใชในการก็อปปภาพ และถูกนํามาใชในวงการพิมพ 6.4 แบงตามลักษณะของวัสดุที่นํามาทําฟลม วัสดุทนี่ ํามาทําตัวเนือ้ ฟลมมีอยูหลาย ชนิดดวยกัน เชน อาซิเตท กระจก ฯลฯ หากจะแบงประเภทตามลักษณะของวัสดุทนี่ ํามาทําเปนฟลม อาจแบงออกไดเปน ฟลมมวนขนาด 3 นิ้ว ฟลมมวนขนาด 35 มม. ฟลมแผน ฟลมแพ็คฟลมกระจก ฯลฯ เปนตน 6.5 แบงตามลักษณะของภาพ หากแบงตามลักษณะของภาพแลวฟลมถายรูปอาจแบง ออกไดเปน 2 ชนิดคือ ฟลมเนกาตีฟ (Negative film) ฟลมโพสิตีฟ (Positive film) และฟลมรีเวอรซัล (Reversal film) ฟลมเนกาตีฟเปนฟลมทีใ่ ชในการถายภาพโดยทั่วไป มีทั้งขาวดํา และสี ลักษณะของ ภาพจะกลับหรือตรงขามกับของจริง ตองนําไปผานขบวนการอัดขยายภาพจึงจะไดภาพเหมือนจริง สวนฟลมโพสิตีฟนั้นเปนฟลม ที่ใชประโยชนในการก็อปปภาพ เปนฟลมที่ความไวแสงนอย สามารถ นํามาลางภายในหองมืดที่เปดไฟแดงได เมือ่ ผานขบวนการลางฟลมแลว ฟลมนัน้ สามารถนํามาฉายได เหมือนกับสไลด สวนฟลมรีเวอรซัล เปนฟลมที่เราใชในการถายภาพยนตสไลดและฟลมสตริปเปน ฟลมที่มีทั้งชนิดขาวดําและสีภายหลังจากนํามาถายแลว เมื่อนําไปลางตามขบวนการลางฟลมสไลด โดยทั่วไปแลว ก็จะไดวัสดุโปรงใสมีภาพเหมือนกับของจริง พรอมที่จะนําไปใชกับเครื่องฉายตอไป 6.6 แบงตามความไวของแสง .ฟลมแตละยี่หอจะกําหนดความไวแสงของตนเองไว ตัวเลขที่กําหนดความไวแสงที่นิยมใชอยู ไดแก เอเอสเอ. หรือ ASA. (American Standard


69 Association) ซึ่งเปนระบบอเมริกัน สวนในระบบเยอรมันนั้นเราเรียกวา “ดิน” (Deutsch Industry Norm) ในฟลมแตละยีห่ อง ฟลมที่มีความไวแสงแตกตางกันจะมีชื่อเรียกแตกตางกัน เชน โกดัก พลัส –เอกซ เอเอสเอ. 125 โกดัก ไทรเอ็กซ เอเอสเอ . 400 โกดักแพนนาโตมิก เอเอสเอ. 64 ตามหลักแลวฟลมที่มีความไวแสงสูงฉาบไวที่เนื้อฟลมมากตองการแสงเพียงเล็กนอยก็ สามารถทําปฏิกริ ิยากับฟลมไดแลว ฉะนัน้ ฟลมที่มีความไวแสงมากจึงเหมาะแกการนํามาถายภาพใน บริเวณที่มแี สงสวางนอย เชน ภายในหองประชุม แสงของแฟลชไมสามารถสองไปถึงไดเนื่องจาก เปนการถายภาพในระยะไกล การถายภาพการเลนกีฬาในตอนกลางคืนในระยะไกล ฯลฯ แตขอเสีย ของฟลมที่มีความไวแสงก็คอื เมื่อลางฟลมดวยน้ํายาตามปกติแลว เมื่อนํามาอัดขยายภาพขนาดใหญ แลวเนื้อฟลมจะแตกทําใหไดภาพไมสวยสวนฟลม ที่มีความไวแสงต่ํานัน้ เหมาะสําหรับนํามาถายภาพ ทิวทัศน ภาพบุคคลที่ตองไปขยายเปนภาพใหญ ฟลมที่มีความไวแสงนอยเหมาะแกการถายภาพโดย ใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัดเตอร ฉะนั้นในการถายภาพผูที่จะทําหนาที่เปนชางภาพจึงจําเปนที่จะตองมีความรูเกี่ยวกับ ฟลมถายรูปพอสมควร รูวาฟลมแตละชนิดใชประโยชนไมเหมือนกัน ในลักษณะภาพที่จะนําฟลมไป ถายนั้นเปนภาพอะไร จะตองใชเทคนิคในการถายภาพอยางไรบางจึงจะไดภาพสมบูรณที่สุด


70

7. การปรับโฟกัสหรือการหาระรยะชัด การปรับโฟกัสหรือการหาระยะชัด คือการปรับชวงระยะระหวางเลนสถึงภาพ (ฟลม) ใหสัมพันธกับระยะระหวางเลนสถึงวัตถุ (ดังภาพ)

ดังนั้นการปรับโฟกัสก็คือการเลื่อนเลนสเขา หรือ เลื่อนเลนสออกใหหางจากกลองหรือ ฟลมนั่นเอง โดยปกติแลวการถายภาพวัตถุที่อยูใกลจะตองยืดเลนสออกใหมากที่สุด และเมื่อวัตถุอยู ไกลสุดสายตาจะตองหดเลนสเขามาใกลมากที่สุด จนกระทั่งระยะจากเลนสถึงฟลมมีความยาวเทากับ ความยาวโฟกัสของเลนส ซึ่งมีบอกไวทหี่ นาเลนสของกลองถายรูป

จากสเกลของการหาระยะชัด หรือ การปรับโฟกัสอาจแสดงเปนภาพไดดังนี้ 30 10

15 5

10 3

7 2

5 4 3.5 3 2.5 2.25 (ฟุต) 1.5 1.2 1.0 0.9 0.8 0.7 (เมตร)

ฉะนั้นหลักการหาโฟกัสอาจสรุปไดดังนี้คอื หากถายภาพวัตถุที่อยูใ กลจะตองระมัดระวัง การปรับโฟกัสใหมาก หากผิดพลาดจะทําใหภาพที่ถายเบลอได แตถาหากถายภาพวัตถุที่อยูไกล การ ปรับโฟกัสหรือการหาระยะชัดหากผิพลาดเพียงเล็กนอย จะไมมีผลเสียหายมากนัก 7.1 ในกลองถายรูปตาง ๆ มีระบบปรับโฟกัสอยู 2 ประเภทคือ


71 7.1.1 ยืดเลนสออกหดเลนสเขา การปรับโฟกัสระบบนี้ทําไดโดยการยืดเลนสออก และหดเลนสเขามา จนกระทั่งชวงระยะระหวางเลนสถึงฟลมสัมพันธกับเลนสถึงวัตถุ กลองถายรูป โดยทั่วไปนิยมวิธีการปรับโฟกัสแบบนี้ 7.1.2 เลื่อนแผนรองรับฟลมเขาออก การปรับโฟกัสระบบนี้มกั พบในกลองพับ โดยทั่วไปการปรับโฟกัสก็คือการปรับระยะระหวางแผนรองฟลมถึงเลนส หากปรับใหไดระยะ พอเหมาะที่สดุ แลวจะไดภาพชัดเจน 7.2 ประเภทของภาพที่เห็นจากชองมองภาพ ในการถายภาพผูทําหนาที่ชา งภาพจะตองมองผานชองมองภาพไปยังวัตถุ ในการมอง ผานชองมองภาพนั้นจะตองมีการปรับภาพใหชัด ในกลองถายรูปโดยทั่วไปอาจแบงประเภทของการ ปรับโฟกัสออกเปน 2 วิธีดวยกันคือ 7.2.1 การปรับสภาพที่เบลอใหชัด กลองถายรูปประเภทนี้ในขณะทีภ่ าพยังไมไดปรับ โฟกัสภาพที่เห็นจะมีลักษณะเบลอจนกระทั่งไมรูวาเปนภาพอะไร จนกระทั่งไดปรับโฟกัสโดยการยืด เลนสออก หรือ หดเลนสเขา จนกระทั่งมีระยะหนึ่งจะไดภาพที่ชดั เจนที่สุดโดยภาพนั้นมีความชัดเจน สูงสุด (ดังภาพ)

การปรับภาพใหเบลอ


72 7.2.2 การปรับภาพใหซอนทับกัน การปรับภาพในกลองถายรูปชนิดนี้ใหดูเฉพาะ ภายในวงกลม ในขณะทีภ่ าพยังไมถูกปรับโฟกัสภาพจะเปน 2 ภาพ เหลื่อมกันอยู การปรับโฟกัส จะตองทําการหมุนปุนปรับโฟกัสจนกระทั่งภาพ 2 ภาพ ซึ่งอยูสวนบนและสวนลางตอกันสนิท จนกระทั่งเปนภาพเดียวกัน การปรับโฟกัสวิธีนี้คอนขางงายกวาวิธแี รก แตมขี อเสียตรงเมื่อตอง ตรวจสอบ “ความชัดลึก” ของภาพทําไดไมสะดวก (ดังภาพ) การปรับภาพใหซอนกัน

8. ชองมองภาพและการประกอบภาพ 8.1 ชองมองภาพ (View finder) คือกรอบ หรือ ชอง หรือ รู ที่ทําเปนรูปสี่เหลี่ยมตาม ลักษณะของภาพที่กลองนั้น ๆ ถายภาพได โดยทั่วไปชองมองภาพมักจะอยูสว นบนของกลองถายรูป เวลาถายภาพผูที่ทําหนาที่ชางภาพจะตองมองผานกรอบภาพ หรือ ชองมองภาพนี้ไปยังวัตถุ ถาหากไม มีชองมองภาพนี้แลวผูที่ทําหนาที่ชางภาพก็จะไมรวู ากลองบันทึกภาพหมดเนื้อที่ที่ตองการบันทึก หรือไม เชน เมื่อตองการถายภาพคนครึ่งตัว ถาไมมีชองมองภาพนี้ฟลม อาจจะบันทึกภาพคนโดยขาด บางสวนของศีรษะไป หรือ ในการถายภาพเฉพาะใบหนาแตสวนที่ตา่ํ กวาใบหนาอาจขาดหายไปได ชองมองภาพอาจแบงออกเปนประเภทตาง ๆ ไดดังนี้ 8.1.1 ชองมองภาพในกลองมินิเอเจอร ชองมองภาพจะอยูสวนบนของกลองถายรูป แตสวนที่เกิดภาพจะอยูสว นลาง ในสวนที่แสงผานเลนสไปยังฟลม ชองมองภาพชนิดนีภ้ าพที่มองเห็น จะไมใชภาพทีเ่ กิดขึ้นบนฟลมจริง ๆ กลองชนิดนี้จึงไมเหมาะแกการถายภาพที่ตองการความประณีต มากนัก ไมเหมาะแกการนํามาถายทําไตเติล ก็อปปภาพ หรือ การถายภาพในระยะใกล


73

8.1.2 ชองมองภาพในกลองสะทอนเลนสเดี่ยว ภาพที่มองเห็นจากกลองสะทอนเลนส เดี่ยวนี้เปนภาพเดียวกับทีเ่ กิดบนฟลมถายรูป เพราะเปนภาพที่มองเห็นจากการสะทอนแสงของปริซึม ภายในกลอง กลองชนิดนี้จงึ เหมาะแกการนํามาใชในการถายภาพสไลด โดยทัว่ ไป เพราะถึงแมจะมี การเปลี่ยนฟลเตอร หรือ เลนส เปนอยางไรก็ตาม ภาพที่ชางภาพมองเห็นก็เปนภาพเดียวกับที่เกิดขึ้น บนฟลม ทําใหชา งภาพสามารถปรับปรุงแกไขไดอยางสะดวก นับตั้งแตการวัดแสง การหาชวงระยะ ชัด การเปลี่ยนเลนสไปใชไวดแองเกิล หรือ เลนสเทเลโฟโต ฯลฯ ภาพที่เกิดบนฟลมก็เปนภาพ เดียวกับที่ชางภาพมองเห็นนั่นเอง

8.1.3 ชองมองภาพแบบกลองสะทอนเลนสคู การเกิดภาพของกลองสะทอนเลนสคู นั่นจะมี 2 สวน สวนบนเปนภาพที่เกิดจากการสะทอนไปยังชองมองภาพ สวนลางเปนสวนที่เกิดภาพ บนฟลม ชองมองภาพชนิดนี้ก็มี “ความเหลื่อมของภาพ” ไมเหมาะแกการนํามาถายภาพเปนสไลด แต เปนกลองที่เหมาะแกการถายภาพในฝูงชน เพราะเปนกลองที่สามารถถายภาพไดโดยการชูกลองขึ้น เหนือศีรษะและถายไปยังวัตถุ โดยการแหงนมองภาพผานชองมองภาพไปยังดานบนได


74

8.1.4 ชองมองภาพแบบกลองถายภาพขนาดใหญ กลองถายภาพขนาดใหญ เชน กลองถายภาพทิวทัศน กลองถายภาพทางอากาศ กลองถายภาพตามสติวดิโอ ฯลฯ ภาพที่เกิดจะอยู ดานหลังของกลอง เปนภาพที่เกิดความเหลื่อมของภาพนอยที่สุด


75 การตั้งกรอบภาพ เฉพาะกลองถายรูปที่ใชฟลม ถายรูปขนาด 35 มม. หรือ ฟลมนับเบอร 135 การตั้งกรอบ ภาพทําได 2 ลักษณะดวยกันคือ 1. การตั้งกรอบภาพตามแนวตั้ง (Vertical form) เหมาะสําหรับการถายภาพวัตถุที่มี ความสูงมากกวาความกวาง เชน ภาพคนกําลังยืน ภาพอนุสาวรีย ภาพเจดีย ภาพยีราฟ ฯลฯ เปนตน

2. การตั้งกรอบภาพตามแนวนอน (Horizontal form) ใชถา ยภาพสิ่งที่มีความสูงนอย กวาความกวาง เชน การถายภาพทิวทัศน การถายภาพสิง่ กอสราง การถายภาพหมูคนจํานวนมาก ฯลฯ เปนตน


76 8.2 หลักในการประกอบภาพ การที่เรามองผานชองมองภาพไปยังวัตถุและเลือกสวนตาง ๆ ใหบรรจุอยูภายในกรอบ ภาพ เพื่อใหไดภาพที่มีความสมบูรณมากที่สุด หลักที่สําคัญในการประกอบภาพมีดงั นี้ 8.2.1 เปนภาพที่ดูงา ยไมสบั สน ภาพที่ดีจะตองมีลกั ษณะดูแลวมีความเขาใจงาย เขาใจวาผูถายภาพตองการแสดงอะไร เปนภาพเกีย่ วกับอะไร 8.2.2 เปนภาพที่มีเนื้อเรื่องเดียว ในภาพเดียวควรมีวัตถุประสงคเดียว เชน เปนภาพ ทิวทัศนน้ําตก เปนภาพถายบุคคล เปนภาพถายสิ่งกอสราง อยางใดอยางหนึ่ง จะมีวตั ถุประสงคหลาย ประการไมได 8.2.3 เปนภาพที่มีความสมดุล ในการถายภาพความสมดุลดี 2 ชนิดคือการสมดุลตาม แบบ เชน การถายภาพบุคคลหนาตรง การถายภาพเจดีย โบสถ ฯลฯ โดยจัดทั้งทางซีกซายและขวา เหมือนกันทุกประการ สวนการถายภาพเพื่อใหเกิดความสมดุลทางสายตานั้น จะตองนําเอาสิ่งอื่น ๆ เขามาประกอบ เชน ลักษณะของสีที่หนักหรือเบา ลักษณะของรูปรางที่ใหญหรือเล็ก ลักษณะของผิวที หยาบหรือละเอียด ลักษณะของเสนที่นําสายตา ฯลฯ เพื่อใหไดภาพทีไ่ มหนักไปขางใดขางหนึ่ง 8.2.4 เปนภาพที่มีจุดเนนในภาพ ในภาพแตละภาพจะตองมีสิ่งที่ดึงดูดสายตา เชน ภาพทิวทัศนทางทะเลมีเรือลําเล็ก ๆ ลอยเดนอยูก ลางภาพ หรือ ภาพบริเวณชายหาดมีเด็ก ๆ กําลังกอ เจดียทรายอยูใ นภาพ ฯลฯ 8.2.5 ดูทิศทางของแสง ทิศทางของแสงมีสวนสัมพันธกบั การถายภาพเปนอยางมาก โดยทั่วไปเรานิยมการถายภาพตามแสงในชองตอนเชาหรือตอนเย็น เพื่อใหไดเงาที่ทอดลึกมีความ กระจาง หากตองการใหแสงเขามายังวัตถุเพียงดานเดียวก็ใหถายภาพโดยแสงเขาทางดานขาง หาก ตองการไดภาพเงาดําก็ใหถายภาพยอนแสง ฯลฯ 8.2.6 มุมของการถายภาพ ในภาพแตละภาพมีมุมในการถายภาพไมเหมือนกัน เชน ในการถายภาพทิวทัศนการถายภาพจากทีส่ ูงลงมาจะชวยใหเห็นสวนที่เปนพื้นดิน ทะเล มากที่สุด สวนการถายภาพอนุสาวรียเพื่อใหเกิดความสงางาม เรานิยมถายภาพจากที่ต่ําเงยมุมขึ้นไปยังอนุสาวรีย การถายภาพกดมุมต่ํานี้เราเรียกวา “ทิวทัศนตานก” (Bird's eye View) สวนการถายภาพมุมเงยเรา เรียกวา “ทิวทัศนตาหนอน “ (Worm's eye View) 8.2.7 มีความกลมกลืนเพื่อใหเกิดความเดน การถายภาพสิ่งที่มีควากลมกลืน เชน ภายในสวนทีม่ ีการตัดแตงไวอยางเปนระเบียบสวยงามจะชวยเนนใหอนุสาวรียที่ตั้งอยูภายในสวนนั่น เดนขึ้น ภาพฝูงคนที่กําลังดูการแขงขันกีฬาซึ่งกําลังแสดงความตื่นเตนเหมือน ๆ กันจะชวยสงเสริมให ภาพการแขงขันกีฬานั้นนาดูขึ้น เปนตน


77

ในการถายภาพสิ่งกอสราง เชนกัน

การประกอบภาพมีความสําคัญเหมือนกับการถายภาพประเภทอืน่

9. ชวงระยะชัดกับการถายภาพ โดยปกติแลวการถายภาพเราจะตองมองผานชองมองภาพไปยังวัตถุ มีการปรับโฟกัส และ ประกอบภาพ นอกจากนั้นในการถายภาพที่ระยะใกล และ มีวัตถุที่อยูในภาพมีระยะแตกตางกัน มาก จําเปนทีจ่ ะตองคํานึ่งถึง “ชวงระยะชัด” ในการถายภาพใด ๆ ก็ตาม ในภาพจะตองประกอบดวย สวนตาง ๆ เชน วัตถุที่อยูในระยะชัด (In focus) วัตถุทอี่ ยูนอกระยะชัด (Out of focus) วัตถุที่อยูใ น บริเวณ “ฉากหนา” (Fore Ground) และ วัตถุที่อยูในบริเวณ “ฉากหลัง” (Back Ground) ดังภาพ


78 องคประกอบที่เกี่ยวของกับชวงระยะชัด สิ่งที่มีสวนเกี่ยวของกับชวงระยะชัดมีอยู 3 ประการดวยกันคือ 9.1 ระยะหางระหวางกลองกับวัตถุ หากถายภาพของวัตถุที่อยูในระยะไกล เชน ภาพ ทิวทัศนตาง ๆ อันไดแก ภาพแมน้ํา ลําธาร ภูเขา ทะเล ฯลฯ หรือ ภาพสิ่งกอสรางตาง ๆ เชน ภาพ อาคารเรียน วัด โบสถ เจดีย ฯลฯ ก็ไมจําเปนจะตองคํานึงถึงเรื่องชวงระยะชัด แตถาหากเปนการ ถายภาพวัตถุที่อยูในระยะใกล เชน ภาพของบุคคลเฉพาะใบหนา การถายภาพวัตถุสิ่งตาง ๆ โดยการ ใชโคลสอัพเลนส หรือ ทอตอเลนส หรือ กลองผายืดตอเลนส (เบลโลว) แลว ชวงระยะชัดก็เปนสิง่ ที่ ตองคํานึงถึงเปนอยางมาก เพราะมีชวงระยะสั้น จะตองมีการตรวจสอบชวงระยะชัดอยางรอบคอบ กอนที่จะลั่นชัตเตอร 9.2 ขนาดของรูรับแสง ขนาดของรูรับแสงมีสวนเกีย่ วของกับชวงระยะชัดเปนอยางมาก เชน หากเปดรูรับแสงโต หรือ ตั้งเอฟสตอปสูง ๆ เชน 2,8, 4 ชวงระยะชัดจะสั้นหรือแคบ แตถาหาก เปดรูรับแสงแคบ หรือตั้งเอฟสตอปสูง ๆ เชน 8, 11, 16, 22 ชวงระยะชัดจะกวางหรือยาว ในการ ถายภาพทิวทัศนโดยทัว่ ไป จึงนิยมการเปดรูรับแสงแคบ ๆ เพราะตองการระยะชัดลึกมาก สวนการ ถายภาพวัตถุเพื่อใหบริเวณรอบ ๆ เบลอ เพื่อใหวัตถุที่ถายดูเดน จึงนิยมเปดรูรับแสงกวาง ๆ เชน การ ถายภาพใบหนาของบุคคลใหดูเดน การถายภาพดอกไม ฯลฯ 9.3 ความยาวโฟกัสของเลนส กลองถายรูปแตละกลองไมวาจะเปนกลองที่สามารถถอด เลนสออกจากกลองไดหรือไมก็ตาม ที่ขอบเลนสจะมีตัวเลขความยาวโฟกัสของเลนสเอาไวเชน 35 มม. 48 มม., 50 มม., 55 มม., 85 มม., 105 มม., 205 มม., เปนตน ความยาวโฟกัสของเลนสมีสวน สัมพันธกับชวงระยะชัดเปนอยางมาก หากเลนสกลองมีความยาวโฟกัสสั้น เชน 35 มม. ซึ่งเปนความ ยาวโฟกัสของเลนสมุมกวาง ชวงระยะชัดจะกวางกวาเลนสธรรมดา หรือ เลนสเทเลโฟโต เพราะฉะนั้นในกลองที่ตองการใหชางภาพมือใหมใชโดยไมตองปรับโฟกัส เชน กลองอินสตราเมติ กจึงนิยมใชเลนสที่มีความยาวโฟกัสต่ํา สวนในการถายภาพบุคคลบางประเภท ทีม่ ีวัตถุประสงคที่จะ ใหไดภาพชัดเจนเฉพาะใบหนา สวนฉากหลังเบลอเรานิยมใชเลนสเทเลโฟโต หรือ เทเลซูม


79

ภาพนี้เปนภาพที่ถายใน ระยะใกล ตัง้ เอฟสตอป ตัวเลขต่ํา ๆ ซึ่งจะชวยให ไดภาพที่มีความชัดตื้น ซึ่งจะสังเกตไดจากผูที่อยู หนานัน้ เปนภาพที่ชัดเจน แตผูที่เปนฉากหลังนั้น เปนภาพทีไ่ มชัดเจน

ภาพนี้เปนภาพที่ถายในระยะใกล แตไกลกวา ภาพแรก เอฟสตอปตัวเลขสูง ๆ ซึ่งจะชวยให ไดภาพที่มีความชัดลึกมาก ซึ่งจะเห็นไดจาก ทั้งภาพของสุนทรภู และพระอภัยมณีเปนภาพ ที่ชัดทั้งคู


80

10. ฟลเตอรและความรูเกี่ยวกับฟลเตอร ฟลเตอร (Filter) เปนวัสดุใสหรือคอนขางใส ทําหนาที่กรองแสงที่สะทอนจากวัสดุ กอนที่จะผานเลนสเขาไปทําปฏิกิริยากับฟลม วัสดุที่ใชทําเจลาตินนี้คือ กระจก หรือ เจลาตินมีทั้งชนิด ที่เปนแผนสี่เหลี่ยมและชนิดที่แผนกลมกรอบโลหะ เวลาใชสวมบริเวณสวนหนาของเลนส

หลักการเกี่ยวกับแสงและสี ในการถายภาพทุก ๆ ภาพ การที่ฟลมจะบันทึกเปนภาพไดนนั้ จะตองมีแสงสองไปที่วัตถุ แสงนี้อาจจะเปนแสงจากดวงอาทิตย แสงจากหลอดโฟโตฟลัด หรือ ไฟแฟลชที่ใชในการถายภาพ โดยทั่วไปแลวแสงก็มีลักษณะเปนคลื่นเชนเดียวกับเสียง หรือ คลื่นบนผิวน้ํา ยก ตัวอยาง เชน การที่ เราโยนกอนหินลงไปบนพื้นน้ํา จุดทีก่ อนหินตกลงไปจะเกิดเปนละลอกของคลื่นแตกกระจายออกไป โดยยอดของคลื่นแตละยอดจะมีความสูงเทา ๆ กัน หากตัดใหเห็นในแนวขวางจะเห็นดังภาพ

แสงที่ถูกสงมาจากดวงอาทิตยนี้จะมีทั้งสวนที่มองเห็นไดดวยตาเปลา และสวนที่มองไม เห็นดวยตาเปลา สวนที่มองเห็นดวยตาเปลาเราเรียกวา แสงสเปคตรัม (Spectrum) อันไดแกแสงสีจาว ซึ่งแสงสีขาวนี้เมื่อนํามาสองผานปริซึมแลวจะแยกออกเปนแสงสีตาง ๆ รวม 7 สี ไดแก แสงสีแดง สม เหลือง เขียว น้าํ เงิน คราม และ มวงเรียงตามลําดับ (ดังภาพ)


81 รังสีแกมมา รังสีเอ็กซ

รังสีอุลตราไวโอเลต

อินฟราเรด

สั้นกวา 390

วิทยุ

ยาวกวา 670 แสงสเปคตรัม

มวง 400

น้ําเงิน

เขียว

เหลือง

460

500

510

สม 630

แดง 700

คลื่นของแสงแตละชนิดมีความยาวของคลื่นไมเทากัน คลื่นที่มีความยาวมากที่สุดไดแก คลื่นที่มีความยาวนอยที่สุด ไดแก รังสีแกมมา สวนแสงที่สามารถมองเห็นไดดว ยตาเปลาคือ แสง สเปคตรัม ซึ่งมี 7 สี ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน สวนรังสีชนิดอื่น ๆ อาจจับภาพไดโดยการใชฟลมบาง ชนิดบันทึกภาพ จากหนวยเปรียบเทียบ 1 ไมครอน เทากับ 0.000001 เมตร หรือเทากับ 0.0001 เซนติเมตร และ 1 ไมครอน จะเทากับ 1,000 มิลิครอน หากแสดงแสงสเปคตรัมโดยเรียงลําดับความยาวของคลืน่ แสงจะไดดังนี้ มวง

น้ําเงิน

เขียว

เหลือง

สม

แดง

395-445

445-495 495-520

520-570

570-595

595-620

620-670

อุณหภูมิสีของแสง อุณหภูมิสีของแสงเปนเรื่องที่นํามาใชอธิบายเกีย่ วกับเรื่องสี และความเขมของแสงได เปนอยางดี มาตราวัดอุณหภูมิสีของแสงเรียกวา “องศาเคลวิน” (Kelwin Degree) โดยปกติแลว แสงอาทิตยจะมีอุณหภูมิสีของแสงเฉลี่ยตลอดปประมาณ 5,000-6,700 องศาเคลวิน แสงจากดวง อาทิตยจะมีแสงสีน้ําเงินปนอยูมาก หลอดไฟฟาขนาด 60 วัตต จะมีอณ ุ หภูมิสีของแสงประมาณ 2,500 องศาเคลวิน ซึ่งมีแสงสีแดงปนอยูมาก และในทางตรงกันขามถาองศาเคลวินยิ่งสูง แสดงวาแสงสวาง มากจะยิ่งมีแสงสีน้ําเงินปนอยูมาก นักถายภาพใหม ๆ ควรทําความเขาใจในเรื่องอุณหภูมิสีของแสงไว ดวย ซึ่งจะมีความสําคัญตอการถายภาพสีมากวาการถายภาพขาวดํา ฟลมสีกลางวัน (Daylight) ที่ เหมาะในการถายภาพดวยแสงอาทิตย ซึ่งมีอุณหภูมิสีประมาณ 6,000 องศาเคลวิน ถาใชถายรูปดวย


82

แสงที่ มี อ งศาเคลวิ น ต่ํ า เช น ในการ ถายภาพในเวลากลางคืนโดยการใชแสง จากหลอดไฟนีออนหรือหลอดทังสเตน ภาพที่ อ อกมาจะมี แ สงสี แ ดงปนอยู ม าก ในทํ า นองเดี ย วกั น ถ า ใช ฟ ล ม กลางคื น (Type A.) ซึ่งเปนฟลมที่ตองการอุณหภูมิ สีของแสงประมาณ 3,400 องศาเคลวิน ไปถายภาพในเวลากลางวันที่มีอุณภูมิสี ของแสงสูงก็จะไดภาพที่มีสีน้ําเงินปนอยูในภาพมาก การแกไขภาพที่ใชกับฟลมถายภาพดวยแสงที่ไม ถูกตองก็คือการใชฟลเตอรชวย

ภาพถายในเวลากลางวัน

ภาพถายในเวลากลางคืนโดยใชแฟลชและแสง จากคบใต


83

การรูจักเลือกใชฟลเตอรอยางเหมาะสมจะชวยใหไดภาพที่มีความชัดเจนมากขึ้น ฟลเตอรบางชนิดก็ ชวยทําใหสีของวัตถุกับพื้นหลังมากขึ้น บางชนิดก็ชว ยใหภาพของทองฟาคล้ําขึ้น ทําใหเมฆลอยเดน ขึ้น ฯลฯ


84

การทํางานของฟลเตอร แสงมีคุณสมบัติสําคัญคือเดินทางเปนเสนตรงและสามารถสะทอนได วัตถุที่เปนสีดําจะ สะทอนแสงไดนอยกวาวัตถุที่มีสีขาว วัตถุที่มีผิวมันยอมสะทอนแสงไดดีกวาวัตถุที่มีผิวหยาบหรือ ขรุขระ นอกจากนีแ้ สงสวางยังถูกดูดกลืนได การถูกดูดกลืนของแสงนี้วัตถุที่เปนสีดําจะมีคุณสมบัติ ดูดกลืนสีไดมากกวาวัตถุที่มสี ีออน ซึ่งหลักอันนี้เรานํามาใชในการจัดทําหองมืดหรือสีภายในกลอง ถายรูป ซึ่งการใชสีดํานี้จะชวยปองกันการสะทอนแสงไดดี สําหรับแสงสวางที่สองมาจากดวงอาทิตย นั้นจะไมมีสี แสงจากดวงอาทิตยนี้เมื่อนํามาแยกโดยการปลอยใหแสงผานแทงปริซึมแลวจะพบวา แสงจะแยกออกเปน 7 สี อันประกอบดวย สีแดง สม เหลือง เขียว น้ําเงิน คราม และมวง (ดังรูป)

ในการถายภาพในบางครั้งเราอาจจะตองการใหสีบางสีผานและไมตองการใหสีบางสี ผานเลนสเขาไปทําปฏิกิริยากับฟลม ฟลเตอรหรือแวนกรองแสงจะทําหนาที่ดังกลาว โดยทั่วไปแลว ฟลเตอรที่นิยมใชในการถายภาพขาวดําไดแก ฟลเตอรสีเหลือง แดง สม เขียว น้ําเงิน และฟา ฟลเตอร ดังกลาวนีจ้ ะมีคุณสมบัติในการดูดกลืนสีแตกตางกัน ซึ่งจะไดนํามากลาวโดยละเอียดตอไป สวน ขนาดของฟลเตอรที่ใชอาจจะมีขนาดเล็กใหญแตกตางกันตามขนาดของเลนส การใชฟลเตอรในการ ถายภาพขาวดํานั้นมีวัตถุประสงคอยูหลายประการ เชน การปองกันรอยขูดขีดบริเวณหนาเลนส ชวย กรองแสงบางชนิดที่ไมตองการเอาไว ผลคือชวยตัดหมอกหรือลดแสงสะทอน นอกจากนัน้ ยังชวยเพิ่ม การตัดกันของสีใหมากขึ้น ฯลฯ


85

ทฤษฎีเกี่ยวกับแสงและฟลเตอร เจมเคลอรก แมกซเวลล (Jame Clerk Maxwell) ไดทําการทดลองเกี่ยวกับการทํางานของ แสงและไดใหขอสรุปเอาไวในป ค.ศ.1861 (พ.ศ.2404) วา “ถาแสงสีแดง น้ําเงิน และเขียว รวม 3 สี ถูกฉากมาซอนกันจะไดแสงสีขาว

ฉะนั้นหลักเบือ้ งตนในการใชฟลเตอรก็คือ ฟลเตอรสีใดในแมสี 3 สีนี้ คือ น้ําเงินแดง และเขียวนีจ้ ะยอมใหสีเดียวกับตัวผาน และจะดูดกลืนสีอีก 2 สีเอาไว ตัวอยางเชน ฟลเตอรสีแดงจะยอมใหแสงสีแดงผานและจะดูดกลืนสีอกี 2 สีเอาไว คือสีน้ําเงิน และสี เขียว (ดังรูป)

สวนฟลเตอรสีเขียวก็จะยอมใหแสงสีเขียวผานและจะไมยอมใหสีอีก 2 สีผาน คือสีแดง และสีน้ําเงิน (ดังรูป)


86

สวนฟลเตอรสีน้ําเงินก็ยอมใหแสงสีน้ําเงินผานและจะดูดกลืนสีอีก 2 สี คือสีแดง และสี เขียวเอาไว (ดังรูป)

สวนฟลเตอรสีเหลือง (ซึ่งมีความหมายถึงสีแดงและสีเขียว) ดูดกลืนแสงสีน้ําเงินเอาไว และจะยอมใหแสงสีแดงและสีเขียวผาน (ดังรูป)

ฟลเตอรสีเหลืองนี้จะ

จากความรูเรื่องฟลเตอรสีที่ใชในการถายภาพขาวดํานี้ เราสามารถนํามาประยุกตใชกับ การถายภาพประเภทตาง ๆ ได เชน การใชฟลเตอรสีแดงถายภาพดอกกุหลาบสีแดง ใบสีเขียวก็จะได ดอกกุหลาบมีสีเทา ๆ สวนใบกุหลาบจะมีสีเขม หรือถาหากใชฟลเตอสีเหลืองถายภาพทิวทัศนที่มเี มฆ สีขาวและทองฟาสีน้ําเงิน จะไดภาพของทองฟาสีคล้ําและเมฆสีขาวทําใหเมฆเดนมองเห็นชัดเจนมาก ยิ่งขึ้น ฟลเตอรแฟคเตอร (Filter Facter) เมื่อนําฟลเตอรมาสวมที่หนาเลนสของกลองถายรูปแลว ฟลเตอรจะทําหนาทีด่ ูดกลืน แสงบางสีเอาไว ทําใหปริมาณลดลง ไมเพียงพอที่จะทําปฏิกิริยากับฟลม ฉะนั้นจึงจําเปนตองปรับรูรับ แสงใหมีขนาดใหญขึ้น หรือปรับใหมีความเร็วของชัตเตอรลดลง การดูดกลืนแสงของฟลเตอรมาก


87 หรือนอยนีเ้ รากําหนดตัวเลขเปน “ฟลเตอรแฟคเตอร” ซึ่งจะเขียนบอกไวที่ฟลเตอรแตละตัว เชน 1, 2, 3, 4, … 8. วิธีการถายภาพใหถือหลักในการปฏิบัติไดดังนี้ หากใชฟลเตอรที่มีฟลเตอร แฟคเตอร 2 ใหเอา 2 คูณกับความเร็วของชัตเตอร หรือปรับรูรับแสงใหเพิ่มขึ้น 1 สตอป แลวใชความเร็วของ ชัตเตอรเทาเดิม ดังตัวอยาง เชน ในการถายภาพครั้งหนึ่งหากถายภาพโดยไมใชฟลเตอรแลวจะตองตั้งความเร็วของซัต เตอร เทากับ 1/125 วินาที และเอฟสตอปเทากับ 11 เราอาจจะตั้งเปนตารางแสดงการเปรียบเทียบให เห็นไดดังนี้ ฟลเตอร แฟคเตอร ความเร็วของชัตเตอร เอฟ - สตอป 2 1/60 11 2 1/125 8 3 1/60 11 3 1/125 6.3 4 1/30 8 4 1/125 5.6 หมายเหตุ คาฟลเตอร แฟคเตอร เทากับ 1 ถาใชความเร็วของชัตเตอร คงที่ ใหลดหนากลองลง ครึ่งสตอป เชน ลดจาก 11 ลงมาเปน 9 หรือจาก 8 ลงมาเปน 6 และในการถายภาพหาก ใชเครื่องวัดแสงชนิดที่แสงผานเลนสหรือผานฟลเตอรกอนถึงเครื่องวัดแสงเรื่องเกีย่ วกับ ฟลเตอรแฟคเตอรก็ไมจําเปนตองคํานึงถึง นอกจากความรูเกี่ยวกับเรื่องคุณสมบัติของฟลเตอรแลว การคํานวณคาของความเร็ว ของชัตเตอร หรือ เอฟ – สตอป ใหมีความสัมพันธกับฟลเตอรแฟคเตอร ก็เปนเรื่องสําคัญที่จะตองทํา ความเขาใจ มีความรูในการเลือกฟลมใหเหมาะกับชนิดของฟลเตอรสีตาง ๆ ดวย โดยเฉพาะการ ถายภาพดวยฟลมขาวดําจะตองเลือกชนิดของฟลมใหเหมาะสม เชน ฟลมออรโธโครมาติกมีความไว เฉพาะแสงสีนา้ํ เงินและแสงสีเขียว สวนแสงสีแดงนั้นจะไมทําปฏิกิริยาดวยฟลมแพนโครมาติกนัน้ จะ ไวตอแสงทุกสี นอกจากนั้นยังมีฟลมบางชนิดไวตอแสงสีน้ําเงินบางครั้งอาจนํามาใชถายรูปในความ มืดได เชน ฟลมอินฟราเรด เปนตน การใชฟลเตอรจึงจําเปนตองคํานึงถึงคุณสมบัติของฟลม จึงจะได ภาพถายที่ออกมามีลักษณะสวยงาม มีแสงสีถูกตองตามความเปนจริงมากที่สุด


88

ประเภทของฟลเตอรหรือแวนกรองแสง ฟลเตอรที่ใชในการถายภาพขาวดําซึ่งเปนที่นิยมใชในปจจุบัน อาจแบงออกไดเปน ประเภทตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. ฟลเตอรยูวี หรือ ฟลเตอรปองกันแสงอุลตราไวโอเลต (UV.filter) เปนฟลเตอรสีเหลืองจาง ๆ จนเกือบใสมีฟลเตอรเทากับ 1 สีที่ฟลเตอรชนิดนี้สามารถ ดูดกลืนไดคือแสงอุลตราไวโอเลตและสีน้ําเงิน คุณสมบัติของฟลเตอรแฟคเตอรชนิดนี้คือสามารถ ถายภาพผานเขาไปในหมอก หรือไอน้าํ โดยทําใหภาพนัน้ มีความกระจางชัดขึน้ เหมาะสําหรับ ถายภาพในชวงเวลาเชาและเวลาเย็น นอกจากนัน้ ฟลเตอรชนิดนี้ยังใชประโยชนในการสวมติดหนา เลนส เพื่อปองกันรอยขูดขีดและฝุนละอองตาง ๆ ทําใหในการถายภาพไมจําเปนที่จะตองทําความ สะอาดเลนสบอย ๆ เพียงแตทําความสะอาดฟลเตอรที่สวมครอบเลนสนี้อยูก็เปนการเพียงพอแลว ใน การถายภาพโดยทั่วไปก็ไมจําเปนที่จะตองเอาเลนสตัวนี้ออกจากกลองถายรูปเพราะไมมีผลตอการ ถายภาพตามปกติ 2. ฟลเตอรสีเหลือง แบงออกเปน 3 ชนิดดวยกัน คือ 2.1 ฟลเตอรสเี หลืองออน (Light Yellow) เปนฟลเตอรที่มีฟลเตอรแฟคเตอรเทากับ 1.5 สีที่ฟลเตอรชนิดนี้สามารถดูดกลืนไดคือ แสงอุลตราไวโอเลต และแสงสีมวงบางชนิด คุณสมบัติ ของฟลเตอรชนิดนี้ก็คือชวยใหภาพมีสีตัดกันมากยิ่งขึ้น ชวยใหทองฟาซึ่งมีสีน้ําเงินมีสีคล้ําลงเล็กนอย ชวยใหเมฆลอยเดนชัดเจนยิ่งขึ้น สวนวัตถุที่มีสีเหลืองและสีแดงจะมีความความกระจางชัดเจนขึ้น 2.2 สีเหลืองปานกลาง (Medium Yellow) เปนฟลเตอรที่มีคาของฟลเตอรแฟคเตอร เทากับ 2 สีที่ฟลเตอรชนิดนีส้ ามารถดูดกลืนไดก็คือแสงอุลตราไวโอเลต และสามารถดูดกลืนแสงสีน้ํา เงิน แสงสีมวง ไดดีกวาฟลเตอรสีเหลืองออน คุณสมบัติของฟลเตอรชนิดนี้คือการดูดกลืนแสงสีมวง สีน้ําเงิน และสีสมเขียว ฟลเตอรสีเหลืองปานกลางนี้จะชวยใหทองฟามืดคล้ําลงมากกวาการใช ฟลเตอรสีเหลืองออน การถายภาพภายในสวนที่มีสีเขียวเปนสวนใหญ เชน สีเขียวของสนามหญา ใบไม ฯลฯ สวนสีแดงและสีเหลืองซึ่งเปนสีของดอกไม และจะถูกขับออกมาใหเดนชัด และมีความ กระจางมากขึ้นจากพืน้ สีเขียว 2.3 สีเหลืองเขม (Dark Yellow) เปนฟลเตอรที่มีฟลเตอรแฟคเตอรเทากับ 3 มี คุณสมบัติทั่วไปคลายกับฟลเตอรสีเหลืองออน และสีเหลืองปานกลางดังที่ไดกลาวมาแลวแตฟลเตอร สีเหลืองเขมมีคุณสมบัติในการดูดกลืนสี และเพิ่มสีตัดกันไดมากกวา 3. ฟลเตอรสีสม แบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ 3.1 สีสมออน (Light Orange) เปนฟลเตอรที่มีฟลเตอรแฟคเตอรเทากับ 3 สีที่ สามารถดูดกลืนไดคือ แสงอุลตราไวโอเลค สีมวง สีน้ําเงิน และสีเขียวบางชนิด คุณสมบัติของ ฟลเตอรชนิดนี้เหมาะสําหรับการถายภาพทิวทัศนตามภูเขา ทะเล หรือฉากที่มีลักษณะดังกลาว


89 ฟลเตอรชนิดนี้จะชวยทําใหสีแดงและสีเหลืองเดน และกระจางขึ้นไปจากสิ่งที่มีสีเขียวและสีน้ําเงินซึ่ง จะมีความคล้ําลง ฉะนั้นสีของดวงอาทิตยซึ่งมีสีแดงหรือสีเหลือง สีของภูเขาซึ่งเปนหินสีน้ําตาลจะ เดนชัดขึ้น สวนสีของทองฟาและสีของน้ําทะเลจะมีสีคล้าํ ลง 3.2 สีสมปานกลาง ( Medium Orange) เปนฟลเตอรที่มีฟลเตอรแฟคเตอรเทากับ4 สี ที่สามารถดูดกลืนไดดีกวาฟลเตอรสีสมออนคือสีเขียว สวนคุณสมบัตอิ ื่น ๆ ทั่ว ๆ ไปก็เหมือนกับ ฟลเตอรสีสมออน แตคุณสมบัติในการดูดกลืนสีและเพิ่มการตัดกันของสีมากกวาฟลเตอรสีสมออน 4. ฟลเตอรสีแดง แบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ 4.1 สีแดงออน ( Light Red ) เปนฟลเตอรทมี่ ีฟลเตอรแฟคเตอรเทากับ 6 สีที่ สามารถดูดกลืนไดคือ แสงอุลตราไวโอเลค สีน้ําเงินมวง สีน้ําเงิน และสีเขียว คุณสมบัติของฟลเตอร ชนิดนี้คือการใชถายภาพดวยแสงอินฟราเรค ซึ่งเปนแสงที่มีรังสีต่ํากวาสีแดง 4.2 สีแดงปานกลาง ( Medium Red ) เปนฟลเตอรที่มีฟลเตอรแฟคเตอรเทากับ 8 สี ที่สามารถดูดกลืนไดดีคือ แสงอุลตราไวโอเลต สีน้ําเงินมวง สีน้ําเงิน สีเขียว และสีเหลือง คุณสมบัติ ของฟลเตอรชนิดนี้สามารถใชกับการถายภาพดวยแสงอินฟราเรด ซึ่งมีผลทําใหภาพที่ถายเปนภาพที่ แข็ง ขาดความนุมนวล และทําใหวัตถุที่มีสีเหลืองและสีแดงเดนชัดขึ้นกวาการใชฟลเตอรสีสมออน และฟลเตอรสีสมปานกลาง 5. ฟลเตอรสีเขียว แบงออกไดเปน 2 ชนิดคือ 5.1 สีเขียวเหลือง ( Yellow Green ) เปนฟลเตอรที่มีฟลเตอรแฟคเตอรเทากับ 2.5สี ที่สามารถดูดกลืนไดคือ แสงอุลตราไวโอเลค สีมวง สีน้ําเงินบางชนิด และสีน้ําเงินเขมคุณสมบัติของ ฟตเตอรชนิดนี้เหมาะสําหรับใชกับฟลมแพนโครมาติก ซึ่งมีความไวแสงตอสีทุกสีการถายภาพจากที่ รมโดยผานขอบประตูออกไปขางนอกที่มแี สงสวางมากกวาฟลเตอรสีเขียวเหลืองนี้จะชวยใหภาพที่ได มีความใกลเคียงกับภาพที่ตามองเห็นจริง ๆ 5.2 สีเขียว ( Green ) เปนฟลเตอรที่มีฟลเตอรแฟคเตอรเทากับ 4 โดยมีคุณสมบัติ ในการดูดกลืนสีเหมือนกับฟลเตอรสีเขียวเหลือง แตการดูดกลืนสีและการเพิ่มการตัดกันของสีมาก กวา 6. ฟลเตอรสีน้ําเงิน ( Blue ) เปนฟลเตอรที่มีฟลเตอรแฟคเตอรเทากับ 2 ในการ ถายภาพโดยใชหลอดไฟทังสเตน สีที่สามารถดูดกลืนไดดีคือสีแดงบางชนิด สีเหลือง และสีเขียว คุณสมบัติของฟลเตอรชนิดนี้เหมาะสําหรับการถายภาพดวยหลอดไฟทังสเตน ซึ่งจะชวยใหแสงไฟ สามารถสองไปไดไกลมากขึน้ ถาหากถายภาพดวยฟลมแพนโครมาติกและใชหลอดไฟทังสเตน การ ถายภาพนัน้ หากเปนการถายภาพในเวลากลางวันควรใชฟลเตอรสีเหลือง


90 7. ฟลเตอรโพลาไรซิ่งสกรีน ( Polarizing Screen ) เปนฟลเตอรที่ใชประโยชนในการ ถายภาพทิวทัศน ฟลเตอรชนิดนี้จะชวยใหทองฟามีสีเขมขึ้นโดยทีว่ ัตถุที่อยูในภาพไมเปลี่ยงแปลง นอกจากนั้นฟลเตอรชนิดนี้ยงั ใชประโยชนในการชวยขจัดแสงสะทอนที่เกิดจากวัตถุตาง ๆ เชนน้ํา แกว หรือวัตถุผิวมันที่มิใชโลหะ ฟลเตอรชนิดนี้ใชไดทั้งการถายภาพขาวดําและการถายภาพสีคาของ ฟลเตอรแฟคเตอรชนิดนี้จะเทากับ 2.5 ในการถายภาพโดยใชฟลเตอรชนิดนี้จะตองเปดหนากลอง (เอฟสตอป) มากขึ้น 1.5 สตอป หากถายภาพวัตถุที่มแี สงสะทอนมาก ๆ เพราะการสะทอนแสงนั้น สายตาของเรามักจะเห็นแสงสวางนอยกวาความเปนจริง ขอแนะนําในการใชฟลเตอรโพลาไรซิ่งสกรีนคือ กอนการถายภาพใหหมุนฟลเตอรไป เรื่อย ๆ ภาพทีเ่ รามองเห็นผานฟลเตอรจะทําใหเราทราบวามีความสดใสและความสลัวแตกตางกัน เมือ่ เลือกไดตามตําแหนงที่ตองการก็นําฟลเตอรนี้สวมเขากับเลนสกลองตามตําแหนงนัน้ ถาหากวากลองที่ใชเปนกลองสะทอนเลนสเดี่ยว ก็สามารถสวมฟลเตอรเขากับหนาเลนส ไดทันที โดยการมองผานชองมองภาพไปยังทิวทัศนที่ตองการถายภาพ แลวปรับฟลเตอรโดยการหมุน จนกระทั่งมองเห็นทองฟามีสีคล้ํามากที่สุด ก็ใหเลือกมุมนั้นสําหรับการถายภาพขอระมัดระวังคือ ฟลเตอรชนิดนี้ไมอาจปองกันหรือควบคุมแสงสะทอนทีเ่ กิดจากโลหะไดภาพที่ถายจะไมบังเกิดผลแต อยางใด ภาพที่ถายนี้จะมีสขี องทองฟาเขมมากที่สุด ถาหันหนากลองตั้งไดฉากกับดวงอาทิตย และมือ ถือของฟลเตอรนี้ชี้ไปทางดวงอาทิตย

11. การใสฟลมและการถอดฟลม ในการใสฟลมเขาไปในกลองกอนการถายภาพ ในกลองแตละยีห่ อมีวิธีการที่แตกตาง กันออกไปบาง แตสวนใหญแลวจะมีวิธกี ารที่ใกลเคียงกัน ในที่นจี้ ะขอกลาวเฉพาะกลองถายรูปเพียง 2 ประเภท ซึง่ เปนกลองที่ไดรับความนิยมใชกันอยางแพรหลายคือ กลองที่ใชฟลมขนาด 35 มม. ซึ่ง เปนกลองมินิเอเจอรหรือกลองสะทอนเลนสเดี่ยว และกลองที่ใชฟล ม ขนาด 3 นิ้ว ซึ่งเปนกลอง สะทอนเลนสคูหรือกลองสะทอนเลนสเดีย่ ว 11.1 การใสฟล มและการถอดฟลมสําหรับกลองที่ใชฟลม ขนาด 35 มม. กลองที่ใชฟลมขนาด 35 มม. นี้ ไดแก กลองมินิเอเจอรหรือกลองสะทอนเลนสเดี่ยว จํานวนรูปที่อยูในฟลมแตละมวนมีรูป 20 รูป และ 36 รูป หากนําไปใชกับกลองที่เปนระบบแบงครึ่ง หรือฮาลฟเฟรม ก็จะถายรูปไดจํานวนเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาคือ 40 รูป และ 72 รูป ตามลําดับในการใช กลองที่ใชฟลมขนาด 35 มม. มีลําดับขั้นของการใสฟลมและถอดฟลมดังนี้ 11.1.1 การเปดกลองฟลม โดยทั่วไปจะมีกลองพลาสติกหรือกลองโลหะบรรจุอยู ภายในกลองกระดาษอีกชัน้ หนึ่ง ฟลมบางยี่หอถาไมมีกลองพลาสติกหรือกลองโลหะ ก็จะมีกระดาษ ทั้งยังเปนการปองกันอุบัติเหตุ ตะกัว่ ไวอีกชัน้ หนึ่ง ทั้งนีเ้ พื่อปองกันไมใหฟลมเสื่อมสภาพเร็ว เนื่องจากฟลมถูกรังสีอื่น ๆ เชน รังสีเอ็กซเรย รังสีอุลตราไวโอเลต รังสีอินฟราเรด ฯลฯ


91 11.1.2 การเปดฝากลองถายรูป ในกลองถายรูปแตละชนิดจะมีวิธีการเปดฝากลอง แตกตางกัน บางกลองก็เพียงแตเลื่อนสลักภายนอกกลอง บางกลองก็ดึงปุมมวนฟลมใหสลักฝากลอง หลุดออก 11.1.3 การนําเอาฟลมเขากลอง นําหลอดฟลมใสเขาไปในชองใสฟลม โดยใหเดือยของ แกนอยูดานบน แลวกดสวนที่เปนเดือยของแกนเขาที่ทั้งสองขาง 11.1.4 การทดสอบการเคลื่อนที่ของฟลม ภายหลังจากที่นําปลายฟลมเสียบเขากับที่ เสียบของแกนฟลมอีกขางหนึ่ง ลองขึ้นชัตเตอรใหฟลมเลื่อนไปสัก 1 ภาพเพื่อดูวาฟลมเคลื่อนที่เปน ปกติหรือไม แลวจึงปดฝากลองใหเรียบรอย 11.1.5 การตัง้ หมายเลขฟลม กดชัตเตอรเพื่อใหฟลมหมุนไปสัก 2 – 3 ภาพ จนกระทั่ง ฟลมขึ้นที่หมายเลข 1 คือรูปที่ 1 ในขณะที่ชัตเตอรในแตละรูปใหดูดว ยวาปุมรีวายดหมุนไปดวย หรือไม หากไมหมุนควรตรวจดูวามีความผิดพลาดเนื่องมาจากฟลมไมเคลื่อนที่หรือไม 11.1.6 การถายรูปตอ ๆ ไป ในการถายรูปตอ ๆ ไป ทําไดโดยการขึ้นชัตเตอรและกดชัต เตอร ( ซึ่งจะไดอธิบายโดยละเอียดตอไป ) จากรูปที่ 1, 2, 3, … จนกระทั่งถึงรูปสุดทายอาจจะเปน รูปที่ 20 หรือ 36 หรือ 36 หรือ 40 หรือ 72 ก็ได 11.1.7 การถอดฟลมออกจากกลอง ใหกดที่ปมุ รีวายด ( Rewind )โดยทั่วไปจะอยูที่ ดานลางของกลองถายรูป แลวจึงหมุนกรอฟลมกลับจนกระทั่งฟลมเคลื่อนที่กลับเขาหลอดฟลมจน หมดมวน แลวจึงเปดฝากลองนําฟลมออกจากกลอง เพื่อที่จะนําไปลางตามขบวนการลางฟลมตอไป


92 11.2 การใสฟล มและถอดฟลมออกจากกลองที่ใชฟลมมวน กลองถายรูปที่ใชฟลมมวนหรือฟลมขนาด 3 นิ้วโดยทั่วไป มักเปนกลองถายภาพ สะทอนเลนสคู หรือกลองถายภาพสะทอนเลนสเดี่ยว ฟลมมวนนี้เปนฟลมที่มีขนาดใหญและมี กระดาษหุมรองรับสวนที่เปนเนื้อฟลมอีกชั้นหนึ่ง ฟลมชนิดนี้โดยทั่วไปจะมีจาํ นวน 12 รูป แตก็มีบาง กลองที่สามารถนําไปถายรูปจํานวน 16 รูป และ 24 รูปได ลําดับขั้นในการใสฟลมและถอดฟลมเปน ดังนี้ 11.2.1 การเปดกลองฟลม นําฟลมออกจากกลองกระดาษแลวเอากระดาษตะกัว่ ทีฟ่ ลม ออก 11.2.2 การเปดกลอง เปดสลักกลองที่อยูท างดานลางของกลองออก ฝากลองถายรูปจะ เปดออก 11.2.3 การนําฟลมใสกลอง นําฟลมใสกลองใหรองแกนฟลมลงกันกับกลอง แกะ กระดาษที่ติดฟลมออก เอาปลายฟลมใสในรองยาวของแกนอีกอันหนึง่ ใหเต็ม 11.2.4 การตัง้ หมายเลขฟลม หมุนฟลมตามลูกศรไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งขีดในกระดาษ ฟลมตรงกับขีดในกลองพอดี 11.2.5 การปดฝากลอง ปดฝากลองใหเรียบรอยโดยตรวจดูวาฝากลองปดสนิทหรือไม หากปดฝากลองไมสนิทจะมีผลใหแสงรั่วเขาไปถูกตามรอยขอบฟลม 11.2.6 การขึน้ รูปที่ 1 ใหหมุนฟลมไปเรื่อย ๆ จนกวาเลขในชองดูจํานวนฟลมจะขึ้น หมายเลข 1 แลวจึงหมุนทีห่ มุนฟลมกลับ โดยเก็บคืนไวในชองตามเดิม 11.2.7 การถายรูปตอไป ๆ ไป ใหกดชัตเตอรและดูในรายละเอียดลําดับขั้นของการ ถายภาพซึ่งจะกลาวโดยละเอียดตอไปเมื่อกดชัตเตอรแลวก็ทําการขึ้นฟลมรูปที่ 2,3,…จนกระทั่งรูป สุดทาย


93 11.2.8 การนําฟลมออกจากกลอง เมื่อถายรูปจนหมดมวนแลวไมตองกรอฟลมกลับ เหมือนกลองที่ใชฟลมขนาด 35 มม. ใหหมุนฟลมตอไปจนกระทัง่ ปลายฟลมหลุดออกมาจากกลัก ระวังอยาใหฟล มคลายออกจากกลัก และอยาใหฟลมหลุดมือ พับปลายฟลมสวนที่เปนกระดาษเขาขาง ใน ( เพื่อสะดวกในการแกะกระดาษฟลม ขณะนําออกลาง ) เอากระดาษกาวติดใหแนนพรอมทีจ่ ะ นําไปลางตอไป

กลองโรลลีเฟลกซเปนกลองที่ใชฟลมนัมเบอร 120 หรือฟลมขนาด 3 นิ้ว 12. ลําดับขั้นของการถายรูป ภายหลังจากการนําฟลมบรรจุเขาไปในกลองถายรูปเรียบรอยแลว ก็พรอมที่จะนําไป ถายภาพตอไป ลําดับขั้นในการถายภาพมีดังนี้ 12.1 การตั้งความไวของฟลม ฟลมที่นํามาถายมีความไวเทาใดดูไดทมี่ วนฟลมหรือที่ กลองฟลม เมื่อทราบความไวของฟลมแลวก็นํามาตั้งความไวของฟลม โดยปกติจะมีหนวยเปนเอเอส เอ. ( ASA. ) หรือ ดิน ( DIN. ) ในแตละกลองมีวิธีการตั้งความไวของฟลมไมเหมือนกันบางชนิดตัง้ ที่ ปุมตั้งความเร็วของชัตเตอร โดยการยกวงรอบขึ้นแลวตัง้ ความไวของฟลม การตั้งความไวของฟลม นั้นในแตละมวนตั้งเพียงครัง้ แรกครั้งเดียว ก็สามารถถายภาพไดตลอดทั้งมวน 12.2 การเปดฝาครอบเลนส สําหรับกลองถายรูปประเภทมินิเอเจอรจําเปนจะตอง ตรวจสอบดูใหแนวาในการถายภาพทุก ๆ ครั้งไดเปดฝาครอบเลนสหรือไม แตหากเปนกลองสะทอน เลนสเดี่ยวหรือสะทอนเลนสคู การลืมเปดฝากลองมักไมเกิดขึ้นเพราะถาหากลืมก็ไมสามารถมองผาน ชองมองภาพไปยังทิวทัศนทตี่ องการถายภาพได


94 12.3 การปรับแสง โดยการมองผานชองมองภาพไปยังวัตถุที่ตองการถายภาพ โดยให เข็มวัดแสงชี้ตรงกลาง ( ไมไปทางบวกหรือลบ ) ในการปรับแสงเปนการปรับความเร็วของชัตเตอร กับเอฟสตอปใหสัมพันธกนั ในการปรับความเร็วของชัตเตอรและเอฟสตอปนี้จะตองมีหลักในการปรับ ซึ่งไดกลาว โดยละเอียดในการถายภาพแตละประเภทตอไป 12.4 การขึ้นชัตเตอร กลองสวนใหญใชวธิ ีงางไกลั่นชัตเตอรขึ้น พรอมที่จะลั่นชัตเตอร ตอไป 12.5 การประกอบภาพ ใหมองผานชองมองภาพไปยังวัตถุ แลวประกอบภาพอยาง หยาบ ๆ เพื่อใหทราบวาระยะของการถายภาพเหมาะสมกับขนาดของภาพหรือไม 12.6 การหาระยะชัด โดยการเลือกวัตถุที่เมื่อมองผานชองมองภาพไปยังวัตถุแลวหมุน วงแหวนรอบเลนสเพื่อปรับโฟกัส การปรับโฟกัสคือการยืดเลนสออกหรือหดเลนสเขา ในการเลือก วัตถุเพื่อใหปรับโฟกัสงาย ๆ สําหรับผูที่หัดถายภาพใหม ๆ ควรเลือกสิ่งที่ดูงาย ๆ เชน ถาเปนกลองที่ ปรับโฟกัสโดยการทําใหภาพ 2 ภาพซอนกัน ก็ควรเลือกสิ่งที่ดูงาย ๆ เชน ในการถายภาพบุคคล เฉพาะใบหนาก็ใหเลือกปรับโฟกัสที่จมูก การถายภาพทิวทัศนระยะไกลก็ตองหาวัตถุมาเปนจุดทีด่ ึง ความสนใจ เชน เรือใบที่กําลังเลนอยูกลางทะเล คนกําลังเดินอยูตามชายหาดเจดียที่ตงั้ เดนอยูก ลางสิ่ง เนินดิน ฯลฯ 12.7 การประกอบภาพอยางละเอียด ในการประกอบภาพอยางละเอียดนี้เพื่อดูวาในภาพ นั้นถูกตองตามหลักการถายภาพแลวหรือยัง เชน มีวัตถุทตี่ องการถายภาพครบถวนหรือไมหากเปน การถายภาพหมูคน หมูคนอยูกลางภาพแลวหรือยัง มีบางคนอยูนอกกรอบภาพหรือไมมีสวนใดที่เขา มาอยูใกลกลองมากเกินไปจนเปนภาพเบลอหรือไม สิ่งตาง ๆ ที่อยูในกรอบภาพมีความสมดุลดีแลว หรือไม 12.8 การลั่นชัตเตอร กอนการลั่นชัตเตอรหากเปนกลองที่ใชฟลมขนาด 35 มม. ใหเอา ตัวกลองกดไวที่ขอบตา คิ้ว หรือโหนกแกมใหแนน กลั้นหายใจนิ่งแลวจึงลั่นชัดเตอร ถาหากเปน กลองสะทอนเลนสคูใหเอากลองแนบอกเหนือทองใหแนนแลวจึงกดชัดเตอร เมื่อถึงขบวนการขั้นที่ 8 แลวภาพนั้นก็จะถูกบันทึกลงบนฟลม หากจะถายรูปตอไปก็ให ยอนกลับมาตัง้ ตนที่ลําดับขั้นที่ 2-8 จนกระทั่งฟลมหมดมวน แลวจึงนําฟลมออกจากกลองถายรูปเพื่อ นําไปลางตอไป


95


96

บทที่ 4 การถายภาพแบบตาง ๆ 1. การถายภาพบุคคล 1.1 การถายภาพบุคคล จัดไดวาเปนสิง่ ที่ผูฝกหัดถายภาพในระยะแรกใหความสนใจมากที่สุด เพราะบุคคลมี สวนเกีย่ วของกับชีวิตประจําวันของเราเปนอยางมาก การถายภาพบุคคลไดแกการถายภาพที่มีลักษณะ ดังตอไปนี้ 1.1.1 การถายภาพบุคคลภายในครอบครัว โดยมีวตั ถุประสงคเพื่อเตือนความทรงจํา วาใครมีหนาตาเปนอยางไร ชอบทําอะไร ในขณะนั้นรูปรางหนาตาเปนอยางไร การถายภาพชนิดนี้ ควรปลอยใหเปนไปตามธรรมชาติ เชน ภาพคุณแมกําลังทําครัว คุณพอกําลังอานหนังสือ คุณลูกกําลัง พรวนตนไม ฯลฯ 1.1.2 การถายภาพมิตรสหาย มิตรสหายในที่นี้อาจเปนเพื่อรวมเรียน เพื่อนรวมทํางาน เพื่อใหทราบความเปนอยูทั่ว ๆ ไป ที่เปนชีวิตประจําวัน ทั้งในขณะที่กาํ ลังเรียน หรือกําลังทํางาน เชน ภาพเพื่อน ๆ กําลังนั่งเรียนภายในหองเรียน ภาพเพื่อน ๆ กําลังรวมเชียรกีฬา ภาพเพื่อน ๆ กําลังรวม พัฒนาสถานที่เรียน ภาพเพื่อน ๆ กําลังฝกงาน หรือฝกสอน ฯลฯ สวนเพื่อน ๆ ที่รวมทํางาน อาจเปนภาพทีก่ ําลังนั่งทํางานอยูที่โตะทํางาน ภาพขณะกําลัง ประชุม ภาพขณะกําลังมีงานสังสรรค ฯลฯ 1.1.3 ภาพบุคคลที่พบเห็นโดยทั่วไป ภาพบุคคลที่พบเห็นโดยทั่วไปนี้ อาจจะเปนภาพ ของบุคคลที่พบเห็นในขณะที่ออกไปทองเที่ยวตามตางจังหวัด ไดพบเห็นบุคคลที่กําลังประกอบอาชีพ ที่แตกตางกันออกไป เชน กําลังขายสินคา กําลังเดินอยูตามทองถนน กําลังพักผอนอยูใน สวนสาธารณะ กําลังตกปลาหรือทอดแห ฯลฯ 1.1.4 การถายภาพบุคคลโดยการแสดงแบบ เปนการถายภาพโดยมีวัตถุประสงคเฉพาะ เชน ตองการนําไปติดเอกสารของทางราชการ ตองการนําไปขยายเปนรูปขนาดใหญเพื่อตั้งโชวทบี่ าน หรือที่ทํางาน การถายภาพประเภทนี้จะตองใหไดภาพที่ชัดที่สุด หรือสวยงามที่สุด สวนมากนิยม ทํางานในสติวดิโอ ซึ่งจะกลาวโดยละเอียดตอไป


97

ในงานเลีย้ งโดยทั่วไป การถายภาพรวมกันมักเปนที่นยิ มกันมาก เพื่อใชประโยชนในการบันทึก กิจกรรมตาง ๆ เอาไว อาจจะเก็บเพื่อเตือนความทรงจํา หรืออาจใชประโยชนในงานประชาสัมพันธก็ ได 1.2 วัตถุประสงคของการถายภาพ ในการถายภาพบุคคลโดยทั่วไปมักมีวัตถุประสงคที่แตกตางกันอยู 2 ประการดวยกันคือ 1.2.1 การถายภาพเพื่อใหเห็นรายละเอียดมากที่สุด การถายภาพประเภทนี้เปนการ ถายภาพเพื่อใหเห็นรายละเอียดมากที่สุด มีความชัดลึกมากที่สุด ชัดจนกระทั่งสามารถมองเห็น รายละเอียดตาง ๆ บนใบหนาทั้งหมด เชน สิวผา ขุมขน แผลเปน และเหงื่อไคล ฯลฯ โดยทัว่ ไปไม คอยมีผูใดชอบการถายภาพในลักษณะนี้ เพราะเปนการประจานความนาเกลียดของตนใหผอู ื่นได มองเห็น แตอยางไรก็ตามการถายภาพประเภทนี้ก็มีชางภาพบางกลุมชอบ เพราะสะทอนใหเห็นตาม ความเปนจริง ทําใหเกิดความรูสึกไปในทางสงสาร เห็นใจ เกลียด กลัว ฯลฯ การถายภาพประเภทนี้ เปนการถายภาพเพื่อสงประกวด เพื่อเปนการแสดงความไวของเลนส โดยเปดรูรับแสงกวางที่สุด ภาพ ประเภทนี้เปนภาพถายเฉพาะใบหนา เชน ภาพเด็กกําลังรองไห ดวยความกลัว ภาพคนแกกําลังสูบ บุหรี่พนควันโขมง ภาพหญิงชรากําลังขอทาน ฯลฯ การถายภาพคนสวย ๆ โดยวิธีนี้ก็มีเชนเดียวกัน แตตองเปนคนสวยชนิดที่ไมมีที่ตยิ งิ่ เห็น รายละเอียดมากเทาใด ถายภาพในระยะใกลเพียงใดก็ยังเห็นความสวยงามอยู


98 1.2.2 การถายภาพเพื่อความสวยงาม การถายภาพประเภทนี้ไมไดมงุ หวังความชัดเจน มุงหวังเพียงวาจะทําอยางไรจึงจะใหผูเปนแบบมีความสวยงามมากที่สุด การถายภาพประเภทนี้ตองใช ศิลปะในการถายภาพเปนอยางมาก นับตั้งแตการใหผูเปนแบบแสดงทาทางสีหนา และแววตา การให แสงจากดวงไฟหลาย ๆ ดวงเพื่อใหแตละสวนของใบหนามีระดับแสงแตกตางกัน การจัดมุมกลองให เหมาะกับผูที่เปนแบบ ซึ่งบางคนก็ตองถายภาพในมุมกด บางคนก็ตองถายภาพตามมุมเงย ฯลฯ งานถายภาพชนิดนี้ตองอาศัยความชํานาญของชางภาพเปนอันมาก ดวยเหตุนเี้ องตาม รานถายรูปโดยทั่วไปจึงไดรบั ความนิยมจากลูกคาแตกตางกันออกไป รานถายรูปใดสามารถถายภาพ คนที่ไมสวยใหสวยไดจะเปนรานที่ไดรับความนิยมมากวารานที่ถายรูปเพียงแตวาเหมือนแตไมสวย

การถายภาพบุคคลทางดานขางโดยใหแสง เขามา ทางดานหนาของผูที่เปนแบบ ในภาพนี้มีชื่อวา “ในภวังคแหงดนตรี” ของ ธงชัย หลวงพิทักษ

ภาพครึ่งตัวถายดานตรง ภาพนี้มีชื่อวา “สาวเอย เขม็งมอง ฤาเรียกรองกลาวความนัย” เปนภาพของ สุจินต เสียดขุนทด ซึ่งไดรับรางวัลที่ 1 ในการ ประกวดภาพมหาวิทยาลัยป 2521-22


99 1.3 ระยะของการถายภาพกับขนาดของบุคคลในภาพ ขนาดของบุคคลในภาพจะมีขนาดเล็กหรือขนาดใหญนนั้ ขึ้นอยูกับระยะของการถายภาพ มากที่สุด หากตั้งกลองใหอยูหางจากบุคคลที่อยูภายในภาพออกมาภาพที่ไดจะวาบุคคลในภาพนัน้ มี ขนาดเล็ก หากเลื่อนกลองเขาไปใกลบุคคลที่เปนแบบมาก ๆ เขา ภาพของบุคคลผูนั้นก็จะมีขนาดใหญ ขึ้น จากภาพของหมูคน กลายเปนคนเต็มตัว ครึ่งตัว และเฉพาะใบหนาตามลําดับ ฉะนั้นจึงอาจกลาว ไดวาระยะของการถายภาพมีความสําคัญเปนอยางมาก โดยเฉพาะการถายภาพโดยใชเลนสปกติ การถายภาพบุคคลโดยทั่วไปแบงออกไดเปน 4 ประเภทคือ 1.3.1 การถายภาพหมูค น การถายภาพบุคคลจํานวนมากตั้งแต 10 คนขึ้นไป การตั้ง กรอบภาพนิยมการถายภาพตามแนวระนาบ การถายภาพแบบนี้จําเปนตองเลื่อนตัวชางภาพออกไป จนกระทั่งกรอบภาพครอบคลุมผูที่ถูกถายทั้งหมด ตองระมัดระวังผูที่อยูทางดานซายและทางดานขวา สุดอยาใหออกไปอยูนอกกรอบภาพ ควรเวนชวงคนทีอ่ ยูทางดานซายสุดและคนทีอ่ ยูทางดาวขวาสุด ใหหางจากกรอบภาพเทา ๆ กัน ระยะที่อยูท างดานบนกับระยะที่อยูดานลางควรเวนเทา ๆ กัน หรือเวน ดานบนใหมากกวาดานลางเล็กนอย ระมัดระวังอยาใหหวั หรือเทาของบุคคลใดบุคคลหนึ่งขาดไป ระยะของการถายภาพโดยใชกลองที่ใชฟล มขนาด 35 มม. และใชเลนสปกติจะอยูระหวาง 5-10 เมตร การถายภาพหมูคนนี้การจัดที่นั่ง และการดูทิศทางของแสงเปนเรื่องสําคัญ การจัดที่นั่ง ใหดแี ลวจะชวยใหกินเนื้อทีน่ อย และเห็นใบหนาของทุก ๆ คนไดชัดเจนที่สุด นอกจากนี้ตองระวังอยา ใหใบหนาของบุคคลหนึ่งไปบังแสงของอีกบุคคลหนึ่ง ระมัดระวังอยาใหตาของผูที่ถูกถายรูปหยี เนื่องจากมองไปในทิศทางของดวงอาทิตย 1.3.2 การถายภาพคนคนเดียวเต็มตัว โดยทั่วไปในการถายภาพคนคนเดียวเต็มตัวนี้ สวนที่ เปนความสูงมักจะมากกวาทางกวาง ฉะนัน้ ควรตั้งกลองในแนวตั้ง การปรับโฟกัสทั่ว ๆ ไป มักเลือก บริเวณใบหนา เมื่อปรับโฟกัสเรียบรอยแลวจึงประกอบภาพอีกครั้งหนึ่ง ในการถายภาพบุคคลเต็มตัว นี้จะตองระมัดระวังอยาใหหวั หรือเทาของผูเปนแบบขาด หรือออกไปอยูนอกกรอบภาพ ระดับกลองที่ ดีที่สุดคือผูเปนชางภาพควรยอตัว โดยใหหัวเขาหนึ่งยันพื้นสวนอีกเขาหนึ่งตั้ง โดยอาจเปนทีว่ างศอก ของแขนที่จับรอบเลนส การที่ใชมุมถายภาพดังกลาวจะชวยใหกลองอยูระดับกลางของภาพประมาณ เอวของผูถูกถาย ผูเปนแบบจะแลดูสงาผาเผย เกี่ยวกับเรื่องระดับของกลองที่ใชในการถายภาพนี้มีผลตอการถายภาพมาก เชน ถาถายภาพ จากที่ต่ําไปสูท ี่สูงในลักษณะมุมเงย ตัวแบบที่ถูกถายภาพก็จะดูงามสงา ดังเชน การถายภาพอนุสาวรีย ฯลฯ หากถายภาพในลักษณะมุมกด ผูเปนแบบก็จะดูต่ําตอยและไรคา ระยะในการถายภาพบุคคลคน เดียวตามแนวตั้งนี้ประมาณ 3 เมตร หากตัง้ กลองตามแนวนอนก็อยูใ นระยะ 5 เมตร


100 ทาทางของผูที่เปนแบบในการถายภาพก็คือการยืนกอดอก การยืนถือสิ่งของตาง ๆ เชน ใบ ปริญญาบัตร กระบี่ ถวยรางวัล ฯลฯ หรืออาจอยูในทากําลังจรดมวย ทารํา ฯลฯ 1.3.3 การถายภาพคนครึง่ ตัว อาจถายภาพไดทั้งในแนวระนาบและแนวตั้ง หากถายภาพ บุคคลตามแนวตั้งระดับทีเ่ หมาะสมก็คือตามแนวทรวงอก หรือระดับกระเปาเสื้อ หากถายภาพตาม แนวระนาบก็ควรเปนภาพทีก่ ําลังทํางานอยู เชน กําลังพิมพดีด กําลังเขียนหนังสือ กําลังเย็บจักร ฯลฯ ระยะของการถายภาพครึ่งตัวนี้จะอยูระหวาง 1-2 เมตร ในการถายภาพระยะใกลนี้จะตองมีความ ปราณีตในการปรับโฟกัสมากกวาการถายภาพคนเต็มตัว 1.3.4 การถายภาพคนเฉพาะใบหนา เปนการถายภาพในระยะใกลกวา 1 เมตร การปรับโฟกัส จะตองอาศัยความแมนยําและความประณีตเปนอันมาก การวางสีหนาของบุคคลผูเปนแบบ ตลอดจน การสรางอารมณในดวงตาก็เปนเรื่องสําคัญ ในการถายภาพเฉพาะใบหนานีห้ ากเปดรูรับแสงกวางมาก ๆ จะไดภาพที่มีความชัดตืน้ มาก โดยใหชัดเฉพาะเพียงใบหนา สวนฉากหลังเบลอ ก็จะไดภาพที่ สวยงามทีเดียว


101


102 การถายภาพคูร ะหวางชายหญิงเปนที่นิยมกันโดยทัว่ ไป โดยปกติแลวผูชายจะตองอยูขวามือ สวน ผูหญิงจะตองอยูซายมือ ผูชายจะเปนคนยืน และผูหญิงจะเปนคนนั่ง ดังแสดงในภาพ

ภาพคนครึ่งตัวก็จัดวาเปนภาพที่นิยมกันมาก เชนกัน การถายภาพใหผูเปนแบบมองกลองเอียง เล็กนอยพองาม การตั้งกลองใหตั้งระดับเดียวกับ แนวจมูก จะไดภาพดังที่เห็นนี้

การถายภาพเฉพาะใบหนาก็จดั วาเปนภาพที่ ไดรับความนิยมมากเชนกัน เหมาะสําหรับผู ที่มีใบหนาสวยสามารถพิศดูในระยะใกล มากได


103 1.4 หลักการถายภาพบุคคลกลางแจง การถายภาพบุคคลกลางแจงนี้หมายถึงการถายภาพบุคคลโดยใชแสงสวางจากดวงอาทิตย มี หลักที่สําคัญดังตอไปนี้ 1.4.1 การเปดรูรับแสง หากตองการถายภาพเพื่อใหชัดเฉพาะบุคคล สวนที่เปนฉากหลังเบลอ ใหตั้งเอฟสตอปต่ํา ๆ เชน 1.2, 1.8, 2.8 แตถาหากใหไดภาพที่มีความชัดโดยตลอดใหเปดรูรับแสงแคบ ๆ หรือตั้งเอฟสตอปสูง ๆ เชน 11, 16 หรือ 22 1.4.2 ระยะของการถายภาพ หากเปนการถายภาพหมูคนก็จะตองถายภาพในระยะไกลหาก เปนภาพคนเต็มตัวก็ใหเลื่อนกลองเขาไป และถาหากเปนการถายภาพคนครึ่งตัวก็จะตองเลื่อนกลอง เขาไปใกลอีก และถาเปนภาพคนเฉพาะใบหนาก็จะตองเลื่อนกลองเขาไปใกลมากทีส่ ุด ในการเลือ่ น กลองยิ่งเขาไปใกลนี้จะมีผลใหฉากหลังและฉากหนาของภาพเบลอยิ่งขึน้ จึงจําเปนตองใหความ ระมัดระวังมากขึ้น 1.4.3 สภาพของแสง ในการถายภาพในบริเวณที่มแี สงจัด ภาพที่ไดจะมีลักษณะแข็งและสี ตัดกันมาก ผมจะดําจนขาดรายละเอียดและสวนที่เปนผิวก็จะขาวมากไปจนขาดรายละเอียดฉะนั้น การถายภาพทีด่ ีควรเลือกถายภาพในชวงเวลาเชาหรือเวลาเย็น ตอนที่แสงแดดออน ๆ และไมมเี งาจะ ไดภาพที่มีความนุมนวลและมีรายละเอียดมาก แมแตเสนผมก็ยังเห็นรายละเอียดจะเห็นเรียงเปนเสน นอกจากนั้นการเลือกเวลาถายภาพตอนชวงเชา หรือเย็นนี้ ชวยใหไดแสงในแนวนอนซึ่งจะ ดีกวาแสงแดดในเวลาเที่ยงซึง่ ลงมาทางดานบนทําใหเกิดเงาบริเวณใตตา จมูก และคางทําใหไดภาพ ไมสวย การถายภาพในเวลาเชาหรือเย็นในตอนทีแ่ สงแดดออนทําใหถายภาพตามแสงได โดยผูเปน แบบตาไมหยีเนื่องจากเคืองแสงทางสองจากดวงอาทิตยโดยตรง 1.4.4 การเลือกฉากหลัง ในการเลือกฉากหลังในการถายภาพขาวดํา จะตองไมเลือกฉากหลัง ที่ยุงเหยิง เชน กองขยะ เศษผงหรือกระดาษเต็ม และจะตองไมเลือกฉากหลังทีม่ ีสีใกลเคียงกับตัว แบบ เชน สีเขียวของสนามหญา ฝาผนังที่มีสีเขม ฯลฯ การเลือกฉากหลังที่ดีจะตองเลือกฉากหลังที่สะอาด เชน กําแพง ฝาผนัง ฯลฯ ที่มีสีเทา สีฟา สี น้ําตาลออน เปนตน 1.4.5 ระดับของกลอง ในการถายภาพบุคคลกลองจะตองอยูในระดับเดียวกัน เชน หาก ถายภาพคนเต็มตัวผูเปนชางภาพจะตองนั่งเขายันพืน้ ถาถายภาพเฉพาะใบหนาและผูเปนแบบยืน ชางภาพจะตองยืนดวย ฯลฯ 1.4.6. การเลือกมุมถายภาพ การถายภาพบุคคลนิยมถายถาพอยู 3 มุมดวยกันคือ การถายภาพ ดานหนาตรง การถายภาพกึง่ ดานหนากับดานขางโดยเอียงหนาเล็กนอย และการถายภาพดานขาง ใน แตละคนยอมมีมุมถายภาพไมเหมือนกัน การเลือกมุมถายภาพใหเหมาะสมและการใหแสงที่ดจี ะชวย ใหไดภาพที่มคี วามสวยงามมากที่สุด


104 1.4.7. การใชแฟลชชวย ในกรณีทจี่ ําเปนตองถายภาพในเวลาเที่ยงหรือในที่ที่มีแสงแดดจัด หากตองการลบเงาบริเวณใตตา จมูก และคาง ใหใชแฟลชชวย 1.4.8 ระมัดระวังเงาของวัตถุตาง ๆ ในการถายภาพบุคคลจะตองระมัดระวังเงาของวัตถุตาง ๆ ดวย เชน การถายภาพบริเวณใตตนไมกจ็ ะตองระวังเงาของใบไมที่พาดลงมาบนใบหนาตลอดจนเงา ของสายไฟฟา หรือเงาของตากลองเองอาจจะไปเกิดขึ้นทีต่ ัวแบบได

ภาพนี้มีชื่อวา “ยิ้ม” ถายโดย ศุลีพร วงศภานุวัฒน เปนภาพที่ถายโดยใชแฟลช เพื่อเปดความสวางบน ใบหนา และลบแสงซึ่งสองมาทางดานหลังของสตรีทั้ง 2 คนนี้ สวนทีเ่ ปนผมจะขาวและนาดูยิ่งขึ้น


105

ภาพนี้เปนภาพที่ไดรับรางวัลยอดเยีย่ มของสมาคมถายภาพแหงประเทศไทย ป พ.ศ.2521-22 เปนภาพที่ถายโดยอํานวย นันทวิชิต เปนภาพเด็ก ๆ ในชนบทในขณะ เดินทางไปโรงเรียนตอนเชาในวันไหวครู


106 1.5 การถายภาพบุคคลภายในบานหรือภายในรมเงา การถายภาพบุคคลภายในบาน หรือภายในรมเงานีห้ มายถึงบริเวณทีม่ ีแสงอาทิตยสอง ลอดเขามาบาง ทั้งนี้เนื่องจากเปนเวลากลางวัน การถายภาพในลักษณะดังกลาวนี้ไดแกในบริเวณหอง ประชุม ตามระเบียงบาน ปากประตู ฯลฯ หลักในการถายภาพมีดังนี้ 1.5.1 เลือกสถานที่มีแสงพอสมควร สถานที่มีแสงสวางพอสมควรแกการถายภาพไดแก บริเวณปากประตู ริมหนาตาง หรือตามระเบียงบาน ฯลฯ 1.5.2 การตั้งกลอง พยายามหลีกเลี่ยงการถายภาพทวนแสงใหมากที่สดุ เชน การถายภาพ จากภายในหองออกไปขางนอกหอง โดยทีผ่ ูเปนแบบหันหนาเขามาภายในหอง หากจะเปลี่ยนมุมก็ทํา ไดโดยตากลองออกไปยืนนอกหอง ผูเปนแบบอยูที่ปากประตูใหแสงจากขางนอกหองสองเขามาที่ ใบหนา แลวถายภาพจากดานนอกเขามา ภาพที่ไดจะชัดเจนทีใ่ บหนาแตสวนที่เปนฉากหลังจะดําจัด 1.5.3 การเลนเงา การถายภาพประเภทนี้เหมือนกับการถายภาพโดยใชไฟดวงเดียว การ เลนเงาจึงเปนเรื่องสําคัญ การเอียงใบหนาอยางไรจึงจะไดภาพที่สวยงามมากที่สุด เปนศิลปะที่สําคัญที่ จําเปนตองฝกฝนใหเกิดความชํานาญ การถายภาพแบบนี้จะไดรายละเอียดเพียงซีกเดียว หากตองการใหไดรายละเอียดอีกซีก หนึ่ง วิธีการแกไขก็คือการใชแผนสะทอนแสงรับแสงและสะทอนไปยังอีกดานหนึ่งของใบหนาให ไดรับแสงแสวงมากขึ้น 1.6 การถายภาพบุคคลในขณะทัศนาจร ก็เปนภาพอีกประเภทหนึ่งที่มกั เจอปญหา และมีความ จําเปนที่จะตองแกไขเพื่อใหไดภาพที่ดีและชัดเจนมากทีส่ ุด มีหลักสําคัญดังนี้ 1.6.1 สถานที่ที่ควรถายภาพ ไดแกภาพในขณะทีก่ ําลังนั่งอยูภายในรถยนต รถไฟ เรือ เครื่องบิน หนาโบสถ ฯลฯ การถายภาพจําเปนตองใชแฟลตเขาชวย 1.6.2 การถายภาพโดยแสงสองเขามาทางดานเดียว เชน การถายภาพภายในรถไฟ รถยนต ที่มีแสงสองเขามาทางหนาตางเพียงดานเดียว ใชหลักเหมือนกับการถายภาพโดยใชไฟฟลัด เพียงดวงเดียว บริเวณที่ควรหลีกเลี่ยงคือบริเวณทีน่ ั่งดานหลังสุดภายในรถยนต เพราะการถายภาพใน บริเวณดังกลาวเปนการถายภาพยอนแสง จึงจําเปนตองใชแฟลชชวย 1.6.3 การถายภาพที่มีแสงเขามา 2 ดาน มีลักษณะเหมือนกับการถายภาพโดยใชไฟ ฟลัด 2 ดวง เชน บริเวณภายในรถซึ่งมีแสงเขามาทางหนาตางทั้งสองดาน การถายภาพก็ไมจําเปนตองใชไฟ แฟลชสําหรับถายรูป 1.6.4 การถายภาพที่แสงมาในแนวเดียวกับกลอง เชนการถายภาพบริเวณปากน้ํา ปาก ประตูโบสถ การถายภาพเชนนี้จะไดภาพที่มีฉากหลังดํา เปนภาพแบนไมมีความลึกแตก็มีความชัดเจน


107

ภาพนี้เปนภาพที่ถายโดย สุรศักดิ์ เลาหกุลเวทิต เปนภาพที่ไดรับรางวัลเกียรติยศ ประจําป พ.ศ.2521 -22 เปนภาพทีใ่ หแสงดี เด็กอารมณดีเปนภาพที่ใหคณ ุ คาทางความรูสึกมาก 1.7 การถายภาพโดยใชหลอดไฟโฟโตฟลัด การถายภาพปุคคลโดยใชหลอดไฟโฟโตฟลัดเปนที่นยิ มทั่วไปตามรานถายรูปหรือตาม ุ ภาพที่ดีจริงๆ ไฟโฟ สติวดิโอตางๆ ทั้งนี้โดยมีวตั ถุประสงคที่จะใหไดภาพที่มีความชัดเจนและมีคณ โตฟลัดที่ใชในการถายรูปทีน่ ิยมโดยทั่วไปมี 4 ดวงดวยกันคือ ไฟหลัก ไฟเพิ่ม ไฟสองฉากหลัง และ ไฟสองผม ซึ่งจะกลาวโดยละเอียดตอไป 1.7.1 หนาที่ของไฟฟลัดที่ใชในการถายภาพบุคคล หลอดไฟโฟโตฟลัดเปนหลอดไฟที่ใหความสวางมาก โดยมีความสวางตั้งแต 200 วัตตขึ้นไป โดยมีขาตั้งปรับระดับความสูงต่ําไดตามใจชอบ การจัดหลอดไฟนี้หากตองการแสงจาก หลอดไฟดวงใดมากก็ใหเลื่อนหลอดไฟดวงนั้นเขาไปใกลตัวแบบ แตถา หากตองการแสงจาก หลอดไฟดวงใดนอยก็ถอยหลอดไฟดวงนั้นออกไปหางๆ แสงจากหลอดไฟดวงนั้นก็จะลดลงหนาที่ ของหลอดไฟแตละดวงมีดังนี้ 1.7.1.1 หลอดไฟหลัก (Key light) เปนหลอดไฟดวงแรกทีใ่ ชในการถายภาพ การตั้งหลอดไฟดวงนี้ทํามุมกับกลองถายรูปไมเกิน 45 องศา หลอดไฟดวงนี้จะชวยเปดเงาดานหนึ่ง ของใบหนาใหเห็นรายละเอียดชัดเจนขึ้น มีหนาที่เหมือนกับแฟลชทีใ่ ชในการถายภาพโดยทัว่ ไป 1.7.1.2 หลอดไฟเพิ่ม (Fill light) เปนหลอดไฟดวงที่ 2 ที่เพิ่มขึ้น มีหนาที่เปดเงา อีกดานหนึ่งของใบหนา ทําหนาที่คลายกับแผนรีเฟล็กเตอร การตั้งหลอดไฟดวงนีจ้ ะตองตั้งอยูคนละ ฟากกับหลอดไฟหลัก และทํามุมไมเกิน 90 องศากับหลอดไฟดวงแรก หลอดไฟดวงนี้นอกจากจะชวย


108 เปดเงาอีกดานหนึ่งแลวยังชวยใหภาพมีความลึกขึ้น ชวยลบเงาใบหนาสวนที่เปนสันจมูก คิ้ว ริมฝปาก ใหนาดูยิ่งขึ้น 1.7.1.3 หลอดไฟสองฉากหลัง (Back light) เปนหลอดไฟดวงที่ 3 ทําหนาที่ลบ เงาอันเกิดจากบุคคลที่เราถายภาพไปบังแสงจากหลอดไฟหลักและไฟเพิ่ม ซึ่งจะตองไปเกิดเงาที่ บริเวณฉากหลัง หลอดไฟสองฉากหลังนี้จะเปนตัวที่ลบเงาของฉากหลัง หลอดไฟดวงนี้จะมีขนาดเล็ก และเตีย้ กวาหลอดไฟดวงอืน่ ๆ เพราะหลอดไฟดวงนีจ้ ะตองตั้งอยูใ กลกับฉากหลังในระดับต่ําฉะนั้น หลอดไฟดวงนี้จึงไมจําเปนตองมีความสวางเทากับหลอดไฟดวงอื่น ๆ 1.7.1.4 หลอดไฟสองผม (Hair light) หลอดไฟดวงนี้เปนหลอดไฟที่มีราคาแพง มากกวาเพื่อน หลอดไฟดวงนี้มีลอสําหรับเลื่อนได และมีกลไกลคลายเลนสไดอะแฟรมที่ชวยในการ เพิ่มแสงหรือลดแสงได หลอดไฟดวงนี้จะทําหนาทีส่ องบริเวณผมเพื่อใหมีความสวางมากกวาปกติ ทั้งนี้ เพื่อใหไดภาพของเสนผมที่เรียงเปนเสนและสะทอนแสงไปยังกลองใกลเคียงกับหลอดไฟดวง อื่น ๆ หลักการใชหลอดไฟเพื่อการถายภาพนีจ้ ําเปนตองฝกบอย ๆ และ การจัดจะตอง รวดเร็วทั้งนี้เนือ่ งมาจากหลอดไฟนี้มีความรอนสูง หากเปดหลอดไฟนีเ้ ปนเวลานาน ๆ ผูเปนแบบมัก ทนไมได เหงือ่ อาจจะออกมาทําใหผิวหนาที่แตงไวเสีย ฉะนั้นการจัดไฟนี้จึงตองจัดอยางรวดเร็วและ ถูกตอง ในปจจุบนั นี้ไดมีผูพยายามแกปญหาความรอนจากหลอดโฟโตฟลัด โดย เปลี่ยนเปนการใชระบบไฟแฟลชแทน โดยการจัดตั้งโคมไฟเหมือนกับโฟโตฟลัด แตใชเปนไฟแฟลช แทน ทําใหผูเปนแบบไมรอนเหมือนใชไฟโฟโตฟลัด


109 1.7.2 หลักการจัดอุปกรณเพื่อใชในการถายภาพบุคคลดวยไฟโฟโตฟลัด หลักการจัดอุปกรณเพือ่ ใชในการถายภาพบุคคลดวยหลอดไฟโฟโตฟลัดมีดังนี้ คือ 1.7.2.1 ใชเลนสที่มีความยาวโฟกัสยาว ๆ เพื่อใหชว งระยะชัดของภาพตื้น สะดวก ในการจัดตั้งไฟโฟโตฟลัด หากเกิดเงาของตัวแบบทีบ่ ริเวณฉากหลัง ภาพที่ปรากฎบนฉากหลังจะ เบลอดูไมนาเกลียด 1.7.2.2 จัดสวนใหญ ๆ ไปหาสวนยอย ในการจัดทาทางของผูเปนแบบ จะตองจัด จากสวนใหญ ๆ เชน จะใหยนื หรือนั่ง แลวจึงจัดสวนปลีกยอย เชน การวางแขน ทายืน การวางทาทาง การวางสีหนา การจัดความเรียบรอยของเครื่องแตงกาย ฯลฯ 1.7.2.3 การจัดฉากหลัง ควรเลือกฉากหลังสีเทาเพื่อไมใหสะทอนแสงมาก จนเกินไป และไมควรจัดทีน่ ั่งของผูเปนตัวแบบอยูใกลฉากหลังมากจนเกินไป เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิด เงาที่บริเวณฉากหลัง 1.7.2.4 การถายภาพคนตัวใหญใหดูเล็กลง ใหใชเสื้อผาสีเขม ๆ หันดานขางให กลอง และพยายามตั้งกลองใหหางจากตัวแบบมากกวาปกติ 1.7.2.5 การถายภาพคนตัวเล็กใหดูตวั ใหญ ใหใชเสื้อผาสีออน ๆ หันดานตรงเขา หากลองและพยายามตั้งกลองใหเขาไปใกลตัวแบบมากกวาปกติ 1.7.2.6 การถายภาพผูม ีรูปรางอวนใหดูผอมขึ้น ใหใชเสื้อผาทีม่ ีลายเสนตรงตั้ง ฉากกับพื้นดินเอียงดานขางเล็กนอย 1.7.2.7 การถายภาพผูม ีรูปรางผอมใหดูอวนขึ้น ใหใชเสือ้ ผาที่มีลายขวางกับ ลําตัว ถายภาพดานตรงในระยะใกลมาก ๆ 1.7.2.8 การจัดมือ หากถายภาพคนเต็มตัวซื่งตองติดมือดวย หากเปนทานั่งใหใช มือประสานกันวางไวเหนือเขา หากเปนทายืนตรงควรหาอะไรมาถือ เชน กระนี่ ปริญญาบัตร หาก ถายภาพดานขางอาจใชทายืนกอดอก หากเปนสตรีใหใชทาทาวแขน หรือ ทาวคาง 1.7.2.9 การตั้งทิศทางของกลอง ควรเลือกทิศทางของกลองใหเหมาะสมกับ ลักษณะของแตละบุคคลซึ่งไมเหมือนกัน พรอมกันนั้นจะตองมีการจัดไฟเพื่อใหเกิดเงาที่เหมาะสม ดวย


110

2. การถายภาพทิวทัศน 2.1 การถายภาพทิวทัศน เปนภาพทีน่ ักถายภาพสมัครเลนโดยทัว่ ไปนิยมถายภาพกัน ทั้งนี้เพราะทิวทัศนมีความสวยงามตามธรรมชาติอยูแลว ภาพของทิวทัศนที่นิยมถายภาพกันไดแกภาพ ดังตอไปนี้ 2.1.1 ภาพของทะเล เปนภาพของทองทะเล โดยใหติดทองฟาที่มีเมฆลอยเดน มีเกาะ ชายหาด เรือหาปลา เรือใบ คนเดินตามชายหาด ฯลฯ 2.1.2 ภาพน้าํ ตก เปนภาพของน้ําตกที่ไหลมาตามลําธาร เปนการถายภาพดวย ความเร็วชัตเตอรต่ํา เห็นสายน้ําเปนละอองขาวนุมนวลสวยงามอีกประเภทหนึ่ง 2.1.3 ภาพทองทุง นา เปนภาพของชาวนากําลังเกี่ยวขาวโดยมองเห็นในระยะไกล มี กองฟาง มีควาย มีระหัดวิดน้าํ เขานา ฯลฯ 2.1.4 ภาพตามแมนา้ํ ลําคลอง โดยใหเห็นเรือวิ่งในระยะไกล ๆ มีดวงอาทิตยที่กําลัง ขึ้นจากขอบฟา หรือกําลังลับจากขอบฟา มีเรือโยงลากจูงเปนขบวน มีเรือบรรทุกน้ํามัน เรือบรรทุก สินคา ฯลฯ อาจจะเปนภาพทีต่ ิดบางสวนของสะพาน เจดีย ก็ได 2.1.5 ภาพของทิวเขา ความสวยงามของภูเขาขึ้นอยูกับรูปราง และแนวสลับซับซอน ตลอดจนบางภูเขามีความสวยของตนไม กอนหิน ถ้ํา นกที่กําลังบิน ฯลฯ 2.2 หลักในการถายภาพทิวทัศน ในการถายภาพทิวทัศนโดยทั่วไป ไมวาจะเปนภาพของ น้ําตก ทองทุงนา แมน้ํา ลํา คลอง หรือ ทิวเขา ก็ตาม อาจสรุปเปนหลักเกณฑสําหรับการถายภาพไดดังนี้ 2.2.1 ตั้งเอฟสตอปตัวเลขสูง ๆ การตั้งตัวเลขเอฟสตอบสูง ๆ เชน 22, 16, 11 จะชวย ใหไดภาพที่มคี วามขัดลึกกวาการตั้งเอฟสตอปต่ํา ๆ เชน 1.2, 1.8, 2.8 ทั้งนี้เพราะภาพที่เกิดจากการ ถายภาพทิวทัศนนั้นจะมีชว งระยะทีแ่ ตกตางกันมาก หากในภาพมีความกระจางชัดโดยตลอดก็จะมี คุณคามากยิ่งขึน้ 2.2.2 เปนภาพที่ถายในระยะไกล ทั้งนี้เนื่องจากภาพทิวทัศนนั้นเปนการถายภาพ สิ่งของที่มีขนาดใหญ ๆ ทั้งสิ้น เชน ลําธาร ทะเล ทองทุงนา ฯลฯ ฉะนั้นการตั้งระยะในการถายภาพจึง นิยมตั้งที่ระยะไกลสุด 2.2.3 การถายภาพในตอนเชาหรือเย็นดีกวาตอนเที่ยง ทั้งนี้เพราะการถายภาพใน ตอนเชาหรือตอนเย็นเปนการถายภาพในลักษณะตามแสงหรือทวนแสง หากเปนการถายภาพตามแสง จะไดความกระจางของภาพสูงมาก ทําใหเปนภาพที่มีความชัดเจน หากเปนการถายภาพทวนแสงก็จะ ไดภาพที่มีลักษณะเงาดําซึ่งเปนที่นิยมเชนกัน


111 2.2.4 ใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอรชวย การใชสายลั่นชัตเตอรและการใชขาตั้ง กลองชวยทําใหสามารถถายภาพในชวงเวลาเชาหรือเยนที่มีแสงนอย โดยเปดรูรับแสงแคบเพื่อ ตองการความชัดลึกได ทั้งนี้จําเปนตองใชความเร็วของชัตเตอรต่ํา ๆ จึงจําเปนตองใชสายลั่นชัตเตอร เขาชวย 2.2.5 ใชฟลเตอรชวย ในการถายภาพทิวทัศนนั้นมีฟลเตอรที่มีสวนชวยใหภาพมี ความสวยงามขึ้นหลายชนิดดวยกัน เชน หากตองการใหทองฟามืดคล้ําลงไปเพื่อขับใหเมฆลอยขาว เดนขึ้นก็ควรใช ฟลเตอรสีเหลือง สม หรือแดง เปนตน หากตองการใหสามารถถายน้ําตกดวยความเร็ว ชัตเตอรต่ํามาก ๆ เพื่อใหเห็นความขาวนุมนวลของน้าํ ตกก็ใหใชฟลเตอร “เอ็นดี” เพื่อดูดกลืนแสง บางสวนลงไป 2.2.6 เลือกสิ่งที่มาประกอบเปนฉากหนา ในการถายภาพเพือ่ ใหเห็นความชัดลึก ของภาพไดมกี ารเปรียบเทียบใหเห็นชวงระยะไกลกับระยะใกล เรานิยมถายภาพใหตดิ ใบไมทยี่ อยลง มาจากดานบนของภาพ หรือการถายภาพโดยผานกรอบประตูโบสถไปยังวัตถุภายนอก ฯลฯ 2.2.7 นําคนเขามาประกอบในภาพ ในการถายภาพโดยใหตดิ ภาพของคนนั้นมี วัตถุประสงคเพื่อเปนการเปรียบเทียบขนาดใหเห็นวาสิ่งตาง ๆ ที่อยูใ นภาพนั้นหากเปรียบเทียบกับคน แลวมีความใหญกวามากนอยเพียงใด นอกจากนัน้ ภาพของคนยังชวยนําสายตาไดดี ภาพคนที่อยูใ น ภาพทิวทัศนควรเปนไปตามธรรมชาติ เชน คนกําลังตกปลา กําลังเดินเลนตามชายหาด กําลังเอานิ้วชี้ ไปที่เรือกลางทะเล ฯลฯ


112

ลักษณะของภาพทิวทัศนนั้น จะตองเปนภาพที่เกี่ยวกับสภาพที่เปนอยูในธรรมชาติ อันไดแก ทองฟา พื้นน้ํา ภูเขา ตนไม ตลอดจนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น เชน กระทอม ทาน้ํา ฯลฯ ซึ่งจะชวยใหภาพมีความ นาดูมากยิ่งขึ้น การถายภาพทิวทัศนนจี้ ะตองนําเอาสิ่งตาง ๆ มาแสดง โดยคํานึงถึง จุดเนน เอกภาพ และความสมดุล


113

3. การถายภาพสิ่งกอสราง 3.1 การถายภาพสิง่ กอสราง นั้นมีลักษณะใกลเคียงกับการถายภาพทิวทัศนเปนอยาง มากแตกตางกันเพียงแตวาภาพทิวทัศนเปนภาพของสิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ สวนภาพ สิ่งกอสรางนั้นเปนภาพของสิ่งที่มนุษยไดสรางขึ้น ลักษณะของภาพสิง่ กอสรางไดแกภาพดังตอไปนี้ 3.1.1 ภาพอาคารสถานที่ตาง ๆ ไดแกภาพสถานที่อยูอาศัยของมนุษย หรือ ที่ ทํางานของมนุษย เชน ตึกเรียนตาง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย พระทีน่ ั่งอนันตสมาคมตึกแถว แฟลต โรงแรม โรงเรียน ฯลฯ 3.1.2 ภาพโบราณสถานตาง ๆ โบราณสถานนั้นเปนสิ่งที่มีความสําคัญในอดีต มี คุณคาทางประวัติศาสตร เชน โบสถ เจดีย สถูป ประตูเมือง ฯลฯ 3.1.3 ภาพอนุสาวรียแ ละพระรูปตาง ๆ เปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อเคารพ สักการะบูชาอันไดแก อนุสาวรีย พระพุทธรูป รูปปน ฯลฯ สิ่งเหลานี้เปนตัวแทนของสิ่งที่มีชีวิต ฉะนั้นคุณคาของภาพที่ไดออกมาคือความเหมือน ความสงางาม และความนาเคารพสักการะ ฯลฯ 3.1.4 ศิลปะสมัยใหม ๆ ตาง ๆ เปนสิ่งที่แสดงความเจริญรุงเรืองของมนุษยใน ปจจุบัน เชน สะพาน ถนนลอยฟา ตึกสูง ๆ หองประชุม ฯลฯ 3.2 หลักในการถายภาพสิง่ กอสราง ในการถายภาพสิ่งกอสรางโดยทั่ว ๆไป ไมวาจะเปน อาคารสถานที่ โบราณสถาน อนุสาวรีย หรือ ศิลปะสมัยใหมตาง ๆ มีหลักสําคัญในการถายภาพดังตอไปนี้ 3.2.1 เปนการถายภาพในระยะกลาง คือไมเปนการถายภาพในระยะใกลจนเกินไป เพราะจะเก็บสวนตาง ๆ ของภาพไมหมด และไมเปนการถายภาพในระยะไกลเกินไป เพราะจะไมเห็น รายละเอียดและความชัดเจนเพียงพอ 3.2.2 เก็บสวนตาง ๆ ของภาพใหหมด ความสําคัญในการถายภาพสิง่ กอสราง โดยเฉพาะอาคารสถานที่ตาง ๆ จําเปนจะตองเก็บสวนตาง ๆ ของตัวอาคารใหหมด หากไมหมดแลว ภาพนัน้ ก็จะหมดคุณคาไป ในการนี้บางครั้งตองถอยไปถายภาพในระยะไกลทีพอเหมาะกับขนาดของ ภาพสิ่งกอสราง 3.2.3 เลือกเวลาที่เหมาะสมสําหรับการถายภาพ ในการถายภาพสิ่งกอสรางนั้น เรา นิยมเลือกเวลาที่ไมมีแสงแดดจัด เชน ในตอนเชาหรือตอนเย็น ขอสําคัญในชวงเวลาดังกลาวแสง จะตองสองมาทางดานหลังของกลอง โดยสองไปยังตัวสิ่งกอสรางซึ่งจะชวยใหไดภาพที่มีความชัด กระจางสูงสุด 3.2.4 ใชเลนสมุมกวางชวย เพื่อใหสามารถเขาไปถายสิ่งกอสรางไดในระยะใกล เพื่อใหไดความกระจางของภาพสูงสุด เราจึงนิยมนําเลนสมุมกวางเขามาชวย นอกจากนั้นการใชเลนส


114 มุมกวางยังแกปญหาในเรื่องเนื้อที่ถายภาพจํากัด เชน เมือ่ ถอยหลังออกมามาก ๆ อาจมีสายไฟหรือรั้ว หรือประตูมาบังกลอง เปนตน นอกจากนั้นหลักในการถายภาพประการอื่น ๆ ก็คลายคลึงกับการถายภาพทิวทัศน และ การถายภาพบุคคลโดยทั่วไป อาจนําเอาวิธีการถายภาพทิวทัศน และการถายภาพบุคคลมาประยุกต ใชได


115 การถายภาพสิง่ กอสราง การประกอบภาพเปนเรื่องสําคัญจะตองมีสวนตาง ๆ ที่จําเปนสําหรับบานให ครบ เชน หลังคา กําแพงบาน ถนน ฯลฯ

การถายภาพบานที่มีตนไมมาก ๆ การถายภาพใหติดถนน ใบไมยอย ๆ ในสวนที่เปนฉากหนาจะชวย ใหไดภาพที่มคี วามลึกและมีทัศนมิติ

การถายภาพสิ่งกอสราง


116 ในภาพนี้เปนภาพของ “บานพิษณุโลก” ซึ่งปจจุบันไดดัดแปลงมาเปนที่อยูสําหรับผูดํารงตําแหนง นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย การถายภาพสิ่งกอสรางนี้ สวนที่เปนพื้นน้ําจะชวยใหเกิดเงา ทําใหได ภาพที่นาดูยิ่งขึน้

4. การถายภาพสิ่งที่เคลื่อนไหว 4.1 การถายภาพสิง่ ที่เคลื่อนไหว เปนภาพอีกประเภทหนึ่งที่ไดรับความนิยมเปนอยางมาก ความสนุกของการถายภาพ ประเภทนี้นั้นขึ้นอยูกับการเลือกกดชัตเตอรในชวงเวลาทีเ่ หมาะสม สิ่งที่เคลื่อนไหวที่ไดรับความนิยม ในการถายภาพกันไดแกลักษณะของภาพดังตอไปนี้ 4.1.1 ภาพรถวิง่ รถในที่นี้ไดแกรถที่มีความเร็วสูง เชน จักรยานยนต รถยนต รถไฟ ฯลฯ ความสนุกของการถายภาพขึน้ อยูก บั การตั้งความเร็วชัตเตอรใหเร็ว การจัดเตรียมปรับโฟกัสไว ลวงหนา เพื่อใหไดภาพที่ชัดเจนและหยุดนิง่ 4.1.2 ภาพการเลนกีฬา เปนภาพของกําลังเลนกีฬา เชน การเลนบาสเกตบอล ฟุตบอล เทนนิส แบดมินตัน ฯลฯ ความสวยงามของภาพคือสีหนาของผูที่กําลังเลนกีฬาทาทางของผู เลนกีฬา ฯลฯ ภาพประเภทนีน้ ิยมการถายภาพในระยะใกลพอสมควรเพื่อที่จะไดภาพที่มีความกระจาง ชัดมากที่สุด 4.1.3 ภาพพิธีการตาง ๆ เปนภาพที่มีการเคลื่อนไหวอยางชา ๆ แตการถายภาพ ประเภทนี้ก็จําเปนที่จะตองถายภาพในจังหวะที่เหมาะสม เชน ภาพการรดน้ําสังขคูบาวสาว ภาพการ รับปริญญาบัตรหรือประกาศนียบัตร ฯลฯ การถายภาพสิง่ เคลื่อนไหวนีไ้ มวาจะเปนภาพรถที่กําลังวิ่งซึ่งมีทิศทางการเคลื่อนที่ที่ แนนอน การเลนกีฬาไมมีทศิ ทางการเคลื่อนที่ที่แนนอนแตเราก็พอกะไดวาเราจะถายภาพในชวงเวลา ใด สวนการถายภาพในพิธตี าง ๆ นั้น เราสามารถกะระยะและจังหวะของการถายภาพไดซึ่งจะได กลาวโดยละเอียดตอไป 4.2 หลักการถายภาพสิ่งเคลื่อนไหว หลักการถายภาพสิ่งที่เคลื่อนไหว มีหลักการที่ควรคํานึงถึงดังตอไปนี้ 4.2.1 ทิศทางของวัตถุที่เคลื่อนที่ หากวัตถุนั้นเคลื่อนที่ในแนวตั้งฉากกับกลอง จะตองตั้งความเร็วของชัตเตอรใหเร็วกวาวัตถุที่เคลื่อนที่ตามแนวเฉียง และวัตถุที่เคลื่อนที่เขาหาก กลองหรือเคลื่อนออกจากกลองตามลําดับ 4.2.2 อัตราความเร็วของวัตถุ โดยทั่วไปหากตองการใหเห็นภาพของวัตถุที่กําลัง เคลื่อนที่หยุดนิ่งชัดเจน จะตองตั้งความเร็วของชัตเตอรสูงกวาความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่


117 4.2.3 ระยะระหวางวัตถุกับกลอง หากวัตถุนนั้ อยูใกลกลองมาก ความเร็วของชัต เตอรจะตองเร็วมากขึ้น สวนวัตถุที่อยไกลจากกลองความเร็วของชัตเตอรก็อาจชาลงได นอกจากจะตองตั้งความเร็วของชัตเตอร เพื่อใหเหมาะสมกับทิศทางของวัตถุที่ เคลื่อนที่อัตราความเร็วของวัตถุ และระยะระหวางวัตถุกับกลองแลว ยังจะตองคํานึงถึงเรื่องตาง ๆ ดังตอไปนี้ 4.2.3.1 เตรียมตัวใหพรอมเพื่อสามารถกดชัตเตอรไดทันที เชน การตั้ง ความเร็วของชัตเตอรการตั้งหนากลองหรือเอฟสตอป และการปรับหาโฟกัสในการถายภาพ 4.2.3.2 ในบางครั้งอาจตองปรับโฟกัสกอนการกดชัตเตอร ไดแกการถายภาพ การเลนกีฬาตาง ๆ เชน การชกมวย การเลนบาสเกตบอล การตีเทนนิส ฯลฯ ก็ใหตงั้ เฉพาะเอฟสตอป และความเร็วของชัตเตอรเอาไวลวงหนา พรอมทั้งหาโฟกัสอยางหยาบ ๆ เอาไว ในขณะที่มองผาน ชองมองภาพไปยังวัตถุ ก็ใหประกอบภาพ ปรับโฟกัสอยางละเอียด และกดชัตเตอรในจังหวะที่ เหมาะสม เชน ในขณะทีน่ ักมวยฝายหนึ่งชกถูกหนาของอีกฝายหนึ่ง หรือในขณะที่นกั บาสเกตบอล คนหนึ่งไดลูกและกําลังโยนลูกเขาหวง เปนตน ผูที่ทําหนาที่ถายภาพจะตองรูจักธรรมชาติของกีฬาแต ละชนิด 4.2.3.3 การตั้งหนากลองหรือปรับเอฟสตอป ในการถายภาพสิ่งที่เคลื่อนไหว นิยมการปรับเอฟสตอปสูง ๆ ตั้งแต 8, 11, 16, และ 22 ขึ้นไป เพื่อใหไดชว งระยะชัดลึกทําใหงายแก การถายภาพ โอกาสพลาดจะไดนอยลง 4.2.3.4 ความเร็วของชัตเตอร ความเร็วของชัตเตอรโดยทั่วไปนิยมความเร็ว ตั้งแต 1/125 วินาที ขึ้นไป ยกเวนภาพทีต่ องการภาพของวัตถุชัดแตฉากหลังเคลื่อนไหว 4.2.3.5 ระยะของวัตถุกับกลอง โดยทั่วไปแลวนิยมถายภาพในระยะกวา 4 เมตร ขึ้นไปในการถายภาพคน ทั้งนี้หากถายภาพในระยะใกลกวานี้ชว งระยะชัดจะสั้นมาก และ จะทํา ใหภาพไหวไมชัดเจน 4.2.3.6 ความสวางในขณะถายภาพ ความสวางในการถายภาพเปนสิ่งสําคัญ มาก เพราะหากมีแสงสวางมากพอ จะชวยใหสามารถตั้งความเร็วของชัตเตอรไดสูงขึ้น และ สามารถ ปรับเอฟสตอปใหไดตัวเลขสูงขึ้น เพื่อที่ชวงระยะชัดจะไดกวางขึ้น 4.2.3.7 การเลือกฟลมที่ใชในการถายภาพ โดยทัว่ ไปในการถายภาพกีฬาเปน การถายภาพในระยะไกล ทั้งนี้เนื่องจากผูถายภาพไมสามารถเขาไปถายภาพในระยะใกลไดเพราะติด ขอบสนาม เชน กีฬาฟุตบอล บาสเกตบอล จําเปนตองใชเลนสซูมดึงภาพ จะใชแฟลชก็ระยะไมถึง การเลือกฟลมที่มีความไวแสงสูงจะชวยแกไขปญหานี้ได


118 4.2.3.8 มุมในการถายภาพ ในการถายภาพสิ่งเคลือ่ นไหวการเลือกมุมถายภาพ เปนสิ่งสําคัญชวยใหไดภาพที่ดีที่สุด เชน การถายภาพมาแขง จักรยานยนตแขง เขานิยมถายภาพ บริเวณมุมเลีย้ วกีฬาฟุตบอลนิยมถายภาพบริเวณดานขางใกลประตูฟุตบอล ฯลฯ 4.2.3.9 เลือกถายภาพหลายระยะ การถายภาพสิ่งเคลื่อนไหวบางครั้งการ ถายภาพเพียงภาพเดียวไมสามารถสื่อความหมายไดครบถวน จําเปนตองมีการถายภาพ 3 ระยะ เพื่อ แสดงความตอเนื่อง เชน ภาพการเลนชิงชาของเด็ก ๆ อาจถายภาพเปน 3 ภาพ ภาพแรกเปนภาพ ระยะไกล เพื่อใหเห็นชิงชาหลาย ๆ อันโดยเลนเปนกลุม ภาพที่ 2 เปนภาพเต็มตัว เปนภาพระยะใกล และภาพที่ 3 เปนภาพถายใหเห็นเฉพาะใบหนาแสดงความสนุกสนาน เปนภาพระยะโคลสอัพ หรือ ระยะใกลมาก 4.2.3.10 ความรวดเร็วในการกดชัตเตอรในจังหวะที่เหมาะสม การกดชัต เตอรในจังหวะที่เหมาะสมเปนสิ่งที่สําคัญในการถายภาพประเภทนี้ เชน การถายภาพการรดน้ําสังขคู บาวสาวเรานิยมถายภาพในขณะที่ผูใหญจรดหอยสังขที่มอื เจาบาวหรือเจาสาว การรับปริญญาบัตรนั้น ก็ถือเอาจังหวะที่ในหลวงทรงยื่นปริญญาบัตรถึงมือบัณฑิตใหมพอดี หากถายภาพผิดจากจังหวะนีแ้ ลว ภาพจะหมดคุณคา หรือความหมายผิดไป


119 การถายภาพสิง่ ที่เคลื่อนไหวในภาพนี้ชื่อวา “กระโดด” โดย ศิริพงษ ทองสุขศรี แหงเทคนิคกรุงเทพ เปนภาที่ถายดวยความเร็วของชัตเตอรสูง ภาพจึงดูหยุดนิ่ง แตสีหนาของบุคคลในภาพไดแสดงใหเห็น ถึงการที่ไดออกแรงกระโดดมาอยางเต็มที่

การถายภาพสิง่ ที่เคลื่อนไหวในภาพ เปนการแขงขันมอเตอรไซค มีชื่อภาพวา “แขง” ของสําเภา มหาจี ระรัตนแหงวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ การถายภาพแบบนี้นิยมถายภาพจากดานขาง ในชวงรถเลี้ยว เพื่อใหตดิ ภาพรถหลาย ๆ คัน

ภาพนกพิราบกําลังบินนี้เปนภาพของ วีระศักดิ์ สุตันทวีบูลย เปนภาพที่ถายโดยใชเลนสเทเลโฟโต หรือเลนสเทเลซูม เพื่อใหไดภาพนกที่อยูไ กลเขามาอยูในระยะใกลหรือขนาดของนกใหญมากขึ้น และ อาจจะใชมอเตอรไดฟเพื่อใหไดหลาย ๆ ภาพในขณะกดชัดเตอร โดยแตละภาพทิ้งชวงเวลากันเพียง เล็กนอย แลวนําภาพทีไ่ ดนนั้ มาเลือกใหไดภาพทีด่ ีที่สุด จังหวะการกางปกของนกดีที่สุด


120 5. การถายภาพในเวลา กลางคืน การถายภาพในเวลา กลางคืนมีอยู 2 วิธีดวยกันคือ การ ถายภาพโดยใชแฟลช และการ ถายจภาพโดยไมตองใชแฟลช 5.1 การถายภาพโดยใชแฟลช การถายภาพโดยใชแฟลชนัน้ สวนมากเกิดจากสาเหตุทสี่ ําคัญ 2 ประการดวยกัน คือ 5.1.1 เพื่อใชถายภาพในบริเวณทีม่ ีแสงสวางนอย เชน การถายภาพในเวลากลางคืน หรือการถายภาพภายในบาน หรือภายในรมเงาตาง ๆ 5.1.2 เพื่อใชลบเงาบนใบหนาของคน เมื่อถายภาพกลางแสงแดดในขณะทีเ่ ปนเวลา เที่ยงวันแสงจะสองลงมาจากดานบน การใชแฟลชจะชวยลบเงาบริเวณใตคิ้ว จมูก และ ใตคาง เปนตน 5.2 ประเภทของแฟลชที่ใชในงานถายรูป แฟลชที่ใชในงานถายรูปอาจแบงออกไดเปน 2 ชนิดดวยกันคือ 5.2.1 แฟลชหลอด (Bulb flash) เปนแฟลชที่ใชงานถายรูป ปจจุบันมีใชในกลองอิน สตราเมติก สวนแฟลชที่ใชกับกลองมินิเอเจอร หรือกลองสะทอนเลนสเดี่ยวไดรับความนิยมนอยแลว เนื่องจากแฟลชหลอดนี้มีราคาแพง ไมคุมกับรายจายที่เสียไป สูแฟลชอิเล็กทรอนิกสไมได 5.2.2 แฟลชอิเล็กทรอนิกส (Electronic flash) เปนแฟลชหทีใ่ ชหลอดที่มีอายุยืน แต ละหลอดถายไดเปนหลาย ๆ รอยครั้งไป แฟลชชนิดนีใ้ ชกับแบตเตอรี่แหง เชน ถานไฟฉาย และ แบตเตอรี่น้ํา จึงสะดวกแกการนํามาใชเปนอันมาก ในปจจุบันนีไ้ ดมบี ริษัทตาง ๆ ไดผลิตแฟลชออกา ใหใชงานทีมปี ระสิทธิภาพการทํางานสูง มีระบบคอมพิวเตอรทชี่ วยคํานวณปริมาณของแสงที่จะ สงออกไปในแตละคราว ใหเหมาะสมกับลักษณะของภาพทีตองการถาย มีการปรับมุมแฟลชเพือ่ ให แสงสะทอนเพดานหองไปยังดานหลังของวัตถุที่ตองการถายภาพ เปนการลบเงาที่บริเวณฉากหลังอัน เกิดจากการทีว่ ตั ถุบังแสงที่สองไปยังฉากหลัง กลองถายรูปโดยทั่วไปสามารถใชไดทั้งแฟลขหลอดและแฟลชอิเล็กทรอนิกส โดยทั่วไปแลวแฟลชหลอดกับแฟลชอิเล็กทรอนิกส ความสัมพันธระหวางความเร็วของชัตเตอรกับไฟ แฟลชที่แวบจะเปนไปโดยอัตโนมัติ เราเรียกวา ระบบซิงโครไนซ (Synchronising System) ซึ่งมีอยู 2 แบบคือ แบบ “เอ็กซ” และ “เอ็ม” แบบ “เอ็กซ” ใชกบั แฟลชอิเล็กทรอนิกสสวนแบบ “เอ็ม” (บาง กลองใช “เอฟพี”) ใชกับแฟลชหลอด ความสัมพันธในการทํางานระหวางความเร็วของชัตเตอร กับ ไฟแฟลชทั้ง 2 ชนิดนี้ ในขณะที่ไฟแฟลชแวบขึน้ แสงจากหลอดจะสงไปยังวัตถุที่ถูกถายแลวจะ สะทอนกลับไปสูกลอง เปนเวลาพอดีกับชัตเตอรทํางานโดยเปดรับแสงใหผานไปยังฟลมพอดีไสของ


121 หลอดไฟแฟลขทั้ง 2 ชนิดนี้ ตั้งแตเริ่ตนสวางจนสวางเต็มที่นั้นจะมีอัตราความเร็วไมเทากัน หลอดไฟ แฟลชหลอดนัน้ ไสหลอดเปนใยทังสเตนซึ่งจะตองไดรับความรอนอยางเพียงพอจึงจะสางซึ่งจะกิน เวลามาก สวนแฟลชอิเล็กทรอนิกสไดรบั กระแสไฟเพียงเล็กนอยก็จะแวบแลว ฉะนั้นรูเสียบทั้ง 2 ชนิดนี้จึงตองแยกจากกัน กลองบางชนิดอาจจะใชรูเสียบแฟลชรูเดียวกัน แตมีปุมสับเปลี่ยนตําแหนง ระหวาง “เอ็กซ” กับ “เอ็ม” หลักการตั้งความเร็วของชัตเตอรในการถายภาพดวยแฟลชนั้น โดยทัว่ ไป เรานิยมใชความเร็ว 1/60 วินาที เพราะสิง่ ที่ถูกถายภาพมักจะเปนภาพนิ่งอยูกับที่ โดยเฉพาะกลองที่ ใชชัตเตอรมาน สวนกลองที่ใชชัตเตอรระหวางเลนสอาจถายภาพดวยความเร็วชัตเตอร 1/125 วินาที จนถึง 1/500 วินาที 5.3 หลักที่ควรคํานึงถึงในการใชแฟลช การถายรูปโดยใชแฟลชนั้นสวนมากจะตองคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ หลายประการ เชน ชนิดของแฟลช ระยะของการถายภาพ ฉากหลังของวัตถุสะทอนแสงหรือไม ฯลฯ การใชแฟลชติด กลองอาจจะสะดวกในการถายภาพ แตจะไดภาพที่มีลกั ษณะแบนเรียบและดูไมนมุ นวลในบางครั้งผู ถายภาพอาจจะใชวิธีชูแฟลชขึ้นเหนือศีรษะประมาณ 1 ฟุต ภาพที่ไดจะดูนุมนวลกวาถาเปนการ ถายภาพที่มีฉากหลังเปนพืน้ สีขาว การแหงนแฟลชขึ้นสูเพดานหองแลวถายภาพ อาจชวยลดเงาของ ฉากหลังอันเกิดจากวัตถุไปบังแสงจากแฟลชได ถาเปนการถายภาพภายในหองที่มีเพดานมืดทึบ หรือ หองสติวดิโอขนาดใหญๆ หรือหองเพดานสูงๆ ใหเพิ่มเอฟสตอปขึ้นอีก1สตอป(เชน เดิมใชเอฟสตอป 16 ใหลดเปน 11) ในทางตรงกันขามถาเปนหองเล็ก ๆ แตมีเพดานหรือผนังเปนสีขาวก็ใหลดหนา กลองลง เชน จากเอฟสตอป 16 เปน 22 5.4 การตั้งหนากลองหรือเอฟสตอปเมื่อใชแฟลช การตั้งหนากลองเวลาใชแฟลชชนิดหลอดใหคํานวณดังนี้ ใหการะยะทางจาก หลอดไฟไปยังวัตถุที่จะถายโดยคิดเปนฟุต แลวนําไปหาไกดนัมเบอร (Guide Number) ซึ่งเปน หมายเลขที่เขียนไวทดี่ านขางของหลอด ผลลัพธที่ไดจะเปน เอฟสตอป ตัวอยาง เชน ถาใชฟลมโก ดักเวอริโคม แพน โดยใชแฟลชหลอดนัมเบอร 5 ความเร็วชัตเตอร 1/60 วินาที ระยะจากแฟลชไปถึง ยังวัตถุที่ถูกถาย 20 ฟุต ตัวเลขไกดนับเบอรของแฟลชนัมเบอร 5 คือ 205 ถาเอาระยะ 20 ฟุต ไปหาร ผลลัพธที่ไดคือ 10.25 หากตัด .25 ออก คงเหลือ 10 ก็ใหตั้งเอฟสตอปที่ 11 ซึ่งเปนคาที่ใกลเคียงที่สุด ในกรณีที่ใชแฟลชหลายตัวก็ตองคูณดวยสแควรรูทของจํานวนหลอดสมมติวาหลอดไฟที่ใชเปนชนิด เดียวกัน ไฟแฟลช 2 หลอด ไกดนัมเบอร เทากับ 1.4 ไฟแฟลช 3 หลอด ไกดนัมเบอร เทากับ 1.7 ไฟแฟลช 4 หลอด ไกดนัมเบอรเทากับ 2.0


122 สําหรับการตั้งหนากลองที่ใชแฟลชอิเล็กทรอนิกสนั้น ตั้งจากตารางคํานวณทางดาน หลังของแฟลช ซึ่งบอกตัวเลขเปนตาราง หรือเขียนตัวเลขภายในวงกลม มีที่ตั้งความไวของฟลม(เอ เอสเอ.) แลวจึงเทียบระยะของการถายภาพ (ซึ่งจะเขียนบอกเปนเมตร หรือฟุต) กับเอฟสตอป หาก ระยะของการถายภาพเปนระยะใกลก็จะตองเปดหนากลองใหมีตวั เลขเอหสตอปสูง ๆ หรือรูรับแสง แคบ ๆ แตถาหากเปนการถายภาพในระยะไกลก็จะตองเปดหนากลองใหเอฟสตอปมีตัวเลขต่ํา ๆ หรือ รูรับแสงกวาง ๆ เปนตน 5.5 การถายภาพในเวลากลางคืนโดยไมใชแฟลช 5.5.1 การถายภาพในเวลากลางคืนโดยไมใชแฟลช เรานิยมถายภาพที่มลี ักษณะที่ สําคัญดังตอไปนี้ 5.5.1.1 การตกแตงดวยไฟสีในโอกาสตาง ๆ เนื่องในโอกาสวันสําคัญตาง ๆ เชน วันเฉลิมพระชนมพรรษา วันลอยกระทง งานแหคบไฟ วันสําคัญทางศาสนาที่มีการเวียนเทียนรอบ โบสถ ฯลฯ ในวันดังกลาวเหลานี้จะมีการตกแตงโคมไฟตาง ๆ ใหมคี วามสวยงามอยูแลวเปนโอกาสที่ นาถายภาพเปนอยางมาก 5.5.1.2 ภาพสถานที่ตา ง ๆ ที่มีการตกแตง โคมไฟ เชน ภาพตึกรามตาง ๆ ที่มี การประดับโคมไฟไว ไฟโฆษณาตามแหลงชุมนุมชน ตามหนาโรงภาพยนตร ไนทคลับ อนุสาวรีย น้ําพุ น้ําตก ฯลฯ 5.5.1.3 ภาพรถที่วิ่งสวนไปมาตามทองถนน โดยที่ตามทองถนนดังกลาวนีไ้ ดมี การตกแตงไฟไวบางพอสมควร หากมีภาพของรถที่วิ่งไปมาก็จะทําใหไดภาพที่มีชีวติ ชีวาขึ้น โดยจะ ไดภาพที่มี 2 สวน คือ สวนหนึ่งจะเปนภาพที่เห็นไดชัดเจน เชน บริเวณฉากหลังของภาพตาง ๆ อัน ประกอบดวยน้ําพุ อนุสาวรีย สวนภาพที่เห็นวามีการเคลื่อนไหว ไดแก รถยนตที่วิ่งไปมา 5.5.1.4 ภาพในลักษณะอื่น ๆ เชน การถายภาพโดยอาศัยแสงไฟที่แวบออกมา จากฟาแลบ การเลนรอบกองไฟ ภาพไฟทีก่ ําลังไหมตึกรามบานชอง ฯลฯ เปนตน 5.5.2 หลักในการถายภาพโดยไมใชแฟลช 5.5.2.1 การเลือกสถานที่ จะตองมีแสงอยูบางอาจจะนอย แสงนีจ้ ะตองเปนแสง ที่สองไปยังวัตถุที่ตองการถายภาพ 5.5.2.2 การเลือกฟลม หากไมใชขาตั้งกลองก็ควรใชฟลมที่มีความไวแสงสูง ๆ เชน ฟลมโกดัก ไทรเอ็กซ ซึ่งมีเอเอสเอ.400 แตถา หากใชขาตั้งกลองก็อาจจะใชฟลม ที่มีความไวแสง ต่ํา ๆ ได โดยการปรับใหความเร็วของชัตเตอรต่ําลงมา 5.5.2.3 ระยะของการถายภาพ ภาพทิวทัศนในเวลากลางคืนนีเ้ รานิยมถายภาพ ในระยะไกล ๆ ซึ่งจะชวยใหไดภาพที่มีความชัดลึกกวาการถายภาพในระยะใกล


123 5.5.2.4 วิธีการวัดแสง ใหหันกลองไปยังทิศทางของภาพที่ตองการถาย ปรับ เอฟสตอปใหไดตัวเลขต่ําสุดหรือรูรับแสงกวางที่สุด เพื่อหาความเร็วของชัตเตอรวาจะออกมาเทาใด 5.5.2.5 ปรับเอฟสตอปใหตัวเลขสูง ๆ ในการถายภาพทิศทัศนในเวลากลางคืน นั้น เนื่องจากเราใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอร เราจึงนิยมปรับรูรับแสงไปที่ตัวเลขสูง ๆ เชน 16 หรือ 22 ทั้งนี้เพื่อใหชว งระยะชัดกวางมาก ๆ เพื่อใหไดภาพที่มีความชัดโดยตลอด 5.5.2.6 คํานวณหาเวลาที่เหมาะสม ในการถายภาพทิวทัศนในเวลากลางคืนนัน้ โดยทั่วไปจะตองใชความเร็วของชัตเตอรต่ํากวา 1 วินาทีดวยกันทั้งสิ้น ฉะนัน้ การถายภาพจําเปนตอง ตั้งความเร็วของชัตเตอรที่ บี. หรือ ที. วิธีการคํานวณจะไดกลาวตอนทายโดยละเอียดตอไป 5.5.2.7 ใชสามขาและสายลั่นชัตเตอร การใชสามขาและสายลั่นชัตเตอรนี้จะ ชวยใหกลองไมเคลื่อนในขณะถายภาพ ทําใหไดภาพที่มีความคมชัดสูง เหมาะสําหรับการถายภาพที่ กินเวลาหลาย ๆ วินาทีขึ้นไป สวนในการณีที่ไมมีสามขาและสายลั่นชัตเตอร อาจใชวิธียึดกลองติดกับ หนาตาง รั้ว ขอบประตู หลังคารถ สําหรับเปนที่วางกลอง หากเปนกลองสะทอนเลนสคูก็ใหใชสาย คลองคอ แลวในขณะถายภาพก็จะตองใชวธิ ีแนบชิดกับหนาอก สวนการกดชัตเตอรนั้นใหตั้งปุมถาย อัตโนมัติ เพื่อใหชวงของการลั่นชัตเตอรนั้นกลองจะไดไมสั่น 5.6 วิธีการคํานวณหาชวงเวลาในการตั้งความเร็วของชัตเตอร ในเวลากลางคืนความสวางทัว่ ๆ ไปมีนอย แตอยางไรก็ตามภาพทิวทัศนในเวลากลางคืน ก็ควรเปนภาพที่มีแสงสวางบางพอสมควร ฉะนั้นภาพที่เหมาะแกการถายภาพจึงควรเปนภาพที่ สามารถวัดแสงได ในการวัดแสงนัน้ อาจจะเปดรูรับแสงใหกวางสูงสุด หรือปรับความเร็วจของชัต เตอรมาที่ 1 วินาทีก็ได สมมติวาเมื่อปรับรูรับแสงใหกวางที่สุดแลว โดยอาจจะเปน 2.8 หรือ 1.9 หรือ 1.4 ก็ตาม ที หลังจากนัน้ ใหปรับความเร็วของชัตเตอรตามเครื่องวัดแสง โดยใหเข็มวัดแสงชีใ้ นตําแหนงที่ไมไป ทางบวก หรือ ทางลบ หลังจากนั้นจึงใชวธิ ีคํานวณเพื่อปรับเอฟสตอปไปที่ตําแหนงสูงสุด หรือ เชน 16 หรือ 22 ดังตารางในหนาถัดไป ในการนี้ขอสมมติวาจากเครื่องวัดแสงวัดไดเอฟสตอป 1.4 ความเร็วของชัตเตอรเทากับ 1 วินาที เราอาจเทียบตามตารางดังนี้ เวลาเปนวินาที่ 256 128 เอฟ – สตอป 22 16

64 11

32 8

16 5.6

8 4

4 2.8

2 2

1 1.4

ภายหลังจากการเทียบตารางโดยใชหลักทีว่ า หากปรับเอฟสตอปเพิ่มขึ้น 1 สตอปเวลา จะตองเพิ่มมากขึ้นอีก 1 สตอปดวย เพื่อที่ปริมาณของแสงที่ผานเลนสเขาไปทําปฏิกิริยากับฟลมพอดี


124 ฉะนั้นหากตองการใหเอฟสตอปเทากับ 22 จะตองตั้งความเร็วของชัตเตอรเทากับ 256 วินาที หรือ ประมาณ 4 นาที ซึ่งนับวาเปนชวงเวลาที่นานมากจําเปนตองใชขาตั้งกลองสายสั่นชัตเตอร และนาฬิกา สําหรับจับเวลา ในการถายรูปโดยใชชว งเวลานาน ๆ เชน 4 นาทีนี้ เราจะตองปรับความเร็วของชัตเตอร ไปที่ บี. ในขณะลั่นชัตเตอรใหกดที่ปุมสายลั่นชัตเตอรแลวคางเอาไว ล็อคปุมลั่นชัตเตอรเอาไวที่ ที. ใชนาฬิกาจับเวลาจนกระทั้งครบตามเวลา 4 นาที จึงปลดปุมล็อคชัตเตอรก็จะลั่นปดทันที ในการถายภาพทิวทัศนในเวลากลางคืน อาจจะเลือกสถานที่ที่มีอาคารสูง ๆ แตละชั้นมี โคมไฟ หรือแสงวิทยาศาสตรประดับไวมาก ๆ หรืออาจจะถายภาพถนนหนทางที่มีรถวิ่งสวนกัน ขวักไขว มีน้ําพุที่มีแสงสี อาคารบานเรือน หางรานที่มกี ารประดับไฟโฆษณามาก ๆ นอกจากนัน้ ใน การถายภาพในยามค่ําคืนอาจจะนําวิธีการพลิกแพลงตาง ๆ เชน การถายภาพซอน 2 ครั้งในฟลม เดียวกัน ภาพที่ไดจะเปนภาพที่มีความแปลกตา นาดู แตทั้งนี้กลองที่ใชในการถายภาพจะตองเปน กลองที่สามารถขึ้นชัตเตอรไดโดยฟลมไมเคลื่อนที่ ในปจจุบนั กลองอัตโนมัติไดววิ ัฒนาการกาวไปอยางรวดเร็ว สามารถถายภาพไดโดยการ ปรับเอฟสตอปตามตําแหนงที่ตองการ ใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอร หันกลองไปยังทิวทัศนที่ ตองการถายภาพ ตั้งความเร็วของชัตเตอรไปที่ตําแหนงอัตโนมัติ ( A ) แลวลั่นชัตเตอรชัตเตอรก็จะ เปดคางตามเวลาที่เหมาะสม เพื่อใหแสงที่สะทอนจากวัตถุผานไปทําปฏิกิริยากับฟลมจนกระทั่งครบ ตามเวลา ชัตเตอรก็จะลั่นปดเองโดยอัตโนมัติ


125

ภาพนี้เปนภาพถายในเวลากลางคืนโดยไมใช แฟลช ใชแตเพียงแสงเทียน ถายโดยการ ใชขา ตั้งกลอง และสายลั่นชัตเตอร ภาพนี้มีชอื่ วา “นี่หรือชีวิต” ถายโดย ธงชัย หลวงพิทักษ

ภาพนี้มีชื่อวา “เลนคน เดียว” ถายภาพโดย สถิตย พูนทรัพย เปนภาพที่ถาย โดยไมใชแฟลช เชนเดียวกัน


126

6. การถายภาพเงาดําหรือภาพซีลลุเอ็ท ภาพเงาดําหรือภาพซีลลุเอ็ท ( Silhouette ) เปนภาพที่มีลักษณะคลายภาพถายในเวลา กลางคืน โดยเห็นเฉพาะรูปรางของสิ่งที่ตองการถายภาพเทานั้น สวนรายละเอียดตาง ๆ ไมเห็นเปน ภาพที่ตัดกับฉากหลังซึ่งเปนสีขาวหรือสีเทา ทําใหวัตถุที่ตองถายภาพเดนชัดเจนยิ่งขึน้ 6.1 ลักษณะของภาพเงาดํา ลักษณะของภาพเงาดําหรือภาพซีลลุเอ็ทที่ใครขอแนะนําใหถายภาพมีดังนี้ 6.1.1 ภาพทิวทัศน โดยเปนภาพของทิวทัศนตาง ๆ อาจจะเปนการถายภาพบริเวณ ชายหาดในขณะที่ดวงอาทิตยกําลังขึ้นหรือตก มองเห็นแสงออน ๆ ที่สองไปยังกอนเมฆและพื้นน้ํา โดยเห็นเงาดําของเกาะ ชายหาด พื้นน้ําทีเ่ ปนระลอก เงาของตนไม เงาของหนุมสาวที่กําลังเดินอยู บริเวณชายหาด คนกําลังตกปลา เงาของชาวประมง ที่กาํ ลังแลนอยูกลางทะเล ฯลฯ สิ่งตาง ๆ ที่กลาว มานี้จะมองไมเห็นรายละเอียด เห็นแตเพียงรูปรางเปนเงาดําเทานั้นเอง 6.1.2 วัตถุสิ่งของตาง ๆ โดยการจัดฉากสีขาวหรือสีเทาและใชดวงไฟสองไปยัง ฉากเพื่อใหวัตถุที่ตั้งขวางทิศทางของกลองกับฉาก วัตถุสิ่งของนี้อาจจะเปนแจกันใสดอกไม หุนจําลองที่มรี ูปรางสวยงาม ผลไม ฯลฯ การถายภาพชนิดนีจ้ ะไมเห็นรายละเอียดของวัตถุสิ่งของ เห็นแตเพียงรูปรางที่ปรากฏเดนอยูบนพื้นฉากหลังสีขาวเทานั้นเอง 6.1.3 ภาพคน การถายภาพเงาดําของคนนั้นอาจจะเปนการถายภาพคนเต็มตัว ครึ่ง ตัวหรือเฉพาะใบหนาก็ไดโดยเนนใหเห็นเฉพาะบางสวนที่ตองการใหเห็นบางสวนก็เปนเงาดํามืดทํา ใหเกิดความสงสัยหรืออยากที่จะดูภาพในลักษณะนี้เปนภาพที่ตองใชศลิ ปะเปนอยางมากในการ ถายภาพประเภทนี้เปนการดึงเอาความเดนความสวยของผูที่ไมคอยมีความสวยออกมาใหปรากฏ ใน การเลือกผูที่เปนแบบจึงนิยมเลือกเอาผูที่มีรูปรางสวยงามหรือรูปหนาดี ผมสวย มาเปนแบบในการ ถายภาพ 6.2 หลักในการถายภาพเงาดําหรือภาพซีลลุเอ็ท หลักในการถายภาพเงาดําหรือภาพซีลลุเอ็ท อาจสรุปเปนขอ ๆ ไดดังนี้ 6.2.1 เปนการถายภาพทวนแสง อาจจะเปนการถายภาพทวนแสงอาทิตยในขณะดวง อาทิตยที่กําลังขึ้นหรือกําลังตกก็ได ขอสําคัญในขณะนัน้ แสงจะตองไมจาจนเกินไป เพราะจะทําให ภาพที่ไดมีสีตัดกันสูงทําใหไมเห็นรายละเอียด 6.2.2 เปดรูรับแสงแคบ ๆ ในการถายภาพประเภทนี้เรานิยมเปนภาพที่มีลักษณะชัดลึก ชวงความชัดมาก ฉะนั้นจึงตองเปดรูรับแสงแคบ ๆ หรือเอฟสตอบสูง ๆ เชน 22 หรือ 16 เปนตน สวน ความเร็วของชัตเตอรนั้นจะเร็วหรือชาเพียงใดก็ได


127 6.2.3 ถายภาพในชวงเชาหรือกอนค่ํา ในเวลาดังกลาวจะไดเห็นดวงอาทิตยกลมโต มี ขนาดใหญ และสามารถมองเห็นไดดว ยตาเปลา ทําใหไดภาพของดวงอาทิตยที่สวยงาม นอกจากนัน้ ยังจะไดภาพของ ภูเขาสูง ๆ อนุสาวรีย เจดียตาง ๆ เรือที่กําลังแลนเขาฝง ฯลฯ 6.2.4 ใชอุปกรณในการถายภาพประกอบ อุปกรณตาง ๆ ที่ควรเลือกนํามาใชในการ ถายภาพประเภทนี้ นอกจากยางสําหรับครอบบังแสงที่สวมตอเลนสแลว ควรจะใชขาตั้งกลองหรือ สายลั่นชัตเตอรเขาชวย อาจจะใชฟลเตอรสีเหลือง หรือสีสม หรือสีแดง เพื่อใหทองฟามีสีคล้ํายิ่งขึ้น เพื่อที่เมฆจะไดเชนชัดเจนขึน้ 6.2.5 การจัดไฟเพื่อถายภาพ ในการถายภาพวัตถุที่นํามาจัดตั้ง หรือการถายภาพคน เพื่อใหไดภาพเงาดํานั้น เรานิยมใชดวงไฟอยางนอย 2 ดวงสองไปทีฉ่ ากหลังสีขาว โดยตั้งวัตถุขวาง กั้นระหวางกลองกับฉาก โดยไมใชดวงไฟสองไปยังวัตถุเลย 6.2.6 การปรับแสง โดยทั่วไปแลวในการถายภาพเงาดําหรือภาพซีลลุเอ็ทนี้ เรานิยม ปลอยแสงใหผานเลนสไปยังฟลมใหนอยกวาปกติเล็กนอย อาจจะ 1 หรือ 2 สตอป ซึ่งจะชวยใหได ฟลมที่ไดผานการลางมาแลวมีลักษณะใสเปนสวนใหญ สะดวกในการนํามาอัดขยายภาพ 6.2.7 การลางฟลม ในการถายภาพเงาดํานี้ เพื่อสะดวกในการนําฟลมมาอัดขยาย หาก เปนภาพเงาดําทั้งมวนก็ควรนํามาลางดวยน้ํายาลางฟลมที่ใหสีตัดกันสูง หรือลางโดยใชชว งเวลาลาง นานกวาธรรมดา ก็จะไดฟล มที่มีสีตัดกัน จัดเหมาะสําหรับนํามาอัดขยายเปนภาพเงาดํา หรือภาพ ซีลลุเอ็ท

ตัวอยางของภาพเงาดําหรือซีลลุเอ็ท มีชื่อ วาภาพ “สูเหยาสูเรือน” ถายภาพโดย จิต วิมล กิจเจริญผล แหงมหาวิทยาลัย รามคําแหง


128

7. การถายภาพวัตถุสิ่งของ 7.1 การถายภาพวัตถุสิ่งของเปนการถายภาพในระยะใกล เพื่อใหเห็นรายระเอียดของ สิ่งของที่ตองการถายภาพอยางชัดเจน มีการดึงสิ่งที่เปนลักษณะเดนของวัตถุออกมาปรากฎใหเห็นใน ภาพ ภาพวัตถุสิ่งของที่เรานิยมถายภาพกันไดแกภาพที่มลี ักษณะดังตอไปนี้ 7.1.1 เครื่องใชตาง ๆ ภายในบาน เปนการถายภาพเพื่อใหเห็นความสวยงามของการจัด บาน หรือจัดอาคารสถานที่ ใชประโยชนในการโฆษณาขายเครื่องเรือนตางๆ เชน ชุดรับแขก โตะ เขียนหนังสือ โตะรับประทานอาหาร เตียงนอน ตูเสื้อผา ตูใสหนังสือ อางลางหนา ฯลฯ ความสวยงาม ของสิ่งเหลานั้นๆ กับสถานที่ ตลอดจนการเลนเงาและแสง ฯลฯ 7.1.2 อาหารและเครื่องดื่ม ในการถายภาพอาหารและเครื่องดืม่ ตางๆ เราเนนใหเห็น ความนารับประทานของอาหาร เชนไอศกรีมเปนกอนแข็ง เบียรซึ่งเย็นเจีย๊ บจนหยดน้ําเกาะ อาหารที่ รอนจนควันลอยขึ้น ผลไมซึ่งแสดงความสดและผลไมขนาดใหญ ฯลฯ ภาพประเภทนี้เรานิยมใชเพื่อ ประโยชนในการโฆษณาสินคาประเภทอาหาร อาจจะเพื่อไวใชในงานโฆษณาในหนาหนังสือพิมพ โทรทัศน และภาพยนต เปนตน 7.1.3 ของใชของคน เชน การถายภาพนาฬิกา แวนตา แหวน ปากกา ความนาใชของ สิ่งเหลานี้เราจะเห็นไดชดั เจนเมื่อประดับอยูที่ตัวบุคคล เชน แวนตาจะนาใชหรือไมจะตองเห็น ในขณะสวมอยู ปากกาจะนาใชก็จะดูไดในขณะเขียน เสื้อจะสวยจะตองอยูใ นขณะทีก่ ําลังสวมใส ฯลฯ 7.1.4 ศิลปวัตถุตา ง ๆ เชน ภาพของพระพุทธรูป ศิลปกรรมสมัยใหม หุนจําลองของ ตัวอยาง ในการถายภาพประเภทนี้เรานิยมการเลือกมุมที่สวยงาม การใหแสงที่เหมาะสมเพื่อใหไดภาพ ที่สวยงามที่สดุ และเหมาะกับลักษณะของวัตถุมากที่สุด 7.2 หลักในการถายภาพวัตถุสิ่งของมีดงั นี้ 7.2.1 ศึกษาลักษณะเดนของวัตถุนนั้ ๆ ในการที่จะถายภาพวัตถุสิ่งของตาง ๆ นั้น จะตองศึกษาลักษณะเดนของวัตถุสิ่งของนั้น ๆ ใหเขาใจเสียกอน วาตองการเนนใหเห็นวาสิ่งนั้นนากิน นาใช หรือนาจับตองอยางไร แลวจึงตอย ๆ หารายละเอียดในดานอืน่ ๆ ตอไป 7.2.2 เลือกวิธีการใหแสง ในการถายภาพประเภทนี้มีทั้งที่ใชแสงสวางจากดวงอาทิตย แสงจากหลอดโฟโตฟลัด แสงจากแฟลชหลอดหรือแฟลชอิเล็กทรอนิกส โดยทั่วไปแลวเรานิยมการ ปลอยใหแสงเขาเพียงดานเดียว สวนอีกดานหนึ่งจะใชแผนสะทอนแสงเขาชวย ซึ่งในดานทีใ่ ชแผน สะทอนแสงนีจ้ ะมีความเขมของแสงนอยกวา


129 7.2.3 การเลือกฟลมที่ใช หากมีความประสงคที่จะนําไปขยายเปนภาพขนาดใหญ ควร ใชฟลมที่มีความไวแสงต่ํา เพื่อที่จะนํามาลางฟลมและนําไปขยายเปนภาพขนาดใหญไดโดยฟลม เนื้อ ไมแตก แตถาไมมีความประสงคที่จะตองนําไปขยายเปนภาพขนาดใหญแลว และเครื่องมือประกอบ อื่น ๆ ก็ไมมี เชน ขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอร ก็ควรเลือกฟลมที่มีความไวแสงสูง ๆ เพื่อใหถายภาพ ไดโดยไมตองใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอร เขาชวย 7.2.4 การเปดรูรับแสง หากตองการใหภาพมีความชัดมากก็ควรตั้งเอฟสตอปสูง ๆ หรือเปดรูรับแสงแคบ ๆ เชน 16 หรือ 22 แตถาตองการใหไดภาพชัดเจนเฉพาะวัตถุสิ่งของที่ตองการ ถายภาพ ก็ควรปรับเอฟสตอปไปที่ตัวเลขต่ํา ๆ เชน 1.2, 1.8, 2, 2.8 ก็จะทําใหฉากหลังเบลอวัตถุ สิ่งของที่ถายภาพก็จะเดนยิ่งขึ้น อยางไรก็ตามเกีย่ วกับเรื่องนี้เปนเรื่องละเอียดออนมากฉะนัน้ จึงควร ตรวจเช็ค “ชวงระยะชัด” ใหดี ซึ่งจะดูไดจากกลไกที่อยูที่วงแหวนรอบเลนสกลองหรือปุมตรวจเช็ค “ชวงระยะชัด” 7.2.5 การตั้งระดับกลอง โดยทั่วไปแลวเรานิยมตั้งกลองใหอยูในระดับสูงกวาวัตถุ สิ่งของที่ตองการถายภาพเล็กนอย จะชวยใหไดภาพที่สวยงามและชัดเจนขึ้น 7.2.6 การตั้งมุมกลอง การตั้งมุมกลองเปนเรื่องที่มีความสําคัญเปนอยางมาก ควรจะ การถายภาพมุมไหนจึงจะสื่อความหมายมากทีส่ ุด ไดมีการศึกษาเสียกอนวาวัตถุสิ่งของชนิดใด สวยงามที่สุดและเกิดเงาสวยงามที่สุด 7.2.7 ระยะของการถายภาพ โดยทัว่ ไปแลวการถายภาพวัตถุสิ่งของนี้มักเปนการ ถายภาพในระยะใกล โดยไมเกินกวา 3 ฟุต ยกเวนการถายภาพเครื่องใชภายในบาน แตอยางไรก็ตาม ระยะของการถายภาพนีจ้ ะขึน้ อยูกับขนาดของวัตถุ หากวัตถุมีขนาดใหญก็จะตองถายภาพในระยะไกล หากเปนวัตถุทมี่ ีขนาดเล็กจะตองเขาไปถายในระยะใกล และถาเปนการถายภาพในระยะใกลมากก็ จะตองใชอุปกรณตาง ๆ เขาชวย เชน โคลสเลนส หรือโคลสอัพทิวบ หรือเบลโล เปนตน 7.2.8 การใชอุปกรณประกอบ อุปกรณที่ใชในการถายภาพวัตถุสิ่งของนี้ อาจจะตองใช ไฟสําหรับสอง เลนสสําหรับถายภาพ ขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอรเพื่อใชในการถายภาพดวย ความเร็วชัตเตอรต่ํา ฉากที่จะชวยใหวัตถุทตี่ องการถายภาพนั้นเดนชัดเจนขึ้น ฯลฯ


130

ในภาพนี้เปนภาพเครื่องสําอาง ที่ถายมาเพื่อประโยชนการโฆษณา

8. การถายภาพดอกไม การถายภาพดอกไมเปนการถายภาพในระยะใกล และตองการความสวยงามมากในการ ถายภาพดอกไมโดยใชฟลมขาวดําเพื่อใหเกิดความสวยงามนั้นเปนเรื่องยาก จําเปนจะตองนําเอา ความรูในเรื่องของการใหแสง การใชฟลเตอรเพื่อเพิ่มสีตัดกันและการใชอุปกรณในการถายภาพใน ระยะใกลเขาชวย ซึ่งจะไดกลาวเปนเรื่อง ๆ ไป


131 8.1 ลักษณะของการถายภาพดอกไม ในการถายภาพดอกไมนั้นเรานิยมการถายภาพเฉพาะดอกไมจริง ๆ เพียง 1 ดอก โดยมี ใบ กานดอก และฉากหลังเล็กนอยเปนสวนประกอบ ลักษณะของดอกไมที่ดีควรจะเปนดอกไมที่มี ลักษณะในชวงใกลบานเต็มที่ ยังไมมีตําหนิใด ๆ เปนภาพที่มีความชัดเจนทั่วทั้งดอก มีสีที่แตกตางจาก ใบและฉากหลังที่จะชวยขับใหดอกไมเดนชัดเจนยิ่งขึ้น ดอกไมที่นยิ มถายภาพไดแก ดอกบัว ดอก กุหลาบ ดอกพูระพงหรือดอกชบา ดอกกลวยไมประเภทดอกใหญ เชน แคทลียา ฯลฯ สวนดอกไม อื่นๆ ไดรับความนิยมรองลงมา เชน ดอกมะลิ ดอกกลวยไมประเภทหวาย ดอกเข็ม ฯลฯ 8.2 หลักในการถายภาพดอกไม หลักในการถายภาพดอกไมอาจจะสรุปไดเปนขอ ๆ ดังนี้ 8.2.1 กลองที่ใชในการถายภาพ ควรเปนกลองที่ไมมีการเหลือ่ มของภาพ เชน กลอง สะทอนเลนสเดี่ยว สวนกลองสะทอนเลนสคู กลองมินิเอเจอร ไมควรนํามาใช เพราะจะไมสะดวกใน การนํามาใชกบั โคลสอัพเลนส หรือมาโครเลนส ซึ่งจะตองถอดเลนสตัวเดิมออก 8.2.2 การเลือกฟลมที่ใช นิยมใชฟลมที่มีความไวแสงสูง ๆ เพื่อใหไดภาพที่มีความ แตกตางระดับของสีไดดี ในการลางฟลมนิยมใชน้ํายาลางเพื่อใหไดฟลมเนกาตีฟเนื้อละเอียดเพื่อ สะดวกในการนําไปอัดขยายตอไป นอกจากนั้นการเลือกฟลมนิยมใชฟล ม ประเภทแพนโครมาติกซึ่งมี ความไวตอแสงทุกสี ทั้งนี้เนือ่ งจากการถายภาพดอกไมอาจจะตองเจอกับสีหลาย ๆ สี เชน สีขาว มวง เหลือง แดง สม ของดอกไม สีน้ําเงินของสีทองฟา เปนตน 8.2.3 ใชขาตั้งกลองและสายลั่นชัตเตอร เพื่อสะดวกในการปรับโฟกัสใหเทีย่ งตรง เพื่อที่ กลองจะไดไมขยับเนื่องจากการถายภาพในระยะใกล และเมื่อกดปุมลัน่ ชัตเตอร กลองจะไดไมขยับ โดยเลื่อนเขาหรือถอยออก ซึ่งจะมีผลทําใหการปรับโฟกัสคลาดเคลื่อน 8.2.4 การใชอุปกรณในการถายภาพในระยะใกล โดยทั่วไปเรานิยมใชโคลสอัพเลนส หรือมาโครเลนส หรือโคลสอัพทิวบ ฯลฯ ทําใหสามารถเขาไปถายในระยะที่ใกลกวาธรรมดา ทําให ไดภาพของดอกไมที่จะปรากฎในภาพมีขนาดใหญมากขึน้ 8.2.5 การใชฟลเตอร การใชฟลเตอรในการถายภาพดอกไมนั้นมีวัตถุประสงคเพื่อให ดอกไมที่ตองการถายภาพมีความเดนชัดยิง่ ขึ้น ตัดกับสีของใบไมและฉากหลังยิ่งขึ้น การที่เราจะ เลือกใชฟลเตอรสีอะไรนั้น ขอใหกลับไปอานในเรื่องหลักการใชฟลเตอรอีกที่ ซึ่งไดกลาวโดยละเอียด มาแลว 8.2.6 การปรับหนากลอง เนื่องจากการถายภาพดอกไมเปนการถายภาพในระยะใกล และใชโคลสอัพเลนส ชวงระยะชัดจะตองสั้นอยูแลว ฉะนั้นเพื่อใหภาพของดอกไมที่มีขนาดเล็กได


132 ชัดเจนทัว่ ทั้งดอก เราจึงควรปรับเอฟสตอปตัวเลขสูง ๆ หรือรูรับแสงแคบ ๆ เชน 22 หรือ 16 สวน ความเร็วของชัตเตอรนั้นหากจะตั้งความเร็วต่ํามาก ๆ ก็ไมเปนไร เพราะเราใชขาตั้งกลองและสายลั่น ชัตเตอรอยูแลว 8.2.7 การใชแสงไฟชวย แสงที่นิยมนํามาใชในการถายภาพมีทั้งแสงสวางจากดวง อาทิตย ซึ่งเรานิยมถายภาพในชวงเชาหรือเย็นที่มีแสงสวางนอย ๆ แตถาหากเปนการถายภาพโดยใช หลอดไฟโฟโตฟลัดหรือไฟแฟลช เรานิยมสองทางดานขางเพื่อหลีกเลี่ยงภาพดอกไมแบนและไมมีมติ ิ 8.2.8 การเลือกมุมในการถายภาพ ดอกไมในแตละชนิดมีมุมทีม่ ีความสวยงามไม เหมือนกัน เชน ดอกบัว ดอกกุหลาบ นัน้ สวยทุกแงมมุ ไมวาจะเปนดานขางหรือดานตรง จึงเหมาะ สําหรับคนฝกหัดถายภาพในระยะแรก แตถาไปถายภาพดอกไมนั้นจะยากกวา เพราะไมสามารถ ถายภาพใหเกิดความชัดเฉพาะดอกได จะตองชัดทั้งชอ ทําใหภาพขาดความเดนชัดไป นอกจากนั้นการ เลือกผิดมุมทําใหไมสามารถถายภาพใหชัดทั่วทั้งดอกได 8.2.9 การตรวจชวงระยะชัด ในการถายภาพดอกไมนั้น เนือ่ งจากเปนสิ่งที่มีขนาดเล็ก มาก และมีความหนาหรือมีมิติพอสมควร จึงจําเปนที่จะตองตรวจเช็คชวงระยะชัดอยางละเอียดโดยดู จากการมองผานชองมองภาพไปยังดอกไม ในขณะกดปุมตรวจเช็ดชวงระยะชัด เปนตน ในการถายภาพของดอกไมเปนสิ่งที่สนุกมาก และจะตองใชการฝกหัดและแกไข ขอบกพรองตาง ๆ ภายหลังจากการถายภาพมา หากไดมีโอกาสฝกบอย ๆ ก็จะชวยใหไดภาพดีและ สมบูรณมากขึ้น

ภาพดอกกุหลาบและดอกชบา


133

แบบทดสอบเรื่องการถายภาพแบบตาง ๆ

จากภาพขางบนนี้ จงตอบคําถามตอไปนี้ใหเขาใจชัดเจน 1. ภาพนีจ้ ุดเนนอยูที่ใด 2. ภาพนีแ้ สงเขามาจากดานใดมากที่สุด 3. ภาพนี้ถายภาพดวยความเร็วของชัตเตอรสูงหรือต่ํา 4. การตั้งมุมกลองในการถายภาพนี้ ผูถายภาพอยูใ นลักษณะยืนหรือนัง่ 5. จังหวะในการถายภาพนี้ ควรอยูในลักษณะใด 6. ทักษะที่สําคัญที่สุดในการถายภาพนี้อยูท ี่ใด (การปรับโฟกัส, การประกอบภาพ การกดชัตเตอรในจังหวะที่เหมาะสม หรือการถายเพื่อใหไดความแปลก) 7. ภาพนี้มีความสมดุลของภาพดีหรือไม 8. ภาพนี้เปนภาพที่ถายในตอนเชา ตอนเทีย่ ง หรือตอนเย็น 9. ภาพนี้เปนภาพถายประเภทใด 10. ภาพนี้เปนภาพที่ถายตามแนวตั้งหรือแนวนอน เฉลย 1.เด็กผูชายทีก่ าํ ลังกระโดด 3. ความเร็วชัตเตอรสูง 5. เด็กลอยตัวสูงสุด 7. สมดุลดี อาจหนักทางดานขวาเล็กนอย 9. เปนภาพสิ่งเคลื่อนไหว

2. ทางดานขวา 4. กําลังนั่งถายภาพ 6. การกดชัตเตอรในจังหวะที่เหมาะสม 8. ตอนเชาหรือตอนเย็นเพราะเงาทอดยาว 10. แนวนอน


134

9. การถายภาพสัตว 9.1 ในการถายภาพสัตว หากจะแบงประเภทตามลักษณะของการถายภาพ และประโยชน ของการใชงานอาจจะแบงออกไดเปน 4 ประเภทดวยกันคือ 9.1.1 สัตวเลี้ยงภายในบาน ไดแกสัตวเลี้ยงเพื่อเปนเพื่อนทีใ่ กลชิด อันไดแก สุนัข แมว ฯลฯ และสัตวเลี้ยงเพื่อความสวยงามและเพื่อความเพลิดเพลิน ไดแก กระรอก หนูพุก กระตาย นก ชนิดตาง ๆ ไกแจฯลฯ การถายภาพมักเนนในดานความนารัก ความเปนเพื่อนใกลชิดกับผูเลี้ยง และ ความแสนรู รูจ ักประจบเจาของ 9.1.2 สัตวเศรษฐกิจ ไดแกสัตวทนี่ ํามาเลี้ยงเพื่อเปนการคา เพื่อใชงาน หรือเพื่อเปน อาหารของมนุษย เชน หมู เปด ไก หาน ปลา วัว ควาย แพะ ชาง มา ฯลฯ ในการถายภาพสัตวประเภท นี้มักเนนถึงความสมบูรณ ลักษณะดี เติบโตเร็ว ใหผลผลิตสูง และเหมาะแกการเปนพอพันธุหรือแม พันธุ เมื่อนําสัตวชนิดนั้น ๆ มาเลี้ยง จะสามารถนําผลกําไรมาใหผูเลี้ยงไดมากมาย 9.1.3 สัตวเลี้ยงภายในสวนสัตว สวนสัตวในปจจุบันไดรับความนิยมมาก มีทั้งที่เปน ของรัฐบาลและเอกชน มีทั้งภายในกรุงเทพ ฯ และตางจังหวัด สวนสัตวในปจจุบนั มีทั้งสวนสัตวปด คือการเลี้ยงสัตวไวภายในกรงขนาดเล็ก และมีสวนสัตวเปด โดยการเลี้ยงสัตวภายในพื้นที่ขนาดใหญ ปรับปรุงสภาพโดยรอบใหใกลเคียงธรรมชาติ ในสวนสัตวของรัฐบาล เชนที่ สวนสัตวดุสิต สวนสัตว เขาเขียว ชลบุรี สวนสัตวเชียงใหม ฯลฯ จะเนนในดานมีสัตวมากประเภทที่สุด ทั้งภายในประเทศและ ภายนอกประเทศ จากทัว่ ทุกมุมโลก สวนสวนสัตวของเอกชน เชน สวนสัตวตามโรงแรมและ ศูนยการคา ฟารมจระเข สมุทรปราการ ฯลฯ จะเนนในดานสัตวทแี่ สนรู คุนเคยกับคนไดงาย หรือ สัตวที่แปลก ๆ จากสวนตาง ๆ ของโลก มีการโฆษณาใหผูไปดูมากมาย เปนตัวเสริมใหผูไปใชบริการ ของศูนยการคาและโรงแรมมากยิ่งขึ้น 9.1.4 สัตวตามธรรมชาติ ไดแกสัตวตามวนอุทยานตาง ๆ เชน เขาใหญ ทุงนเรศวร จะมี สัตวปาประเภทตาง ๆ ใหไดเห็น เชน เสือ ชาง กวาง เกง ฯลฯ นักนิยมถายภาพสัตว จะมีอุปกรณ ตางๆ ในการถายภาพ เชน เทเลซูม หรือ เทเลโฟโต นอกจากนัน้ ก็ยังมีสัตวในทองถิน่ ตาง ๆ เชน นก ปากหางทีว่ ัดไผลอม นก ผีเสื้อ ตัวบุง ในสวนทั่ว ๆ ไป 9.2 หลักการถายภาพสัตว หลักการถายภาพสัตว ไมวาจะเปนสัตวเลีย้ งภายในบาน สัตวเลี้ยงภายในสวนสัตวและ สัตวธรรมชาติ โดยทั่วไป เรามีหลักในการถายภาพที่พอสรุปไดเปนขอ ๆ ดังตอไปนี้ 9.2.1 ความรูเรื่องสัตวที่ตองการถายภาพ ในการถายภาพสัตวชนิดใดก็ตาม จําเปน จะตองศึกษาถึงนิสัยใจคอของสัตวชนิดนัน้ ๆ เชน กระรอกชอบอยูตามโพลงไม เสือในสวนสัตวชอบ ออกมาเดินในยามเชา สวนตอนบายจะนอนหลับภายในถ้ํา นกนางนวลชอบกินกากหมู ฯลฯ และ


135 ลักษณะสัตวทไี่ ดรับความนิยม หรือมีราคาแพง เชน ลักษณะของพันธุแทของสุนัขพันธุหลังอาน แมวพันธุสีสวาท ไกแจยิ่งตัวเล็กยิ่งมีราคา ไกไขตองตัวเล็กกระดูกเชิงกรานใหญ ฯลฯ ตลอดจนทายืน หรือทานอนทีส่ วยงามของสัตวนานาชนิด เชน สุนัขนั่งลิ้นหอย แมวนอนบนหลังคา ฯลฯ 9.2.2 การใชอุปกรณในการถายภาพ ในการถายภาพสัตวจําเปนตองใชอุปกรณตาง ๆ ประกอบ เชน การใชเทเลซูม หรือเทเลโฟโต เพื่อดึงภาพสัตวในระยะไกลใหเขามาใกล เชน การ ถายภาพสัตวในปา นกทีก่ ําลังบิน ฯลฯ การใชอุปกรณที่ใชในการถายภาพสัตวทมี่ ีขนาดเล็ก เชน โคลสอัพเลนส โคลสอัพทิวบ หรือ เลนสมาโคร เพื่อใชในการถายภาพตัวบุง แมลง ปลาตีน ผีเสื้อ แมลงปอฯลฯ ตลอดจนการใชแฟลช เพือ่ ใชในการถายภาพสัตวในเวลากลางคืน การใชขาตั้งกลอง และสายลั่นชัตเตอร เพื่อใชในการถายภาพดวยความเร็วชัตเตอรต่ํา การใชมุงสีเขียวพลางตัวและการ ใชกลองถายภาพจําลองในการถายภาพนก หรือรังนก 9.2.3 การใชเครื่องลอ ในการถายภาพสัตวจําเปนตองรูถึงนิสัยใจคอของสัตว เพื่อชวย ใหไดภาพดีทสี่ ุด ในการใชเครื่องลอนั้นอาจจะใชกระดูกยางลอใหสุนัขสนใจเขามาคาบ การใชปลา ตะเพียนลอใหลูกแมวสนใจเขามาเลนโดยใชเทาหนาตะปบ 9.2.4 การใชเสียง เปนกลวิธีอีกอยางหนึ่งทีจ่ ะชวยใหสัตวสนใจ เชน การใชกระปอง บรรจุหินแลวเขยาเพื่อลอใหลูกสุนัขสนใจ ทําหนาแปลก ๆ ใหถายภาพ การใชกระดาษแกวหอของขยี้ ใหเกิดเสียงลอใหลูกแมวเกิดความสนใจทําหนาแปลก ๆ ใหถายภาพ ตลอดจนการทําเสียงเลียนแบบ สุนัข และแมว เพื่อใหไดทาทางแปลก ๆ ของสุนัขและแมว ทําใหไดภาพที่ดี ๆ นารัก และแปลกตา 9.2.5 การใชอาหาร การใชอาหารมัน ๆ เชน ปลาทอด ขาวเกรียบ กากหมู ลอใหสุนัขกิน เพื่อใหสุนัขเลียปากตัวเอง ก็จะไดภาพสวย ๆ ไปอีกลักษณะหนึ่ง 9.2.6 การใชคนชวย โดยใหคนทีท่ ําหนาที่เปนผูชวยในการจับสัตวนั้น ๆ มาถายภาพ ชวยทําใหเกิดเสียง ชวยเอาอาหารมาลอ เชน การเอาตุก ตา หรือเศษกระดาษผูกเชือกแกวง ก็จะชวยให ไดภาพที่มี่ความสวยงามไปอีกลักษณะหนึ่ง 9.2.7 การเลือกฉากหลัง ในกรณีที่เราสามารถเลือกฉากหลังได เชนการถายภาพสัตว เลี้ยงภายในบาน การถายภาพสัตวในธรรมชาติที่เคลื่อนไหวอยางชา ๆ ตัวบุง มด ตัวหนอน เราอาจจะ จัดฉากหลังได โดยการใชเปนแผนกระดาษสี ผาผืนโต ๆ ที่มีสีตัดกับสัตวที่ตองการถายภาพ ก็จะชวย ใหไดภาพที่มคี วามนาดูมากยิ่งขึ้น 9.2.8 มุมกลองและระยะการถายภาพ ในการถายภาพสัตวนานาชนิด โดยเฉพาะพวกนก แมว สุนัข และสัตวเศรษฐกิจตาง ๆ หากถายภาพใหไดเปนมุมเงย เอาฉากหลังเปนทองฟาหรือทิวทัศน ก็จะชวยใหภาพสัตวนั้นมีความนาดูยิ่งขึ้น ดังนั้นในบางครั้งชางภาพจําเปนจะตองนอนราบกับพื้น เพื่อใหไดภาพที่มีความสวยงาม นาดูมากทีส่ ุด สวนระยะของการถายภาพหากถายภาพไดในระยะใกล มากเทาใด ความกระชับของภาพก็จะมีมากขึ้นเทานั้น ชวยใหสามารถเห็นรายละเอียดอยางชัดเจน


136 9.2.9 การใชสิ่งอืน่ ๆ ประกอบ เพื่อชวยใหไดสัตวที่มีความแปลกตา อาจจะเปน ภาพลูกสุนัขทีก่ ําลังกินนมแมแมว ลูกสุนขั ที่กําลังนั่งตักคน ปลาโลมากําลังโดดขึ้นเหนือน้ําเพื่อลอด หวง สัตวที่มีชวี ิตกับสัตวสตาฟ เด็กกับสัตวเลี้ยง สิ่งเหลานี้จะชวยใหไดภาพที่มีความนาดูยิ่งขึ้น


137

บทที่ 5 การถายภาพดิจิตอล เมื่อคิดจะเลนกลองดิจิตอลลและภาพถายระบบดิจิตอล คําถามมากมายเกิดขึน้ ทันที แมวาคุณ จะรอบรูและเชี่ยวชาญเรื่องกลองและการถายภาพดวยฟลมเปนอยางดีทวาการเปลี่ยนจากกลองใชฟลม ไปเปนกลองดิจิตอลนั้น มีสงิ่ ตาง ๆ มากมายใหคณ ุ เรียนรู และศึกษาเพื่อทําความเขาใจใหถองแท จะ ไดประโยชนอยางเต็มที่ อยางไรก็ตามคุณไมตองถึงกับนับหนึ่งใหม เพราะพื้นฐานเดิมทางดานการ ถายภาพสามารถนํามาใชได โดยตองศึกษาพื้นฐานของระบบการถายภาพดิจิตอลใหเจาใจเสียกอน และแนนอนเรือ่ งราวที่จะนําเสนอในหนังสือนี้จะเกี่ยวของกับคอมพิวเตอร อยางไรก็ตามเทคโนโลยี หลายอยางในปจจุบันชวยใหผูที่ตองการถายภาพโดยที่สดุ ทายเปนภาพบนแผนกระดาษ สามารถใช งานไดโดยไมตองพึ่งพาคอมพิวเตอร แตถาตองการใชงานใหไดเต็มประสิทธิภาพ คุณก็หลีกเลี่ยง ไมไดที่จะตองใชคอมพิวเตอรรวมกับกลองถายภาพดิจิตอล

อะไรคือภาพถายดิจิตอล? ภาพดิจิตอลสรางขึ้นมาจากจุดสี่เหลี่ยมขนาดเล็กที่เรียกวา Picture Element หรือที่นิยมเรียก กันวา Pixel จุดเหลานีแ้ ตละจุดมีสีหนึ่งสี เหมือนกับภาพศิลปะที่ศิลปนสรางขึ้นมา โดยใชวัสดุชิ้นเล็ก ๆ หลาย ๆ สี มาประกอบกันนับหมืน่ นับแสนชิ้น จนกลายเปนภาพทีเ่ หมือนภาพขึน้ มา จนตาของเรา แยกจุดเหลานัน้ ไมออก มองเห็นเปนภาพถายที่เหมือนจริงตามธรรมชาติ หากคุณเปดภาพดิจิตอลจาก คอมพิวเตอร แลวซูมภาพขยายขึ้นมาก็จะเห็นจุดสี่เหลี่ยมดังกลาว แตเมื่อซูมกลับไปที่อัตราขยาย 100% หรือเล็กกวาก็จะมองไมเห็น Pixel สวนเครื่องพิมพภาพแบบอิงคเจ็ตพริ้นเตอรก็ใชหลักการ เดียวกันคือ ใชหมึกสีพิมพเปนจุดสีแตละสีที่ มีขนาดเล็กมาก พิมพเปนภาพถายอัน สวยงาม

ภาพศิลปะที่ทาํ ขึ้นมาจากเม็ดสีขนาดเล็ก จํานวนมากหลักการคลายกับพิกเซลสีขนาด เล็ก ๆ รวมกับเปนภาพถายดิจิตอล


138

1. ขนาดภาพและจํานวนพิกเซล คุณภาพของภาพถายดิจิตอลที่พิมพออกมาหรือแสดงบนจอมอนิเตอร ขึ้นอยูกับจํานวน พิกเซลเปนหลัก ถามีจํานวนพิกเซลมากในพื้นที่เทาเดิม คุณภาพก็จะดีขึ้น และสิ่งนี้บางครั้งเราจะ เรียกวา Resolution ยิ่งมีจํานวน พิกเซลมากเทาไหร การแสดงรายละเอียด ของภาพก็จะมากขึ้น ตามลําดับ นอกจากนีจ้ ะทําใหภาพมีความคมชัดมากขึ้นดวย นัน้ หมายถึงวาการนําภาพดิจิตอลไปขยาย ใหมีขนาดใหญ ตองใชภาพที่มีจํานวนพิกเซลมากพอ จึงจะไดภาพทีด่ ูเปนธรรมชาติ หากใชภาพที่มี จํานวนพิกเซลต่ํา การขยายภาพจะทําใหมองเห็นพิกเซลของสีแตละสีอยางชัดเจน แตกตางกับการอัด ขยายภาพดวยฟลม ถาขยายมากจะมองเห็นเกรนภาพเปนจุด ๆ ขนาดภาพดิจิตอล จะวัดกันโดยใช จํานวนพิกเซลในแนวนอนคูณดวยพิกเซลในแนวตั้ง เชน 1600 x 1200 พิกเซล เทากับ 1.92 ลาน พิกเซล เปนตน ซึ่งคุณจะเห็นวากลองดิจิตอลสวนใหญจะโฆษณาโดยระบุวากลองของตนมีความ ละเอียดเทาใด อาจจะเปน 2 หรือ 3 ลานพิกเซลหรือมากกวาการเลือกซื้อกลองดิจิตอลที่มีความละเอียด สูงกวายอมดีกวาแนนอน แตอยาลืมวาราคาจะสูงตามขึ้นไปดวยเชนกัน

ภาพดานบนแสดงใหเห็นวาเมื่อดูภาพจากมอนิเตอร ที่ 100% จะมีความคมชัดสวยงามเหมือนจริง แตถาซูม ขยายขึ้นมาดูที่ 600% จะมองเห็นพิกเซลเปนรูป สี่เหลี่ยมขนาดเล็กอยางชัดเจน (ขวาบน) และเห็นชัด มากขึ้นเมื่อซูมเพิ่มเปน 1200% (ขวา)


139

2. อิมเมจ เซ็นเซอร กลองถายภาพดิจิตอลมีสวนประกอบหลัก ๆ คลายกับกลองที่ใชฟลม แตที่แตกตางมากที่สุด คือเปลี่ยนจากการรับภาพดวยฟลมไปเปนหนวยรับภาพที่เรียกกันวา Image Sensor ประกอบไปดวย พิกเซลจํานวนมาก ขึ้นอยูก ับวาออกแบบมาใหมีความละเอียดมากนอยเทาใด ในแตละพิกเซลของ อิมเมจ เซ็นเซอร จะประกอบไปดวย โฟโตไดโอด ทําหนาที่แปลงภาพที่เกิดจากแสงไปตกกระทบ วัตถุแลวสะทอนผานเลนสเขามา แปลงใหเปนสัญญาณดิจิตอล โดยทั่วไป อิมเมจ เซ็นเซอร ในกลอง ดิจิตอล จะใชชุดอุปกรณที่เรียกกันวา CCD (มีกลองเพียงไมกี่รุนทีใ่ ชแบบอื่น) ตอไปนี้จะขอเรียกวา CCD แทนอิมเมจเซ็นเซอร ซึ่งหลายคนขนานนามให CCD วา ดิจิตอลฟลม เพราะมันทําหนาที่ เหมือนกับฟลมนั้นเอง เซ็นเซอรภาพในกลองดิจติ อลทําหนาที่รับภาพแทนการใช ฟลมในกลองทั่ว ๆ ไป สวนใหญใช CCD หรือ CMOS คุณภาพจากกลองดิจิตอลจะขึ้นอยูกับเซ็นเซอรภาพโดยมี หนวยวัดเปนพิกเซล หากเปนกลองคอมแพคจะมีความ ละเอียดประมาณ 2-4 ลานพิกเซล กลองแบบ SLR บางรุนมี ความละเอียดถึง 6 ลานพิกเซล และมากกวา 10 ลานพิกเซล ในดิจิตอลแบ็ค ที่ใชกับกลองขนาดกลางหรือขนาดใหญ ภาพ ทางดานลางแสดง CCD แบบบันทึกครั้งเดียว

จอมอนิเตอรโดยทั่วไปจะแสดงภาพที่ 72 dpi ภาพ ดานขวานี้เปนมอนิเตอรที่ปรับความละเอียดไวที่ 640 x 480 พิกเซล แสดงภาพทีม่ ีความละเอียด 640 x 480 พิกเซล ขยาย 100% เต็มจอพอดี


140 ปจจุบัน CCD มีหลายขนาด และเปนสวนสําคัญที่สุด รวมทั้งมีราคาสูงที่สุดในกลองดิจิตอล แตละตัว CCD ที่มีขนาดใหญจะมีราคาแพง นิยมใชในกลองระดับมืออาชีพ เชน กลองแบบ SLR หรือ กลองขนาดกลางที่ใชดิจิตอลแบคแทนแมกกาซีนฟลม สําหรับกลองคอมแพคดิจิตอลมีขนาดตั้งแต 1/3 นิ้ว, 1/2 นิ้ว หรือ 2/3 นิ้ว เปนตน เมื่อเทียบกับขนาดกับฟลม 35 มม.แลว ขนาดของ CCD โดยทั่วไปจะเล็กกวา เชน CCD ขนาด 2/3 นิ้วจะมีขนาด 8.8 x 6.6 มม. ในขณะที่ฟลม มีขนาด 24 x 36 มม.

เซ็นเซอรภาพแบบตางๆ อิมเมจเซ็นเซอรที่ใชในกลองดิจิตอลยุคแรก ๆ ราว 4-5 ปที่ผานมา มีสองแบบคือ Area Array จะเปน CCD ที่มีขนาดเต็มพื้นที่ในการรับภาพ วิธีนี้ถาตองการความละเอียดสูง ๆ ตองใช CCD ที่มี ขนาดใหญ มีพื้นที่รับภาพมาก ๆ ทําใหตนทุนการผลิตสูง จึงมีการคิดคนแบบ Linear ขึ้นมาใช CCD เปนแถวยาวสแกนจากดานหนึ่งไปยังอีกดานหนึง่ ของพื้นที่รับภาพ ซึ่งจะสังเกตไดวาแบบหลังนี้ให ความละเอียดสูงมาก แตมีปญหาคือการถายภาพแตละภาพใชเวลานาน เหมาะกับการถายภาพสิ่งที่อยู นิ่ง ไมมีการเคลื่อนไหว กระทั่งในปจจุบนั กลองดิจิตอลเกือบทั้งหมดเปนแบบ Array เหลือแตกลองที่ ใชในสตูดิโอถายภาพประเภทดิจิตอลแบคเพียงไมกี่รุนเทานั้นที่ยังใชแบบ Linear ทั้งนี้เนื่องมาจาก CCD มีราคาที่ลดลงมากแลวนั้นเอง

เซ็นเซอรภาพในปจจุบนั เปนแบบ One – shot ถายภาพครั้งเดียว ตัวเซ็นเซอรจะรับแมสีของแสงทั้ง สามสี คือ R, G, B พรอมกัน จากนัน้ สงตอไปยัง หนวยประมวลผลกอนที่จะจัดเก็บลงในแผนการด หรือหนวยความจําตอไป

Area Array Sensors ออกแบบให CCD เต็มพื้นที่รับภาพ คลายกับการรับภาพดวยฟลม เมื่อ กดชัตเตอร ชุดเซ็นเซอรภาพทั้งหมดจะรับภาพพรอม ๆ กันแตวิธีนี้ยงั แบงรูปแบบออกเปน 4 อยางคือ แบบใชชิพตัวเดียวถายภาพครั้งเดียว โดยวางตําแหนงฟลเตอร 3 สี RGB บนโฟโตไดโอดแตละชิน้ สลับไปมา หลังจากรับภาพแลวสีทั้งสามจะถูกรวมเปนภาพเดียว วิธีนี้ใชกับกลองดิจิตอลเกือบทั้งหมด ตอมาเปนแบบชิพตัวเดียว แตถาย 3 ครั้ง โดยแตละครั้งตองใชฟลเตอร 3 สี บังหนาอิมเมจเซ็นเซอรที ละสี ไมสามารถใชถายภาพสิ่งเคลื่อนไหวได และแบบชิพสองตัวถายภาพพรอมกัน ตัวแรกถายสีแดง


141 และน้ําเงิน อีกตัวถายสีเขียว วิธีนี้ตองผานกระบวนการ Interpolation เพื่อปรับภาพใหมีสีถูกตองตาม ธรรมชาติ สุดทายคือใชชิพสามตัวถายครั้งเดียว ชิพแตละตัวจะทําหนาที่รับภาพสีแดง เขียวและน้ําเงิน ตามลําดับ กลองแบบนี้จะใหภาพที่มีความละเอียดสูงมาก แสดงสีไดเยี่ยม ความลึกของสีสูงถึง 16 บิต ตอสีหรือ 48 บิต RGB แตราคาสูงมากทีเดียว

Leaf Voice ดิจิตอลแบ็ครุน นี้เหมาะสําหรับใชถายภาพหุนนิ่ง เพราะออกแบบใหถายภาพซ้ํากัน 3 ครั้ง (RGB) รวมเปนภาพสีหนึ่งภาพ โดย CCD ที่ใชมีความละเอียด 6 ลานพิกเซล การถายภาพซ้ํา 3 ครั้ง ทําใหความละเอียดสูงถึง 18 ลานพิกเซล เหมาะสําหรับงานสิ่งพิมพขนาดใหญ เชน ภาพโปสเตอร โดยที่คุณภาพสูงไมแตกตางกับการใชฟลม ขนาดใหญ เชน 120 หรือ 4 x 5 นิ้ว หรือจะเลือกถายภาพ ขาวดําก็ได โดยถายภาพเพียงครั้งเดียว การใชงานจะเหมาะสมกับสดูดิโอถายภาพนิง่ เพื่องานโฆษณา แคตตาล็อคและงานศิ ลปะตาง ๆ Linear Sensors ปจจุบันใชในกลองดิจิตอลระดับไฮเอนดบางรุน วางตําแหนง CCD เรียงเปน แถวยาว หนึง่ แถวหรือมากกวา เมื่อกดชัตเตอรถายภาพ ชุดเซ็นเซอรจะทําการกวาดภาพหรือสแกน ภาพจากดานหนึ่งไปยังอีกดานหนึ่งตามพื้นที่ของภาพทั้งหมด การถายภาพแตละภาพจึงจะตองใชเวลา พอสมควร สวนความละเอียดคิดตามพืน้ ที่การสแกนภาพในแนวตั้งคูณแนวนอน สวนใหญจะมีพนื้ ที่ มากเทากับพืน้ ที่ของฟลมขนาด 120 หรือฟลมแผน 4 x 5 นิ้ว ขนาดไฟลจึงใหญมากกวาสิบลานพิกเซล สําหรับเครื่องสแกนเนอรทใี่ ชแสกนภาพหรือฟลมใชหลักการนี้ในการสแกนภาพ จึงไมนาแปลกใจที่ สแกนเนอรสามารถสแกนภาพไดความละเอียดสูงกวากลองดิจิตอลแตมีราคาถูกกวามาก


142

Phase ONE เปนผูผลิตดิจิตอลแบคสําหรับใชกับ กลองภายภาพขนาดกลางและกลองขนาดใหญ(4 x 5 นิ้ว) ออกแบบใหใชแทนฟลมแบคหรือแมกกาซีน ฟลม ขนาดเล็กกะทัดรัด ถายภาพเพียงครัง้ เดียว ให ภาพที่มีคุณภาพสูง โดยใชเซ็นเซอรภาพแบบ CCD ขนาด 36.9 x 24.6 มม. ความละเอียด 6.4 ลาน พิกเซล หรือ 3120 x 2060 พิกเซล แสดงสีได 42 บิต สามารถถายภาพซ้ําได 3 ครั้ง เพิ่มความละเอียดสูง กวา 15 ลานพิกเซลหรือ 5300 x 3056 พิกเซล เซ็นเซอรภาพ(FOVEON) ออกแบบตางจาก เซ็นเซอรภาพแบบ CCD ทั่ว ๆ ไป โดยมี ทั้งหมดสามชัน้ หรือสามเลเยอร โดยในแต พิกเซลจะรับสีได 3 สี ขึ้นอยูกับวาแสงที่ตก กระทบจะมีสีอะไร ชั้นบนสุดรับสีน้ําเงิน ถัด ลงมารับสีเขียว และสีแดงอยูลางสุด ทําให ภาพที่ไดมีโทนสีดีเยีย่ ม มีความคมชัดสูง เก็บ รายละเอียดตาง ๆ ไดครบถวนสมจริงตาม ธรรมชาติ ใกลเคียงกับการใชฟลม เริ่มใชครั้ง แรกในกลอง Sigma SD-9 ซึ่งเปนกลองแบบ SLR Fujifilm 4 Generation Super CCD Systems นับตั้งแตป 1999 ฟูจิเริ่มผลิตเซ็นเซอรภาพสําหรับกลองดิจิตอล โดยใชชื่อวา Super CCD ผลิตกลองออกมาทั้งสําหรับ มืออาชีพและสมัครเลน กระทั่งถึงวันนี้ Super CCD ได พัฒนาสูยุคที่สี่แลว โดยมีจุดเดนที่ความไวแสงสูงถึง ISO 1600 สีสันและความคมชัดดีเยี่ยม สามารถบันทึก ไฟลวิดีโอไดถึงขนาด VGA ที่ 30 เฟรม / วินาที และ เก็บรายละเอียดไดดีทั้งโทนมืดและสวางเหมือนฟลม


143

เปลี่ยนแสงใหเปนดิจิตอล กระบวนการสรางภาพดิจิตอลจะเริ่มตนจากแสงที่ผานเลนสเขามาตกกระทบกับ CCD โดย มีชัตเตอรเปนตัวควบคุมปริมาณแสง ซึ่งระบบชัตเตอรสวนใหญมี 3 แบบคือ อิเล็กทรอนิกสชัดเตอร เซ็นเซอรอยูในชุด CCD โดยจะตัดแสงทันทีเมื่อปริมาณแสงพอดีตามที่ปรับตั้งเอาไว และอิเล็กโทร เมคคานิก ชัตเตอร เปนชุดชัตเตอรกลไกทีค่ วบคุมดวยอิเล็กทรอนิกสเหมือนในกลอง 35 มม.ทั่ว ๆ ไป (แบบนี้มกั ใชในกลองดิจิตอล SLR) สุดทายคืออิเล็กโทรออฟติคัล ชัตเตอร เปนแบบอิเล็กทรอนิกสอยู ทางดานหนา CCD หลังจาก CCD รับภาพแลว จะแปลงสัญญาณภาพเปนดิจติ อล สงผานไปยังหนวยประมวลผล หรือ อิมเมจโพรเซสซิ่งทําการคํานวนและวิเคราะห โทนภาพสวนมืด สวนสวาง และรายระเอียดตาง ๆ สุดทายจะจัดเก็บขอมูลภาพลงบนสื่อหรือการดซึ่งเปนหนวยความจําขนาดเล็กชนิดถอดเปลี่ยนได

เริ่มจากแสงที่ตกกระทบกับวัตถุ ภาพแสดงกระบวนการสรางภาพภายในกลองดิจิตอล สะทอนผานไปยังเลนส ซึ่งมีไดอะแฟรมควบคุมปริมาณแสง (รูรับแสง) จากนัน้ จึงผานตอไปยัง ฟลเตอรอินฟราเรด ที่อยูทางดานหนาเซ็นเซอรภาพเชน CCD โดยมีอุปกรณแปลงภาพใหเปนสัญญาณ ดิจิตอล คือ ACD Converter สุดทายไดขอมูลดิจิตอลที่มีรหัสเลข 0 และ 1 เรียกวา Binary Number


144

3. ความลึกของสีและขนาดไฟล การที่ภาพดิจิตอลจะสวยงามใกลเคียงกับธรรมชาติมากหรือนอย จะขึน้ อยูกับ CCD (Charged Couple Device) ที่ใชวามีการแสดงสีไดมากนอยแคไหน เราเรียกสวนนี้วา Color Depth หรือความลึก ของสี มีหนวยวัดเปนบิต ยิ่งจํานวนบิตมากเทาได การแสดงสีและโทนภาพจะมากขึ้นไปตามลําดับ แสงที่ผานเลนสไปยัง CCD ที่ใชรับภาพยังเปนระบบอะนาลอคแตเมื่อถูกแปลงโดย ACD Converter ขอมูลที่ไดจะเปนสัญญาณดิจิตอล (Binary Digits) ซึ่งเหมือนกับที่คอมพิวเตอร ทัว่ ๆ ไปใชในการ ประมวลผลนั้นเอง โดยใชคา ตัวเลขเพียงสองชุดคือ 0 และ 1 มีคาต่ํา สุดคือเลขสองชุดหรือ 2 บิต (1 บิตคือขาวดํา) สามารถเปลี่ยน แปลงได 4 แบบ ดังนี้ 00 (=0), 01 (=1), 10 (=2), 11 (=3) คาตัวเลขนี้เองที่ทําใหภาพมีโทนที่แตกตางกัน ภาพที่มีสี 2 บิต จึงมีเพียง 4 โทน คือ ดํา, เทาเขม, เทาออน, ขาว ทํานองเดียวกัน ถาภาพมี 3 บิต จะแสดง โทนได 8 โทน ถาจํานวนบิตมากขึ้น โทนภาพก็จะ มากตามไปดวย เชน 4 บิต = 16 โทน 8 บิต = 256 โทน ภาพสี RGB ที่แสดงสีได 8 บิตตอสี หรือรวมทั้งหมด 24 บิต ตองนําตัวเลขของพิกเซลทั้ง หมดมาคูณกัน จึงจะทราบไดวาแสดงสีได เทาไหร คือ 256R x 256G x 256B เทากับ 16.7 ลานสี ซึ่ง กลองดิจิตอลเกือบทั้งหมดในปจจุบันแสดงสีได 24 บิต หรือ 16.7 ลานสี แตก็มกี ลองคอมแพคบางรุน เชน Canon Pro70 แสดงสีไดถึง 30 บิต หรือบางรุนแสดงสีไดลึกมากถึง 36 บิต เทากับกลองดิจิตอล ในระดับมืออาชีพ การที่มจี ํานวนบิตมากจะทําใหมีโทนภาพที่ละเอียดมากยิ่งขึน้ ผลที่คือภาพที่มี รายละเอียดเหมือนจริงตาม ธรรมชาติ นั่นเอง และจํานวนบิตของสีจะสัมพันธกับขนาดของไฟลภาพ ดังตอไปนี้ 8 bits = 1 byte 1,024 byte = 1 kilobyte (KB) 1,024 kilobyte = 1 megabyte (MB) 1,024 megabyte = 1gigabyte (GB)


145

บน : ฟลม 35 มม. ขนาด 24 x 36 มม. เทากับเซ็นเซอรภาพ ของกลองดิจิตอล บางรุน เชน Canon EOS Ids, Contax N Digital หรือ Kodak DCS Pro 14n บน : Nikon D1x, D100 ใช CCD ขนาด 2.7 x 15.6 มม. CCD ขนาด 2/3 นิ้ว

CCD ขนาด นิ้ว

CCD ขนาด 1/3 นิ้ว


146

4. อัตราสวนของภาพ การใชฟลมถายภาพขนาด 35 มม. จะไดภาพบนแผนฟลม ขนาด 24 x 36 มม. อัตราสวนคือ 1:50 ถานําไปอัดขยายบนกระดาษขนาด 4 x 6 นิ้ว จะไดภาพทีพ่ อดีกบั ฟลม เพราะมีอัตราสวน 1:50 เทากัน แตจอมอนิเตอรของคอมพิวเตอรทวั่ ไปนัน้ มีอัตราสวน 1:33 แสดงความละเอียดที่ 640 x 480, 800 x 600 หรือ 1024 x 768 พิกเซล อัตราสวนของภาพที่ไดจากกลองดิจิตอลจึงมีขนาด 1.33 เมื่อนํา ภาพไปพิมพดว ยการดาษขนาด 4 x 6 นิ้วภาพที่ไดจะไมเต็มกระดาษ หรือถาใชกระดาษ 8 x 10 นิว้ ภาพจะใกลเคียงมากที่สุด เพราะกระดาษขนาดนี้อัตราสวนคือ 1:29 Image Width x Height Aspect Ratio 35 mm Film 36 x 24 mm 1.50 Display Monitor 800 x 600 pixels 1.33 Nikon 950 1600 x 1200 1.33 Photo Paper 4 x 6 inches 1.50 Photo Paper 8 x 10 inches 1.29

ภาพนี้ถายจากกลองดิจิตอล Nikon D1 ขนาดภาพ คือ 2000 x 1312 พิก เซล เมื่อปรับขนาดภาพใหมีความ กวาง 8 นิ้ว จะไดความสูง 12.2 นิ้ว

เมื่อนําภาพไปพิมพดวยกระดาษขนาด 8 x 10 นิ้ว จะตองตัดสวนของภาพทิ้งไปทั้งสองดาน เพื่อใหความสูงเทากับ 10 นิ้ว ตามขนาดของ กระดาษ


147

5. ความไวแสง ขอดีอีกอยางหนึ่งของกลองดิจิตอลคือ ใชเซ็นเซอรภาพที่สามารถปรับความไวในการรับแสง ไดหลายระดับ แตกตางกับฟลมที่มีคาความไวแสงคงที่ การเปลี่ยนคาความไวแสงตองเปลี่ยนฟลม แต กลองดิจิตอลสามารถเลือกคาความไวแสงที่ตองการไดตลอดเวลา เพื่อความเหมาะสมกับสภาพแสง หรือสิ่งที่ตองการถายภาพ ความไวในการรับแสงของเซ็นเซอรภาพ ไมวาจะเปน CCD, CMOS หรือแบบอื่น ๆ จะใชวิธี เทียบคากับคาความไวแสง ISO ที่ใชในกลองฟลม ซึ่งสังเกตุไดจากสเปคของกลองดิจิตอลที่มักใชคํา วา “เทียบเทากับความไวแสง ISO …” โดยกลองแตละรุนจะมีคาความไวแสงไมเทากัน กลองบางรุนมี คาความไวแสงเริ่มตนที่ ISO 100 และสูงสุด 400 บางรุนอาจจะเริ่มตนที่ ISO 50 และสูงสุดถึง 3200 เลยทีเดียว ขอควรจําอยางหนึ่งของการใชกลองดิจิตอลคือ กลองจะมีระบบปรับความไวของแสง อัตโนมัติตามสภาพแสงที่ใชถายภาพหากถายในที่มืด กลองจะเลือกความไวแสงใหสูงขึ้น เพื่อให สามารถบันทึกภาพได การใชความไวแสงสูงจะไมมเี กรนหยาบเหมือนกับฟลม แตจะปรากฎการ เหลื่อมล้ําของสีหรือพิกเซล เรียกวา Noise ทําใหภาพที่ไดไมสวยงามเทาที่ควร อยางไรก็ตามเรา สามารถเขาไปแกไขในฟงกชั่นเมนูเลือกปรับคาความไวแสงเอง หากตองการใหไดภาพที่มีคุณภาพดี ที่สุด ควรเลือกใชคาความไวแสงที่ ISO ต่ําสุด หากแสงไมพอใหใชแฟลช หรือปรับความเร็วชัตเตอร ต่ําแลวใชขาตัง้ กลองชวย การปรับความไวแสงใหสูงขึ้นควรเปนทางเลือกสุดทายเทานั้น ความไวแสง ที่สูงจะมีประโยชนในกรณีทตี่ องการความเร็วชัตเตอรที่สูงขึ้นทําใหภาพคมชัด มีระยะชัดลึกมากขึ้น หรือชวยใหแฟลชทํางานไดไกลขึ้น เปนตน


148 กลองดิจิตอลเกือบทั้งหมดสามารถเปลี่ยนความ ไวแสงหรือ ISO ไดอัตโนมัติตามสภาพแสงที่ใช ถายภาพหากถายภาพในอาคารที่มีแสงนอยโดย ไมใชแฟลช กลองจะเลือกความไวแสงสูง แตถา ถายภาพกลางแจงจะเลือกความไวแสงที่ตา่ํ ลง แต ผูใชสามารถปรับเลือกคาความไวแสงที่ตองการ เองได เพื่อใหไดผลตามแบบที่ตองการ เชน การ ถายภาพที่ตองการหยุดความเคลื่อนไหวตาง ๆ เพียงปรับความไวแสงใหสูงขึ้น จะทําใหได ความเร็วชัตเตอรที่สูงขึ้น ตามดวย โดยภาพจะไม ปรากฎเกรนหยาบเหมือนกับฟลม แตจะปรากฎ การเหลื่อมล้ําของสีหรือที่เรียกวา Noise ถาเปน กลองระดับไฮเอนด จะปรากฎ Noise ที่นอยมาก


149

6. ขนาดภาพ ยังมีการเขาใจผิดคอนขางมากเกีย่ วกับเรื่องของขนาดภาพ และความละเอียดหรือจํานวนของ พิกเซล ผูผลิตกลองตางพยายามชักจูงใหผูซื้อเขาใจวา ความละเอียดในกลองของตนนั้นเพียงพอกับ การใชงานทัว่ ๆ ไป ซึ่งเปนเพียงขอเท็จจริงสวนหนึ่งเทานั้น เชนกลองดิจิตอล 2 ลานพิกเซลสามารถ พิมพภาพขนาด 8 x 10 นิ้วได เรามาดูกันวาจริงเท็จแคไหน ถาคุณใชอิงคเจ็ตพริ้นเตอรพิมพภาพจาก โปรแกรม Adobe Photoshop จะพบวาภาพหยาบมาก ทัง้ ๆ ที่เครื่องพิมพมีคุณภาพสูง ดูตัวอยางภาพที่ โชวใหดูก็คมชัดเหมือนการใชฟลม ทั้งนี้เพราะคา Resolution ถูกกําหนดไวที่ 72 dpi ตามการแสดงผล ของจอมอนิเตอร แตถาลองปรับเพิ่มคา Resolution ใหสูงขึ้นเชน ภาพขนาด 1600 x 1200 pixel เปดดู Image Size จาก Photoshop จะระบุ Resolution 72 dpi หากเปลี่ยนเปน 150 dpi ขนาดภาพจะเปลี่ยน จาก 22 x 16 นิ้วเปน 8 x 10 นิ้วเมื่อพิมพภาพใหมคณ ุ ภาพจะดีขึ้น แตยังไมคมชัดเทาที่ควร กระทั่ง เปลี่ยนเปน 300 dpi ขนาดภาพ 4 x 5 นิ้ว ภาพจะคมชัดดีที่สุด ในทํานองเดียวกับการนําภาพไปอัด ขยายจากมินแิ ลปที่เปนระบบดิจิตอล สวนใหญจะพิมพภาพที่ความละเอียด 200 – 400 dpi หากคุณ กําหนดไวที่ 400 dpi (ดีที่สุดใกลไมตางกับการใชฟลม) ขนาดภาพสําหรับ 3 ลานพิกเซลจะเหลือเพียง 3 x 4 นิ้วเทานั้น หากตองการภาพ 8 x 10 นิ้ว ตองการไฟลภาพที่มีความละเอียดถึง 4200 x 3200 พิก เซล หรือ 14 ลานพิกเซล!!! อยางไรก็ตามการพิมพภาพที่ 200 dpi ก็ยังอยูในเกณฑที่ยอมรับได นั่น หมายถึงวากลองที่มีความละเอียดเพียง 3 ลานพิกเซล (1600 x 1200 พิกเซล) จะพิมพภาพจากมินแิ ลป ใหมีคุณภาพดีไดในขนาด 6 x 8 นิ้ว

ภาพทางดานขวาเปนตัวอยางเปรียบเทียบกับภาพที่มองเห็นจากอมอนิเตอร หากกําหนดความละเอียดของ ภาพที่ 72 dpi จะไดภาพขนาด 22 x 16 นิ้ว เมื่อเปลี่ยนความละเอียดเปน 144 dpi ขนาดภาพจะเล็กลงเหลือ 8 x 11 นิ้ว (เหมาะสําหรับการพิมพแบบอิงคเจ็ท) แตถาเปลี่ยนเปน 300 dpi จะไดขนาดเพียง 3.84 x 5.28 นิ้ว (เหมาะกับ การพิมพออฟเซ็ท)


150


151 สําหรับฟลม 35 มม. ที่มีความไวแสง ISO 100นั้น ความละเอียดจะเทียบเทากับ 14 ลาน พิกเซล อยางไรก็ตามแมวา จะมีความละเอียดที่เพียง แตการเก็บรายละเอียดของภาพในโทนมืดและ โทนสวางยังหางไกลกับฟลม พอสมควร ยกเวนเซ็นเซอรภาพบางชนิดทีพ่ ยายามออกแบบให เหมือนกับฟลมมากที่สุดเชน Foveon ที่พัฒนาใหมี 3เลเยอร แยกการรับแสงแตละสี หรือ R G B หรือ จะเปนเซ็นเซอรแบบ Super CCD ของฟูจกิ ็ใชหลักการคลาย ๆ กันเพื่อใหเก็บรายละเอียดของโทน ภาพไดครบถวน อีกไมกี่ปเราคงจะไดเห็นเซ็นเซอรภาพที่มีคุณภาพดีเทากับฟลมหรือดีกวาดวยซ้ํา ไป!!!


152


152

บทที่ 6 กลองถายภาพดิจิตอล ในการถายภาพโดยใชฟลมนั้น ฟลมจะทําหนาที่บันทึกและจัดเก็บภาพ แตสําหรับกลอง ดิจิตอลนั้น ทั้งสองสิ่งจะทําหนาที่แยกจากกัน โดยมีอิมเมจเซ็นเซอร (เชน CCD) ทําหนาที่รับภาพ สวนการจัดเก็บภาพเปนหนาที่ของหนวยความจําซึ่งมักใชการดขนาดเล็กที่มีความแตกตางกันออกไป ภาพแตละภาพมักจะถูกบีบอัดใหมีขนาดเล็ก กินเนื้อที่ในหนวยความจํานอย ทําใหจัดเก็บภาพได จํานวนมาก แตในกลองบางรุนจะมีรูปแบบการเก็บภาพแบบไมบีบอัดใหเลือกใช เพื่อใหไดภาพที่มี คุณภาพที่ดีที่สุด ระบบภาพดิจติ อลเริ่มตนเมื่อคุณใชกลองถายภาพ อาจจะเปนกลองที่ใชฟลมสไลด ฟลมเนกา ตีฟ หรือกระทั่งฟลมโพลารอยดที่ไดภาพบนกระดาษทันที จากนั้นนําภาพที่ไดไปแสกนดัวย สแกนเนอร แปลงภาพใหเปนดิจิตอล แตจะเปนการงายกวาถาหากคุณใชกลองดิจิตอลถายภาพ เพราะ ทันทีที่คุณกดชัตเตอร ก็จะไดภาพดิจิตอลที่จัดเก็บลงในการด พรอมทีจ่ ะนําไปใชงานไดทันที ระบบการทํางานของกลองดิจิตอลในดานเทคนิค กระบวนการถายภาพแทบจะไมแตกตางกับ การใชกลองทีใ่ ชฟลม องคประกอบตางๆ จะเหมือนกันมากอาทิ เลนส ชัตเตอร และระบบ บันทึกภาพ สิ่งที่แตกตางกันอยางเห็นไดชัดมีเพียงเรื่องของสวนที่ใชรับภาพแทน ฟลม โดยใชสิ่งที่ เรียกวา Charge coupled device หรือ CCD ซึ่งมีความไวในการรับแสงสีตาง ๆ ที่ผานเลนสเขามา จากนั้นจะ แปลงภาพใหเปนสัญญาณดิจิตอล แลวจัดเก็บบันทึกลงในแผนการด


153

1. ชนิดของกลองดิจิตอล เนื่องจากกลองดิจิตอลไมไดใชฟลมที่มีรูปแบบตายตัวเหมือนกับกลองใชฟลมการออกแบบ จึงเปนไปอยางอิสระ เราจึงพบกับกลองดิจิตอลที่มีหลากหลายรูปทรงบางรุนแบนราบจนดูไมออกวา เปนกลองถายภาพ บางรุนมีขนาดเล็กนิดเดียว ทวาในปจจุบันกลองดิจิตอลจากยี่หอตางๆ มักออก แบบใหดูคลายกับกลองที่ใชฟลมธรรมดา จนบางครั้งแทบจะแยกไมออกวาเปนกลองชนิดใดกันแน ไมวาจะเปนกลองคอมแพคขนาดเล็กหรือกลอง SLR ที่มีประสิทธิภาพสูง หรือกระทั่งดิจิตอลแบคที่ ตอเขากับกลองขนาดกลางไปจนถึงกลองวิวที่มีขนาดใหญ สําหรับบริษัทที่ผลิตกลองดิจิตอลมีหลากหลายมาก ทัง้ จากผูผลิตกลองที่ใชฟลมเดิม อาที Kodak Fujifilm Nikon Canon Minolta หรือ Olympus และผูผลิตอุปกรณคอมพิวเตอร อิเล็กทรอนิกส รายใหญอยาง Sony Panasonic Sanyo Epson หรือ Toshiba เปนตน ซึ่งสวนใหญจะผลิตกลองดิจิตอล แบบคอมแพคขนาดเล็กสําหรับผูใชทั่ว ๆ ไป เพราะเปนตลาดที่มีขนาดใหญที่สุด สวนกลุมผูใชระดับ มืออาชีพจะมีกลองแบบ SLR ที่มีประสิทธิภาพสูงคุณภาพใกลเคียงกับการใชฟลม

คอมแพคดิ จิ ต อลรุ น ใหม ๆ มี ค วาม ละเอียดสูงมาก เชน Nikon CoolPix 5700 ความละเอียด 5 ลานพิกเซล ให ภาพถ า ยที่ เ ที ย บเท า กั บ การใช ฟ ล ม ธรรมดา และยั ง มี คุ ณ สมบัติ ที่ดี เด น อีกมากมาย


154

Point and Shoot กลองประเภทเล็งแลวถายระบบดิจิตอลนั้น จะคลายกับกลองประเภทเดียวกันที่ใชฟลม 35 มม. การใชงานงายและสะดวก เพราะมีขนาดเล็ก ระบบการทํางานตาง ๆ เปนแบบอัตโนมัติ ผูใชเพียง เล็งภาพในชองมองแลวกดชัตเตอรเทานั้นอีกทั้งยังมีราคาถูกเมื่อเทียบกับกลอง ดิจิตอลแบบอื่น ๆ ทั้ง หมด บางรุน มีราคาเพียงไมกี่พันบาทเทานั้น แตคุณภาพที่ไดก็อยูใ นระดับปานกลางพอใชงานได เทานั้นหากนําไปใชพิมพภาพจะไดขนาดไมใหญเกิน 4 x 6 นิ้ว เหมาะสําหรับการนําไปใชงาน อินเตอรเน็ตมากกวาเชน ภาพประกอบเวบเพจ หรือใชสงทางอีเมล


155

Prosumer กลองคอมแพคระดับไฮเอนด จะมีประสิทธิภาพและคุณภาพสูงขึ้น ตามลําดับราคา บางรุนมี ระบบการทํางานมากมายและใหภาพที่มีความละเอียดสูงเทียบเทากับกลองระดับมืออาชีพ ซึ่งบางครั้ง เราจะเรียกกลองประเภทนีว้ า Prosumer หรือประเภท กึ่งมืออาชีพนัน้ เอง โดยทัว่ ไปจะมีความละเอียดตั้งแต 2 ลานพิกเซลขึ้นไป และคุณสมบัติระดับกาวหนาอื่น ๆ เชน ระบบโฟกัสอัตโนมัตผานเลนส (TTL) ระบบ บันทึกภาพหลายแบบ และระบบแมนนวลควบคุม การทํางานตาง ๆ เชนโฟกัส และไวทบาลานซซึ่ง คุณสมบัติเหลานี้เปนที่ตองการของนักถายภาพ กลองดิจิตอลแบบ Prosumer แมจะเปน สมัครเลนที่จริงจังไปจนถึงมืออาชีพสวนภาพนั้น เพียงกลองคอมแพคขนาดเล็ก แตมีความ สามารถขยายไดถึง 8 x 10 นิ้ว หรือมากกวา ละเอียดสูง ประสิทธิภาพการทํางานดีเยี่ยม มีระบบการทํางานตาง ๆ มากมาย ปจจุบัน ไดรับความนิยมสูงมาก


156


157

Professional Cameras กลอง 35 มม. SLR และกลอง SLR แบบ APS ระดับมืออาชีพหลายรุนถูกนํามา ดัดแปลงให เปนกล องดิจิตอล โดยที่ยังคง คุ ณ สมบัติ ต า ง ๆ ในการใช ง านเอาไว บ าง ยี่หอก็มีการออกแบบใหม โดยใชพื้นฐานมา จากกล องระดับมื ออาชีพ อีก ทั้งยังมีค วาม ละเอี ย ดสู ง หลายล า นพิ ก เซล จึ ง เป น ที่ ต อ งการของช า งภาพมื อ อาชี พ เพราะให ความสะดวกกวาการใชฟลมแบบเดิมมาก อุปกรณตาง ๆ อาที เลนส แฟลช ฟลเตอร ก็ ยังคงใชไดเหมือนเดิมตามปรกติ กลองดิจิตอลแบบ SLR มี ระบบการทํางานเทียบเทา กับกลองในระดับมืออาชีพ ใชเซ็นเซอรภาพ CCD ทีมี คุณภาพสูง เหมาะสําหรับ ชางภาพมืออาชีพที่ตองการ ความรวดเร็ว ในการทํางาน โดยที่มี คุณภาพใกลเคียงกับ การใชฟลม

EOS 10D กลองดิจิตอล SLR รุนใหมลาสุด ของ Canon นับเปนกลองที่มีเทคโนโลยี ระดับสูงมากรุน หนึ่ง ใช CMOS ความ ละเอียด 6 ลานพิกเซล ใชเลนสและอุปกรณ ตาง ๆ ของ Canon ไดทุกอยาง จําหนายใน ราคาไมถงึ แปดหมื่นบาทเทานั้น

Olympus E-20 กลองดิจิตอล SLR ชนิ ด ถอดเปลี่ ย นเลนส ไ ม ไ ด เป น กล อ งที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง มาก ใช เซ็นเซอรภาพแบบ CCD ความ ละเอียด 5.24 ลานพิกเซล เลนสซูม 35 –140 มม. F2.0 – 2.4 มีฮอทชุ เสียบแฟรชภาพนอกสามารถใช แฟรชของโอลิมปสรุน G – 40 ชวย


158

Digital Back สํ า หรั บ ช า งภาพมื อ อาชี พ ที่ ใ ช ก ล อ งขนาด กลางไปจนถึงกล องขนาดใหญ ที่ตองการภาพถาย คุณ ภาพสู ง สุด สามารถถ า ยภาพดิจิ ต อลได โดยใช อุปกรณที่เรียกวา ดิจิตอลแบค แทนแมกกาซีนฟลม สวนการควบคุมระบบการทํางานตาง ๆ ของกลอง ยั ง คงเดิ ม การใช ง านต อ งต อ สายเคเบิ ล เข า กั บ คอมพิวเตอร เนื่องจาก CCD ที่ใชมีขนาดใหญ และ ความละเอียดสูงมากประกอบกับเทคโนโลยีในการ ผลิตทั้งดานฮารดแวรและซอพทแวร ทําใหมีคุณภาพ เทียบเทากับการใชฟลม บางรุนดีกวาฟลมดวยซ้ําไป ดิจิตอลแบคบางรุนมีขอจํากัดในการใชงานเฉพาะใน สตูดิโอ เพราะตองตอเขากับคอมพิวเตอรตลอดเวลา แต ก็ มี บ างรุ น ที่ มี ช อ งใส ก าร ด จั ด เก็ บ ภาพและจอดู ภาพแบบ LCD ในตัว

DCS Pro Back ออกแบบใหมีขนาด เล็ก น้ําหนักใกลเคียงกับแมกกาซีน ฟลมธรรมดา ดานหลังมีจอมอนิเตอร และใชแบตเตอรี่ขนาดเล็กอยูทาง ดานลางหากชารจไฟเต็มจะถายภาพ ได 150 ภาพ


159

2. การจัดเก็บภาพ กล อ งดิ จิ ต อลบางรุ น มี ห น ว ยความจํ า สําหรับใชจัดเก็บภาพที่ถายไปแลว แตกลองสวน ใหญจะจัดเก็บภาพดวยหนวยความจําชนิดถอด ออกได มีลักษณะเปนแผนการดขนาดเล็กที่เรียก กันวา Flash Memory Card มีอยูหลายแบบหลาย ชนิดดวยกัน ไมใชมาตรฐานเหมือนกันหมดแบบ ฟลม ๓๕ มม. ดังนั้นกลองยี่หอหนึ่งอาจจะใช การดของอีกยี่หอไมได โดยทั่วไปจะนิยมการด แบบ Compact Flash หรือมักเรียกสั้น ๆ วาการด CF สวนการดแบบ Smart Media ที่ปจจุบันมี ความจุสูงสุด 128 MB กําลังจะเลิกผลิตโดยมี การดแบบ xD Picture Card มาแทน การด อื่น ๆ ที่นิยมใชเชน Memory Stick และ SD/MMC เนื่ อ งจากภาพดิ จิ ต อลมี คุ ณ ภาพสู ง ขนาด ไฟลภาพจึงมีขนาดใหญตองใชพื้นที่ในการจัดเก็บ มากพอสมควร ถาเปนกลองที่มีความละเอียดสูงมาก เทาใด ก็ตองการพื้น ที่ในการจัดเก็บภาพมากขึ้นตาม ไปดวย เมื่อถายภาพจนเต็ม คุณสามารถถอดเปลี่ยน การ ด อั น ใหม เ พื่ อ ใช ถ า ยภาพต อ เหมื อ นกั บ การ เปลี่ ย นฟ ล ม นั่ น เอง และกล อ งดิ จิ ต อลทุ ก แบบจะ เลือกโหมดการบีบอัดขอมูลภาพได 2-3 ระดับหรือ เปนการเลือกขนาดภาพ หากมีการบีบอัดขอมูลมาก ขึ้ น หรื อ เลื อ กขนาดภาพที่ เ ล็ ก ลง คุ ณ จะสามารถ ถายภาพไดจํานวนมากขึ้นดวยการดอันเดิม

การบรรจุการดลงในกลองดิจิตอลมัก ออกแบบเปนบานพับขนาดเล็ก มีปุมกดให การดเลื่อนออกมา ไมตองเปดฝาหลัง เหมือนกับกลองใชฟลม

การดแบบ Compact Flash หรือ CF ไไดรับความนิยมมากที่สุดในปจจุบัน มีความจุใหเลือกหลายขนาด มีทั้ง แบบ Type I และ Type II ปจจุบัน CF Type I มีความจุสูงสุดถึง 4 GB

การด SD/MMC มีขนาดเล็กและบาง เฉียบทําใหกลองที่ใชการดแบบนี้ ออกแบบใหมีขนาดเล็กมาก ๆ ได มีความ


160

Flash Memory อุปกรณอิเล็กทรอนิกสแบบพกพาที่มีขนาดเล็กเชน กลองดิจติ อล เครื่องบันทึกเสียง โทรศัพทมือถือ หรือเครื่องบันทึกขอมูลมือถือแบบปาลม ลวนแลวแตตองการหนวยความจําในการ จัดเก็บขอมูลตาง ๆ และตองการออกแบบใหมีขนาดทีเ่ ล็กมากดวย ซึ่งหนวยความจําที่ใชนี้จะมีราคา แพง เรียกกันวา Flash Memory ซึ่งมีสวนที่ใชบันทึกขอมูลเรียกวา Solid State Chips ซึ่งชิพแบบนี้จะ คลายกับหนวยความจําทีเ่ รียกวา RAM ซึ่งใชในคอมพิวเตอรทั่ว ๆ ไปนั่นเอง เพียงแตหนวยความจํา แบบนี้สามารถบันทึกขอมูลลงไปไดโดยทีไ่ มตองพึ่งพาแบตเตอรี่ ขอมูลไมมีการสูญหายเมื่อปดสวิตซ อุปกรณที่ใช ชิพที่ใชเก็บขอมูลจะถูกออกแบบในรูปรางตาง ๆ กันเรียกวา Card ดังนั้นเราจึงมักเรียก รวมกันวา Flash Memory Card ซึ่งสามารถนําไปเสียบเขากับกลองดิจติ อล เพื่อบันทึกภาพหรือนําไป ใสในเครื่องคอมพิวเตอรเพือ่ ถายโดนหรือกอปปภาพ จากนั้นลบภาพในการดทิ้งทั้งหมด และนํามาใส ในกลองดิจติ อลเพื่อใชถายภาพตอ แฟลชเมมโมรี มีหลายชนิด แตที่ถือเปนมาตราฐานและไดรับการยอมรับมานานคือ PC Card หรือเดิมเรียกกันวา PCMCIA ขนาด คือ 85.6 x 54 มิลลิเมตร เปนมาตรฐานที่ใชไดกับคอมพิวเตอร แบบโนตบุคทัว่ ๆ ไป ซึ่งมักมีชอ งใสการดแบบนีก้ ลองถายภาพดิจิตอลในยุคแรก ๆ เชน กลองของ Kodak แบบคอมแพครุน DC50 หรือกลองแบบ SLR สําหรับมืออาชีพจะใชการดแบบนี้ในการจัดเก็บ ภาพ หลังจากถายภาพแลวจึงสามารถนําการดไปใสเขากับคอมพิวเตอรโนตบุกไดทนั ที

เนื่องจากแฟลชเมมโมรี มีขนาดคอนขางใหญ ทําใหการออกแบบกลองดิจิตอลที่มีขนาดเล็ก ทําไดยาก กระทั่งบริษัท SanDisk ไดผลิตการดขนาดเล็กที่เรียกวา Compact Flash (CF) โดยผลิตครั้ง แรกเมื่อป 1994 โดย ใชมาตราฐานการผลิตแบบ ATA สามารถนําไปใสในอะแดปเตอรแบบ พีซี การดได ทําใหไดรับความนิยมอยางแพรหลายมาจนถึงทุกวันนี้ ผูผลิตกลองดิจิตอลจํานวนมาก เลือกใชการด CF ในการจัดเก็บภาพเพราะสามารถออกแบบกลองใหมีขนาดเล็กมาก ๆ ได ปจจุบัน การดชนิดนี้เขาสูรุนที่สองที่เรียกวา Type II หนา 5 มิลลิเมตร (เดิมเปน Type I หนา 3.3 มิลลิเมตร) มี


161 ความจุสูงมากจากเดิมที่มีตั้งแต 4-128 เมกะไบท ปจจุบันมีความจุมากถึง 1 GB แลว และกําลังจะมี ความจุ 2 และ 4 GB ในเร็ว ๆ นี้ (เมษายน 2546) SmartMedia การดจัดเก็บภาพอีกแบบหนึ่งที่มีขนาดเล็กและบางกวาคอมแพคแฟลช (45 x 37 x 0.76 มิลลิเมตร) ออกแบบโดยใชมาตราฐาน ATA มีขนาดความจุหลายแบบใหเลือกใชตั้งแต 4128 เมกะไบท นําการดชนิดนีไ้ ปใสในอะแดปเตอรแบบฟลอปปดิสกได ทําใหใชงานไดกบั คอมพิวเตอรเกือบทุกชนิด หรือจะใชอะแดปเตอรแบบพีซีการด ก็ไดเชนกันปจจุบันการดชนิดนี้ไมมี การพัฒนาตอใหมีขนาดความจุสูงกวา 128 MB Sony Memory Stick การดชนิดนี้มีขนาดเล็ก มาก รูปทรงยาวคลายหมากฝรั่งออกแบบโดยบริษัท โซนี่ ใชไดกบั กลองดิจิตอล เครื่องบันทึกเสียง กลอง วีดีโอดิจิตอล กรอบรูปดิจติ อล เครื่องเลนเพลงMP3 และอื่น ๆ อีกมากมาย ปจจุบันมีผูผลิตอิสระทําการด ชนิดนี้ออกมาขายดวยปจจุบนั รุน Memory Stick Pro มี ความจุสูงสุด 1GB SD/MMC การดที่มีขนาดเล็กมากมีความจุสูง ปจจุบันสามารถพัฒนาไดถึง 1 GB และเพิ่ม เปน 2 GB ในเร็ว ๆ นี้ และไดรับความนิยมในกลองรุนใหม ๆ หลายยีห่ อ XD Picture Card เปนการดที่มีขนาดเล็กที่สุด พัฒนาโดยฟูจฟิ ลมและโอลิมปส ปจจุบันมี ความจุสูงสุด 1 GB และจะมีขนาด 2 GB ในเร็ว ๆ นี้

Rotating Magnetic Media IBM Microdrive การดแบบฮารดดิสกทมี่ ีขนาดเล็กที่สดุ ในโลก ปจจุบนั มีความจุสูงถึง 1024 MB ใชไดกับกลองดิจิตอล ทั่วไปที่ใชการดแบบ CF Type II นอกจากหนวยความจําแบบแฟลชเมมโมรีแลว ยังมี กลองดิจิตอลแบบอื่นที่จัดเก็บภาพดวยสื่อบันทึกแบบจานหมุน เชน แผนฟลอปปดิสก หรือฮารดดิสก ที่เราคุนเคยกันดีอยูแลว Flopy Disk


162 แผนดิสกที่เปนสื่อบันทึกขอมูลที่เรารูจักกันเปนอยางดี เพราะใชกันอยางแพรหลายใน คอมพิวเตอรทวั่ ๆ ไป ไมวาจะเปนแบบตั้งโตะหรือกระเปาหิ้ว โดยมีขนาดมาตราฐาน 3 นิ้ว กลองที่ จัดเก็บภาพดวยแผนฟลอปปด ิสก จึงมีขนาดคอนของใหญแตมีขอ ดีในเรื่องความประหยัดเพราะ แผนดิสกชนิดนี้มีราคาถูกมาก แถมยังใชงานสะดวก เพราะหลังจากถายภาพแลวสามารถนําแผนดิสก เสียบเขาเครื่องคอมพิวเตอรไดเลย ไมตอง ใชสายเคเบิลหรืออุปกรณอื่น ๆ ใหยุงยาก ปจจุบันกลอง ของโซนี่ ตระกูล Mavica หลาย รุนที่ใชแผนดิสกแบบนี้ ขอเสียมีเพียงเรื่องความจุทมี่ ีเพียง 1.44 MB เทานั้น แตถาเปนกลองรุนใหม ๆ จะอานแผนฟลอปปดสิ กที่มีความจุสูงถึง 120 MB ของ Super Disk ได (ตองใชเครื่องอานแผนของ Super Disk)

Click! Disk drive เปนสื่อบันทึกขอมูลที่ผลิตออกมาเพื่อแกปญ  หาเรื่อง การดแบบแฟลช แมมมอรี่ ที่มีราคาแพง หลังจากที่ ถายภาพดวยการดแลวคุณสามารถกอปปภาพจากการด ไปยังแผนดิสก ที่มีชื่อเรียกวา Clik! (ความจุ 40 MB) จากนั้นลบภาพในการด แลวนําไปใชถายภาพตอไดเลย ซึ่งชุดอุปกรณ Clik! สําหรับใชงานนอกสถานที่นั้นทํางานไดดว ยแบตเตอรี่เพียงกอนเดียว โดยไมตอง พึ่งพาคอมพิวเตอรใหยุงยาก มีชอ งอานการดทั้งแบบ Compact Flash และ Smart Media หลังจากเสียบ การดเรียบรอยแลว เพียงกดปุม ภาพที่อยูใ นการดทั้งหมดจะถูกกอปปไ ปยังแผนดิสก Clik! ทันที โดย แสดงผลใหทราบบนจอ LCD ขนาดเล็กวา ยังมีพื้นที่สําหรับเก็บภาพบนแผนดิสก Clik! อีกเทาไร หากเต็มก็เปลี่ยนไปใช Clik! แผนใหม ซึ่งแผน Clik! มีราคาถูกมาก ทําใหไดรับความนิยมมาก พอสมควร

Hark Disks สื่อบันทึกขอมูลที่ใชกันทั่วไปในเครื่องคอมพิวเตอร ปจจุบันมีการผลิตใหมีขนาดเล็ก กะทัดรัดในรูปแบบของ พีซีการด ความจุหลายรอยเมกะไบทจนถึง 5120 MB หรือ 5 GB การถายภาพ ที่มีความละเอียดสูงในกลองระดับมืออาชีพจึงไดรับความสะดวก เพราะการดหนึ่งแผนจะใชถายภาพ ไดหลายรอยภาพ จนถึงกวาหนึ่งพันภาพ ไมจําเปนตองใชการดหลายแผนใหสิ้นเปลือง หรือไมตองนํา คอมพิวเตอรกระเปาหิว้ ออกไปกอปปภาพนอกสถานที่อีกตอไป และIBM ก็ไดผลิตฮารดดิสกที่มี ขนาดเล็กที่สุดในโลก ในรูปทรงแบบเดียวกับการด Compact Flash หรือ CF Type II มีความจุสูงมาก ละเอียดสูง ๆ แตการดชนิดนี้ก็มีของเสียอยูบาง เนื่องจากฮารดดิสกมหี ัวอานจานดิสกที่หมุนดวย


163 ความเร็วสูง หากทําตกหลน หรือการกระแทกที่รุนแรง จะทําใหฮารดดิสกเสียหายจนใชการไมไดการ ใชงานการดแบบนี้จึงตองมีความระมัดระวังมากพอสมควร

Down Loading Images หลังจากถายภาพเรียบรอยแลว การใชงานในคอมพิวเตอรคุณตองทําการถายโอนภาพ หรือ ดาวนโหลด (บางครั้งเรียกวา ทรานเฟอร) จากกลองไปยังคอมพิวเตอรซึ่งมีวิธีทําอยูหลายทาง อาทิ การใชสายเคเบิลเชื่อมตอกลองกับคอมพิวเตอร การนําการดไปใสในอะแดปเตอรแลวใสเขาไปใน คอมพิวเตอร หรือใชอุปกรณอานการดโดยเฉพาะที่ตอ เชื่อมเขากับคอมพิวเตอร เมื่อโหลดภาพจน หมดแลว สามารถลบภาพในการดทั้งหมดทิ้ง แลวนําไปถายใหมไดอีก แตกอนลบภาพในการดทิ้ง ตองแนใจวาภาพตนฉบับถูกจัดเก็บไวอยางดีแลว เชน บันทึกลงในซีดีรอม เพราะภาพที่ลบไปไม สามารถเรียกกลับคืนมาไดอีก

Cable ปรกติเมื่อซื้อกลองดิจิตอลมาจะมีสายเคเบิลแถมมาใหดวย 1-2 แบบ ทั้งนี้เพราะคอมพิวเตอร แตละรุนจะมีพอรตสายเคเบิลเพียง 1-2 แบบเทานั้น โดยมีแบบมาตรฐานคือ Serial Ports (ปรกติใช เชื่อมตอกับโมเด็ม) ใชงานงายแตการรับสงขอมูลจะชามาก และแบบ USB ที่นิยมใชกันอยางแพร หลายในปจจุบันเพราะใชงานงายไมยุงยาก เสียบสายเคเบิลไดโดยไมตองปดเครื่องกอน มีความเร็วใน การรับสงภาพดีกวาแบบซีเรียล และใชตอพวงกับอุปกรณตาง ๆ พรอมกันไดถึง 127 อยาง แตถา ตองการรับสงภาพแบบความเร็วสูงตองใชพอรต FireWire มีการรับสงขอมูลที่รวดเร็วมากถึง 400 เม กะบิตตอวินาที ออกแบบโดยแอปเปล คอมพิวเตอร มีชื่อมาตรฐานสากลวา IEEE1394 ใหความเร็วสูง กวา USB (เวอรชั่น 1) หลายสิบเทา ตอพวงกับอุปกรณตาง ๆ ไดถึง 63 อยางในเวลาเดียวกัน มีกลอง ดิจิตอลระดับมืออาชีพแบบ SLR หลายรุนที่ใชพอรทแบบนี้ รวมทั้งดิจิตอลแบคก็นิยมใชพอรต FireWire เชนกัน หากเปนคอมพิวเตอรแมคอินทอชในปจจุบันจะมีพอรตแบบนี้เปนมาตรฐานทั้งแบบ ตั้งโตะและโนตบุค สวนคอมพิวเตอรพีซีรนุ ใหมในปจจุบันก็เริ่มมีพอรต IEEE1394 เชนกัน นอกนั้น ตองซื้อการด FireWire มาใชเชนยีห่ อ Orange-Link Card Slots ถาเปนพีซี การด สามารถนําไปใสใน คอมพิวเตอรโนตบุคไดเลย แตถาเปนการด CF หรือ Smart Media ตองใสในพีซกี ารดอะแดปเตอร เสียกอน สําหรับคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ อาจหาซื้อไดรวทอี่ านพีซีการดมาใสเขาไปในเครื่อง คอมพิวเตอร เมื่อตองการถายโอนภาพเพียงนําการดมาเสียบเขาไปในชองอานก็ใชงานไดเลย


164

คอมพิวเตอรสวนมากมีพอรต USB เวอรชั่น 1.1 เปนมาตรฐาน แตปจจุบันพัฒนาถึงเวอร ชั่น 2.0 เร็วกวา IEEE - 1394 ทําใหการโหลด ภาพจากกลองไปยังเครื่องคอมพิวเตอรเร็ว กวาเดิมหลายสิบเทา หากไมมีตองซื้อการดที่ มีพอรต แบบนี้มาใส ซึ่งต องดูด วยวากลอง ดิจิตอลที่ใชรองรับ USB 2.0 หรือไม

ในปจจุบัน คอมพิวเตอรทั้งแบบตัง้ โตะ และแบบพกพา เริ่มมีพอรตความเร็วสูง แบบ IEEE-1394 หรือ Firewireเปน มาตรฐาน การโหลดภาพจากกลองที่มี พอรต Firewire จึงรวดเร็วมาก แตถาไม มีสามารถซื้อการด PCI ที่มีพอรต IEEE – 1394 มาใสในเครื่องคอมพิวเตอรได

หลังจากถายภาพเสร็จแลว สามารถนําการดไมวาจะเปน CF , SmartMedia หรือ Memery Stick ไปใสในพีซี อะแดปเตอร แลวใสใน คอมพิวเตอรโนตบุคทั่ว ๆ ไปไดทันที โดยจะมองเห็นเปนอีกไดรวหนึ่ง สามารถ กอปปภาพไปเก็บไวในฮารดดิสกของคอมพิวเตอรได


165 การใชกลองดิจิตอลออกถายภาพนอกสถานที่ จําเปนตองมีคอมพิวเตอรโนตบุค เพื่อถาย โอนภาพและตรวจสอบคุณภาพได ปจจุบันพอรต USB เวอรชั่น 2.0 กําลังไดรับความนิยมในกลองดิจติ อลบางรุน และเริ่มมีใน คอมพิวเตอรรนุ ใหม ๆ ทั้งหลาย แตการตอเชื่อมสายอินเทอรเฟสไปยังคอมพิวเตอร ตองดูวา คอมพิวเตอรทใี่ ชมีพอรตแบบเดียวกันนี้หรือไม สําหรับความเร็วในการถายโอนขอมูลของ USB 2.0 ทําไดเร็วกวา IEEE1394 คือประมาณ 480 เมกกะบิตตอวินาที

Card Readers วิธีหนึ่งที่นยิ มกันมากคือ ซือ้ อุปกรณอานการดแบบภายนอกมาใช โดยเสียบสายเคเบิลเขากับ เครื่องคอมพิวเตอร(มีทั้งแบบ Serial, USB และ FireWire) จากนัน้ นําการดมาเสียบเขาที่เครื่องอาน ทั้งนี้ตองเลือกซื้อแบบที่ตรงกับการดที่ใช อาที CF, Smart Media หรือ Memory Stick (บางรุนอาน การดไดหลายแบบ) Alkaline แบตเตอรี่แบบนี้มีกําลังไฟสูงเหมาะกับอุปกรณอิเล็กทรอนิกสแบบไฮเอนด เชน กลอง ดิจิตอล แตมีขอเสียคือราคาแพง ใชถายภาพไดไมเทาไหร แบตเตอรี่กห็ มด ตองซื้อมาตุนไวเยอะ ๆ ใน การใชกลองแตละครั้ง

วิธีถายโอนภาพไปยังคอมพิวเตอรที่สะดวก คื อ ใช เ ครื่ อ งอ า นการ ด ที่ ต อ สายเข า กั บ คอมพิวเตอร ในภาพใชเคเบิลแบบ Firewire ทําใหถายโอนภาพรวดเร็วมาก

การด CF จาก LEXAR MEDIA รุน Profressional มีความเร็วในการบันทึกและ อานเร็วกวาการด CF ทั่ว ๆ ไป มีทั้งรุน 8X – 12X จําหนายพรอมชุดอานการดดวย


166

ScanDisk ไดผลิตอุปกรณอานการดแบบใหม มีชองใสการดถึง 4 ชอง ใชไดกับการดทุกชนิด ใช อินเทอรเฟสแบบ USB 2.0 ซึ่งเร็วกวาเดิมถึง 40 เทา เร็วกวาแบบ IEEE-1394 ถาไมมีก็สามารถซื้อ การด USB 2.0 แบบ PCI มาใสในคอมพิวเตอร ก็จะทําใหใชงานไดเชนกัน หรือจะใชกับ USB 1.1 ก็ ได แตความเร็วการโหลดภาพจะชากวามาก สามารถใชไดทั้งคอมพิวเตอรพีซีและแมคอินทอช ScanDisk 6 in 1 ใชอินเทอรเฟสสําหรับ เชื่อมตอกับคอมพิวเตอรแบบ USB 2.0 ซึ่งมี ความเร็วการถายโอนขอมูลถึง 480 เมกะบิต/ วินาที เร็วกวาแบบ USB 1.1 ที่มีความเร็วเพียง 12 เมกะบิต เทานั้น


167


168

Batteries กลองดิจิตอลในวันนี้แตกตางจากกลองระบบกลไกในอดีตอยางมาก เชน กลอง Leica ที่มี ระบบการทํางานแบบกลไกลวน ทํางานโดยไมตองพึ่งแบตเตอรี่ แตสําหรับกลองดิจิตอลแลว แบตเตอรี่ คือสิ่งที่สําคัญมาก หากไมมแี บตเตอรี่ก็ไมสามารถใชงานใด ๆ ไดเลย กลองแตละรุนอาจใช แบตเตอรี่ที่แตกตางกัน เชน แบตเตอรี่ขนาด AA หรือ แบตเตอรี่แพคที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ สวน ใหญสามารถชารจไฟใหมได มาดูชนิดของแบตเตอรี่วา มีแบบใดบาง NiCad หรือ Nickel Cadmium เปนแบตเตอรี่ที่ สามารถชารจไฟใหมไดหลายรอยครั้งกวาแบตเตอรี่ จะเสื่อม มีขอดีในเรื่องของความประหยัด แตขอเสียที่ เห็นไดชัดและนับเปนปญหาใหญคือ หากยังมีกําลังไฟ หลงเหลืออยู หรือชารจไปเพียงนิดหนอยและนําไป ชาร จ ใหม เมื่อ กํา ลั ง ไฟเต็มแล ว จะใชง านไดไ ม เ ต็ ม กําลังไฟจริง ๆ มักเรียกกันวา เมมโมรี เอฟเฟคท และ ถาทําเชนนี้บอย ๆ แบตเตอรี่จะไมสามารถเก็บไฟได อีก เชน ปรกติตองชารจ 2 ชั่วโมง หากชารจแค 30 นาทีแลวนําไปชารจใหมจนเต็ม จะใชงานไดตามกําลัง ไฟที่ชารจภายใน 30 นาทีเทานั้น NiMH แบตเตอรี่ชนิดนี้นิยมใชกันมากในกลอง ดิจิตอลทั่ว ๆ ไป เพราะใชงานไดนานกวาแบบ NiCad ประมาณ 30 เปอรเซ็นต สามารถชารจใหมไดไมนอย กวา 1000 ครั้ง บางยี่หอมีกําลังไฟสูงถึง 1600-2000 มิลลิแอมป การใชงานจึงยาวนานกวาปรกติและไมมี ผลเรื่องเมมโมรี เอฟเฟคทมากนัก

กลองดิจิตอล ที่ใชแบบเตอรี่ ขนาด AA บางรุน ระบุวาใช แบตเตอรี่ชารจ NiCd หรือ NiMH ที่ชารจไฟใหมได เปน ทางเลือกที่ชวยใหประหยัด คาใชจายไดมากกวาแบบอัล คาไลนธรรมดา

Li-ion หรือ Lithium Ion แบตเตอรี่ชนิดพิเศษ ใหกําลังไฟสูงกวา NiMH ถึงสองเทาในขนาดทีเ่ ทากัน ชารจไฟเต็มไดเร็ว ชารจไดมากกวา 500 ครั้ง และไมมีผลเรื่องเมมโมรี่ เอฟเฟคท แตขอเสียคือมีราคา แพง


169

AC Adapter กลองดิจิตอลเกือบทุกรุนจะสามารถใชไฟ บานไดโดยผานเครื่องแปลงไฟ หรือเอซีอะแดป เตอร ซึ่งสวนใหญจะแถมมาใหพรอมกลอง หาก เปนการใชงานในบานหรือในสถานที่ซึ่งมีปลั๊กไฟ AC หรือการใชงานที่ไมมีการเคลื่อนยายตําแหนง กลอง การใชไฟบานจะเปนการประหยัดกวา และ สามารถเปดกลองทิ้งไวไดตลอดเวลา รวมทั้งเปด ใชฟงกชั่นอืน่ ๆ อาทิ เปดจอภาพ LCD ทิ้งไวโดย ไมตองกลัววาแบตเตอรี่จะหมดเสียกอน

3. คุณสมบัติตาง ๆ ในกลองดิจิตอล

กลองดิจิตอลบางรุน ออกแบบใหใช กับแบตเตอรรแี่ พ็ค จากผูผ ลิตกลอง โดยตรง มีรปู รางหนาตาและกําลัง ไฟไมเหมือนกับแบตเตอรรี่ทวั่ ๆ ไป โดยจะแถมแบตเตอรรี่ พรอมเครื่อง ชารจมาใหพรอมกับตัวกลอง มีทั้ง ชนิด NiMH และ Lithium Li - ion

กลองดิจิตอลแตละรุนมีคุณสมบัติตาง ๆ มากมาย โดยเฉพาะรุน Prosumer มีมากกวากลองที่ ใชฟลมเสียอีก แตที่จําเปนและควรนํามาใชพิจารณาตัดสินใจ ซื้อกลองดิจิตอลสักตัวมีอยูไมมากนัก ตอไปนี้คือสิ่งที่คุณควรใหความสําคัญเปนอันดับตน ๆ ครับ

Frame Rate ในการถายภาพดวยฟลม หลังจากกดชัตเตอรไปแลว แสงจะผานเลนสไปตกกระทบกับฟลม ซึ่งทําปฏิกิริยากับสารเคมีบนแผนฟลมทันทีเพียงชัว่ เสี้ยววินาที จากนัน้ คุณสามารถถายภาพตอไดเลย ความเร็วในการถายภาพติดตอกันจะขึ้นอยูก ับความเร็วของมอเตอรที่ใชในการเลื่อนฟลม โดยทัว่ ไป จะอยูที่ 2-4 ภาพตอวินาทีแตถาเปนกลองรุนโปรจะเร็วกวานี้ สําหรับกลองดิจติ อลที่ไมใชฟล ม ความเร็วในการถายภาพตอเนื่องจะเกี่ยวของโดยตรง กับความเร็วในการจัดเก็บภาพ รวมทั้งความเร็ว ในการประมวลผลของคอมพิวเตอรดว ย (กลองดิจิตอลจะวาไปแลวก็คือคอมพิวเตอรตัวหนึ่งนัน่ เอง)


170 ยิ่งมีความละเอียดสูงมากเทาใด การประมวลผลหรือ Image Processing ก็จะชามากขึ้นเทานั้น ตองรอ ใหจดั เก็บภาพลงการดเรียบรอยกอนถึงจะถายภาพตอไปได กลองรุนแรก ๆ ตองรอกันหลายวินาทีกวา จะถายภาพตอไปได แตปจ จุบันมีการออกแบบใหมโดยใสหนวยความจําแบบแฟลชเมมมอรีเขาไปใน ตัวกลอง (ยิ่งมากยิ่งดี แตตนทุนการผลิตจะสูงขึ้น) เชน 24 หรือ 32 MB หลังจาก CCD หรือเซ็นเซอร ภาพ รับแสงทีผ่ านเลนสมาแลว จะบันทึกเก็บไวในแฟลชเมมโมรีของกลองกอน ทําใหถายภาพตอได เลย ซึ่งมีขีดจํากัดตรงที่ถาแฟลชเมมโมรีเต็มจะถายตอไมได จนกวาจะมีการประมวลผลและถายโอน ขอมูลภาพดิจติ อลไปยังแผนการดเสียกอน และในระหวางถายโอนนั้น เมื่อมีเนือ้ ที่วางในแฟลชเมม โมรี คุณก็สามารถถายภาพตอไดเลย ความเร็วในการถายภาพตอเนื่องนี้จะระบุไวในขอมูลจําเพาะ หรือสเปคของกลองแตละรุน การเลือกซื้อจึงตองพิจารณาในขอนี้ดว ยเชนกัน เพราะคุณจะเกิดความหงุดหงิดขึ้นไดในขณะถายภาพ เพราะตองรอใหจัดเก็บภาพลงการดเรียบรอยเสียกอน


171

Creative Controls กลองดิจิตอลเกือบทั้งหมดเปนระบบอัตโนมัติ คือกลองจะปรับตั้งการทํางานใหทุกอยาง ตั้งแตโฟกัส วัดแสงปรับความเร็วชัตเตอร และรูรับแสง รอใหผูใชเล็งภาพแลวกดชัตเตอรเทานั้น นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมพิเศษแบบอื่น ๆ อีก อาทิโปรแกรมถายภาพบุคคล ภาพกีฬา ภาพทิวทัศน ภาพกลางคืน หรือมาโคร แตถาคุณตองการสรางสรรคภาพเอง ในบางรุนยังมีระบบออโตชัตเตอร เพื่อ ควบคุมการเคลื่อนไหวของวัตถุ ออโตรูรับแสงใชควบคุมระยะชัดลึก หรือกระทั่งระบบแมนนวลที่ เลือกความเร็วชัตเตอร รูรับแสงและระยะโฟกัสไดดว ยตนเอง (อานเรื่องระบบควบคุมการทํางานของกลอง – Exposure Mode)

Fuji Finepix S30 โหมดบันทึกภาพ

White Balance สภาพแสงแบบตาง ๆ จะไมเหมือนกัน เชน แสงจากดวงอาทิตยในชวงเวลาเชา สาย บาย เย็น หรือแสงจากไฟประดิษฐในอาคาร แสงไฟตามทองถนน หรือกระทัง่ แสงจากกองไฟ อุณหภูมสิ ีที่ แตกตางกัน ทําใหภาพที่ไดมีโทนสีที่ไมเหมือนกัน หากถายภาพชวงพระอาทิตยขนึ้ หรือตก ภาพจะ ออกโทนสีสมแดง หรือถายภาพในอาคารดวยไฟนีออนสีจะออกอมเขียวเปนตน กลองดิจิตอลจึงมี ระบบปรับสมดุลแสงขาว หรือไวทบาลานซ ทําใหไดโทนสีถูกตองเสมอ ไมวาจะถายภาพในสภาพ แสงแบบไหน ผิดกับกลองใชฟลมที่ตองใชฟลเตอรแกสี หรือใชฟลมชนิดพิเศษแกไขใหไดสีที่ถูกตอง


172 แตบางครั้งคุณอาจตองการสีสันที่ผิดแผกไปตามสภาพแสงที่ใช กรณีนี้กลองตองมีระบบไวทบาลานซ แบบแมนนวลใหคุณปรับตั้งเอาเอง ซึ่งกลองบางรุนก็ไมมรี ะบบนี้มาให

Exposure Value หรือ EV คือชวงความสัมพันธระหวางรูรบั แสงและความเร็วชัตเตอร เชน EV 3 เทียบเทากับ คารูรับแสง 1/2.8 และ ความเร็ว 1 วินาที หรือเทากับ 1/1.4 ที่ ¼ วินาที ชวงของ EV จะเปนตัวบงบอก วากลองตัวนี้มชี วงในการรับแสงกวางมากนอยแคไหน ยิง่ มีชวง EV กวางมากก็จะดีมาก เพราะ บางครั้งเราตองถายภาพในสภาพแสงที่นอยมาก ๆ เชน กลองที่ระบบในสเปความีชว ง EV 1-20 จะ ดีกวากลองที่มีชวง EV 3-18 เปนตน


173

Lenses ถาเปนกลองดิจิตอลแบบ SLR จะถอดเปลี่ยนเลนสได มีเลนสใหใชมากมายเชนเดียวกับ กลอง SLR ที่ใชฟลม แตในกลองคอมแพคสวนใหญจะเปนเลนสซูม ถามีชวงซูมมากก็จะใช ประโยชนไดดีกวาแตราคาก็จะสูงขึ้นดวย กลองบางรุนใชเลนสพิเศษที่มีคุณภาพสูง ทําใหภาพคมชัด และสีสันสวยงาม อาทิ เลนส Aspherical หรือ เลนสที่มีชื่อเสียงอยาง Carl Zeiss T* Leica หรือ Schneider นอกจากนีต้ องคํานึงถึงรูรับแสงกวางสุดของเลนสดวย ยิ่งกวางมากยิ่งดี เพราะใชถายภาพ ในสภาพแสงนอยไดดี และมีคุณภาพทีด่ ีกวา เชน f /2.8 f /2

Panorama กลองบางรุนมีฟงกชั่นถายภาพแนวกวางพาโนรามาเพียงถายภาพเปนสวน ๆ จากซายไป ขวา แลวนํามารวมกันดวยซอพทแวรทแี่ ถบมาให ภาพจะถูกนํามาตอกันเปนแนวยาวอัตโนมัติ การทํา ภาพพาโนรามาแบบแนวยาวไมจําเปนตองมีกลองพิเศษแบบพาโนรามา(ซึ่งมีราคาแพงมาก) หรือเขา ไปดาวนโหลดซอพทแวรมาทดลองใชกอนก็ไดจากเวบไซดตาง ๆ เชนที่ WWW.easypano.net มี โปรแกรมที่นา สนใจเชน Panoweaver การใชงานงายมาก เพียงถายภาพเปนชวง ๆ ตามที่ตองการจาก ซายไปขวาก็ได แตตองใหมสี วนที่เหลื่อมกันบาง จากนัน้ เปดภาพดวยซอพทแวร แลวคลิ๊กกําหนดจุด ที่เหมือนกันในแตละภาพ โปรแกรมจะทําการตอภาพใหกลมกลืนกันอัตโนมัติทันที หรือถาใครใช โปรแกรม Photoshop ไดดีกส็ ามารถนําภาพมาตอเองก็ไดเชนกัน


174

Size and Weight กลองคอมแพคดิจิตอล สวนใหญมีขนาด เล็กและน้ําหนักเบา สะดวกในการพกพาไปใช ถายภาพตามทีต่ าง ๆ กลองบางรุนอยาง Canon ixus มีขนาดเล็กมาก ใสกระเปาเสื้อเชิ้ตไดเลย แต การออกแบบกลองใหเล็กและเบานั้น คุณสมบัติ บางอยางดังทีไ่ ดกลาวมาอาจจะลดลง เชน มีชวง ซูมสั้น หรือใชเลนสที่มีรูรับแสงกวางสุดไมมาก นัก เปนตน


175

Built-in Flash บอยครั้งที่คุณตองถายภาพภายใต สภาพแสงที่นอ ยมาก ตองใชแฟลชชวย ซึ่ง กลองสวนใหญจะมีแฟลชในตัวอยูแลว ยกเวนกลองแบบ SLR บางรุน ความแตกตาง อยูที่กําลังไฟแฟลชและระยะในการทํางาน ไดไกลที่สุดมากนอยแคไหน รวมทั้งระบบ แฟลชตาง ๆ อาทิ แฟลชลบเงา แฟลชแกตา แดง หรือแฟลชสัมพันธกับความเร็วชัดเตอร ต่ํา เปนตน

TTL Viewfinders ภาพที่คุณเห็นในชองมองอาจจะไมตรงกับ ภาพที่ปรากฏบนจอมอนิเตอร เชน การถายภาพใน ระยะใกล ๆ กลองบางรุนจึงออกแบบใหชอ งมองภาพ มองผานเลนสแบบ TTL (Thru-the lens) ซึ่งจะมองเห็น ภาพจริงที่ถูกตองเสมอ แมวากลองบางรุนสามารถดู ภาพจริงไดจากมอนิเตอรกอนที่จะกดชัตเตอรถายภาพ แตวิธีนจี้ ะทําใหแบตเตอรีห่ มดลงอยางรวดเร็ว แต กลองรุนใหม ๆ จะออกแบบใหมี Optical Viewfinders ที่ปรับภาพในชองมองใหสัมพันธกับชวงทางยาวโฟกัส ของเลนส ซึ่งใชงานไดดใี กลเคียงกันแบบ TTL


176

Orientation Sensor คุณสามารถถายภาพไดทั้งในแนวนอนและ แนวตั้ง ซึ่งกลองบางรุนมีเซ็นเซอรที่ทําใหรูวาภาพที่ ถายนั้นเปนแนวตั้ง เมื่อมีการเปดชมจากจอ LCD หรือจากโทรทัศน หรือเปดจากคอมพิวเตอร ภาพถาย ในแนวตั้งจะถูกปรับใหเปนแนวตั้งโดยอัตโนมัติ

Voice Annotation กลองบางรุน มีไมโครโฟนในตัว คุณสามารถบันทึกเสียงลงในแตละ ภาพ หรือจะเลือกบันทึกเฉพาะเสียงก็ได เพื่อใชเตือนความ ทรงจําหรืออื่น ๆ นับเปนคุณสมบัติที่ยอดเยีย่ มมาก และคุณ สามารถเปดฟงเสียงไดเมื่อมีการเปดชมภาพ


177

Digital Print Order Form ( DPOF) ในกลองบางรุน คุณสามารถระบุจํานวน ภาพที่ตองการพิมพในแตละภาพไดเชน ภาพที่ 1 พิมพ 2 ภาพ หรือภาพที่ 5 พิมพ 10 ภาพ โดยขอมูล นี้จะถูกบันทึกลงในแผนการดที่ใชจัดเก็บภาพ เมื่อ คุณสงการดไปยังศูนยบริการพิมพภาพหรือมินิ แลปดิจิตอล คุณก็จะไดจํานวนภาพตามทีร่ ะบุ เอาไว(เครื่องพิมพตองมีคุณสมบัติที่รองรับระบบ DPOF ดวยเชนกัน)

LCD Monitor กลองดิจิตอลสําหรับผูใชทั่ว ๆ ไป ตัวแรกที่ผลิตโดย Apple Computer รุน Quick Take 100 เมื่อหลายปกอน ยังไมมจี อมอนิเตอรสําหรับเปดชมภาพที่บันทึกไปแลว ตอมา Casio ผลิตกลอง


178 ดิจิตอลโดยมีจอมอนิเตอรเปนรายแรก ทําใหผูใชมองเห็นภาพไดทันทีหลังจากกดชัตเตอรถายภาพไป แลว จนถึงปจจุบันมีกลองดิจิตอลในตลาดหลายรอยรุน เกือบทั้งหมดมีจอมอนิเตอรสําหรับการดูภาพ กอนถาย เปดชมภาพที่บันทึกไปแลว รวมทั้งใชดูฟงกชนั่ เมนูตาง ๆ และนี่คือจุดเดนสําคัญอยางหนึ่งที่ กลองถายภาพชนิดใชฟลมไมสามารถทําไดชวยลดความผิดพลาดตาง ๆ ในการถายภาพไดมากอยางที่ ไมเคยมีมากอน จอมอนิเตอรในกลองดิจิตอลมีหลายขนาด เชน 1.5 จนถึง 2.5 นิ้ว (วัดตามเสนทแยง มุม) หากเปนแบบ TFT ภาพจะมีความคมชัดสูง สามารถมองภาพจากทางดานขางไดคมชัดพอ ๆ กับ การมองไปตรง ๆ และถาดูตามสเปคกลองจะพบวามีการระบุความละเอียดของจอมอนิเตอร เชน 120,000 พิกเซล ยิ่งมีความละเอียดมากภาพที่มองเห็นก็จะชัดเจนมากยิ่งขึ้นตามลําดับ กลองดิจิตอลบางรุนออกแบบใหจอมอนิเตอรสามารถปรับกมเงย หรือพลิกหมุนไดรอบ ทํา ใหสะดวกในการถายภาพมุมมองตาง ๆ อาทิ มุมสูง มุมต่ํา หรือแมกระทั่งการถายภาพตนเอง

Histogram แมวาเราจะดูภาพที่บันทึกไปแลวไดจากจอมอนิเตอร แตการที่จอมีขนาดเล็กและมีปจ จัยอื่น ๆ อีกหลายอยาง เชน ความสวางของจอ หรือแสงสวางจากรอบ ๆ ทําใหภาพที่มองเห็นนั้นไมถูกตอง ชนิด 100% หากมองเห็นภาพสวางพอดี แตเมื่อนําภาพไปใช เชน เปดดูจากคอมพิวเตอรหรือนําไป พิมพเปนภาพบนกระดาษ ภาพที่ไดอาจจะมืดหรือสวางเกินไป ดังนั้นกลองดิจิตอลสวนใหญจึง ออกแบบใหมกี ารแสดงคาโทนของภาพในโหมดเปดชมภาพ โดยแสดงใหเห็นเปนกราฟ เรียกวา Histogram กราฟ Histogram จะ แสดงคาของแสงในแตละภาพ ตั้ ง แต ภ าพตั้ ง แต ส ว นที่ ส ว า ง ที่ สุ ด ในภาพ จนถึ ง ส ว นที่ มื ด ที่สุด หากถายภาพไปแลว เมื่อ เปดดูกราฟ Histogram ปรากฏ วาโทนภาพโดยรวมมืดเกินไป ทั้ง ๆ ที่ดูจากจอมอนิเตอรแลว สว า งพอดี แสดงจอมอนิ เ ตอร แสดงผลไม ถู ก ต อ ง วิ ธี แ ก คื อ ป รั บ ล ด ค ว า ม ส ว า ง ข อ ง จอมอนิเตอร ลงมา เปน ตน และสามารถถ ายภาพใหม อีกครั้ง โดยเปดรับแสงใหมากขึ้นจนไดคา


179 แสงที่พอดีไมมืดและสวางเกินไป และกลองบางรุนสามารถเลือกใหแสดงกราฟ Histogram พรอม ๆ กับการแสดงภาพ โดยไมจําเปนตองถายภาพกอน ทําใหรูไดวาภาพที่กําลังจะถายนั้นมีคาแสงเปน อยางไร สามารถปรับใหถูกตองพอดี กอนที่จะลงมือกดชัตเตอรถายภาพ


180

4. ฟงกชั่นเมนู กลองดิจิตอลทุกรุน ไมวาจะถูกหรือแพง เกือบทั้งหมดมีสิ่งที่เรียกวา Menu เปนฟงกชั่น การใชงานที่ทาํ ให การถายภาพดวยกลองดิจิตอล เกิดประโยชนสูงสุดอยางที่ไมเคยมีมากอนในกลอง แบบใชฟลมและดวยเหตุที่มจี อมอนิเตอรสําหรับเปดชมภาพขนาดที่ใหญกวาจอ LCD แบบทีใ่ ช แสดงผลในกลอง 35 มม. ทั่ว ๆ ไป ทําใหสามารถใชประโยชนจากจอมอนิเตอรนี้ในการแสดงเมนูตาง ๆ ซึ่งผูใชสามารถปรับตั้งหรือเลือกใชงานใหเหมาะสมกับภาพที่กําลังจะถายไดตามตองการ แมวาใน กลองแตละรุน แตละยี่หอ จะมีเมนูที่แตกตางและมากนอยไมเหมือนกัน แตหลัก ๆ แลวจะคลาย ๆ กัน ประมาณ 70-80 % หากเรียนรูวิธีการใชเมนูจากกลองดิจิตอลตัวหนึ่ง จนใชงานไดอยางคลองแคลว ก็ ไมใชเรื่องยากที่จะใชงานในกลองดิจิตอลรุนอื่น ๆ เมื่อมีกลองดิจิตอลอยูในมือแลว ขอใหศึกษาการใช เมนูตาง ๆ ใหครบถวน เมื่อถึงเวลาถายภาพจริงจะพบวาเกือบทุกอยางคุณสามารถควบคุมไดอยาง งายดาย


181 ตัวอยางเมนูกลอง Nikon Coolpix 995


182


183


184


185


186

การเปลี่ยนโทนสีของภาพ คุณสามารถปรับเปลี่ยนโทนสีของภาพจากกลองดิจิตอลได หากเปรียบเทียบกับกลอง แบบใชฟลมจะคลายกับการนําฟลเตอรสีมาบังหนาเลนสนั่นเอง หากตองการโทนสีหลาย ๆ แบบคุณก็ ตองมีฟลเตอร หลาย ๆ อัน แตสําหรับกลองดิจิตอลแลว สวนใหญจะมีฟงกชั่นนีใ้ หมากับตัวกลองเลย โดยเฉพาะกลองรุนใหม ๆ จะมีฟงกชั่นการปรับโทนสีที่หลากหลายมาก เพื่อใชในการสรางสรรคภาพ แบบตาง ๆ เชน ถายภาพวัตถุที่มีสีขาว แลวเลือกโหมดสีแดง ภาพทีไ่ ดจะมีโทนสีแดงทั้งภาพเปนตน แตสําหรับกลองบางรุนจะมีโหมดพิเศษ เชน Black & White ถายภาพแลวไดรูปขาวดํา หรือ Sepia ภาพที่ไดจะมีโทนสีน้ําตาลแดงเหมือนกับภาพขาวดําเกา ๆ ที่เก็บเอาไวหลายสิบป เปนตน ในกลองดิจติ อลสวนใหญจะมีฟงกชั่นไวทบาลานส หรือการปรับสมดุลยแสงขาวอัตโนมัติ (เลือกโหมด White Balance ไปที่ตําแหนงAuto) ในโหมดนีก้ ลองจะเนนปรับภาพใหมีอณ ุ หภูมิสี ใกลเคียงกับแสงกลางวันจากดวงอาทิตยประมาณ 5,500 องศาเคลวินหรือแสงสีขาว เมื่อใชกลอง ถายภาพในสภาพที่มีอุณหภูมิสีผิดเพี้ยนไป เชน ในวันที่มีเมฆครึ้มหรือถายภาพในที่รม อุณหภูมสิ ีจะ สูงกวาปรกติ เชน 6,500 องศาเคลวิน ซึ่งจะมีสีฟาปะปนอยู การใชโหมดไวทบาลานซอัตโนมัติจะ ปรับแกสีใหถกู ตอง โดยเพิ่มโทนสีสมแดงใหมากขึ้น เปนการชดเชยหรือหักลางกันนั่นเอง แตถา อุณหภูมิสีเปลี่ยนแปลงไปมากโหมดออโตก็จะทํางานไดไมดีเทาที่ควร ภาพที่ไดจงึ มีสีไมถูกตองหรือ ในบางกรณี เชน ถายภาพพระอาทิตยตกแลวใชโหมดออโต แทนที่จะไดภาพโทนสีสมแดงเหมือนกับ ที่ตาเห็น จะไดภาพที่มีโทนสีปรกติ ไมสวยงามเทาที่ควรตองปรับเลือกโหมดไวทบาลานซเอง ซึ่งใน กลองดิจิตอลรุนเล็ก ๆ ที่มีราคาประหยัดอาจจะไมมมี าให โดยทั่วไปการปรับไวทบาลานซแบบเลือกเอง (บางยี่หอเรียกวา Presetหรือ Manual) จะมีให ใช 5 อยาง โดยแสดงเปนภาพสัญลักษณตา ง ๆ ที่เปนมาตรฐานสากลเริ่มจาก Fine (สัญลักษณรูปดวง อาทิตย) ใชสําหรับการถายภาพกลางแจงทั่ว ๆ ไป เชน เดียวกับการใชฟลม Daylight โหมด Incandescent (สัญลักษณรูปหลอดไฟวงกลม) ใชกับภาพที่มีแสงสวางจากหลอดไฟทั้งสเตนหรือที่มัก เรียกกันวา หลอดไส ซึ่งใหแสงสีสมแดง โหมด Fluorescent (สัญลักษณรูปหลอดไฟนีออน)ใชเมื่อ ตองการถายภาพในบานหรือในอาคารที่มีแสงสวางจากหลอดไฟนีออน โหมด Cloudy (สัญลักษณรูป กอนเมฆ)สําหรับถายภาพในวันที่มีเมฆครึม้ หรือถายภาพในที่รม เชน ใตชายคาบาน สุดทายคือ โหมด Speedlight (สัญลักษณรูปสายฟา)มักมีในกลองรุนที่ใชกบั แฟลชภายนอกได


187 สําหรับการถายภาพที่มีสภาพแสงผสม กันมากกวาหนึ่งอยาง เชน ในบานที่มีแสงจากไฟ ฟลูออเรสเซนท (นีออน) และไฟทังสเตน ขอ แนะนํา ให คุณ เลือ กใชแสงเพีย งชนิดเดีย ว เพื่อ ปองกันสีบางสวนของภาพที่อาจจะผิดเพี้ยนไป ได โดยการปดไฟบางอยางเชน ปดไฟทังสเตน เหลื อ แต ไ ฟฟลู อ อเรสเซ น ท เป น ต น แต ก รณี เชนนี้ หมายถึงการถายภาพโดยปดแฟลชนะครับ หากใชแฟลชถายภาพ แสงที่มีอยูก็ไมมีผลมาก นัก เพราะแสงแฟลชจะมีปริมาณแสงที่มากกวา ยกเวนฉากหลังที่อยูไกลออกไป ซึ่งแสงแฟลช สองไปไมถึง ก็จะมีโทนสีตามสภาพที่เปนอยูจริง ในกรณีที่ใชแฟลชถายภาพแลวปรากฏวาคนที่อยู ในภาพไดรับแสงแฟลชพอดี แตฉากหลังมืดทึบ นั่นเปนเพราะความเร็วชัตเตอรสูงเกินไป ตองใช โหมดแฟลช Slow Sync หรือสัมพันธกับ ความเร็วชัตเตอรต่ํา จะชวยใหฉากหลังที่ไดรับ แสงจากไฟฟลูออเรสเซนท หรือไฟชนิดอื่น ๆ สวางขึ้น ในกลองบางรุน เชน Olympus C4040 จะมีฟงกชั่นปรับไวทบาลานซเอง แบบเดียวกับที่ ใชในกลองวีดโี อ เมื่อเลือกฟงกชั่นนีใ้ หเล็งกลอง ไปยังสวนทีเ่ ปนสีขาว(ตองเปนสีขาวจริง ๆ ไมมี สีอื่นผสมอยู อาจใชกระดาษขาวแทนก็ได) จากนั้นกดปุม OK กลองจะปรับอุณหภูมิสีจาก แสงในขณะนัน้ ใหสมดุลกับแสงสีขาว ทําให ภาพมีโทนสีทถี่ ูกตองแมนยํา นอกจากนี้ยังมี ฟงกชั่นปรับสมดุลแสงขาวแบบเลือกเอง (+/-) แสดงเปนแถบเลื่อนบนจอ LCD ถาเลื่อนขึ้น(ได 7 ขั้น)ภาพจะมีโทนสีน้ําเงินมากขึ้นตามลําดับ แต ถาเลื่อนลง (7ขั้นเชนกัน) จะมีโทนสีแดงมากขึ้นเรื่อย ๆ ในฟงกชนั่ นี้อาจประยุกตไปใชเพื่อใหเกิดผล


188 พิเศษแทนการปรับแกสี เชน ใชถายภาพพระอาทิตยตก แลวปรับเพิ่มโทนสีแดง ทําใหภาพดูมีสสี ัน สวยงามมากขึน้ เปนตน การเปลี่ยนโทนภาพมืดหรือสวาง ขอดีของกลองดิจิตอล คือหลังจากกดชัต เตอรถายภาพไปแลวคุณสามารถเปดดูภาพไดทันที ถา เปนกลองดิจิตอลราคาประหยัด อาจจะตองรอนาน หนอยกวาทีจ่ ะเปดภาพได เพราะตองรอใหบันทึกภาพ ลงการดเสร็จเรียบรอยกอน แตถาเปนรุนกลางจนถึงรุน สูงแบบไฮเอนดจะเร็วขึ้นตามลําดับ บางรุนเปดดูไดทัน ที่ไมตองรอเพราะมีบัฟเฟอร หรือหนวยความจํา ชั่วคราวในตัวกลองสูงมากนั่นเองเมื่อพบวาภาพถายที่ ไดมืดหรือสวางเกินไป เราสามารถปรับแกไขไดโดย ใชฟงกชั่นชดเชยแสง หรือExposure Compen sation (อานดูวิธีใชจากคูมือของกลองแตละรุน ซึ่งออกแบบ มาไมเหมือนกัน) โดยทั่วไปจะปรับชดเชยแสงแบบ บวกและลบ แสดงเปนสัญลักษณกับตัวเลข และยัง เลือกไดวาใหคาแสงที่ปรับชดเชยในแตละขั้นแตกตาง กันเทาใด โดยมีหนวยเปน EV เชน 1/3 หรือ ½ EV เปนตน หากเลือกไปในทางบวก (+) จะเปนการเพิ่มคา แสงใหมากขึน้ ภาพที่ไดจะดูสวางขึ้น แตถาเลือกไป ในทาง (-) จะทําใหคาแสงลดลง และไดภาพที่มืดลง บางรุนสามารถชดเชยแสงได +/-3 EV แตบางรุนก็ทํา ไดมากถึง +/-5 EV แตการใชงานจริงเราจะชดเชยแสงกันประมาณ 2-3 EV เทานั้น ยกเวนภาพที่มแี สง ตางกันมาก เชน การถายภาพยอนแสงที่มีฉากหลังสวางมาก ๆ ใบหนาคนจะดําทึบจนขาดรายละเอียด ตองชดเชยแสง +3 EV หรือมากกวา เพื่อใหใบ หนาคนสวางมีรายละเอียดที่ชัดเจน แตกรณีเชนนีฉ้ าก หลังก็จะสวางขึ้นตามไปดวย หากตองการแสงพอดีทั้งที่ฉากหลังและตัวคน ตองใชแฟลชชวยเรียกวา การ Fill Flash นั่นเอง


189


190

ชุดอุปกรณสําหรับมือสมัครเลน การถายภาพดวยกลองคอมแพคดิจิตอล ใหความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เปนงานอดิเรกที่ วิเศษไมตางกับการถายภาพโดยใชฟลมมากนัก และจะสนุกกวาการใชฟลมดวยซ้ําไป เพราะสามารถ เห็นผลงานไดทันทีไมตองรอลุนใหเสียเวลา ลดความผิดพลาดตาง ๆ ไปไดมาก และชวยใหการฝกฝน

ดานการถายภาพเปนไปอยางรวดเร็ว ไมวาจะเปนเรื่องของการปรับควบคุมกลอง การใชความเร็ว ชัตเตอรและรูรับแสง ตลอดไปถึงการจัดองคประกอบภาพเพื่อใหไดภาพที่สวยงามในที่สุด อุปกรณที่ จําเปนนอกเหนือจากตัวกลอง คือ การดจัดเก็บภาพ ควรเลือกที่มี ความจุสูงให เหมาะสมกับความละเอียดของกลองที่ใชเชน กลอง 3 ลานพิกเซล ควรใชการด 128 MB จะถายภาพที่ ความละเอียดสูงสุดฟอรแมท JPEG ไดประมาณ 80-100 ภาพ แตถาเลือกฟอรแมท RAW หรือ TIF อาจจะเหลือประมาณ 20-30 ภาพเทานั้น หากมีคอมพิวเตอรโนตบุคขนาดเล็ก ก็สามารถโหลดภาพมา เก็บไวที่ฮารดดิสกของคอมพิวเตอรกอน จากนั้นลบภาพในการดแลวนําไปถายภาพตอนอกจากนี้ ก็มี แฟลชภายนอกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน สําหรับปรับมุมภาพใหกวางขึ้นหรือถายภาพไดไกล มากยิ่งขึ้นสําหรับอุ ปกรณ ทําความสะอาดก็ไ มควรละเลย เชน ลูกยางเปาลม ไลฝุนละอองตาง ๆ กระดาษเช็ดเลนสพรอมน้ํายาทําความสะอาด หาซื้อไดจากรานจําหนายอุปกรณถายภาพทั่วไป และ


191 ทั้งหมดควรเก็บไวในกระเปากลองที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ มีความทนทานและกันน้ําได นอกจากนี้ ควรมีขาตั้งสามขา หรืออยางนอยก็เปนขาเดี่ยว ทําใหถายภาพไดอยางมั่นใจวา ภาพจะคมชัดแนนอน โดยเฉพาะในสภาพแสงที่นอยมาก ๆ เปนตน

ชุดอุปกรณสําหรับมืออาชีพ ปจจุบันนักถายภาพมืออาชีพหันมาใชกลองดิจิตอลกันมากขึ้น ทั้งนี้เปนเพราะกลอง ดิจิตอลในระดับอาชีพแบบ SLR หรือดิจิตอลแบค มีคุณภาพสูงไมแตกตางกับการใชฟลมมากนัก อีก ทั้งมีราคาที่ลดลงมาก แมวาจะยังแพงกวากลองใชฟลมหลายเทา แตเทียบกับความสะดวก ความ รวดเร็วและความคุมคาแลว การใชกลองดิจิตอลจะใหประโยชนมากกวา อุปกรณตาง ๆ ที่ใชสําหรับมืออาชีพยังคงเหมือนกับการใชฟลม นั่นคือ เลนสมุมกวาง หรือซูมมุมกวาง ซึ่งอาจตองเลือกใชชนิดที่มีมุมกวางมากกวาปกติ เพราะขนาดของ CCD หรือ เซ็นเซอรภาพมีขนาดเล็กกวาฟลม ทําใหตองเพิ่มทางยาวโฟกัส เชน Nikon Dix ตองคูณ 105 เทา


192

เปนตนนอกจากนี้ก็มีซูมมาตรฐาน เลนสมาโคร และเลนสเทเลโฟโต ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของงานเปน สําคัญอุปกรณอื่น ๆ ที่จําเปนเชน ฟลเตอร C-PL แฟลช สายลั่นชัตเตอร ชุดทําความสะอาดกลอง และเลนส สําหรับอุปกรณทางดานกลองดิจิตอลคือการดความจุสูงที่สุดเทาที่จะซื้อมาใชได เพราะ กลองดิจิตอลแบบมืออาชีพมีความละเอียดสูงมาก และควรถายภาพฟอรแมท RAW หรือ TIFF เพื่อให ไดภาพที่มีคุณภาพสูงสุดนอกจากนี้คอมพิวเตอรโนตบุคก็มีความจําเปนในการโหลดภาพหรือใชสง ภาพผานทางอินเตอรเนท และเพื่อใชตรวจสอบคุณภาพของภาพถาย


193


194

บทที่ 7 วิธีเลือกใชกลองดิจิตอลและการรักษา จะเลือกซื้อกลองดิจิตอลอยางไรดี ? นับเปนปญหายอดนิยมของผูทสี่ นใจหรือกําลังจะ ตัดสินใจเลือกซื้อกลองดิจิตอลมาไวใชงานสักตัวหนึ่ง ทั้งนี้เปนเพราะวากลองดิจิตอลในปจจุบันมีให เลือกซื้อมากมาย ทั้งยี่หอเดียวกับผูผลิตกลองใชฟลม และยีห่ อใหม ๆ นับไมถวน รวมทั้งยีห่ อ ของ ผูผลิตเครื่องใชไฟฟาอิเล็กทรอนิกสทั้งหลาย นับรวมทัง้ หมดแลวเกือบ ๆ 200 รุนทีเดียวการที่จะ ตัดสินใจเลือกซื้อกลองดิจิตอลสักหนึ่งตัว จึงนับเปนเรื่องที่นาปวดหัวไมนอย โดยเฉพาะบรรดา มือใหมที่ไมเคยรูเรื่องกลองดิจิตอลมากอน บทความนี้ใชเปนแนวทางในการตัดสินใจของคุณครับ

1. งบประมาณ กอนอื่นตองมาดูกันวาคุณจะตั้งงบไวสักเทาใด ในการหาซื้อกลอง ดิจิตอลคูใจ เพราะราคาในตลาดมีตั้งแตกลองแบบงาย ๆ ราคาไมกี่พันบาท ซึ่งทําอะไรไมไดมากนัก ที่ พอใชไดจะเริม่ จากหมืน่ ตน ๆ ไลเรียงลําดับไปตามสเปค และคุณภาพที่ดีขึ้นจนถึงหลักแสนหรือ หลาย ๆ แสน เมื่อตั้งงบไวแลวเชน สองหมื่นบาทก็มองหาเฉพาะกลองที่อยูในงบของเรา รุนที่มีราคา สูงกวาคงไมตอ งนํามาพิจารณาใหปวดหัว


195 2. เซ็นเซอรภาพ ถาดูตามสเปคมักจะเขียนวา Image sensor หรือ Image recording พูด งาย ๆ ก็คืออุปกรณ ที่ใชรบั ภาพแทนฟลม นั่นเอง บางยี่หอใช CMOS แตสวนใหญหรือเกือบทัง้ หมด ใช CCD ขนาดใหญบาง เล็กบาง แตใหญกวายอมไดเปรียบ เพราะเก็บรายละเอียดไดมาก(แพงกวา) อาจจะดูจากสเปควาใช CCD ขนาดเทาใดเชน 1/1.8 นิ้ว, 1/2.7 นิ้ว หรือ 2/3 นิ้ว (วัดตามแนวทแยงมุม)

3. ความลึกของสี หรือ Bit Depth บางทีก็เรียก Color Depth ยิ่งมีความลึกของสีมาก เทาใด ก็จะเก็บรายละเอียดของเฉดสีไดดมี ากขึ้น เชน 10 บิต/สี หรือ 12 บิต/สี หมายความวาสี ธรรมชาติ มี 3 สีคือ RGB ถา 1 สี แสดงได 13 บิต 3 สี ก็จะได 36 บิต เปนตน ถาเปนกลองระดับไฮ เอนด อาจจะทําไดถึง 16 บิต/สี หรือ 48 บิตที่ RGB นั่นก็เทียบกับฟลม สไลดดี ๆ นี่เอง แตไมรูวา ทําไมมีกลองบางยี่หอ บางรุนเทานั้นที่เปดเผยวากลองของตัวเองมีระดับความลึกของสีเทาใด ยิ่งถา เปนกลองที่สเปคต่ําเชน 8 บิต/สี (อันที่จริงก็เยอะ แลว เพราะจะได 24 บิตที่ RGB แสดงสีได 16.7 ลานเฉดสี) แทบไมอยากจะพูดถึงกันเลย แตถา กลองระดับโปรมักจะโชวตวั เลขใหเห็นจะ ๆ เลยวา ใครไดมากกวากัน การที่เฉดสีนอยจะทําใหการแยก สีไมดีเทาที่ควร เชน กลีบดอกไมสีแดงเขม แดง ปานกลางและแดงออน ดูดว ยตาเปลา ก็ไลเฉดสีกัน ดี แตถายออกมากลายเปนสีแดงสีเดียว ถาใชฟลม สไลดจะไดใกลเคียงกับที่ตาเห็น (สไลดโปรจะทํา ไดดีกวา)


196 4. ดูความละเอียด ตองดูที่ Effective เวลาซื้อกลองดิจิตอลเรามักจะไดยินคนขายบอกวา ตัวนี้ 3 ลานพิกเซล ตัวนี้ 4 ลานพิกเซล แตสวนใหญเปนความละเอียดของเซ็นเซอรภาพ ขนาดภาพจริง จะนอยกวานัน้ ลอง ดูสเปคในคูมือหรือ โบรชัวร หาคําวา Effective ซึ่งก็คือ ขนาดภาพจริง ๆ ที่จะ ได เชนในโบรชัวร บอกวา 5.24 ลาน พิกเซล แตตามสเปคระบุชัดวาขนาดภาพใหญสุดที่ไดคือ 2560 x 1920 พิกเซล ถาคูณดูก็จะได4.9 ลาน พิกเซล 5. Interpolate ในกลองบางรุน ถาเราดูที่ขนาดภาพตามสเปคอาจจะแปลกใจเพราะ คูณ ออกมาแลวไดความละเอียดมากกวาเดิมเชน CCD 3 ลานพิกเซล แตไดขนาดภาพถึง 6 ลานพิกเซล ทั้งนี้เปนเพราะมีการใชเทคโนโลยีบางอยางเพิ่มความละเอียดใหสูงขึน้ นั่นเอง เชน Super CCD ของ Fuji หรือ Hypict ของ EPSON เปนตน แตคุณภาพจะดีไมเทากับความละเอียดแท ๆ ของ CCD อยางไรก็ตามก็นับวาเปนการเพิ่มคุณภาพใหดีกวาเดิมโดยใชเทคโนโลยีมาชวย ตางกับการนําภาพไป เพิ่มความละเอียดดวยซอพทแวรเชน Adope Photoshop ซึ่งคุณภาพจะแยลงอยางเห็นไดชดั เมื่อเพิ่ม ความละเอียดถึง 1 เทาแบบนี้ วิธีการนี้เรามักจะเรียกกันวา Interpolate ซึ่งกลองที่มีฟงกชั่นเหลานีจ้ ะมี เมนูใหเลือกวาจะใชหรือไม


197 6. ปรับลดขนาดภาพ แมวากลองที่มีความละเอียดสูงจะเปนเรื่องที่ดี แตตองไมลืมวา ขนาดไฟลที่ไดจะใหญมาก กิน แมมมอรี่ในการดมาก ถาการด ความจุ นอย ๆ เชน 16 MBใช กลอง 3 ลานพิกเซล ถายไปไมกี่ ภาพก็เต็มแลว ตองใชการด ที่มี ความจุสูง ๆ บางครั้งเราตองการ เพียงแคบนั ทึกเตือนความจําหรือ ใชสงอีเมล หรือไมก็ใชประกอบ เว็บไซตซึ่งตองมาลดความ ละเอียดดวย Photoshop หรือ โปรแกรมอื่น ๆ ใหเหลือแค 640 x 480 พิกเซลหรือเล็กกวานัน้ แต กลองดิจิตอลสวนใหญจะเลือก ขนาดภาพไดหลายแบบ เพื่อให เหมาะสมกับงานที่จะนําไปใช เชนกลอง Olympus E-20 เลือก ขนาดภาพได 5 ระดับ เล็กสุดที่ 640 x 480 พิกเซล 7. การตอบสนอง หรือ Response อันนี้กลองดิจิตอลเกือบทัง้ หมดไมยอมระบุไว ในสเปคกลองของตัวเอง แตถาเปนกลองโปรอยาง Canon EOS-1D หรือ Nikon D1x จะถือวาเปนจุดเดน เอามาคุยไวใน โบรชัวรกันเลยครับ ทั้งสองรุนนี้การตอบสนองตั้งแตเปดสวิตซ กลองแลวพรอมที่จะกดชัตเตอรถายภาพ ไดใชเวลาไมถึง 1 วินาที เกือบจะเทากับกลองออโตโฟกัส 35 มม. ที่ใชฟลม ทีเดียว (เร็วกวากลองคอมแพค 35 มม.) ทําใหไมคอยรูสึกวาใชกลองดิจิตอลหรือใชฟล ม 8. Buffer ยิ่งมากยิ่งดี การที่มีบัฟเฟอรหรือหนวยความจําในตัวกลองมาก ๆ จะชวยให การถายภาพเปนไปอยางตอเนื่องรวดเร็ว กลาวคือ หลังจากที่เรากดชัตเตอรถายภาพไปแลว ขอมูลภาพ ที่ผานอิมเมจโปรเซสซิ่งจะถูกพักเก็บไวกอนดวยบัฟเฟอรกอนที่จะบันทึกลงในการดตอไป (ขณะ


198 บันทึกมักใชไฟสีเขียวหรือสีแดงกระพริบเตือนใหทราบ) วิธีนี้ทําใหเราถายภาพตอไปไดเลย ไมตอ ง รอบันทึกลงการดใหเสร็จเสียกอน ถาบัฟเฟอรเยอะก็จะถายตอเนื่อง ไดเร็วและไดหลาย ๆ ภาพ ติดตอกัน เชน สเปคกลองระบุวาถายภาพตอเนื่องไดเร็ว 3 ภาพตอวินาที ติดตอกันรวดเดียว 10 ภาพ หมายถึงวาถาครบ 10 ภาพ จะกดชัตเตอรตอไมได เพราะบัฟเฟอรเต็มแลว ตองรอใหบันทึกลงการด กอน เมื่อมีที่วา เหลือพอก็จะถายภาพตอไดอีก โดยไมตองรอใหเก็บภาพลงการดกอนครบทั้ง 10 ภาพ กอน ในกลอง Nikon D1x และ Canon EOS-1D มีบัฟเฟอรอยางเหลือเฟอ เมื่อกดชัตเตอรไปแลว สามารถเปดดูภาพซูมขยายดูสวนตาง ๆ ของภาพหรือลบภาพทิ้งไดทนั ที แทบไมตอ งรออะไรเลย แต ในบางยีห่ องอาจตองรอนานเปนนาทีกวาจะเปดดูภาพได 9. ไฟลฟอรแมท RAW กลองระดับไฮเอนดที่มีความละเอียดสูง จะมีฟอรแมทที่เรียกวา RAW ใหเลือกนอกเหนือจาก JPEG หรือ TIFF ทั้งนี้เพราะในฟอรแมท RAW จะเก็บขอมูลความลึก ของสีไดดีกวา เชน Nikon D1x ฟอรแมท RAW จะได 12 บิต/สี แตถาเปน JPEG จะเหลือ 8 บิต/สี เปนตน และยังมีไฟลขนาดเล็กกวาฟอรแมท TIFF โดยที่คุณภาพไมไดลดลงเหมือนกัน แตการเปดชม ภาพตองใชกับซอพทแวรที่มาพรอมกับกลองเทานั้น ไมสามารถเปดจากโปรแกรม Adope Photoshop

หรือโปรแกรมตกแตงภาพอื่น ๆ นอกจากนี้ภาพในฟอรแมท RAW ยังสามารถปรับแตงหรือแกไข ภาพที่ถายมาไมดีใหดีเหมือนกับการถายภาพใหมอกี ครั้ง เชน การปรับภาพใหสวางหรือมืดลง หรือ การปรับไวทบาลานซ เปนตน


199 10. ไวทบาลานซหรือสมดุลแสงขาว ฟงกชั่นนี้มีในกลองดิจิตอลทุกรุน ซึ่งที่ผานมาเราจะ รูจักไวทบาลานซในกลองวีดีโอซึ่ง ใช CCD รับภาพเชนกัน สวนใหญจะมี ระบบปรับไวทบาลานซ อัตโนมัติ ทําใหภาพถายมีสีสันถูกตอง ไมวาจะ ถายภาพกลางแจงหรือสภาพแสงอื่น ๆ ที่มีอุณหภูมิ สีแตกตางกัน ถาเปนกลองใชฟลมซึ่งสมดุลกับแสง กลางวันที่มีอณ ุ หภูมิสี 5000 – 5500 องศาเคลวินจะ ไดภาพที่มีสีถูกตองเมื่อถายภาพดวยแสงกลางวัน หรือแสงแฟลช เทานั้น ถาอยูในที่รมอุณหภูมิสีจะ สูงภาพจะมีโทนสีฟา หรือชวงเย็นอุณหภูมิต่ําภาพจะมีโทนสีสมแดง แตกลองดิจติ อลจะใหสีถกู ตอง เสมอ และยังมีระบบ Preset ใหปรับตั้งตามสภาพแสงแบบตาง ๆ อีก แตละรุนเลือกไดไมเทากัน เชน แสงดวงอาทิตย แสงในที่รม แสงจากไฟฟลูออเรสเซนทในอาคาร แสงไฟทังสเตน เปนตน กลองบาง รุนมีระบบถายภาพครอมไวทบาลานซ โดยจะถายภาพ 3 หรือ 5 ภาพติดตอกัน แตละภาพมีการ ปรับเปลี่ยนอุณหภูมิสีที่แตกตางกัน จากนั้นเลือกเก็บไวเฉพาะภาพที่มีโทนสีถูกตองสมจริงมากที่สุด หรือจะปรับแกอุณหภูมิสีดว ยซอพแวรที่แถมมาพรอมกับกลองก็ได 11. กลองคอมแพคดิจิตอลรุน เล็ก ราคาประหยัด จะใชเลนสเดี่ยว ซูมไมได เชน 35 มม. ดีขึ้นมาหนอยจะซูมได 2-3 เทา เชน 35-70 มม. หรือ 35-105 มม.เปนตน ตัวเลขนีเ้ ปนการเทียบกับ กลองใชฟลม 35 มม. แตถาดูที่ตัวเลนสจริง ๆ จะระบุตัวเลขนอยกวามาก ทั้งนี้เพราะ CCD ขนาดเล็ก กวาฟลมมากนั้นเอง เชน Minolta Dimage 7 เลนส 7.2-50.8 มม. เทียบเทากับ 28-200 มม. ถาเปนเลนส ซูมที่เริ่มตนดวยมุมกวางมากกวา จะ ใชประโยชนในที่แคบ ๆ ไดดกี วา เชน เริ่มที่ 28 มม. หรือ 30 มม.

12. ดิจิตอลซูม ลูกเลนที่มีก็ดีไมมีก็ไมเปนไร เวลาดูโฆษณากลองดิจติ อลวา ซูมไดมาก นอยแคไหน ใหดูที่ Optical Zoom ซึ่งจะบอกไวในสเปค เชน 3 x ก็คือ 3 เทา นับจากเลนสชวงกวาง สุด เชน 30-90 มม. และบอกตอวามีดิจิตอลซูม 2 x รวมแลวซูมได 6 x คือ 30-180 มม. แตในความเปน


200 จริงชวงซูมที่ดจิ ิตอลสูงสุด180 มม. นั้น ขนาดภาพจะเล็กลงดวย เชน ความละเอียด 3 ลานพิกเซล ถา ซูมที่ดิจิตอลจะเหลือแค 1.5 ลานพิกเซล เปนตน ไมใชวา ซูมไดมาก ๆ โดยที่ความละเอียดเทาเดิมหาก คุณใช Optical ซูม 3 เทา ถายภาพที่ 3 ลานพิกเซล แลวเอารูปมาครอปหรือตัดสวนใหเหลือ 1.5 ลาน พิกเซล เทากับวารูปนั้นถูกถายดวยเลนสซูม 6 เทา เชนกัน แตถาใชดิจิตอลตั้งแตแรกก็จะสะดวกขึ้น บางตรงที่ไมตองมาตัดสวนภาพทีหลัง และกลองดิจิตอลเมื่อใชดิจิตอลซูม คุณภาพจะไมลดลง (ลดแต ขนาดภาพ) ตางกับกลองวีดโี อ ยิ่งซูมดิจิตอลมากเทาไหรก็หยาบมากขึน้ เพราะเอาภาพที่มีอยูแลวมา ขยายใหญนั่นเอง

13. จอมอนิเตอร อยากจะเรียกวาอุปกรณเปลืองแบตเตอรี่ เพราะสวนนี้ใชพลังงานจาก แบตเตอรี่มาก ขนาดไมไดใชเปดจอทิ้งไวไมนาน แบตเตอรี่ที่ซื้อมาใหมหรือชารจมาเต็ม ๆ ก็หมดลง อยางรวดเร็ว กลองดิจิตอลที่ดีควรจะปรับความสวางไดและแสดงสีไดถูกตองตามธรรมชาติ ซึ่งจะชวย ใหการจัดการสีกับคอมพิวเตอร และเครื่องพิมพภาพสีเปนไปอยางราบรื่นถูกตองตรงกันมากทีส่ ุด จอมอนิเตอรทใี่ หสีผิดเพีย้ น(แมวาภาพจะใหสีถูกตองเมื่อเปดจากคอมพิวเตอร) จะดูแลวชวนหงุดหงิด คิดวารูปจะออกมาเพี้ยนตามจอ


201 อยาลืมดูสเปคดวยวามีฟงกชนั่ ซูมภาพที่ถายไปแลวหรือไม และซูมขยายภาพไดมากนอย แคไหน ยิ่งมากยิ่งดี ถาไดถึง 100 % จะดีที่สุด เพราะเห็นภาพไดเต็ม ๆ วา แตละจุดคมชัดแคไหน ระยะชัดลึกครอบคลุมหมดหรือเปลา ถาไมดีจะไดถายใหม กลองบางรุน เชน SONY DSC –F707 ออกแบบใหพลิกตัวกลองกับ เลนสได ทําใหสะดวกในการ ถายภาพมุมสูงหรือมุมต่ํา บางรุนพลิกหมุนไดรอบ เชน Canon G2 14. บันทึกเสียงลง ในไฟลภาพได ลูกเลนนี้มี เฉพาะในกลองบางรุนเทานัน้ สวนใหญจะบันทึกไดนาน 5-15 วินาที ซึ่งก็พอเพียงกับ การเตือนความทรงจําตาง ๆ สามารถเปดฟงก็ไดเมื่อใช โหมดเปดชมภาพจาก จอมอนิเตอรหรือ คอมพิวเตอร 15. Optical Viewfinderในเมื่อการดูภาพจากจอมอนิเตอรสิ้นเปลืองแบตเตอรี่มาก เราก็ ควรมาดูภาพจากจอแบบออฟติคัลแทน เพราะใชพลังงานเพียงเล็กนอยเทานั้นจากการซูมใหสัมพันธ กับทางยาวโฟกัสของ เลนส แตกลองบางรุนไมมี ชองมองภาพแบบนี้มาให จึง ควรดูสเปคใหดีดวย ขอเสีย ของชองมองภาพออฟติคัล คือไมไดมองภาพผานเลนส เวลาถายภาพใกลจะเกิดการ เหลี่ยมล้ํากันตองดูภาพ


202 ดานบนไมใหเกินเสนขีดทีแ่ สดงไว ถาตองถายภาพใกลก็อาจใชวธิ ีดูภาพจากจอมอนิเตอรแทนจะ ดีกวาแตกลองบางรุนจอมอนิเตอรมีไวเพือ่ ดูภาพที่ถายไปแลวกับดูเมนูตาง ๆ เทานัน้ 16. วีดีโอคลิป กลองถายภาพนิ่งดิจิตอลบางรุนถายภาพเคลื่อนไหวไดดว ยรูปคลายกับ กลองวีดีโอ แตสวนใหญมีภาพขนาดเล็กมาก เชน 320 X 240 พิกเซล แตบางรุน เชน Fuji FinePix S602ถายวีดีโอไดขนาด 640 x 480 เทากับกลอง วีดีโอทั่วไป บางรุนถายภาพเคลื่อนไหวอยางเดียว แตบางรุนบันทึกเสียงไดดวย ฟอรแมทภาพมีทั้ง แบบ MPEG และ Quick Timeโดยถายภาพที่ ความเร็ว 10-15 ภาพ/วินาที ขนาดไฟลเล็กมาก เหมาะสําหรับใชสงภาพไปทางอีเมล กลองรุนใหม ๆ มีฟอรแมท MPEG ถายวีดีโอคลิปไดนานไม จํากัดเวลา วีดีโอคลิปในกลองดิจิตอลมักมีขนาดเล็ก หากมีขนาด 640 x 480 พิกเซล ความเร็ว 30 เฟรม/วินาที จะเทากับกลองวีดีโอทั่วไป แตไฟลจะมีขนาดใหญมาก ถาใชเพื่อสงอีเมลขนาด 320 x 240 พิกเซลหรือเล็กกวาจะทําใหสงไดเร็วขึ้น 17. ระบบโฟกัส กลองดิจิตอลเกือบทุกรุนเปนระบบออโตโฟกัส ทํางานไดรวดเร็วไม แตกตางกันมากนัก บางรุนมีจุดโฟกัสเฉพาะตรงกลางภาพแตบางรุนมี 3 หรือ 5 จุด กระจายอยูทวั่ ทั้ง ภาพ ไมวาตัวแบบ หรือสิ่งที่ตองการจะอยูในตําแหนงใด ก็จะปรับโฟกัสไดอยางแมนยํา โดยกลองจะ เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัติ หรือเลือกเองก็ได แตบางครั้งเราจําเปนตองใชระบบแมนนวลโฟกัส เพื่อผล พิเศษบางอยางระบบแมนนวล โฟกัสมักจะใหเลือกตัวเลขระบุ ระยะโฟกัสเอง ซึ่งผิดพลาดไดงาย กลองบางรุนมีวงแหวนหมุนปรับ โฟกัสจะแมนยํากวาคลายกับกลอง SLR นอกจากนี้มีโหมดอินฟนิตี้ (สัญลักษณรูปภูเขา)สําหรับการ ถายภาพสิ่งที่อยูระยะไกล กลองจะ ถายภาพไดเร็วขึ้นเพราะไมตอ งปรับ หาโฟกัสอีกและควรพิจารณาดู โหมดถายภาพมาโครดวยวามีหรือไม


203 แมวากลองบางรุนจะระบุวาถายไดใกลสุดเพียงไมกี่เซนติเมตร แตเปนการถายภาพที่ชวงซูมมุมกวาง (เหมือนกลองวีดีโอ) ซึ่งใชประโยชนไดไมดีเทากับมาโครที่ชวงเทเล ลองซูมเลนสที่ชวงเทเลดูแลว ถายภาพใกล ๆ ดูวาไดมากนอยแคไหน 18. ระบบแฟลช กลองคอมแพคดิจิตอลสวนใหญมีแฟลชขนาดเล็กในตัว ทํางาน อัตโนมัติเมื่อแสงนอยเกินไป และมีระบบแฟลชกับความเร็วชัตเตอรตาํ่ ทําใหการใชแฟลชถายภาพ เวลากลางคืนฉากหลังไมดําทึบ หรือระบบสัมพันธแฟลชที่มานชัตเตอรที่สองเพื่อการใชเทคนิคพิเศษ ถายภาพเคลื่อนไหว ระบบแฟลชแกตาแดงเมื่อใชถายภาพคนในระยะใกลแบบตรง ๆ แตจะดีมากถา สามารถใชแฟลชภายนอกได ซึ่งกลองบางรุนจากผูผลิตกลองใชฟลม เชน Canon Minolta และ Nikon มีฮอทชูเสียบแฟลชมาดวย สําหรับนําแฟลชของกลอง 35 มม. มาใช เปนการเสริมประสิทธิภาพของ กลองใหสูงมากยิ่งขึ้น

และเกิด Noise แตบางรุนใชแฟลชภายนอกไดเหมือนกลอ35 มม. ทําใหใชงานไดไกลและใหภาพที่มีคุณภาพดีกวา


204 19. ระบบบันทึกภาพ สําหรับฟงกชั่นการถายภาพจะไมแตกตางกับกลองใชฟลมมากนัก สวนใหญมี ระบบโปรแกรมอัตโนมัติเปนหลัก โดยกลองจะเลือกคาความเร็วชัตเตอร และรูรับแสงที่เหมาะสม ถา แสงนอยก็จะปรับความ ไวแสงใหสูงขึ้น(เลือก โหมดความไวแสงที่ออ โต) ทําใหใชงานงาย ถา หากคุณมีความรูเรื่อง เทคนิคการถายภาพ ก็ อาจใชโหมดออโตชัต เตอร ออโตรูรับแสง หรือแมนนวล และใน ระบบอัตโนมัติยังมี ฟงกชั่นปรับชดเชยแสง กรณีที่ตองถายภาพยอน แสงหรือภาพที่มีฉากหลังมืดทึบ เพื่อใหไดภาพที่มแี สงพอดี นอกจากนี้ยังมี ระบบถายภาพครอม โดย กลองจะถายภาพตอเนื่อง 3 หรือ 5 ภาพ ในแตละภาพมีคาแสงที่แตกตางกันตามที่กาํ หนดไว บางรุนมี ระบบถายภาพซอนดวยเพื่อสรางสรรคภาพพิเศษบางอยาง 20. ความไวแสงหรือ ISO กลองดิจิตอลมีขอไดเปรียบกลองใชฟลม อยางมากในเรือ่ งของการปรับตั้งคาความ ไวแสงฟลม หากเปนกลองคอมแพค ดิจิตอลที่มีราคาถูกอาจจะมีคาความไวแสง คงที่ เชน ISO 100 อยางไรก็ตามกลอง ดิจิตอลเกือบทัง้ หมด จะปรับเปลี่ยนคา ความไวแสงได เชน ISO 100 - 800 เปน ตนโดยมีทั้งระบบออโต เมื่อถายภาพใน สภาพแสงนอย กลองจะเพิ่มความไวแสง ใหสูงขึ้น ทําใหถายภาพไดโดยไมตองใช ขาตั้งกลอง แตความไวแสงที่สูงจะมีการ เหลื่อมล้ําของสีหรือ Noise เพิ่มมากขึ้น


205 ตามลําดับ บางรุนมีฟงกชนั่ ลด Noise เรียกวา Noise Redution หรือจะเลือกปรับตั้งคาความไวแสง เองแบบแมนนวลก็ได 21. แบตเตอรี่ กลองถายภาพดิจิตอล ตองการพลังงานมากกวากลองใชฟลมหลายเทา เพราะระบบการทํางานเปนแบอิเล็กทรอนิกส ควบคุมดวยคอมพิวเตอร และยังมีจอมอนิเตอรที่ใชดู และเปดชมภาพ ซึ่งกินไฟมากทีเดียว สําหรับผูใชที่ไมคุนเคยอาจจะแปลกใจเมื่อใชแบตเตอรี่ใหม แต ถายภาพไดไมกี่สิบภาพแบตเตอรี่ก็หมดแลว หากกลองระบุใหใชแบตเตอรี่แบบ AA ซึ่งใชไดทั้ง อัลคาไลนและลิเธี่ยม ขอแนะนําใหเปลี่ยนไปใชแบตเตอรี่ชารจแบบ Ni-MH จะใชงานไดนานกวา และควรเลือกชนิดที่มีกําลังไฟสูง เชน 1,800 หรือ 2,000 มิลลิแอมป โดยทั่วไปแบตเตอรี่ชนิดนี้จะ ชารจไฟใหมได 500 – 1000 ครั้ง ทําใหประหยัดกวา สวนกลองที่ใชแบตเตอรี่แพคแบบ Li-MH หรือ Li-ion ที่ แ ถมมา พรอมกลองจะใชงาน ได ดี อ ยู แ ล ว แต ค วร ซื้ อ แบตเตอรี่ สํ า รอง เพิ่มอีกอยางนอยหนึ่ง ก อ น เพราะในกรณี ฉุ ก เฉิ น จะเปลี่ ย นไป ใชแบตเตอรี่ธรรมดา ทั่ ว ๆ ไ ป ไ ม ไ ด เหมือนกับกลองที่ใช แบตเตอรี่ AA

เรื่องนารูการใชกลองดิจิตอล กลองดิจิตอลแมจะมีหลักการทํางานคลายกับกลองใชฟลมคือ แสงผานเลนส ผานรูรับ แสง และมานชัตเตอร ไปตกกระทบกับเซ็นเซอรภาพ (ซึ่งสวนใหญนยิ มใช CCD ) กอนกดชัตเตอรก กลองจะปรับโฟกัสและวัดแสง หรือจะปรับตั้งเองก็ได เพื่อใหเกิดผลตามที่ตองการ แตดวยความที่ เปนดิจิตอลทําใหปรับแตงฟงกชั่นหรือลูกเลนตาง ๆ ไดมากมายอยางที่ไมเคยมีมากอนในกลองใช ฟลม จึงตองเรียนรูเพิ่มเติมและทําความเขาใจใหดี จึงจะใชกลองดิจิตอลไดอยางคุมคาเต็ม ประสิทธิภาพและไดประโยชนสูงสุด


206 1. ปดสวิทซทุกครั้งที่ไมไดใชงาน กลองดิจิตอลมีระบบการทํางานแบบอิเล็กทรอนิกส ควบคุมดวยคอมพิวเตอรทั้งหมด ทําใหสิ้นเปลือง แบตเตอรี่มากควรปดสวิทซทุกครั้งที่เลิกใชงาน จะชวย ใหคุณถายภาพไดมากขึน้ โดยไมตองเปลี่ยนแบตเตอรี่ บอย ๆ หากมีฟงกชั่น Auto off ใหตั้งเวลาปด อัตโนมัติเมื่อไมไดใชงาน 30 หรือ 60 วินาที 2. ใชแบตเตอรี่ชารจดีกวา กลองดิจิตอล หลายรุนใชแบตเตอรี่แบบ AA อัลคาไลน โดยแถมมาใหดวย 3 หรือ 4 กอน แตคุณอาจตกใจเมื่อใส แบตเตอรี่ใหมเขาไป กดชัตเตอรถายไป 20-30 ภาพโดยเปดดูภาพจากจอมอนิเตอรและใชแฟลช ถายภาพ แบตเตอรี่ก็หมดเสียแลว ขอ แนะนําใหเปลี่ยนไปใชแบตเตอรี่แบบ นิ เกิล-เมทัลไฮไดร (NIMH)ซึ่งชารจไฟเพิ่ม ได ราคากอนละ 100-250 บาทเลือกแบบ ที่ใหกําลังไฟ 1500-2000 มิลลิแอมป จะ ถายภาพไดนานขึ้น ถาหมดก็ชารจใหม ซื้อเผื่อไวสัก 2-3 ชุด ก็จะดีสวนกลองที่ แถมแบตเตอรี่ NIMH หรือ Li-ion มาใหอยูแลว อาจซื้อเพิ่มอีกสักหนึ่งชุดเผื่อฉุกเฉิน 3. ดูภาพในชองมองออฟติคัลในกลองใชฟลมแบบ SLR หรือ คอมแพค เราจะมองภาพ จากชองมอง ซึ่งกลองดิจิตอลก็มีเชนกัน เรียกวาชองมองภาพออฟติคลั ออกแบบใหสัมพันธกับทาง ยาวโฟกัสของเลนสทุกชวงซูม และยังดู ภาพจากจอมอนิเตอรแบบ LCD ทาง ดานหลังไดดวย ทําใหผูใชนิยมดูภาพจาก จอมอนิเตอรแทน แตวธิ ีนี้แบตเตอรี่จะ หมดเร็วมาก ควรใชเฉพาะเทาที่จําเปนเชน การถายภาพมาโครระยะใกล ๆ ซึ่งจะให มุมภาพที่ถูกตองตามความเปนจริง ถา ถายภาพไกล ๆ ซัก 5 เมตรขึ้นไป ใหดูจาก ชองมองภาพแบบออฟติคัลแทน 4. เปลี่ยนไปใชการดความจุสูงการดจัดเก็บภาพมีหลายแบบ เชน CF Microdrive SmartMedia Memorystick SD MMD เปนตน ปจจุบนั มีความจุสูง และราคาที่ลดลง เชน CF ความจุ


207 128 MB หาซื้อไดในราคาเพียง 3,000-4,000 บาทเทานัน้ ปจจุบนั การด CF มีจําหนายในขนาด 1024 MB แลว หรือการด Microdrive (ใชแทนการด CF Type IIไดในบางยี่หอ)ความจุ 340,500และ1024 ก็นาสนใจเพราะเทียบขนาดขนาดความ จุแลวถูกกวามากทีเดียว แตเปนการด แบบฮารดดิสก ตองระวังอยาใหตก หลนจะเสียหายไดงาย เมื่อการดมีความ จุสูง ก็จะชวยใหถายภาพไดมากขึ้น ใน บางครั้งเมื่อไมแนใจเรื่องสภาพแสง อาจถายภาพครอมเผื่อไวหลาย ๆ ภาพ แลวคอยมาเลือกภาพทีด่ ีที่สุดภายหลัง

5. อยาใสการดขณะเปดสวิตซกลอง เพื่อลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได ไมควรใส การดขณะที่สวิตซกลองถูกเปดอยู และควรใส การดดวยความระมัดระวัง ใหใสการดเขาไปตรง ๆ ในดานที่ระบุไวในคูมือ หากใสผิดดานจะใส ไมไดอยาไปฝนโดยเด็ดขาด หากจะใหผูอื่นยืมไป ใชควรอธิบายใหเขาใจดวยทุกครั้ง 6.ใชแฟลชภายนอก กลองบางรุนสามารถใช แฟลชภายนอกได โดยเสียบเขากับฮอทชูหรือสายซิงค แฟลช วิธีนี้ทาํ ใหไดภาพทีด่ ขี ึ้นและใชงานไดไกลกวาแฟลช ขนาดเล็กที่ติดอยูบนตัวกลอง การใชแฟลชที่มีกําลังไฟสูง ภายนอกทําใหใชรูรับแสงแคบได สงผลใหภาพมีระยะชัด ลึกมากขึ้น และประหยัดแบตเตอรี่ที่ตัวกลองเพราะไมตอง ใชแฟลชที่มีอยูในตัว 7. ล็อคภาพสําคัญเอาไว กลองบางรุน มีฟงกชั่นล็อคภาพ ปองกันการลบโดยไมตั้งใจ เพราะสวนใหญเนนใหลบภาพทิ้งไดงาย ๆ เพื่อ ถายภาพใหมตอไป ทําใหเผลอลบภาพสําคัญทิ้งไป


208 ดังนั้นหลังจากถายภาพจนไดภาพทีพ่ อใจแลวควรกดปุม ล็อคภาพทุกครั้ง 8. จัดเก็บภาพดวยซีดีรอม หลังจากถายภาพจนการดเต็มแลว เรามักถายโอนภาพทั้งหมด ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร ซึง่ ภาพจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ แมวาฮารดดิสกของคุณจะมีมากแคไหน แตถา เกิดปญหาเสียขึ้นมา ภาพทีค่ ุณอุตสาหถายมาทั้งหมดก็จะสูญหายไปทันที เพื่อความปลอดภัย ควร บันทึกภาพลงแผนซีด-ี รอม ซึ่งมีความจุ 650-700 MB ตอแผน ราคา 20-30 บาท เทานั้น ควรเลือกแผนซีดที ี่มีคุณภาพเชน KODAK FUJIFILM หรือ SONY ซึ่งมี ความคงทนเก็บรักษาไดยาวนานหลายสิบ ป สวนเครื่องเขียนแผนซีดีราคาลดลงมาก ประมาณ 4,000 บาทขึ้นไป และควรเขียน แผนซีดีไวสองแผน เก็บรักษาไวโดยไม นํามาใชงานหนึ่งแผน อีกแผนสําหรับการ ใชงานทั่ว ๆ ไปถาแผนซีดีเสียหายหรือสูญ หายยังมีตน ฉบับอีกแผน นํามากอปปเพือ่ ใชงานไดอกี 9. ซูมขยายภาพดูความคมชัดฟงกชั่นดิจิตอลที่ผมใชบอยคือ หลังจากถายภาพไปแลว ให กดปุมซูมขยายภาพขึน้ มาดู โดยซูมใหมากที่สุดจากนัน้ เลื่อนดูสวนตาง ๆ ของภาพวาคมชัดเพียงพอ หรือไม บางครั้งการถายภาพดวยชวงซูมเทเล แลวเปดรูรับแสงกวาง ระยะชัดลึกจะนอยมากทําให ความคมชัดมีเฉพาะ บางสวนเทานัน้ หาก เปนกลองใชฟล ม ตองรอหลังจากลาง ฟลมแลว ถึงจะรูวา ภาพที่ไดมีความ คมชัดดีมากนอยแค ไหน นอกจากนี้ใน กรณีที่ถายภาพดวย ความเร็วชัตเตอรต่ํา แลวไมมั่นใจวาภาพจะคมชัดเพียงพอ สามารถซูมขยายภาพขึ้นมาดูไดเชนกัน


209 10. ปรับความสวางของจอมอนิเตอร หาก คุณถายภาพโดยวัดแสงใหพอดีแลวพบวาภาพที่ปรากฏ ในจอมอนิเตอรมืดเกินไปหรืออันเดอร อยาเพิ่งโทษวา ระบบวัดแสงผิดพลาด ลองโหลดภาพเขาสู คอมพิวเตอรแลวเปดภาพนัน้ ดู ขอแนะนําใหใชซอพ แวรเปดภาพทีแ่ ถมมาพรอมกลอง ถาพบวาภาพสวาง พอดี แสดงวาจอมอนิเตอรมดื เกินไป ใหเลือกเมนูปรับ เพิ่มความสวางจนเทากับที่ปรากฎบนจอคอมพิวเตอร 11. ใชกราฟฮีตโตแกรม กลองดิจิตอลสวนใหญในปจจุบันมีฟงกชนั่ แสดงกราฟฮีตโต แกรมบนจอมอนิเตอร ทําใหทราบไดทันวาภาพที่ ถายไปแลวมีโทนภาพดีมากนอยแคไหนหากสวน ที่เปนชาโดว(โทนมืด) หรือ สวนที่เปนไฮไลท (โทนสวาง) ไมดีพอสามารถปรับแกไขโทนหรือ คอนทราสทจากฟงกชั่นเมนู แลวถายภาพใหมจน ไดโทนภาพดีที่สุด แมวา จะสามารถปรับแกไข โทนภาพจากซอพแวรตกแตงภาพเชน Adope Photoshop ก็ตาม แตการถายภาพใหมีโทนภาพดี ที่สุด โดยไมตองปรับแตงหรือปรับเพียงเล็กนอย จะใหภาพที่ดกี วา มีรายละเอียดครบถวนตั้งแต สวนสวางที่สดุ จนถึงมืดที่สดุ 12. เลือกใชฟอรแมท RAW หรือ TIFF กลองดิจิตอลมักมีฟอรแมทภาพใหเลือกใช 2 อยาง คือ JPEG เปนการบีบอัดภาพใหมีขนาดไฟลเล็กลง เพื่อประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บภาพ มี ขอเสียคือคุณภาพลดลง การไลเฉดสีไมดีพอ เพราะแสดงสีไดเพียง 24 บิต หากตองการภาพคุณภาพ สูงสุด ควรเลือกฟอรแมท RAW หรือ TIFF ซึ่งจะไมมีการบีบอัดขอมูล อีกทั้งการดจัดเก็บภาพใน ปจจุบันมีความจุสูง และราคาที่ลดลงตามลําดับ ใน อนาคตอาจไมมีความจําเปนตองใชฟอรแมท JPEG อีกตอไปและฟอรแมท RAW ยังสามารถ บันทึกภาพใหแสดงสีได 12 บิต/สีหรือ 36 บิต (RGB) การไลเฉดสีจึงดีเยี่ยม ไดภาพที่ดูเปน ธรรมชาติเชน เดียวกับการใชฟลม


210

การดูแลรักษากลองดิจิตอล กลองดิจิตอลมีระบบการทํางานที่ควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกสเกือบทั้งหมดแมวาจะมีการ ผลิตอยางประณีต เลือกใชวัสดุที่มีความแข็งแรงและมีความทนทาน ผานการทดสอบทั้งใน หองปฏิบัติการและภาคสนามในอุณหภูมทิ ี่แตกตางกันเปนจํานวนนับพันนับหมืน่ ครั้ง แตก็มีความ จําเปนที่จะตองมีการดูแลรักษาใหถูกตองเพื่อใหกลองถายภาพอยูในสภาพที่ดีที่สุด เพื่อการใชงานที่ ยาวนานคุมคากับเงินที่เราตองจายไป การเก็บรักษาและการทําความสะอาดจึงเปนสิ่งจําเปนทีค่ วรจะตองเรียนรูไวบาง นอกเหนือจากการใชงานถายภาพทัว่ ๆ ไป


211

การเก็บรักษากลอง ในเมืองไทยของเรามีความชื้น คอนขางสูง หากเก็บรักษากลองไมดีพอ อาจทํา ใหเกิดราที่ชิ้นเลนสได ควรเก็บไวในกระเปา กลองแลวใสสารกันขึ้นไวขางใน(หาซื้อไดจาก รานจําหนายกลองถายภาพทัว่ ไป) หรือจะเก็บไว ในกลองพลาสติกที่มีฝาปดมิดชิดก็ไดเชนกัน แตถามีงบพอควรซื้อตูกันขึน้ มาใช มีตั้งแตขนาด เล็กจนถึงขนาดใหญ ภายในปรับควบคุม ความชื้นสัมพัทธใหคงที่อตั โนมัติ ไมตองกังวล วาเลนสจะขึน้ ราอีกตอไป และกินไฟนอยมาก ไมเปนการสิ้นเปลือง หากเทียบกับความเสียหาย ที่อาจเกิดขึ้นได และยังเก็บอุปกรณอื่น ๆ เชน เลนสคอนเวอรเตอร ฟลเตอรแฟลช ฯ ขอควรระวังอยางยิ่งคือ ไมควร เก็บกลองและอุปกรณไวในตูเสื้อผาหรือตูไม เพราะ ตูเหลานี้จะมีความชืน้ สูงกวาอากาศดาน นอกมาก อาจสรางความเสียหายกับกลองได สําหรับกลองถายภาพที่มิไดถูกนํามาใชงานบอย ๆ หรือ นาน ๆ ใชงานสักครั้งหนึ่ง มีวิธีการเก็บ รักษาแตกตางไปจากกลองทีถ่ ูกใชงานประจํา เชน ควรถอดแบตเตอรี่ออกจากตัวกลอง. และ ยายที่เก็บกลองเพื่อใหอณ ุ หภูมิและความชืน้ แตกตางกัน (ยกเวนมีตกู ันชืน้ ) เพราะความชื้น และอุณหภูมิทเี่ ปลี่ยนแปลง ไมคงที่ จะทําใหรา ไมสามารถเกิดขึ้นได


212

การทําความสะอาดกลอง กลองและเลนสเมื่อนําออกไปใชงานเสร็จเรียบรอยแลวควรทําความสะอาดทันที กอน เก็บเขาตูเก็บ แมวาทั้งกลองและเลนสจะผานการเคลือบผิวหรือแอนโนไดซมาอยางดีก็ตาม แตถา ปลอยใหคราบเหงื่อหรือรอยนิ้วมือซึ่งมีความเค็มจับอยูนาน ๆ จะทําใหดูโทรมเร็ว นอกจากนี้เศษผง ขนาดเล็กและฝุนละอองที่จบั ตาตามซอกมุมของตัวกลองและเลนส เมื่อสะสมไวนาน ๆ จะทําให ระบบการทํางานเกิดการชํารุดเสียหายได จึงควรทําความสะอาดทุกครั้งภายหลังที่นําไปใชงาน


213


214

บทที่ 8 ระบบควบคุมการทํางานของกลอง กลองถายภาพดิจิตอลมีหลักการทํางานสวนใหญคลายกับกลองที่ตองใชฟลม กอนที่จะกด ชัตเตอรถายภาพตองมีการปรับโฟกัส วัดแสง ปรับความเร็วชัตเตอรและรูรับแสงที่เหมาะสมทําใหได ภาพที่คมชัดและคาแสงถูกตองพอดี หากเปนกลองสําหรับชางภาพที่จริงจังหรือ Serious Photographer ไปจนถึงชางภาพมืออาชีพ กลองในระดับไฮเอนด ดูจะเหมาะที่สุดเพราะชางภาพ สามารถควบคุมกลองดวยระบบการทํางานตาง ๆ ที่เพียบพรอมไมตางกับกลองที่ใชฟลมซึ่งสามารถ ควบคุมเรื่องของแสงและความเคลื่อนไหวของวัตถุในภาพใหเปนไปตามที่ตองการได ทั้งนีก้ ลอง ดิจิตอลทั้งหมดไมวาจะเปนแบบใด จะมีระบบอัตโนมัติมาให ซึ่งกลองจะควบคุมระบบบันทึกภาพ ทั้งหมดตั้งแตการโฟกัสและปรับคาตัวเลือกตาง ๆ ตามสภาพแสงบและสถานการณที่กําลังถายภาพ เพื่อใหไดภาพดีที่สุดในเวลาอันรวดเร็ว นอกเหนือจากระบบบันทึกภาพที่เหมือนกับกลองใชฟลมทั่วไปแลว กลองดิจิตอลยังมี ฟงกชั่นควบคุมการทํางานอืน่ ๆ อีก ซึ่งผูใชจําเปนตองเรียนรูและทําความเขาใจใหดเี สียกอน จึงจะใช งานไดอยางมีประสิทธิภาพ ตอไปนี้จะเปนเรื่องราวของระบบการควบคุมกลองทั้งหมดที่มีอยูในกลอง ดิจิตอลทั่วๆ ไป เริ่มจากการเลือกระดับคุณภาพและขนาดภาพา ความเร็วซัตเตอรสําหรับควบคุมแสง และการเคลื่อนไหว รูรับแสงกับระยะชัดลึก ความสัมพันธของความเร็วซัตเตอรและรูรับแสงและ สุดทายคือเรื่องของโหมดการบันทึกภาพแบบตาง ๆ


215

Image Quality and Size กลองดิจิตอลจะใหภาพที่มีความละเอียดแตกตางกัน บางรุนความละเอียดต่ําบางรุน ความละเอียดสูง เชน ๓ ลานพิกเซล หรือ ๕ ลานพิกเซล เปนตน ศัพททางคอมพิวเตอรเรียกภาพ ดิจิตอลแตละภาพวา ไฟล ดังนั้นเราอาจเรียกอีกอยางหนึ่งวา ขนาดไฟลภาพ มีหนวยวัดเปนเมกะไบท (MB) อาทิภาพความละเอียด 2 ลานพิกเซล จะมีขนาดไฟลประมาณ 5.7 MB ถาถายภาพหลายๆ ภาพก็จะตองใชพื้นที่ในการดมากขึ้นเชน 10 ภาพตองใช 57 MB หรือ 20 ภาพตองใชมากกวา 100 MB เปนตน แตการดจัดเก็บภาพความจุ 128 MB นั้นราคาสูงประมาณสามพันบาทขึ้นไป ดังนั้นกลอง ดิจิตอลจึงมีการบันทึกไฟลภาพในฟอรมแมทที่มีการบีบอัดขอมูลใหมขี นาดเล็กลง เพื่อเพิ่มเนื้อที่ให จัดเก็บภาพไดมากขึ้น โดยมักเลือกใหฟอรแมท JPEG (อานวา เจ-เพ็ก) ซึ่งเปนฟอรแมทหนึ่งของ การบีบอัดขอมูลที่ไดรับความนิยมมากที่สดุ เพราะขนาดไฟลเล็กลงมาก โดยที่คุณภาพลดลงไมมาก นัก นอกจากนี้ยังเลือกการบอัดแบบ JPEG ไดอีกหลายระดับตามแตชนิดของกลองแตละรุน บางรุน เลือกได 3 ระดับ คือ ต่ํา ปานกลาง และสูง ถาเลือกคุณภาพต่ํา จะเก็บภาพไดมากที่สุดแตคุณภาพ ลดลงไปพอสมควร สําหรับคุณภาพสูงจะใกลเคียงกับภาพที่ไมมกี ารบีบอัดขอมูล แตมีพื้นที่ในการ เก็บภาพไดมากพอสมควร เชน ไฟลภาพ ขนาด 7.5 MB ถาเลือก JPEG คุณภาพสูงสุดจะเหลือ ประมาณ 1 MB เปนตน หากตองการบันทึกเพื่อเปดชมจากโทรทัศนหรือคอมพิวเตอรหรือใชสงภาพ ทางอีเมล ควรเลือกฟอรแมท JPEG ระดับต่ําก็เพียงพอ แตถาจะนําไปอัดขยายหรือพิมพเปนภาพถาย บนกระดาษ รวมทั้งงานสิ่งพิมพตาง ๆ ควรเลือกระดับสูงสุด อยางไรก็ตามกลองระดับไฮเอนดจะมี ฟอรแมท TIFF (อานวาทิฟ) เปนฟอรมแมทที่ไมมีการบีบอัดขอมูลเลย เพือ่ ใหไดภาพถายที่มี คุณภาพสูงสุดเทาที่สเปคของกลองจะทําไดแตตองใชการดจัดเก็บภาพที่มีความจุสูง เชน 360, 500 หรือ 1000 MB ซึ่งอนาคตจะมีการดที่มีความจุสูงเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ


216 นอกจากระดับคุณภาพแลวในกลองดิจิตอลทั่วไปยังใหคณ ุ เลือก ขนาดภาพ หรือ Image Size ไดดว ย เพื่อความเหมาะสมในการนําไปใชงาน อาทิ กลองที่มาความละเอียด 3 ลาน พิกเซล อาจจะเลือกความละเอียดต่ําลง เชน 2 ลานพิกเซล, 1 ลานพิกเซล หรือ, 3 แสนพิกเซล ซึง่ ถา เลือกภาพที่มีขนาดเล็กลงจะทําใหไดภาพจํานวนมากขึ้นดวยเชนกันหากตองการใชภาพเพื่อสงทาง อีเมล การเลือกภาพขนาดเล็กจะเหมาะสมกวา เชน ขนาด 640 X 480 (VGA) ซึ่งจะแสดงภาพไปใช พิมพเปนภาพบนกระดาษก็ตองเลือกขนาดไฟลที่ใหญขนึ้ เชน พิมพภาพขนาด 8 X 10 นิ้ว ควรเลือก ขนาด 3 หรือ 5 ลานพิกเซล เปนตน


217

Shutter Control Light and motion ความเร็วซัตเตอร Shutter Speed คือ สิ่งสําคัญในการควบคุมปริมาณแสงที่ผานเลนสเขา มาและตกกระทบกับเซ็นเซอรภาพเชน CCD หาก ความเร็วชัตเตอร ต่ําแสงจะผานไดมาก ถาความเร็ว ชัตเตอรสูงแสงจะผานไดนอย นอกจากนี้ความเร็วชัตเตอรยังมีผล โดยตรงกับการเคลื่อนไหวของวัตถุ หากวัตถุหรือสิ่ง ที่ถายภาพมีการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่ดวยความเร็ว ก็ตองใชชัตเตอรสูงเพื่อหยุดการเคลื่อนไหว ใน ทํ า นองเดี ย วกั น หากใช ค วามเร็ ว ชั ต เตอร ต่ํ า สิ่ ง ที่ เคลื่อนไหวจะเบลอไมคมชัด ซึ่งเราใชความรูนี้กับ เทคนิคการถายภาพรูปแบบตาง ๆ ไดมากมาย คาความเร็วชัตเตอร มีหนวยวัดเปน วินาที(เริ่มจากความเร็วสูงสุดไปถึงต่ําสุดเชน 1/1000, 1/500, 1/250, 1/125,1/60,1/30,1/15,1/8,1/4, 1/2 และ 1 วินาที กลองบางรุนจะมีชวงความเร็วชัตเตอรที่ กว า งมากกว า นี้ และการแสดงผลให ท ราบจะระบุ จํานวนเต็มเทานั้น เชน 250 หมายถึง 1/250 วินาที ชวงความเร็วชัตเตอรที่หางกันในแตละขั้นเรียกวา 1 สตอป ถาหางกัน 2 ขั้น เชน 1/125 และ 1/30 จะเปน 2 สตอป


218

Aperture and Depth of Field รูรับแสง มีลักษณะเปน แผนบาง ๆ ซอนทับกันอยูภายใตตวั เลนส สามารถปรับใหมีชองแสงผานเขาไปกวาง หรือแคบ ทําใหปริมาณแสงผานไดมาก หรือนอยตามลําดับ การควบคุมปริมาณ แสงนี้จะมีผลโดยตรงกับภาพที่ได หาก แสงผานมากเกินไปภาพก็จะสวางหรือโอ เวอร ถาแสงผานนอยภาพจะมืดหรือ อันเดอร การเลือกใชรูรับแสงจะมี ผลโดยตรงกับระยะชัดลึกของภาพ ตั้งแต สิ่งที่อยูใกลไปจนถึงระยะไกลๆ หากใชรู รับแสงแคบจะทําใหภาพมีระยะชัดลึกมาก และมีความคมชัดสม่ําเสมอทั้งภาพ เชน การถายภาพทิวทัศน นิยมใชรูรับแสงแคบ มากที่สุดเพื่อใหภาพมีระยะชัดลึกสูงตั้งแต ฉากหนาไปจนถึงฉากหลังที่อยูไกล ออกไป แตถาเปนการถายภาพบุคคล นิยม ใชรูรับแสงกวาง ทําใหภาพระยะชัดนอย หากปรับโฟกัสที่ตัวแบบฉากหลังที่อยูห างออกไปจะพน ระยะชัด ดูเปนภาพเบลอ ทําใหคนดูเดนชัด ขึ้น คารูรับแสงมีหนวยวัดเปน f-stop คารูรับแสงที่แตกตางกันในแตละชั้น เรียกวา 1 สตอป โดยแสดงเปนตัวเลขตาง ๆ เชน f/1.4,f/2,f/2.8,f/4,f/5,f/11,f/16,f/22,f/32 เปนตน เลนสของกลองบางตัวอาจจะมีคา รู รับแสงที่กวางหรือแคบกวานี้ (ตัวเลขนี้ เรียงลําดับจากคารูรับแสงกวางสุดไปจนถึง แคบสุด) สําหรบเลนสที่ใชในกลองดิจติ อล ทั่ว ๆ ไป จะมีคารูรับแสงอยูในชวง f/2 ถึง f/16


219

Shutter Speed and Aperture ทั้งความเร็วชัตเตอรและรูรับแสง มีผลโดยตรงกับปริมาณแสงที่จะไปตกกระทบกับ CCD ในการถายภาพเราตองปรับทั้งสองสิ่งนี้ใหสัมพันธกันเสมอ เพื่อใหแสงผานเขาไปในปริมาณที่พอดี ตามสภาพแสงที่ใชถายภาพในขณะนั้น หากปริมาณแสงผานเขาไปมากหรือนอยเกินไป จะทําใหภาพ สวางหรือมืดเกินไป ซึ่งกลองดิจิตอลสวนใหญจะปรับควบคุมการเปดรับแสงใหอตั โนมัติ เพื่อใหภาพ ไดรับแสงที่พอดีทุกภาพ และในบางโหมดผูใชสามารถเลือกปรับเฉพาะความเร็วชัตเตอรหรือรูรับ แสงอยางใดอยาางหนึ่งเพื่อใหไดผลพิเศษเปนไปตามที่ตอ งการ จากนั้นกลองจะปรับอีกอยางให อัตโนมัติ นอกจากนีก้ ารถายภาพในสภาพแสงบางอยาง เชน ภาพยอนแสง หากใชกลองปรับให อัตโนมัติ ตัวแบบหรือวัตถุในภาพจะมืดทึบเกินไป คุณสามารถเลือกปรับชดเชยแสงเพิ่มขึ้น ทําใหตัว แบบดูสวางขึน้ ซึ่ง โปรแกรมควบคุมระบบการทํางานของกลองจะปรับความเร็วชัตเตอรใหต่ําลง เพื่อใหแสงผานไดมากขึน้ หรือปรับรูรับแสงใหกวางขึ้นทําใหแสงผานเขาไปไดมากขึ้นเชนกัน คาแสงของความเร็วชัตเตอรที่แตกตาง 1 สตอป จะเทากับคาของรูรับแสงที่แตกตางกัน 1 สต อป เมื่อปรับเปลี่ยนความเร็วชัตเตอรจะตองปรับเปลี่ยนรูรับแสงตามเสมอ เพื่อใหปริมาณแสงคงเดิม เชนเปลี่ยนจากความเร็วชัตเตอร 1/125 เปน 1/60 วินาที แสงจะเพิม่ 1 สตอป ตองปรับคารูรับแสง ลดลง 1 สตอป เชน จาก f/5.6 เปน f/8 ในการถายภาพทั่วไปเราจะเลือกความเร็วชัตเตอร 1/60 วินาที หรือสูงกวาเปนหลัก เพราะการ ใชความเร็วชัตเตอรต่ําเชน 1/30หรือ 1/15 วินาที ถายภาพโดยใชมือถือ ภาพจะเบลอไมคมชัด ยกเวนวา จะยึดกลองติดกับขาตั้งกลองซึ่งจะชวยใหกลองนิ่ง ไมสั่นไหว


220

Exposure Mode กลองดิจิตอลจํานวนมากมีระบบ บันทึกภาพ หรือโหมดตาง ๆ ใหใชมากกวาหนึ่ง อยาง ในแตละโหมดจะปรับควบคุมทั่งความเร็ว ชัตเตอรและรูรับแสงใหสัมพันธกันและยังมี โหมดพิเศษในการควบคุมระบบการทํางานอื่นๆ อีกหลายอยาง ซึ่งโดยทั่วไปจะเปนแบบอัตโนมัติ เพื่อความสะดวกสบายในการใชงาน


221

นอกจากโหมดตาง ๆ ดังที่ไดกลาวมาแลว กลองดิจติ อลบางรุนยังมีโปรแกรมถายภาพแบบ พิเศษอื่นๆ อีกเพื่อความสะดวกในการใชงาน เชน โปรแกรมถายภาพทิวทัศน(เนนระยะชัดลึกมาก) โปรแกรมถายภาพบุคคล (เนนระยะชัดลึกนอย) โปรแกรมถายภาพกีฬา (เนนความเร็วชัตเตอรสูงเพื่อ หยุดสิ่งเคลื่อนไหว) โปรแกรมถายภาพมาโคร หรือโปรแกรมถายภาพโคลสอัพระยะใกล เปนตนหาก ศึกษาการใชงานในโหมดตางๆ จนครบถวน จะชวยใหการถายภาพรูปแบบตาง ๆ เปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ และไดภาพดีที่สุด


222 การถายภาพใหคมชัด การถายภาพระบบดิจิตอลก็คลายกับการถายภาพดวยฟลม นั่นคือภาพถายที่ไดจะตองคมชัดมี รายละเอียดตาง ๆ ครบถวนสมบรูณ แมวาภาพถายจะไดรับแสงพอดี ไมมืดหรือสวางเกินไป แตถา ปราศจากความคมชัด ภาพนั้นจะหมดคุณคาไปในทันที ทุกครั้งที่กดชัตเตอร สิ่งแรกที่เราตองการคือ ภาพถายที่คมชัดและในตอนนี้จะเปนเรื่องของการควบคุมใหไดภาพถายที่คมชัดสวยงานตามที่ ตองการ ปจจัยที่ทาํ ใหภาพถายคมชัดเรื่องหลัก ๆ 4 อยางดวยกัน คือจุดปรับโฟกัสชัดหากโฟกัสไม ถูกตองภาพก็จะไมคมชัด หรือสิ่งที่ตองการกลางภาพไมคมชัด แตสวนอื่นๆ คมชัด แสดงวาการปรับ โฟกัสผิดพลาด หรือภาพคมชัดเฉพาะจุดใดจุดหนึ่ง แสดงวาระยะชัดลึกชองภาพไมเพียงพอ นอกจากนี้การถือกลองไมนิ่งพอ โดยเฉพาะการใชเลนสเทเลโฟโตเพื่อถายภาพสิ่งที่อยูในระยะไกล ๆ จะทําใหภาพเบลอไมคมชัด รวมทั้งวัตถุทมี่ ีการเคลื่อนไหวก็จะทําใหสิ่งนั้นดูเบลอไมคมชัดเชนกัน สิ่ง ตาง ๆ เหลานี้หากคุณทําความเขาใจใหถองแท และสามารถควบคุมได จะทําใหไดภาพคมชัดในที่สดุ

หยุดการสั่นไหวของกลอง หากคุณไมตองการใหกลองสั่นไหวในระหวางการถายภาพ ซึ่งเปนสาเหตุหลักที่ทําใหภาพ ขาดความคมชัด สิ่งที่ควรปฏิบัติใหเปนนิสยั คือ ถือกลองใหนิ่งมากที่สุด และกดชัตเตอรถายภาพอยาง นุมนวล หากไมมั่นใจใหกลั้นหายใจไวชวั่ ครูระหวางกดชัตเตอร หรือจะยืนพิงสิ่งตาง ๆ เชนกําแพง เสา ตนไม หรืออื่น ๆ โดยเอามือแนบกับลําตัวใหมากทีส่ ุด ยิ่งนิ่งมากเทาใดภาพก็จะคมชัดมากยิ่งขึน้ เทานั้น ขอความจําในการถือกลองถายคือความเร็วชัตเตอรตองไมต่ํากวาเศษหนึ่งสวนทางยาวโฟกัส เลนส เชน ซูมเลนสที่ชวง 60 มม. ก็ควรใชความเร็ว 1/60 วินาทีขึ้นไปยิ่งความเร็วชัตเตอรสูงมาก เทาใด โอกาสที่จะไดภาพคมชัดก็จะมากขึ้นตามลําดับแตตองไมลืมที่จะปรับคารูรับแสงใหสัมพันธ กันดวย หากใชระบบบันทึกภาพแบบอัตโนมัติจะสะดวกกวามาก และถาใชระบบออโตรูรับแสงที่ ตองเลือกคาความเร็วชัตเตอรกอนจากนั้นกลองจะเลือกคารูรับแสงใหอัตโนมัติก็จะไดรับความสะดวก มาก


223 หากจําเปนตองถายภาพในสภาพแสงนอยเชนในรม ในอาคารหรือสภาพแสงตอนกลางคืน ความเร็วชัตเตอรจะต่ํามากเกินกวาทีจ่ ะใชมอื ถือ และเพื่อใหไดภาพที่คมชัดจําเปนตองใชอุปกรณ รองรับที่มั่นคงกวาการถือกลองดวยมือเปลา เชน วางกลองบนโตะหรืออื่น ๆ แตถาใหดีตองใชขาตั้ง กลอง ซึ่งกลองจะอยูนิ่งไมมีการสั่นไหวไมวาจะเปนทิศทางใดและเปนการรับประกันวาภาพถายจะ คมชัดแนนอน นอกจากนี้ยังจัดองคประกอบภาพไดอยางสะดวก ไมวาจะเปนการถายภาพใน แนวนอนหรือแนวตั้ง ทวาบางครั้งความเร็วชัตเตอรต่ํามาก ๆ เชน 1 วินาที แมจะตั้งกลองบนขาตั้งกลองแลวก็ตาม การใชนวิ้ กดปุม ชัตเตอร มีโอกาสที่กลองจะสั่นไหวได และสงผลใหภาพเบลอไมคมชัดไดเชนกัน วิธีแกไขคือใชระบบถายภาพหนวงเวลาหรือ Selffimer ซึ่งกลองดิจิตอลดิจิตอลทุกรุนมีระบบนี้มาให อยูแลว บางรุนเลือกตั้งหนวงเวลาที่ตองการได เชน 2–10 วินาที หลังจากกดชัตตเตอรไปแลวตองรอ เวลาที่กําหนดไว ชัตเตอรจงึ จะทํางานทําใหกลองนิ่งไมเกิดการสั่นไหว แตถาเปนกลองรุนที่มีรีโมท คอนโทรลไมวาจะเปนแบบมีสายหรือไมมีสาย สามารถกดชัตเตอรไดทันที่โดยไมตองรอหนวงเวลา และทําใหไดภาพที่คมชัดเชนกัน ในกรณีที่จําเปนตองใชมือถือกลองโดยไมมีสิ่งรองรับใด ๆ คุณอาจแกปญ  หาโดยการเลือกคา ความไวแสงฟลมใหสูงขึ้น ซึ่งกลองดิจิตอลสวนใหญจะปรับเลือกได (กลองที่ใชฟลมตองใชวิธี เปลี่ยนฟลมมวนใหมที่มีความไวแสงสูงขึน้ ) แตตองไมลืมวาความไวแสงสูงมากเทาใด ก็จะปรากฎ noise หรือการเหลี่อมล้ําสีของพิกเซลมากขึ้น (ไมใชเกรนหยาบแบบฟลม) กลองระดับไฮเอนด จะมี noise ปรากฎใหเห็นนอยมาก เมื่อเลือกความไวแสงสูงขึน้ เพียง 1-2 ขั้น (มักเรียกกันวาสตอป เชน ISO 200 เปลี่ยนเปน ISO 400 จะตางกัน 1 สตอป) เมื่อความไวแสงสูงขึ้นจะสัมพันธกับความเร็วชัตเตอร ที่สูงขึ้นทําใหไดภาพที่คมชัดในที่สุด


224

ถายภาพเคลื่อนไหวใหคมชัด หากคุณปรับโฟกัสภาพใหคมชัดในจุดที่ตอ งการ และใชความเร็วชัตเตอรที่สูงเพียงพอแตยัง ไมคมชัด อาจจะเกิดจากสิ่งที่อยูในภาพมีการเคลื่อนไหวในขณะที่ชัตเตอร กําลังเปดรับแสง ภาพ ลักษณะนี้สังเกตไดอยางหนึง่ คือ ภาพสวนใหญจะคมชัดแตจะเบลอเฉพาะสิ่งที่มีการเคลื่อนไหว สามารถแกไขไดโดยการปรับความเร็วชัตเตอรใหสูงขึ้น ในกรณีเชนนีต้ องใชความสังเกตุถาวัตถุมกี าร เคลื่อนที่เร็วก็ตองใชความเร็วเพิ่มมากขึ้นตามลําดับ เชน คนกําลังเดิน ความเร็วชัตเตอรที่ 1/125 วินาที ก็เพียงพอ แตถาเปนคนขี่จักรยาน อาจตองใช 1/250-1/500 วินาที เพื่อหยุดการเคลื่อนไหว นอกจากนี้ ทิศทางการเคลื่อนไหวก็มีสวนสําคัญ สมมุติวาวัตถุเคลื่อนที่ตรงเขาหากลอง แลวใชความเร็ว 1/60 วินาที ภาพทีไ่ ดคมชัด แตถาวัตถุเคลื่อนที่ในแนวขวาง หรือผานหนากลอง อาจตองใชความเร็วที่ สูงขึ้นเปน 1/125 หรือ 1/250 วินาที เพื่อใหไดภาพที่คมชัด อยางไรก็ตามหากมีเวลาเพียงพอ คุณ สามารถถายภาพทดสอบกอนได โดยใชความเร็วชัตเตอรที่คาดคะเนเอาไว จากนัน่ เปดดูภาพจากจด LCD โดยใชฟงกชั่นซูมขยายภาพมาดูที่อตั ราขยาย 1:1 หรือ 100 % หากภาพเบลอก็เปลี่ยนไปใช ความเร็วชัตเตอรที่สูงขึ้น

ในบางครั้งเมือ่ ตองถายภาพสิ่งเคลื่อนไหวในสภาพแสงนอย เชนตอนเย็นขณะพระอาทิตย กําลังจะตก ปริมาณแสงชวงเวลานี้จะนอยมาก ความเร็วชัตเตอรสูงสุดอาจจะไมเพียงพอที่จะหยุดการ เคลื่อนไหวได การแกไขใหปรับคาความไวแสงหรือ ISO ใหสูงขึ้น หากยังไมไดใหใชแฟลชเพราะ ชวงแวบของแฟลชจะสั้นมากประมาณ 1/500 วินาที หรือเร็วกวา ซึ่งสามารถหยุดวัตถุหรือสิ่ง เคลื่อนไหวไดเกือบทุกชนิด ระยะหางของวัตถุที่มีการเคลื่อนไหวก็เปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งที่ไมควรมองขาม ถาสิ่ง เคลื่อนไหวอยูใ กลกับกลองมาก จะเห็นถึงความเคลื่อนไหวอยางชัดเจน โดยภาพที่ไดจะดูเบลอไม


225 คมชัด ยกเวนสิ่งที่อยูนิ่งเทานั่นจึงจะคมชัด แตถาสิ่งนัน้ อยูในระยะทีไ่ กลออกไปแลวใชความเร็วชัต เตอรเทาเดิม คุณจะสังเกตุเห็นไดอยางชัดเจนวา วัตถุที่มกี ารเคลื่อนไหวจะดูคมชัดมากยิ่งขึ้น ในทํานอกเดียวกันนี้ หากใชเลนสที่มีทางยาวโฟกัสแตกตางกันก็จะมีผลตอความคมชัดของ สิ่งเคลื่อนไหวดวย หากคุณซูมภาพไปที่ชว งเทเลโฟโตจะเห็นวาสิ่งเคลือ่ นไหวเบลอ ไมคมชัด แตถา ซูมมาที่ชวงเลนสมุมกวางแลวใชคาความเร็วซัตเตอรเทาเดิม จะสังเกตุไดวาภาพวัตถุมีความคมชัดมาก ขึ้น


226

จุดโฟกัสกับระยะชัดลึก เมื่อคุณมองไปรอบๆ ตัว ตั่งแตหนังสือที่กาํ ลังอานอยูนี้ ไปถึงสิ่งที่อยูรอบๆ ตัว อาทิ โตะ เกาอี้ ประตู หนาตาง หรือสิ่งใดก็ตามทุกอยางจะมองเห็นไดชัดเจน ทั้งนี้เพราะตาของเราจะปรับ โฟกัสใหชัดทันทีตลอดเวลาที่มีการเพงมองออกไป ทวาสําหรับภาพถายแลวมันไมไดคมชัดในทุกจุด เหมือนกับที่ตาเรามองเห็น ซึ่งสิ่งเหลานี้เราเรียกวาระยะชัดลึกหรือ Depth of field ในการถายภาพแตละครั้ง กลองสามารถ เลือกจุดโฟกัสไดเพียงจุดเดียวโดยทีจ่ ุด โฟกัสที่เลือกเอาไวจะคมชัดแนนอนแตสิ่งที่อยูในตําแหนงอื่นไมวาจะเปนดานหนาหรือดานหลัง อาจจะไมคมชัดหรือที่เรียกกันวาอยูน อกระยะชัดนั่นเอง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง อาทิ ทางยาว โฟกัสของเลนส คารูรับแสงที่ใชถายภาพ และระยะหางของจุดโฟกัสกับกลอง หากทําความเขาใจกับ สามสิ่งนี้อยางถองแทคุณก็สามารถควบคุมใหภาพมีความคมชัดสม่ําเสมอทั่วทั้งภาพ ตั้งแตสิ่งที่อยูใน ระยะใกลที่สุดไปจนถึงสิ่งที่อยูไกลที่สุด กลองดิจิตอลโดยทั่วไปจะมีเลนสซูมในตัว ตั้งแตเลนสมุมกวางจนถึงเลนสเทเลที่ สามารถดึงภาพจากระยะไกลได ชวงของการซูมจะมากหรือนอยก็ขนึ้ อยูกับกลองแตละรุนหากเทียบ กับคารูรับแสงที่ เทากันและปรับ โฟกัสที่จุด เดียวกันแลว เลนสมุมกวางจะ มีชวงระยะชัด ลึกมากกวา โดยทั่วไปเรามัก ถายภาพดวย เลนสมุมกวางจึงไมคอยมีปญ  หามากนัก แตถาซูมภาพเขามาชวงระยะชัดลึกจะเปลี่ยนไป สิง่ ที่อยู ทางดานหนาและดานหลังจะดูเบลอและไมคมชัด และจะเบลอมากยิ่งขึ้นเมื่อซูมภาพไปที่ชวงทางยาว โฟกัสสูงๆ เราอาจใชเทคนิคนี้ในการถายภาพบางอยาง เชนภาพบุคคลเพราะฉากหลังที่เบลอเพราะอยู นอกระยะชัดจะทําใหตัวแบบดูเดนชัดและสวยงาม ระบบบันทึกภาพของกลองดิจิตอลบางรุน มีโปรแกรมพิเศษสําหรับการถายภาพทีเ่ นนระยะ ชัดลึก โดยกลองจะเลือกคารูรับแสงแคบที่สุดเทาที่สภาพแสงในขณะนัน้ จะเอื้ออํานวย ซึ่งคารูรับแสง นี้เองเปนตัวกําหนดระยะชัดลึกอยางหนึ่ง มีหลักการจํางายๆ คือ รูรับแสงกวาง (ตัวเลขนอยเชน f/2 หรือ f/2.8) ระยะชัดลึกจะนอย แตถาใชรรู ับแสงแคบ (เชน f/16 หรือ f/22) ระยะชัดลึกจะมาก ถา ตองการระยะชัดลึกมากที่สดุ อาจจะเลือกระบบปรับคาความเร็วชัตเตอรอัตโนมัติ ซึ่งผูใชตองเลือกคา รับแสงกอน หรือจะใชระบบแมนนวลก็ไดโดยเลือกคารูรับแสงแคบ ๆ จากนั้นปรับความเร็วชัตเตอร


227 ตามใหสัมพันธกันโดยดูจากสเกลวัดแสงในกลอง หากความเร็วชัตเตอรต่ํามาก เชน ¼ วินาที ควรใช ขาตั้งกลองเพื่อใหไดภาพทีค่ มชัด ภาพดอกไมทางดานลางใชรูรับแสงกวางและ ถายภาพ ระยะใกลดวยเลนสเทเล ทําใหฉากหลัง เบลอเนื่องจาก มีระยะชัดลึกนอยนั่นเอง Nikon D1 เลนส 400 มม. 1/500 วินาที f/5.6 แฟรช Nikon SB-28DX ใชระบบ 3D TTL Matrix


228

ควบคุมการเปดรับแสง หลักการทํางานของกลองถายภาพ คือแสงผานเลนสไปตกกระทบกับเซ็นเซอรภาพ (เชน CCD) หากแสงผานมากเกินไปหรือนอยเกินไปก็จะสงผลใหภาพสวางหรือมืดเกินไปและยัง เกี่ยวของไปถึงเรื่องภาพที่มโี่ ทนภาพแตกตางจากปรกติทั่วๆ ไป เชน โทนสวางโทนมืด คอนทราสท ต่ําหรือคอนทราสทสูง แมวากลองสมัยใหมทั้งหลาย ทั้งแบบคอมแพคและ SLR จะมีระบบเปดรับ แสงอัตโนมัติ ซึ่งมีความเที่ยงตรงสูง แตนั่นหมายถึงสภาพแสงทัว่ ๆ ไปที่มีคาเฉลี่ยความเขมแสงทั้ง ภาพใกลเคียงกันเทานัน้ ถาตองถายภาพยอนแสง หรือถายภาพในสภาพแสงที่แตกตางกันมากตองใช ความรูและประสบการณในการควบคุมใหไดภาพแบบทีต่ องการ บางครั้งแมสภาพแสงเฉลี่ย สม่ําเสมอทั้งภาพก็จริง แตโทนภาพที่มดื ลงกวาปรกติเล็กนอยจะทําใหภาพดูดีและนาสนใจ ซึ่งขึ้นอยู กับความชอบของผูถายภาพดวย สวนที่ควบคุมการเปดรับแสงคือรูรับแสง กับความเร็วซัตเตอร ซึ่งจะทํางานสัมพันธ กันตลอดเวลาดังที่ไดทราบกันไปแลวในบทที่ผานมา ( Camera Control ) ระบบอัตโนมัติของกลองจะ เลือกคารูรับแสง และความเร็วชัตเตอรที่เหมาะสมใหอัตโนมัติ เพื่อใหภาพไดรบั แสงพอดี (ตามที่ โปรแกรมของกลองกําหนดเอาไว โดยจะเทียบกับคาความเขมแสงที่สะทอนจากกระดาษสีเทา 18 %) ทั้งนี้จะพิจารณาจากสภาพแสงในขณะถายภาพและทางยาวโฟกัสของเลนสดวย เพื่อใหไดความเร็วชัต เตอรที่เหมาะสม ทําใหไดภาพคมชัดสวยงาม ภาพเปรียบเทียบการใชรับแสงที่ แตกตางกันภาพละหนึ่งสตอป จะเห็นวา โทนภาพจะสวางและมืดแตกตางกัน Full FinePix S1 Pro เลนส Nikon 17-35 มม. 1/250 วินาที เปดรับแสงที่ f/8, f/11 และ f/16


229 อยางไรก็ตาม กลองดิจิตอลไดเปรียบกลองที่ใชพลิ มตรงที่วามีจอภาพมอนิเตอร สําหรับเปดชมภาพหลังจากกดชัตเตอรไปแลว(แตตอนนี้ไมแนวาจะไดเปรียบแลวครับเพราะกลอง คอมแพคใชฟล ม APS หรือกลอง SLR จาก Contax รุน N1 มีจอภาพใหดหู ลังจากถายภาพไปแลว เชนกัน) เมื่อดูแลวภาพมีโทนสวางหรือมืดเกินไปสามารถแกไขปรับใหภาพไดรับแสงพอดีตาม ตองการ(อานวิธีการปรับควบคุมในบทตอไป) ในกรณีเชนนี้อาจจะมีผูแยงวา ไมจาํ เปนตองมีความรู อะไรมากมายก็ถายภาพใหไดรับแสงพอดีไดโดยใชจอมอนิเตอรชวย แตอยาลืมนะครับวา การ ถายภาพสิ่งเคลื่อนไหวเชนภาพเหตุการณ การแสดง กิจกรรมตาง ๆ กีฬา สัตวปา และอื่นๆ อีก มากมาย หลังจากถายภาพไปแลวคุณแทบจะเรียกใหเหตุการณที่ผานพันไปยอมกลับมาใหถายภาพแก ตัวใหมอีกครั้งไมได และถาคิดวาจะไปแกไขดวยซอพทแวรตกแตงภาพเชน Photoshop ก็อาจจะไม ไดผลเต็มที่ 100 % เพราะบางภาพเชนภาพที่มีโทนสวางเกินไป รายละเอียดของภาพในสวนสวางหรือ ไฮไลทจะหายไปดวย ไมสามารถเรียกกลับคืนมาได ดังนั้นการบันทึกภาพใหไดรบั แสงพอดีคือสิ่งที่ จําเปนในการถายภาพเสมอ


230

เครื่องวัดแสงทํางานอยางไร ? ทุกๆ สิ่งที่ตาของเรามองเห็นจะมีความเขมแสงแตกตางกัน ดังที่ทราบกันดีอยูแลววา สิ่งที่เรามองเห็นนั้นเกิดจากแสงสองไปตกกระทบวัตถุแลวสะทอนผานมายังตาของเรา ถาวัตถุนั้น สะทอนแสงไดมากเราจะเห็นเปนโทนสวางแตถาสะทอนแสงไดนอยจะดูเปนโทนมืด สําหรับกลอง ถายภาพจะมองเห็นแตกตางกัน ยกตัวอยางงายๆ เชน ตารางหมากรุกที่มีสีขาวกับสีดํา (สะทอนแสง ไดมากและนอย) เรามองเห็นสีดําอยูในโทนมืดและสีขาวอยูในโทนสวาง แตเมื่อแสงสะทอนผานไป ยังกลอง คาแสงที่กลองอานไดจะเปนเพียงคา แสงเฉลีย่ คือสีเทา จากนั้นระบบวัดแสงในกลองจะนํา ปริมาณความเขมแสงที่อานได ไปควบคุมการเปดความเร็วชัตเตอรและรูรับแสงซึ่งภาพที่ไดจะเปน คาเฉลี่ยของแสงอยูตรงกลางระหวางสีดํากับสีขาวของตารางหมากรุกสวนที่เปนสีขาวจะออกเปนสี เทาไมขาวสนิท สวนที่ดําจะออกเทาไมดําสนิทเหมือนกับที่ตาเรามองเห็นเชนกัน หลักการทํางานในเครื่องวัดแสงทั่วๆไปจะเทียบจากคาแสงที่สะทอนจากกระดาษสีเทา ซึ่ง สามารถสะทอนแสงได 18% (สีขาวสะทอนแสงได 100%) ซึ่งเปนที่ยอมรับกันวาเปนคาเฉลี่ยของวัตถุ ตางๆ ดังนั้นการถายภาพดวยกลองระบบโปรแกรมอัตโนมัติทั่วๆไป จึงใหภาพทีพ่ อดีเมื่อใชภาพสิ่ง ตางๆที่มีคาเฉลี่ยนของแสงใกลเคียงกับคาแสงของโปรกแกรมที่กลองกําหนดไว ถาคาแสงเฉลี่ย แตกตางจากนีเ้ ชน สะทอนแสงได 5 % หรือ 40 % จะทําใหภาพมีโทนผิดไปจากความเปนจริง


231 เมื่อพูดถึงโทนภาพหลายคนอาจจะสงสัยวาเปนอยางไร เราจะเรียกโทนภาพโดยหมายถึงสวน สวางที่สุดในภาพ ไลเรียงลําดับไปจนถึงสวนที่มืดที่สุดในภาพ ถาสวนใหญของภาพมีความสวางมาก โดยมีสวนมืดเพียงเล็กนอยหรือไมมีเลย เราก็จะเรียกวาภาพโทนสวาง ในทํานองเดียวกันถาสวนใหญ ของภาพมีสีมืดทึบ เราก็จะเรียกวาภาพโทนมืด แตสําหรับภาพทั่วไปแลวจะมีตั้งแตสวนสวางที่สดุ ไป จนถึงสวนมืดสุด ถาถายภาพกลางวันโดยใชแสงอาทิตยภาพที่ไดจะมีชวงโทนภาพกวางมาก ภาพจะดู สดใสสวยงาม แตถาถายภาพในวันที่มีเมฆมาก ชวงของโทนภาพจะแคบลง ภาพทีไ่ ดจะมีสีทึมๆ โดย โทนภาพสวนใหญจะอยูตรงกลางระหวางสวนสวางสุด (ขาว 100%) และสวนมืดสุด (ดํา 100%)


232

ประเภทของระบบวัดแสงในกลองถายภาพ ปจจุบันกลองถายภาพมีการพัฒนาในเรื่องระบบวัดแสงไปมาก ถาเปนกลองคอมแพค ดิจิตอลทั่วๆไป จะเลือกระบบวัดแสงไมได มีเพียงระบบเดียวเชน เฉลี่ยหนักกลาง แตถาดีขึ้นกวานี้ จะเปนแบบเมตริกซ ที่แบงพื้นที่ในภาพออกเปนหลายๆสวน วิเคราะหสภาพแสงที่แตกตางกันแลว นํามาวิเคราะหดวยไมโครคอมพิวเตอร สวนคอมแพคระดับไฮเอนดจะมีระบบวัดแสงเฉพาะจุดให เลือกใชดว ย บางรุนมีระบบวัดแสงหลายๆ อยางใหเลือกใชและบางรุนมีขอมูลของภาพในสภาพ แสง แบบตางๆ นับหมื่นภาพเก็บไวในหนวยความจํา เพื่อใหคอมพิวเตอรวิเคราะหเปรียบเทียบทําใหได ภาพที่ไดรับแสงถูกตองมากที่สุด สําหรับกลองดิจิตอลแบบ SLR สวนใหญพัฒนามาจากกลองที่ใชฟล ม ซึ่งมีระบบวัดแสงที่ ทันสมัยใหความแมนยําสูง และมีใหเลือกใชครบทุกระบบ เหมาะอยางยิ่งสําหรับนักถายภาพที่มี ความรู ความเขาใจในการเลือกและควบคุมการเปดรับแสง นอกจากนี้ยังมีฟงกชั่นชดเชยแสง กรณีที่ ใชระบบบันทึกภาพอัตโนมัติ และระบบถายภาพครอมอัตโนมัติที่สามารถถายภาพติดตอกันหลายๆ ภาพ โดยทีแ่ ตละภาพเปดรับแสงแตกตางกันจากนั้นเลือกเฉพาะภาพทีไ่ ดรับแสงพอดีเก็บไว ที่เหลือ ลบทิ้งไปทั้งหมด แตการถายภาพครอมบอยๆ และลบภาพทิ้งบอยๆ คงจะไมสนุกเปนแน นอกจาก จะเสียเวลาแลว แบตเตอรีซ่ ึ่งเปนสิ่งจําเปนมากในกลองดิจิตอลจะหมดลงอยางรวดเร็ว เมื่อถายภาพ ไปเพียงไมกภี่ าพเทานั้น วิธดี ีที่สุดคือ ศึกษาวิธีการใชระบบวัดแสงแบบตางๆ ใหถองแท เพื่อใหการ กดชัตเตอรแตละครั้งไดผลดีที่สุด และยังเปนการแสดงใหเห็นวามีความรู ความเขาใจที่ถูกตอง ได ภาพตามที่จนิ ตนาการเอาไวในเวลาที่สั้นและรวดเร็ว

รูปที่ 27-28


233 ระบบวัดแสงเมตริกซ ในระบบนี้จะแบงพื้นที่ออกเปนหลายสวน ขึ้นอยูกับการออกแบบ ของผูผลิต เชน 5, 7, 9 หรือมากกวา โดยที่แตละสวนจะอานคาแสงแลวนํามาวิเคราะหเปรียบเทียบ กับตัวอยางที่เก็บเอาไว ทําใหไดภาพดีที่สดุ ตามสภาพแสงที่ใชถายภาพในขณะนัน้ ระบบวัดแสงหนักกลาง หรือเฉลี่ยหนักกลาง โดยทั่วไปการถายภาพนิยมใหคนหรือสิ่ง สําคัญที่ตองการถายภาพอยูต รงกึ่งกลาง ระบบวัดแสงแบบนี้จะเหมาะสมเพราะจะวัดแสงโดยเนนที่ สวนกลางภาพเปนหลักประมาณ 70% ของคาแสงเฉลี่ยทั้งภาพ ระบบวัดแสงเฉพาะจุด ในสภาพแสงที่แตกตางกันมาก การวัดแสงก็จะยุงยากมากขึ้น ระบบวัดแสงแบบนี้ใชไดผลดี เพราะมีพนื้ ที่ในการวัดแสงนอยมาก โดยทั่วไปจะมีพื้นที่ประมาณ 510% กลางจอภาพ การใชงานเพียงเล็งวงกลมกลางภาพไปยังสิ่งที่ตอ งการวัดแสง แตมีเคล็ดลับคือ ตองเลือกจุดทีม่ ีโทนภาพหรือคาแสงที่เปนกลาง ไมสวางหรือมืดเกินไป อาจจะใชวธิ ีวัดแสงหลายๆ จุด แลวหาคาแสงเฉลี่ยที่เหมาะสมก็ได ระบบวัดแสงแบบอื่นๆ กลองไฮเทครุนใหมมีการคิดคนระบบวัดแสงแบบใหมๆ ทีเ่ ที่ยงตรง และแมนยํามากขึ้น เชน ระบบ 3D เมตริกซของ Nikon วัดแสงโดยพิจารณาจากจุดโฟกัสระยะหาง ของวัตถุ เปรียบเทียบกับคาแสงที่ถูกแบงออกเปนสวนๆ โดยใชคาแสงตัวอยางจากขอมูลของภาพนับ หมื่นภาพ ซึ่งระบบสมัยใหมนี้จะใชงานไดดีแมวาสภาพแสงจะแตกตางจากปรกติมากเชนการถายภาพ ยอมแสง หรือการถายภาพโทนมืด โดยไมตองใชระบบชดเชยแสงชวย


234

เมื่อไหรตองชดเชยแสง ? แมวากลองสมัยใหมจะมีระบบวัดแสง ที่ชาญฉลาดมากนอยแคไหน แตถาพบกับสภาพแสงที่ ผิดปรกติไปมาก ภาพที่ไดจะมีโทนที่ผิดไปจากความเปน จริง ตองปรับแกใหไดภาพที่โอเวอรหรืออันเดอรจากคา แสงที่กลองวัดได โดยทั่วไปถาเปนกลองคอมเเพคที่มี ระบบบันทึกภาพอัตโนมัติ (เชนโปรแกรม, ออโตชัต เตอร หรือออโตรูรับแสง) เพียงอยางเดียว จะมีระบบ ชดเชยแสงมาใหดวย แตถาเปนกลองแบบ SLR หรือ กลองคอมแพคที่มีระบบแมนนวล คุณสามารถปรับคา ความเร็วชัตเตอรหรือคารูรับแสง โดยใหคาแสงที่วัดได มากหรื อนอยกวาตามที่ก ลองระบุไ ว ซึ่งจะเหมือนกับ การชดเชยแสงเมื่อใชระบบบันทึกภาพอัตโนมัตินั่นเอง

ภาพที่มีความเปรียบตางของแสงสูงหรือสภาพแสงที่ยุงยาก บอยครั้งเมื่อตองถายภาพใน สภาพแสงแดดจัด จะมีสวนของภาพที่ถูกแสงแดด โดยตรง และสวนที่เปนเงามืด ซึ่งเปนไปไมไดที่ เซ็นเซอรภาพจะสามารถรับแสงใหพอดีไดทั้ง สองสวน ทั้งนี้คุณตองพิจารณาเองวาตองการสวน ใดของภาพเปนสําคัญ จากนั้นเขาไปวัดแสงใกลๆ แลวคอยถอยหางออกมาถายภาพ หรือจะใช ระบบวัดแสงเฉพาะจุด (ถามี) เลือกวัดในสวนที่ ตองการก็ได นอกจากนี้ยังมีสภาพแสงที่ยงุ ยากอีก หลายรูปแบบ เชนภาพทิวทัศนที่มีหมอกในยาม เชา ภาพถายยามเย็นที่มแี สงแดดสองเฉียง 45 องศา ภาพการแสดงโดยใชไฟสปอตไลทตอน กลางคืนเปนตน ภาพที่มีโทนสวางกวาปรกติ สําหรับภาพทีม่ ีโทนสวางมากเชน ภาพชายหาดรินทะเล แสงที่สะทอนผานมายัง กลองสวนใหญจะมีคาความเข็มแสงมากกวา 18 % บางครั้งอาจจะมากถึง 50 % ทําใหกลองคิดวามี ความเขมแสงมาก ตองปรับความเร็วชัตเตอรสูงหรือรูรับแสงแคบเพื่อใหไดภาพที่รบั แสงพอดี แตใน


235 ความเปนจริงภาพที่ไดจะมีโทนมืดกวาปรกติ หาดทรายที่ดูดว ยตาเปลาเปนสีขาว จะกลายเปนสีเทา และสวนอืน่ ๆ ในภาพจะดูมดื กวาของจริง ภาพที่มีโทนมืดกวาปรกติ ในบางสถานการณสิ่งที่ตองการถายภาพมีสีสวนใหญเปนสีดําหรือโทนมืด เชนคนใสชุดดํา มี ฉากหลังเปนสีเขม แสงที่สองไปตกกระทบแลวสะทอนไปยังกลองจะมีปริมาณความเขมแสงนอยกวา 18 % ถาสิ่งนั้นมีโทนเขมสีทึบมาก อาจจะสะทอนแสงไดเพียง 5 – 10 % ทําใหกลองคิดวาสภาพแสง นอย ตองเปดชัตเตอรนานขึน้ หรือรูรับแสงกวาง ชดเชยใหไดภาพทีส่ วางพอดี แตภาพที่ไดจริงสิ่งที่ เปนสีดําจะไมดําจริง ปรากฏเปนสีเทาๆ เทานั้น ภาพที่มีฉากหลังสวางมาก บอยครั้งในการถายภาพ คุณจะพบวาฉากหลังมีความสวางมาก เชนการถายภาพยอนแสงที่มี ฉากหลังเปนทองฟาตําแหนงดวงอาทิตยพอดี เมื่อเปรียบเทียบความเขมแสงระหวางทีต่ ัวแบบกับฉาก หลังจะพบวาแตกตางกันมาก เมื่อแสงทั้งหมดผานไปยังกลองจะเปนเพียงคาแสงเฉลี่ยที่คํานาณจาก สวนสวางและสวนมืด (กลองจะไมทราบวาสวนไหนคือคน สวนไหนคือทองฟาและไมรวู าคน ถายภาพตองการสิ่งใดเปนสําคัญ) ผลที่ไดคือ ตัวแบบจะมืดทึบจนขาดรายละเอียดหรือที่เรียกวาภาพ เงาดํานั้นเอง ภาพที่มีฉากหลังมืดมาก ภาพลักษณะนีจ้ ะตรงขามกับภาพแบบยอนแสง กลาวคือสวนของฉากหลังมืดทึบ มีความเขม แสงนอยกวาทีต่ ัวแบบ มาก เชนมีแสงแดดสอง ไปที่ตัวคน แตฉากหลัง ไมถูกแสงแดด และเปน เงามืด และแนนอนวา กลองไมรูวาสิ่งที่เรา ตองการคือคนที่ถูก แสงแดดหรือฉากหลังที่เปนเงามืดระบบวัดแสงจะคํานวณเปรียบเทียบกับสีเทา 18 % ภาพที่ไดจะมี ฉากหลังที่สวางสวนตัวคนจะไดรับแสงมากเกินไป

วิธีการปรับชดเชยแสง กลองดิจิตอลทุกชนิดจะมีระบบชดเชยแสงใหใช บางรุนอาจจะมีมากกวาหนึ่งวิธี แตมี หลักการทํางานคลายๆ กัน สามารถปรับชดเชยแสงเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ได มีหนวยวัดเปนสตอป บาง รุนอาจจะปรับชดเชยแสงไดละเอียดถึง 1/3 หรือ ½ สตอป กรณีที่ความแตกตางๆ ของแสงมีไมมากนัก และตองการปรับชดเชยแสงใหถูกตองพอดีจริงๆ ภาพเปรียบเทียบทีแ่ สดงใหเห็นนี้ จะพบวาจากคา แสงที่กลองวัดได (0) หากปรับชดเชยแสงไปทางลบเชน –1 หรือ –2 โทนภาพจะมืดลง แตถาชดเชย


236 แสงเพิ่มเชน +1 หรือ +2 โทนภาพจะสวางขึ้น แลวเราจะเลือกคาการชดเชยแสงมากนอยแคไหนจึงจะ เหมาะสมลองพิจารณาจากตัวอยางตอไปนี้

+2 +1 0 -1 -2

ใชเมื่อสภาพแสงแตกตางกันมากเชนภาพคนยอนแสงดวงอาทิตย ใชกับภาพถายที่ฉากหลังมีความสวางปานกลาง เชนถานภาพคนริมชายหาดสีขาว เหมาะสําหรับภาพแสงเฉลี่ยทั่วๆ ไป ที่ไมมีโทนสวางหรือโทนมืดมากเกินไป ใชเมื่อฉากหลังมีโทนมืดกวาตัวคน เชนถายภาพคนที่มีผนังสีดําทึบ ใชกับแสงที่แตกตางกันมาก โดยตัวคนไดรับแสงสวางแตฉากหลังเปนเงามืด

อยางไรก็ตามหลังจากปรับชดเชยแสงแลวคุณ สามารถตรวจสอบภาพที่ถายไปแลวจากจอมอนิเตอร เพื่อดูวาไดภาพตามที่ตองการหรือไม หากมีความ ชํานาญเพียงพอการถายภาพครั้งเดียวก็ไดภาพที่ดี หรือ อาจจะแกไขอีกสัก 1-2 ภาพ ซึ่งทั้งหมดใชเวลาไมมาก นัก และไมเปนการเสียเวลา ทําใหไดภาพที่ดีที่สุด ไม พลาดโอกาสสําคัญในการถายภาพการทดลองฝก ปฏิบัติบอยๆ จะทําใหคณ ุ มีความชํานาญและช่ําชอง มากขึ้น ไมตองกังวลวาจะสิ้นเปลืองเหมือนกับการ ถายภาพดวยฟลม และเมื่อจําเปนตองถายภาพดวยฟลม คุณก็สามารถถายภาพไดดีเชนกัน


237


238

การบันทึกแสงสี อินเมจ เซ็นเซอร (เชน CCD) ที่ใชรับภาพของกลองดิจติ อลนั้น จะแปลงแสงที่ผานเลนสเขา มาใหเปนสัญญาณดิจิตอล ซึ่งเมื่อผานกระบวนการโปรเซสดวยซอพทแวรแลว จะไดภาพที่มีสีสันถูก เองตามธรรมชาติมากที่สุด ซึ่งสภาพแสงที่ใชถายภาพจะแตกตางกันออกไปเชน แสงตอนเชาตรู ตอน กลางวัน แสงจากไฟทังสเตน แสงจากไฟฟลูออเรสเซนท เปนตน แตกลองดิจิตอลจะมีระบบปรับ สมดุลยแสงขาวหรือไวทบาลานซ ทําใหไดภาพที่มีสีสันถูกตองเสมอ แตกตางกับการถายภาพดวย ฟลม ซึ่งสมดุลยกับแสงกลางวันหรือ อุณหภูมิสี 5500 องศาเดลวินเทานั้นหากถายกับแสงแบบอื่นๆ จะมีสีสันที่ผิดเพี้ยนไป ตองใชฟลเตอรแกสีใหถูกตอง แตก็มีฟลมบางชนิด เชน ฟลมทังสเตน ออกแบบมาใหใชกับไฟทังสเตน จะไดภาพที่มีสีถูกตองโดยไมตองใชฟลเตอรแกสี แตหากนําไปใช กับแสงแบบอืน่ สีจะผิดเพีย้ นเชนกัน

แสงสีตางๆ มาจากไหน ทําไมเราถึงมองเห็นสีตางๆ ? แสงจากดวงอาทิตยที่เราคุมเคยกันเปนอยางดี ใหแสงสีขาว ถา ใหแสงสีขาวนี้สองผานแทงแกวปริซึม แสงที่หักเหออกมาจะปรากฏเปนสีรุงเจ็ดสี นั่นหมายถึงวาใน แสงสีขาวนั้นประกอบดวยสีตาง ๆ รวมกัน โดยมีสีหลักที่เราเรียกวาแมสี 3 สี คือแดง เขียว และน้ําเงิน (Red, Green, Blue) วัตถุตางๆ ที่เรามองเห็นเปนสีขาว เชน เสื้อสีขาว หมายถึงวัตถุนั้นสะทอนสีทั้ง สามออกมาหมด ทําใหมองเห็นเปนสีขาว แตสําหรับใบไมสีเขียวหมายถึง แสงสีขาวที่สองไปตก กระทบจะถูกดูดกลืนสีแดงและน้ําเงินเอาไว สะทอนเฉพาะแสงสีเขียวออกมาทําใหมองเห็นใบไมเปน สีเขียว นีจ่ ึงเปนเหตุผลที่วาทําไมเราจึงมองเห็นสิ่งตางๆ รอบตัวปรากฎเปนสีตางๆ


239


240

ความสมดุลยของสี แสงจากดวงอาทิตยไมไดเปนแสงสีขาวตลอดเวลา ในชวงเชาและเย็น อุณหภูมิจะ เปลี่ยนแปลงไป อันเนื่องมาจากมุมในการสะทอนแสงในชั้นบรรยากาศ โดยคลื่นแสงสีแดงจะปรากฎ ใหเห็นมากทีส่ ุด หากเทียบเปนอุณหภูมิสแี ลวจะต่ํากวาแสงกลางวัน หรือต่ํากวา 5500 องศาเคลวิน วัตถุสวนใหญจึงมองเห็นเปนโทนสีสมแดง นอกจากนี้แสงไฟประดิษฐบางอยางเชน ไฟทังสเตนหรือ ไฟสปอตไลทก็มีอุณหภูมิสตี ่ําเชนกันแตกม็ ีการประดิษฐหลอดไฟที่เรียกวา Day Light ใหอุณหภูมิสี ใกลเคียงกับแสงกลางวัน มีอุณหภูมิประมาณ 5000-6000 องศาเคลวิน หลอดไฟบางชนิดเชน ฟลูออ เรสเซนทใหโทนสีอมเขียว แตหากมองดวยตาเปลาจะดูเปนแสงสีขาว และในบางสถานการณเชน ใน วันที่มีแสงแดดจัด หากถายภาพในที่รมอุณหภูมิสีจะสูง ทําใหภาพทีไ่ ดมีโทนสีฟา รวมทั้งในวันที่มี เมฆหมอกมากๆ หรือหลังจากพระอาทิตยตกไปแลว อุณหภูมิสีจะสูงมาก จนบางครั้งภาพที่ไดมีโทนสี น้ําเงิน อยางไรก็ตามหากอุณหภูมิสีแตกตางจากแสงกลางวันไมมากนักตาของมนุษยจะแยกแยะไม ออก เนื่องจากสมองของคนเราสามารถปรับแกสีใหถกู ตองไดโดยอัตโนมัติและความสามารถนี้เองที่ ถูกจําลองมาใชในกลองวิดีโอ ที่เรียกกันวา ออโตไวทบาลานซ หรือการปรับสมดุลยแสงขาวอัตโนมัติ นั่นเอง สําหรับกลองถายภาพนิ่งดิจิตอลก็มีสามารถนี้เชนกัน เพราะสวนที่ใชรบั ภาพหรืออิมเมจ เซ็นเซอรนั้น สามารถตรวจสอบไดวาแสงที่ใชถายภาพมีอุณหภูมิสีถูกตองหรือไม หากไมถูกตองก็จะ ปรับแกสีใหทนั ทีโดยอัตโนมัติดวยซอพทแวรที่ออกแบบเอาไวภายในตัวกลอง หรือจะเลือกปรับเอง ตามสภาพแสงแบบตางๆ ก็ได ซึ่งกลองดิจิตอลสวนใหญจะมีคุณสมบัติใหผูใชเลือกปรับไวทบาลานซ เองไดเชน แสงกลางวัน แสงไฟทังสเตน หรือแสงในทีร่ ม เปนตน ซึ่งคุณสามารถตรวจสอบไดวาภาพ ที่ถายมีสีสันถูกตองหรือไม จากจอมอนิเตอรแบบ LCD


241


242

ความสมดุลยของสีในชวงเวลาของวัน ในทางการถายภาพเราจะเรียกแสงที่ใช ถายภาพทั่วๆ ไปวาแสงกลางวันหรือ Day light ซึ่ ง เป น แสงจากดวงอาทิ ต ย ใ นเวลากลางวั น นั่นเอง โดยทั่วไปแสงกลางวันจะใหแสงสีขาว ทําใหเราไดภาพที่มีสีสันถูกตองตามความเปน จริ ง แต ใ นช ว งเวลาเช า หรื อ เย็ น อุ ณ หภู มิ สี จ ะ เปลี่ยนแปลงไปตามที่ไดกลาวมาแลว สงผลให ภาพที่มีสีสันผิดเพี้ยนไปดวย โดยแสงสีขาวจาก ดวงอาทิตยจะถูกตองตองมากที่สุดในชวงเวลา ประมาณ 9 โมงเชาจนถึงบาย 3 โมง อยางไรก็ ตามแสงสี ใ นช ว งเวลาอื่ น นอกเหนื อ จากนี้ จ ะ สรางบรรยากาศใหกับภาพถายจนไดภาพที่นาดู กวาแสงกลางวัน เชนชวงเวลาเชาตรูขณะที่พระ อาทิ ต ย ขึ้ น ใหม ๆ หรื อ ช ว งเวลาที่ ด วงอาทิ ต ย ใกลจะตก อุณหภูมิสีจะต่ํามาก ภาพที่ไดมีสีใน โทนอุนหรือเรียกกันวาวอรมโทน โดยภาพที่ ไดรับแสงจะออกไปทางสีสมแดง อีกทั้งปริมาณ แสงจะไมจัดจานเหมือนกลางวัน ทําใหภาพดู อบอุน เหมาะอยางยิ่งกับการถายภาพบุคคลหรือ ภาพทิวทัศนทั่วไป ในชวงเวลาทีพ่ ระอาทิตยขนึ้ หรือตกโทนสีของภาพนอกจากจะแปรเปลียน ไปแลวเรายังพบกับภาพความมหัศจรรยอนั งดงา มาของธรรมชาติอยูบอยครั้ง ซึ่งจะแตกตางกัน ไปในแตละวัน หากโชดดีจะไดภาพถายทีม่ ีกลุม เมฆบนทองฟาสะทอนแสงสีสมแดงอยาง สวยงาม ถาเปนภาพชายทะเลก็อาจจะมีเงา สะทอนกับผิวน้ําอีกดวย หรือชวงเวลาที่พระ อาทิตยใกลจะตก ปริมาณความเขมของแสงจะ ลดลงไปมาก มองเห็นภาพดวงอาทิตยกลมโตอยางชัดเจน ในบางครั้งจะมีเมฆริ้วบางๆ พาดผาน หาก เฝารอคอยเพื่อถายภาพก็จะไดภาพทีด่ ีและนาชม แตก็มขี อพึงระวังคือภาพถายในลักษณะเชนนี้ จะมี


243 ความแตกตางของแสงมากในตําแหนงของดวงอาทิตยและสวนอื่นๆ ในภาพ หากวัดแสงตามปรกติ บริเวณรอบๆ ภาพจะมืดทึบจนขาดรายละเอียด ตองปรับชดเชยแสงเพิม่ ขึ้นประมาณ 1-2 สตอป ซี่งก ลองดิจิตอลสวนใหญจะมีระบบชดเชยแสงมาใหอยูแ ลว และตองไมลมื วาการชดเชยแสงมาใหอยูแลว และตองไมลืมวาการชดเชยแสงเพิ่มตองปรับไปทางตําแหนงบวก สวนตําแหนงลบเปน การชดเชย แสงใหลดลง(อันเตอร) อยางไรก็ตามคุณสามารถดูผลที่เกิดขึ้นไดจากจอ มอนิเตอร LCD สิ่งที่นาสนใจอีกอยางหนึ่งของการถายภาพในชวงเวลาเชาตรูหรือเย็นก็คือ ภาพเงาดํา โดยการ ถายภาพใหเห็นสวนของทองฟาซึ่งมีโทนสีสมแดง คาแสงของทองฟากับวัตถุจะแตกตางกันมาก การ วัดแสงตามปรกติจะไดทองฟามีแสงพอดี แตวัตถุในภาพมืดทึบจนขาดรายละเอียด มองเห็นโครงราง อยางชัดเจน เชน ภาพคน หรืออาคารสถานที่ตาง ๆ หากปรับชดเชยแสงเพิ่มขึ้นเพือ่ ใหคนหรือวัตถุมี รายละเอียด สวนของทองฟาก็จะสวางเกินไปจนขวาซีด ถาตองการรายละเอียดจริงๆ ก็อาจใชแฟลช ชวย โดยวัดแสงเฉลี่ยทั้งภาพตามปรกติกอน หรือจะเลือกวัดแสงไปที่ทองฟาตรงๆ ได จากนั้นใช แฟลชเพิ่มรายละเอียด แตตองไมลืมวาแฟลชขนาดเล็กของกลองคอมแพคใชงานไดไมไกลมากนัก โดยทั่วไป โดยทั่วไปจะอยูในระยะ 2-4 เมตร เทานั้น ถาไกลกวานี้ตอ งปรับความไวแสง (ISO0ให สูงขึ้นแลวดูผลที่ไดจากจอมอนิเตอรLCD แตถาเปนกลองรุนที่ใชแฟลชภายนอกได ซึ่งมีกําลังไฟสูง กวา ก็จะใชงานไดไกลมากขึน้ การถายภาพกลางคืน ซึ่งแสงตางๆ เกิดจากไฟประดิษฐเชน ไฟจากรถยนตหรือไฟตามทอง ถนน รวมทั้งไฟที่สงตามปายโฆษณาตางๆ เหลานี้ทําใหไดภาพที่มสี ีสันสวยงาม แตตองไมลืมวา ปริมาณความเขมแสงโดยรวมมีนอยมาก และการกระจายแสงไมสม่ําเสมอ บริเวณที่ไมถูกแสงไฟจะ ดําทึบ โดยเฉพาะทองฟาจะมืดไมมีรายละเอียด จึงตองเลือกถายภาพในบริเวณที่ไดรับแสงมาก พอสมควร มิฉะนั้นภาพทีไ่ ดจะมีสว นสวางเฉพาะจุดเทานั้น และถาเปนคืนที่พระจันทรเต็มดวงคุณ อาจจะสรางสรรคภาพพิเศษแบบแปลกๆไดอีก โดยวางตําแหนงใหดวงจันทรอยูในภาพแลวใชเวลา ในการบันทึกภาพนานกวาปรกติ ซึ่งกลองคอมแพคดิจิตอลบางรุนสามารถใชความเร็วชัตเตอรต่ํา มากๆ ได เชน 8 หรือ 15 วินาที และควรใชรูรับแสงกวางสุด ถาดูแลวภาพยังมืดเกินไปก็อาจจะตอง ใชเวลานานขึ้นหรือปรับเพิม่ ความไวแสงใหสูงขึ้น สําหรับอุปกรณเพิ่มเติมคือ ขาตั้งกลองเพื่อ ปองกันการสัน่ ไหว หากมีรีโมทคอนโทรลหรือสายลั่นชัตเตอร ก็ควรใชทุกครั้ง ถาไมมอี าจใช ระบบถยภาพหนวงเวลาแทนก็ได เพราะการบันทึกภาพดวยเวลานานเชนนี้ หากใชมือกดปุมชัตเตอร ที่กลองตรงๆ อาจทําใหเกิดการสั่นไหวและภาพไมคมชัดในที่สุด


244

อุณหภูมิสใี นฤดูที่แตกตาง ในแตละปจะมีฤดูตางๆ ตั้งแตฤดูฝน ฤดูรอน ฤดูหนาว ในชวงเวลาทีแ่ ตกตางกันเชนนี้ ทําให เราไดภาพที่มโี ทนสีของชวงเวลาแตกตางกันดวย เชนฤดูฝน บอยครั้งทองฟาจะมืดครึ้มเต็มไปดวย กลุมเมฆอุณภูมิสีจะคอนขางสูง ภาพถายทีไ่ ดจะมีโทนสีฟาคอนขางมาก แตถาชวงจังหวะที่แสงแดด สองตรงไปยังวัตถุ โดยมีกลุมเมฆฝนเปนฉากหลัง จะไดภาพทีน่ าสนใจเชนกัน ถาเปนฤดูรอน อากาศมักจะรอนอบอาว เต็มไปดวยหมอกควัน และไอแดด ควรหลีกเลี่ยงการถายภาพในชวงเวลา กลางวัน แมวาภาพจะมีโทนสีที่ถูกตองตามธรรมชาติก็ตาม สวนฤดูหนาวจะไดภาพที่นาดูมากทีส่ ุด เพราะอากาศจะแจมใสในชวงเวลาเชาตรู มักมีหมอกบางๆ เมื่อตองแสงยามเชาจะสรางภาพอันอบอุน ไดอยางสวยงาม หากเดินทางไปถายภาพตามยอดดอยหรือภูเขาสูง โอกาสที่จะไดภาพงามๆ มีมาก ทีเดียว


245

ทิศทางของแสง แสงที่สองตรงไปยังวัตถุตาง ๆ จะมีทิศทางที่แตกตางกันออกไป หากเปนแสงกลางวันจาก ดวงอาทิตย ทิศทางแสงจะมาจากจุดเดียว ในมุมภาพทีแ่ ตกตาง จะมองเห็นแสงสองไปในทิศทางที่ แตกตางกันดวย เชน แสงทางดานหนา แสงเฉียง แสงจากดานบน หรือแสงที่สองมาจากทางดานหลัง เปนตน ทิศทางของแสงจะมีผลโดยตรงกับระบบวัดแสงอัตโนมัติของกลอง ทําใหภาพไดรับแสง พอดี สวางเกินไปหรือมืดทึบเกินไป นอกจากนีย้ ังสรางความรูสึกใหกบั ภาพได เชน แสงใหเห็นถึงมิติ ความลึก รูปรางหรือรูปทรงตาง ๆ หากเปนแสงทีส่ องตรงไปยังวัตถุทางดานหนา คาแสงสวนใหญจะเฉลี่ยใกลเคียงกัน สภาพ แสงเชนนี้ระบบวัดแสงอัตโนมัติทํางานไดผลแมนยํามากที่สุด แตภาพที่ไดจะดูแบนราบเกินไป ตาง กับแสงที่สองในมุมเฉียง เพราะจะมีทั้งสวนมืดและสวนสวาง ทําใหภาพดูมีมิติ และสภาพแสงเชนนี้ ระบบวัดแสงเฉลี่ยก็ยังใชงานไดดพี อสมควร เพราะจะมีการเฉลี่ยคาแสงในสวนสวางและสวนมืด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปริมาณของแสงดวยวาตกกระทบกับสวนใดมากกวากัน สําหรับ แสงที่สองมาจาก ดานหลังวัตถุ หรือ ที่เราเรียกวาการ ถายภาพยอนแสงมี ปญหายุงยากใน การวัดแสงมาก ที่สุด โดยทัว่ ไป กลองจะไดรับแสง มากเกินไป จนภาพทีไ่ ดเปนโทนมืด ตองปรับชดเชยแสงเพิ่มเพื่อใหภาพมีโทนสวางมากขึ้น แตแสง ในลักษณะเชนนี้สามารถสรางภาพใหดูนา สนใจไดดีทสี่ ุด เชนการถายภาพดอกไมที่มีกลีบบาง ดอกไมจะดูโปรงแสง ถาฉากหลังเปนสวนที่ไมไดรับแสงสวางหรืออยูในเงามืด ภาพของดอกไมจะดู โดดเดนมากทีเดียว หรือหากเปนการถายภาพบุคคลที่ยอ นแสงตรง ๆ จะปรากฎแสงสวางบริเวณขอบ ๆ ภาพและเสนผม หรือที่เรียกกันวา ริมไลท ซึ่งการปรับชดเชยแสงเพิ่มรายละเอียดใหตวั แบบจะทํา ใหแสงริมไลทสวางมากขึ้นดวย และยังมีตัวอยางอื่น ๆ อีกมากมาย


246

แสงนุมกระจาย แสงแดดกลางแจงมักจะเปนแสงที่มีความเขมสูง ทําใหภาพมีคอนทราสทมากในสวนสวางที่ ไดรับแสงโดยตรง และสวนที่เปนเงา แตหากเปนวันหรือชวงเวลาทีม่ ีเมฆมาก แสงจะแปรเปลีย่ นไป เปนแสงที่นุมกระจาย ปริมาณแสงจะเฉลี่ยเกือบจะทัว่ ทัง้ ภาพ แมวาปริมาณแสงจะนอยลงแตกไ็ ดภาพ ที่มีรายละเอียดครบถวน ไมตองกังวลกับเรื่องของเงาที่ดํามืดและการวัดแสงอัตโนมัติก็ทํางานไดผลดี มาก แมวาแสงกลางวันจะมีความเขมแสงสูง แตถา ถายภาพในที่รม แสงก็จะนุมกระจายเชนกัน เชน ภาพถายในอาคารที่มีแสงจากหนาตางหรือประตู ทําให ไดรายละเอียดอยางทั่วถึงทั้งภาพ หากเปนการถายภาพ บุคคลที่ยืนอยูใ กลกับหนาตาง ก็จะไดแสงที่ดูนุมนวล อยางสวยงาม เพราะเปนแสงที่สะทอนมาจากสิ่งรอบ ๆ ตัว ไมใชแสงที่สองตรงมาจากดวงอาทิตย ซึ่งนักถายภาพ บุคคลมืออาชีพมักใชเคล็ดลับนี้ในการถายภาพคน บางครั้งแมเปนการถายภาพกลางแจงก็จะใชแผนผาสีขาว ขนาดใหญ บังแสงจากดวงอาทิตยเอาไว ทําใหแสงที่สอง ผานผาขาว กลายเปนแสงนุมกระจายอยางงายดาย


247


248

เทคนิคการใชแฟลช ระบบแฟลชในกลองดิจิตอลเกือบทั้งหมดออกแบบเนนที่การใชงานสะดวกงายและแมนยํา มีระบบการทํางานแบบอัตโนมัติ เมื่อสภาพแสงนอยเกินไป หรือถายภาพยอนแสง แฟลชจะทํางาน เองทันทีเพื่อใหไดภาพดีที่สดุ ตามที่โปรแกรมกําหนดเอาไว อยางไรก็ตามระบบโปรแกรมอัตโนมัติ เหลานี้มีขีดความสามารถในระดับหนึ่งเทานั้น หากตองการใหไดผลแนนอน ตองมีความรูเรื่องการ ใชแฟลชบางพอสมควร ไมวาจะเปนเรื่องของสภาพแสง ความแรงของแฟลช ระยะหางความไวแสง อุณหภูมิสีของแสง และเทคนิคพิ เศษอื่น ๆ อีกหลายอยาง กลองดิจิตอลแบบคอมแพคทั้งระบบวิวฟายเดอร (ชองมองภาพไมผานเลนส) และแบบ SLR (มองภาพผานเลนส) มีระบบแฟลชใหเลือกใชหลายอยาง โดยเฉพาะในระดับไฮเอนดทั้งหลายจะมี ประสิทธิภาพใกลเคียงกับหลองระดับมืออาชีพทีเดียว

บางรุนสามารถใชแฟลชเฉพาะกิจภายนอกไดดว ย เปนการเสริมประสิทธิภาพใหสูงมาก ยิ่งขึ้นไปอีก ระบบแฟลชในกลองแตละตัวอาจจะมีมากหรือนอยแตกตางกัน กลองตางยี่หออาจจะใช ชื่อหรือสัญลักษณที่แตกตางกัน แมวาจะเปนระบบแฟลชแบบเดียวกันก็ตาม เชน ระบบแฟลช อัตโนมัติหรือออโต ทํางานเฉพาะเมื่อสภาพแสงนอยเกินไป ระบบเปดแฟลช ตลอดเวลาไมวาแสง ธรรมชาติจะมากหรือนอย ระบบแฟลชแกตาแดง ระบบปดแฟลชเมื่อตองการ ถายภาพดวยแสง ธรรมชาติ หรือแสงที่มีอยูเพียงอยางเดียว และระบบแฟลชสัมพันธกับความเร็วชัตเตอรต่ําใชเมื่อ ตองการถายภาพใหตดิ สวนของฉากหลังดวย เชน การถายภาพไฟกลางคืนตามงานเลีย้ งสังสรรคตาง ๆ เปนตน


249

ชนิดของแฟลช การถายภาพดวยแฟลชเริ่มมีใชมา ตั้งแตศตวรรษที่ 19 โดยเนนที่การใชงานในตอน กลางคืน จากนั้น มีการพัฒนาตอเนื่องเรื่อยมาจนถึง ปจจุบัน สําหรับกลองดิจิตอลเกือบทั้งหมดจะมี แฟลชขนาดเล็กติดมาดวย ทํางานสัมพันธกับกลอง อยางสมบูรณแบบ ชวยใหการถายภาพครอบคลุมได หลากหลาย และกวางขวางมากขึ้น แตแฟลชที่มี ขนาดเล็ก จะมีขอจํากัดในเรือ่ งของระยะหาง สามารถ ใชงานไดไมเกิน 10 ฟุตหรือใกลเคียง แตถาเปน ภาพถายระยะใกลจะไมมีปญ  หาใด ๆ เชนภาพคนครึ่ง ตัว หรือภาพสัตวเลี้ยง เปนตน สําหรับกลองคอมแพครุนสูงบาง รุนมีฮอทชูอยูท างดานบนสําหรับใชแฟลชเฉพาะกิจ ภายนอก หรืออาจจะตองซือ้ กริปแบบดามจับเพื่อให ใชแฟลชภายนอกได เปนการเพิ่มขีดความสามารถให สูงขึ้น เชนเดียวกับกลองรุนสูงแบบมืออาชีพ (SLR ชนิดถอดเปลี่ยนเลนสได) นอกจากแฟลชเฉพาะกิจภายนอกที่ ออกแบบมาควบคูกับกลองของแตละยีห่ อ แลวยังมี วิธีใชแฟลชภายนอกไดโดยใชสเลฟหลักการทํางาน คือ เมื่อแฟลชขนาดเล็กที่กลองแวบออกไป แฟลชอีก ตัวอยูทภี่ ายนอก ซึ่งติดตั้งสเลฟเอาไวจะทํางานทันที อัตโนมัติ ไมตองใชสายพวงแฟลชใด ๆ ใหยุงยาก แต มีขอเสียคือ ระบบแฟลชไมสัมพันธกับกลอง ตองดู ภาพจากจอมอนิเตอรวาโอเวอรหรืออันเดอร จากนั้น ปรับคารูรับแสงแลวถายภาพใหมจนไดคา แสงที่พอดี ซึ่งถานําวิธีนี้ไปใชกับกลองชนิดที่ใชฟลมจะยุงยาก และโอกาสผิดพลาดสูงมาก แถมยังสิ้นเปลืองฟลมอีกตางหาก


250

แฟลชทํางานอยางไร? แฟลชทุกชนิดมักมีขอจํากัด ในเรื่องของระยะหางที่ใชถายภาพ ถาไกลเกินกําลังของ ไฟแฟลช ภาพที่ไดกจ็ ะมืดลงตามลําดับ หลักการทํางานของแฟลช คือ เมื่อกดปุมชัตเตอรแสงแฟลช จะถูกปลอยใหแวบออกไปตกกระทบกับวัตถุ แลวสะทอนแสงผานเลนสมายังเซ็นเซอรภาพ (เชน CCD) เมื่อปริมาณแสงเพียงพอกลองจะสัง่ ใหแฟลชหยุดการทํางานทันที ทั้งหมดนี้ใชเวลาสั้นมาก เพียงเสี้ยววินาที (ประมาณ 1/1000 วินาทีหรือสั้นกวา) แตถาสิ่งที่ตองการถายภาพอยูในระยะหางที่ ไกลเกินไป แสงแฟลชก็จะถูกปลอยออกไปเต็มกําลัง

หลังจากที่แสงแฟลชถูกปลอยออกไปแลวตองรอเวลาใหแฟลชชารจไฟเต็ม จึงจะ สามารถถายภาพตอได โดยทั่วไปจะมีสัญญลักษณเปนรูปสายฟาสีแดงติดสวางเตือนใหทราบวาแฟลช พรอมในชองมองภาพ และอาจจะแสดงรูปสัญญลักษณนี้บนจอ LCD ภายนอกดวยเชนกัน หาก แบตเตอรี่ออน ระยะเวลาการชารจไฟเต็มจะนานกวาปรกติ ถาแฟลชยังชารจไมเต็มแลวกดชัตเตอร ถายภาพ จะทําใหภาพที่ไดมดื ทึบหรืออันเดอร


251 กลองดิจิตอลรุนสูงสวนใหญจะปรับเพิ่มความไวแสง (ISO) ใหสูงขึ้นได การเพิ่ม ความไวแสงนีจ้ ะมีผลโดยตรงกับแสงแฟลช กลาวคือแฟลชจะใชงานไดในระยะทีไ่ กลขึ้นอีกเทาตัว หรือถาถายภาพในระยะเดิมจะสามารถปรับคารูรับแสงใหแคบลง ชวยเพิ่มระยะชัดลึกของภาพได เชนเดิม ISO100 ปรับเปลี่ยนเปน ISO200 ก็จะไดแฟลชที่มีกําลังแรงขึ้นอีกหนึง่ สตอป แตตอง ระมัดระวังเรื่องการใชคาความไวแสงที่สูงมาก ๆ ภาพที่ไดจะมีจุดพิกเซลที่มีส่เี หลี่ยมล้ํากันหรือ เรียกวา Noise ทําใหไมสวยงามเทาที่ควร ถาจําเปนควรปรับ เพิ่มความไวแสงจากคาต่ําสุดใหสูงขึน้ สักหนึ่งสตอปก็เพียงพอ กรณีที่ถายภาพวัตถุที่มีระยะหางจากกลองไมเทากัน เชน ภาพคนยืนเรียงกันหางจาก กลอง 3, 5 และ 10 เมตรตามลําดับ ระบบเซ็นเซอรแฟลชมักจะคํานวณแสงใหพอดีสําหรับคนที่อยู ใกลมากที่สุด สวนคนที่อยูไ กลออกไปก็จะมืดลงตามลําดับ ดังนั้นควรใหคนอยูในระยะที่ใกลเคียงกัน ใหมากที่สุด เพื่อใหแสงแฟลชสองไปไดสม่ําเสมอทั่วทั้งภาพ การใชแฟลชถายภาพคนในระยะใกล เชน ภาพใบหนาคนหรือคนครึ่งตัว อาจเกิด ปญหาจุดสีแดงที่ดวงตาหรือที่เรียกวา Red-eye กลองสวนใหญจะมีระบบแกตาแดงมาให โดยแสดง เปนสัญญลักษณรูปดวงตาในโหมดแฟลช หลักการทํางานคือ เมื่อกดปุง ชัตเตอร แฟลชจะปลอยแสงที่ มีปริมาณนอยออกไปครั้งหนึ่งกอน ทําใหมานตาหรี่ลง จากนั้นแฟลชจะปลอยแสงจริงออกไป แตใน กลองบางรุนจะมีไฟอีกดวงสองสวางเพื่อใหมานตาหรี่ลงกอนที่จะปลอยแสงจริงออกไป


252

แฟลชลบเงา เมื่อตองถายภาพคนกลางแจงที่มี สภาพแสงแดดจัด ในสวนที่เปนเงาจะดําทึบ ทําใหภาพไมสวยงามเทาทีค่ วร ถาทิศทาง แสงสองมาจากทางดานหนากลอง พื้นที่ สวนที่เปนเงาดําจะมีมาก จนใบหนาคนดูมืด ทึบ วิธีแกคือใชแฟลชเพิม่ รายละเอียดใน สวนที่เปนเงา เรียกวิธีการนี้วาแฟลชลบเงา หรือ Fill-flash โดยระบบวัดแสงแฟลชใน กลองจะคํานวณแสงแฟลชใหพอดีสัมพันธ กับแสงธรรมชาติอยางไรก็ตามกลองบางรุน มีปุมชดเชยแสงแฟลช สําหรับเพิ่มหรือลด ปริมาณแสงแฟลช หากดูภาพจาก จอมอนิเตอรแลวพบวาปริมาณแสงแฟลชที่ สองไปยังคนนอยเกินไปก็ใหกดปุมชดเชย แสงเพิ่ม (บวก, +) แตถา แสงแฟลชมาก เกินไปใหกดปุม ชดเชยแสงลด (ลบ.-) โดยทั่วไปจะปรับได +/-2 สตอป


253

แฟลชสัมพันธกับความเร็วชัตเตอรต่ํา การถายภาพกลางคืน เชน งานเลี้ยงรื่นเริงตาง ๆ คุณจะเห็นวาแสงสีจากไฟประดับดูสวาง ไสวและสวยงาม แตเมื่อถายภาพคนโดยมีฉากหลังเปนงานเลี้ยงเหลานัน้ จะไดภาพที่มีฉากหลังดํามืด ขาดรายละเอียด ทั้งนี้เปนเพราะความเร็วชัตเตอรสูงเกินไปนั่นเอง หากใชระบบโปรแกรมทั่ว ๆ ไป รวมกับการใชแฟลช กลองมักจะเลือกความเร็วชัตเตอรตา่ํ สุดประมาณ 1/125 วินาที หรือ 1/60 วินาที ภาพคนที่อยูในระยะใกลจะไดรับแสงพอดีจากแฟลช แตฉากหลังที่อยูไกลมากแสงแฟลชสองไปไม ถึงภาพฉากหลังจึงดํามืด หากลองวัดแสงดูเฉพาะสวนของฉากหลัง ความเร็วชัตเตอรอาจจะต่ําเพียง 1/30 วินาที หากถายภาพโดยใชระบบแมนนวลหรือออโตรูรับแสงโดยเลือกความเร็วตามที่วัดแสงได จริง จะทําใหฉากหลังชัดเจนเหมือนกับที่ตามองเห็น ไมดําทึบอีกตอไป แตบอยครั้งที่ความเร็วชัต เตอรต่ํามาก เชน 1/15 หรือ 1/8 วินาที อาจตองตั้งกลองบนขาตั้งเพื่อปองกันไมใหฉากหลังพรามัวอัน เนื่องมาจากการสั่นไหวของกลอง สําหรับกลองที่มีระบบบันทึกภาพแบบโปรแกรมเพียงอยางเดียวจะมีโหมดแฟลชที่เรียกวา Slow-sync โดยจะแสดงเปนตัวอักษร Slow จะใชไดผลแบบเดียวกับการปรับตั้งเอง โดยระบบ บันทึกภาพจะปรับความเร็วชัตเตอรใหถูกตองตามสภาพแสงที่มีอยูจริง การถายภาพโดยใชระบบ แฟลชแบบนี้อาจจะไม แสดงคาความเร็วชัตเตอรใหทราบ จึงจําเปนตองถือกลองใหนิ่งมากที่สุดเทาที่ ทําไดในขณะกดปุมลั่นชัตเตอร


254

บทที่ 9 การตกแตง อัด ขยาย พิมพภาพดิจติ อล 1.หองมืดดิจิตอล การตกแตงภาพคือ ขั้นตอนสําคัญ กอนที่จะถึงขั้นตอนการพิมพภาพดวยอิงคเจทพริ้นเตอร หรือสงไฟลภาพไปอัดขยายภาพจากดิจิตอลแบบทั่วไป แมวาภาพถายดิจิตอลของคุณจะใชกลองที่มี คุณสมบัติดีเยีย่ มเพียงใด ก็ไมไดหมายความวาภาพที่ไดจะสวยงามทุกภาพ แตถาคุณมีความรูความ เขาใจในการปรับแตงภาพใหมีคุณภาพดีที่สุด ภาพสุดทายที่พิมพออกมายอมมีคุณภาพดีเชนกัน

หองมืดดิจิตอล การถายภาพดวยฟลมหากคุณตองการอัดขยายภาพดวยตนเองจะตองมีหองมืด ซึ่งแสงไม สามารถผานเขาไปได เพราะฟลมและกระดาษอัดขยายภาพจะไวตอแสงมาก และตองมีอุปกรณตา ง ๆ อีกหลายอยาง เชน เครื่องขยายภาพ เครื่องจับเวลา น้ํายาลางฟลม ฯลฯ แตการอัดขยายภาพในระบบ ดิจิตอลนั้นสามารถทําในที่สวางได โดยอาศัยเครื่องมือเพียงไมกี่อยางเทานั้น เราจะเรียกสวนนี้วา หองมืดดิจติ อล คอมพิวเตอรคอื อุปกรณชนิ้ สําคัญในการตกแตงภาพ ควรใชคอมพิวเตอร ที่มีความเร็วสูงสุด เทาที่งบประมาณมีอยู เพราะภาพคุณภาพสูงนั้นจะมีไฟลใหญมาก หากคอมพิวเตอรชาเกินไป การ ทํางานแตละขัน้ ตอนจะกินเวลานานมาก จนทําใหเกิดความเบื่อหนายในที่สุด ตอมาคือ จอมอนิเตอร ยิ่งมีขนาดใหญมากเทาใดก็ยิ่งดี เพราะจะเห็นรายละเอียดของภาพในพื้นที่กวางขึ้น อีกทั้งโปรแกรม ตกแตงภาพมักมีเครื่องมือตาง ๆ มากมายจนดูเต็มจอไปหมด ขนาดมอนิเตอรที่เหมาะสมคือ 20 หรือ 21 นิ้ว อยางนอยควรใชมอนิเตอรขนาด 17 นิ้ว สวนคอมพิวเตอรโนตบุคนั้น สามารถใชกับงาน ตกแตงภาพไดดีเชนกัน โดยเฉพาะโนตบุครุนใหม ๆ ในปจจุบันมีความเร็วสูงมาก สเปคเครื่อง เทียบเคียงกับแบบตั้งโตะไดอยางสบาย เพียงแตราคาคอนขางสูง ถาสามารถจายไดคุณก็จะไดรับ ความสะดวกมากขึ้น เพราะสามารถพกพาไปใชงานถายภาพนอกสถานที่ โดยที่จะไดเห็นภาพจากจอ ขนาดใหญ แทนที่จะเปนภาพเล็ก ๆ บนจอมอนิเตอรของกลอง และเมื่อถายภาพจนการดเต็มแลว ก็ สามารถโหลดภาพมาเก็บไวในคอมพิวเตอรไดทันที อาจจะใชสายอินเทอรเฟสแบบ USB เชื่อมตอ กลองกับคอมพิวเตอร ซึ่ง USB นับเปนมาตรฐานที่มีอยูในคอมพิวเตอรเกือบทุกรุนในปจจุบัน รวมทั้งกลองดิจิตอลก็มี USB เชนกัน หากคุณใชคอมพิวเตอรแบบโนตบุค ซึ่งปรกติจะมีชอง อินเทอรเฟสแบบ PCMCIA สําหรับใส PC Card ทําใหนําการดมาใสเพื่อโหลดภาพไดทันทีโดยผาน การดอแดปเตอร (ไดทั้งการด Compact Flash, Smart Media หรือ Memory Stick)


255


256

อุปกรณจัดเก็บขอมูล แมวาการดที่ใชจะมีความจุสูงมาก เชน การดแบบ CF ของ IBM Microdrive มีความจุสูง มากถึง 1,024 MB หรือ IGB แตเมื่อบันทึกภาพ ไปเรื่อย ๆ การดจะเต็ม ตองถายโอนภาพลงสู ฮารดดิสกในคอมพิวเตอร ที่ในปจจุบนั มีราคา ลดลงมาก คอมพิวเตอรรุนใหม ๆ จะมีฮารดดิสก ขนาด 20-40 GB ซึ่งใชเก็บภาพไดนับพันนับหมืน่ ภาพ หากตองการนําภาพไปอัดขยาย หรือสงไปใช งานตามที่ตาง ๆ ก็อาจจะเลือกเก็บภาพลงใน แผนดิสก ที่มคี วามจุมาก ๆ เชน Zip ความจุ 100 หรือ 250 MB สามารถบันทึกและลบทิง้ ได แตที่ นิยม คือการจัดเก็บภาพลงบนแผน CD-R ความจุ 650-700 MB ตอแผน ทีส่ ําคัญคือ แผนซีดีเปลามี ราคาถูกประมาณ 15-30 บาท เทานั้น แตขอ แนะนําใหใชแผนที่มีคุณภาพดี โดยเพิ่มเงินอีกเพียง เล็กนอย เพราะจะมีอายุการใชงานที่ยาวนานนับสิบ ปหรือรอยป เชน Kodak Gold CD หรือ Silver นอกจากนี้ยังมีของ Fujifilm, Sony หรือ Imation เปนตน สําหรับเครื่องเขียนแผนซีดีจะมีมาใหใน คอมพิวเตอรบางรุนเทานั้น เชน Apple , HP, Macintosh , Compaq หากไมมีเครื่องเขียนซีดี ก็ สามารถหาซื้อมาไดตามรานจําหนายอุปกรณ คอมพิวเตอรทวั่ ไป ราคาเริ่มตนที่ ประมาณ 3,000 บาท ถาเปนรุนที่มีกลองสําหรับใชงานภาพนอก ราคาจะเริ่มตนประมาณ 4,000 บาท นับวาถูกมาก เมื่อเทียบกับอดีตที่มีราคาหลายหมื่นบาทจนถึงหลัก แสนทีเดียว


257

ซอพทแวร การจัดการภาพและตกแตงภาพ คุณจําเปนตองมีซอฟทแวรอยางนอย 2 โปรแกรม อันดับแรก คือโปรแกรมที่ใชในการจัดเก็บภาพใหเปนหมวดหมู ซึ่งปรกติจะมีแถมมาใหกบั กลองดิจิตอลเกือบ ทุกรุน หรือจะใชโปรแกรมอื่น ๆ ก็ไดมีใหเลือกใชมากมาย โดยโปรแกรมจะแสดงภาพขนาดเล็ก ๆ ในแตละโฟลเดอร ทําใหคน หาภาพไดอยางรวดเร็ว บางโปรแกรมสามารถแสดงภาพแบบสไลดโชว ได มีฟงกชั่นตั้งเวลาอัตโนมัติ พิมพชื่อภาพ หรือลูกเลนพิเศษบางอยาง เชน ทําใหภาพเลื่อนเขาเลื่อน ออกเหมือนสไลดมัลติวิชั่น สําหรับโปรแกรมที่มีความสําคัญมากที่สุดคือ โปรแกรมที่ใชในการตกแตงภาพชางภาพ สามารถจัดการกับภาพถายดิจิตอลใหมีคุณภาพดี และสวยงาม ไดอยางไมเคยมีมากอน อาทิเชน การ ปรับโทนภาพ(Curves) การปรับสมดุลยของโทนสี คอนทราสทและความสวางของภาพ รวมทัง้ การ เปลี่ยนขนาดภาพใหเปนไปตามที่ตองการ หรือจะตัดสวนที่ไมตองการทิ้งออกไป (ไมควรใช คุณสมบัตินี้ขยายภาพใหมีความละเอียดสูงขึ้น เพราะภาพจะไมคมชัดเทาที่ควร และหากตองการสง ภาพไปยังที่ตาง ๆ ทางอีเมลก็สามารถปรับใหเปนไฟลฟอรแมท JPEG เพื่อบีบใหภาพมีขนาดไฟลเล็ก


258 ลง ทําใหสงภาพไดอยางรวดเร็ว โปรแกรมจัดการภาพ และตกแตงภาพที่ไดรับความนิยมมากทีส่ ุด Adobe Photoshop รองลงมาคือโปรแกรม Paint Shop Pro ซึ่งเวอรชั่นใหม ๆ มีประสิทธิภาพสูงมาก ทีเดียว และกําลังเปนคูแขงที่สําคัญของ Adobe Photoshop


259

สแกนเนอร หากคุณไมมีกลองดิจิตอลก็ไมใชเรื่องใหญโตนัก เพราะปจจุบนั มีสแกนเนอรที่มคี ุณภาพดี มากมาย ใหคุณภาพใกลเคียงกับฟลมตนฉบับมาก แตขอแนะนําใหใชสแกนเนอรที่ออกแบบมา สําหรับสแกนฟลมเพียงอยางเดียว ซึ่งสวนใหญจะสแกนไดทั้งฟลมเนกาตีฟสีและฟลมสไลดอยูแลว เชน สแกนเนอรของ Nikon , Kodak หรือ Minotta แตถาตองการใหไดคุณภาพดีใกลเคียงกับฟลมมาก ที่สุดตองใชดรัมสแกนเนอร โดยใชบริการสแกนได จากศูนยบริการทั่ว ๆ ไป คิดราคาตามขนาดไฟล ประมาณ 10-20 บาทตอ 1 MB


260

จอมอนิเตอร จอมอนิเตอรมคี วามสําคัญพอสมควร หากเลือกใชจอขนาดใหญก็จะมีพื้นที่ในการแสดงภาพ มากขึ้น จอสวนใหญเปนแบบ CRT ใชหลอดภาพยิงลําแสงอิเล็กตรอนไปตกกระทบกับจอแกว ซึ่ง จะปรากฎเปนเม็ดสีฟอสเฟอรจุดเล็ก ๆ เรียงกันกลายเปนภาพที่เราเห็นกันนัน่ เอง แตจดุ เหลานีจ้ ะมี ความละเอียดมากจนแยกไมออกดวยตาเปลา และระหวาจอสกรีนกับปนลําแสงอิเล็กตรอนจะมีฉาก กั้นอยูมี 2 แบบคือ Shadow Mask และ Slot Mask ชองวางหรือระยะหางของจุดดังกลาวเรียกวา Dot Pitch ในปจจุบันมีระยะหาง 0.25 – 0.27 มม. สิ่งที่สําคัญที่คุณควรจะตองทราบเกี่ยวกับมอนิเตอร คือ ความสามารในการแสดงภาพโดยมี หนวยวัดเปนพิกเซล ถามีความละเอียดสูงก็จะมองเห็นสิ่งตาง ๆ มากขึ้น จอมอนิเตอรในปจจุบนั สวน ใหญสามารถปรับเลือกความละเอียดได อาจจะปรับทีป่ ุมควบคุมบนจอโดยตรงหรือจะเลือกจากเมนู Display ของ Control Panel ก็ได (Windows 98) เชนความละเอียด 640 x 480, 800 x 600 หรือ 1024 x 768 พิกเซลเปนตน แตการใชจอมอนิเตอรขนาดเล็ก แลวเลือกความละเอียดสูง ๆ ภาพและตัวอักษร จะดูเล็กเกินไป ดังนั้น ความละเอียดสูงจึงเหมาะกับจอที่มีขนาดใหญ เชน จอขนาด 15 นิ้ว จะแสดง


261 ผลไดดีที่ความละเอียด 600 x 800 หรือ 1024 x 768 พิกเซล แตถาจอขนาด 20 นิ้ว จะแสดงความ ละเอียดเพิ่มขึน้ ไดถึง 1280 x 1024 พิกเซล หรือมากกวา

แหลงกําเนิดแสงของจอมอนิเตอร จะใหอุณหภูมิสีที่แตกตางกันได ซึ่งจะเปนปญหา ใหญในการทําใหภาพมีสีผิดเพี้ยนไป คุณสามารถปรับแกอุณหภูมิสีของจอใหถูกตองได เราเรียกวา “White Point” เชนถาคุณตองการชมภาพจากจอมอนิเตอรตามปรกติ ใหเลือกอุณหภูมสิ ีที่ 9300 K (องศาเคลวิน) แตถาใหแสดงผลบนจอโทรทัศนตองปรับไปที่ 6500 K และถาตองการพิมพเปนภาพ ใหเลือก 5000 K สําหรับการปรับจอมอนิเตอรใหมีความสวางมากขึ้นหรือนอยลง เพื่อใหถูกตองตรงกับภาพ จริงนั้น เรียกวา Camera Correction จอมอนิเตอรสวนใหญจะมีคา Gamma มาตรฐานที่ 2.5 อยางไร ก็ตามถาพบวา ความสวางของจอไมถูกตอง คุณสามารถปรับแกไขได เพื่อใหถูกตองตรงกับภาพ ตนฉบับ


262


263

2. Adobe Photoshop Basic โปรแกรม Photoshop นับเปนโปรแกรมที่ใชจัดการเกีย่ วกับภาพทีไ่ ดรับความนิยมมากที่สุด ออกแบบสําหรับใชกับคอมพิวเตอร PC และ Apple Macintosh เวอรชั่นลาสุดป 2546 คือ 7 มี คุณสมบัติพิเศษตาง ๆ มากมายและซับซอน สามารถจัดการ ตกแตงและแกไขภาพไดหลากหลาย รูปแบบตามจินตนาการของผูใชและยังคงมีการปรับปรุง พัฒนาโปรแกรมเปนเวอรชั่นใหมอยาง ตอเนื่อง ซึ่งคุณสามารถอัพเกรดโปรแกรมเดิมที่ซื้อมาไดโดยจายเพิ่มเพียงเล็กนอย

CPU CPU นับเปนอุปกรณทสี่ ําคัญมากในการใชโปรแกรม Photoshop ควรเลือกคอมพิวเตอรที่มีความเร็วในการประมวลผล สูงสุดเทาที่คุณจะซื้อหามาได เพราะ Photoshop เวอรชั่นใหม ๆ มี ความซับซอนมาก หากเปน PC ควรใช CPU ตั้งแต Pentium III หรือ 4 ขึ้นไป สําหรับ Apple Macintosh ทุกรุนในปจจุบนั มี ประสิทธิภาพสูงมาก ใชงานโปรแกรม Photoshop ไดดี แมกระทั่งรุนที่มีราคาต่ําสุดก็สามารถใชงานไดแตตองเพิ่ม RAM ไมต่ํากวา 256 MB จึงจะทํางานไดผลดีมากที่สุด (ขอแนะนําที่ 512 MB หรือมากกวา)

Monitor

จอมอนิเตอรที่มีขนาดใหญ จะชวยใหการ ทํางานสะดวกมากขึ้น เพราะสามารถมองเห็น พื้นที่ภาพไดมาก โดยเฉพาะการซูมภาพเพื่อ ตกแตงรายละเอียด

โดยทั่วไปจอมอนิเตอรที่ใชคือขนาด 15 นิ้ว เพียงพอที่จะ ใชงานได แตจะไมสะดวกมากนัก เพราะการตกแตงภาพตองซูม ภาพขยายเพื่อดูรายละเอียดตาง ๆ ภาพที่เห็นจึงมีขนาดเล็กเกินไป และในกรณีที่เปด Palette ขึ้นมาใชหลายอยางจะบดบังภาพที่กําลัง ทํางานอยู จอภาพที่มีขนาดใหญจึงดูเหมาะสมกวาอาทิ 17 หรือ 21 นิ้ว นอกจากนี้คุณสมบัติอนื่ ๆ ที่จําเปนของมอนิเตอรคือ มีความ คมชัดสูงและที่สําคัญสามารถแสดงสีในระดับ 24 บิต หรือ 16 ลานสี จะทําใหภาพที่มองเห็นบนจอมีรายละเอียดครบถวน เหมือน จริงตามธรรมชาติ


264

Storage File ภาพที่ทําเสร็จสมบูรณจะ Save เก็บไวใน ฮารดดิสกของ CPU แตถาตองการสง File ภาพไปยัง ที่ตาง ๆ เชน สงไปเอาทพุทเปนฟลมสไลดหรือภาพสี หรือเก็บขอมูลภาพจํานวนมากตองใชดิสกภายนอก วิธีที่ดีที่สุดคือ ใชฮารดดิสกชนิดตอภายนอก CPU เพราะมีคุณสมบัติเชนเดียวกับฮารดดิสกทอี่ ยูภายใน ที่สําคัญคือบันทึกและอานขอมูลไดเร็วมาก มีใหเลือก หลายชนิดตามความจุของขอมูลที่สามารถเก็บไวได เชน 10GB, 20GB หรือ 60BG ขอเสียคือราคาสูงกวา สื่อบันทึกขอมูลชนิดอื่น ๆ เชน แผนดิสก ZIP ที่มี ความจะ 100-250MB ราคาแผนเปลาจะถูกกวาแตตอง มีเครื่องอานและบันทึกซึ่งเลือกไดวาจะใสเขาไปใน เครื่องคอมพิวเตอรหรือตอภายนอก ปญหาที่พบเปน ประจําคือ เสียหายไดงายหากใชงานไมระวัง จึง เหมาะสําหรับใชเก็บสํารองขอมูลมากกวาที่จะใชใน การบันทึกซ้ํา หลาย ๆ ครั้ง สวนสื่อบันทึกขอมูลที่ คุมคาที่สุดคือการบันทึกขอมูลลงแผน CD ในหนึ่ง แผนมีความจุมากถึง 650MB ราคาแผนซีดีเปลา ประมาณ 10-30 บาท สวนราคาเครื่องบันทึกประมาณ สองพันบาทขึ้นไป

Memory หนวยความจําชั่วคราวหรือ RAM คือสิ่ง สําคัญในคอมพิวเตอรที่ชว ย Photoshop ทํางานได รวดเร็วโดยเฉพาะไฟลภาพที่มีขนาดใหญ ขอควรจํา คือ ตองมี RAM 2-3 เทา ของขนาดไฟลภาพ

Save File การทํางานทุกครั้งควร Save File อยางสม่ําเสมอทุกระยะเพราะหากเกิดความผิดพลาดเชน กระแสไฟขัดของ โปรแกรมมีปญหา หรืออื่น ๆ งานที่ทํามาทั้งหมดอาจสูญหายไปตองเริ่มตนใหม หากเปนภาพที่ตองการกลับมาทําใหม ควร Save ใน Format PhotoShop แตถาเปนงานที่เสร็จ สมบูรณ ฟอรแมท TIFF คือทางเลือกที่ดี


265

Closing other applications เมื่อคุณใชโปรแกรม Protoshop ใหปดโปรแกรมอื่น ๆ ทั้งหมด เพราะโปรแกรมนี้มีความตองการ RAM มากเปน พิเศษกวาโปรแกรมอื่น ๆ การเปดโปรแกรมหลายอยางอาจทํา ให Photoshop ทํางานชากวาที่ควรจะเปน

Undo & Revert ขณะทํางานมักจะเกิดความผิดพลาดอยูเสมอ คุณ สามารถยอนกลับมาไดโดยใชคําสั่ง Undo ในเมนู Edit หรือ จาก History Palette แตถาตองการกลับมาทีจุด Save ครั้ง สุดทายตองเลือก File, Revert

RGB & CMYK ถางานที่ทําตองการใชกับงานสิ่งพิมพตองเลือกโหมด CMYK สําหรับงานสี่สีและ Grayscale สําหรับงานขาว-ดํา สวนโหมด RGB จะใชสําหรับการนําภาพไปเอาทพทุ เปน ฟลมสไลด/เนกาตีฟ รวมทั้งการพิมพภาพสีจากอิงคเจตพริ้น เตอร การเปลี่ยนโหมดใหเลือกจากเมนู Mode > ...

Small File กอนจะเริ่มงานในไฟลจริง ควรทดลองทําโดย เปลี่ยนขนาดไฟลใหเล็กลง เพราะผลตาง ๆ จะเสร็จสมบูรณ อยางรวดเร็ว เมื่อทดสอบจนเปนที่นาพอใจแลวจึงคอยลงมือ ปฏิบัติในไฟลงานจริงตอไป หากเริ่มที่ไฟลจริงตั้งแตแรกจะ เสียเวลามาก โดยเฉพาะไฟลที่มีขนาดใหญอาทิ 80MB หรือ มากกวา ซึ่งหากไมไดผลเปนที่นาพอใจจะเสียเวลาโดยเปลา ประโยชน การเปลี่ยนขนาดไฟลภาพเลือกเมนู Imoge , Image Size จากนัน้ ลดคาความละเอียดไปที่ 72 dpl และปรับขนาด ภาพโดยคลิ๊กเลือก Proportion สังเกตดูที่ New Size


266

การจัดสี Color แสงสีขาวจากธรรมชาติหรือแสงจากดวง อาทิตยเกิดจากการผสมของแมสีสามสีคือ แดง เขียว และน้ําเงิน (RGB) ซึ่งเหมือนกับสีที่ปรากฏบน จอมอนิเตอร หากนําภาพดิจิตอลที่ทําจากคอมพิวเตอร ไปเอาทพุทเปนภาพจากเครือ่ งพิมพภาพสีหรือเปนฟลม สไลด จะไดสีที่ใกลเคียงกับจอมอนิเตอร แตถา นําไปใชทางการพิมพตาง ๆ สีสันจะผิดเพีย้ นไป เพราะ ทางการพิมพใชแมสี ไซแอนมาเจนตาและเหลือง (CMY) ซึ่งผสมกันแลวจะไดสีดํา นอกจากนี้ขอบเขต ของสีก็ปรากฏแตกตางกัน จอมอนิเตอรสามารถแสดงสี ไดสูงสุด 16.7 ลานสี นอยกวาที่ตามนุษยสามารถ มองเห็น สวนการพิมพจากโรงพิมพอยูในระดับหมื่นสี เทานั้น


267

สวนประกอบหลักของโปรแกรม PhotoShop


268

การใชเครื่องมือตาง ๆ เบือ้ งตน โปรแกรม Photoshop มีเครื่องมือตาง ๆ ให ใชมากมายโดยจัดเปนหมวดหมูเพื่อใหใชงานงายและ สะอวก เครื่องมือหลักทั้งหมดจะอยูใ น Tool ใช สําหรับตกแตงแกไขภาพ และ Palette ใชสราง หนากากเลเยอร และแซลแนล สําหรับงานที่ซับซอน และยุงยากกวาปกติ คุณสามารถเลือกใชเครื่องมือ ตาง ๆ ที่อยูใน Toolbox โดยการคลิ๊กเลือกเครื่องมือที่ ตองการ หรือกดตัวอักษรทีแ่ ปนคียบอรดก็ได (ตัวอักษรที่อยูว งเล็บ) และยาย Toolbox ไปวางไว ในตําแหนงทีต่ องการไดโดยคลิ๊กคางไว แลวลากที่ แถบสีเทาทางดานบน


269

Toolbox Overview, ตัวอยางการใชเครื่องมือในทูลบอกซ


270

รูปที่ 80


271


272


273

ความละเอียด , ขนาดไฟล, และเอาทพุช ภาพตัวอยางทางดานซายนี้เปนการทํางาน เพื่อนําภาพไปทําเปนสิ่งพิมพจากโรงพิมพ ซึ่งพิมพ ที่ความละเอียด 175 lpi ความละเอียดของการ สแกนภาพที่เหมาะสมคือสองเทาของความละเอียด ที่ใชในการพิมพนั่นคือ 350 dpi ซึ่งภาพที่ไดจะ คมชัดเหมือนกับตนฉบับ แตถาพิมพที่ความ ละเอียดต่ํากวา อาทิ 200 dpi ภาพจะหยาบและไม คมชัด ถาใช 72 dpi ภาพจะหยาบมาก ภาพ A สแกนจากสไลดดวยดรัมสแกนเนอรขยาย 8 x 8 นิ้ว ที่ความละเอียด 72 dpi เมื่อนําไปพิมพดวยอิงคเจ็ท พรินเตอรภาพจะหยาบมาก แตเมื่อนําไปเปดดูจาก PhotoShop ที่ 100 % ภาพจะมีขนาด 8 x 8 นิ้ว และคมชัดเหมือนตอน ฉบับเพราะมอนิเตอรแสดงความละเอียดที่ 72 dpi เทากัน สวนภาพ B สแกนที่ 8 x 8 นิ้ว แตใชความละเอียด 300 dpi ขนาด ไฟล 16.5 MB ภาพบนจอมอนิเตอรที่ 100% จึงมีขนาดใหญมาก เมื่อนําไปพิมพจะมีคุณภาพสูงสุด คมชัดดุจภาพถาย


274

วิธีการใช Palette Adobe Photoshop มีเครื่องมือตาง ๆ ใหเลือกใช มากมาย จัดเปนหมวดหมูอยูใน Toolbox และอีกสวน หนึ่งจะแยกเปน Palette เพื่อความสะอวกในการทํางาน เมื่อเริ่มตนใชโปรแกรมคุณจะพบวา Palette จะถูกจัดเก็บ ไวรวมกันเปนชุด ๆ แตละชุดจะมีตั้งแต 2 – 4 Palette ซึ่ง สามารถยายสลับตําแหนงหรือแยกออกมาตางหากได รวมทั้งการซอนใหเห็นเพียงชื่อของ Palette ก็ได

วิธีการเปด/ปด Palette จากเมนูบาร เลือก Winsow > show ... เมื่อตองการ ซอนใหเลือก Window > Hide... แตถาตองการซอน Palette ทั้งหมดใหกดแปนคียบอรด Shitt + Tab และเมื่อตองการดู Palette ทั้งหมดใหกดคียบอรดดังกลาวซ้ําอีกครั้ง แตถากด ปุม Tab อยางเดียวจะซอน Toolbox และ Palette ปรับตําแหนงของ Palette และ Dialog boxes วิธีการปรับ Palette ใหกลับสูตําแหนงมาตรฐาน 1.เลือก File > Preferences > General 2.คลิ๊ก Reset Palette .... วิธีการปรับ Palette ใหกลับสูตําแหนงมาตรฐานทุกครัง้ ที่ เปดโปรแกรมครั้งใหม 1.เลือก File > Preferences > General 2. คลิกยกเลิก Save Palette Location เพื่อให Palette กลับสูตําแหนงมาตรฐานเมื่อเปด โปรแกรม Photoshop ใหมทุกครั้งที่มีการเปดโปรแกรม วิธีการใช Context Menu เมื่อเลือกเครื่องมือจาก Toolbox ที่ตองการแลวคุณสามารถเลือกคําสั่งจากเมนูยอยที่อยูใน Option palette และตําแหนงของ Bush ไดอยางรวดเร็ว โดยคลิ๊กเลือกที่ภาพไดทันที วิธีการเปด Context Menu 1. วางตําแหนงเมาทที่ภาพ 2. เลือกปฏิบัติดังนี้ • สําหรับ Macintosh กดปุม Control และคลิ๊กเมาทคางไว


275 • สําหรับ Window คลิกเมาทที่ปุมขวา วิธีการใช Navigator palette Navigator palette ใชสําหรับการเลือกภาพสวนใด สวนหนึ่งอยางรวดเร็ว ใชซมู ขยายภาพหรือยอภาพ ปรับไดละเอียดครั้งละ 1% วิธีการขยายภาพ • คลิ๊กปุม Zoom in หรือ Zoom out เพื่อยอ หรือขยายภาพ • เลื่อนแถบ Zoom slider • พิมพตัวเลขกําหนดอัตราขยายภาพเปน เปอรเซ็นต • กดปุม Commond (Mocintosh) หรือ Ctrl (Window) จากนั้นลากเมาทเลือกพื้นทีภ่ าพที่ ตองการขยายในภาพเล็กของ Palette วิธีการเปลี่ยนสีกรอบแสดงขอบเขตภาพ คามาตรฐานกําหนดใหกรอบแสดงขอบเขตภาพ เปนสีแดง แตสามารถเปลี่ยนไปเปนสีอื่นไดกรณีที่ ภาพมีโทนสีเดียวกัน 1. เลือก Palette Option จากเมนูยอยของ Navigator palette 2. เลือกอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้ • เลือกสีที่ตองการจากเมนูทกี่ าํ หนดไวแลว • เลือกสีจาก Custom color 3. คลิ๊ก OK กําหนดหนวยและไมบรรทัด ทุกภาพทีเ่ ปดขึ้นมาสมารถแสดงไมบรรทัดไดโดย เลือก View > Show Ruler จะปรากฎแถบไม บรรทัดอยูทางดานบนและซาย สําหรับหนวยของไมบรรทัดนั้นเลือกจาก File > Preference > Units & Rulers เลือกหนวยที่ตอ งการจากชอง Ruler มีใหเลือกหลายแบบเชน นิว้ เซ็นติเมตร พอยท ไพกา พิกเซล หรือเปอรเซ็นต รวมทั้งกําหนดขนาดความกวางของคอลัมนและระยะหางของคอลัมน


276 การนําภาพมาใชใน PhotoShop ภาพทุกชนิดสามารถนําเขามาใชในโปรแกรม Adobe PhotoShop โดยใชไดเกือบทุกฟอรแมท ตั้งแตภาพที่ไดจากการสแกนดวย สแกนเนอร ภาพสไลด ภาพวาด ภาพถายจากกลองดิจิตอลหรือ กระทั่งภาพจากกลองวีดีโอในบทนี้จะแนะนําใหคณ ุ รูจักกับ พื้นฐานของภาพ ในระบบดิจิตอล อาทิ ความละเอียด ขนาดไฟล เพื่อใหไดผลงานที่มีคุณภาพสูงสุด ภาพใน PhotoShop คือ Bitmap ภาพที่นําเขามาหรือวาดขึ้นใหมในโปรแกรม Photoshop จะมี ลักษณะที่เรียกวา Bitmap กลาวคือภาพจะประกอบไปดวยจุด สี่เหลี่ยม (พิกเซล) ขนาดเล็ก ถาดูบนจอมอนิเตอรที่อัตราขยาย 1:1 จะมองไมเห็นจุดเหลานี้ และภาพจะมีโทนที่ตอ เนื่องเหมือน ภาพถายที่พิมพบนกระดาษ (A) แตหากซูมขยายขึ้นมาเชน 600% ก็จะมองเห็นพิกเซล (B) และชัดเจนขึ้นเมือ่ ขยายมากขึน้ ตามลําดับ

ภาพความละเอียดสูงดีที่สุด ภาพที่มีความละเอียดสูงจะเหมาะสําหรับนํามาใชตกแตงหรือ แกไขมากที่สดุ เพราะเมื่อซูมขยายขึ้นมามาก ๆ ยังมีความคมชัด และเห็นรายละเอียดตาง ๆ ไดครบถวนทําใหตกแตงภาพไดงาย แต ภาพที่มีความละเอียดสูงขนาดไฟลก็จะใหญมากขึ้นตามไปดวย สงผลใหคอมพิวเตอรทํางานชาลง จึงควรเลือกภาพทีม่ ีขนาดไฟล เหมาะสมกับคอมพิวเตอรที่ใชดวย

ภาพเพื่อการพิมพ หากตองการตกแตงภาพเพื่อไปใชในการพิมพ ควรเลือกสแกน ภาพที่ความละเอียด 300-350 dpi (C) แมวาภาพที่มีความละเอียด 72 dpi จะดูคมชัดบนจอมอนิเตอรก็ตาม (D) (ขยายที่ 1:1) ภาพบนจอมอนิเตอร ภาพที่ปรากฏบนจอมอนิเตอรนั้นมีลักษณะเปนพิกเซล ขนาดเล็กจํานวนมาก คามาตรฐานที่แสดงบน จอมอนิเตอรสําหรับ Apple Macintosh ถูกกําหนดไวที่ 72 dpi สวน PC กําหนดไวที่ 92 dpi ใน โปรแกรม PhotoShop เมื่อภาพที่นําเขามามีความละเอียดสูงกวาคาของมอนิเตอร ภาพที่ปรากฏบนจอ ก็จะมีขนาดใหญกวาของจริง ยกตัวอยางเชน ภาพขนาด 4 x 4 นิ้ว สแกนที่ความละเอียด 144 dpi (สองเทาเมื่อเทียบกับความละเอียดของมอนิเตอร) เมื่อนําไปเปดใน Photoshop และขยายที่ 100 % จะ ไดภาพปรากฎบนมอนิเตอรขนาด 8 x 8 นิ้ว (สองเทาของภาพตนฉบับ)


277 การแสดงคาความละเอียดและขนาดไฟล ภาพทุกภาพใน Photoshop จะแสดงคา ความละเอียดขนาดไฟล ขนาดสัดสวนของ ภาพ จํานวน แซนแนล ทีม่ ุมลางซายของ ภาพ

วิธีดูขนาดไฟล คลิ๊กที่สามเหลี่ยมทางมุมลางซายจะปรากฎ เมนูยอย ใหเลือก Document Sizes ตัวเลข แสดงขนาดไฟลจะปรากฎในชองดานลาง ซายสุด ตัวเลขชุดแรกคือขนาดไฟลจริงที่ จะนําไปพิมพผานเครื่องพิมพและไมรวม Layer หรือ Channel สวนตัวเลขชุดที่สอง คือขนาดไฟลที่กําลังทํางานอยู ซึ่งจะรวม เอา Layer และ Channel ทั้งหมด หากมี การสราง Layer และ Channel มากขนาด ไฟลก็จะใหญมากขึ้นตามลําดับ การ ทํางานจะชาลง ถา Layer หรือ Channel ที่ไมไดใชควรลบทิ้งใหหมด วิธีดูขนาดภาพแซนแนลและความละเอียด กดปุม Option (Macintosh) หรือ Alt (Window) คางไวกอน จากนั้นคลิ๊กที่ตัวเลข ทางมุมลางซายจะปรากฎกรอบ แสดงขอมูลขนาดภาพ ความ ละเอียดและโหมด (A ) : กดปุม Command (Mocintosh) หรือ Ctri (Window) คางไวแลวคลิ๊กที่ ตัวเลขทางมุมลางซายจะแสดง ความละเอียดเปนพิกเซลและ อัตราสวนภาพ ( B )


278

การเปลี่ยนแปลงขนาดภาพที่ตองการพิมพ ภาพที่นําเขามาในโปรแกรม Photoshop ไมวาจะมีขนาดและความละเอียดเทาใดก็ตาม คุณสามารถ เปลี่ยนแปลงแกไขไดตามตองการ แตถาตองการนําภาพนั้นไปทําเปนสิ่งพิมพที่พมิ พดวยระบบออฟ เซ็ท ตองสแกนดวยความละเอียด 350 dpi เมื่อพิมพออกมาจะไดภาพที่คมชัดเหมือนธรามชาติ หาก ความละเอียดต่ํากวานี้ ภาพจะดูเบลอและหยาบเกินไป ถาภาพที่นําเขามามีความละเอียดต่ํา เชน 144 dpi คุณสามารถเพิ่มความละเอียดได (ขนาดไฟลจะใหญขึ้น) เปน 350 dpi โดยเลือก Image > Image Size แตภาพจะคมชัดนอยกวาเมื่อเทียบกับภาพที่สแกนมา 350 dpi พอดี สวนภาพที่มีความละเอียดสูง กวานีจ้ ะไมมีความจําเปนและทําใหการทํางานชาลง


279

Selection, Layer, Channel การใช Selection การตกแตงภาพในโปรแกรม PhotoShop นั้น คุณสามารถเลือกตกแตงไดทั้งมดหรือเลือกเฉพาะ บางสวนในภาพ วิธกี ารเลือกตองทําสิ่งที่เรียกวา Selection เสียกอนเปนการกําหนดบริเวณพื้นทีท่ ี่ ตองการเมื่อกําหนด Selection ไดแลว คุณสามารถ กอปป เคลื่อนยาย ระบายสี หรืออื่น ๆ ตามตองการ โดยจะไมมีผลกับภาพที่อยูนอก Selection

การสราง Selection เครื่องมือที่ใชสราง Selection จะอยูใน Toolbox เริ่มจาก Marquee และ Lasso ใชเมาทลากเพื่อกําหนด Selection ถัดมาคือ Magic Wand และ Coler Range ใช สราง Selection อัตโนมัติในบริเวณที่มีโทนสีใกลเคียง กัน เมื่อคุณใช Selection tool คุณสามารถกําหนดคา ตัวเลือกตาง ๆ ไดจาก Option palette นอกจากนี้ยัง สามารถใช Pen tool เพื่อสราง Path ในสวนที่มีลวดลาย ยุงยากทั้งเสนตรงและเสนโคง ซึ่งสามารถเปลี่ยน Path ใหเปน Selection ในภายหลัง

การใช Marquee tool Marquee tool มีทั้งหมดสี่แบบ คุณสามารถ เลือกพื้นที่ในรูปสี่เหลี่ยม วงกลม ซึ่งเลือกไดจากมุมใด มุมหนึ่งหรือจากจุดศูนยกลางก็ได

วิธีใช Marquee tool 1. เลือก Marquee ที่ตองการจาก Toolbox แลวลาก เมาทเลือกพื้นที่ที่ตองการ


280 หมายเหตุ : ปรับเปลี่ยน Rectangle, Eliptical หรือเสน Selection ในแนวตั้ง แนวนอน โดยการกดปุม Option (Mac) หรือ Att(Windows) แลวคลิกที่ Marquee หรือกดปุม M ที่คียบอรด 2. เมื่อ Marquee tool ใน Option palette ยังเลือกลักษณะของ Selection ไดสามแบบ คือ แบบธรรมดา แบบอัตราสวนคงที่ และแบบกําหนดขนาดของ Selection 3. การสราง Selection รูปสี่เหลี่ยมหรือวงกลม เลือกไดสองวิธี คือ คลิกเมาทลาก Selection ที่ตองการจากมุมใดมุมหนึ่ง หรือกดปุม Option (Mac)/Att(Windows) คางไวกอนจะเปนการสราง Selection จากจุดกึ่งกลาง วิธีใช Lasso & Polygon Lasso tool Lassor ( e ) และ Polygon Lasso ใชสรางเสน Selection แบบอิสระไมจํากัดรูปแบบ เมื่อลากเมาทจนครบรอบ จะได Selection Selection ตามตองการ วิธีใช Lasso tool 1. คลิกสองครั้งที่ Lasso tool เพื่อเปด Option palette 2. คลิกยกเลิก Anti-allased 3. ลากเมาทไปตามทิศทางที่ตองการ 4. ขณะลากเมาทสราง Selection สามารถสรางเสนตรงไดโดย กดปุม Option (Mac)/Att(Windows) วิธีใช Polygon Lasso tool ใชสรางเสน Selection อิสระแบบเสนตรง เริ่มตนโดยคลิกเมาท หนึ่งครั้งที่จุดเริ่มตน จากนัน้ คลิกที่จุดตอ ๆ ไป และเมื่อกดปุม Option (Mac)/Att (Winddows) จะสามารถลากเสนไดอิสระ เหมือนกับ Lasso


281

วิธีใช Magic wand tool Magic wand ใชสราง Selection ในบริเวณที่มีโทนสี เหมือนกับตําแหนงที่คลิกเมาท 1. คลิกสองครั้งที่ Magic wand tool จะได Option palette 2. ตั้งคา Tolerance เพื่อกําหนดคาพิกเซลของโทนสี ที่ใกลเคียงกัน เลือกไดจาก 0 – 255 หากตั้งคา ตัวเลขนอยจะไดโทนสีที่เหมือนกันเทานัน้ แตถาตั้ง คามากขึ้น โทนสีที่คลายกันและอยูต ดิ กันจะถูก เลือกดวย วิธีใช Color Range Color Range ใชงานคลายกับ Magic wand แตจะ เลือกโทนสีที่คลายกันทั้งภาพ หรือเฉพาะใน บริเวณ ที่มี Selection กําหนดขอบเขตไวกอนแลว 1. เลือก Select > Color Range (รูป 1) 2. เลือก Sampled Colors จากเมนูยอย 3. ใชไอคอน คลิกบริเวณที่ตองการสราง Selection ในที่นี้เลือกทองฟา จะสังเกตไดวา บริเวณที่มีโทนสีฟาจะปรากฏเปนสีขาว แตถาสีขาว ปรากฏเพียงบางสวนก็จะได Selection เพียงเทานั้น สามารถปรับเพิ่มชวงของโทนสีไดโดยการคลิก เลื่อน Fuzziness (ในวงกลมสีแดง) ตัวเลขที่เพิ่มขึ้น จะทําใหโทนสีที่ใกลเคียงกันถูกเลือกซึ่งสังเกตุได จากสีขาวในไดอะล็อกบอกซ (รูป 2) และถา ตองการเพิ่มพืน้ ที่สีขาวใหใชไอคอน Eyedropper ที่มีเครื่องหมายบวก จากนั้นคลิก OK จะได Selection ของทองฟา (สวนที่เปนสีขาวใน ไดอะลอกบอกช) 4. เลือก image >Adjust Hue/Saturation คลิกเลื่อน แถบสไลดของ Hue ไปทางขวาหรือพิมพตวั เลข


282 24 ลงไปและคลิกเลือก Preview เพื่อดูผลที่เกิดขึ้น จะเห็นวาทองฟามีสีเขมขึ้นโดยตัวนกยัง เหมือนเดิม (รูป 3) วิธีการลดหรือขยาย Selection หลังจากได Selection ที่ตองการแลว คุณสามารถเปลี่ยนแปลงหรือแกไขอาทิ ขยาย ลด หรือเปลี่ยน ขอบใหกวางขึน้ 1. เลือก Select > Modify > Expand 2. พิมพตัวเลข 1 – 16 เพื่อขยายขนาดของ Selection ใหใหญขึ้น แลวคลิก OK 3. เลือก Selct > Modify > Contract 4. พิมพตวั เลข 1 – 16 เพื่อลดขนาดของ Selection ใหเล็กลงแลวคลิก OK วิธีการปรับขนาดเสนรอบนอกของ Selection Selection ไมวาจะสรางดวยวิธีใดจะมีขนาดของเสนอีก 1 พิกเซล คุณสามารถปรับขนาดใหใหญขึ้น ไดตามตองการ 1. เลือก Select > Modify > Border 2. พิมพตัวเลข 1 – 64 เพื่อเปลี่ยนขนาดของเสน Selection วิธีการปรับ Selection ใหขอบนุมและเบลอ Selection ปรกติดจะมีเสนขอบที่คมชัด แตสามารถเลือกใหขอบเบลอไดโดยกําหนดคา Feather ที่ ตองการ 1. ใช MarqueeTool จาก Toolbox สรางกรอบ Selection สี่เหลี่ยมลอมรอบภาพ (1) แลวใหเลือก Selec > Feather กําหนดคา 10 พิกเซล (2) 2. เลือก Select > Inverse (3) 3. เปลี่ยนสี Background เปนสีเหลือง 4. เลือก Edit, Cut จะเปนการระบายสีเหลืองลงในกรอบ Selection (4) วิธีการเพิ่ม Selection Selection ที่สรางเอาไวแลวสามารถปรับเพิ่มในสวนอืน่ ๆ ไดอีก 1. ใช MarqueeTool จาก Toolbox สราง Selection ที่ตองการ 2. กดปุม Shift ที่คียบอรด คางเอาไวแลวใชเครื่องมือเชน marquee หรือ Lasso สราง Selection บริเวณอืน่ เปนการเพิ่มพื้นที่ Selection วิธีการลด Selection Selection ที่สรางเอาไวแลวสามารถปรับเพิ่มในสวนอืน่ ๆ ไดอีก 1. ใช MarqueeTool จาก Toolbox สราง Selection ที่ตองการ 2. กดปุม Option (Macintosh) หรือ Alt (Windows) คางเอาไวแลวใชเครื่องมือเชน Marquee หรือ Lasso สราง Selection ภายในเปนการลดพื้นที่ Selection บริเวณนั้น


283 วิธีการใช Path Path ใชสําหรับกําหนดบริเวณที่ตองการทํางาน โดยใช Pen tool จาก Toolbox คลิกสราง Path จากนั้นเปลี่ยน Path ใหเปน Selection เพื่อ ทํางานในลําดับตอไป ซึ่ง Path สามารถเลือกได เสนตรงและเสนโคง รวมทั้งปรับเปลี่ยนไดในทุก จุด เมื่อเสร็จแลวยัง Save เก็บไวได หรือจะกอป ป Path ไปใชกับภาพอืน่ ๆ ใน Path แตละชุดจะ มีจุดที่เชื่อมตอเสน Path เรียกวาจุด Anchor และ ในแตละจุดจะมีแขนที่ใชปรับสวนโคงของเสน วิธีการสราง Path แบบเสนตรง ใน Path palette จะแสดงภาพขนาดเล็ก และชื่อ ของ Path ซึ่งถามี Path จํานวนมากจะดูไดจาก การ คลิกขยาย Palette หรือใชแถบเลื่อนทางดาน ขวา 1. เลือก Window > Show Paths 2. เลือก Pen tool ( ) จาก Toolbox คลิก หนึ่งครั้งที่จุดเริ่มตนในภาพ จะไดจุด Anchor และใน Path palette จะปรากฏแถบ ชื่อ Work path พรอมภาพขนาดเล็กแสดงจุด ที่คลิกลงไป 3. ใช Pen tool คลิกจุดตอไปจะไดจุด Anchor จุดที่สอง ระหวางจุดจะมีเสน Path ปรากฏ เปนเสนตรง 4. คลิกจุด Anchor ตอไปจนมาจบที่จุดเริ่มตน เปนอันสิ้นสุดการสราง Path และใน Path palette ปรากฏภาพขนาดเล็กเปนเสนตาม รูปรางที่คลิกเลือกไว 5. ในเมนูยอยของ Path palette เลือก Sove Path จะไดไดอะล็อคบอกซใหตั้งชื่อโดยจะมีชื่อ Path 1 อัตโนมัติ สามารถเปลี่ยนชื่อไดตาม ตองการ หากตองการเปลี่ยนชื่อภายหลังใหคลิกที่ชื่อ Path สองครั้ง


284 วิธีสราง Path แบบเสนโคง การคลิกเมาทเพื่อสราง Path แบบทีละจุดจะได Path แบบเสนตรง แตถาคลิกเมาทคางไวแลว ลากเสน Path จะโคงตามทิศทางการลากเมาท สําหรับใชเลือกภาพที่มรี ูปรางโคง 1. เลือก Pen tool จาก Toolbox เลือก View > Show Rulers. คลิกเมาทคางที่แถมไมบรรทัด ดานบนแลวลากเสนไกดลงมาถึงกึ่งกลางภาพ. คลิกเมาทคางไวที่เสนไกดดานซาย จากนัน้ ลาก เมาทลงมาทางดานลางเฉียงไปทางขวาเล็กนอย 2. คลิกจุดที่สองโดยใหอยูในตําแหนงกึ่งกลางเสนไกดแลวลากเมาทเฉียงขึ้นดานบน จะไดเสน Path โคงแบบครึ่งวงกลม 3. คลิกจุดที่สามโดยใหอยูในแนวเสนไกดทางดานขวาแลวลากเมาทเฉียงลงดานลาง จะไดเสน Path โคงแบบครึ่งวงกลมทางดานบนอีกเหนึ่งเสนตอเนื่องกัน 4. กดปุม Option + Control (Macintosh) คางไวเพื่อเปลี่ยนใหเปน Convert-anchor point หรือเลือก จากทูลบอกซ จากนั้นคลิกทีแ่ ขนทางดานลางเลื่อนขึ้นไปทางดานบน จะไดเสนโคงอยู 5. คลิกจุดสุดทายแลวลากเมาทลงทางดานลางเพื่อสรางเสนโคงอีกครั้งหนึ่ง ดานบนเหมือนกับเสนโคงชุดที่สอง 6. กดปุม Command คางไว ไอคอนจะเปลียนเปน Direct Selection (รูปลูกศร) คลิกที่เสน Path จะสามารถปรับ Path ไดตามตองการ ในที่นี้คลิกลากลงมาทางดานลางเพื่อใหเสนโคงต่ําลง

วิธีการเคลื่อนยาย Path หลังจากสราง Path เสร็จเรียบรอยแลวเราสามารถเคลื่อนยายตําแหนงเสน Path ทั้งหมดไดโดยใช Direct Selection Tool จาก Toolbox คลิกลากกรอบสี่เหลี่ยมลอมรอบเสน Path ทั้งหมด จะปรากฏจุด ดําที่จุด Anchor ทั้งหมด จากนั้นคลิกที่เสนใดเสนหนึ่ง แลวลากเมาทไปจะเปนการยายเสน Path ทั้งหมด


285 วิธีการวาดเสนใน Path หลังจากไดเสน Path ตามตองการแลว สามารถวาด เสนลงไปใน Path ได ซึ่งตองเลือกกอนวาจะวาดเสน รูปแบบใดอาทิ ดินสอ พูกัน และขนาดของเสน เสน แข็งหรือเสนทีม่ ีขอบนุม เปนตน 1. คลิก Pencil tool และเปด Brush palette เลือก ขนาดที่สี่แถวบน และเลือกสี Foreground สีแดง 2. ใน Path palette คลิกที่ Path 1 3. เลือก Stroke Path จากเมนูยอยใน Path palette จะปรากฏไดอะล็อคบอกใหเลือกรูปแบบการวาด เสน ใหเลือก Pencil แลวคลิก OK 4. จากเมนูยอยใน Path palette เลือก Tum of Path วิธีการเปลี่ยน Path ใหเปน Selection คลิกเลือกที่ Path 1 ใน Path palette แลวเลือก Make selection จากเมนูยอย การเคลื่อนยาย Selection หลังจาก Selection แลว คุณสามารถเคลื่อนยายไปยัง ตําแหนงอืน่ ๆ ไดตามตองการ แตถาจะยายภาพที่อยู ใน Selection ตองเปลี่ยนไปใช Move tool กอน เมื่อ ลากเมาทยายภาพออกไปแลวจะปรากฏสีของ Background แทนที่ ในภาพนี้เลือก Background สี ขาว หาก Selection ยังคงอยูสามารถยายตําแหนงไป ไดตามที่ตองการ จนกระทั่งยกเลิก Selection ภาพที่ เคลื่อนยายออกมาก็จะติดกับ Background ทันที


286

วิธีการกอปปภ าพใน Selection 1. เปดภาพทีต่ องการ 2. เลือก Rectangle marquee ลากเสน Selection 3. เลือก Move tool คลิกที่ภาพาพรอมกับกดปุม Option (Macintosh) หรือ Alt (Windows) คางไว แลวลากเมาทไปทางขวา จะเปนการกอปปภาพนก อีกภาพหนึ่ง หมายเหตุ : หากกดปุม Shift รวมดวยจะทําใหภาพที่ กอปปอยูในแนวเดียวกับภาพเดิม วิธีการกอปป Selection จากภาพหนึง่ ไปยังอีกภาพหนึง่ 1. เปดภาพทีต่ องการ 2. เลือก Rectangle Marquee ลากเสน Selection 3. คลิกที่ภาพภายใน Selection คางไวแลวลากเมาท ไปยังอีกภาพหนึ่งจะเปนการกอปป Selection หมายเหตุ : หากกดปุม Shift รวมดวยจะทําให Selection ที่กอ ปปอยูในตําแหนงเดียวกับภาพเดิม วิธีการใช Quick Mask Quick Mask เปนเครื่องมือที่อยูใน Toolbox ใชสราง Selection อยางรวดเร็ว เพื่อใหการทํางานสะดวกมาก ยิ่งขึ้น โดยไมจําเปนตองใชเครื่องมืออื่น ๆ เชน Lasso หรือ Path ซึ่งใชงานไดเหมือนกันแตชา กวา การใช Quick Mask ตองสราง Selection ขึ้นมาเสียกอนโดย ใช Marquee Lass, Magic Wand, Path หรืออื่น ๆ จากนั้นใหคลิกที่ไอคอน Quick mask ซึ่งอยูทางดาน ลางของ Toolbox (ลูกศรชี้สีแดง) จะเห็นวามีสีแดง ความเขม 50% อยูภายใน Selection หมายถึงบริเวณที่ เปน Selection ซึ่งเราสามารถเพิ่มหรือลดสีแดงนี้ไดโดย ใชเครื่องในการวาดภาพเชนพูกัน (Paintbrush) หรือ ยางลบ (Eraser) การเพิ่มพื้นที่สีแดงจะเปนการเพิม่ Selection และการลดพื้นที่สีแดงจะเปนการลดพื้นที่ Selection เชนกัน นอกจากนี้ยังสามารถเปลี่ยนโทนสีของ Quick Mask จากสีแดงไปเปน


287 สีอื่น ๆ รวมทั้งการกําหนดความเขมจางเพื่อใหเหมาะสมกับภาภพที่กาํ ลังทํางานอยูโ ดยการ คลิก 2 ครั้งที่ไอคอน Quick Mask จะปรากฏไดอะลอกบอกซ Quick Mask Option ใหเลือกสีและพิมพ ตัวเลขกําหนดความเขมจางที่ตองการ (Oppacity) รวมทัง้ เลือกไดวาจะใหสีที่ปรากฏใน Quick Mask อยูภายในหรือภายนอก Selection (Color Indicates)

1. สรางไฟลงานใหม Flle > New กําหนดขนาดภาพที่ตองการ จากนั้นคลิกเมาทที่ Marquee Tool คางไวเลือก Elliptical ที่เปน รูปวงกลมลากเมาทสรางเสน Selection รูปวงรี 2. คลิกเลือก Quick Mask ทางดานขวาจะเห็นวาพื้นที่นอก Selection มีสีแดงอยู 3. ใช Paintbrush Tool เลือกขนาดที่ตองการจาก Brush Palette แลวคลิกที่ภาพทางดานซาย สีที่ไดจะเปนสีแดง จากนั้นเปลี่ยน Foreground เปนสีขาวแลวคลิกระบายสีขาวทางดานขวา 4. กลับมาคลิกเลือก Quick Mask ทางดานซาย เพื่อเขาสูสภาพ ปรกติ จะเห็นวาพื้นที่สีแดงที่ระบายเพิ่มจะมีสวนของ Selection ลดลงและพื้นที่สีขาวที่ระบายลงไปจะมีสว นของ Selection เพิ่มขึ้น วิธีการใช Type Tool Type Tool เปนเครื่องมือที่อยูใน Toolbox ใชสรางตัวอักษรแบบตาง ๆ โดยเลือก Type Tool แลวคลิกที่ภาพหนึ่งครั้ง จะปรากฏ ไดอะล็อกบอกซใหกําหนดแบบหรือฟอนตของตัวอักษร ขนาดและอืน่ ๆ จากนั้นจะไดตัวอักษรตามที่ตองการปรากฏอยูบนภาพ ฟรอนททมี่ ี ใหใชทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษตามที่ใสเอาไวในโฟลเดอรของ System และเลือกพิมพตวั อักษรได 4 แบบคือ ปรกติ, ตัวโปรงมี เฉพาะ Selection, ตัวปรกติในแนวดิ่งและตัวโปรงในแนวดิ่ง


288

Adobe Type Manager หากคุณใชฟรอนทโพสคริปตและตองการตัวอักษรที่สวยงามไมมีขอบหยัก ตองใชโปรแกรม Adobe Type Manager หรือ ATM ของ Adobe โดยใสไวในโฟลเดอร Control Panels การใชงานใหคลิก สองครั้งที่ไอคอน ATM เพื่อเปดโปรแกรมนี้ จากนั้นเลือก File > Preferences และปรับคาในชอง Character Cache Size ที่ 1MB (ในวงรีสีแดง) จากนัน้ Restart เครื่องใหมเพื่อให ATM ทํางาน และในไดอะลอกบอกซของ Type Tool ใหคลิกเลือก Anti-Aliased (ในวงรีสแี ดง) จะชวยให ตัวอักษรทีพ่ ิมพใน Photoshop มีความสวยงาม ไมปรากฎขอบหยักบริเวณสวนโคงของตัวอักษร • ตัวอักษรแบบปรกติ สีของตัวอักษรจะเปนไปตามสี Foreground เสมอ หากตองการสีตัวอักษร แบบอื่นตองเลือกสีจากไดอะล็อกบอกซของ Type Tool ในชอง Color • หากตองการดูแบบและขนาดตัวอักษรที่จะไดจริง ใหคลิกเลือกที่ Preview ในไดอะล็อกบอกซ ของ Type Tool • ตัวอักษรแบบปรกติเมื่อพิมพไปแลวจะเปนเลเยอรใหมโดยอัตโนมัติ หากตองการรวมตัวอักษร เขากับ Background ใหเลือก Merge Down จากเมนูยอ ยของ Layer Palette


289

การใช Layer

การตกแตงภาพใน PhotoShop เราสามารถแบงภาพออกเปน ชั้น ๆ หรือ Layer ไดโดยแตละภาพจะแยกออกจากกัน เมื่อ เลือกทํางานทีภ่ าพหรือเลเยอรใดจะไมมีผลกับเลเยอรอื่น ๆ ชวยใหการตกแตงภาพสะดวกมากยิ่งขึน้ และเมื่อดูภาพจริงจะ มองเห็นเปนภาพเดียวกัน ตองดูที่ Layer Palette โดยเลือก จากเมนูไปที่ Window > Show Layer จะไดพาเล็ตดังภาพ ขางบน ในภาพตัวอยางนี้มีเลเยอรอยูสามภาพ ดานลางสูดคือ สวนที่เรียกวา Background ถัดขึ้นไปเปนเลเยอรตา ง ๆ คือ Fish 1, Fish 2 และ Fish 3 ภาพที่มองเห็นจากภาพจริง (1) จะ ดูเหมือนเปนภาพเดียวกันทั้งหมด และไดแสดงใหเห็นถึง ความสัมพันธระหวางภาพในแตละเลเยอรในภาพที่ (2) และ (3) ภาพ Background ที่อยูดานลางสุดของพาเล็ตตจะเปนภาพที่ เต็มพื้นที่ทั้งหมด แตสําหรับ Layer อาจจะเปนภาพเต็มหรือ เพียงสวนหนึ่งสวนใดเทานั้น ดังเชนเลเยอรชื่อ Fish 3 พื้นที่ ภาพมีเพียงเฉพาะภาพปลาเทานั้นสวนทีเ่ ห็นเปนตาราง หมากรุกจะเปนพื้นทีว่ าง เมื่อดูในภาพจริงจะมองทะลุลงไป เห็นเลเยอรหรือแบคกราวดที่อยูดานลาง (4) และพื้นที่วาง ในเลเยอรที่เปนตารางหมากรุกสีเทานี้ยังเลือกไดวาจะใหมี ขนาดใหญหรือเล็กหรือใหมองเห็นเปนพื้นที่สีขาว รวมทั้ง เลือกสีของตารางหมากรุกไดโดยเลือกจากเมนู Flle >


290 Preferences > Transparency & Gamut จากนั้นตั้งคาตัวเลือกตาง ๆ ใน ไดอะล็อกบอกซ (5) Layer สรางขึ้นใหมไดโดยเลือกคําสั่ง New Layer จากเมนูยอ ยในพาเล็ต หรือ คลิกที่ไอคอนรูปกระดาษ ทางดานลาง และเมื่อใช Type Tool ที่ Toolbox พิมพตัวอักษรลงไปในภาพ จะไดตัวอักษรเปน Layer ใหมอตั โนมัติ นอกจากนีย้ ังสามารถลบเลเยอรที่ไมตองการทิง้ ไปไดโดยการคลิ๊กแลวลากไปที่ ไอคอนรูปถังขยะ ซึ่งการสรางเลเยอรเพิ่มขึ้นจะทําให โปรแกรมตองใชหนวยความจําหรือ RAM มากขึ้นไปดวย หากมี RAM นอยจะทําใหการทํางานชาลง เราสามารถรวม เลเยอรแตละชุดเขาดวยกันหรือรวมเลเยอรทั้งหมดกับ Background เปนภาพเดียวกันได วิธีการสราง Layer ใหม คลิ๊กที่เลเยอรใดเลเยอรหนึ่ง แลวเลือกคําสัง่ New Layer จาก เมนูยอยในพาเล็ตตจะปรากฏไดอะล็อกบอกซ ใหพิมพชื่อที่ ตองการ หากเปนการสรางเลเยอรใหมครั้งแรกจะปรากฏชื่อ Layer 1 อัตโนมัติ และเลเยอรหรือแบ็คกราวดที่เลือกทํางานอยู ภาพดานซายคลิกเลือกที่ภาพปลาชื่อ Fish 1 เมื่อสราง เลเยอร ใหมจะอยูทางดานบน หากตองการปดไมใหมองเห็น Layer ไดใหคลิกปด ตาที่ Layer นั้น ภาพทางดานซายคลิกปดตาที่ Background ทําใหมองเห็นเปนพื้นตารางหมากรุกสีเทา ซึ่งพื้นตารางหมาก รุกนี้เลือกกําหนดขนาดใหญ-เล็กและกําหนดสีไดจากเมนู File > Preferences > Transparency & Gamut วิธีการยายสลับตําแหนง Layer 1. คลิกเลือกที่เลเยอรที่ตองการยายตําแหนง 2. ลากเมาทลง (หรือขึ้น) ไปทับเสนระหวางเลเยอรทั้งสองที่ ตองการใหเลเยอรไปอยูที่ตําแหนงนั้น (ลูกศรชี้) วิธีการยาย Layer 1. คลิกเลือกที่เลเยอรที่ตองการในเลเยอร พาเล็ตต 2. เลือก Move Tool จากทูลบอกซ หากใชทูลอื่นอยูใหกด ปุม Command (Macintosh) หรือปุม Ctrl (Windows)


291 3. คลิกที่ภาพที่กาํ ลังทํางานอยู ลากเมาทเพื่อยายตําแหนงของภาพในเลเยอรไปยังตํากหนงที่ตองการ ภาพดานซายคลิกยายภาพปลาลงมาทางดานลาง (ลูกศรชี้) หากตองการเลื่อนภาพในแนวดิ่ง, แนวนอน หรือแนวเฉียง 45 องศาใหกดปุม Shlft ที่ คียบอรดคางไวดว ย วิธีการกอปป Layer 1. คลิกเลือกเลเยอรที่ตองการกอปปจากเลเยอร พาเล็ตต 2. เลือกวิธีใดวิธหี นึ่งตอไปนี้ ที่เมนูเลือก Layer > Dupllcate Layer เลือก Du;llcate Layer จากเมนูยอยของเลเยอร พาเล็ตต คลิกลากเลเยอรที่ตองการไปทับไอคอนรูปกระดาษ ที่อยูทางดานลาง (วิธีนี้จะไดชื่อเลเยอรเดิมตอทายดวย copy) 3. พิมพชื่อที่ตองการแลวคลิก OK วิธีการกอปป Layer จากภาพหนึ่งไปอีกภาพหนึ่ง 1. เปดภาพทีต่ องการกอปปเลเยอร และคลิกเลือกเลเยอรที่ ตองการ หากตองการกอปปเ ลเยอรอื่น ๆ ดวยใหคลิกที่ ชองวางดานหลังไอคอนรูปตาของเลเยอรที่ตองการซึ่ง จะแสดงไอคอนลิงค 2. ใช Move Tool คลิกที่ภาพลากเมาทไปยังอีกภาพหนึ่ง หากตองการใหเลเยอรอยูใ นตําแหนงเดียวกันใหกดปุม Shift ที่คียบอรดคางไวดว ย และหากทั้งสองภาพมี ขนาดและความละเอียดเทากัน ตําแหนงของเลเยอรที่ กอปปไปจะอยูในตําแหนงเดียวกันพอดี สําหรับชื่อ ของเลเยอรจะเหมือนกันกับตนฉบับ วิธีใช Preserve Transparency ในแตละเลเยอรเราสามารถวาด ระบายสีหรืออื่น ๆ ไดตาม ตองการ โดยเลือกวาจะใหระบายไดทั้งภาพหรือเฉพาะสวนที่มภี าพอยูเ ทานั้น เชนภาพทางดานซายมี ภาพปลาชื่อ Fish 3 เมื่อใชพูกันระบายสีแดงลงไปเรากําหนดไดวาจะใหสแี ดงระบายไดทั้งภาพหรือ เฉพาะภาพปลาในเลเยอรเทานั้น


292 1. เปดภาพทีต่ องการทํางาน สราง Layer ใหม (ในที่นตี้ ั้งชือ่ Fish 3X 2. เปด Layer Palette และคลิกเลือกที่ Fish 3 3. เปลี่ยนสี Foreground เปนสีแดงและเลือก Faintbrush Tool ลากเมาทระบายสีแดงลงไปในภาพ จะเห็นวาสีแดงสามารถระบายสวนไหนของภาพก็ได 4. ที่เลเยอร พาเล็ตต คลิกที่ชอง Preserve Transparency (ในวงกลม) จากนั้นระบายสีแดงลงไป อีกครั้ง จะเห็นวาระบายสีไดเฉพาะภาพทีเ่ ปนเลเยอรเทานั้น Opacity การปรับความเขมจาง 1. ที่เลเยอร พาเล็ตต คลิกเลือกเลเยอรที่ตองการ 2. ที่ชอง Opacity พิมพตัวเลขกําหนดคาความเขมจางของภาพในเลเยอร ปกติจะเปน 100% หาก ตัวเลขลดลง ภาพก็จะจางลงตามลําดับ หรือคลิกที่เครื่องหมายยสามเหลี่ยมจะปรากฏแถบสไลด เลื่อนปรับคาความเขมจางโดยดูผลที่เกิดขึ้นไดจากภาพจริง Blending การผสมภาพในเลเยอร ในแตละเลเยอรเลือกปรับใหผสมกับเลเยอรหรือแบคกราวดที่อยูถัดลงไป ดานลางไดหลายแบบโดย เลือกจากเมนูโหมดในพาเล็ตต (ในวงกลม) ดูตัวอยางการผสมภาพหรือ Blending จากภาพตัวอยาง ทางดานลางนี้


293


294 การใช Clipping Group Clipping Group เปนการรวม Layer เขาดวยกัน โดยเลเยอรที่คลิกเลือกเอาไวจะผสมกับเลเยอรที่อยู ถัดลงไปทางดานลาง เฉพาะสวนที่ซอ นทับกัน เทานั้น ดังเชนภาพตัวอยางดานซายมีเลเยอรของ ภาพทะเลชื่อ Layer 1 ถัดลงไปเปนเลเยอรตัวอักษร SEA เมื่อใชคําสั่ง Cipping Group จากเมนูเลเยอร ภาพทะเลสวนที่ซอนทับกับตัวอักษรจะถูกรวมเขา ดวยกัน 1. คลิกเลือก Layer 1 ในเลเยอรพาเล็ตต 2. ที่เมนูเลือก Layer > Group with Previous ภาพทะเลจะถูกรวมเขาไปในตัวอักษร ***หากตองการรวมเลเยอรมากกวาสองเลเยอรให คลิกเลือก Link ที่ชองวางหลังไดคอนรูปตา การใช Layer Mask Layer Mask ใชสรางหนากากบังภาพในแตละเล เยอรเหมือนกับการเจาะเลเยอรใหทะลุลงไปนั่นเอง แตภาพเลเยอรตนแบบยังเหมือนเดิมไมเปลี่ยนแปลง และสามารถยายตําแหนงของบริเวณที่เปน Mask ไดตามตองการ 1. คลิกเลือกเลเยอรที่ตองการทํางาน 2. จากเมนูเลือก Layer > Add Layer Mask > Reveal All 3. ใช Type Mask Tool คลิกทางดานบนของ ภาพพิมพตัวอักษรลงไป 4. เปลี่ยนสี Foreground เปนสีดํา จากนั้นเลือก Edit > Fll (Foreground, l00% ) : Select > Deselect การสราง Layer Mask จาก Selection เปดภาพทีต่ องการ สราง Layer สองชุดคือ Layer 1


295 และ 2 1. คลิกปดไอคอนรูปตาที่ Layer 2 เพื่อไมใหมองเห็น Layer นี้ แลวคลิกเลือกที่ Layer 1 2. กดปุม Command (Maclntosh) หรือ Ctrl (Windows) คลิกที่ Layer 2 หนึ่งครั้งจะได Selection ของภาพนก 3. เลือกจากเมนู Layer > Add Layer Mark > Reveal Selection จะเปนการตัดเอาสวนที่อยูนอก Selection ออกไป มองเห็นสีเหลือของ Background ที่อยูทางดานลาง 4. เลือก Eraser Tool จาก Toolbox คลิกที่ภาพจะเปนการลบสีเหลืองของ Background ออกไป แตถาใชเครื่องมือวาดภาพเชน Paintbrush คลิกลากเมาทที่ภาพจะเปนการลบสวนของภาพใน Layer 1 มองเห็นพื้นที่สีเหลือของ Background มากขึ้น ตัวอยางการใช Layer Mask ภาพดานลางนีเ้ ปนตัวอยางการใช Layer Mask โดยนําภาพ สองภาพมาผสมเขาดวยกันตามขั้นตอนตอไปนี้ 1. ในตัวอยางนีใ้ ชภาพชื่อ Camera.psd และ Boat.psd ซึ่ง มี Layer สําเร็จที่เตรียมเอาไว : คลิกที่ภาพ Comera จากนั้นกดปุม Shift ที่คียบ อรดคางไวแลวใน Move Tool คลิกที่ภาพลากไปยังภาพ Boat เปนการกอปป ภาพนีไ้ ป : เปด Channel Palette : จากเมนูเลือก Layer > Add Layer Mask > Reveal All จะปรากฏ กรอบสี่เหลี่ยมอยูทางดานหลังไอคอนภาพในเลเยอรชื่อ Camera 2. กดปุม D ที่คียบ อรดเพื่อเปลี่ยนสี Foreground เปนขาว ดํา : เลือก Gradient Tool จากทูลบอกซ ลากเมาทจาก บนลงลางเฉพาะบริเวณกึ่งกลางภาพ เพื่อระบายสีไล โทนลงใน Layer Mask ทําใหภาพในเลเยอรชื่อ Camera จากหายไปเฉพาะสวนทีเ่ ปนพื้นที่สีดํา ตามที่ปรากฏใน Layer Mask (ในวงกลม)


296 วิธีการเปลี่ยนรูปรางของภาพใน Layer คุณสามารถเปลี่ยนแปลงรูปรางของภาพทีอ่ ยูใน Layer ได ตามตองการอยางอิสระ อาทิ ขนาด สัดสวน เพอสเปคตีฟ หรืออื่น ๆ 1. เปดภาพทีต่ องการ 2. ใช Rectangle marquee คลิกสรางกรอบ Selection สี่เหลี่ยม 3. เลือก Edif > Copy และ Edit > Paste จะไดภาพที่อยูใน Selection เปน Layer 1 อยูใน Layer palette 4. ที่ Layer palette คลิกที่ไอคอนรูปตาหนา Background (A) เปนการชอนไมใหมองเห็น Background และจะเห็น เปนพื้นตารางหมากรุกแทน (B) 5. ดูใหแนใจวายังอยูที่ Layer 1 แลวเลือก Select > Load Selection คลิก OK 6. เลือก Edit > Transfrom > Scale คลิกที่มุมลางขวาของ ภาพไอคอนของเมาทจะเปลีย่ นเปนลูกศรคู จากนัน้ กด Shift ที่คียบ อรดคางไวแลวลากเมาทยอ ใหภาพมีขนาด เล็กลง (C) 7. กดปุม esc ที่คียบอรดเพื่อยกเลิกการปรับยอภาพ เปลี่ยนมาเปนวิธีหมุนภาพโดยเลือก Edit > Transtrom > Rotate วางตําแหนงเมาทใหอยูนอกภาพในเลเยอร ไอ คอนจะเปลี่ยนเปนเสนโคงลูกศรคูใหคลิกที่จุดใดก็ไดใน ภาพแลวลากเมาทไปทางซายจะเปนการหมุนภาพไปทาง ดานขวา (D) 8. กดปุม esc ที่คียบอรดเพื่อยกเลิกการปรับหมุนภาพ แลวเลือก Edit > Transfrom > Distort เพือ่ ปรับภาพให บิดเบือน คลิกที่จุดใดก็ไดในบริเวณขอบภาพแลวลาก เมาทเพื่อปรับสัดสวนภาพ (E) 9. เหมือนขอ 8 แตเลือก Skew แลวคลิกทีจ่ ุดกึ่งกลางเสน ลากเมาทออกไป จะทําใหสดั สวนภาพทั้งซายและขวาเปลี่ยนไปพรอม ๆ กัน (F)


297 10. เหมือนขอ 6 แตเลือก Perspective แลวคลิกที่มุมภาพ ลากเมาทออกไป เปนการปรับภาพแบบมีมิติหรือเพอส เปคตีฟ (G) ปรับภาพใหนมุ นวลดวย Layer ภาพถายที่ดแู ข็งทื่อเกินไป เนื่องจากคอนทราสทสูง เชนภาพถายกลางแจง สามารถปรับใหดูนุมนวลไดโดย การใชเลเยอรและเปลี่ยนโหมดใหเปน Multiply 1. ตัวอยางนี้ใชภาพชื่อ Layer11.psd (A) 2. เปดเลเยอร พาเล็ตต คลิกที่ Background ลากไป ทับไอคอนรูปกระดาษทางดานลางเปนการกอปป เปนเลเยอรชื่อ Background copy 3. ที่เลเยอรพาเล็ตต พิมพตวั เลขกําหนดคา Opacity 40% (B) ภาพในเลเยอร Background copy ก็จะมี โทนสีจางลง ผสมกับภาพตนฉบับที่อยูดา นลาง ทํา ใหดนู ุมนวลขึ้น หรือจะใชวิธีเปลี่ยนโหมดจาก Nomal เปน Lighten ก็จะไดภาพที่นุมนวลอีก รูปแบบหนึ่ง (C) การกอปป Layer เปนภาพใหม Layer สามารถกอปปเปนอีกภาพหนึ่งไดโดยภาพใหม จะมีเฉพาะ Layer ที่เลือกเอาไว มีขนาดภาพและความ ละเอียดเทากัน ชื่อภาพจะเหมือนกับชือ่ ของเลเยอรที่ กอปปไป 1. คลิกเลือกเลเยอรที่ตองการ 2. ที่เมนูยอยในพาเล็ตต เลือก Duplicate Layer จะปรากฏไดอะล็อก บอกซ ใหพิมพชื่อที่ ตองการและเลือก Document ไปที่ New คลิก OK


298 การรวม Layer เขาดวยกัน Layer แตละสวนรวมเขาดวยกันไดเปนเลเยอรเดียวกัน อาจจะเลือกใหรวมกับเลเยอรที่อยูทางดาน ลาง รวมเลเยอรทั้งหมด รวมเฉพาะเลเยอรที่ลิงคเขาดวยกัน หรือรวมเลเยอรกับแบคกราวดเปนภาพ เดียวกันโดยเลือกคําสั่งตาง ๆ จากเมนูยอยในพาเล็ตต

1. คลิ๊กที่เลเยอร Birds 2. ที่เมนูยอยในพาเล็ตตเลือก Merge Down เปนการรวมเล เยอรนี้กับเลเยอร Mountain ที่อยูทางดานลาง 3. จากขอ 2 คลิกที่ไอคอนหลังรูปตาของเลเยอรนี้กับเลเยอร Background เปนการคลิคเขากับเลเยอรนี้ 4. ที่เมนูยอยในพาเล็ตตเลือก Merge Link เปนการรวมเล เยอรเฉพาะที่คลิคกันเทานั้น 5. ขอขอ 2 ที่เมนูยอยยในพาเล็ตตเลือก Merge Visible เปน การรวมเลเยอรทั้งหมดเขาดวยกัน 6. จากขอ 2 ที่เมนูยอยในพาเล็ตตเลือก Flatten lmage รวมเลเยอรทั้งหมดกับภาพ Background เปนภาพเดียว Layer Effect Layer Effect เปนคุณสมบัตใิ หมที่มีใน Photoshop 5 ชวยให การทําเทคนิคพิเศษบางอยางงายและรวดเร็วขึ้น เชนการสราง เงาทั้งภายนอกและภายในเลเยอร การทําใหเลเยอรดนู ูนขึ้น เปนภาพสามมิติ เหมาะอยางยิ่งสําหรับการใชสรางกรอบภาพ หรือตัวอักษรแบบตาง ๆ ซึ่งทําไดอยางรวดเร็วมาก และยัง กอปป Effect ไปใชกับภาพเลเยอรอื่น ๆ ได หรือจะแยก ออกเปนเลเยอรตามปรกติเชน เลเยอรที่เปนภาพและเงาออก จากกัน เพื่อความสะดวกในการปรับแตงภาพตอไป 1. คลิกเลือกเลเยอร SEA เพื่อทํางานในภาพนี้ (A) 2. ที่เมนูเลือก Layer > Effect > Drop Shadow จะปรากฏ ไดอะล็อกบอกชสําหรับตั้งคาตัวเลือก ตาง ๆ (B) คลิก OK จะไดภาพที่มเี งาอยูทางดานลางอยางงายดาย (C)


299 การแยก Layer Effect เปน Layer ธรรมดา Layer ที่มีการสราง Effect จะปรากฏสัญลักษณ (ในวงกลม) ใหทราบในเลเยอรพาเล็ตต ซึ่งเลเยอร นี้สามารถแยกออกเปนเลเยอรปรกติไดเพื่อปรับเลเยอรในแตละสวนใหเปนไปตามที่ตอ งการ 1. ที่เมนูเลือก Layer > Effect > Create Layer เลเยอรของภาพ SEA และเงาจะถูกแยกออกจากกัน การสรางเงาใหอยูภายในตัวอักษร 1. คลิกเลือกเลเยอร Effect เพื่อทํางานในภาพนี้ 2. ที่เมนูเลือก Layer > Effect > Inner Shadow จะปรากฏ ไดอะล็อกบอกซสําหรับตั้งคาตัวเลือก ตาง ๆ ใหตั้งคาตาม ตัวอยางนี้และคลิกเลือก Preview เพื่อดูผลที่เกิดขึ้นในภาพ จริง (E) 3. คลิก OK จะไดภาพที่มีเงาอยูภายในตัวอักษร (E) 4. หากตองการใหเลเยอรของตัวอักษรและเงาแยกออกจากกัน ใหเลือก Layer > Effect > Create Layer จากเมนูบาร การสรางภาพสามมิติ 1. คลิกเลือกเลเยอร Effect เพื่อทํางานในภาพนี้ 2. ที่เมนูเลือก Layer > Effect > Bevel & Emboss จะปรากฏ ไดอะลอกบอกซสําหรับตั้งคาตัวเลือก ตาง ๆ ใหตั้งคาตาม ตัวอยางนี้และที่ Style เลือกที่ Emboss คลิกเลือก Preview เพื่อดูผลที่ เกิดขึ้นในภาพจริง (G) 3. ภาพที่ไดจะดูนูนขึ้นเปนภาพสามมิติ (H) 4. จากขอ 3 เปลี่ยน Style เปน Inner Bevel และคลิกเลือก Down เพื่อใหดูเหมือนกับตัวอักษรถูก 5. เจาะลึกลงไป คลิก OK (I) 6. จากขอ 3 เปลี่ยน Style เปน Pillow Emboss จะได


300 ตัวอักษรที่มีเสนขอบนูนขึ้นมา คลิก OK (J) การโหลด Selection จาก Layer ทุกภาพในเลเยอรสามารถโหลด Selection ไดซึ่งจะปรากฎเฉพาะขอบรอบนอกของภาพในเลเยอร เทานั้น เชนภาพนกที่ใชเปนตัวอยางทางดานซาย มีนกเปน Layer 1 และทองฟาสีน้ําเงินเปน Background เมื่อโหลด Selection เขามา จะไดเฉพาะเสนรอบนอกของตัวนกเทานัน้ และหากในเล เยอรมีภาพเต็มพื้นที่จะได Selection ของกรอบสี่เหลี่ยมทัง้ ภาพนัน่ เองเหมือนกับคําสัง่ Select > All 1. เปดเลเยอรพาเล็ตต คลิกเลือกที่ Layer 1(A) 2. กดปุม Command (Macintosh) หรือ Ctrl (Windows) พรอมกับคลิกที่ Layer 1 จะไดเสน Selection รอบตัวนก (B) 3. ที่เมนูเลือก Layer > Effect > Outer Glow จากนั้นตั้งคาตัวเลือกตาง ๆ ตามตัวอยางและเลือก สีขาวที่ชองสีดานหลัง Mode คลิก OK( C ) 4. ภาพที่ไดจะมีเสนขอบสีขาวฟุงกระจายออกมารอบนอกตัวนก ( D ) หากตองการแยก Layer Effect นีอ้ อกจากกัน ใหเลือก Layer > Effect > Create layer จะไดภาพเลเยอรนกตนฉบับอยูทาง ดานบนและเงาสีขาวที่ฟุงกระจายอยูทางดานลาง 5. ภาพนกใน Layer 1 ไดคัทมาโดยใช Magic Wand Tool จาก Toolbox ซูมขยายภาพที่ 300% จะ สังเกตุไดวา มีเสนขอบรอบนอกตัวนกอยู ( E ) สามารถลบทิ้งไดโดยเลือกคําสั่ง Layer > Matting > Defringe พิมพตัวเลข 1 พิกเซล คลิก OK เสนขอบรอบนกจะหายไป ( F )


301

การใช Channel ทุกภาพใน Photoshop จะประกอบดวย Channel หากเปน ภาพขาวดําจะมีเพียงแชนแนลเดียว แตถาเปนภาพสีใน โหมด RGB จะมี 3 แชนแนล หรือ 3 สีประกอบเขา ดวยกัน สําหรับโหมด CMYK ที่มี 4 สีจะมี 4 แชแนล การ ใชงานตองเปดพาเลตตขึ้นมาเสียกอนโดยเลือก Window > Show > Channel สวนที่อยูทางดานบนสุดคือ Composit Channel หรือแชนแนลชื่อ Black แตถาเปนภาพสีจะมีชื่อ RGB หรือ CMYK ตามดโหมดที่เลือกเอาไว การเปลีย่ น โหมดเลือกจากเมนู Image > Made > … เลือกโหมดที่ ตองการ ถัดลงไปจะแสดงแชนแนลตาง ๆ เชนโหมด RGB จะมี 3 แชนนัลคือ R, G และ B สวนโหมด CMYK จะมี 4 แชนแนลคือ C, M, Y และ K หากคลิกที่แชนแนล ใดก็จะแสดงภาพใหเห็นเฉพาะในแชนแนลนั้น เมื่อ ตองการกลับมาที่ภาพสีหรือ Composit Channel เหมือนเดิมใหคลิกที่แชนแนลดานบนสุด การสราง แชนแนลใหมจะอยูถัดลงไปทางดานลางโดยมีชื่อเรียงกัน จาก Alpha 1, 2, 3.. หรือเรียบกวา Channel #4, #5, #6… ตามลําดับโดยดูตัวเลขระบุลาํ ดับแชนแนลที่อยูทางดาน ขวาสุด วิธีการสราง Channel ใหม เลือก New Channel จากเมนุยอยในแชนแนลพาเล็ตต จะ ปรากฏไดอะล็อกบอกชใหกาํ หนดคาตัวเลือกตาง ๆ และ มีชื่อ Alpha 1 อัตโนมัติพิมพเปลี่ยนชื่อใหมไดตาม ตองการ เลือกพื้นที่ในการสราง Mask ได 2 แบบคือ Mask กับ Selection และเลือกสีไดโดยคลิกที่ชอง Color รวมทั้งกําหนดคาความเขมจางหรือ Opacity ( ปกติอยูที่ 50% ) จากนั้นคลิก OK


302 วิธีการยายตําแหนง Channel 1. หากยังไมมีแชนแนลพาเลตต ใหเลือกจากเมนุ Window > Show > Channel ในภาพนี้จะมี Alpha Channel อยู 2 แชนแนลคือ Alpha 1 และ Alpha 2 เปน แชนแนลที่ 4 และ 5 ตามลําดับ 2. คลิกที่ Alpha 1 ลากลงมาทางดานลางใต Alpha 2 เปน การยายตําแหนงของแชนแนล วิธีการกอปป Channel 1. คลิกที่แชนแนลที่ตองการกอปป จากเมนูยอ ยในพา เล็ตตเลือก New Channel พิมพชื่อที่ตองการ ในไดอะล็อกบอกช คลิก OK 2. อีกวิธีหนึ่ง คลิกลากแชนแนลไปทับไอคอนรูป กระดาษทางดานลางจะเปนการกอปป โดยชื่อจะ เหมือนกับตนฉบับตอทายดวย copy


303 สราง Channel เพื่อกําหนด Selection ในแตละแชนแนลเราสามารถเปลี่ยนกลับไปเปน Selection ไดเรียกวิธกี ารนี้วา Load Selection เลือก ได 3 วิธีคือ • คลิกที่แชนแนลที่ตองการแลวคลิกที่ไอคอนวงกลมเสนประทางดานลางหนึ่งครั้ง ( A ) จะได Selection ของแชนแนลนั้น • ลากแชนแนลไปทับไอคอนวงกลมเสนประทางดานลาง วิธีนี้จะได Selection ของแชนแนลที่ลาก ไปไมวาจะอยูแ ชนแนลใดก็ตาม • เลือกจากเมนู Select > Load Selection ในไดอะล็อกบอกชเลือกแชนแนลที่ตองการเปลี่ยนใหเปน Selection( B ) ที่แชนแนลเราสามารถกําหนดไดวาจะใหพนื้ ที่สีขาวปรากฏเปน Selection ( Masked Areas ) หรือให พื้นที่สีดําปรากฏเปน Selection( Selected Areas ) โดยการคลิกสองครั้งที่แชนแนลที่สรางขึ้นใหม ( ไมใชแชนแนล RGB หรือ CMYK ) แลวเลือกจากไดอะล็อกบอกช หรือจะเลือกเปนแบบ Spot Color ก็ไดเพื่อสรางสีพิเศษเพิ่มเติมจากภาพเดิม( C ) วิธีการใช Selection จาก Channel หลังจากได Selection ที่ตองการแลวเราสามารถจัดการภาพเฉพาะสวนที่อยูภายใน Selection ไดตาม ตองการซึ่งจะไมมีผลกับสวนที่อยูภายนอก Selection เชนการระบายสี การใชฟลเตอรหรืออื่น ๆ นอกจากนี้ในแชนแนลที่มีแตสีขาวกับสีดาํ เรายังสามารถระบายสีขาวหรือสีดําลงไปก็ไดโดยเลือก แชนแนลที่ตองการกอน จากนั้นปรับแตงโดยใชเครื่องมือตาง ๆ ในทูลบอกช ดังภาพตัวอยาง ดานซายและขวาใช Gradient Tool ระบายสีแบบไลโทนลงใน Selection ของแชนแนล จากนั้นโหลด Selection ใหมแลวระบายสีลงในภาพจริง

Enhancing Photos การตกแตง แกไขภาพถาย ภาพถายที่ไดมากจากการถายภาพดวยฟลมแลวนําไปอัดขยายเปนภาพหรือภาพจากกลองดิจิตอลมักจะ มีทั้งภาพที่ดแี ละไมดีบางครัง้ ภาพมืดหรือสวางเกินไป สีภาพซีด สีเพื้ยน คอนทราสทต่ํา ภาพขาด รายละเอียด ภาพเหลานี้เราสามารถแกไขใหเปนภาพที่ดแี ละสวยงามได รวมทั้งภาพเกาเก็บ ภาพทีฉ่ ีก ขาด ลวนแลวแตแกไขไดทั้งสิ้นโดยใชโปรแกรม Photoshop ภาพสีซีด คอนทราสทต่ํา ภาพที่มีสีซีด คอนทราสทตํา่ อันเนื่องมาจากการถายภาพในสถาพแสงนอยเกินไปหรือความผิดพลาด จากการอันขยายภาพ ( A ) แกไขไดโดยการปรับคอนทราสทใหสูงขึ้น ( B )


304 จากเมนูเลือก Image > Adjust > Level จะปรากฏ ไดอะล็อกบอกชแสดงเปนกราฟและชองใหใสคา ตัวเลขลงไป ( C ) ใตกราฟมีสามเหลี่ยมสําหรับคลิก เลื่อนแถบสไลดปรับคอนทราสทและโทนภาพ หาก เลือนแถบสไลดดานซายเปนการเพิ่มโทนภาพมืด แถบสไลดตรงกลางเพิ่มดทนภาพกลางและแถบ สไลดขวาเพิ่มโทนภาพสวาง ซึ่งดูผลไดโดยคลิก เลือก Preview สําหรับภาพในตัวอยางนีใ้ ชวิธีคลิก เลือก AUTO เปนการปรับคอนทราสทอัตโนมัติ (D ) ภาพโทนมืดหรืออันเดอร ภาพที่มืดหรืออันเดอรเกินไป แกไขโดยการปรับ โทนภาพใหสวางขึ้น เลือกจากเมนู Image > Adjust > Curves จะปรากฏไดอะล็อกบอกชเปนกราฟ มี เสนกราฟในแนวเฉียง ใชเมาทคลิกที่จุดหนึ่งจุดใด ของเสนกราฟพรอมกับลากเมาทเลื่อนขึ้นจะเปนการ ปรับโทนภาพใหสวางขึ้น หากเลื่อนเสนกราฟลงมา ทางดานลางจะเปนการปรับโทนภาพใหมดื ลง หรือ จะคลิกที่ปุม Auto เพื่อปรับอัตโนมัติก็ไดจากนัน้ จึง ปรับอยางละเอียดอีกครั้งที่เสนกราฟ และสไตลใน การปรับโทนภาพนี้สามารถ Saveเก็บไวโดโดย คลิก ที่ปมุ Save เมื่อตองการใชใหคลิกที่ปุม Load แลว เปดไฟลที่เซพเก็บเอาไวขึ้นมา ภาพโทนสวางหรือโอเวอร สําหรับภาพทีโ่ อเวอรหรือสวางเกินไปสามารถแกไขใหมีโทนภาพปกติ ภาพมีสสี ันและความสวาง ถูกตองไดโดยการซอนภาพเดียวกันสองภาพหรือมากกวาโดยใช Layer 1.เปด Layer Palette คลิกที่ Background ลากลงไปทับไอคอนรูปกระดาษทางดานลางเปนการกอปป เลเยอรได เลเยอรชื่อ Background copy ที่เมนุของโหมดเลือก Multiply จะเห็นวาภาพที่โทนสีเขมขึ้น หากยังดูสวางเกินไปใหกอปปเลเยอรอีกครั้งหนึ่งโทนภาพก็จะมีสีเขมขึ้นอีก


305 ภาพเงาดําหรือซิลลูเอต ภาพถายยอนแสงเชนภาพถายขณะพระอาทิตยตกดิน มักจะไดภาพเงาดํา แตหากภาพมีรายละเอียดอยูบางและ ตองการทําใหเปนเงาดําทึบไมมีรายละเอียดหรือที่ เรียกวาซิลลูเอต ใหสราง Selection ที่ตัวแบบเสียกอน จากนั้นระบายสีดําลงไปเพื่อปรับใหเปนภาพเงาดํา ภาพฉากหลังเบลอ วิธีทําใหภาพเดนชัดคือการถายภาพใหฉากหลังเบลอ แต ถาภาพที่ไดมฉี ากที่คมชัดหรือเบลอเพียงเล็กนอย แกไข ไดโดยสราง Selection ที่ตัวแบบจากนั้นกลับ Selection เปนตรงขามโดยเลือกจากเมนู Select > Inverse แลว ปรับใหเบลอ Filter > Blur > Gaussian Blur ภาพขาวดํา Bitmap ภาพสีและภาพขาวดําแบบเกรยสเกลเปนภาพที่มีโทน ตอเนื่องสําหรับภาพขาวดําเลือกปรับใหเปนภาพ Bitmap ได มีลักษณะเปนภาพขาวจัดและดําจัด วิธีการ เปลี่ยนใหเปนภาพขาวดําโดยเลือกจากเมนู Image > Mode > Grayscale และเปลี่ยนโหมดเปน Bitmap ใน ลําดับตอไปซึ่งเลือกได 5 แบบตามภาพตัวอยางทาง ดานลางนี้ สําหรับภาพแบบ Custom Pattem จะตอง Define Pattem เสียกอน


306 ปรับภาพใหคมชัด การปรับภาพเพิ่มความคมชัดเรียกวา Unsharp Masking แมวาในกลองดิจิตอลระดับไฮเอนดหลายรุน จะมีฟงกชั่น การปรับเพิ่มความคมชัดแบบนี้มาใหดวยซอฟทแวรที่อยู ในตัวกลอง แตบางครัง้ ภาพที่ไดจะดูแข็งกระดางเกินไป ควรปรับที่โหมดปรกติ แลวใชซอฟทแวรตกแตงภาพ ปรับแตงภายหลัง ซึ่งสวนใหญจะอยูใ นเมนูฟลเตอรหรือ Unsharp Mask Filter นั่นเอง วิธีการใชฟลเตอรชนิดนี้เรา ตองพิจารณาดูภาพตนฉบับเสียกอน โดยเฉพาะในเรื่องของ คอนทราสท เพราะการใชฟลเตอรชนิดนี้ในความเปนจริง คือการเพิ่มคอนทราสทนั่นเอง หากซูมภาพขยายขึ้นมาดู พิกเซลจะเห็นวาภาพที่มีการปรับแตงเพิ่มความชัดแลว ความแตกตางของเม็ดสีในแตละพิกเซลจะมีมากขึ้น ทําให ดูเหมือนกับภาพคมชัดมากขึ้นนั่นเอง ในโปรแกรม Photoshop เมื่อเลือกใชฟลเตอร Unsharp Mask จะมี ตัวเลือก 3 อยางคือ Threshole ใชปรับความสวางระหวาง พิกเซล ถาเลือกที่ตําแหนง 0 ภาพจะมีความคมชัดมากทีส่ ุด แตถาดูแลวภาพแข็งกระดางเกินไปใหปรับเพิ่มคานี้ใหมาก ขึ้นแลวดูผลที่เกิดขึ้น อยางที่สองคือ Amount มีหนวยวัด เปนเปอรเซ็นตเริ่มจาก 0-500% หากปรับตัวเลขมากขึ้น ภาพก็จะมีคอนทราสท มากขึ้นจนดูเหมือนกับวาภาพมี ความคมชัดมากขึ้นนั่นเอง แตถามากเกินไปสีจะจัดจนได ภาพที่ไมนาดู การปรับนีจ้ ะขึ้นอยูกับลักษณะของภาพและขนาดไฟลภาพ โดยทั่วไปควรเริม่ ตนที่ ตัวเลข 100% จากนั้นคอยปรับคาอื่น ๆ ตาม สุดทายคือ Radius ใชปรับเพิ่มคอนทราสทเชนกัน แตจะมี ความแตกตางของพิกเซลที่มากกวา ลองปรับในขั้นแรกเพียง 1 หรือ 2 พิกเซลเพื่อเปรียบเทียบผลที่ เกิดขึ้น ปรับความอิ่มตัวของสี หากภาพถายมีสีสันไมสดใส สามารถปรับอยางงาย ๆ ได ดวยเมนู Saturation ซึ่งเปนการปรับเม็ดสี ของแตละพิกเซลใหสดและเขมมากขึ้น โดยปรับตัวเลขได + /- 100 ปรกติผมจะปรับภาพใหมีสีสด มากขึ้น + 5 หรือ + 10 หากปรับมากกวานีส้ ีของภาพจะดูจัดมาก และถาเปนการถายภาพกลางแจงที่มี แสงแดดจัด หรือภาพจากการใชแฟลชไมจาํ เปนตองปรับในเมนูนี้ หากตองการทําภาพใหเปนขาวดํา


307 หรือมีสีที่ซีดจางลงสามารถทําไดเชนกัน โดยปรับตัวเลขไปทางลบสีจะดูซีดจางลง จนกลายเปนภาพ ขาวดําในตําแหนงศูนย การตัดสวนภาพ สําหรับภาพถายที่มีการจัดองคประกอบอยางลงตัวจะดู สวยงาม นาชม แตถาภาพดังกลาวมีสว นที่เกินมาหรือมุม ภาพทางดานขางออก อาจจะทําใหภาพดูดขี ึ้น ดังนั้นกอนที่ จะลงมือพิมพภาพควรพิจารณาองคประกอบของภาพใหดี เสียกอน ซึ่งการตัดสวนภาพดวยโปรแกรม Photoshop นั้น ทําไดสะดวกและงายมาก โดยใชเครื่องมือจากทูลบอกชที่มี ชื่อเรียกวา Cropping จากนัน้ ลากเมาทเลือกขอบเขตภาพที่ ตองการ แตการตัดสวนภาพตองพิจารณาขนาดของภาพให สัมพันธกับขนาดของกระดาษดวยเชน กระดาษขนาด A4 ประมาณ 8 X 11.5 นิ้ว ควรจะตัดสวนภาพใหมีอัตราสวน ในดานกวางและยาวเทากับกระดาษพอดี เพื่อใหพิมพภาพ ไดเต็ม หากใชอิงคเจ็ทพริ้นเตอรรุนใหม ๆ ของ EPSON เชน Stylus Photo 870 หรือ 890 จะสามารถพิมพภาพได แบบไมมีขอบขาวดานขาง หมือนกับการอัดขยายภาพจาก แลปสีทั่ว ๆ ไปนั่นเอง การปรับสมดุลยสี ภาพถายแตละภาพอาจจะมีโทนสีที่ไมถูกตองซึ่งมีสาเหตุ จากหลายประการ เชน สภาพแสง อุณหภูมิสี จนถึงการ สแกนภาพ เราสามารถปรับสีที่ผิดเพี้ยนใหถูกตองไดอยาง งายดายโดยใชเมนู Color Balance (หรือ Hue Balance) ในเมนูนี้ยังเลือกใหปรับแกโทนสีภาพได เฉพาะไดเฉพาะโทนมืดของภาพ (Shadows) โทนสวาง (Highlight) หรือโทนกลาง (Midtones) ถา พิจารณาจากภาพแลว พบวามีสีผิดเพี้ยนทัง้ ภาพใหเลือกที่โทนกลาง แตถาผิดเพี้ยนเฉพาะสวนสวาง ของภาพก็เลือกที่โทนสวาง เปนตน สวนการปรับนั้นจะมีชองใหใสตวั เลขลงไป 3 ชอง หรือจะใชวิธี เลื่อนแบบสไลดก็ได ชองแรกจะเปนการปรับเพิ่มโทนสีฟา (Cyan) และสีแดง (Red) หากคิดวาสีใดใน ภาพนอยเกินไป ก็สามารถปรับเพิ่มสีนั้นใหมากขึ้นไดเลย หรือใชการปรับโทนสีตรงกันขามก็ได เชน ถาดูภาพแลวพบวามีโทนสีแดงมากเกินไปก็ใหเพิ่มสีฟาเขาไป จนไดภาพที่มีสีถูกตองตามธรรมชาติ


308 แกไขภาพเกาในอดีต ภาพถายในอดีตหลายสิบปมีการเสื่อมสภาพไปตาม กาลเวลาเราสามารถนํามาตกแตงแกไขใหดขี ึ้นได ดังเชนภาพตัวอยางดานซาย เปนภาพขาวดําซึ่งมีดทน สีเปลี่ยนไปทางอมเหลืองปรับแกสีโดยใช color Balance จากเมนู Image และ โทนภาพที่มีคอน ทราสทต่ําใช Level ปรับใหโทนภาพสีดําเขมขึ้น และ รอยดางของภาพใช Rubber Stamp กอปปภาพพืน้ ที่ บริเวณใกลเคียงทับลงไป สุดทายใช Dod/Bum ปรับ เพิ่มความสวางหรือมืดเฉพาะบางสวนของภาพ ภาพผิวหยาบ Noise ภาพถายธรรมดาปรับใหดนู า สนใจไดงาย ๆ โดยใช ฟลเตอร Noise ภาพที่ไดจะมีผวิ หยาบเหมือนภาพ เกรนแตกเนื่องจากขยายภาพใหมีขนาดใหญ แตการ ปรับใชฟลเตอร Noise ภาพผิหยาบที่ไดยังคงมีความ คมชัดอยูเหมือนเดิมและเลือกลักษณะของภาพได 2 แบบคือ Uniform และ Gauissian และเลือกไดวา เกรนภาพจะใหเห็นเปนเม็ดสีหลาย ๆ สี หรือเปนแบบ ขาวดําโดยคลิกเลือกในไดอะล็อกบอกช เปลี่ยนภาพถายเปนกราฟฟก ภาพถายตามธรรมชาติปรับเปลี่ยนใหเปนภาพกราฟฟกแบบสองมิติไดหลายรูปแบบ ตามภาพตัวอยาง ดานซายนีใ้ ชภาพทองฟา จากนั้นเปลีย่ นใหเปนภาพขาวดําและภาพบิทแมพตามลําดับซึ่งจะไดภาพไฮคอนทราสทแบบขาวจัดดําจัดแลวจึงเปลี่ยนกลับมาเปนภาพสีเหมือนเดิมโดยระบายสีไลโทนในสวน ที่เปนโทนสีขาวและโทนสีดํา สุดทายพิมพตัวอักษรและระบายสีไลโทนพรอมทั้งสรางเงาใน Layer 1. เปลี่ยนภาพเปนขาวดําเลือก Lmage > Mode > Grayscale และเปลี่ยนเปนภาพไฮ-คอนทราสท เลือก Image > Mode > Bitmap 2. ในไดอะล็อกบอกชของ Bitmap เลือกที่ Diffuslon Dither คลิก OK จากนั้นเปลีย่ นกลับมาเปน ภาพ Grayscale ( 1 Pixel ) และภาพสี RGB 3. เลือก Select > Color Range ใช Eyedropper คลิกที่บริเวณทองฟาของภาพและปรับแถบสไลด


309 Fuzziness ไปที่ 200 คลิก OK จะได Selection เฉพาะสวนของ ทองฟา 4. ที่คียบอรดกดปุม Command ( Macintosh ) หรือปุม Ctrl ( Windows ) พรอมกับกดปุม J เปนการกอปปภาพภายใน Selection ใหเปนเลเยอรใหมชื่อ Layer 1 และที่พาเล็ตตคลิก เลือก Preserve Transparency (ในวงกลมสีแดง ) 5. เปลี่ยนสี Foreground เปนสีน้ําเงินเขมและสี Background เปนสีฟาออน 6. คลิก 2 ครั้งที่ Gradient Tool เพื่อเปด Option Palette เลือก สไตลการไลโทนสีแบบ Foreground to Background 7. กดปุม Shift คางไวและคลิกลากเมาทที่ภาพจากดานบนลง ลาง 8. ที่คียบอรดกดปุม Command ( Macintosh ) หรือปุม Cttl( Windows ) และคลิกที่ Layer 1 ในเลเยอร พาเล็ตต เพื่อโหลด Selection ของเลเยอรนี้ จากนั้นเลือก Select > Inverse เพื่อ กลับSelection เปนตรงกันขาม : และทีพ่ าเล็ตตคลิกยกเลิก Preserve Transparency : เปลี่ยนสี Foreground เปนสี น้ําตาลแลวระบายสีไลโทนในภาพโดยใช Gradient Tool 9. เปลี่ยน Foreground เปนสีขาว ใช type Tool พิมพตัวอักษร SKY จากนัน้ ใช Move Tool คลิกลากตัวอักษรไปไวที่ กึ่งกลางภาพ 10. ที่เลเยอร พาเลตต ตัวอักษรทีพ่ ิมพเอาไวจะปรากฏเปนเลเยอร ใหมชื่อ SKY ตองเปลี่ยนใหเปนเลเยอรธรรมดาเสียกอนโดย เลือก Layer > Type > Render Layer ; เลือก Filter > Distort > Ripple พิมพตัวเลขกําหนดคาไวที่ 437 และเลือก Medium คลิก OK 11. ที่คียบอรดกดปุม Command( Macintosh ) หรือปุม Ctrl( Windows ) และคลิกที่ SKY ในเลเยอร พาเล็ตต เพื่อโหลด Selection ของเลเยอรนี้ ; คลิกเมาทคางไวที่ Gradient Tool และเลือกการ ระบายสีไลโทนแบบวงกลมโดยเลือกไปที่ Radial Gradient Tool 12. เปด Option Palette เปลี่ยนสไตล Gradimt เปน Spectrum 13. คลิกเมาทที่กึ่งกลางภาพลากออกไปหาของภาพจะเปนการระบายสีไลโทนแบบสีรุงวงกลม ; Select > None


310 14. สรางเงาของตัวอักษรโดยเลือก Layer > Effect > Drop Shadow จะปรากฏไดอะล็อกบอกชให ตั้งคาตาง ๆ เพื่อสรางเงาใหใชตามตัวอยางในภาพนี้หรือจะปรับตั้งคาเองก็ได ; ที่เลเยอรพาเล็ตต เลือกคําสั่ง Flatten Image จากเมนูยอยเพื่อรวมภาพเลเยอร ทั้งหมดและ Background เปนภาพเดียว ผสมภาพสีกับขาวดํา ภาพถายสีจะมีสีสันตามธรรมชาติ สวนภาพขาวดําจะมีเพียง สองสีคือขาวกับดําเทานั้น เราสามารถปรับใหภาพสีผสมกับ ภาพขาวดําได โดยใช Path สรางเสนรอบตัวแบบที่ตอ งการ จากนั้นเปลี่ยนใหเปนเสน Selection ซึ่งเปนบริเวณที่ตองการให เปนภาพสีเหมือนเดิม ตอไปกลับ Selection ไปยังบริเวณอื่น แลวปรับเปลี่ยนโทนสีโดยใช Hue/Satu- ration เปลี่ยนใหเปน โทนสีเดียว ลดความสดของภาพและปรับใหโทนภาพสวางขึ้น เล็กนอย 1. เลือก Pen Tool จาก Toolbox คลิกที่ภาพเพื่อสรางเสน Path บริเวณรอบตัวผูหญิงทีก่ ําลังฟอนรํา อยู หรือ เปด Path Palette คลิกที่ Path 1 ที่ทําสําเร็จเอาไวแลว 2. ที่เมนูยอยของ Path Palette เลือก Make Selection จะ ปรากฏไดอะล็อกบอกชขึ้นมาก ใหพิมพตัวเลขไวที่ 1 Pixel และคลิกเลือก Anti-aliased เพื่อใหเสนขอบ Selection มีความนุมนวล คลิก OK 3. ที่เมนุเลือก Select > Inverse เพื่อกลับ Selection เปน ตรงกันขาม จากนั้นเลือก Image > Adjust > Hue/Saturation จะปรากฏไดอะล็อกบอกช ใหเลือก Edit ที่ Master, Hue = -146. Saturation = -100. Ughtness = 32 คลิก OK 4. ภาพที่ไดจะมีฉากหลังเหลือเพียงโทนสีเดียว สวนตัว แบบยังคงมีสสี ันเหมือนเดิมดูเดนและแปลกตาไปจาก ภาพทัว่ ๆ ไป


311


312

Painting การใชสี Foreground และ Background สี Foreground และ Background จะอยูท างดานลางของ Toolbox โดยมีสี Foreground อยู ดานบนใชสําหรับการระบาย วาดหรือเขียนลงไปในสวนของ Selection ที่กําหนดไว สวน Background จะอยูทางดานลางใชสําหรับการระบายสีแบบตอเนื่องและเปนสีที่ปรากฏแทนที่ภาพทีถ่ ูก ลบไปดวย Eraser tool สีมาตรฐานของโปรแกรมคือ Foreground ดํา และ Background ขาว เลือกได โดยการคลิก Defarlt (ดูภาพดานลาง) เมื่อตองการเปลี่ยนสีเพียงคลิกที่ Foreground หรือ Background จะปรากฏ ไดอะล็อกบอกชใหเลือกสีที่ตอ งการ (เมื่อเลือกทํางานใน Channel สี Foreground จะเปนสี ขาวและ Background จะเปนสีดํา) การใชเครื่องมือ Palntbrush ทุกชนิดจะมี ประสิทธิภาพและไดผลดีมากหากใชรวมกับกระดาน อิเล็กทรอนิกสที่ใชปากกาแทนเมาทเชน WACOM เพราะจะไดลกั ษณะการวาดเสนหรือระบายสี เชนเดียวกับการใชดินสอสี พูกันหรือสีสเปรย เมื่อคลิกเมาทที่ Foreground หรือ Background จะปรากฏไดอะล็อกบอกชใหเลือกสีที่ตองการดังนี้

การใช Paintbrush Tool 1. คลิ๊กสองครั้งที่ Paintbrush Tool เพื่อเปด Option palette 2. เลือก Mode เพื่อเลือกวิธกี ารระบายสี 3. เลื่อนแถบสไลดตั้งคา Opacity เพื่อปรับความเขมจางในการระบายสี


313 4. คลิกเลือก Mode เพื่อกําหนดใหการระบายสีมีสวนปลายจาง หายไปหรือเปลี่ยนไปเปนสี Background 5. เลือก Wet Edges เพื่อระบายสีแบบสีน้ํา ภาพดานลาง Off คือ ระบายสีปกติและ On เลือก Wet Edges การใช History Brush Tool หลังจากใช เครื่องมือวาดภาพตาง ๆ เชน Airbrush, Paintbrush, Pencil หรือ Line สามารถลบสิ่งที่วาดไปไดโดยใช History Brush Tool คลิกบริเวณที่มีการวาดลงไป โดยสีที่ระบายทับลงไปจะเปนสีขาวเสมอและกําหนดขนาดไดจาก Brush Palette การใช Airbrush Tool Airbrush ใชระบายสีแบบสีสเปรย สีที่ระบายจะนุมนวลและมีสีเขมขึ้นเมื่อระบายสีซ้ํา ๆ ในที่เดียวกัน 1. คลิ๊กสองครั้งที่ Airbrush Tool เพื่อเปด Option palette 2. เลือก Mode เพื่อเลือกวิธีการระบายสี 3. เลื่อนแถบสไลดตั้งคา Pressure เพื่อปรับน้ําหนักในการระบายสี 6. คลิ๊กเลือก Fade เพื่อกําหนดใหการระบายสีมีสวนปลายจางหายไปหรือเปลี่ยนไปเปนสี Background การใช Pencil Tool Pencil ใชระบายสีแบบดินสอสี สีที่ระบายจะมีลักษณะเปนเสนแข็งภาพที่ไดจึงเปนแบบ Bitmap 1. คลิ๊กสองครั้งที่ Pencil tool เพื่อเปด Option palette 2. เลือก Mode เพื่อเลือกวิธีการระบายสี 3. เลื่อนแถบสไลดตั้งคา Opacity เพื่อปรับความเขมจางในการระบายสี 5. คลิกเลือก Fade เพือกําหนดใหการระบายสีมีสวนปลายจางหายไปหรือเปลี่ยนไปเปนสี Background การใช Line Tool Line tool ใชวาดเสนตรงบนภาพ สามารถตั้งคาตัวเลือกตาง ๆ ไดจาก Option paiette อาทิ ขนาดเสน คมแข็งหรือออนนุม รวมทั้งการกําหนดปลายเสนใหเปนลูกศรซึ่งเลือกรูปแบบไดตามตองการ เมื่อลากเสนที่ภาพจะไดเสนตรงในทิศทางที่เลือกไว หากกดแปน Shift คางไวจะไดเสนตรง แนวตั้งแนวนอนหรือแนวเฉียง 45 องศา


314

1. 2. 3. 4. 5. 6. 6.

คลิ๊กสองครั้งที่ Line tool เพื่อเปด Option palette เลือก Mode เพื่อเลือกวิธีการระบายสี เลื่อนแถบสไลดตั้งคา Opacity เพื่อปรับความเขมจางในการระบายสี กําหนดตัวเลขขนาดของเสน กําหนดเสนขอบแข็งหรือขอบนุม(Anti-aliased) กําหนดใหปลายเสนเปนลูกศรดานใดานหนึ่งหรือทั้งสองดาน กําหนดลักษณะของหัวลูกศรโดยการคลิก Shapeจะไดไดอะล็อกบอก Arrowhead shape กําหนด ลักษณะของหัวลูกศรทีต่ องการดังนี้

Width กําหนดความกวางหัวลูกศรจาก 10 – 1000% Length กําหนดความยาวหัวลูกศรจาก 10 – 5000% Concavity กําหนดฐานหัวลูกศรจาก -50 - +50%


315 การใช Eraser tool Eraser ใชเปลีย่ นพิกเซลของภาพ เลือกไดสองแบบคือถาทํางานที่ Background ที่อยูใ น Toolbox หรือ ถาทํางานอยูใน Layer จะเปนการลบภาพออกใหเปนภาพโปรงแสงมองเห็น Layer หรือ Background ที่อยูดานลาง 1. คลิ๊กสองครั้งที่ Eraser tool เพื่อเปด Option palette 2. เลือกชนิดของการทํางาน จากเมนูยอย คือ paintbrush, airbrush, Pencil, หรือ Block หมายเหตุ หลังจากใช Eraser ลบ ภาพออกไปแลวสามารถนําภาพเดิมทีลบออกกลับมาไดโดยการกดปุม Option แลวคลิกเมาส (Macintosh) หรือ ปุม Alt (Windows) แลวคลิกเมาสและเปลี่ยนชนิดของ Eraser ไดโดยการกดปุม E 3. เลือกปรับความเขมจางหรือน้ําหนักของโทนสีโดยการเลื่อนแถบสไลด 4. เลือก Fade เพือ่ ใหภาพจางหายไปโดย กําหนดคาตัวเลขที่ตองการ 5. หากตองการสลับการลบภาพและนําภาพ กลับเขามาใหมใหคลิก Eraser to save 6. ถาตองการลบภาพใหเปนภาพลักษณะ โปรงแสงใหคลิ๊กเลือก Wet Edge การใช Brushes palette Brushes palette ใชสําหรับเลือกขนาดในการวาดหรือระบายสี ซึ่งจะแสดงใหเห็นเมื่อเลือกเครื่องมือ สําหรับการวาดหรือตกแตงภาพใน Toolbox ขนาดที่กําหนดมาใหมีตงั้ แตเล็กเพียง 1 พิกเซลจนถึง 100 พิกเซล นอกจากนี้ยังสามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมขนาดไดตามตองการ 1. เลือกเครื่องมือที่ตองการจาก Toolbox 2. เลือก Window > Show Brushes 3. คลิกเลือกขนาดและรูปแบบของ Brushes ที่ตองการ


316 วิธีการสราง Brush ใหม เลือกวิธีใดวิธหี นึ่งตอไปนี้ คลิ๊กพื้นทีว่ างดานลางขวาใน Brush palette เลือก New Brush จากเมนูยอยใน Brush palette

ภาพพรีวิวของ Brush ที่สรางขึ้นใหมจะปรากฏใหเห็นทางมุมลางขวา ซึ่งไดจากการกําหนดขนาด

ขอบภาพคมชัดหรือนุมกระจาย รูปวงกลมหรือวงรีและองศา วิธีการยกเลิก Brush กดปุม Command (Macintosh) หรือปุม Ctrl (Window) ไอคอนจะเปลี่ยนเปนรูปกรรไกรแลวคลิกที่ Brush ที่ตองการลบทิ้ง วิธีการสรางรูปทรง Brush ใหม คุณสามารถสรางรูปทรงของ Brush ไดตามตองการโดย การเลือกจากภาพถายหรือภาพที่วาดขึ้นมาก็ไดแลวเก็บ ไวใน Brush palette


317 1. ใช selection Marquee เลือกสวนของภาพที่ตองการทําใหเปน Brush โดยเลือกภาพไดขนาดใหญ สุดไมเกิน 1000 x 1000 พิกเซล 2. เลือก Define Brush จากเมนูยอยใน Brush palette รูปที่เลือกไวจะปรากฏในชองสุดทาย 3. คลิ๊กสองครั้งที่ Brush ใหมเพื่อกําหนดคาระยะหาง ของ Brush เมือ่ คลิกเมาทลงในภาพ 4. เลือกเครื่องมือที่ตองการจาก Toolbox อาทิ Paintbrush หรือ Pencil แลวคลิกลงในภาพโดยสีที่ได คือสีของ Foreground วิธีการใช Paint Bucket Paint Bucket ใชคลิกเพื่อเปลี่ยนสีในภาพ โดยจะระบายสี Foreground ลงในบริเวณที่มีโทนเดียวกับจุด ที่คลิ๊กเมาท และใน Option ยังเลือกลักษณะการระบายไดอีก 18 แบบ

1. คลิ๊กสองครั้งที่ Paint Bucket tool เพื่อเปด Option palette 2. 3. 4. 5.

เลือก Mode เพื่อเลือกวิธีการระบายสี เลื่อนแถบสไลดตั้งคา Opacity เพื่อปรับความเขมจางในการระบายสี พิมพตัวเลขกําหนดคา tolerance ที่ตองการเพื่อระบายลงในรูป คลิ๊กเลือก Anti-aliased เพื่อใหระบายสีแบบนุมนวล


318 วิธีการใช Gradient tool Gradient tool ใชสําหรับระบายสีสองสีหรือมากกวาแบบไลโทน โดยคลิ๊กเลือกจากทูลบอกชมีทั้งหมด 5 แบบ ตั้งคาตัวเลือกเพิ่มเติมไดจาก Option palette ตั้งแตวิธีการระบายสี ความเขมจาก เปนตน

1. เลือกสวนใดสวนหนึ่งของภาพที่ตองการระบายสี โดยใชเครื่องมือใน Toolbox หากตองการเลือก ทั้งภาพไมตองสราง Selection ใหคลิกลากเมาทที่ภาพไดเลย 2. คลิ๊กสองครั้งที่ Gradient tool จาก Toolbox 3. เลือก Mode เพื่อเลือกวิธีการระบายสี 4. เลื่อนแถบสไลดตั้งคา Opacity เพื่อปรับความเขมจางในการระบายสี 5. หากตองการใหสีไลโทนแบบนุมนวลใหคลิ๊กเลือก Dither 6. หากตองการใหสีไลโทนกลับเปนตรงกันขามเลือก Reverse การใชงาน Gradient 1. เลือกชนิดของการระบายสีทตี่ องการ ( Gradient ) 2. วางตําแหนงเมาทที่จุดเริ่มตนการระบายสี แลวลากเมาทไปในอีกจุดหนึ่งจะไดแถบสี ไลโทนตาม ที่ตั้งคาเอาไวใน Option palette หากลากเสนยาวแถบสีไลโทนจะมี ชวงการไลโทนสีที่มากขึ้นและ เมื่อ ตองการใหแถบสีเปนเสนตรงหรือเฉียง45


319 3. องศาใหกดปุม Shift คางไวดวย วิธีสรางและกําหนดสี Gradient ในไดอะล็อกบอกชของ Gradient Editor คุณสามารถกําหนดและสรางแถบสีไลโทนใหมไดทั้งแบบ สองสีหรือมากกวา รวมทั้งการแกไขแถบไลสีเดิมหรือลบทิ้งก็ได

1. คลิ๊กสองครั้งที่ Gradient tool เพื่อเปด Option palette 2. คลิ๊กที่ Edit 3. กําหนดสีที่ตองการดวยวิธีการตอไปนี้ • คลิ๊ก New เพื่อสรางแถบสีใหม พิมพชื่อที่ตอ งการ • หากตองการเปลี่ยนแปลงแถบสีเดิมใหกอปปแถบสีน้นั กอนโดยคลิ๊กที่ Duplicate แลวพิมพ ชื่อใหม แตถาตองการชื่อเดิมที่ตอทายดวย Copy ใหกดปุม Option(Macintosh) หรือ alt(Window) กอนการคลิ๊กเมาท • หากตองการแถบสีไลโทนที่กําหนดมาใหแลว ให คลิ๊กที่ชื่อแถบสีที่ตองการ 5. เลือกสีที่ตองการดังนี้ • คลิ๊กที่กรอบสีขาวดานลางเพือ่ เลือกสีที่ตองการจาก Color Picker และคลิ๊ก OK • คลิ๊กที่ Foreground( F ) เพื่อเลือกสี Foreground ตามที่อยูใ น Toolbox • คลิ๊กที่ Background( B ) เพื่อเลือกสี Background ตามที่อยูใน Toolbox • วางเมาทที่แถบสีไลโทน ไอคอนจะเปลี่ยนเปน Eyedroper จากนัน้ คลิ๊กเลือกสีที่ตองการ 6. คลิ๊กที่กรอบสี่เหลี่ยมทางดานซายใตแถบสีไลโทนเพื่อเปลี่ยนสีสุดทาย จากนั้นเลือกสีดวยวิธีใน ขอ 5 7. เพื่อเปลี่ยนตําแหนงของสีเริ่มตนหรือสีสุดทายใหเลือกปฏิบัติดังนี้ • ลากกรอบสี่เหลี่ยมใตแถบสีไลโทนทางดานซายหรือขวาไปในตําแหนงที่ตองการ


320 • คลิ๊กที่กรอบสี่เหลี่ยมใตแถบสีไลโทนแลวพิมพตัวเลข 0-100% เพื่อเปลีย่ นตําแหนงของสี เริ่มตนหรือสีสุดทาย 8. เพื่อเปลี่ยนตําแหนงของแถบสีตรงกลางใหคลิกที่กรอบสี่เหลี่ยมทีอ่ ยูดานบนของแถบสีไลโทน เลื่อนไปทางดานซายหรือขวา 9. คลิ๊ก OK ทําใหไดแถบสีใหมตามที่ไดเลือกเอาไว

วิธีการเพิ่มสีไลโทนมากกวาสองสี ในไดอะล็อกบอกชของ Gradient Editer คลิ๊กดานลางของแถบสีไลโทนเปนการเพิ่มกรอบสี่เหลี่ยมอีก อั น หนึ่ ง สํ า หรั บ ใช กํ า หนดสี เ พิ่ ม ขึ้ น เป น สี ที่ ส าม คุ ณ สามารถกํ า หนดสี ที่ ส ร า งขั้ น ใหม แ ละเลื่ อ น ตําแหนงตามที่ตองการ หากตองการยกเลิกสี่ที่เพิ่มขึ้นใหมใหคลิ๊กที่กรอบสี่เหลี่ยมแลวลากเมาทลงมา ดานลาง

การระบายภาพลงใน Selection ภาพใน Selection นอกจากการระบายสีแลวคุณสามารถเลือกระบายภาพลงไปไดโดยเลือกภาพที่ ตองการกอนเพื่อทําเปน Pattem หลังจากใชคําสั่ง Fill แลวจะไดภาพที่เลือกไวปรากฏอยูภายใน Selection ที่กําหนดไว หรือเปดภาพทีเ่ ปนไฟล PostScript เขาสูโปรแกรม PhotoShop จากนั้นจึงใช Selection กําหนดใหเปน Pattem แลวระบายลงในภาพหรือ Selection ที่กําหนดไว


321

1. เลือก File > Open เปดภาพจากซีดี-รอม 2. เลือกไฟลที่สรางจากโปรแกรม illustrator ชื่อ Cylinderal 3. ในไดอะล็อกบอกชพิมพตวั เลขกําหนดขนาดภาพ 2.6 x 2.6 นิ้ว ความละเอียด 350 dpi โหมด RGB 4. ใช Marquee Selection เลือกพื้นที่ภาพที่ตองการ 5. เลือก Edit > Define Pattem 6. เลือก File > New เปดภาพใหมโดยกําหนดในไดอะล็อก บอกชดังนี้ 2.6 x 2.6 นิ้ว, 350 dpl, RGB 7. เลือก Edit > Fill ในไดอะล็อกบอกชเลือก Pattem, 100%, Normal ภาพที่เลือกไวจะถูกระบายเปน

ภาพเล็ก ๆ จากดานบนซายลงสูดานลางขวา หากมีการสราง Selection ไวกอนภาพก็จะถูกระบาย ลงใน Selection เทานั้น


322

Filter Effects บทนี้จะเปนเรือ่ งของเทคนิคการใชฟลเตอรแบบตาง ๆ ทั้งฟลเตอรของ Adobe PhotoShop ที่ใหมา พรอมกับโปรแกรมและฟลเตอรจากบริษทั ผูผลิตซอพทแวรอาทิ Meta Tool หรือ KPT ฟลเตอรชวยใหคุณเปลี่ยนแปลงภาพตนฉบับใหเปนภาพพิเศษไดอยางรวดเร็ว เชน การเปลี่ยน โทนสีบิดเบือนภาพ ปรับใหภาพคมชัดหรือเบลอ ทําใหเปนเหมือนภาพวาดหรือทําใหเปนภาพพื้นผิว แบบตาง ๆ เปน นอกจากนี้คณ ุ ยังสามารถออกแบบหรือแกไขฟลเตอรทใี่ หมาไดตามตองการโดยเลือก Custom filter หรือ Filter Factory ที่อยูในซีดี-รอมของโปรแกรม Adobe PhotoShop เรื่องของฟลเตอร Plug-In ฟลเตอรที่ซื้อมาตางหากเชน KPT เมื่อ Install เรียบรอยแลว( ดูวิธี Install ฟลเตอรที่ซื้อมาจาก คูมือของแตละบริษัท ) ฟลเตอรจะเขาไปอยูในโปรแกรม Photoshop อัตโนมัติ เมื่อเปดโปรแกรม Photoshop อีกครั้งหนึ่งจะไดฟลเตอรดังกลาวปรากฏที่เมนู Filter หากฟลเตอรทตี่ องการใชไมอยูในโฟลเตอร Plug-in ของโปรแกรม Photoshop ใหทําดังนี้ • สําหรับ Macintosh คลิ๊กลากฟลเตอรที่ตองการลงใน โฟลเดอร Plug-in ของ Photoshop แลวเปดโปรแกรม ขึ้นมาใหม • สําหรับ Window ใหกอปปฟ ลเตอรไปใสในชัพไดเร็ค ทอรี่ PLUGINS ของ Adobe Photoshop แลวเปด โปรแกรมขึ้นมาใหม วิธีดูผลของการใชฟลเตอรจากภาพพรีวิว 1. ใช Selection tool จาก Toolbox เลือกพืน้ ที่ใน ภาพที่ตองการใชฟลเตอร 2. เลือก Filter จากเมนู Filter จากเมนู จากนัน้ เลือก ชนิดของฟลเตอรที่ตองการจากเมนูยอย 3. เมื่อไดไดอะล็อกบ็อกซของฟลเตอร ใหเลือก Option และใสตัวเลขกําหนดคาที่ตองการ 4. ผลของการใชฟลเตอรจะปรากฏในภาพขนาดเล็ก หากไดผลที่ตอ งการแลวใหคลิ๊ก OK


323 ผลพิเศษของการผสมภาพจากฟลเตอร ภาพจากการใชฟลเตอรสามารถผสมภาพระหวางภาพตนฉบับกับภาพทีใ่ ชฟลเตอรโดยเลือกคําสั่ง Filter > Fade แลวเลือกคาการปรับใหภาพที่ใชฟลเตอรจางลงผสมกับภาพตนฉบับและเลือกลักษณะ การผสมภาพจากเมนูยอย 1. เลือก Filter > Sketch > Note Paper ( หรือฟลเตอร อื่น ๆ ตามตองการ ) 2. เลือก Filter > Fade Note Paper ( หรือชื่อ ฟลเตอรอื่น ๆ ที่เลือกไว ) จะไดไดอะล็อกบอกช สําหรับกําหนดคาตัวเลขความเขมจางในการผสม ภาพที่ ใ ช ฟ ล เตอร กั บ ภาพต น ฉบั บ และเลื อ ก Mode แสดงลักษณะของภาพที่ตองการผสมเลือก ได 16 แบบ สําหรับภาพตัวอยางดานลางนี้เลือก โหมด Luminosity และเลือกความเขมจาง 58%


324 Filter Shortcuts เทคนิคตอไปนี้เปนวิธีทจี่ ะชวยใหคณ ุ ประหยัดเวลาและทํางานไดรวดเร็วมากขึน้ โดยเฉพาะการใช ฟลเตอรแบบตาง ๆ • เพื่อยกเลิกการใชฟลเตอรใหกดปุม Command + Period( จุด ) ที่คียบอรดสําหรับ Macintosh หรือ Esc สําหรับ Windows • เพื่อยอนกลับไปที่ภาพเดิมหรือกลับมาใชฟลเตอรใหมใหกดปุม Command + Z ที่คียบอรด สําหรับ Macintosh หรือ Ctrl + z สําหรับ Windows • เพื่อใชฟลเตอรครั้งสุดทายซ้ําอีกครั้งใหกดปุม Command + F ที่คียบอรดสําหรับ Macintosh หรือ Ctrl + F สําหรับ Windows • เพื่อแสดงไดอะล็อกบอกชสาํ หรับตั้งคาตาง ๆ ของฟลเตอรที่ใชครั้งสุดทายใหกดปุม Command + F ที่คียบอรดสําหรับ Macintosh หรือ Ctrl + F สําหรับ Windows • เพื่อแสดงไดอะล็อกบอกชสาํ หรับตั้งคาตาง ๆ ของฟลเตอรที่ใชครั้งสุดทายใหกดปุม Command + Option + F ที่คียบอรดสําหรับ Macintosh หรือ Ctrl + Alt + F สําหรับ Windows เทคนิคการใชฟลเตอรเฉพาะบางสวนของภาพ หากไมมกี ารกําหนด Selection ในภาพ หลังจากใชคําสั่งฟลเตอร ผลที่ไดจะเกิดขึน้ กับทั้งภาพ แตถา มี Selection ผลที่ไดก็จะอยูเ ฉพาะใน Selection เทานั้น ภาพดานลางซายใช Selection รูปวงกลมแลว เลือก Select > Inverse เพื่อกลับใหเปน Selection นอกวงกลม และเลือก Edit > Fill ( Foreground, 50%, Normal ) สําหรับภาพลางขวาเลือก Selection > Feather( 20 ) กอนเพื่อใหขอบ Selection เบลอ แบบไลโทนไมคมชัดเหมือนภาพดานซาย

วิธีปรับภาพใหนุมนวลหรือคมชัด ฟลเตอรที่ใชบอยมากที่สุดคือฟลเตอร Blur และ Sharpen เนื่องจากฟลเตอรทั้งสองชนิดนี้จะใชเพื่อ ปรับภาพใหดนู ุมนวลหรือคมชัดมากขึ้น หากภาพตนฉบับที่นํามาทํางานสแกนจากเครื่องสแกนเนอร ที่มีคุณภาพไมดี จะมีปญหาเรื่องภาพไมคมชัดเทาตนฉบับ คุณสามารถแกไขไดงาย ๆ โดยการใช ฟลเตอร ปรับใหภาพคมชัดขึ้น แตกระทําไดเพียงเล็กนอยเทานัน้ เพราะการใชฟล เตอรดังกลาวเปน


325 การเพิ่มคอนทราสทใหกับภาพจนดูเหมือน ภาพคมชัดขึ้น หากปรับใชมาก ๆ ภาพก็จะมี คอนทราสทสูงเกินไปจนผิดจากสภาพจริง สวนภาพที่ดูคมแข็งจากการถายภาพใน สภาพแสงแดดจัด สามารถปรับใหดูนุมขึ้น ไดโดยใชหลักการเดียวกัน นั่นคือการลดคอ นทราสทของภาพลง รวมทัง้ ภาพที่มีตนฉบับ เปนภาพพิมพตาง ๆ เมื่อนํามาสแกนจะ ปรากฏเปนรอยจ้ํา ๆ ซึ่งเกิดจากเม็ดสกรีนที่ ใชในการพิมพเรียกวาตาเสือ่ หรือมอเรย สามารถแกไขไดโดยใชฟลเตอร Blur วิธีใชฟลเตอร Blur 1.เลือก Filter > Blur > Gaussian Blur พิมพตัวเลขกําหนดคาความเบลอที่ตองการ คลิ๊ก Pevlew เพื่อดู ผลจากการใชฟลเตอรในภาพขนาดเล็ก จากนั้นคลิ๊ก OK วิธีใชฟลเตอร Sharpen 1. เลือก Filter > Sharpen > …เลือกลักษณะการปรับภาพใหคมชัดจาเมนูยอยที่ตองการ ดูตัวอยาง จากภาพดานลางนี้

วิธีใชฟลเตอร Color Halftone ภาพที่เกิดจากการใชฟลเตอร Color Halftone จะเหมือนกับภาพพิมพที่ถูกขยายใหญจนมองเห็นเม็ด สกรีน ซึ่งคุณสามารถกําหนดขนาดของเม็ดสกรีนที่ตองการได รวมทัง้ มุม องศาของเม็ดสกรีนในแต ละสีเหมาะสําหรับการทําภาพพิเศษแบบตาง ๆ หรือจะใชเปนฉากหลังประกอบกับภาพอื่น ๆ ก็ได


326 1.เลือก Filter > Pixelate > Color Halftone คลิ๊กเลือก Default เพื่อปรับคาตามมาตรฐานที่โปรแกรมตั้ง มาใหและพิมพตัวเลข 4 pixel ที่ชอง Max. Radius จากนัน้ คลิ๊ก OK

วิธีใชฟลเตอร Brush Strokes ฟลเตอร Brush Stroke ใชสําหรับปรับใหภาพถายดูเหมือนภาพวาดซึ่งมีใหเลือกใชหลายแบบ ใน แตละแบบจะสามารถกําหนดลักษณะของการวาดได อาทิขนาด ความเขม คอนทราสท ความชัด ความนุม เปนตน 1. เลือก Filter > Brush Stroke > …เลือกชนิดของฟลเตอรที่ตองการจากเมนูยอย ( 8 แบบ )


327 วิธีใชฟลเตอร Displace ฟลเตอร Distort > Displace เปนฟลเตอรพิเศษที่ใช ปรับภาพธรรมดาใหดูนูนขึน้ ตามที่ตองการซึ่งอาจจะ นูนเปนตัวอักษร ภาพลายเสน ภาพวาดหรือภาพอะไร ก็ได โดยสรางภาพที่ตองการเสียกอนแลวเซพเก็บไว ในไฟลฟอรแมท Photoshop เมื่อเลือกใชฟลเตอร Displace จึงเปดภาพที่สรางเก็บเอาไวซึ่งจะทําใหได ภาพนูนในรูปแบบที่ตองการ

3. 4. 5. 6.

1. เลือก Filter > Distort > Displace ( 10%, 10%, Tile, Wrap Around ) คลิก OK แลวเลือกภาพที่ ตองการ 2. เปด Channel Palette คลิ๊กที่ Channel 5 ลากลงมาที่ ไอคอนวงกลมเสนประทางดานลางเพื่อเปลี่ยนใหเปน Selection เปลี่ยน Foreground/Background เปนดํา/ขาว เลือก Edit > Fill > ( Foreground, 60%, Normal ) คลิกที่ Channel 6 เปลี่ยนใหเปน Selection และเลือก Edit > Fill ( Background, 60%, Nomal ) คลิกที่ Channel 4 เปลี่ยนใหเปน Selection แลวเลือก Image > Adjust > Hue/Saturation ( พิมพตัวเลข 95 ในชอง Hue ) ; Select > None


328 วิธีใชฟลเตอร Dust & Scratches ฟลเตอร Noise > Dust & Scratches ใชสําหรับปรับภาพใหพกิ เซลกลมกลืนกัน เหมาะสําหรับตกแตง ภาพที่มีรอยดาง( จุดเล็ก ๆ )ซึ่งชวยในการแกไขภาพไดอยางรวดเร็วและแนบเนียน โดยจะจําลอง พิกเซลที่อยูใกล ๆ กันทับลงไป 1. จะเห็นวามุมบนขวาของภาพมีจุดสีขาวที่ ตองการลบออกปรากฏอยู (ในวงกลม) 2. พิมพตัวเลข 100% ที่ชองดานลางซายของภาพ เพื่อขยายภาพขึ้นมา ใช Hand tool คลิ๊กที่ภาพ เลื่อนไปทางซายเพื่อใหมองเห็นจุดสีขาว 3. ใช Rectangular Marquee สรางกรอบ Selection ลอมรอบจุดสีขาว 4. เลือก Fllter > Noise > Dust & Scratches แลว พิมพตัวเลข 11 ลงในไดอะล็อกบอกซ จะเห็นวา จุดสีขาวดังกลาวหายไป คลิก OK ; Select > None

วิธีใชฟลเตอร Lens Flare Lens Flare เปนฟลเตอรสําหรับใชสรางภาพใหมีลักษณะเหมือนกับการภายภาพยอนแสงดวงอาทิตย ซึ่งจะปรากฏแสงฟุงหรือที่เรียกวาแสงแฟลร และมีแสงที่สะทอนเลนสปรากฏเปนวงซอน ๆ กัน เมื่อเลือกใชฟลเตอรจะไดไดอะล็อกบอกซ เพื่อเลือกทายาวโฟกัสของเลนสจาก 50-300 มม. 35 มม. และ 105 มม. ซึ่งจะไดลักษณะ ของแสงแฟรแตกตางกัน และคลิ๊กเลือก ตําแหนงของดวงอาทิตยจากภาพรีววิ ขนาดเล็ก


329 1. หากภาพไมไดอยูในโหมด RGB ใหเลือก Image > Mode > RGB Color 2. เลือก Filter > Render > Lens Flare คลิกตําแหนงของดวงอาทิตยใหอยูทางดานบนขวาและเลือก เลนสซูม 50-300 มม. จากนัน้ คลิ๊ก OK

วิธีใชฟลเตอร Lighting Effect ฟลเตอร Lighting Effect ใชสําหรับจัดแสงใหกับภาพถาย โดยเปดภาพอะไรก็ไดขึ้นมาแตตองอยูใน โหมด RGB จากนั้นเลือก Render > Lighting Effect ก็จะไดไดอะล็อกบอกซสําหรับจัดแสงโดยเลือก ลักษณะของแสงไดมากถึง 17 แบบ และยังเลือกแหลงกําเหนิดแสงที่แตกตางกันไดมากกวาหนึ่งดวง รวมทั้งเลือกสีของแสงที่ แตกตางกันไดดวย นอกจากนี้ยังสามารถปรับ ภาพธรรมดาใหดูเปนภาพ สามมิติ โดยการเลือก Texture เพือ่ สรางลวดลาย และพื้นผิว แลวจัดทิศทาง แสงใหดูสมจริง


330 1. เลือก Filter > Render > Lighting Effect (จะ ทํางานไดตอเมื่อภาพอยูใ นโหมด RGB เทานั้น) ตามคามาตรฐานของโปรแกรมจะกําหนดแสง ใหหนึ่งดวงสองจากทางดานลางขวาและเปน แสงสีขาว เมือ่ คลิ๊ก OK ก็จะไดภาพที่ตองการ 2. หากเลือกชนิดของแสงโดยเลือก Style แลว เลือก RGB Lights ก็จะไดแสงที่เกิดจากไฟ สามดวง คือ แดง เขียว และน้ําเงิน สองเขาหา กลางภาพ 3. ที่ภาพพรีวิวดานซายจะเห็นวาไฟแตละดวงมีจุด อยูส่จี ุด แตละจุดคลิ๊กปรับยึดเขา-ออกไดเพื่อให แสงกวางขึ้นหรือแคบลง รวมทั้งหมุนเพื่อปรับ ทิศทางแสงใหม (ลูกศรสีขาว) หรือคลิ๊กที่จุดตรง กลางแลวลากเมาทเพื่อเปลี่ยนตําแหนง (ลูกศรสี เหลือง)

4. จากขอ 1 เลือก Style ที่ Five Lights Up จะ ไดไฟหาดวงสองจากดานลางขึ้นมา และเลือกคา Properties โดยเลื่อนแถบสไลด Exposure ที่ 100 เพือ่ ใหพื้นทีน่ อกดวงไฟสวางขึน้ และ Amblence เลื่อนแถบสไลดไปทาง Positive 13 เปนการปรับใหภาพสวางขึน้ (ในวงกลมสีแดง)


331 วิธีใชฟลเตอร Sketch ฟลเตอร Sketch ใชสําหรับปรับภาพใหดู เหมือนภาพวาดระบายสี เลือกได 14 แบบ แตละแบบสามารถปรับตั้งคาตาง ๆ ได เพื่อใหไดภาพตามที่ตองการ ฟลเตอร บางอยางจะใชสีจาก Foreground/Background ที่ Toolbox จึงตอง กําหนดสีที่ตองการกอนใชฟล เตอร และเมื่อ เลือกใชฟลเตอรแตละชนิดจะมีภาพพรีววิ ขนาดเล็กเพื่อดูผลจากการใชฟลเตอร

1. เลือก Foreground สีเหลืองและ Background สีน้ําเงิน 2. เลือก Filter > Sketch > …เลือกชนิดของ ฟลเตอรที่ตองการ ในภาพดานลางเลือก Bas Relief


332 วิธีใชฟลเตอร Emboss ฟลเตอร EMBOSS ใชปรับภาพใหดูนนู ขึ้น โดยภาพจะปรากฏเปนสีเทา สามารถปรับเลือกทิศทาง แสงที่ตองการ กําหนดความสูงของภาพที่ตองการใหนนู ขึ้น และความเขมสีของภาพที่ได 1. เลือก Filter > Stylize > Emboss จะไดไดอะล็อกบอกซดงั ภาพดานลาง 2. กําหนด Angle = 135 ; Height = 4 ; Amount = 102 คลิก OK


333 วิธีใชฟลเตอร Texture ฟลเตอร Texture ใชปรับภาพใหเปนภาพพืน้ ผิวแบบตาง ๆ เลือกไดถึง 6 แบบ ในแตละแบบ สามารถตั้งคาในไดอะล็อกบอก เพื่อใหไดภาพตามตองการ (ภาพที่ใชฟลเตอร Texture ตองอยูใน โหมด RGB) 1. เลือก Filter > Texture >..เลือกชนิดของฟลเตอรที่ตองการ


334


335


336


337


338

เปลี่ยนภาพสีเปนขาวดํา หากคุณเคยดูภาพจากการประกวด คงจะสังเกตไดวามีภาพแปลก ๆ ที่ใชเทคนิคพิเศษใหเห็น อยูเสมอ ในอดีตนิยมการใชฟลมอินฟราเรดถายภาพใหมีสีผิดเพี้ยน คือตรงกันขามกับสีจริง เชน ใบไมสีเขียวกลายเปนสีแดง เปนตน หรือใชกรรมวิธีพิเศษยอมสีภาพถายในหองมืด บางครั้งก็ใช เทคนิคการบังแสงสรางภาพสีใหเปลี่ยนเปนภาพขาวดํา โดยเลือกใหบางสวนของภาพยังคงเปนสี เหมือนเดิม ซึ่งดูแปลกและนาสนใจมากทีเดียว เมื่อโลกเขาสูยุคดิจิตอล การถายภาพระบบดิจิตอลไดรับความนิยมอยางแพรหลาย กระบวนการลางอัดขยายภาพขาวดําหรือที่นิยมเรียกกันวา หองมืด ก็พลิกโฉมกลายเปนหองมืด ดิจิตอล ที่อาศัยเครื่องมือหลัก ๆ คือคอมพิวเตอร กับโปรแกรมตกแตงภาพ เชน Adobe Photoshop และเพื่อใหครบวงจรก็ตองมี เครื่องพิมพภาพสีอกี หนึ่งอยาง สําหรับพิมพภาพทีเ่ สร็จสมบูรณแลวลง บนกระดาษ ซึ่งเทคโนโลยีการพิมพภาพในปจจุบนั ไดกาวล้ําไปมาก ความคงทนอยูไดนานนับสิบป หรือรอยป เรียกวาทนกวาภาพถาย จากระบบซิลเวอรแฮไลทที่ใชฟลมดวยซ้ําไป


339

ใชอะไรบาง อันดับแรกคือการรําภาพดิจติ อล เขามา เรียกวา การอินพุท หากมีกลอง ดิจิตอลก็จะงายมาก เพราะกดชัตเตอร ถายภาพก็ไดไฟลภาพดิจิตอลที่จัดเก็บลง ในแผนการดขนาดเล็กทันที แตถาเปน ฟลมตองนําไปสแกนเสียกอนซึ่ง สแกนเนอร ที่สแกนฟลมไดคุณภาพดี ในปจจุบนั มีอยูมากมายในราคาไมสูง เกินไปนัก หากเปนแบบที่สแกนฟลม เพียงอยางเดียว เชน Nikon หรือ Minolta จะใหคุณภาพทีด่ มี ากใกลเคียง กับฟลมตนฉบับ แตราคาคอนชางสูง พอสมควร หากงบไมพออาจใชวิธีนํา ฟลมไปใชบริการสแกนภาพจากศูนยบริการตาง ๆ ก็ไดในราคาที่คิดตามขนาดไฟล เชน ดรัม สแกนเนอร ตอมาคุณตองมีเครื่องคอมพิวเตอรซึ่งปจจุบันมีประสิทธิภาพสูงมาก คอมพิวเตอรที่มีราคา ประหยัดเพียงหมื่นกวาบาทก็เพียงพอกับการใชงานแลว แตอาจตองซื้อหนวยความจําหรือ RAM เพิ่มประมาณ 128 MB จะชวยใหการทํางานรวดเร็วขึน้ และแนนอนวาคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพ สูงมากเทาใด ก็จะทํางานไดรวดเร็วมากขึ้นตามลําดับ สวนโปรแกรมตกแตงภาพแมจะมีใหเลือกมาก


340 แตที่นิยมใชกนั้ มากที่สุดคือ Adobe Photoshop เพราะมีความสามารถสูงและเปนมาตรฐานของการ จัดการดานภาพดิจิตอล ปจจุบันพัฒนาถึงเวอรชั่น 7 แลว 1. เปดภาพที่ตองการเปลี่ยนโทนสีขึ้นมา จากนั้นใชเครือ่ งมือที่อยูใน Toolbox เรียกวา Path สัญลักษณของไอคอนเปนรูปปากกาคอแรง ใช คลิกเลือกสวนตาง ๆ ของภาพที่ตองการ ในภาพนี้ คลิกเลือกพื้นที่รอบองคพระ และดอกบัวที่อยู ทางดานลาง 2. หลังจากไดเสน Path เรียบรอยแลว ก็ เปลี่ยนใหเปนเสน Selection จากนั้นกลับ Selection เปนตรงกันขาม เทากับวาเลือกพื้นที่ สวนที่อยูนอกองคพระ แลวเลือกจากเมนู Image ไปที่ Hue/Saturation ปรับเลื่อนแถบสไลด Saturation ไปที่ –100 สวนที่เปนสีใน Selection จะเปลี่ยนเปนขาวดํา 3. จากขอ 1 เราสามารถกําหนดใหสว นที่ เปนองคพระซึง่ อยูในเสน Selection เปลี่ยนเปน Layer เสียกอน จากนั้นเปลีย่ นโทนสีของ Background เปนขาวดําโดยการปรับ Saturation ตาม ขอ 2


341


342


343

3. การพิมพภาพดิจิตอล แอนเซิล อาดัม ชางภาพผูพิศมัยยภาพขาวดําที่ยิ่งใหญและมีชื่อเสียงกองโลกเคยกลาวงเอาไว วา “The negative is the score, the print is the perfomance.” คํากลาวนี้เปนจริงตอเนื่องมาถึง ปจจุบัน เราทุกคนยังคงชื่นชมกับภาพทีพ่ มิ พลงบนกระดาษ เพียงแตตนฉบับของภาพที่นํามาอัดขยาย ไมใชฟลมเพียงอยางเดียว แตเพิ่มสิ่งที่เรียกวาภาพดิจิตอล หากคุณยังไมเคยเห็นภาพที่อัดขยายโดย การพิมพจากไฟลภาพดิจิตอลดวยเครื่องพิมพหรือพริ๊นเตอรมากอน ผมกลารับประกันวาคุณไม สามารถแยกออกวาเปนภาพจากแลปสีที่เราคุนเคยกันมานานหรือจากพริ๊นเตอร และตองทึ่งมากขึ้น ไปอีกเมื่อทราบวาราคาของพริ๊นเตอรในปจจุบันต่ํามาก ในงบประมาณเพียงไมกพี่ นั บาท สามารถ พิมพภาพไดสวยงามคมชัดไมตางกับแลปสีที่มีราคาหลายลานบาทที่เดียว ที่สําคัญคือทั้งหมดสามารถ ทําไดดว ยตนเองที่บาน หรือที่เรียกวา “หองมืดดิจิตอล”

การพิมพภาพระบบดิจิตอล มีความหลากหลายเกินกวาที่คุณคาดคิดไวมาก เพราะมันไมใชการ พิมพภาพลงบนกระดาษเพียงอยางเดียว ยังสามารถเลือกชนิดของกระดาษแบบตาง ๆ ไดมากมาย รวมทั้งสติ๊กเกอรพลาสติก ผาหรือแมกระทั่งวัสดุพิเศษเชนพรม แกว เปนตน นอกจากนีย้ ังเลือกหมึก และเทคโนโยลีการพิมพที่แตกตางกันอีกหลายอาง นับวาการพิมพภาพดิจิตอลนั้นมีทางเลือกมาก


344 อยางไมเคยมีมากกอน แตไมไดหมายความวาทางเลือกเหลานั้นจะมีคณ ุ ภาพแตกตางกัน ภาพที่ไดยังมี ความชัด สีสัน และรายละเอียดที่ครบถวน สวยงาม สิ่งที่แตกตางคือเครื่องพิมพ และวัสดุที่ใช เทานั้น ปจจุบันเราสามารถพบเห็นภาพ พิมพดิจิตอลไดทั่วไปในชีวติ ประจําวัน ไมวาจะเปนภาพถายทั่ว ๆ ไปจากกลอง ดิจิตอลที่นํามาพิมพดว ยอิงคเจตพริ๊น เตอร ภาพประดับในกรอบตามสถานที่ ตาง ๆ ภาพโปสเตอรที่ติดโชวตามงาน แสดงสินคา รานอาหาร โรงแรม หรือ สามารถที่ทั่ว ๆ ไป จนถึงภาพคัทเอาท ขนาดยักษที่ใชโฆษณาสินคา พบเห็นได ทั่วไป โดยเฉพาะเมื่อขับรถไปตามทาง ดวน เปนตน สําหรับนักถายภาพแลวคุณ สามารถอัดขยายภาพไดดว ย ตนเองที่บาน โดยใชเครื่องพิมพที่ เหมาะสม ซึง่ ขอแนะนําเพียง 2 ชนิด คือแบบอิงคเจตพริน๊ เตอร มีคาใชจายที่ตา่ํ คุณภาพปานกลาง จนถึงสูง และแบบดรายชัพให คุณภาพสูงและคาใชจายสูง สํ า หรั บ อิ ง ค เ จ็ ต พริ๊ น เตอร ราคาเฉพาะเครื่ อ งพิ ม พ เ ริ่ ม ต น ที่ ประมาณห า พั น บาท ให ค วาม ละเอียดในการพิมพ 1,440 dpi ภาพที่ ไ ด ค มชั ด เหมื อ นภาพถ า ย และมีสีสันที่สวยงาม สวนรุนที่มี ราคาสู ง กว า นี้ จ ะมี คุ ณ สมบั ติ ที่ ดี ขึ้นตามลําดับ เชน ใชหมึก 6 สี ทําใหการไลเฉดสีละเอียดมากขึ้น หรื อ พิ ม พ ภ าพความละเอี ย ดได


345

มากถึง 2,880 dpi และมีความเร็วสูง แตขนาดภาพที่พิมพไดใหญสุด คือ A4 หากตองการขยายใหญ สุด คือ กระดาษ A4 หากตองการขยายใหญกวานี้เชน A3 จะมีราคาตั้งแตสองหมื่นกวาจนถึงประมาณ สี่หมื่นบาทเศษ สวนเครื่องพิมพรุนใหญจะมีราคาสูงกวามากประมาณ 1-3 แสนบาท คาใชจายอื่น ๆ คือหมึก โดยเครื่องพิมพขนาด A4 หรือ A3 จะใชตลับหมึก 2 ชุด แยกกันคือสี (4 สีหรือ 6 สี) และ ขาวดํา หากตองการพิมพภาพถายใหมีคุณภาพสูงสุด ตองเลือกกระดาษที่ผลิตมาโดยเฉพาะสําหรับ เครื่องพิมพอิงคเจตเชน Photo Paper Glossy Paper (กระดาษมัน) หรือ Matte Paper (กระดาษดาน) เปนตน คาใชจายสําหรับหมึกและกระดาษแบบ Glossy ขนาด A4 (8 x 10 นิ้ว) เฉลี่ยประมาณ 3080 บาทตอ 1 ภาพ ขึ้นอยูกับลักษณะของภาพวามีรายละเอียดมากนอยแคไหน เทียบกับการอัดขยาย ภาพ 8 x 10 นิ้วจากแลปสีที่มีราคา 20-50 บาทต อ ภาพ นั บ ว า คุ ม ค า มากที เ ดี ย ว สามารถควบคุ ม คุ ณ ภาพได ด ว ย ตนเอง และหากใช ก ล องดิ จิต อลจะไม สิ้นเปลืองฟลม และแนวโนมในอนาคต หมึกและกระดาษจะมีราคาที่ลดลงเพราะ มีผูใชมากขึ้นนั่นเอง


346

พิมพภาพถายสีไดอยางไร? เครื่องพิมพภาพจากคอมพิวเตอรในยุคแรก ๆ พิมพไดเพียงสีเดียว โดยเริ่มจากภาพขาวดํากอน ความละเอียดมีนอยมาก พิมพเปนภาพถายแบบหยาบ ๆ เทานั้น ตอมามีการคิดคนเลเซอรพริ้นเตอร ขาวดําที่มีความละเอียดสูงถึง 600 dpi ภาพถายที่พิมพออกมาจากระบบดิจิตอลเริ่มคมชัดมากขึ้น และ พัฒนาใหเปนเลเซอรพริ้นเตอรสีที่พิมพไดสวยงาม แตยงั หางไกลจากการอัดขยายภาพจากแลปสี เมื่อ มีการคิดคนวิธกี ารพิมพแบบอื่น ๆ เชน ดรายซัพ หรืออิงคเจตพริ้นเตอร ที่นอกจากหมึกแลวยังมี กระดาษที่ออกแบบมาเปนพิเศษ ทําใหไดภาพที่คมชัดมีรายละเอียดครบถวนสมบูรณตามที่ทุกคน ตองการ ภาพถายจากฟลมเนกาตีฟสีหรือสไลดสีเปนการผสมกันระหวางแมสี 3 สี คือ Red Green และ Blue (RGB) ซึ่งเปนแมสีของแสงนั่นเอง แตกระบวนการพิมพจะแยกสีดําออกมาตางหาก สวนสี 3 สีที่ใชพิมพ คือ Cyan Magenta และ Yellow (CMY และ K คือสีดํา) วิธีการนี้จะทําใหภาพมีโทนสี ที่ถูกตองและสวยงามตามธรรมชาติ ซึ่งกระบวนการพิมพจากโรงพิมพก็จะใชสี CMYK เชนกัน อยางไรก็ตามมีเครื่องพิมพบางชนิดเชน Epson Stylus Photo 870 ใชหมึกสีเพิ่มขึ้นอีก 2 สี คือ Light Cyan และ Light Magenta ชวยใหการไลเฉดสีดูกลมกลืนมากยิ่งขึน้ เชน สีผิวของมนุษย เปนตน เครื่องพิมพภาพทุกชนิดใชหลักการพิมพคลาย ๆ กัน คือ ใชหยดหมึกสีพื้นของแตละสีมาเรียง ตอดวยกันจนปรากฏเปนภาพถาย บางยี่หอใชเทคโนโลยีในการทําใหหยดหมึกมีขนาดเล็กและใหญ

ไมเทากัน สีของหยดหมึกแตละสีเมื่ออยูใกล ๆ กันจะดูกลายเปนอีกสีหนึ่ง ทําใหสามารถแสดงสี ตาง ๆ ไดครบถวนทั้งหมด โดยหยดหมึกดังกลาวมีขนาดเล็กมากจนไมอาจสังเกตไดดวยตาเปลา เวน แตวาจะนําภาพที่พิมพเสร็จแลวไปสองขยายดูกจ็ ะเห็นหยดหมึกเล็ก ๆ จํานวนมหาศาล น้ําหนักโทน สีของหยุดหมึกจะแตกตางกันออกไปบางก็เขมบางก็จาง ทําใหภาพถายมีโทนสีที่ไลระดับกันจาก ออนไปหาเขมเรียกวา Halftone หรือ Dithe หากเครื่องพิมพภาพทีใ่ ชมีคุณภาพไมดีพอ คุณจะพบวาภาพที่พิมพออกมาไมเหมือนกับที่ตา เห็นในธรรมชาติ ทั้งนี้เปนเพราะวาแสงสีในธรรมชาตินั้นมีชวงกวางของระดับสีมากกวาเครื่องพิมพ


347 นั่นเอง เราเรียกชวงกวางของสีนี้วา Color Gamut ซึ่งจะสัมพันธกับโหมดสีที่ปรากฏบน จอคอมพิวเตอร เราสามารถเปลี่ยนโหมดของสีไดหลายแบบโดยโหมด Lab จะมีชว งกวางของสีมาก ที่สุด แตทนี่ ิยมใชกั้นมากคือโหมด RGB และ CMYK สําหรับ RGB นั้น คา Gamut จะแสดงให เห็นเฉพาะบนจอมอนิเตอรเทานั้น สีบางสีเชน Pure Yellow ไมสามารถแสดงใหเห็นได แตเมือ่ นํา ภาพไปพิมพจากเครื่องพิมพที่มีชวงกวางของสีมากจะไดภาพถายที่สวยงามเหมือนจริงตามธรรมชาติ (เหนือกวาการพิมพระบบออฟเซ็ทจากโรงพิมพทั่ว ๆ ไป)

ชนิดของเครื่องพิมพ เครื่องพิมพภาพดิจิตอลมีอยูม ากมาย หลายชนิด ซึ่งใชเทคโนโลยีที่แตกตางกัน ออกไป รวมทั้งขนาดภาพทีพ่ ิมพไดก็ แตกตางกันดวย ตั้งแตขนาดโปสการดเล็ก ๆ ขนาด A4 A3 จนถึงภาพโปสเตอรขนาด ใหญ เรามาดูกันวามีเครื่องพิมพชนิด ใดบางที่เหมาะสมกับงานพิมพที่ตองการ Liquid Ink-jet Printer เครื่องพิมพ ชนิดนี้จะใชวธิ ีพิมพหยดหมึกที่เปน ของเหลวขนาดเล็กลงบนวัสดุตาง ๆ เชน กระดาษบางชนิดใชความรอน แตบางชนิด ก็ใชแรงดันไฟฟาในการควบคุมขนาดและ ตําแหนงของหยดหมึก ปจจุบันเครื่องพิมพ ชนิดนี้ไดรับความนิยมอยางแพรหลาย โดย เฉพาะงานพิมพภาพถาย เพราะใหคุณภาพสูงและมี คาใชจายที่ต่ํามากอยางนาทึง่ แตก็เหมาะกับงานพิมพ จํานวนนอย มีปริมาณไมมาก เครื่องพิมพที่นาสนใจ คือ Epson หรือ Canon ซึ่งมีรุน Photo ออกแบบ โดยเนนการพิมพภาพถายโดยเฉพาะ ปจจุบันมีหลาย รุนที่พิมพภาพไดความละเอียดสูงสุดถึง 2,880 dpi กระดาษที่ใชพิมพจากเครื่องพิมพชนิดนี้ใชไดตั้งแต กระดาษธรรมดา กระดาษปอนดแบบ Photo Paper ที่ออกแบบมาเปนพิเศษ และคุณภาพจะดีมาก ถาใช กระดาษคุณภาพสูง ทั้งแบบมัน (Glossy) และ แบบดาน (Matte)


348


349 Dye Sublimation เครื่องพิมพระดับไฮเอนด ใหภาพถายที่มีคุณภาพสูงมาก มักเรียกกันสั้น ๆ วา Dye Subs วิธีการพิมพจะใชหมึกที่มลี ักษณะเปนฟลมบาง ๆ 3 สี คือ CMY สวนสีดําจะเกิดจาก การผสมของทั้ง 3 สี การพิมพแบบนี้ตองใชคูกับกระดาษที่ออกแบบมาโดยเฉพาะเทานั้น โดยหมึกที่ เปนฟลมแตละสีจะรับภาพดิจิตอลมาพิมพลงไปแลวถายทอดลงสูกระดาษอีกทีหนึ่งดวยความรอน ขอเสียของการพิมพชนิดนี้คอื จะสิ้นเปลืองหมึกมาก หากเปนภาพขนาดเล็กที่พิมพไมเต็มพื้นที่ เพราะไมสามารถนําหมึกแตละแผนกลับมาใชไดอีก ทําใหคาใชจายสูงประมาณ 100 – 150 บาท ตอ ภาพขนาด A4 หนึ่งภาพ แตภาพทีไ่ ดจะมีคุณภาพสูง คมชัด มีโทนสีที่ตอเนื่องเทียบเทากับการอัด ขยายภาพจากแลปสี ทําใหไดรับความนิยมในกลุมผูใชระดับอาชีพพอสมควร เชนเครื่องพิมพจาก Kodak หรือ Tektronix เปนตน Solid Ink-jet Printer เครื่องพิมพชนิดนี้เหมาะอยางยิ่งสําหรับงานพิมพรายงานตาง ๆ รวมทั้ง สื่อสิ่งพิมพ เชนภาพกราฟ หรือกราฟฟก เพราะพิมพไดรวดเร็วและคาใชจายต่ํา ใชงานไดคุมคา เพราะพิมพบนกระดาษธรรมดาทั่ว ๆ ไป สามารถพิมพเฉพาะอักษร หรืองานพิมพที่มีเพียง 1-2 สี โดยไมสิ้นเปลืองมากนัก คุณภาพอยูในเกณฑปานกลางจนถึงระดับดี ใชตลับหมึก 4 สีแบบ CMYK หากเปนงานพิมพภาพถายสามารถเลือกกระดาษพิมพชนิด Photo ทําใหไดภาพที่มีความคมชัดสูง มาก ไมตางกับการอัดขยายภาพจากแลปสีทั่ว ๆ ไป

Thermal Wax Printer เครื่องพิมพชนิดนี้มีความเร็วในการพิมพสูง ใหคุณภาพดี เหมาะ สําหรับงานพิมพเพื่อแสดงหรือนําเสนอผลงานเปนภาพกราฟฟกตาง ๆ โดยมีคาใชจายต่ํา เพราะ ใชไดกับกระดาษเลเซอรที่ใชในสํานักงานอยูแลว แตถา เปนภาพถายการไลเฉดสีและโทนภาพไมดีนกั


350 เมื่อเทียบกับอิงคเจ็ตพริ้นเตอร หรือดรายซัพพริ้นเตอร กระบวนการพิมพจะใชหมึกพิมพแบบริบบอน ที่เคลือบสีทั้ง 4 สี เคลื่อนที่ผานหัวพิมพทใี่ ชระบบความรอน ถายทอดภาพเคลือบลงบนกระดาษอีก ทีหนึ่ง โดยภาพที่ไดเกิดจากจุดสีที่มีขนาดเล็กมาก


351 Color Laser Printers เครื่องพิมพชนิดนีม้ ีหลักการทํางานคลายกับเลเซอรพริ้นเตอรแบบขาว ดําทั่ว ๆ ไป ขอดีคือสามารถพิมพภาพไดรวดเร็วมาก โดยใชหมึกที่มีลักษณะเปนผง พิมพลงบน กระดาษธรรมดาทั่ว ๆ ไป หรือจะใชกระดาษอารตดานก็ได เพื่อใหไดคุณภาพที่ดีขนึ้ แมวาปจจุบัน จะมีความละเอียดสูงขึ้นมาก แตก็ยังพิมพภายถายไดดใี นระดับปานกลางเทานั้น เครื่องพิมพชนิดนี้จึง เหมาะกับงานพิมพทั่ว ๆ ไป ที่ตองการความรวดเร็ว และคาใชจายในการพิมพตอ แผนต่ํา (แตราคา เครื่องสูงมาก) เครื่องพิมพภาพสียังมีอีกมากมายหลายชนิด สวนใหญออกแบบมาเพื่อการใชงานเฉพาะทาง เชนเครื่องพิมพขนาดเล็กของ Sony Minolta หรือ Canon ที่พิมพเปนภาพขนาดเล็กจากกลองดิจติ อล โดยไมตองพึ่งพาเครื่องคอมพิวเตอรใหยุงยาก สามารถนําไปใชงานนอกสถานที่ไดอยางสะดวก คุณภาพทีไ่ ดสว นใหญจะดีมากใกลเคียงกับภาพถาย สวนเครื่องพิมพของ Fujifilm รุน Fujix Pictrography นั้นเปนเครื่องพิมพระดับไฮเอนดที่มีคุณภาพสูงมาก เพราะใหความละเอียดถึง 400 dpi และแสดงสีได 24 บิต ไฟลภาพขนาด 40 MB ใชเวลาในการพิมพเพียง 2 นาทีเทานั้น มีใหเลือก 2 รุน คือ 3000 และ 4000 พิมพภาพขนาด A4 และ A3 ตามลําดับ ราคาเครื่องไมสูงมากนัก และ ตนทุนการพิมพ ใกลเคียงกับระบบอิงคเจต

พิมพภาพจากศูนยบริการ หากคุณไมมีเครื่องพิมพภาพสีที่บาน สามารถใชบริการไดจากแลปสีระบบ ดิจิตอลทั่ว ๆ ไป ซึ่งปจจุบันมีใหบริการ หลายแหง ทั้งแลปของ Kodak Fuji หรือ อื่น ๆ บางแลปสีหรือสถานที่ บางแหง มีการนําเครื่องพิมพประเภทอิงคเจต หรื อดรายซับมาใหบริการดวย เพียงนําไฟล ภาพที่เก็บไวในแผนดิสกหรือ CD ไปใช บริการ เพียงไมกนี่ าทีกส็ ามารถนําภาพ กลับไปไดเลย และหลายแหงมีบริการ พิมพภาพขนาดใหญแบบโปสเตอรหนา กวาง 36 หรือ 44 นิ้ว สวนใหญเปน เครื่องพิมพแบบอิงคเจตพริ้นเตอรที่มี คุณภาพสูงไมตางจากเครื่องพิมพขนาดเล็ก หลังจากพิมพแลวสามารถใชบริการเคลือบพลาสติกเพือ่ ใหมีความหนามากขึ้น และปองกันน้ํา ฝุน ละออง หรือรอยขีดขวนตาง ๆ ไดดวย


352

สั่งอัดภาพทางอินเตอรเนท ใครจะไปคิดละครับวาสักวันหนึ่งมันจะเปนจริง เมื่อเราถายภาพเสร็จเรียบรอยแลว เราจะไม ตองฝารถราที่ติดขัดในเมืองใหญ ๆ เพื่อเดินทางไปยังแลปสีเพื่อลางอัดภาพอีกตอไปแลว เพียงแตคุณ มีไฟลรูปภาพแบบดิจิตอล ไมวาจะเปนจากกลองดิจิตอล หรือภาพจากการแสกนภาพ แลวมี คอมพิวเตอรอยูที่บานก็สามารถสั่งอัดภาพของคุณไดทันที ผานเครือขายอินเตอรเนท ไมตองออกจาก บานใหเสียเงินเสียเวลาอีกตอไป แถมบางครั้งยังไดอารมณเสียกลับมาบานเปนของแถมอีกตางหาก

บริษัท โกดัก (ประเทศไทย) จํากัด ไดเปดใหบริการอัดขยายภาพผานเว็บไซต www.kodakexpress.co.th โดยมีขั้นตอนการใชบริการที่งายดายมาก ๆ เริ่มตนโดยการลงทะเบียนใช บริการไมตองเสียคาใชจายใด ๆ เลย เสียเพียงคาลางอัดภาพซึ่งราคาก็เปนราคามาตรฐาน จากนั้นสง ภาพไปเก็บไวเลือกภาพที่ตองการอัดขยาย เลือก จํานวนและอืน่ ๆ และเลือกการชําระเงิน จากนั้น ก็เพียงแตรอใหภาพมาสงถึงบานเทานั้นเอง 1. กอนอื่นคุณก็ตองมีไฟลภาพที่จะสั่งพริ้น เตรียมเอาไวใหเรียบรอย เมื่อเขาสูอินเตอรเนท แลวก็ใหเขาไปในเว็บของโกดัก หากไมเคยใช บริการมากอนเลยก็ตองทําการลงทะเบียนกอน


353 โดยคลิกที่หวั ขอ ลงทะเบียน จากนั้นก็กรอกรายละเอียดในชองวางใหครบ เชนชื่อ รหัสผานสวนตัว และที่สําคัญคือชื่อที่อยูที่คุณจะใหสงภาพไปให 2. เมื่อกรอกรายละเอียดครบถวน และล็อคอินเรียบรอยแลว ทาง kodakexpress ก็จะใหพื้นทีใ่ นการจัดเก็บ รูปภาพของคุณประมาณ 20 MB เลย ทีเดียว โดยสามารถโหลดภาพไปเก็บ เอาไวเปน อัลบั้มสวนตัวไดอยาง เหลือเฟอ เมื่อคุณตองการนําภาพไปเก็บ ไวในอัลบั้มสวนตัวก็เพียงแตคลิกที่ BROWSE แลวทําการดาวนโหลด ภาพถาย (ควรแปลงไฟลภาพของใหอยู ในฟอรแมท JPEG เสียกอน) 3. เมื่อดาวนโหลดภาพของคุณไป เก็บไวเปนที่เรียบรอยแลวเราก็จะมีอัลบั้ม ภาพสวนตัวอยูในเว็บไซต โดยจะสั่งอัด ภาพเดีย๋ วนั้นเลยก็ได หรือจะเก็บเอาไว กอนแลวคอยสั่งอัดทีหลัง โดยภาพที่อยู ในอัลบั้มนั้นสามารถทําการตกแตงให เปนภาพแบบสติ๊กเกอรโปรสการด ปฏิทิน นามบัตร หรืออื่น ๆ อีกมากมายก็ ได ดวยโปรแกรมตกแตงภาพแบบงาย ๆ ที่มีใหเลือกใชอยางจุใจ 4. เมื่อตกแตงภาพเปนทีพ่ อใจ แลว หากตองการอัดภาพก็เพียงแตคลิกที่ เมนู สั่งอัดภาพ ก็จะเขาสูบริการอัดภาพ ผานอินเตอรเนททันที เลือกขนาดภาพที่ ตองการ ขนาดเล็กสุดคือ 3R (640 x 480 พิกเซล), 4R, 8R, หรือ 8 x 10 นิ้ว และเลือกชนิดของกระดาษวาจะเปน กระดาษแบบมันหรือดานก็ได ฯลฯ จากนั้นก็คลิกสั่งอัดภาพไดทันที


354 5. จากนั้นก็จะเขาสูการเลือกแลปสีที่อยูใ กลบานคุณทีส่ ุด โดยจะมีรายชื่อแลปตาง ๆ ทั้งใน กรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมทั้งแลปใน ตางจังหวัด เมื่อเลือกไดแลวทางเว็บ ๆ ก็ จะแจงจํานวนภาพและราคาใหทราบ ซึ่ง สามารถเลือกวิธีชําระเงินไดหลายแบบ จะ จายเงินออนไลนผานบัตรเครดิต หรือจะจาย เมื่อภาพมาสงที่บานก็ได โดยภาพที่สั่งอัดนั้น จะมาถึงหนาบานคุณภายใน 3 วันเทานัน้ (ไม รวมวันหยุด) เพียงเทานี้คุณก็จะไดรูปภาพสวย ๆ ของคุณจากไฟลภาพดิจิตอลมาสงใหถึงหนา บาน โดยที่คุณไมตองเดินทางออกจากบานให เสียเวลา นับเปนบริการรูปแบบใหมที่ นาสนใจมากครับ หากคุณสนใจที่จะเขาไปใช บริการก็เขาไปที่เว็บไซต www.kodakexpress.co.th ไดทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

พิมพรูปใหสวยสมใจ คงไมมีใครปฏิเสธไดวาเทคโนโลยีใน ป จ จุ บั น มี ก ารพั ฒ นาอย า งรวดเร็ ว มาก จน บางครั้ ง บางคนยั ง แทบตามไม ทั น สํ า หรั บ อุปกรณที่อยูคูกับเครื่องคอมพิวเตอรมานานคง หนีไ มพนเครื่ องพริ้ นเตอร หรือเครื่องพิมพ นั้นเอง ซึ่งแตกอนพริ้นเตอรมีหนาที่แคพิมพ เอกสารที่ เ น น ตั ว อั ก ษรมากกว า พิ ม พ ภ าพ เครื่องที่สามารถพิมพภาพไดสวยงามก็มีราคา ที่ สู ง เกิ น กว า ความต อ งการ แต เ ดี๋ ย วนี้ ร าคา เครื่องพิมพลดลงจนแทบจะเรียกไดวาสามารถ แถบไปพร อ มกั บ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ไ ด เ ลย ทีเดียว โดยเฉพาะเครื่องพิมพประเภทอิงคเจ็ต


355 สวนอุปกรณสนิ้ เปลืองที่ใชคูกันกับเครื่องพิมพแบบอิงคเจ็ตคือ น้ําหมึกและกระดาษแบบพิเศษ หรือที่เรียกกันติดปากวากระดาษอิงคเจ็ต ในการพิมพงานหนึ่งชิน้ หรือพิมพภาพหนึ่งภาพ เพื่อใหการ ใชงานไมสิ้นเปลือง ประหยัดคาใชจาย ทั้งประหยัดพลังงานน้ําหมึกที่ใชพิมพ กระดาษที่มีราคาแพง แลวยังไดภาพที่ไมสวยงามคมชัด วิธีการที่ดีที่สุดในการพิมพใหไดความสวยงามอยางมีประสิทธิภาพ เต็มที่ ตองใชหลายองคประกอบเขารวมกัน แตสําหรับผูใชงานเบื้องตน หลักงาย ๆ ในการพิมพ ภาพใหไดดีมีเทคนิคเล็กนอยในการสั่งพิมพงานดังนี้ครับ

การปรับแตงภาพ สิ่งที่สําคัญอยางยิ่งคงตองเปนเรื่องของภาพที่ตองการจะพิมพ ตองปรับแตงใหดดู ีที่สุดกอน โดยใชโปรแกรมแตกตางภาพที่มีอยูจัดการใหภาพมีความคมชัด ชัดเจน เดนขึ้นเพิ่มความสวางใหกับ ภาพที่แสงสีทคี่ อนขางมืด รวมถึงสวนประกอบของรูปที่ตองการตัดทิ้งบางสวนทีด่ ูไมเขากันออกไป และหากเปนภาพที่ถายดวยกลองดิจิตอลการปรับแตงอาจอยูในขั้นตอนของการตั้งฟงกชั่นในการ ถายภาพแลวสัง่ พิมพภาพผานเครื่องพิมพ หรืออาจจะปรับแตงภาพเพิ่มเติมในเครื่องคอมพิวเตอรอีก ครั้งก็ได

การเลือกใชกระดาษ ควรเลือกใชกระดาษใหถูกประเภทอยางที่แจงตั้งแตตน วากระดาษทีเ่ หมาะสําหรับเครื่องพิมพ ประเภทอิงคเจ็ตนั้นก็คือกระดาษอิงคเจ็ตนัน่ เอง แตก็ยังแบงออกเปนหลากหลายประเภทเชนกัน แต ในการพิมพภาพที่เหมาะสมที่สุดตองเปนกระดาษโฟโต เนื่องจากมีความหนาที่มากกวากระดาษปกติ ตั้งแต 150-260 แกรม ที่มีทั้งชนิดเงาและชนิดดาน ตามความชื่นชอบของแตละบุคคล สามารถ รองรับน้ําหมึกไดดี รองรับการพิมพที่มีความละเอียดสูง ๆ ได และแหงเร็วทันทีหลังพิมพภาพเสร็จ น้ําหมึกจึงไมซึมหือเยิ้ม พรอมมีคุณสมบัติในการกันน้ําไดดีอีกดวย

การสั่งพิมพภาพ เมื่อใชวัสดุไดตรงตามความตองการแลว การสั่งพิมพงานก็ตองถูกตองกับวัสดุนนั้ ๆ ดวย เชนกัน หากเครื่องพิมพของคุณมีฟงกชั่นการใชงานที่หลากหลายในการสั่งพิมพ คุณควรเลือก ฟงกชั่นหลัก ๆ อยูสองอยางคือ หนึ่ง…ชนิดกระดาษ ใหเลือกเปน Photo Paper/Photo Quality Glossy/ กระดาษพิมพภาพ หรือกระดาษพิมพรูปถายทีม่ ีใหเลือกตามแตละรุน แตละยีห่ อนั้น ๆ สอง.. ความละเอียดในการพิมพ ความละเอียดในการพิมพตองสัมพันธกับความละเอียดของ ไฟลภาพดวย หากภาพที่มีความละเอียดสูง หรือไฟลภาพขนาดใหญอยูแลว การสั่งพิมพควรเลือกที่


356 ความละเอียดตั้งแต 72 dpi เปนตนไปก็ได แต หากภาพนั้นมีความละเอียดต่ํา การสั่งพิมพที่ใช ความละเอียดสูงก็เปนการสิน้ เปลืองโดยใชเหตุ แต ห ากคุ ณ พิ ม พ ภ าพโดยตรงจากหน ว ย ความจําของกลองดิจิตอล ที่ปจจุบันนี้สามารถตอ ตรงกับเครื่องพริ้นเตอรไดเลย คุณก็สามารถเลือก ฟงกชั่นในการสั่งพิมพไดเชนเดียวกันกับการพิมพ งานปกติ เพี ย งแต เ ลื อ กฟ ง ก ชั่ น จากหน า จอที่ แสดงผลของเครื่องพิมพนั้น ๆ อยางไรก็ตามสิ่งที่ตองคํานึงถึงอยูเสมอใน การพิ ม พ ง าน หรื อ พิ ม พ ภ าพให ไ ด ดี ต าม วัตถุประสงคที่ตั้งไวตั้งแตแรกคือ เทคโนโลยีที่ใช อยู โดยส ว นประกอบต า ง ๆ ที่ ร วมตั ว กั น น อ ก เ ห นื อ จ า ก เ ท ค นิ ค เ บื้ อ ง ต น แ ล ว ยั ง มี สวนประกอบอื่น ๆ อีกมาก


357

4. การใชประโยชนจากภาพดิจิตอล การถายภาพดวยฟลมนัน้ ภาพที่อัดลงบนกระดาษเรามักจัดเก็บไวในอัลบั้ม ถาเปนสไลดก็ อาจจะเก็บไวในกลองหรือในแฟม การนําภาพออกมาดูหรือสงไปใหญาติพี่นองเพือ่ นฝูงดูทําไดจาํ กัด หากตองการสงใหดกู ันหลาย ๆ คนยิ่งยุงยากไปอีก ถาเปนสไลดตองมีเครื่องฉายสงไปใหดว ยเพราะ คงไมสะดวกแนกับการสองภาพขนาดจิ๋วกับหลอดไฟ แตเมื่อเปนภาพระบบดิจิตอลนอกจากการอัด ขยายเปนภาพบนกระดาษแลว การแสดงภาพโชวใหคนอื่นดูบางนัน้ เปนเรื่องที่แสนจะสะดวก งาย และรวดเร็ว เชน การนําภาพไปแสดงในเวบไซตผานเครือขายอินเตอรเนท ทุกคนสามารถเขามาชม ภาพไดพรอม ๆ กัน ไมวาจะอยูในจังหวัดใดหรือประเทศใดก็ตาม หรือจะสงภาพเขาสูเครือขายเน็ต เวิรกของคอมพิวเตอร ซึ่งจํากัดผูชมไดเฉพาะผูที่มีรหัสผานเทานั้น ถาจะสงภาพใหเพื่อนฝูงใน โอกาสพิเศษตาง ๆ สามารถสงภาพเปนโปสการดที่มีขอความประกอบและรูปแบบที่สวยงาม รวมทั้งการสงจดหายอิเล็กทรอนิกส พรอมภาพถายหรือที่เรานิยมเรียกกันวาอีเมล นัน่ เอง

สงภาพทางอีเมล


358 หากคุณตองการสงภาพถายไปใหใครสักคน ตองอัดภาพลงบนกระดาษแลวสงทางไปรษณีย หรือทางแฟกซ (สวนใหญเปนภาพขาวดํา) เปนการยุงยากเสียเวลาและคาใชจาย แตถาเปนไฟลภาพ แบบดิจิตอล คุณสามารถสงไปใหใครก็ได (ที่ใชอินเตอรเนท) ผานที่อีเมล ซึ่งปจจุบันถือวาเปนการ สงภาพที่ไดรบั การยอมรับและนิยมอยางแพรหลายทั่วโลก ผูรับปลายทางสามารถเปดชมภาพของคุณ หลังจากสงภาพไปแลวเพียงไมกี่วนิ าทีเทานั้น นอกจากนี้คณ ุ ยังสามารถสงไฟลที่เปนเสียงหรือ ภาพเคลื่อนไหวตาง ๆ (วีดีโอคลิป) ที่บันทึกจากกลองดิจติ อลไดดวย วิธีการสงภาพทางอีเมลนั้น แสนจะสะดวกและงายดาย เพียงคุณมีคอมพิวเตอรทเี่ ชื่อมตอกับ เครื่องขายอินเตอรเนท (หรือไปใชบริการจากอินเตอรเนทคาเฟ ที่คิดคาบริการเปนรายชั่วโมงก็ได) จากนั้นใชโปรแกรมสงอีเมล เชน Microsoft Outlook Express ที่มีอยูในเครื่องคอมพิวเตอรสวนใหญ อยูแลว (รับดวย Windows) ในการสงขอความคุณสามารถเลือกไฟลภาพใดก็ไดที่อยูในเครื่อง คอมพิวเตอร จะสงเพียง 1 ภาพหรือหลาย ๆ ภาพก็ไดแตมีขอควรจํากัดคือ ไฟลภาพควรเปน ฟอรแมท JPEG ที่มีการบีบอัดขอมูลประมาณ 60-70% ซึ่งจะมีขนาดไฟลที่เล็กลงมาก ทําใหการสง ภาพรวดเร็วขึน้ เพราะหากไฟลมีขนาดใหญมากเทาใด ก็จะกินเวลาในการสงภาพนานขึ้นตามลําดับ ยกเวนวาตองการสงภาพที่มคี วามละเอียดสูง ๆ เพื่อใหผูรับนําภาพนั้นไปพิมพดวยเครื่องพิมพอิงค เจ็ตพริ้นเตอร เชน ไฟลภาพขนาด 2 เมกกะไบต ใชเวลาสงประมาณ 10-12 นาที เปนตน แตถาเปน ไฟลภาพทีใ่ ชไดแคเปดดูจากหนาจอคอมพิวเตอร ขนาดไฟล 100 KB ใชเวลาสงเพียง 10-30 วินาที เทานั้น

ภาพประกอบเวบไซต จุดประสงคอยางหนึ่งของการใชกลองดิจิตอลคือ การนําภาพไปใชประกอบเวบไซด โดยได ไฟลภาพดิจิตอลทันทีพรอมใชงาน ไมเหมือนกับการถายภาพดวยฟลม ที่ตองนําภาพไปสแกนอีกครั้ง หนึ่ง การนําภาพไปประกอบในเวบไซตนั้น ควรปรับภาพใหมีขนาดเล็กมากที่สดุ เพื่อใหผชู ม สามารถเห็นภาพตาง ๆ ไดในเวลาที่รวดเร็ว เชน ขนาด 20 KB (Kilobytes) เปนตน เพราะหากตอง รอโหลดภาพนาน ๆ ผูชมอาจเปลี่ยนใจเลิกชมเวบไซตของเราไปเลยก็เปนได ในการตกแตงภาพเพื่อนําไปใชในการพิมพนั้น คุณสามารถเลือกทํางานที่ความละเอียดสูง และระดับสีทมี่ าก (Color Depth) เชน 16 หรือ 24 บิต แตเมื่อตองการนําภาพนัน้ มาใชในเวบไซต ตองปรับเปลี่ยนฟอรมแมทใหมจากเดิมที่เปน TIFF หรือ JPEG ที่ระดับความละเอียดสูง มาเปน JPEG ความละเอียดต่ําหรือปานกลาง หรือถาเปนฟอรมแมท BMP จะดีกวาเพราะขนาดไฟลเล็กมาก แตแสดงสีไดนอยกวา JPEG ปจจุบันนิยมใชฟอรแมท GIF เพราะแสดงภาพถายไดรายละเอียดของ สีดีกวา BMP และขนาดไฟลเล็กกวา JPEG มาก หากภาพถายไมคมชัดเทาที่ควร ใหใชฟลเตอร Unsharp ในโปรแกรม Adobe Photoshop หรือโปรแกรมอื่น ๆ เพื่อปรับใหภาพคมชัดมากขึ้น ตั้งแตกลางภาพจนถึงบริเวณขอบ ๆ ภาพ แตการ


359 ปรับเพื่อความชัด วิธีนจี้ ะเปนการเพิ่มความแตกตางของสีในแตละพิกเซล จนภาพดูเหมือนกวาคมชัด มากขึ้น ถาปรับมากเกินไปจะมีคอนทราสตสูงตองระมัดระวังในเรื่องนีด้ วย

ความละเอียดของภาพที่แสดงบนจอมอนิเตอรคือ 72 dpi ควรปรับลดภาพใหเทากัน สวน ขนาดของภาพถาตองการแสดงภาพเต็มจอมอนิเตอรพอดีใหปรับขนาดภาพเปน 800 x 600 พิกเซล ซึ่งคอมพิวเตอรสวนใหญในปจจุบันจะใชความละเอียดนี้เปนมาตรฐาน หากสูงวานี้ภาพทีไ่ ดจะลนจอ หรือใหญเกินไป


360 Adobe PDF File ในกรณีที่คุณตองการสงไฟลที่มีทั้งภาพถาย ตัวอักษร ขอความตาง ๆ โลโก หรืออื่น ๆ ที่มี การจัดวางหนาเอาไวแลว สามารถแปลงไฟลนั้นใหเปนฟอรแมท PDF ของ Adobe โดยใช โปรแกรมตาง ๆ เชน Word, PogeMaker, lllustrator หรือ QuakXpress ซึ่งบราวเซอรหรือโปรแกรม ที่ใชดูเวบไซตอยาง Internet Explorer หรือ Netscape ที่มี Plug – in ของ Adobe Acrobat จะสามารถ เปดชมไฟล PDF นี้ได (อานภาษาไทยทีท่ าํ จากไฟลตนฉบับไดดวย) ขอดีของไฟลฟอรมแมท PDF คือมีความคมชัดสูง อานไดในคอมพิวเตอรทุกชนิด เชน พีซี แมคอินทอช หรืออื่น ๆ ที่สําคัญคือ ไฟลมีขนาดเล็กมาก เปดชมไดอยางรวดเร็ว สามารถออกแบบใหมหี ลาย ๆ หนาแบบหนังสือเลม หรือแค็ตตาล็อกสินคา รวมทั้งซูมขยายดูสว นตาง ๆ และพิมพออกมาจากเครื่องพิมพเปนหนา ๆ ได

ใสกรอบภาพ ในกรณีที่คุณพิมพภาพดิจิตอลลงบนกระดาษ เรามีวิธีทําใหภาพดูนาสนใจหลายอยาง เชน การ ใสกรอบภาพ ซึ่งอาจจะเปนเพียงกระดาษโฟโตบอรด (กระดาษแข็ง) ธรรมดา ที่ตัดเจาะเปนชองพอดี กับขนาด รูปภาพ นํามาประกบกัน 2 แผน หรือนําไปใหรานกรอบรูปทําใหกไ็ ด มีกรอบหลากหลาย รูปแบบใหเลือก ถาใหดีควรใชกระจกชนิดที่ไมมีเงาสะทอนจะทําใหมองเห็นภาพไดชัดเจน ไมวาจะ มองภาพตรง ๆ หรือทางดานขาง จากนัน้ นําภาพมาติดประดับในบาน ในสํานักงานทําใหดูสวยงาม และยังใชเปนของขวัญในโอกาสพิเศษสําหรับบุคคลอื่น ๆ ไดดว ย ปจจุบันเครื่องพิมพภาพสีแบบ อิงคเจตพริ้นเตอร นอกจากมีคุณภาพดีมากแลวยังมีอายุในการเก็บรักษานานนับสิบป บางรุนเก็บภาพ ไดนานถึง 100 ป ทีเดียว


361

5. ศัพทถายภาพดิจิตอล A - Z 1 – Bit color หนวยที่เล็กที่สุด ตอหนึง่ หนวยพิกเซล ซึ่งไฟลภาพสามารถประมวลผลหรือ จัดเก็บได ในแตละบิตสีจะเปนสีขาวหรือสีดํา อันใดอันหนึ่ง 8 –Bit color/grayscale หากภาพมี 8 บิต/สี ในแตละพิกเซลจะสามารถแสดงโทนสีได 256 โทน หรือการแสดงระดับความออนแกของสีเทาในภาพขาวดํานัน่ เอง 24 –Bit color ในภาพสีแบบ RGB ที่แสดงสีได 8 บิต/สี หรือรวมทั้งหมด 24 บิต ตองนํา ตัวเลขของพิกเซลทั้งหมดมาคูณกันจึงจะทราบไดวาแสดงสีไดเทาไหร คือ 256 R x 256G x 256B เทากับ 16.7 ลานสี ซึ่งกลองดิจิตอลเกือบทั้งหมดในปจจุบันแสดงสีได 24 บิต หรือ 16.7 ลานสี นั่นเอง 36-Bit color ในกลองบางรุน สามารถแสดงบิตสีไดลึกมากถึง 12 บิต/สี หรือรวมกัน 3 สี RGB เทากับ 36 บิต การมีจํานวนบิตมาก จะทําใหมีโทนภาพที่ละเอียดมากยี่งขึน้ ผลที่ไดคือภาพที่มี รายละเอียดเหมือนจริงตามธรรมชาติมากที่สุด หากเปนดิจิตอลแบค ระดับไฮเอนดบางรุนแสดงสี ไดมากอยางนาทึ่งถึง 16 บิต/สี หรือ 48 บิต RGB ภาพที่ไดจึงไลเฉดสีไดดีเยีย่ มไมตางกับการใชฟลม

A A/D Converter Analogue to digital converter การแปลงสัญญาณอนาล็อก ใหเปนดิจิตอล เชน เสียง อุณหภูมิสี หรือภาพในกลองดิจิตอล จากนั้นจะจัดรูปแบบของไฟลฟอรแมทตามที่เลือกเอาไว แลวจึงจัดเก็บลง ในหนวยความจําหรือในแผนการดของกลอง AC adappter อุปกรณแปลงไฟสําหรับใชไฟหลักตาม AC เชนไฟบานทั่ว ๆ ไป ตอกับกลองดิจติ อล ทําให ใชกลองไดเต็มประสิทธิภาพ เพราะกําลังไฟเต็มตลอดเวลา สวนใหญจะแถมมาใหพรอมกับตัวกลอง หากไมมีสามารถหาซื้อมาเพิ่มได แตตองเลือกแบบที่ใหกําลังไฟเทากันตามที่ระบุไวในคูมือบางรุน สามารถชารจแบตเตอรี่ที่อยูใ นตัวกลองไดดวย สวน DC Adapter เปนการใชไฟ DC ภายนอกเชน ไฟจากทีจ่ ุดบุหรี่ในรถยนต เปนตน Accelerator เครื่องมือเฉพาะในรูปของการด หรือโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อเพิ่มความเร็วในการทํางานของ คอมพิวเตอร โดยมากจะเนนที่การใชโปรแกรมแบบกราฟฟก เชน Adobe Pphotothopp เปนตน


362 Access Time ชวงเวลาที่ตองใชเพื่อใหไดขอ มูลจากแหลงขอมูล เชนจากหนวยความจําฮารดดิสก ในกรณีของ ฮารดดิสกจะหมายถึงชวงเวลาที่หัวอานหรือเขียนเคลื่อนไปถึงตําแหนงขอมูลที่ตองการใชตัวเลข ที่ ไดระบุความเร็วของอุปกรณตาง ๆ Additive Colors สีที่ใชในการเติมแตง มีอยูสามสี คือ แดง, เขียว, น้ําเงิน ซึ่งเมื่อนําสามสีนี้มารวมกันจะเปนสีขาว Algorithm วิธีการและขั้นตอนของการควบคุมการปฏิบัติงานตามหนาที่ อยางใดอยางหนึ่ง เชน การประมวลผล ในกลองดิจติ อล Aperture รูรับแสง เปนสวนที่ใหแสงผานไปยังเซ็นเซอรภาพ วางตําแหนงอยูระหวางชิ้นเลนส ปรับใหกวาง หรือแคบไดเพือ่ ควบคุมแสงใหพอดี หากรูรับแสงกวาง แสงจะผานไดมากแตระยะชัดลึกนอย สวนรู รับแสงแคบแสงจะผานไดนอ ยและชวงระยะชัดลึกมาก Aliasing รอยหยัก คลายขั้นบันได ทีป่ รากฏบนภาพหรือเสนที่มลี ักษณะโคงหรือเฉียง เชน วงกลม เพราะการ จัดเรียงตัวของพิกเซลเปนแบบแนวนอน และแนวตั้งหากเสนไมไดอยูใ นแนวเดียวกับพิกเซลจะเห็น เปนเสนหยัก Analogue การเปลี่ยนแปลงรูปแบบทางกายภาพของการทํางาน ที่เปนไปอยางตอเนื่อง หรือมีคา ไดอยางตอเนือ่ ง ในชวงใดชวงหนึ่ง Analogue to Digital Converte (A/D Converter) เครื่องมือสําหรับแปลงสัญญาณแบบอนาล็อกใหเปนแบบดิจิตอล : ตัวยอ A/D Converter หรือ ADC


363 Anti-aliasing การลบรอยหยักหรือการขจัดรอยหยักคลายขั้นบันไดที่ปรากฏบนภาพหรือเสนที่มีลักษณะโคงหรือ เฉียง โดยการเฉลี่ยสีของพิกเซลขาง ๆ ใหดูราบเรียบกลมกลืนกัน ทําใหภาพที่ไดดูนุมนวล สมจริง ตามธรรมชาติ ในกลองดิจิตอลสวนใหญจะมีฟลเตอรแบบนี้บังอยูทางดานหนาของเซ็นเซอรภาพ แต ในกลองดิจติ อล SLR หรือดิจิตอลแบ็คบางรุนสามารถถอดเปลี่ยนฟลเตอรที่อยูหนาเซ็นเซอรภาพ สลับไปมาได เพื่อใหไดผลพิเศษเฉพาะอยางกับภาพถาย Application โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ถูกออกแบบมาเพือ่ ใชในการทํางานอยางใดอยางหนึ่ง เครื่องคอมพิวเตอรก็ไมสามารถทํางานได

หากไมมีโปรแกรม

Archive ขอมูล หรือรูปภาพ ที่ถูกบันทึกในรูปแบบของแผนดิสก เทป หรือ สื่อที่ใชแสงในการบันทึก เชน แผน CD-RW Artifact สงที่ไมพึงประสงคของรูปภาพแบบอิเล็กทรอนิกส โดยปกติจะเกิดขึน้ ระหวางการบรรจุขอมูล Aspect Ratio อัตราสวนของขนาดภาพ ระหวางแนวนอนและแนวตั้งของรูปภาพ เชนฟลม 35 มม. มีอัตราสวน เทากับ 3 : 2, ขนาดภาพของจอทีวีมีอัตราสวนเทากับ 4 : 3, ฟลมขนาด 4 x 5 มีอัตราสวนเทากับ 4 : 5 เปนตน ATM (Asynchronous Transfer Mode) รูปแบบของเครือขายขอมูลที่สงถายขอมูลขาวสารในรูปของ Cells (ชองเก็บขอมูล) หรือ Packets (กลุมขอมูล) โดยการสงทีละกลุมเล็ก ๆ เชน สัญญาณวิดีโอ, เสียง และขอมูลที่สงถายกันไดใน เครือขาย Autofocus การปรับโฟกัสของเลนสใหคมชัดในจุดทีต่ องการอัตโนมัติ โดยใชเซ็นเซอรที่อยูในตัวกลอง ทํางาน ดวยอินฟราเรด หรือการเปรียบเทียบคอนทราสทของวัตถุ สวนใหญจุดโฟกัสอยูตรงกลางจอภาพ กลองบางรุนมีจุดโฟกัส 3 หรือ 5 จุด เลือกจุดโฟกัสอัตโนมัติ หรือเลือกเองโดยผูใช


364

B Background Processing การประมวลผลสวนหลัง คือ การประมวลผลที่มีลําดับความสําคัญนอย มักจะกระทําการในเวลาที่ ซีพียูวางจากการประมวลผลสวนหนา และดําเนินไปโดยไมมีการโตตอนกับผูใช Banding ในทางการพิมพภาพกราฟฟกหมายถึงรูปสี่เหลี่ยมผืนผาเล็ก ๆ ของภาพกราฟฟกที่สง ไปยังเครื่องพิมพ ของคอมพิวเตอร การที่แบงภาพกราฟฟกออกเปนรูปสี่เหลี่ยมผื่นผาเล็ก ๆ ก็เพื่อปองกันการผิดพลาด ของรูปภาพที่เครื่องพิมพจะพิมพออกมา Bandwidth นิยามของจํานวนขอมูล ที่สามารถเดินทางระหวางจุดสองจุดในชวงเวลาจําเพาะ หรือในการสื่อสาร เรียกวาความกวางของชวงคลื่น วัดจากชวงของความถีส่ ูงที่สุดมาหาความถี่ต่ําที่สุดในชวงความถีข่ อง คลื่นขนาดใดขนาดหนึ่ง Bindry เลขฐานสอง หมายถึงในระบบจํานวนเลขนี้ใชเลขเพียง 2 ตัวเทานั้น ไดแกเลข 0 และเลข 1 ซึ่งใน คอมพิวเตอรจะใชเลขฐานสองเปนหลัก Bit บิต เปนคํายอของ Binary digit หนวยขอมูลเล็กที่สุด ที่สามารถเก็บตัวเลขฐานสอง (0 หรือ 1) ได หนึ่งหลัก Bitmap รูปภาพบนจอภาพที่เกิดจากการรวมตัวกันของ bit โดยตัวเลขแตละตัวในรูปภาพจะตอบสนองตอ พิกเซลจุดหนึง่ ๆ บนจอภาพ ภาพที่เกิดจาก bit หรือเรียกอีกอยางหนึง่ วา bit image นี้จะถูกเก็บไว ในหนวยความจําของคอมพิวเตอร Brightness ความแตกตางของความสวาง ระหวางสวนที่สวางที่สุดกับสวนที่มืดทีส่ ุดของวัตถุหรือภาพนั้น โดยมี ชวงของความกวางจากคาสีดํา (มืด) ถึงขาว (สวาง) 255 ขั้น


365 Buffer บัฟเฟอร เปนสวนหนึ่งของหนวยความจําที่ใชสําหรับพักขอมูลเปนการชั่วคราว หลังจากกดชัตเตอร ถายภาพไปแลว ไฟลภาพจะจัดเก็บไวในบัฟเฟอรกอน จากนั้นจึงทยอยถายโอนไปยังการด ถามี บัฟเฟอรมากก็จะถายภาพตอเนื่องไดมาก แตถาบัฟเฟอรเต็ม จะไมสามารถถายภาพได จนกวาจะ บันทึกภาพลงในการดและมีที่วางเหลือในบัฟเฟอรสําหรับถายภาพตอไป Bulletin Board Service or BBS ระบบคอมพิวเตอรหรือโปรแกรม ที่ทาํ หนาที่เปนเหมือนแผงประกาศขาวเพื่อบริการสารสนเทศและ ขาวสารตาง ๆ แกผูที่สนใจ และสามารถเขาถึงไดโดยการเชื่อมตอดวยคอมพิวเตอรผานทางโมเด็ม Burst Mode บางครั้งเรียกวา Continuous mode เปนระบบถายภาพตอเนื่องในกลองดิจิตอล กลองที่มีความ ละเอียดสูงจะถายภาพตอเนือ่ งไดชากวาเพราะไฟลมีขนาดใหญ Byte ไบท ยอมาจาก binary term หนวยขอมูลที่ประกอบดวย 8 บิต สามารถเก็บอักษรไดหนึ่งตัว

C Calibration การเทียบสีของอุปกรณหนึ่งกับอุปกรณอื่น เชน เปรียบเทียบสีที่แสดงทางหนาจอภาพกับพริ้นเตอร หรือสแกนเนอร กับ Film Recorder หรือหมายถึงกระบวนการเปรียบเทียบสีของอุปกรณหนึง่ กับ เครื่องมือมาตรฐาน CCD (Charged Coupled Device) สวนรับภาพภายในกลองดิจติ อล มีลักษณะการทํางานคลายกับการรับภาพของฟลม เรียกอีกอยาง หนึ่งวา Image Sensor ซึ่งประกอบไปดวยพิกเซลจํานวนมาก ขึ้นอยูกับการออกแบบมาใหมีความ ละเอียดมากนอยเทาใด ในแตละพิกเซลของอิมเมจเซ็นเซอรจะประกอบไปดวย โฟโตไดโอด ทํา หนาที่แปลงภาพที่เกิดจากแสงใหเปนสัญญาณดิจิตอล จากนั้นสงผานไปยังหนวยประมวลผล กอนที่ จะจัดเก็บลงในหนวยความจําหรือการดจัดเก็บภาพ


366 CD แผนซีดี ยอมาจาก Compact Disc ถูกคิดคนและพัฒนาโดย Philips เปนสื่อจัดเก็บขอมูลประเภท จานแสงสําหรับ CD ขนาดเสนผาศูนยกลาง 12 ซม. บรรจุขอมูลได 650 หรือ 700 เมกะไบต หรือ เก็บขอมูลเสียงไดนาน 74-80 นาที CD drive อุปกรณที่ใชสาํ หรับอานขอมูลในแผนซีดี CD-R อุปกรณที่ใชสาํ หรับอานและบันทึกขอมูลในแผนซีดี CD-ReWritable Media คํายอ CD-RW คือแผนซีดีที่สามารถใชบันทึกขอมูลซ้ํา ๆ ได CD-ROM (Compact Disc, Read-Only Memory) แผนซีดีชนิดทีส่ ามารถใชอานขอมูลในแผนไดอยางเดียว ไมสามารถบันทึกหรือเปลี่ยนแปลงขอมูล ใด ๆ ไดอีก Channel ชองทางการสื่อสารระหวางเครื่องอุปกรณสองเครื่อง Chroma สีที่เปนองคประกอบของภาพถาย (พิกเซล) ซึ่งคาของ Chroma มาจากคาของ Staturation + Hue Chromatic adaption อุปกรณแกความคลาดของสี, ลักษณะการทํางานคลายกับฟลเตอร Clip Art ภาพ, แผนภูม,ิ แผนที,่ ไดอะแกรม และภาพลายเสนตาง ๆ เปนตน ที่สามารถนํามาแทรกไวใน เอกสาร ถูกจัดเก็บไวเปนหมวดหมูใ นรูปของ ซีดี-รอม หรือในเวบไซตตาง ๆ


367 CMOS (Complementary Metal-Oxide Semiconductor) แผนชิพแรมชนิดหนึ่ง สรางขึ้นจากวัสดุกงึ่ ตัวนําชนิด metal-oxide ซึ่ง CMOS จะกินไฟนอยมาก, สําหรับการถายภาพดวยกลองดิจิตอล CMOS จะทําหนาที่ในการรับภาพคลายการทํางานของ CCD แตราคาจะถูกกวานํามาใชในกลองดิจิตอล เปนรายแรก โดย Canon CK CMS (Color Matching System) (Color Management System) โปรแกรมหรืออุปกรณที่ถูกออกแบบมาเพือ่ ทําการเทียบสีใหไดผลที่ถูกตองตางกัน ระหวางอุปกรณที่ แตกตางกัน เชนจอคอมพิวเตอรกับภาพที่พมิ พออกมาจากเครื่องพิมพ เปนตน CMY (Cyan, Magenta, Yellow) แมสีที่ใชในการพิมพ 3 สี คือไซแอน (ฟา) มาเจนตา (มวงแดง) และเหลืองซึ่งเมื่อผสมในอัตราที่เทากันแลวจะไดสีดํา CMYK (Cyan, Magenta, Yellow, Black) โหมดที่ใชสนการพิมพภาพโดยเครื่องพริน้ เตอรสี หรือคาสีที่ใชในการพิมพระบบออฟเซ็ทของโรง พิมพ มี 4 สี คือ ไซแอน(ฟา), มาเจตตา (มวงแดง) เหลือง และดํา Color correction การแกส,ี การแกไขหรือการเพิ่มสีเขาไปในภาพ Color Wheel อุปกรณสําหรับการเลือกสีที่มีความกลมกลืนกัน ทําใหงา ยตอการแยกแยะสี และสวนผสมของสีนั้น ๆ CompactFlash card คํายอ CF เปนการจัดเก็บขอมูลหรือภาพถายดวยหนวยความจําภายนอกชนิดถอดออกได มีลักษณะ เปนแผนการดขนาดเล็ก มีความจุใหเลือกหลายขนาดตั้งแต 8 MB จนถึง 1 GB ใชในกลองดิจติ อล หลายยีห่ อเชน Nikon Canon Pentax Kodak ฯ Compression การบีบอัดขอมูล คือ กระบวนการที่ทําใหขอมูลมีขนาดที่เล็กลง เพื่อจะไดใชเนือ้ ที่ในการจัดเก็บ นอยลงหรือใชเวลาในการจัดทํานอยลงดวยในกลองดิจติ อลทุกแบบจะเลือกโหมดการบีบอัด ขอมูลภาพ


368 ได 2-3 ระดับซึ่งขอมูลในแบบรูปภาพหรือเสียงสามารถลดขนาดลงไดหลายเทา แตจะทําใหมกี าร สูญเสียขอมูลไปบางสวน จึงทําใหคุณภาพของรูปภาพหรือเสียงนั้นลดลงไปดวย Continous Tone ภาพที่มีโทนสีที่ตอเนื่องกันจากสวนสวางไปจนถึงสวนมืด หากมีระดับขั้นของการไลโทนมาก ภาพ ก็จะดูสมจริงเหมือนกับภาพที่มองเห็นในธรรมชาติ Contrast ความเปรียบตาง คือ ความแตกตางระหวางสวนสวาง และสวนมืดของวัตถุในภาพ คอนทราสทจะ มากหรือนอยเปนผลมาจากลักษณะของแสง, สีของวัตถุ, แสงฟุงและแฟลรของเลนสหรือ คุณภาพ ของเลนส เปนตน CPU (Central Processing Unit) หนวยประมวลผลกลาง เปนสวนที่สําคัญที่สุดของคอมพิวเตอร ทําหนาที่ควบคุม ประมวลผล และ การทําการสั่งงาน เทียบไดกับการทํางานของสมองมนุษย Cropping tool เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับทําการตัดสวนสิง่ ที่ไมตองการออกไป เพื่อใหไดภาพในแบบที่ตองการ

D Data ขอมูล ซึ่งเปนคํานิยมทีใ่ ชเรียกทุก ๆ สิ่งที่สามารถนําเขามาหรือ นําออกไป หรือใชในการ ประมวลผลในคอมพิวเตอรได ซึ่งขอมูลทั้งหมดนัน้ จะตองเปนขอมูลในแบบดิจิตอลเทานั้น ซึ่งอาจ หมายถึง บิตหนึ่งบิต อักขระหนึ่งตัว ขอความทั้งหมดในเอกสาร หรือแฟมหนึ่งแฟม เปนตน DC Cameras เปนกลองดิจิตอลในระดับลางของ Kodak ซึ่งกลองดิจิตอลในระดับนี้จะมีความละเอียดของจํานวน พิกเซลที่ต่ํากวากลองในระดับมืออาชีพที่ผลิตโดย Kodak โดยกลองในตระกูล DC ของ Kodak นีจ้ ะ มีราคาถูก ในระดับไมกพี่ ัน จนถึงระดับหมื่นบาท


369 DCS Cameras เปนกลองดิจิตอลในระดับสูง (ไฮเอนด) ของ Kodak ซึ่งมีความละเอียดที่สูงมากในระดับหลายลาน พิกเซล มีทั้งแบบกลอง SLR และ ดิจิตอลแบค สําหรับกลองขนาดกลาง ซึ่งมีราคาที่สูงมากในระดับ หลายแสนบาทเลยทีเดียว Default setting คาหรือตัวเลือกที่คอมพิวเตอรหรือกลองดิจิตอลกําหนดไวจากโรงงาน ผูใชสามารถเปลี่ยนแปลงได ตามที่ตองการ Densitometer เครื่องมือที่ใชวัดปริมาณของแสง ซึ่งสามารถวัดไดทั้งแบบตกกระทบและแบบสะทอน Desktop Publishing การเตรียมตนฉบับสําหรับงานจัดทําสิ่งพิมพดวยคอมพิวเตอร เชน แผนพับ โปสเตอร หนังสือ หรือ นิตยสาร เปนตน โดยใชคอมพิวเตอร ซอฟทแวร และอุปกรณอื่น ๆ เชน เครื่องพิมพ สแกนเนอรฯ Digital สัญญานอิเล็กทรอนิคสที่แสดงออกมาเปนตัวเลข เชน ระบบดิจิตอลในคอมพิวเตอรประกอบไปดวย เลขฐาน 2 ไดแกเลข 0 และเลข 1 Digital back ชุดอุปกรณสําหรับบันทึกภาพดิจิตอลใชตอ เขากับกลองถายภาพขนาดกลางหรือกลองวิวแทนแมก กาซีนฟลม ทําใหถายภาพแบบดิจิตอลได โดยมีสายอินเทอรเฟสตอเชื่อมกับคอมพิวเตอร เพื่อจัดเก็บ ภาพลงในฮารดดิสกและแสดงภาพบนจอมอนิเตอร แตมีดิจิตอลแบคบางยี่หอเชน Kodak มีจอภาพ มอนิเตอรและชองใสการดเพื่อจัดเก็บภาพในตัว Digital camera กลองดิจิตอล คือ กลองที่ใชอิมเมจเซ็นเซอร (เชน CCD หรือ CMOS) ในการรับภาพแทนการใช ฟลม โดยแปลงสัญญาณจากแสงใหเปนดิจิตอล แลวจัดเก็บในแผนการดขนาดเล็ก มีจอมอนิเตอร สําหรับเปดชมภาพที่ถายไปแลว สามารถถายโอนไปยังเครื่องคอมพิวเตอรไดทันที เพื่อใชงานตาง ๆ เชน พิมพภาพลงบนกระดาษ หรือสงไปยังที่ตาง ๆ ทางอีเมล


370 Digital lmage รูปภาพดิจิตอล ประกอบขึ้นดวยพิกเซลที่มีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยม จํานวนพิกเซลที่มากทําใหภาพมี ความคมชัดเมือ่ ขยายภาพใหมีขนาดใหญ DPOF (Digital Print Order Format) ไฟลฟอรมแมทรูปแบบหนึ่งที่สามารถกําหนดจํานวนภาพที่ตองการพิมพ หลังจากถายภาพไปแลว เมื่อนําไฟลภาพไปพิมพดว ยเครื่องพิมพที่มีระบบ DPOF จะทําใหพมิ พภาพไดตามจํานวนที่กําหนด เอาไวโดยผูถายภาพ Digital Projector อุปกรณที่นํามาเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรสาํ หรับฉายภาพที่ปรากฏบนหนาจอ จอภาพ

คอมพิวเตอรไปยัง

Digital Zoom ระบบการซูมภาพในกลองดิจิตอลแบบคอมแพค โดยการตัดสวน (Crop) บริเวณสวนกลางของภาพ กลองบางรุนจะขยายภาพที่ถกู ตัดสวนนี้ใหมีขนาดใหญเทากับความละเอียดสูงสุดของกลองรุนนั้น คุณภาพทีไ่ ดจงึ ไมเทียบเทากับออฟติคัลซูม แตกลองบางรุนตัดสวนภาพโดยที่ไมเพิ่มความละเอียด ขนาดภาพทีไ่ ดจึงเล็กลงตามไปดวย แตคณ ุ ภาพความคมชัดยังเทาเดิม Digitization การแปลงใหเปนดิจิตอล ในทางคอมพิวเตอรไดแก การเปลี่ยนสัญญาณใหอยูในระบบ binary คือ เลข 0 และ 1 Disc แผนดิสก ใชบันทึกหรืออานขอมูลและ information มีลักษณะเปนแมเหล็กวาวแสง บันทึกขอความ หรืออานขอความจากแผนดิสกไดโดยการใชแสงเลเซอร บางทีเรียกวา แผนเลเซอรดิสก Disk แผนดิสกที่ใชกับคอมพิวเตอร ซึ่งมีลักษณะเปนแผนโลหะ (ฮารดดิสก) หรือ แผนไมลา (ฟลอปป ดิสก) เคลือบดวยสารแมเหล็ก สามารถใชเก็บขอมูลและ information ในรูปของดิจิตอล ลบขอมูล ทิ้งแลวบันทึกใหมได หากเกิดความเสียหายขอมูลก็จะหายไปดวย


371 Dithering วิธีการทําใหภาพจากจอภาพหรือเครื่องพิมพ มีสีหรือระดับของสีมากขึ้น โดยการนําจุดสีที่มีสีตางกัน มาอยูใกลกนั เพื่อใหตามนุษยมองเห็นเปนสีผสม Download-computer การบรรจุลง : การถายโอนขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรหรือเครื่องใหบริการ (เชิรฟเวอร) มายังเครื่อง ที่กําลังใชงาน หรือเครื่องรับบริการ โดยผานระบบสื่อสารเชน อินเตอรเนท Download-camera การถายโอนภาพจากกลองดิจิตอลไปยังอุปกรณอื่น เชน คอมพิวเตอร โดยใชไดรเวอรที่ใหมาพรอม กับตัวกลอง หรือถายโอนผานซอฟทแวรของกลองที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ DMax (Maximum Density) ชวงโทนมืดทีส่ ุดของภาพทีส่ ามารถบันทึกได แสดงเปนตัวเลข เชน 3.5 หรือ 4.0 ยิง่ มากยิ่งดี DMin (Minimum Density) ชวงโทนสวางที่สุดของภาพที่สามารถบันทึกได ตัวเลข 0 คือสีขาว DPI (Dots Per Inch) จุดตอนิว้ : หนวยยแสดงความละเอียดที่บอกถึงจํานวนจุดที่เครื่องพิมพสามารถพิมพหรือแสดง ไดใน หนึ่งนิว้ Drag and drop ลากแลวปลอย : คือการยายหรือเลื่อนตําแหนงโดยการลากเมาส และเมื่อตัวชี้เมาสกับไฟลหรือภาพ มาถึงตําแหนงใหมก็ปลอยปุม เมาส ใชในการกอปปไฟลหรืออื่น ๆ Driver โปรแกรมขับอุปกรณ : ซอฟทแวรที่ชว ยใหคอมพิวเตอรและโปรแกรมตาง ๆ สามารถสื่อสารและ ทํางานรวมกันได


372 DVD (Digital Versatile Disk) แผนดิสกจดั เก็บขอมูล ลักษณะคลายกับแผนซีด-ี รอม แตจัดเก็บขอมูลไดมากกวา ความจุสูงสุด 17.08 GB

E E-mail ยอมาจาก electronic mail คือระบบที่ชวยใหผใู ชสามารถสงขาวสารถึงกันทั้งขอความ รูปภาพ เสียง หรืออื่น ๆ โดยผานทางเครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตอในระบบสื่อสารหรือเครื่อขายที่เรียกวา อินเตอร เนท Effective ขนาดภาพทีไ่ ดจริงจากเซ็นเซอรภาพของกลองดิจิตอล โดยทั่วไปจะเล็กกวาความละเอียดของ เซ็นเซอรภาพ เชน เซ็นเซอรภาพความละเอียด 4.13 ลาน พิกเซล แตขนาดภาพใหญสุดที่ไดคือ 2272 x 1704 พิกเซล หรือ 3.87 ลานพิกเซล EPS (Encapsulated PostScript) การประมวลผลของภาพกราฟฟก ในรูปแบบโพสคริปท จากโปรแกรมกราฟฟกตาง ๆ นิยมใชกับ งานสิ่งพิมพระบบออฟเซท Ethernet อีเทอรเน็ต : มาตรฐานที่กําหนดรูปแบบโพรโทคอล และวิธีการสงสัญญาณในระบบเครือขายแลนที่ เชื่อมตอแบบบัส มีความเร็วสูง คิดคนโดย Xerox ในป 1970 และ เปนมาตรฐานในคอมพิวเตอรแอป เปล แมคอินทอช Exif (Exchangable image format) รูปแบบของไฟลฟอรมแมทที่ใชในการจัดเก็บภาพของกลองดิจิตอล เปนมาตรฐานในฟอรแมท TIFF หรือ JPEG มีการพัฒนาเวอรชั่นใหม ๆ อยางตอเนื่องเพื่อสนับสนุนการทํางานที่มปี ระสิทธิภาพมาก ขึ้น Export สงออก : แปลงขอมูล หรือสารสนเทศที่ใชในระบบหนึ่งหรือโปรแกรมหนึ่งใหอยูใ นรูปแบบที่ สามารถนําไปใชในระบบอื่นหรือโปรแกรมอื่นได


373

F Fiber Optics เสนใยแกวนําแสง : วิทยาการที่เกี่ยวกับการนําเอาเสนใยแกว หรือเสนใยพลาสติกชนิดพิเศษ มาใช ในการสงขอมูลดิจิตอล มีความเร็วสูงมาก แตคาใชจายก็สูงเชนกัน File แฟม : รูปแบบการเก็บขอมูลดิจิตอลที่มีการกําหนดตําแหนงเริ่มตน และตําแหนงสิ้นสุด รวมทั้งตั้งชื่อ เพื่อใหสามารถระบุถึงได File Format รูปแบบหรือโครงสรางของแฟมขอมูล ซึ่งกําหนดเอาไวในขณะทีถ่ ูกจัดเก็บไว และในขณะที่ถูก แสดงออกมาทางจอภาพ หรือถูกพิมพออกมาเปนฮารดกอปป เชน รูปภาพดิจิตอล เปนตน ในกลอง ดิจิตอลมักใชไฟล ฟอรแมท JPEG หรือ TIFF กลองบางรุนมีฟอรแมท RAW ซึ่งเปนรูปแบบที่ ออกแบบมาโดยเฉพาะของกลองแตละยีห่ อ File Server เครื่องบริการแฟมขอมูล เปนคลังเก็บแฟมขอมูลอยางหนึ่งในเครือขายแลนเครื่องบริการแฟมขอมูล จะทําใหบรรดาผูใชขอ มูลทั้งหลายสามารถเขาถึงเครือจขายไดทกุ คนที่ตอ งการใชบริการ Film Recorder อุปกรณสําหรับแปลงไฟลดจิ ิตอลไปเปนฟลม (บันทึกลงในฟลม) Filter/Image Senser แผนกรองแสงที่ใชบังหนาเซ็นเซอรภาพ หากเปนแบบ IR จะใชกรองแสงอินฟราเรด ทําใหไดภาพที่ มีความคมชัดสูง อีกแบบคือ Anti-aliase ทําใหภาพดูนุมนวลเปนธรรมชาติโดยเกลี่ยพิกเซลใหมีสี ใกลเคียงกัน Filter/Optical แผนกรองแสง ทําจากวัสดุประเภทแกว, พลาสติกหรือเจลาติน ใชโดยการสวมเขากับดานหนา หรือ ดานทายเลนสเพื่อผลพิเศษตามชนิดของฟลเตอรที่ใช


374 Filter/Software โปรแกรมที่ชวยใหคณ ุ เปลี่ยนแปลงภาพตนฉบับ ใหเปนภาพพิเศษไดอยางรวดเร็ว เชนการเปลี่ยน โทนสีบิดเบือนภาพ ปรับภาพใหคมชัด หรือเบลอ เปนตน FireWire การเชื่อมตอของขอมูลดิจิตอลที่มีความเร็วสูง สามารถรองรับการเชื่อมโยงขอมูลที่มีอัตราเร็วถึง 400 Mbps. ซึ่งถูกพัฒนาโดยบริษัท Apple Computer ภายใตมาตรฐาน IEEE1394 (Sony เรียกวา Hink) อินเทอรเฟสแบบนี้ใชในกลองดิจิตอล SLR ระดับสูง และในดิจิตอลแบ็ค สวนคอมพิวเตอรมีในพิธี บางรุน และแอปเปล แมคอินทอชทุกรุน FTP (File Transfer Protocol) เอฟทีพี : โพรโทคอลที่ใชในการถายโอนแฟมจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่ง บนเครือขายอินเตอรเนท Flash memory หนวยยความจําขนาดเล็ก ซึง่ มีสวนที่ใชบนั ทึกขอมูลเรียกวา Solid State Chips หนวยความจําแบบ นี้สามารถบันทึกขอมูลลงไปไดโดยทีไ่ มตองพึ่งพาแบตเตอรี่ ขอมูลไมมีการสูญหายเมื่อเปดสวิตช อุปกรณที่ใช ถูกออกแบบมาใหมีขนาดเล็กเหมือนการด สามารถนําไปใชกับกลองดิจิตอลเพื่อ บันทึกภาพหรือนําไปใสในเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อถายโอน หรือกอปปภาพในรูปแบบที่เรียกวา แมมมอรี่การด ซึ่งในกลองดิจิตอลแตละยี่หอจะใชแตกตางกัน เชน CompactFlash, SmartMedia, MemoryStick, SD/MMC, xD Picture Card Flat Bed Scanner (Optical Xcanner) เครื่องสแกนภาพโดยใชแสง เปนเครื่องมือนําขอมูลเขา (input) อยางหนึ่ง ซึ่งใชแสงไปกระตุน อุปกรณใหกวาดลําแสงไปบนกระดาษหรือวัสดุอื่นเพื่อใหแปลความหมายของลักษณะความมืด และ ความสวางใหเปนสัญญาณดิจิตอล ควบคุมการทํางานโดยซอฟทแวรในคอมพิวเตอร Floppy Disk สื่อเก็บขอมูลที่มีจานแผนแมเหล็กชนิดโคงงอได อยูภ ายในแผนพลาสติกแข็ง (ชนิด 3.5 นิ้ว) ในการ ใชงาน ตองเสียบไวในชองเสียบของฟล็อปปดิสกไดรวจึงจะสามารถนํามาอานหรือบันทึกขอมูลลง ไปได แผนฟล็อปปดิสกชนิด 3.5 นิ้ว จะมีความจุขอมูล 1.44 เมกกะไบต


375

G GIF File Format รูปแบบหนึ่งของไฟลภาพดิจติ อล มีการบีบอัดขอมูลใหมีขนาดที่เล็กมาก แตจัดเก็บสีไดเพียง 256 สี ภาพที่ไดจึงมีคุณภาพดอยกวา JPEG ไมนยิ มใชกับภาพถาย แตเหมาะกับภาพประกอบเวบเพจ เพราะ ไฟลที่มีขนาดเล็กทําใหการโหลดภาพรวดเร็วกวา Gigabyte คํายอ GB มีคาเทากับ 1024 MB Gray Scale อัตราสวนสีเทา : อัตราสวนของโทนสีเทา ซึ่งมีการไลระดับความออนแก ที่อยูระหวางสีขาวกับสีดํา

H Halftone Image การสรางภาพใหมีระดับสีตาง ๆ อยางตอเนื่อง ดวยการใชจุดสีที่มีขนาดตางกันหรือมีความหนาแนน ของจุดตางกัน Hard Disk, Hard Drive อุปกรณจัดเก็บขอมูล มีจานวงกลมที่เคลือบดวยเมกเนติกที่มีความไวแสงโดยมีหวั ที่ใชบันทึกและ อานขอมูลจากจานดิสก จัดใหอยูในเครื่องคอมพิวเตอรสําหรับเก็บขอมูลตาง ๆ หรือจะใชแบบ ภายนอกก็ได โดยมีกลองใสฮารดิสกและชองตอเชื่อมกับคอมพิวเตอร ปจจุบันพัฒนาใหมีขนาดเล็ก เชนแบบ พีซกี ารด หรือขนาดเล็กเทาการด CF เรียกวา Microdrive คิดคนโดย IBM Hardware ฮารดแวร : สวนเครื่อง, สวนอุปกรณ หรือสวนประกอบของระบบคอมพิวเตอรที่สามารถเห็นหรือจับ ตองได เชน จอภาพ คียบอรด และเครื่องพิมพ HDTV มาตรฐานใหมของโทรทัศน ที่มีความคมชัดสูง ชนิด 1,125 เสน


376 Histogram กราฟแสดงโทนภาพดิจิตอล โดยมีความละเอียดในแนวนอน 256 ขั้น ตั้งแตชวงโทนที่มืดสุดจนถึง สวางที่สุด แนะแนวตั้งแสดงจํานวนของพิกเซลใชในการบอกคุณภาพของภาพถายดิจิตอลได มักจะ มีในการแสดงภาพบนจอมอนิเตอรของกลองดิจิตอลทั่ว ๆ ไป และเปดดูไดจากซอพทแวรตาง ๆ Hue โทรสี สามารถปรับเปลี่ยนไดจากซอพทแวรเชน Adobe Photoshop

I Icon รูปภาพหรือสัญลักษณขนาดเล็กบนหนาจอคอมพิวเตอร ที่ใชแทนคําสั่งหรือขอมูลคาง ๆ เชน แฟม และดิสกเพื่อทําใหผูใชสามารถจดจํา และเรียกใชไดงาย IEEE1394 ดู FireWire i-Link ดู FireWire Image Pac รูปแบบไฟลทถี่ ูกออกแบบมาโดยเฉพาะ เพื่อเก็บภาพทีม่ ีคุณภาพสูงใน CD ซึ่งปจจุบันใชในการทํา สิ่งพิมพ, วิทยาศาสตร และนํามาประยุกตใชในการคา Image Resolotion ความละเอียดของภาพ ซึ่งวัดจากจํานวนพิกเซลตอหนึง่ หนวยความกวางของภาพ เชน พิเซล/นิ้ว, พิก เซล/มิลลิเมตร เปนตน Import การนําขอมูลหรือสารสนเทศที่สรางจากระบบอื่นหรือโปรแกรมอื่นมาใชในระบบหรือโปรแกรมที่ กําลังทํางานอยู เชน การนําเอาภาพถายดิจติ อลอิมพอรทมาใชในโปรแกรม Photoshop เปนตน


377 Ink-jet Printer เครื่องพิมพระบบอิงคเจ็ต : เปนเครื่องพิมพที่มีหัวพิมพประกอบไปดวยรูเล็ก ๆ จํานวนมาก และใน เวลาที่พิมพน้ําหมึกจะถูกพนออกมาทางรูเล็ก ๆ เหลานี้ เพื่อทําใหเกิดเปนตัวหนังสือหรือรูปภาพบน กระดาษ Interface สายสัญญาณเชื่อมแตระหวางอุปกรณสองอยาง เชน กลองดิจิตอลกับคอมพิวเตอร เพื่อใหสื่อสารกัน ได Internet/WWW อินเตอรเนท : ระบบเครือขายที่ประกอบไปดวยคอมพิเตอรในที่ตา ง ๆ ทั่วโลกซึ่งเชื่อมตอทาง โทรศัพท ทั้งแบบมีสายและไรสาย มีบริการตาง ๆ มากมาย เชน การสงอีเมล การคนหาขอมูล ขาวสารตาง ๆ จากเวบไซต และการรับสงขอมูล เปนตน Interpolation การเพิ่มขนาดภาพใหใหญขึ้นโดยเพิ่มจํานวนของพิกเซล IrDA ยอมาจาก The Infrared Data Assosiation ซึ่งเปนสถาบันที่คิดคนการสงผานขอมูลระหวางอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสหรือดิจิตอล โดยไมตองใชสาย ISO คาความไวแสงของเซ็นเซอรภาพ โดยเทียบกับคาความไวแสงของฟลม ใชหนวยวัดเปน ISO ความ ไวแสงที่สูงขึน้ จะทําใหภาพปรากฎ Noise มากขึ้นตามลําดับ สวนใหญกลองดิจิตอลจะมีคุณภาพดี และมี Noise นอยที่สุดที่คาความไวแสงต่าํ สุด J Jaz Drive อุปกรณบันทึกขอมูลมีคุณสมบัติคลายกันกับ Zip Drive แตสามารถเก็บขอมูลไดถึง 1000 เมกกะ ไบท หรือ 1 Gigabyte


378 JPEG Compression JPEG ยอมาจาก Joint Photographic Experts Group ซึ่งเปนมาตรฐานสําหรับการเก็บขอมูลภาพที่ ไดผานการบีบอัดขอมูลแลว โดยเลือกบีบอัดไดหลายระดับ ยิ่งบีบอัดมากเทาใดขนาดไฟลจะเล็กลง ไปตามลําดับ ซึ่งคุณภาพจะลดลงตามไปดวย

K Kilobyte กิโลไบท : ใชตัวตอวา KB มีคาเทากับ 1024 ไบท

L LAN (Local Area Natwork) เปนเครือขายที่ประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอรเชื่อมตอกันภายในพืน้ ที่หนึ่งที่มีอาณาบริเวณไมกวาง เชน ในหองหรือในตึกเดียวกัน Laser Printer เครื่องพิมพเลเซอร : เครื่องพิมพที่พิมพดวยหลักการแบบเดียวกับเครื่องถายเอกสาร กลาวคือเมื่อ เครื่องพิมพรับขอมูลที่จะพิมพจากคอมพิวเตอรแลว ก็จะนําขอมูลนี้ไปควบคุมกระจก เพื่อสะทอน แสงเลเซอรใหตกบนดรัมไวแสงและเกิดเปนภาพ ซึ่งภาพนีจ้ ะถูกแปลงเปนประจุไฟฟาเพื่อใหดดู จับ ผงหมึกได จากนั้นเครื่องพิมพก็จะปอนกระดาษที่ประจุไฟฟาสถิตแลวใหกลิ้งผานดรัมเพื่อดึงผงหมึก จากดรัมและเกิดเปนภาพขึน้ ขั้นตอนสุดทายกระดาษจะถูกทําใหรอ น เพื่อใหผงหมึกติดแนนกับ กระดาษ LCD Display/LCD Monitor จอภาพหรือจอมอนิเตอรที่ใชแสดงภาพถายที่ถายไปแลวในกลองดิจติ อลสามารถแสดงสีสันและ รายละเอียดไดครบถวน สามารถใชในการตรวจสอบความผิดพลาดของภาพถายไดทนั ที และยังใช ในการแสดงเมนูตาง ๆ อีกดวย สําหรับกลองที่มีชองมองภาพแบบออฟติคัล วิวฟายเดอร จะเลือกปด จอภาพไดเพื่อประหยัดแบตเตอรี่ LCD Panel ชองหนาตางสําหรับแสดงผลการใชงานของฟงกชั่นการถายภาพ ซึ่งจะใชเปนการควบคุมและสัง่ งาน โดยดูผลการปรับตั้งระบบการทํางานตาง ๆ ผานจอ LCD นี้


379 Lens สวนที่ใหแสงผานไปยังเซ็นเซอรภาพโดยรวมแสงใหปรากฎเปนภาพถายที่คมชัด ในกลองดิจติ อล แบบคอมแพคมักใชเลนสซูมที่มี กําลังขยาย 3-4 เทา สวนกลองดิจติ อล SLR ชนิดถอดเปลี่ยนเลนส ไดจะมีเลนสใหเลือกใชมากและคุณภาพทีด่ ีกวา Lithium-ion battery บางครั้งเรียก Lion เปนแบตเตอรี่ที่ใชเทคโนโลยี Lithium-ion ใหกาํ ลังไฟสูงใชไดนาน แตราคาแพง กวาแบตเตอรีท่ ั่ง ๆ ไป ขอดีคือชารจไฟใหมไดตลอดเวลาที่ตอ งการโดยไมมีผลเสียตอแบตเตอรี่ LPI (Line per Inch) ความถี่ของเสนในแนวตั้งและแนวนอนตอหนึ่งนิว้ ที่แสดงบนจอภาพ ความถี่ของจุดหรือพิกเซล นิยมใชในทางการพิมพออฟเซ็ท

ปจจุบันใชเปนหนวยยวัด

M Macro : Photo โหมดการถายภาพอยางหนึ่ง ชวยใหถายภาพไดใกลกวาปรกติ ทําใหถายภาพสิง่ ที่มีขนาดเล็กได กลองบางตัวถายภาพในโหมดมาโครไดใกลสุดเพียง 1 เซ็นติเมตรเทานัน้ Marquee เครื่องมือสําหรับใชในการ Selection ภาพ ซึ่งคุณสามารถเลือกพื้นที่ในรูปสี่เหลี่ยม, วงกลม ซึ่งเลือก ไดจากมุมใดมุมหนึ่ง หรือจากจุดศูนยกลางก็ไดเมื่อตองการ Croppping, ตัดสวนภาพ (Cutting) เปน ตน Megabyte (MB) มีคาเทากับ 1,048,576 ไบท มักจะพูดโดยประมาณวา หนึ่งลานไบท Megapixel (MP) มีคาเทากับ 1,000,000 พิกเซล มักใชคําวา หนึ่งลานพิกเซล


380 Memroy Card สื่อที่ใชในการจัดเก็บภาพของกลองดิจิตอล สามารถถอดออกได มีความจุใหเลือกตั้งแต 2 MB จนถึง 1 GB เชน CompactFlash, Microdrive, SmartMedia, Memory Stick, xD และ SD/MMC กลองบางรุน ใชการดแบบ PCMCIA หรือ PC Card Microdrive ฮารดดิสกขนาดเล็กที่พัฒนาโดย IBM มีขนาดเล็กเทากับการด Compact-Flash ใชไดกับกลอง ดิจิตอล มีความจุสูงสุด 1 GB Mode-camera ระบบการทํางานของกลองดิจิตอลแบบตาง ๆ Mode-software การปรับเปลี่ยนรูปแบบของภาพดิจิตอลดวยซอฟทแวร เชน การเปลี่ยนสี RGB, CMYK, Greyscale เปนตน Modem (Modulator/DEModulator) อุปกรณที่อยูภ ายในหรือภายนอก ใชแปลงสัญญาณดิจิตอลในคอมพิวเตอรไปเปนระบบอนาล็อก เพื่อสงผานสายโทรศัพทธรรมดาไปยังคอมพิวเตอรปลายทาง ซึ่งมีโมเด็มสําหรับแปลงกลับใหเปน ดิจิตอล ซึ่งแสดงผลไดเหมือนขอมูลที่สงมาจากตนทาง หากตองการใหการรับสงเร็วขึ้น จะมีระบบ อื่นที่ไมใชสายโทรศัพทธรรมดาเชน ISDN หรือ Fiber Optic แตคาใชจายจะสูงมากขึ้นตามลําดับ Morphing การสรางผลพิเศษในภาพเคลือ่ นไหวและวีดีโอ Multimedia สื่อผสม เปนวิธีการหรือรูปแบบการนําเสนอสารสนเทศที่เกิดจากการผสมผสานกันของเสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว


381

N Ni-MH (Nickel Metal Hydride Battery) เปนแบตเตอรีท่ ี่แนะนําอยางยิ่งสําหรับใชงานกับกลองดิจิตอล ซึ่งแบตเตอรี่ชนิดนีใ้ หพลังงานมากกวา แบตเตอรี่แบบ นิเกิลแคดเมี่ยมถึง 50% และยังสามารถชารจไฟใหมไดมากกวา 500-1000 ครั้ง สามารถชารจไฟไดรวดเร็วและใชงานไดยาวนานกวาแบตเตอรี่ทั่วไป NiCd (Nickel Cadmium Battery) แบตเตอรี่ชนิดชารจไฟใหมได พบไดในแบตเตอรี่ AA หรือ AAA ทั่วไปชารทไฟใหมได 500 – 1000 ครั้ง แตถาแบตเตอรี่ยังไมหมด หากนําไปชารจไฟ จะเกิดผลทําใหแบตเตอรี่เสื่อม ตองลางไฟที่คาง อยูจนหมดเสียกอน โดยกดปุม Discharged ที่เครื่องชารจ Noise จุดสีที่ไมพึงประสงคที่เกิดขึน้ ในภาพถายดิจิตอล มักเกิดขึ้นเดนชัด เมื่อปรับความไวแสง ISO ให สูงขึ้น หรือเมื่อถายภาพดวยความเร็วชัตเตอรต่ํา NTSC ระบบวีดีโอชนิด 525 เสน 30 เฟรม/วินาที สวนใหญถูกใชงานในประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปนุ

P PAL ระบบวีดีโอชนิด 625 เสน 25 เฟรม/วินาที สวนใหญถกู ใชงานในทวีปยุโรป รวมทั้งในประเทศไทย ก็ใชระบบนี้ PC เปนคํายอของ Personal Computer ซึ่งหมายถึงคอมพิวเตอรสวนบุคคล PCMCIA เปนคํายอของ Personal Computer Mamory Card International Association เปนอุปกรณสําหรับ จัดเก็บขอมูลชนิดหนึ่ง ที่ถือเปนมาตรฐานและไดรับการยอมรับมานาน เรียกอีกอยางหนึ่งวา PC Card ใชไดกับคอมพิวเตอรแบบโนตบุคทั่ว ๆ ไป ที่มีชองสําหรับใสการดแบบนี้


382 Peripheral อุปกรณที่นํามาเชื่อตอกับคอมพิวเตอรและคอมพิวเตอรสามารถควบคุมหรือทํางานรวมกันได พริ้นเตอร, โมเด็ม, สแกนเนอร เปนตน

เชน

Photo CD เปนทางเลือกหนึ่งในการนําภาพถายจากฟลมมาแปลงเปนภาพดิจิตอลเพื่อใชรวมกับคอมพิวเตอร โดยอานจากแผนซีดีผานเครื่องอานโฟโตซีดีที่ตอเชื่อมกับคอมพิวเตอร รวมทั้งนําไปเปดชมภาพจาก โทรทัศนไดโดยผานเครื่องเลนโฟโตซีดี หรือเครื่องเลนซีดีที่ระบุวาเลนโฟโตซดี ี ได PhotoNet ภาพถายทีใ่ หบริการทางอินเทอรเน็ต PIC, PICT ไฟลฟอรมแมทแบบมาตรฐานของรูปภาพ พัฒนาโดย แอปเปลคอมพิวเตอรรองรับภาพสี RGB ที่มี หนึ่งแชนแนล Pixel (PlCture Element) จุดเล็ก ๆ บนภาพ ซึ่งแตละจุดจะไดรับการกําหนดสีเพียงสีเดียว เพือ่ ใหทั้งหมดประกอบกันขึน้ เปน ภาพ ถามีพิกเซลมากหมายถึงภาพละเอียดมาก Plug and Play ตอแลวใช : ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณพอพวง ซึ่งเมื่อนํามาตอเขาดวยกันแลว เครื่องคอมพิวเตอรก็รูจักและสามารถใชงานไดทันที POTS เปนคํายอของ Plain Old Telephone Service ซึ่งใชสําหรับเชื่อมตอกับคอมพิวเตอรเพื่อทําการ ออนไลน โดยผานทางโมเด็ม PPl (Pixels-per-inch) หนวยวัดความละเอียดของภาพบิดแมป


383

R RAM ยอมาจาก random access memory เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอมูล ซึ่งนอกจากจะนํามาอานได แลว ยังสามารถเปลี่ยนแปลงหรือบันทึกซ้าํ ได ขอมูลที่เก็บอยูในหนวยความจําชนิดนี้จะหายไป เมื่อ ไมมีแหลงจายไฟ RAW ไฟล ฟอรแมท ที่สามารถจัดเก็บขอมูลภาพดิจิตอลไดอยางครบถวน สมบูรณ อาทิ ขอมูลของสีที่ รองรับรูปแบบ RGB, CMYK หรือ Greyscale ภาพที่จัดเก็บในฟอรมแมทนี้ จะรักษาขอมูลตาง ๆ ไว สามารถแกไขไดทกุ อยางทั้งโทนภาพและสี ดวยซอพทแวรจากผูผลิตกลอง RGB แมสี 3 สี ไดแก สีแดง, สีเขียว และสีนา้ํ เงิน รวมกันเปนแสงสีขาว ใชในการแสดงผลทางหนาจอ คอมพิวเตอรและหนาจอโทรทัศน ROM รอม : ยอมาจาก read-only memory เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอมูล ซึ่งนํามาอานไดอยางเดียว ไม สามารถเปลี่ยนแปลงหรือบันทึกซ้ําได ขอมูลในรอมจะยังอยูแมไมมแี หลงจายไฟ

S Scanner สแกนเนอร : อุปกรณที่ใชในการนําภาพบนกระดาษมาใสไวในคอมพิวเตอร ดวยวิธีแปลงจุดสีบน ตําแหนงตาง ๆ ของภาพ ใหเปนขอมูลดิจิตอลแลวสงไปยังคอมพิวเตอร SCSI (Small Computor System Interface) สกัสซี : สวนตอเชื่อมแบบขนานความเร็วสูงที่ใชในการเชื่อมตอคอมพิวเตอรกับอุปกรณตอพวง เชน ฮารดดิสก และเครื่องพิมพ พอรท SCSI หนึ่งพอรทสามารถตออุปกรณได 7 อยาง โดยวิธีการ เชื่อมตอแบบสายโซเดซี ปจจุบันมีการพัฒนาไปหลากหลายรูปแบบ


384 Serial เรามักใชคําวา อนุกรม คือเรียงตามลําดับ ใชเปนมาตรฐานการเชือ่ มตออุปกรณในคอมพิวเตอรพีซี ทั่วไป แตความเร็วชากวาแบบอื่น ๆ เชน USB Self-timer คุณสมบัติหนึง่ ในกลองดิจติ อล ตองการใหกลองถายภาพได

ใชหนวงเวลาในกากรถายภาพอัตโนมัติ

บางรุนกําหนดเวลาที่

Smoothing คือการเฉลี่ยยคาพิกเซลที่อยูใ กลเคียงเพื่อใหภาพมีความกลมกลืนมากขึ้น Software ชุดคําสั่งที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อสั่งใหคอมพิวเตอรปฏิบัติงานตามชิ้นงานที่ไดรับ เชน Word, Photoshop เปนตน Shutter ความเร็วในการตัดแสงที่ตกกระทบลงบน CCD ในกลองคอมแพคดิจติ อล ใชชัตเตอรอิเล็กทรอนิกส สวนกลองดิจติ อลแบบ SLR จะมีมานชัตเตอรแบบกลไกสําหรับปดกั้นแสงอยูหนาเซ็นเซอรภาพ กําหนดเวลาในการเปดปดโดยมีหนวยวัดเปนวินาทีควบคุมดวยระบบอิเล็กทรอนิกส การทํางานจะ สัมพันธกับคารูรับแสง เพื่อควบคุมแสงใหพอดี ทําใหภาพไมมดื หรือสวางเกินไป ความเร็วชัตเตอร สูงทําใหสิ่งที่มีการเคลื่อนไหวหยุดนิ่ง สวนความเร็วชัตเตอรต่ําจะทําใหสิ่งที่มีการเคลื่อนไหวพรามัว SLR (Single Lens Reflex) กลองถายภาพที่มองเห็นภาพในชองมอง ตรงกับภาพจริงที่ได โดยแสงที่ผานเลนสจะตกกระทบกับ กระจกสะทอนภาพแลวหักเหแสงไปยังปริซึม จากนัน้ สะทอนออกไปที่ชองมองภาพ เมื่อกดปุม ชัตเตอร กระจกสะทอนภาพจะดีดตัวขึ้น ใหแสงผานตรงไปยังเซ็นเซอรภาพ

T TIFF, TIF (Tagged Image File Format) ไฟล ฟอรแมท มาตรฐานที่ใชในการจัดเก็บภาพกราฟฟก ออกแบบโดย Aldus ซึ่งปจจุบันรวมเขา กับ Adobe และ Microsoft สามารถใชไดกับภาพสีและขาวดํา สามารถอานขอมูลภาพได จาก


385 คอมพิวเตอรทกุ ชนิด บางรูปแบบมีคุณสมบัติ LZW โปรแกรมไมสามารถเปดภาพแบบนี้ได

ซึ่งบีบอัดใหภาพมีขนาดเล็กลง

แตบาง

U Upgrade การปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงทางดานฮารดแวรหรือซอฟทแวร เพื่อใหการทํางานมีประสิทธิภาพดี ขึ้น โดยทัว่ ไปหมายถึงคอมพิวเตอร หรือกลองดิจติ อลที่อัพเกรดโปรแกรมที่อยูในตัวกลอง หรือ Firmware ได ซึ่งจัดเก็บไวในหนวยความจําแบบที่ เรียกวา ROM USB (Universal Serial Bus) บัสอนุกรมสากล : ใชเชื่อมตอคอมพิวเตอรกับอุปกรณตอ พวงตาง ๆ รวมทั้งกลองดิจิตอลเพื่อโหลด ภาพ ตอสายหรือถอดสายไดโดยที่คอมพิวเตอรยังเปดทํางานอยู สามารถถายโอนขอมูลดวยอัตราเร็ว 10-20 เมกกะบิตตอวินาที (Mbps) สามารถรองรับอุปกรณไดหลากหลาย เปนมาตรฐานทีม่ ีใน คอมพิวเตอรสวนบุคคลทั้งพีซีและแมคอินทอช ปจจุบันพัฒนาถึงเวอรชั่น 2 ถายโอนขอมูลไดเร็วถึง 500 Mpbs หรือเร็วกวาเดิม 40 เทา ใกลเคียงกับ IEEE1394 ที่มีความเร็ว 400 Mpbs

V VGA ยอมาจาก Video Graphics Array มาตรฐานตัวปรับตอภาพ ที่สามารถแสดงภาพดวยความละเอียด สูงสุด 640 x 480 พิกเซล Viewfinder สวนหนึ่งของกลองถายภาพ ชองมองภาพเปนกรอบที่ใชแสดงขอบเขตของภาพซึ่งมีมุมรับภาพ ใกลเคียงกับทางยาวโฟกัสของเลนส ระบบมองภาพเปนแบบมองตรงไมผานเลนส ชองมองภาพแบบ ออฟติคัล จะมีชุดเลนสทปี่ รับมุมภาพใหสัมพันธกับเลนสซูมของกลอง การดูภาพจากชองมองวิว ฟายเดอรจะประหยัดแบตเตอรี่มากกวาการดูภาพจากจอมอนิเตอร Virtual Memory หนวยความจําเสมือน : พื้นที่เก็บขอมูลบนฮารดดิสกทปี่ รากฏตอแอปพลิเคชั่นโปรแกรม เสมือนเปน พื้นที่หนวยความจําที่มีขนาดใหญกวาพื้นทีท่ ี่มีอยูจริง


386

W Web master ผูออกแบบ จัดทํา และดูแลเวบไซด Web page แฟมขอมูลที่จดั เก็บในแบบ HTML หรือ XML รวบเอาไวที่เครื่องคอมพิวเตอรหลักหรือเซิรพเวอร ของผูใหบริการที่เรียกวา ISP เวบเพจแตละหนาเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบของ Link Website ที่อยูของขอมูลที่จัดทําในรูปแบบเวบเพจ เพื่อใหผูชมสามารถเขาไปดูได White Balance การปรับสมดุลยของแสงใหมีสีที่ถูกตอง โดยเทียบกับแสงสีขาวของดวงอาทิตยที่มอี ุณหภูมิสี 5,500 องศาเคลวิน ในกลองดิจิตอลสวนใหญมรี ะบบออโตไวทบาลานซ โดยกลองจะปรับอุณหภูมิสใี ห ถูกตองอัตโนมัติ และเลือกปรับตามสภาพแสงที่ใชไดเชนแสงอาทิตย แสงไฟทังสเตน หรือแสงไฟ ฟลูออเรสเซนท เปนตน WORM (Write Once, Read Many) แผนดิสกชนิดหนึ่งซึ่งสามารถอานซ้ํา ๆ ได แตไมสามารถเปลี่ยนแปลงแกไขใด ๆ ได เหมาะสําหรับ การเก็บขอมูลที่สําคัญเปนการถาวร WYSIWYG เปนคํายอของ What you see is what you get “คุณเห็นอยางไรก็ไดอยางนั้น” ซึ่งเปนลักษณะของ เอกสารและภาพกราฟฟกทีค่ ุณเห็นในจอภาพ เมื่อพิมพออกมาเปนฮารดกอปปแ ลว ลักษณะของ เอกสารหรือภาพกราฟฟกทีค่ ุณได ก็จะเหมือนกับลักษณะที่ปรากฏในจอภาพ

Z Zip Drive แผนดิสกแบบพิเศษ มีขนาดเล็ก ราคาไมแพง ใชเก็บขอมูลได 100 หรือ 250 เมกกะไบท ตองใช เครื่องอานแผน Zip โดยเฉพาะมีใหเลือกใชทั้งแบบภายใน หรือภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร


387


บรรณานุกรม เกื้อกูล คุปรัตน และ รวมศักดิ์ แกวปลั่ง. การถายภาพเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพ ฯ : กิ่งจันทรการพิมพ (เลขที่ 1376/78 – 80 ศูนยการคาวรรัตน ซอยทนุรัตน.) ทวีศักดิ์ กิจวิวัฒนาชัย. พื้นฐานการถายภาพ. พิมพครั้งที่ 2. นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ (ขางสํานักงานกรมที่ดินจังหวัดนครปฐม ตําบลลําพะยา อําเภอเมือง). ประสิทธิ์ จันเสรีกร. กลองดิจิตอล. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพอิมเมจ โฟกัส (หางหุนสวนจํากัด อิมเมจ โฟกัส เลขที่ 493/49 ถนนประชาราษฎร 2 บางซื่อ).



บรรณานุกรม กรมพัฒนาการชาง, กรมอูทหารเรือ “ความรูเบื้องตนสําหรับชางตัดเย็บ” กรุงเทพ ฯ อูทหารเรือธนบุรี, กรมอูทหารเรือ “กรรมวิธีการปฏิบัติงาน โรงงานชางเย็บ” กรุงเทพ ฯ เสถียร วิชัยลักษณ , รอยตํารวจโท และ สืบวงศ วิชัยลักษณ, พันตํารวจเอก “พระราชบัญญัติ ธง พ.ศ.๒๕๒๒” อุตสาหกรรม, กระทรวง “มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมผาใบ” - ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๔๕ (พ.ศ.๒๕๑๖) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ พ.ศ.๒๕๑๑ เรื่อง กําหนด มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมผาใบ - พระราชบัญญัติธง พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวง (พ.ศ.๒๕๒๔) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติธง พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๒๖) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติธง พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๓๕) ออกตามความ ในพระราชบัญญัติธง พ.ศ.๒๕๒๒ - แจงความสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรม ราชานุญาตประดับแพรแถบเกียรติคุณแกธงชัยเฉลิมพล - ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการใช การชัก หรือ การแสดงธงชาติและธงของตางประเทศในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๒๙ - บรรณานุกรม

64

71 87 88 89 90 91 102



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.