safety first

Page 1

เอกสารวิชาการ

นิรภัยการชาง

กรมอูทหารเรือ (จัดพิมพเมื่อ กันยายน ๒๕๔๘)


สารบัญ หนา บทที่ 1 จริยธรรมทางชาง 1.1 จริยธรรมทางความคิดในการทํางาน 1.2 จริยธรรมในการดํารงตน 1.3 จริยธรรมในการปกครอง 1.4 จริยธรรมที่ควรมีเมื่อตองปฏิบัติงานเกีย่ วของกับบุคคลภายนอก บทที่ 2 ทฤษฎีการเกิดอุบัตภิ ัย 2.1 ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) 2.2 ทฤษฎีการขาดดุลยภาพ (Imbaiance Cause Theory) 2.3 ทฤษฎีพลังงาน (Energy Cause Theory) 2.4 ความหมายของอุบัติภยั 2.5 สาเหตุที่เกิดอุบัติเหตุ 2.6 แนวทางในการปองกันอุบัติเหตุ 2.7 ผลกระทบจากการเกิดอุบัติเหตุ 2.8 ชนิดของอุบัตภิ ัย บทที่ 3 ความปลอดภัยในการทํางานดานตาง ๆ 3.1 ประโยชนของการทํางานที่ปลอดภัยในโรงงาน 3.2 การปองกันอันตรายจากเครื่องจักร 3.3 ความปลอดภัยในการใชเครื่องจักรกล 3.3.1 กฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับเครื่องมือกลทั่วไป 3.3.2 การดปองกันอันตรายจากเครื่องจักร - การดชนิดอัตโนมัติ - การดชนิดใชมือ 2 ขาง 3.4 ความปลอดภัยเกีย่ วกับไฟฟา 3.5 ความปลอดภัยในการปฏิบัติเกี่ยวกับงานเชื่อม – ตัดโลหะ 3.6 ความปลอดภัยในการถอดประกอบทอทาง 3.7 ความปลอดภัยในการยกเคลื่อนยายอุปกรณโดยใชเครื่องทุนแรง 3.8 ความปลอดภัยในการบํารุงรักษารถยนต

2 3 3 4 5 6 6 8 10 13 14 15 34 35 37 43 47

51 59 61 62 86


3.9 เสริมสรางความปลอดภัยดวยหลักการ 3 E บทที่ 4 อุปกรณนิรภัย 4.1 อุปกรณปอ งกันอันตรายสวนบุคคล 4.2 แนวทางการเลือกและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางเหมาะสม 4.3 การทดสอบประสิทธิภาพอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล บทที่ 5 เครื่องหมาย / สัญลักษณ / สี เกี่ยวกับความปลอดภัย 5.1 อิทธิพลของสีตอจิตใจมนุษย 5.2 ขอดีของสีเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัย 5.3 สี และรูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยตามมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

98 99 100 142 154 155 155

บทที่ 6 การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน 6.1 การปฐมพยาบาลบาดแผล 6.2 การปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก 6.3 การปฐมพยาบาลผูปวยขอเคล็ด 6.4 การปฐมพยาบาลผูปวยช็อค 6.5 การปฐมพยาบาลผูปวยที่มีอาการชัก 6.6 การปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ 6.7 การปฐมพยาบาลผูปวยเปนลม 6.8 การปฐมพยาบาลผูปวยถูกไฟฟาดูด 6.9 การปฐมพยาบาลผูปวยอวัยวะขาด 6.10 การปฐมพยาบาลผูปวยไดรับสารเคมีพิษ 6.11 การปฐมพยาบาลผูปวยไดรับสารพิษจากการสูดดม 6.12 การปฐมพยาบาลผูปวยไดรับพิษทางผิวหนัง 6.13 การปฐมพยาบาลเมื่อสารพิษเขาตาผูปวย

173 173 174 175 175 176 177 178 178 178 179 179 179

บทที่ 7 มาตรฐาน ISO 14000 กับการปองกันไมไหเกิดมลภาวะตอสิ่งแวดลอม 7.1 ความหมายของสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศน 7.2 ผลกระทบจากปญหาดานสิ่งแวดลอม 7.3 ISO 14000 : มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม 7.4 การประเมินผลการดําเนินการดานสิ่งแวดลอม 7.5 การควบคุมสารเคมีอันตราย

181 182 185 187 189


บทที่ 8 กฎกระทรวงอุตสาหกรรมและกฎหมายที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยในการทํางานดานตาง ๆ 8.1 พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2512 203 8.1.1 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2512) ออกตามความพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2512 205 8.1.2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) ออกตามความ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2512 208 8.2 ประกาศกระทรวงมหาดไทย ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร และการใชเครื่องจักรทั่วไป 217 8.3 กฎหมายเกีย่ วกับอุปกรณปองกันอันตรายจากเครื่องจักร 225 8.2.1 กฎหมายของกรมแรงงานที่เกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตราย ฯ 8.2.2 กฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตราย ฯ 8.4 มาตรฐานหมอไอน้ํา 228 8.5 กฎหมายที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยของหมอไอน้ําและภาชนะบรรจุกาซ 231 8.6 มาตรฐานและกฎหมายเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 233 บรรณานุกรม

237


บทที่ 1 จริยธรรมทางชาง “ชางคือ ผูที่ทํางานใชฝม ือ ชางทุกประเภทเปนกลไกสําคัญอยางยิง่ ของบานเมือง และของทุกคน” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวทีอ่ ัญเชิญมาไวขา งตน บงบอกถึงความสําคัญ ของผูมีวิชาชีพทางชางในทุกสาขาไดเปนอยางดี จึงนับเปนเรื่องที่เราทุกคนซึ่งดําเนินชีวิตอยูบนถนน สายนี้ ควรตระหนักในคุณคาของตนเองและยึดมั่นกระทําตนใหสมกับพระราชดํารัสของ “พอแหง ปวงชนชาวไทย” ซึ่งทรงไดรับการยกยองในฐานะกษัตริยผูเปนชางฝมอื แหงแผนดินสยาม หากพิจารณากันอยางถองแท เราอาจพบวา คุณคาของความเปนชางไมไดขึ้นอยูก ับความรู ความสามารถอันเชี่ยวชาญหรือปริญญาบัตร ประกาศนียบัตรใด ๆ เพราะทุกสิ่งที่กลาวมานี้ไมอาจกอ ประโยชนแกผูเกี่ยวของและสวนรวมไดอยางแทจริง และสมบูรณแบบ หากผูที่ไดชื่อวาเปนชาง ปราศจากจิตสํานึก และจริยธรรมในวิชาชีพของตนเอง ขอเขียนนี้จึงมุงหวังที่จะใหผูที่เปนชางทุกคน ไดทบทวนตนเองวา ไดดํารงตนอยูในฐานะชางที่มีคุณคาหรือไม

จริยธรรมทางชาง...สิ่งที่สรางขึ้นไดในหัวใจชางอยางคุณ จริย (จะ – ริ – ยะ) หมายถึง ความประพฤติที่ควรทํา จริยธรรมทางชางจึงแปลวา การประพฤติ ปฏิบัติที่ชางควรกระทําทั้งตอตนเองและผูอ ื่น รวมทั้งกิจการงานทั้งปวงที่ความเปน “ชาง” เขาไปมี สวนเกีย่ วของดวย ดังนั้น ไมวาทานจะเปนชางระดับไหน มีพื้นเพแหลงกําเนิดมาจากสถาบันใด สิ่งที่เสมอเหมือน เทาเทียมกันไดก็คือ “จริยธรรมทางชาง” ที่มีอยูในสํานึกและจิตใจของแตละคน แมจริยธรรมชางอาจ ไมใชสิ่งที่ติดตัวมาแตกําเนิด แตมันก็ไมใชสิ่งที่ยากเกินกวาการเรียนรูและปลูกฝงควบคูไปกับ การศึกษาทฤษฎีทางวิชาการของชางในทุกสาขาอาชีพ กรมอูทหารเรือ ในฐานะหัวหนาหนวยวิทยาการสายชางของกองทัพเรือ จึงปรารถนาที่จะไดเห็น ผูที่เปนชาง มีความสมบูรณพรอมทั้งดานวิชาการความรูและจริยธรรม ซึ่งจะเปนสิ่งที่ชวยเสริมสราง ใหวทิ ยาการสายชางของกองทัพเรือมีความเขมแข็ง เปย มไปดวยประสิทธิภาพอันจะนําไปสูการดํารง ความพรอมของกองทัพเรือ ซึ่งเปนภารกิจและความมุงหมายสูงสุดของ “ชางทหารเรือ” ทุกคน


2

จริยธรรมขอใดที่คณ ุ ไมม.ี ..สํารวจตัวเองเสียแตวนั นี้ แมจะไมเคยมีการกําหนดไวอยางแนชัดวา จริยธรรมทางชางควรประกอบดวยเรื่องใดบาง แตจาก ประสบการณที่พบเห็นจากชางผูมีอาวุโส นายทหารพรรคกลินรุนครูและจากสิ่งที่ไดสัมผัสดวยตนเอง ตลอดระยะเวลากวา ป ที่ทํางานสายชาง ทั้งหมดที่จะนํามากลาวตอไปนี้ อาจเปนแนวทางใหทานได พิจารณาตนเองวา การประพฤติปฏิบัติขอใดบางที่ทานอาจละเลยหรือมองขามไป ทั้งที่มันคือ “จริยธรรมทางชาง” ซึ่งถือเปนองคประกอบสําคัญที่จะนําไปสูความสําเร็จและเจริญกาวหนาในหนาที่ การงานสายชาง

1. จริยธรรมทางความคิดในการทํางาน 1.1 ชางตองทํางานอยางมีทักษะ ยึดถือหลักวิชาดวยความหลักแหลม ชาญฉลาด แตมิใช ฉลาดแกมโกงหรือนําหลักวิชาไปใชอยางมีเลหเหลีย่ ม ขณะเดียวกันการยึดถือหลักวิชาก็ตองเปนไป อยางเหมาะสมมีความออนตัว รูจกั แกปญหาหาทางออก เพื่อผลสําเร็จของงานนัน้ ๆ เพราะการดื้อดึง โดยอางอิงหลักวิชาทีเ่ ขียนไวในตําราเพียงอยางเดียวโดยไมศึกษาวิเคราะหเพิ่มเติมในอันที่จะนําไปสู แนวทางและวิธีการอืน่ อาจนํามาซึ่งความลมเหลวเสียหายในการทํางานไดเชนกัน 1.2 เคารพในความคิดเห็นของผูอ ื่น เปดใจกวางในคําแนะนําขอเสนอของเพื่อนรวมงาน และผูใตบังคับบัญชา การดูแคลนหยามหมิ่น ดวยเห็นวาผูอื่นมีความรูทางทฤษฎีวิชาการนอยกวาตน นอกจากจะไมไดรับความนับถือจากใจจริงแลว งานที่กระทําก็อาจมีจุดบกพรองลมเหลวเกิดขึ้นได อยางคาดไมถงึ ด็อกเตอรที่ชาญฉลาดยอมเปดโอกาสใหชางฝกงานไดเสนอแนะหรือคัดคานสิ่งที่ตนเอง สั่งการออกไปเพื่อใหชางฝกงานผูปราศจากใบปริญญามหาบัณฑิตทําหนาที่เสมือน “กระจกเงา” บานเล็ก ๆ ที่สองสะทอนขอผิดพลาดที่ตนเองอาจนึกไมถึง 1.3 นายชางที่ดีตองกลาหาญเพียงพอที่จะยอมรับความผิดพลาดที่กระทําไปแลว การมี ยศสูงกวาหรือมีตําแหนงเปนผูบริหาร มิไดหมายความวาจะวิเคราะหและตัดสินใจไดอยางถูกตอง เสมอไป ยิง่ ทานมีความรูส ูงมากเทาใด ทานก็ยิ่งจะตองกลาหาญที่จะยอมรับขอผิดพลาดหากมัน บังเอิญเกิดขึ้นมากเทานั้น จงอยาอับอายทีจ่ ะยอมรับเมื่อทําผิด แตจงอดสูตอการเมินเฉยในสิ่งบกพรอง ผิดพลาดที่ไดกระทําไปแลว 1.4 อยาทํางานในลักษณะจองจับผิด หาขอบกพรองของผูอื่น โดยเฉพาะผูใตบังคับบัญชา จงพยายามคิดอยูเสมอวา เพือ่ นรวมงานทุกคนไดใชฝมือของตนในการทํางานอยางเต็มกําลัง ความสามารถแลว แตหากผลงานยังไมเปนที่พอใจตามเกณฑที่คาดหวังไว เปนหนาที่ของทานในการ ใชกุศโลบายอยางเหมาะสมเพื่อกระตุนหรือชี้แนะใหบุคคลนั้นแกไขปรับปรุงการทํางานของตนเอง อยางเต็มใจ


3

1.5 ตองมีความรับผิดชอบในหนาที่ นึกถึงประโยชนของสวนรวมมากกวาสวนตน ไมทาํ งาน ในลักษณะสรางผลประโยชนทับซอนใหแกตนเองและพวกพอง 1.6 มีสัจจะในการทํางาน จริงใจ และกลาหาญทีจ่ ะตอสูเพื่อความถูกตอง เมื่อแนใจแลววาความ ถูกตองนั้นเปนความถูกตองของสวนรวม มิใชตนเองคิดวาถูกตองเพียงผูเดียว

2. จริยธรรมในการดํารงตน 2.1 รูจักออนนอมถอมตน เปนผูมีความออนโยน แตไมออนแอ เปนที่พงึ่ ไดทั้งของตนเอง และของผูอื่น ยิ่งมีความรูสูงมาก และแสดงออกอยางสุภาพ ออนนอม ก็จะยิ่งไดรับความนิยมชื่นชอบ จากคนทัว่ ไป 2.2 มองคนในแงดี ไมควรคิดวาผูอื่นจองจะโกงหรือทรยศตอวิชาชีพอยูต ลอดเวลา เพราะ การคิดเชนนัน้ จะทําใหทานหวาดระแวงไมไวใจใครเลย และนําไปสูการทํางานคนเดียวในที่สุด 2.3 รูจักยอมและผอนปรน เพื่อผลสําเร็จของงานและสวนรวม การยืนกรานดืน้ รั้นในความคิด ที่วา ตนเองเปนฝายถูกเสมอ แมอาจจะทําใหทานไดรับชัยชนะ แตผลขางเคียงที่ตามมาอาจเปนความ เสียหายของสวนรวมและองคกร รวมทั้งอาจยอนมาสูตวั ทานเองไดในอนาคต 2.4 ใชคําชมใหมากกวาคําตําหนิติเตียน รูจักชืน่ ชมผลงาน ความคิด ตลอดจนการกระทํา ของเพื่อนรวมงาน แมในสายตาและความรูสึกของทาน สิ่งเหลานี้อาจเปนเรื่องเล็กนอยก็ตาม พึงระลึก อยูเสมอวามนุษยทุกคนแมแตตัวทานเองลวนแลวแตปรารถนาการแสดงความชื่นชมยินดีอยูเสมอ 2.5 พูดเฉพาะในสิง่ ที่ควรพูด ทําเฉพาะในสิ่งที่ควรทํา บางเรือ่ งแมทานอาจจะอยากพูดและ อยากทํา แตหากไมกอใหเกิดประโยชนอันใดหรือเปนประโยชนเฉพาะตนเองเพียงผูเดียว หรือทาน สรุปเอาเองวาเปนประโยชน จงหลีกเลี่ยงที่จะกระทํา เพื่อไมใหเกิดความแตกแยก เกลียดชังในหมู เพื่อนรวมงานโดยไมจําเปน 2.6 ซื่อตรงและภักดีตอองคกรและสวนรวม ไมเห็นแกอามิสสินจางใด ๆ

3. จริยธรรมในการปกครอง 3.1 มีความยุติธรรมตอผูใตบังคับบัญชา ทั้งตอหนาและลับหลัง ปฏิบัติตอทุกคนอยาง เทาเทียมกัน 3.2 พิจารณาคนโดยใหน้ําหนักในเรื่องตาง ๆ อยางเหมาะสมผสมผสานกันทั้งความรู ความสามารถ ความประพฤติ ตลอดจนอาวุโส ไมอาฆาตหรือนําความรูสึกสวนตัวเขามาเกี่ยวของ 3.3 รูจักการใหรางวัลเทา ๆ กับกลาพอที่จะลงโทษอยางเหมาะสม เพื่อใหคนดีและคนไมดี อยูรวมกันไดโดยไมเกิดความขัดแยงทอถอย แตกแยกในหมูคณะ 3.4 ใสใจดูแลทุกขสุขของผูใตบงั คับบัญชา ทั้งเรื่องงานและสวนตัว ตามขอบเขต อันสมควร 3.5 บริหารจัดการอยางมีเหตุผล ไมปกครองโดยใชอารมณ หรือมีอคติสวนตัว


4

3.6 กระตือรือรนในการพัฒนาองคกรของตนเอง ไมวาจะเปนขนาดเล็กหรือใหญสักเพียงใดก็ ตาม 3.7 รวมใจทุกคนเปนหนึ่งเดียว เพื่อการทํางานอยางมีระบบ บนความสามัคคี

4. จริยธรรมที่ควรมีเมื่อตองปฏิบัติงานเกี่ยวของกับบุคคลภายนอก นายชางและชางของกองทัพเรือ มีโอกาสอยางมากที่จะตองปฏิบัติหนาที่ในงานสาขาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับบุคคลภายนอก ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งการปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการตรวจรับ กรรมการตรวจการจาง และผูควบคุมงาน ขอแนะนําทางจริยธรรมตอไปนี้อาจเปนแนวทางที่นําไปสู การแกไขปญหาขอขัดของ ขัดแยงที่มักเกิดขึ้นอยูเนือง ๆ ระหวางผูปฏิบัติหนาที่กับหนวยงานภายนอก 4.1 ปฏิบัติหนาที่อยางสุภาพออนโยนบนพืน้ ฐานของความเปนมิตร ไมตั้งเปาวาอีกฝายเปน ศัตรูตรงขางที่หวังผลประโยชนจากกองทัพเรือโดยไมคาํ นึงถึงสิ่งใด 4.2 ปฏิบัติหนาที่ในลักษณะรวมมือรวมใจ เพื่อกาวไปสูจุดหมายเดียวกัน นั่นคือการสง มอบงานใหแกกองทัพเรือไดอยางสมบูรณครบถวน ตรงตามเวลา 4.3 ปฏิบัติหนาที่อยางซื่อตรง ไมมีเลหเหลีย่ ม หรือสรางเงื่อนไขใหบุคคลภายนอกหรือ คูสัญญาของกองทัพเรือ ตองยินยอมตามขอเรียกรองนอกเหนือจากที่ระบุไวแตแรก 4.4 รักษาเกียรติและศักดิ์ศรีของเจาหนาที่กองทัพเรือ ไมเรียกรับผลประโยชนใด ๆ ทั้งทางตรง และทางออม ไมวาประโยชนนั้นจะเปนของตนเองหรือสวนรวมก็ตาม 4.5 จริงใจในการแกปญหารวมกัน เมื่อมีขอขัดของเกิดขึ้นดวยการรับฟงขอเสนอแนะของ ผูอื่นอยางใหเกียรติ และนํามาวิเคราะหพิจารณาอยางรอบคอบ โดยไมดื้อรั้น ยึดถือแตความคิดของตนเอง เพียงผูเดียว 4.6 เชื่อมั่นในความสุจริตของตนเองและผูอื่นที่ปฏิบัติหนาทีร่ วมกัน ไมหวาดระแวงหรือ ใหรายผูอื่นเปนผูทุจริตที่หวังผลตอบแทนจากบุคคลภายนอก 4.7 ยึดมั่นในหลักการทางเทคนิคและขอกําหนดตาง ๆ แตตองรูจักวิเคราะหศกึ ษาแนวทางอืน่ ที่สามารถปฏิบัติได เพื่อผลสําเร็จของงาน การอางอิงตําราเพียงอยางเดียว โดยไมหาหนทางอื่น อาจ นําไปสูปญหาขอขัดของที่สงผลกระทบกับงานโดยตรง 4.8 พึงระลึกอยูเสมอวา “การผอนปรน” กับ “การชวยเหลือ” เปนสิ่งที่ใกลเคียงกัน แตไม เหมือนกัน จึงเปนหนาที่ของทานในอันทีจ่ ะกําหนดขอบเขตของทั้งสองสิ่งนี้อยางเหมาะสม 4.9 เตือนตนเองอยูเสมอวา กองทัพเรือมอบหมายใหทานเปนผูปฏิบัติงาน ไมใชเปน ผูสรางปญหากับบุคคลภายนอก ซึ่งจะนําไปสูการฟองรองในที่สุด


บทที่ 2 ทฤษฏีการเกิดอุบัติภัย มีทฤษฏีตาง ๆ ที่เปนสมมุติฐานการเกิดอุบัติภัยมากมาย ที่นํามากลาวตอไปนีเ้ ปนทฤษฎีที่ นาสนใจและเปนที่นาเชื่อถือ โดยเฉพาะอยางยิ่งทฤษฏีพลังงาน :-

1. ทฤษฏีโดมิโน (Domino Theory) H.W. Heinrich ซึ่งเปนผูคิดทฤษฏีโดมิโน กลาววา การบาดเจ็บและความเสียหายตาง ๆ เปนผลสืบเนื่องโดยตรงมาจากอุบัติภยั เปนผลมาจากการกระทําที่ไมปลอดภัย (หรือสภาพการณที่ไม ปลอดภัย) ซึ่งเปรียบไดเหมือนตัวโดมิโนที่เรียงกันอยู 5 ตัว ใกลกัน เมื่อตัวหนึ่งลมยอมมีผลทําใหตัว โดมิโนถัดไปลมตามกันไปดวย ตัวโดมิโนทั้งหาตัว (แผนภูมิที่ 1.1) ไดแก 1) สภาพแวดลัอมหรือภูมิหลังของบุคคล (Social Environment of Background) 2) ความบกพรองผิดปกติของบุคคล (Defects of Person) 3) การกระทําหรือสภาพการณที่ไมปลอดภัย (Unsafe Acts/ Unsafe Conditions) 4) อุบัติภยั (Accident) 5) การบาดเจ็บหรือเสียหาย (Injury / Damages) แผนภูมิที่ 1.1 แสดงโดมิโนทั้งหา


6 แผนภูมิที่ 1.2 การปองกันอุบัติภัย โดยดึงโดมิโนตัวที่สามออกนั้นคือ สภาพแวดลอมของ สังคมหรือภูมิหลังของคนใดคนหนึ่ง (สภาพครอบครัว ฐานะความเปนอยูการศึกษาอบรม) กอใหเกิด ความบกพรองผิดปกติของคนนั้น (ทัศนคติตอความปลอดภัยไมถูกตอง ชอบเสี่ยง มักงาย) กอใหเกิด การกระทําที่ไมปลอดภัยหรือสภาพการณที่ไมปลอดภัยกอใหเกิดอุบัตเิ หตุ กอใหเกิดการบาดเจ็บหรือ ความเสียหาย ทฤษฏีโดมิโนนี้มีผูเรียกชื่อใหมเปน “ลูกโซของอุบัติเหตุ” (Accident Chain) เมื่อโดมิโนตัว ที่ 1 ลม ตัวถัดไปก็ลมตาม หากไมใหโดมิโนตัวที่ 4 ลม (ไมใหเกิดอุบัติภัย) ก็ตองเอาโดมิโนตัวที่ 3 ออก

2. ทฤษฏีการขาดดุลยภาพ (Imbalance Cause Theory) การบาดเจ็บหรืออุบัติภัยเกิดจากการขาดดุลยภาพชั่วขณะหนึ่ง ระหวางพฤติกรรมของคน กับระบบงานที่คนนั้นกระทําอยู ซึ่งอาจจะปองกันไมใหเกิดไดโดยการแกไขเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของคน หรือการแกไขเปลีย่ นแปลงระบบทั้งสองอยางหรืออยางหนึง่ อยางใด แตวธิ ีที่ไดผลดีที่สุดคือ ประการหลัง ดังแสดงในแผนภูมิ พฤติกรรมของคน

การขาดดุลยภาพ

อุบัติภัย

ระบบการทํางาน

ที่มา : Blumenthal, M. Dimensions of the traffic safety problem. Traffic Safety Research Review 12 : 7 1968

3. ทฤษฏีพลังงาน (Energy Cause Theory) เคยมีผูคิดทฤษฏีตาง ๆ ที่ทําใหเกิดการบาดเจ็บหลายทฤษฏีดวยกัน แตในปจจุบันนี้ทฤษฏี ที่ยอมรับกันมากที่สุดไดแก ทฤษฏีพลังงานกอใหเกิดบาดเจ็บ Haddon ไดกลาวไววา เปนเรื่องสม ดวยเหตุผลที่จะอธิบายสาเหตุการเกิดบาดเจ็บ ซึ่งอาจเกิดขึ้นไดโดยคาดคิดหรือโดยตั้งใจใหเกิดขึ้นก็ ตาม จัดอยูใ นประเภทหนึ่งประเภทใดใน 2 ประเภท ดังตอไปนี้


7 ประการที่หนึ่ง ไดแก การบาดเจ็บซึง่ เกิดจากการเกิดพลังงานมากระทบรางของคนเราใน ปริมาณที่สูงเกินกวารางกายหรือสวนหนึ่งสวนใดของรางกายจะทนตอแรงกระทบนัน้ ได (Injury thresholds) ดังอธิบายในตารางที่ 1.1 ประการที่สอง เกิดการแลกเปลี่ยนพลังงานระหวางรางกาย หรือสวนหนึ่งสวนใดของ รางกายกับแรงซึ่งมากระทบในลักษณะที่ผดิ ปกติ (Abnormal energy exchange) แตยังไมมีการปลอย พลังงานใหปรากฏออกมา เปรียบเสมือนรถยนตที่กําลังติดเครื่องยนต ทําใหเกิดพลังงานขึ้นแลวแตยัง ไมขับเคลื่อน ตอมาจะมีการปลอยพลังงานออกมา ซึ่งเปรียบไดกับรถยนตขับเคลื่อนออกมาบนถนน แลว และเมื่อรถคันนั้นวิ่งมาชนคน ถาชนเบา ๆ รางกายหรือสวนหนึ่งสวนใดของรางกายตอแรง กระทบได ก็จะไมเกิดบาดเจ็บ แตถาแรงกระทบนัน้ สูงเกินกวารางกายหรือสวนหนึ่งสวนใดของ รางกายทนทานไมได ก็จะเกิดบาดเจ็บขึน้ ตารางที่ 1.1 แสดงการเกิดบาดเจ็บประเภททีห่ นึ่ง ซึ่งเกิดจากพลังงานที่เกิดขึน้ มากระทบ รางกายเกินกวาที่รางกายจะยอมรับได (Overbody Injury Threshoids) ตัวอยาง ชนิดของพลังงาน ลักษณะบาดเจ็บที่เกิด แรงกระทบ รางกายหรืออวัยวะของรางกาย การบาดเจ็บซึง่ เกิดจากแรง กระทบมากจากวัตถุกําลัง (Mechanical) เคลื่อนที่เปลี่ยนรูป ฉีกขาด เคลื่อนที่ เชน กระสุนปน ของมี แตกหัก คม สิ่งที่ตกจากที่สูง รถชน ความรอน เกิดการอักเสบ ไหม ไฟไหม หรือน้ํารอนลวก (Charring) และเผาเปนเถา (Thermal) (incineration) กระแสไฟฟา เกิดการรบกวนของหนาที่ ไฟฟาดูด ไหม เกิดการรบกวน ประสาท และกลามเนื้อ (neuro- ระบบประสาท เชน ในการช็อต muscular function) การแข็งตัว ดวยกระแสไฟฟา (coagulation) ไหมเกรียม (Charring) และเผาเปนเถา (incineration) แสงรังสี(Radiation) เซลลถูกทําลาย ถูกรังสี หรือ กัมมันตภาพรังสี สารเคมี(Chemical) เกิดการอักเสบ ปฏิกิริยาตอ ถูกสารเคมี กรด ดาง รวมทั้ง เนื้อเยื่อ แลวแตชนิดของ toxins จากพืชและสัตว สารเคมี การตายของเซลล ที่มา : D.W. Clark & B.MacMahon, preventive Medicine, Boston, 1967


8

ตารางที่ 1.2 แสดงถึงการบาดเจ็บประเภทที่สอง เกิดจากการผิดปกติของการแลกเปลี่ยน พลังงานระหวางรางกาย หรือสวนของรางกายกับสิ่งที่มากระทบ (Abnormal Energy Exchange) ชนิดของพลังงาน ออกซิเจน (Oxygen Utilization) ความรอน (Thermal)

ชนิดของบาดเจ็บหรือการ เกิดเปลี่ยนแปลง การบกพรองทางสรีระวิทยา เนื้อเยื่อ หรือรางกายตาย การบกพรองทางสรีระวิทยา เนื้อเยื่อ หรือรางกายตาย

ตัวอยาง จมน้ํา รางกายถูกทับ พิษจาก CO และ HCN เสนเลือดขาด การบาดเจ็บเกิดจากการปรับ อุณหภูมิของรางกายเสียไป หิมะกัด (frosbite) และแข็งตาย เพราะเย็นจัด

ความหมายของอุบัติภัย เราสามารถพิจารณาคําจํากัดความของอุบัติภัยไดดังนี้

อุบัติภัย หมายถึงภัยทีเ่ กิดจากอุบัติเหตุ เนื่องจากการจราจรทางบก ทางน้ํา หรือทางอากาศ อุบัติเหตุเนื่องจากการทํางาน และอุบัตเิ หตุที่เกิดขึ้นในบานและในที่สาธารณะ นายกรัฐมนตรี วาดวยการปองกันอุบัติภยั แหงชาติ)

(ระเบียบสํานัก

อุบัติภัย หมายถึงเหตุการณที่เกิดขึ้นโดยไมคาดฝนมากอน ความเสียหายใหแกทรัพยสิน นายแพทยวิจิตร บุญยะโหตระ)

โดยไมเจตนา เปนผลใหเกิด เปนอันตรายแกรางกายและจิตใจ และอาจทําใหสญ ู เสียชีวิตได (ศ.

อุบัติภัย หมายถึงเหตุการณใด ๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นเองโดยมิไดตั้งใจ หรือมิไดคาดคิดมากอน อาจเกิดขึน้ เองตามธรรมชาติหรือมาจากการกระทําของมนุษย และเปนผลใหเกิดความเสียหายแก รางกายของเราและผูที่เกีย่ วของ ทําใหบาดเจ็บลมตาย หรือเกิดความเสียหายแกทรัพยสิน (นาม จง เจียมจิตต)

อุบัติเหตุ หมายถึงเหตุการณที่เกิดขึน้ โดยมิไดวางแผนไวลวงหนา

ซึ่งกอใหเกิดการ บาดเจ็บ พิการ หรือตาย และทําใหทรัพยสินเกิดความเสียหาย (วีรพงษ เฉลิมจิระรัตน และคณะ)


9 จากคําจํากัดความขางตน สามารถสรุปไดวา อุบัตภิ ัย หมายถึงภัยที่ทุกคนไมปรารถนาซึ่ง เกิดขึ้นไดโดยไมรูตัวมากอน และไมมีเจตนาจะใหเกิดขึน้ เพราะหากเกิดขึ้นแลวอาจเกิดความเสียหาย แกชีวติ และทรัพยสินได

สาเหตุนําของการเกิดอุบัติเหตุ 1. เกิดจากความผิดพลาดของการบริหารจัดการความเสี่ยง 1.1 ไมมีการสอน หรือการอบรมเกี่ยวกับดานความปลอดภัย 1.2 ไมมีมาตรการขอกําหนด ใหปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย 1.3 ไมมีการวางแผน และเตรียมงานดานความปลอดภัยไว 1.4 ไมมีการแกไขจุดที่อันตรายลอแหลม ในสถานที่ปฏิบัติงาน หรือภายในโรงพยาบาล 1.5 ไมมีการจัดหาอุปกรณเพื่อความปลอดภัยให 1.6 ผูบริหารไมมีความสําคัญ 2. เกิดจากสภาวะทางดานจิตใจ ของผูปฏิบัติงาน 2.1 ขาดความระมัดระวัง 2.2 ความตั้งอกตั้งใจ 2.3 มีทัศนคติที่ไมถูกตอง 2.4 อารมณออนไหวงาย และขี้โมโห 2.5 หวาดกลัว ขวัญออน ตกใจงาย 2.6 สมองมีปฏิกิริยาในการสั่งงานชา เปนตน 3. เกิดจากสภาพของรางกายไมเหมาะสม 3.1 ออนเพลีย 3.2 หูหนวก 3.3 สายตาไมดี 3.4 รางกายไมเหมาะสมกับงาน 3.5 เปนโรค 3.6 รางกายพิการ

สาเหตุโดยตรงของการเกิดอุบัติเหตุ การปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัย เปนการกระทําที่ไมปลอดภัยของเจาหนาที่ ในขณะทีก่ ําลัง ทํางาน ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายได จากขอมูลทางสถิติการเกิดอุบัตเิ หตุ พบสวนใหญของอุบัติเหตุ ทั้งหมด เกิดจากสาเหตุนี้ 1. การใชเครื่องมือโดยพลการ โดยไมไดรับอนุญาต 2. การทํางานที่เร็วเกินไป เกินกําลังของเครื่องมือ


10 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

ทําการซอมเครื่อง ขณะที่กําลังใชงาน ถอดอุปกรณความปลอดภัยออกจากเครื่อง โดยไมมีเหตุอันควร ไมใสใจตอปายหามเตือนตาง ๆ เลน หยอกลอกันขณะทํางาน ใชเครื่องมือที่ชํารุด ใชเครื่องมือไมถูกวิธี ยืน หรือนั่ง หรือใชทาทางในการทํางานทีไ่ มเหมาะสม ไมสวมใสอุปกรณที่ปองกันอันตราย ประมาท เปนตน

สาเหตุที่เกิดอุบัติเหตุ 1. สาเหตุมี ดังนี้ 1.1 การปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัย เสี่ยงตอการบาดเจ็บ เชน เครื่องจักรมีคม มีความเร็ว 1.2 สภาพแวดลอม ไมปลอดภัย ขาดการปองกันอันตรายจากเครื่องจักรและอุปกรณ 2. สาเหตุทางออม ขาดการบริหารความปลอดภัย เชน ขาดการปฏิบัติตามระเบียบ สาเหตุทางกายภาพ ของบุคคล เชน การเหนื่อย ขาดการพักผอนที่เพียงพอ สาเหตุจากลักษณะทางจิตใจ เชน ความเครียด ขาดความรับผิดชอบ และการประมาท ธีรวุฒิ บุณยโสภณ และ วีรพงษ เฉลิมจิระรัตน (2527 : 222 – 27) กลาวไววา อุบัตเิ หตุที่ เกิดในโรงงาน จะทําใหการผลิตหยุดชะงักแลวยังตองเสียคาพยาบาลจงชวยกันปองกันอุบัติเหตุที่ เกิดขึ้นใหนอยที่สุด และแบงประเภทของอุบัติเหตุออกเปน 2 ประเภท คือ 1. อุบัติเหตุที่เกิดกับบุคคล 1.1 เกิดจากการทํางานกับเครื่องจักร ซึ่งสวนใหญจะใชไฟฟา คนงานเกิดอุบัติเหตุได หรือเครื่องเกาไมมีระบบปองกันอันตรายที่ดีพอ ทําใหเกิดอันตรายตออวัยวะของรางกาย ทําใหพกิ าร หรือเสียชีวิตได 1.2 เกิดจากสิ่งแวดลอมในการทํางานเปนอันตรายตอคนงานยังแบงออกได 4 ประเภท คือ 1.2.1 ทางฟสิกส ไดแก อุณหภูมิ แสงสวาง เสียงดัง การระบายอากาศ 1.2.2 ทางเคมี ไดแก ควันพิษ หรือแกส พิษที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีใน กระบวนการผลิต เชน สารตะกัว่ สังกะสี สารปรอท 1.2.3 ทางสุขาภิบาล ความสะอาดบริเวณโรงงาน เชื้อโรคจากแมลงและสัตว นํามาสูคนงานได 1.2.4 ทางดานจิตใจ การมอบงานมากเกินไป ทํางานซ้ํา ๆ เกิดการเบื่อ


11 2. อุบัติเหตุที่เกิดกับทรัพยสิน เชน โรงงานไดรับความเสียหายเกี่ยวกับเครื่องจักรผลผลิต ไมเปนไปตามที่กําหนด ถามีคนงานบาดเจ็บตองเสียเวลาตองรักษาบาดแผล และสภาพจิตใจดวย หรือ ถาเกิดอัคคีภัยถือวารายแรงมาก เกิดการสูญเสียทรัพยสนิ มากมาย อุบตั ิเหตุนนั้ เกิดขึ้นไดเสมอ ทุกเวลา ทุกขณะ ทุกสถานที่ จะมีองคประกอบในการเกิดแตกตางกัน ซึ่ง อารี เพชรผุด (2529 : 169 – 171) ได ใหแนวคิดวา องคประกอบสวนบุคคลที่เกี่ยวของกับอุบัติเหตุ มีดังนี้ 2.1 สติปญญา (Intelligence) สติปญญาเกี่ยวของกับพฤติกรรมของการทํางาน การทีจ่ ะรับคนเขาทํางานมีสิ่งจําเปน มาก อุบัติเหตุจะเกิดกับคนงานที่มีสติปญญาต่ํา คนที่มีสติปญญาสูงจะทํางานไดรับอุบัติเหตุนอย 2.2 การเห็น (Vision) การที่บุคคลมองเห็นชัดหรือไม ทําใหเกิดอุบัติเหตุได การรับบุคคลเขาทํางานตอง ทดสอบเกี่ยวกับการมองเห็น (Visual Test) 3.3 ลักษณะบุคลิกภาพ (Personality Characteristics) บุคลิกบางอยางของตนเกี่ยวของกับอุบัติเหตุในการทํางาน เชน 3.3.1 อารมณ เมื่อไมมีความสุข ผิดหวัง ก็สามารถทําใหเกิดอุบัติเหตุได 3.3.2 ความวิตกกังวล ชอบเก็บตัว ก็ทําใหเกิดอุบตั ิเหตุได 4. ความเหนื่อยลา (Fatigue) เมื่อมีการผลิตผลงานมาก ๆ อุบัติเหตุก็อาจจะเกิดเนื่องจากเหนื่อยลาเรงผลงาน ทําใหผลผลิตต่ําได เพราะเกิดอุบัติเหตุบอย ๆ เพราะเหนือ่ ยลาตอการทํางาน

อาจจะ

5. ประสบการณ (Experience) การทํางานเมื่อมีประสบการณมากขึ้น อุบัติเหตุกจ็ ะลดนอยลง ดังนัน้ เมื่อมีการทํางาน นาน ๆ ตองมีการจัดการฝกอบรมหรือรับคนงานใหม ๆ ที่มีอายุยังนอย ตองระวังเนื่องจากยัง ขาดประสบการณในการทํางาน 6. การยอมเสี่ยง (Risk Acceptance) การยอมเสี่ยง เปนลักษณะของบุคคลที่เมื่อทํางานแลวเคยผิดหวังมากอนเลยทดลองเสี่ยง ทําเปนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเพราะประมาท


12 จํานวนอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในโรงงานยอมมากนอยแตกตางกัน การเกิดอุบัติเหตุจากครั้งแรก ทําใหเกิดความสูญเสีย จะมีความเชื่อมั่นในตัวเอง มีแนวโนมของการอุบัติเหตุอีก ขอสังเกต เชน คน ที่ขี่จักรยานยนต เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุลื่นลม จะตองมีความระมัดระวัง เพราะกลัวจะเกิดแบบเดิมอีก เปน ตน แนวโนมของการเกิดอุบัติเหตุ (Accident Proneness) มีหลายสาเหตุ อุมาพรรณ ชูชื่นกลิ่น และ คณะ (2529 : 38 – 41) ไดกลาวถึงแนวโนมของการเกิดอุบัติเหตุ ดังนี้ 1. สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ (Causes of Accident) 1.1 สภาพการทํางานที่ไมเหมาะสม เชน อุณหภูมิ ปริมาณความชื้น แสงสวางไม เพียงพอในการทํางาน 1.2 วิธีการทํางาน ชั่วโมงในการทํางานมากเกินไป เกิดการเมื่อยลางานที่หนักเกินไป เรงทํางานเร็ว ๆ 1.3 เกี่ยวกับตัวคนทํางาน อายุนอยเกินไป ประสบการณทํางานนอย สุขภาพไมดี ความบกพรองของรางกาย ความแตกตางทางเพศที่ไมเหมาะสมกับชนิดของงาน 2. ปญหาการฝกอบรมการปองกันอุบัติเหตุ (The Problem of Accident preventing Training) การฝกอบรมเปนการปองกันอุบัติเหตุได เพราะการทํางานในโรงงานตองกําลังคนงาน และเครื่องจักร ควบคูกันไป ตองสงคนไปอบรมการใชเครื่องจักร บํารุงรักษา ซอมแซม ทดลองการใช อยางปลอดภัย ฝกกฎระเบียบของโรงงาน โดยเปนตอนแรกคนงานตองเรียนรูว ิธีการทํางานที่ ปลอดภัย และตอนที่ 2 ตัวเองจะตองไดการกระตุนใหทํางานดวยวิธีที่ปลอดภัยนัน้ ดวยตนเอง สาเหตุสําคัญของการเกิดอุบัติเหตุสามารถแบงออกไดเปน 2 ประการ ไดแก 1. การกระทําที่ไมปลอดภัย (unsafe act) และ 2. สภาพการณทไี่ มปลอดภัย (unsafe condition) การกระทําที่ไมปลอดภัย (Unsafe act) ไดแก - การทํางานไมถูกวิธี หรือไมถูกขั้นตอน - การไมปฏิบัติตามกฎของความปลอดภัย - ความไมเอาใจใสในการทํางาน จนประมาท พลั้งเผลอ - การมีนิสัยชอบเสี่ยง หรือรีบรอนที่จะทําใหเสร็จ - การแตงกายไมเหมาะสม เชน ไมใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - การถอดเครื่องกําบังอันตราย (Guard) ของเครื่องจักรออกดวยความรูสึกรําคาญ


13 - การใชเครื่องมือ หรืออุปกรณตาง ๆ ไมเหมาะกับงาน - การขาดวินยั หยอกลอกันระหวางทํางาน - การทํางานโดยที่รางกายหรือจิตใจไมพรอมหรือผิดปกติ เชน เปนไขไมสบาย สภาพการณทไี่ มปลอดภัย (Unsafe condition) ไดแก - ไมมีกําบังปองกันอันตรายสวนที่เปนอันตรายของเครื่องจักร - เครื่องจักรกล เครื่องมือ หรืออุปกรณชํารุดบกพรอง - เครื่องกําบังปองกันอันตรายไมถูกตองหรือชํารุด - ระบบไฟฟา หรืออุปกรณไฟฟาชํารุด บกพรอง - ความไมเปนระเบียบเรียบรอยและสกปรกในการจัดเก็บวัสดุ - สภาพแวดลอมในการทํางานที่ไมปลอดภัยหรือไมถูกสุขอนามัน เชน พื้นโรงงานขรุขระ พื้นลื่น การระบายอากาศไมเพียงพอ

แนวทางในการปองกันอุบัติเหตุ การคิดหาแนวทางปองกันอาจมีหลากหลายวิธี บอยครั้งที่แนวทางปองกันอาจไมครอบคลุม ทั้งหมด มีตกหลนไปบาง ทําใหการปองกันไมเกิดประสิทธิภาพเทาทีค่ วร ดังนั้น จึงตองมีหลักในการ หาแนวทางใหครอบคลุมไดทั้งหมด เพื่อจะไดไมเกิดอุบัติเหตุที่ซ้ํารอยขึ้นมาอีก ดวยหลัก 3E กับ ตําแหนงการปองกัน หลัก 3E ไดแก 1. Engineering 2. Education และ 3. Enforcement 1. Engineering คือ การใชความรูดานวิศวกรรมศาสตรมาจัดการ เชน การออกแบบ เครื่องจักรใหมีการใชงานทีป่ ลอดภัย การติดตั้งเครือ่ งปองกันอันตราย การวางผังโรงงานและ ออกแบบสภาพแวดลอมในการทํางาน 2. Education คือ การใหการศึกษา หรือฝกอบรมคนงาน ตลอดจนผูที่เกีย่ วของในการ ทํางาน ใหมคี วามรูความเขาใจเกีย่ วกับการปองกันอุบัติเหตุ การฝกใชเครื่องมือหรือวิธีการทํางานที่ ปลอดภัย 3. Enforcement คือ การออกมาตรการควบคุมบังคับใหคนงานปฏิบัติตาม หากฝาฝนหรือไม ปฏิบัติตามจะตองถูกลงโทษ เพื่อใหเกิดความสํานึกและหลีกเลี่ยงการกระทําที่ไมถูกตอง การใชหลัก 3E นี้ จะตองดําเนินการให E ทั้ง 3 ไปพรอมกัน จึงจะทําใหการปองกันอุบัติเหตุ มีประสิทธิภาพสูงสุด ถามีการดําเนินการเฉพาะ E ตัวใดตัวหนึ่งก็จะเกิดปญหาขึน้ เชน เครื่องจักรที่ ออกแบบมาดีมีเครื่องปองกันอันตราย (Machine Guarding) ติดตั้งไว คนงานอาจเห็นวาเกะกะไม


14 จําเปนจึงถอดออก เพราะขาดการฝกอบรม หรือชี้แนะใหเห็นอันตรายที่เกิดขึ้น หากถอดเครือ่ ง ปองกันอันตรายออก หรือวามีการอบรมมาอยางดีแลวแตขาดการออกกฎขอบังคับคนงานอาจเห็นวา การดนั้นเกะกะ ทําใหทํางานไมสะดวก จึงถอดทิ้งเสียเพราะตองการทํางานใหเร็วขึ้น ทั้ง ๆ ที่รูวา อันตรายแตก็ยอมเสี่ยงเพราะเขาใจวาจะสามารถเพิ่มผลผลิตได ในทํานองเดียวกันแมจะมีขอบังคับ แลว หากคนงานไมไดรับการแนะวิธีการทํางานที่ถูกตองปลอดภัยคนงานก็อาจจะปฏิบัติงานอยางผิด วิธี เนื่องจากความไมรูเปนเหตุหรือการทํางานที่ผิดพลาด ไมถูกขั้นตอน เปนผลทําใหระบบปองกัน นั้นเสียหายไมทํางาน ตําแหนงการปองกัน ทฤษฎีการเกิดอุบัติเหตุในยุคแรก ๆ ของวิชาความปลอดภัย คือทฤษฏีโดมิโน โดยคิดวา สภาพการณ หรือสิ่งแวดลอมทางกายภาพ เปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุขึ้น จนกระทั่งป พ.ศ.2471 ไฮนริช เสนอแงมุมใหมวา มนุษยตางหากที่เปนสาเหตุหลัก หาใชสิ่งแวดลอมไม ไฮนริช กลาววาอุบัตเิ หตุที่ทําใหคนบาดเจ็บจะเกิดจากปจจัยตอเนื่อง ไมวาจะเปนการกระทําที่ไมปลอดภัยของ ผูปฏิบัติงานหรือเครื่องจักร หรือสภาพแวดลอมที่เปนอันตรายโดมิโน 5 ตัว ที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุ คือ 1. ภูมิหลังและสภาพแวดลอมทางสังคม 2. ความบกพรองสวนบุคคล 3. การกระทําหรือสภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัย 4. อุบัติเหตุ 5. การบาดเจ็บ เมื่อโดมิโนตัวที่ 1 ลม ก็จะทําใหโดมิโนตัวตอ ๆ ไปลมตามกันไป นอกเสียจากจะหยิบ โดมิโนตัวใดตัวหนึ่งออกไป เพื่อตัดวงจรความตอเนื่องไมใหโดมิโนตัวถัดไปลมเมือ่ พิจารณาดู ก็จะ พบวาการหยิบโดมิโนตัวกลางคือ การกระทําหรือสภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัยออก โดยในตัวที4่ และ 5 ก็จะไมลม คือไมเกิดอุบัติเหตุและไมมีการบาดเจ็บ

ผลกระทบจากการเกิดอุบัติเหตุ 1. สรางความสูญเสียตอทรัพยสนิ เชน รถยนตชนกัน สรางความเสียหายคือ รถยนตพัง หรือ สูญเสียทรัพยสินจายเงินชดเชยคาเสียหายใหแกผูอื่น 2. รางกายไดรับบาดเจ็บ สูญเสียอวัยวะ หรือหากรุนแรงอาจสูญเสียชีวิตในที่สุด 3. สรางความเสื่อมเสียชื่อเสียง การยอมรับในทางธุรกิจ เชน บริษัทรถทัวรใดมักเกิด อุบัติเหตุบอย ๆ ลูกคาผูใชบริการอาจใชบริการของบริษัททัวรอื่นแทน ทําใหรายไดของบริษทั ลด นอยลง กลาวคือ หากเราตองการจะกําจัดและลดสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุลง เราสามารถ พิจารณาที่ตําแหนงการปองกัน (Point of protection) กอน เพื่อประเมินความเปนไปไดของการ


15 แกปญหาวา ควรทําที่จุดใด ตามลําดับ จากนั้นจึงพิจารณาตอไปวา เมื่อเลือกที่จะปองกันที่จุดนั้นแลว ควรจะตองดําเนินการแตละ E ในหลัก 3E อยางไร เพื่อใหตําแหนงการปองกันสามารถปองกัน อุบัติเหตุไดอยางสัมฤทธิผล ตัวอยางเชน เมื่อตรวจพบวา เครื่องจักรมีเสียงดังเกินมาตรฐานมาก เรา พิจารณาแลวเห็นวาควรจะแกปญหาที่ทางผาน(Pass) คือสรางหองครอบเครื่องจักรนัน้ เสีย ซึ่งแนนอน วาการจะสรางหองครอบดังกลาวก็ควรอาศัยความรูดาน Engineering เพราะไมเชนนั้น เมื่อสราง เสร็จอาจแทบไมไดลดระดับความดังเลย จากนัน้ ก็ตอง Education แกพนักงานทีอ่ ยูบริเวณใกลเคียง หรือตองเขาไปทํางานใกลหรือภายในหองครอบ และสุดทายคือกําหนดมาตรการ Enforcement โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อตองทํางานในหองครอบดังกลาว

ชนิดของอุบัติภัย อุบัติภัยในงานอุตสาหกรรม จะแตกตางกันออกไปตามลักษณะงานในอุตสาหกรรมนั้น ๆ เมื่อประมวลเขาดวยกัน อุบตั ิภัยสามารถแบงออกไดดังตอไปนี้ 1. การยกของขึ้นลง (Handling objects) แบงออกเปน 2 อยาง คือ ยกดวยกําลังคนและ ยกดวยเครื่องจักรกล 1.1 ยกดวยกําลังคน 1.1.1 มือและแขน บาดแผลที่ไดรบั เกิดจากเสี้ยนตํา ของมีคมบาด ตะปูตํา ถูกวัตถุที่ ยกหนีบกับวัตถุอื่น ๆ หรือประตู หรือสวนอาคารที่ยื่นออกมา นอกจากนั้นก็มีบาดแผลที่เกิดจากมุม คมของวัตถุที่ยก เหล็กรัดลัง หรือหีบหอ หรือลวดรัดหีบหอ 1.1.2 การปวดหลังและไสเลื่อน (Hernia) โรคปวดหลังเกิดจากการยกของที่ผิดวิธี กลาวคือ ไมยกของโดยบังคับใหหลังตรง และงอเขาเพื่อใหหนาขาทั้งสองรับน้ําหนักขณะทีย่ ก จะตองแยกเทาหางพอประมาณโดยใหเทาหนึ่ง ล้ําไปขาหนาเล็กนอย และปลายเทาชี้ไปทางทิศที่จะยก ของไป การยกวิธีนี้ จะทําใหยกรักษาสมดุลตัวเองได และจะลดอาการปวดหลังลงดวย สําหรับไส เลื่อนนั้นไมไดเกิดจากการยกของผิดวิธีเพียงอยางเดียว ความโนมนอมโดยธรรมชาติมีสวนทําให เกิดขึ้นดวย 1.1.3 เทา บาดแผลที่เทาสวนใหญเกิดจากวัตถุสิ่งของหลนทับเทา ซึ่งจะเกิดขึ้น บอย ๆ ในการยกของพรอมกันหลายคน และเกิดความเขาใจผิดในระหวางผูยกดวยกัน ทางที่ดใี นการ ยกของก็คือพยายามอยายกของ ดวยลักษณะการยกที่ไมพรอมเพรียง ยกของบนที่ลื่นหรือของที่ยก รูปราง ไมสมดุลพลิกงายและประการสําคัญก็คือ จะตองกะลวงหนาวาจะวางของไวที่ใด 1.1.4 รางกายและศีรษะ บาดแผลที่เกิดตามบริเวณรางกายหรือศีรษะมักจะเกิด จากการขนวัตถุที่เปนอันตรายตกเรีย่ ราด หรือของอื่น ๆ ที่บรรจุหีบหอไว ไมเหมะสมหรือไมแนน หนา หรือขาดการตรวจสอบดูวาของที่ผูยกไปนั้นมีอะไรบรรจุอยู


16 1.1.5 การยกของพรอมกันหลายคน เหล็กคาน เหล็กราง หรือสิ่งของที่มีลักษณะ กวางควรจะยกโดยผูคุมงานเปนผูสั่งเพียงคนเดียว และทุกคําที่สั่งจะตองชัดเจนและไมเร็วเกินไป ผู ยกก็จะตองปฏิบัติตามพรอมกัน 1.1.6 รถเข็นที่ใชกําลังคนฯลฯ อยากองสิ่งของสูงจนมองทางขางหนาไมเห็น ระวัง มือขณะเข็นผานประตูและเมือ่ จะเลี้ยว จะตองตีวงใหกวาง 1.1.7 การขน ดูทิศทางขางหนาตลอดเวลา และอยาเข็นวัตถุกองสูงมากเกินไป ซึ่ง จะทําใหไมอาจมองเห็นเสนทางขางหนาได 1.2 ยกโดยกําลังเครื่องยนต อุบัติภัยทีก่ ลาวถึงนี้ เปนเรื่องเกี่ยวกับการใชอุปกรณยกของดวยกําลังเครื่องยนต มือและนิว้ มืออาจจะถูกหนีบขณะสอดสะลิงลงบนขอเกี่ยว ขณะยกขอเกี่ยว การคลองและถอดสะลิง รัดวัตถุที่ยก การใช Fixing dogs (หนีบของขณะยก) หรือตะขอสับเกีย่ วของ วิธีการลดความยาวของ สะลิงดวยการใชสลักหรือผูกเงื่อน การใชสะลิงยกของดวยวิธีการผิด ๆ เหลานี้มักกอใหเกิดความ เสียหายขึน้ ได การเคาะสะลิงโดยใชชะแลงแทนที่จะใชไมเปนวิธีปฏิบัติงานที่ไมถูกตองเพราะอาจทํา ใหสะลิงเสียใชการไมไดตอไป การยกของควรจะทดลองยกใหลอยตัวเพียงเล็กนอยกอน เมื่อเห็นวาปลอดภัยดีแลว จึงจะยกขึ้นเต็มที่ อันตรายอื่น ๆ ก็ไดแกการยกสิ่งของเคลื่อนจากหรือวางลงพื้นรองรับที่ไมมั่นคง หรือ วางของไวในลักษณะไมสมดุลอาจพลิกหรือกระดกได ลมแรงอาจทําใหของที่ยกลอยตัวแกวงไปมา ซึ่งทําใหลําบากตอการบังคับควบคุม ควรจัดหาแพ็กกิ้งหนุนรองรับมุมคมของวัตถุที่ยกเพื่อปองกันสะ ลิงชํารุด ถาใชโซแทนสะลิงก็ควรจะกระทําเชนเดียวกันเพื่อความปลอดภัย ลูกโซที่พับงานหรือสะลิง ที่หักมุม เนื่องจากไดรับแรงเคนอยางมากไมควรนํามาใชงานอีก ไมเนือ้ แข็งมีความคมพอที่จะตัดลวด สะลิงขาดได การใชสัญญาณไมวาดานใหเสียงหรือใชมือ ควรจัดระบบใหเปนมาตรฐานอยาง เดียวกัน และการใหสัญญาณจะตองชัดเจน วัตถุที่ยกมักจะหยอนลงทับเทาหรือมือ เมื่อผูยกของขาด ความระมัดระวัง สนใจแตตาํ แหนงทีจ่ ะวางของเพียงอยางเดียว การใชรถ Fork lift ในบางกรณีที่อาจกออุบัติเหตุขึ้นเพราะรถ Fork lift เลี้ยวไดใน วงแคบและปกติก็มักจะบรรทุกของสูงมาก จนผูขับไมอาจมองทางขางหนาไดชัดเจนพอ ผูเดินเทาจึง ตองใชความระมัดระวัง เพราะอาจจะถูกทับหรือตัวรถ Fork lift เองอาจจะพลิกคว่าํ ผูทําหนาที่จดั สง ของเพื่อบรรทุกจะตองยืนในที่ที่ปลอดภัยขณะที่คันยกของกําลังยกขึ้นหรือลง 2. การหกลมหรือตกจากที่สูง (Falls of persons) ตามสถิติซึ่งทางประเทศอังกฤษไดรวบรวมไว ปรากฏวาอุบัติภยั ที่เกิดจากการหกลมหรือ ตกจากที่สูงมีมากถึง 13 % ของอุบัติภัยทีเ่ กิดขึ้นทั้งหมดดวยเหตุผลตาง ๆ กัน และ 30% ของอุบัติภัย


17 นี้ตองสูญเสียชีวิตไป อุบัตภิ ัยเหลานี้ปรากฏวาเกิดเมื่อบุคคลเดินบนพื้นราบเสียสวนใหญ และ สาเหตุก็คือ พื้นไมเรียบ พื้นนองดวยน้ํามันหรือน้ํา สิ่งของที่วางเกะกะบนพื้น เชน ตะปู เครื่องมือ เศษ ไม หรืออื่น ๆ สวมรองเทาขาดหรือไมเหมาะ สายตาไมดหี รือใชแวนไมถูกกับสายตา มีควัน ฝุน หรือ ไอน้ําจนมองไมเห็นทาง แสงสวางไมเพียงพอ มีแสงจาหรือมีเงา ลักษณะการเดินไมเหมาะกับลักษณะ พื้น พื้นที่ขรุขระหรือลื่นมากอาจจะซอมแซมแกไขใหดีได แตถายังไมไดทําบุคคลที่เดินก็จะตอง ระมัดระวังการใชความเร็วในการเดินบนพื้นนั้น ๆ 2.1 ชางมักจะลม หรือสะดุดเครื่องมือและสิ่งของที่ตนเอง หรือผูอื่นวางทิ้งไวบนพืน้ อุบัติภัยจากการหกลมใกลเครื่องมือจักรกล หรือเครื่องกลึงเกิดมาแลวมากมาย จนเปนเหตุใหตอ ง สูญเสียมือแขน และบางครัง้ ถึงชีวิต 2.2 อุบัติภยั ตกจากที่สูงเกิดขึ้นไดจากสาเหตุดังไดกลาวแลวเชนกัน รวมทั้งสาเหตุจากการ ที่เปดฝาทอแลวไมปดหรือไมจัดรั้วกัน นัง่ รานไมมั่นคง ไมที่ใชพาดเปนทางเดินกระดกได การตั้ง บันไดไมถูกตอง ไมพาดสําหรับเดินลากขึน้ ที่สูงพลิกได ไมมีรั้วกั้นเฉลียง ยืนบนพืน้ ที่ไมมั่นคง เชน บนหีบหรือถังที่ตอกันขึ้นไป ปนขึ้นบนพืน้ ทรงกลม เชน ถังน้ํามัน หมอน้ํา ซึ่งทางที่ดคี วรใชบันได 2.3 อุบัติภัยเคยเกิดจากการใชบันไดไมถูกวิธี เปนสาเหตุใหผูใชหลนลงมา (วิธีการใช บันไดจะไดกลาวตอไป) ผูปฏิบัติงานขึ้นไปซอมหลังคาแลวหลุดรวงทะลุกระเบื้องกระดาษ สังกะสีที่ ผุ หรือกระจก 2.4 ในการปฏิบัติงานบนทีส่ ูง ควรจะใชเข็มขัดรัดเพื่อความปลอดภัย ราวหรือรั้วปองกัน ผูปฏิบัติงานตกลงมาควรติดตั้งเทาที่จะกระทําได แมวางานนั้นจะเปนงานชั่วคราวก็ตาม 2.5 อุบัตภิ ัยที่บุคคลจะหลนตกลงไปในทอหรือหลุมที่ขุดไวจะไมเกิด ถาผูขุดหลุม หรือ เปดฝาทอกั้นรัว้ ไวโดยรอบ ผูคนที่เดินผานไปมาจะไดรแู ละใชความระมัดระวัง 3. ถูกกระแทกจากสิ่งของยกลอยตัว (Falls of Objects) อุบัติภัยสวนใหญที่เกิดปรากฏวาสิ่งของที่หลนลงมามีขนาดเล็กและเบา นัตขนาด 3/4 นิ้ว ถาหลนลงมาดวยระยะปานกลางก็อาจทําใหผูถูกกระแทกเสียชีวติ ได จึงอาจกลาวไดวาในการ ปฏิบัติงานบนที่สูง ความเปนระเบียบไมวางสิ่งของทิ้งเกลื่อนกลาดเปนเรื่องสําคัญมาก อุบัติภัยเกี่ยวกับถูกกระแทกจากสิ่งของยกลอยตัวนี้ มีสาเหตุสําคัญซึ่งอาจแบงไดคราว ๆ 3 ประการ 3.1 สิ่งของที่ผูปฏิบัติงานถือไวแลวหลุดมือตกลงมา เชน เครื่องมือ 3.2 ผูปฏิบัติงานสะดุดสิ่งของที่วางไว เชน เครื่องมือ หรืออุปกรณบางชิ้นรวงหลนลงมา หรือสิ่งเหลานัน้ ตกลงมาดวยความสั่นสะเทือน หรือแรงลม 3.3 ประกอบโครงสรางไวไมแข็งแรง หรือโครงสรางนั้นชํารุดทรุดโทรม ซึ่งควรจะไดรับ การตรวจสอบหรือเปลี่ยนใหม


18 ทางเดินปฏิบัตงิ านบนที่สูง ควรจะมีไมตีขอบกั้นที่พื้นเพือ่ ปองกันสิ่งของรวงหลน ชางฟต ที่ขึ้นไปปฏิบัติงานก็ควรใชกระบะหรือถุงเครื่องมือ แทนที่จะวางกองไวกับพื้น และเพื่อปองกัน อุบัติภัยใหดีขนึ้ บุคคลที่เดินผานบริเวณที่มีผูปฏิบัติงานบนที่สูงจะตองใชความระมัดระวัง ทางที่ดีก็ คือกั้นขอบเขตที่พื้นเบื้องลาง หรือปกปายเตือนใหรูถึงเขตอันตราย 4. เครื่องมือ (Hand Tools) อุบัติภัยที่เกี่ยวกับเครื่องมือ สวนใหญเนื่องมาจากใชเครือ่ งมือที่ชํารุดหรือไมเหมาะกับงาน และบางสวน เนื่องจากใชเครื่องมือไมถูกตอง ผูปฏิบัติงานเมื่อเห็นวาเครื่องมือชํารุดก็ควรจะสงซอม หรือซอมดวยตนเอง 4.1 เครื่องมือที่ชํารุด 4.1.1 คอน ขวาน อีเตอ พะเนิน ถาดามไมยึดหัวไวไมแนน หรือไมที่ใชทําดามแตก หรือบิ่นยอมเสี่ยงภัยในการใชงานหัวคอนอาจจะหลุดปลิวออกไปหรือตอกพลาด ดามไมที่แตกอาจจะ แทงมือ หนาคอนที่ตอกถาสึกจนกลมหรือสกัดที่ทื่อยอมทําใหการตอกพลาดไดงาย หัวคอนที่ใชงาน จนคลอนแลว ควรเปลี่ยนดามไมใหมแทนที่จะตอกลิ่มเพิ่มเขาไป 4.1.2 สกัด สกัดที่หวั บานแบบดอกเห็ดอยานํามาใชงาน เพราะสะเก็ดเหล็กสวน ที่ บาน อาจจะปลิวเขาตาผูปฏิบัติงานเอง หรือผูอื่นทําใหตาบอดได เปนการเสี่ยงภัยและกอความสูญเสีย ใหแกผูอื่นโดยไมจําเปน การแตงหัวสกัดนั้น ไมใชเจียระไนสวนที่บานออกมาใหหมดไปเทานัน้ แต จะตองเจียระไน รอยราวระหวางสวนที่บานออกใหหมดไปดวย 4.1.3 ตะไบ สิ่ว ไขควง ตะไบที่ไมมีดามมีอันตรายมาก ถานํามาใช กานตะไบ แหลมมากอาจแทงมือและอาจปกเทาผูปฏิบัติงานไดถาหลนจากโตะปากกา นอกจากนั้นอาจเปน อันตรายตอหนาอกหรือทอง ถานําไปใชกบั เครื่องกลึง ดามตะไบ สิ่ว หรือไขควงทีแ่ ตกหรือหลวมเปน อันตรายตอผูใชเชนเดียวกัน เมื่อดามแตกหรือหลวมก็ควรเปลี่ยนดามใหม 4.1.4 ประแจปากตาย ปากประแจที่ราว หรือบานออก ควรเลิกใชประแจเหลานี้ เพราะวาจะทําใหเหลี่ยมนัตเสียและอาจลื่นหลุด ทําใหมือผูใชกระแทกกับวัตถุหรือสวนของ เครื่องจักรกลบาดเจ็บได 4.2 เครื่องมือไมเหมาะกับงานและการใชเครื่องมือไมถูกตอง ยกตัวอยางเชน การใช ตะไบแทนเหล็กงัดหรือใชกา นตะไบควานรู การใชประแจปากตายผิดขนาดกับนัต ไมเลื่อนแตงปาก ประแจเลื่อนใหเหมาะกับนัต ตอหางประแจดวยทอเหล็กแลวลื่นหลุดออกไป ใชประแจปากตายกวด คลานนัตในทีแ่ คบแทนทีจ่ ะใชประแจบอกซ ใชเครื่องมือตัดที่ทื่อทําใหลื่นงายและงานเสีย ใชประแจ จับทอผิดทิศทาง 4.3 การใชเครื่องมือชนิดหิว้ เคลื่อนที่ได ไดแก สวาน เครื่องกวาน หินเจียระไน เครื่องขัด ผิว คอนหรือสกัด (ทั้งชนิดที่ใชไฟฟาหรือลม) เครื่องมือแตละชนิดเหลานี้มีอันตรายแตกตางออกไป ไดแก การไมตอสายดินที่ตวั เครื่องมือ สวิตชหรือลิ้นทํางานเปดปดดีหรือไม ปลอยทิ้งเครื่องมือไวใน


19 ลักษณะที่มีไฟหรือลมพรอมที่จะสตารท ปลอยสายหรือทอไวกับพื้นทําใหผูเดินไปมาสะดุดหรือถูก รถทับเสียหาย 5. ไฟไหม (Fires) อุบัติภัยที่เกิดเพลิงไหมและเกิดระเบิดในโรงงาน ไมกอ อันตรายถึงชีวิตมากมายนักแต ทรัพยสินสวนใหญตองสูญเสียไปปหนึ่ง ในประเทศไทยเราความเสียหายจากเพลิงไหมมีมูลคาหลาย รอยลานบาท ซึ่งนับวาไมใชเรื่องเล็กนอย สวนใหญผูปฏิบัติงานมักจะคิดในแงบาดเจ็บเทานั้น แตถา คิดใหไกลแลวการที่เพลิงไหมสถานที่ปฏิบัติงานก็ยอมทําใหผูปฏิบัติงานไมมีงานทําไปดวย และกวา จะดําเนินงานตอไปก็ใชเวลานาน 5.1 การติดตั้งอุปกรณไฟฟา ไฟไหมบางครั้งเกิดจากอุปกรณไฟฟาเสื่อมคุณภาพ และ บางครั้งก็เนื่องจากผูติดตั้งใชสายไฟเล็กเกินไปจนทําใหกระแสไฟเกินกําลังสาย การใชเครื่องมือ ไฟฟาชนิดหิว้ เคลื่อนที่ได กับเตาเสียบไฟแสงสวางยอมทําใหสายไฟรอนจัดอาจเกิดไฟลุกขึ้นได 5.2 การลุกไหมจากวัตถุทับถมกัน สารไวไฟไมควรนําเขาไปใกลเปลวไฟหรือความ รอนและไมใชแตเพียงเปลวไฟเทานั้นทีจ่ ะกอใหเกิดเพลิงไหมขึ้นได แมทอน้ํารอนก็อาจเปนสาเหตุ ไดเชนกัน ถาอยูในสภาพที่เหมาะสมสารบางอยางอาจลุกไหมไดเองโดยไมตองอาศัยความรอนจาก ภายนอกถากองทับถมไวนานโดยไมเคลื่อนยาย จะเกิดความรอนระอุขึ้นภายในและลุกเปนเปลวไฟ ในที่สุด ยกตัวอยางเชน ฟางชื้น ๆ กระดาษหรือขี้เลื่อย และในโรงงานก็ไดแกผาหรือยุตที่ชุบน้ํามัน ซึ่งเมื่อไมใชแลวก็ควรทิ้งลงไปในถังโลหะที่มีฝาปดซึ่งไดจัดไวใหทิ้ง สารอยางอื่นที่อาจเกิดลุกไหมไดเองจากการทับถมกัน คือ ถานหิน ถานไม ผงอลูมินัม ลิกไนต โลหะบางอยางที่ปน เปนผงละเอียด เหล็กซัลไฟด ฟอสฟอรัสและสารประกอบเซลลูโลส ฯลฯ สารบางอยางเมื่อถูกน้ําจะเกิดความรอนสูงหรือเกิดเปลวไฟ เชน ปูนขาว แบเรียมหรือ โซเดียมเพอรรอคไซด อโลหะโซเดียม อโลหะโปแตสเซียม น้ํามันสนและแอมมอเนียจะเกิดลุกไหม ถาผสมกับกาซคลอรีน เมื่อกองถานหินหรือลิกไนทเริม่ ลุกไหม ควรใชวิธีครอบคลุมเพลิงและอยา พยายามคุย เขี่ยขึ้นมาเพราะเมือ่ เพลิงไดรับอากาศสะดวกขึน้ ก็จะลุกไหมขยายออกไป ทางที่ดีก็คือกลบ กองถานหินหรือลิกไนทนั้นดวยดินหรือทราย 5.3 ของเหลวที่ไวไฟ มีเชือ้ เพลิงหลายชนิดที่ใหไอระเหยซึ่งติดไฟหรือระเบิดไดงายใน อุณหภูมิปกติ ยกตัวอยางเชน น้ํามันเบนซิน ซึ่งไอระเหยมีอันตรายมาก อาจระเบิดไดรุนแรงและ กอใหเกิดความเสียหายไดยงิ่ กวาเพลิงไหมธรรมดา ยิ่งกวานั้นไอระเหยของน้ํามันเบนซินมีน้ําหนัก มากกวาอากาศจะแผกระจายอยูเหนือพืน้ เปนระยะทางไกลออกไปจนกระทั่งถึงแหลงเพลิง เมื่อเกิด ระเบิดแลวไฟจะยอนกลับมายังที่เก็บน้ํามันเบนซินนัน้ ทําใหไฟไหมมากขึ้น ประกายไฟหรือไฟที่จุด เรือง ๆ เชน บุหรี่ อาจจะทําใหเบนซินลุกไหมขึ้นได


20 มีของเหลวอยางอื่น เชน แอมโมเนีย ซึ่งโดยคุณสมบัตติ ัวมันเองไมตดิ ไฟ แตเมื่อระเหย เปนไออาจจะระเบิดไดเมื่อผสมกับอากาศ กาซที่จุดไฟติดบางอยาง เชน กาซซึ่งสกัดไดจากถานหินเมื่อผสมกับอากาศอาจระเบิดได เชนกัน กาซชนิดนี้เปนกาซอยางหนึ่งที่มนี ้ําหนักเบากวาอากาศ ฉะนัน้ เมื่อเกิดรั่วก็จะลอยฟุงอยูแ ถบ เพดานหอง ทัง้ ที่บริเวณพื้นหองยังคงมีอากาศตามปกติ ในสถานที่ที่มอี ันตรายซึ่งอาจจะมีไอระเหยหรือกาซที่ไวไฟลอยฟุงอยู ก็จําเปนตอง ตรวจสอบสภาพของอุปกรณไฟฟาตาง ๆ ภายในบริเวณนั้น อุปกรณไฟฟาที่ควรใชเปนแบบมีครอบ ปองกันไมใหไอระเหยหรือกาซไวไฟเขาไปถึงตัวอุปกรณไฟฟาได (Gas tight or Flame-proof equipment) ในบริเวณที่มีไอระเหยหรือกาซไวไฟฟุงกระจายอยูควรใชเครื่องมือที่ไมทําใหเกิด ประกายไฟ หรือเครื่องมือที่ทําดวยเหล็ก ฉะนั้น เหล็กทุกชนิดควรนําออกไปจากบริเวณนั้น ทั้งนี้ รวมทั้งตะปูทตี่ อกรองเทา ก็อาจจะกอใหเกิดประกายไฟระเบิดขึ้นไดเชนเดียวกัน อันตรายที่เกิดจากบุคคลสูบบุหรี่หรือจุดไมขีดใกล ๆ กับเชื้อเพลิงไวไฟก็ยอมเปนที่ ทราบกันอยูแ ลว แตอันตรายบางอยาง บางทานอาจจะมองไมเห็นก็คือ การเชื่อมหรือบัดกรีถังที่ใช บรรจุเชื้อเพลิงไวไฟ (ทั้ง ๆ ที่ไดถายเชื้อเพลิงเหลานั้นออกหมดแลว) โดยไมไดทําการปองกันตาม วิธีการใหเรียบรอยเสียกอน ในที่บางแหงไฟฟาสถิตจะสะสมประจุเพิ่มมากขึ้น เชน ที่สายพานหรือที่ ถังหรือขวดบรรจุเชื้อเพลิงไวไฟเอง ฉะนั้น ผูที่ปฏิบัติงานเกีย่ วกับของเหลวที่ไวไฟก็จําเปนจะตองรู และระวังไวเพราะเมื่อไฟฟาสถิตสะสมประจุมากขึน้ เรื่อย ๆ ประจุจะวิ่งผานอากาศไปยังที่ศักยตา่ํ ทํา ใหเกิดประกายไฟระเบิดขึ้นได 5.4 ฝุนละออง ละอองวัตถุหลายชนิดอาจระเบิดไดรนุ แรงเชนเดียวกับกาซและไอระเหย ไวไฟ ละอองถานหินทําใหเหมือนถานหินระเบิดเปนขาวที่ลงหนังสือพิมพอยูบอย ๆ ละอองวัตถุอยาง อื่นที่อาจระเบิดได เชน แปง ไมคอรค น้ําตาล โกโก แปงมัน ชา Cellulose acetate, Ebonite, Erinoid, หนังขี้เลื่อย มัสตารด และผงละเอียดของโลหะบางชนิด 5.5 สาเหตุอื่น ๆ สิ่งที่เห็นไดงายที่สุดก็คือ การสูบบุหรี่อาจจะเปนกนบุหรี่ หรือกานไมขีดที่ จุดแลวทิ้งลงในที่ไมควรจะทิ้ง อาจมีผูฝาฝนสูบบุหรี่ในที่หามสูบ หรืออาจจะเปนดวยปลายทอเหล็ก เสียดสีขอบภาชนะที่บรรจุสารที่ไวไฟ สารบางอยาง เชน โซเดียมและโปรแตสเซียม จะลุกไหมเมื่อถูกน้ํา แตสารบางอยาง เชน แคลเซียมคารไบดเมื่อถูกน้ําจะใหกาซอะเซ็ทเทลีนซึ่งอาจระเบิดไดรุนแรง กรดสวนมากจะใหความ รอนและใหฟองซึ่งเปนอันตรายเมื่อผสมกับน้ําของเหลวบางชนิดหรือโลหะ เซลลูลอยดและสารบาง ชนิดอาจลุกไหมได ถึงแมไดไลอากาศในที่บรรจุออกหมดแลว โลหะผสมแมกนีเซียมซึ่งเบาและใช งานอุตสาหกรรมมากมายอาจระเบิดลุกไหมเมื่อเขาเครื่องกลึง เครื่องไส ผาหมที่จัดทําพิเศษหรือผง เคมีอาจดับเพลิงแบบนี้ได


21 5.6 การดับเพลิง การดับเพลิงขนาดใหญจําเปนตองใชผูชํานาญ ซึ่งเปนหนาที่ของเจาหนาที่ ตํารวจดับเพลิงเพราะไฟทีไ่ หมในโรงงาน บางครั้งมีสารซึ่งเมื่อถูกความรอนแลวเกิดฟองและควันพิษ เปนอันตราย แตโดยทัว่ ไปแลว ผูปฏิบัติงานทุกคนยอมมีสวนสําคัญในการปองกันเพลิงไหม เพลิงที่ เกิดขึ้นครั้งใดก็ตาม ยกเวนเพลิงขนาดใหญที่เกิดจากการลุกไหมของเซลลูลอยดแลวอาจจะดับไดใน เวลาไมชานัก 6. เครื่องจักรกล (Machinery) 6.1 สาเหตุ อุบัติภยั ที่เกิดจากเครื่องจักรกลอาจแบงอยางคราว ๆ ได 6 ชนิด คือ 6.1.1 อุบัติภัยที่เกิดจากเครื่องจักรกล ที่สภาพเรียบรอยและพิจารณาสถานที่ตั้งไวดแี ลว แตไมไดกั้นรัว้ ไวเชน เครื่องที่มีรอบการหมุนสูง สถานที่ติดตั้งเครื่องจักรกลแบบนี้ ผูติดตั้งอาจเห็นวา ปลอดภัย แตเมื่อผูปฏิบัติงานเขาไปใกลเพือ่ ทําการซอม อาจหมุนมวนเสื้อผาหรือฉุดลากผูปฏิบัติงาน นั้นเขาไปทําใหบาดเจ็บ 6.1.2 อุบัติภัยที่เกิดจากเครื่องจักรกลบางสวนไมมีครอบปองกัน 6.1.3 อุบัติภัยที่เกิดจากการถอดครอบปองกันออก 6.1.4 อุบัติภัยที่เกิดจากเครื่องหามอัตโนมัติหรือหามในตัว สวนใหญเนื่องจากการ ออกแบบไมดพี อ ปรับระยะการทํางานไมพอดี ไมมีการทดลองโดยสม่ําเสมอระหวางใชงาน 6.1.5 อุบัติภัยนี้เกิดจากเครื่องจักรกลบางชนิด ซึ่งไมอาจจะใสครอบปองกันไดโดย สมบูรณเพราะลําบากตอการใชงาน เชน เครื่องจักรกลทางดาน งานชางไม เครื่องทอผา เครื่องทํา กระดาษ 6.1.6 อุบัติภัยเกิดจากการสตารทเครื่องจักรกลโดยไมตั้งใจ ซึ่งสวนมากมักจะเปน บุคคลอื่นไมใชผูปฏิบัติงาน 6.2 ขอควรระวัง การปองกันอุบัติภยั อันเกีย่ วกับเครื่องจักรตองอาศัยเทคนิคและการ จัดระบบที่ดพี อ ประการแรกซึ่งสําคัญที่สุด คือ ผูรับผิดชอบจะตองเขาใจซึมซาบตอขอปลีกยอยใน การทํางานของเครื่องจักรกลนั้น และการติดตั้งครอบปองกันอันตรายจะตองปองกันไดเต็มที่ แมแต ชองเล็ก ๆ นอย ๆ ซึ่งนิ้วอาจจะลอดไปสัมผัสกับสวนที่เปนอันตราย ประการที่สอง ผูปฏิบัติงานซึ่ง ทํางานอยูใกลเครื่องจักรกลจะตองใชความระมัดระวัง การปองกันโดยทั่วไปก็คือ เสื้อผาที่ใชจะตอง กะทัดรัดไมมสี วนไหนหลวมรุมราม แขนเสื้อถาเปนเสื้อแขนยาวตองกลัดกระดุมขอมือเรียบรอย ผูปฏิบัติงานควรสวมหมวกไมปลอยผมยาวรุงรัง ไมควรสวมแหวน ปฏิบัติตามขอแนะนําในการ ประกอบสายพานเครื่องจักร และระมัดระวังในการเขาไปใกลเครื่องจักรกล อันตรายอื่น ๆ ที่จะทําให เกิดอุบัติเหตุเกีย่ วกับเครื่องจักรกลก็คือ ความไมเปนระเบียบเรียบรอยในสถานที่ปฏิบัติงาน เชน กอง หรือทิ้งสิ่งของรกรุงรัง พื้นลื่นทําความสะอาดหรือหยอดน้ํามันเครื่องจักรกลซึ่งเดินอยู แสงสวางใน โรงงานไมเพียงพอหรือจาเกินไป


22 6.2.1 เพลาขับ เครื่องไอน้ํา เครื่องยนตเผาไหมภายใน มอเตอรทุกชนิดมักจะกอใหเกิด การบาดเจ็บแกผูที่หยอดน้ํามันหรือเขาไปคลําแบริ่งวารอนหรือไม ผูป ฏิบัติงาน ควรระวังเรื่องเสื้อผา ที่สวม สวมรองเทาและถุงมือตามความจําเปนของงาน การตอทอหยอดน้ํามันโดยผูหยอดอยูห าง ออกมาแทนทีจ่ ะหยอดอยูใกลๆ เพลาขับที่หมุนอยูเ ปนวิธีหนึ่งที่จะปองกันอุบัติภยั เหลานี้ได 6.2.2 เพลาหมุน ไมวาเพลาหมุนจะมีขนาดใหญเล็กเพียงใด หมุนดวยรอบชาเร็ว เพียงใด แตผวิ ของเพลาจะตองเรียบ 6.2.3 สายพาน เชือก โซ และรอก นอกจากเรื่องการใชครอบปองกันไมเหมาะสม หรือไมใชเลยแลว อุบัติภัยขอหนึ่งก็คือ การประกอบสายพานซึ่งผูปฏิบัติ งานอาจจะทําโดยผิดวิธี หรือไมใชเหล็กงัดสายพานหรืออุปกรณชว ย สายพานมีอันตรายอันอาจกออุบัติภยั ไดโดยเฉพาะเมื่อ สายพานสัมผัสกับวงลอ ซึ่งอาจหนีบนิว้ มือหรือสวนหนึ่งสวนใดของรางกายได 6.2.4 หมูเฟอง อุบัติภัยเกี่ยวกับหมูเฟอง มักจะเนื่องมาจากการใชครอบปองกันที่ ไมถูกตองหรือการยืนเขาไปใกลหองเฟองซึ่งเปดทิ้งไว ที่สําคัญก็คือหองเฟองที่ไมไดปดมิดชิดจึง ใชครอบปองกันไวแตสว นที่เห็นวาจะเปนอันตรายเทานั้น เชน สวนที่เฟองขบกัน (Nips) หรือสวน นอกของฟนเฟอง ซึ่งจําเปนตองแกไขและผูใชเครื่องจักรกลเหลานั้นจะตองระวังเปนอยางมาก 6.2.5 เครื่องจักรกลเกี่ยวกับงานชางไม จะตัดอวัยวะรางกายในชั่ววินาที แตสวน มากก็ยังอาศัยความชํานาญที่จะไมตองอาศัยครอบปองกัน ถาใชไมสําหรับดันปอนไมและทีย่ ัดไม ครอบปองกันชนิดนี้ อาจไมสมบูรณแบบนัก แตอยางนอยก็ชว ยปองกันผูปฏิบัติงานไมใหบาดเจ็บ มากนัก ถาผูน ั้นเกิดหยอน ความชํานาญลง ความมีใจจดจอตองานลดลง หรือเหตุการณทไี่ มนึกฝน เกิดขึ้น 6.2.6 เครื่องเจาะ จะตองยึดสิ่งที่จะเจาะใหมั่นคง เพราะถาสวานขัดตัวขณะเจาะจะยึดติด วัตถุ ทําใหวตั ถุที่จะเจาะรูหมุนควางกอใหเกิดการบาดเจ็บได โดยเฉพาะการเจาะเหล็กแผนบาง ๆ อันตรายมาก การหมุนของแผนเหล็กบาง ๆ มีลักษณะเหมือนเลื่อยวงเดือนในแนวนอน 6.2.7 หินเจียระไน มีอันตรายอันอาจกออุบัติภยั ไดหลายประการ เชน การประกอบ หิน เจียระไน แกนหมุนไมไดศนู ยหรือยึดไมแนน ใชรอบการหมุนสูงผิดปกติไมมีครอบปองกัน หรือ ครอบปองกันไมแข็งแรงเพียงพอที่จะตานทานแรงเหวี่ยงของหินเจียระไนทีแ่ ตกกระจายออกมาใน การเจียระไนมีอันตราย (รวมทั้งที่เกิดบาดเจ็บที่ตา เพราะไมสวมแวน) อันเนื่องมาจากการแตงระยะ พักวัตถุ ก็จะทําใหหนิ เจียระไนนั้นเหวี่ยงแตกกระจาย ทําใหมือบาดเจ็บหรือเครื่องมือเหวีย่ งกระเด็น ออกไป อันตรายอีกประการหนึ่งก็คือ การเจียระไนวัตถุทางดานขางของหินเจียระไน กดวัตถุจะ เจียระไนหนักเกินไปโดยเฉพาะ ในขณะอากาศเย็นจัด วิธปี ฏิบัติงานดังไดกลาวแลวนีเ้ ปน วิธีปฏิบัติงานที่ผิดซึ่งอาจกออุบัติภัยขึ้นได


23 7. การจราจร (Traffic) อุบัติภัยเกี่ยวกับการขนสงมีประมาณ 7 % ของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในงานอุตสาหกรรมและ ในจํานวนอุบตั ิภัยเหลานี้ปรากฎวา 12 % มีอันตรายถึงชีวิต และสวนที่เหลือก็ลวนแตไดรับบาดเจ็บ สาหัสเปนสวนมาก อันตรายสวนใหญมักจะเกิดจากพาหนะที่แลนอยูในระหวางปฏิบัติงาน เชน รถเข็น รถบรรทุกเล็ก รถไฟ รถบรรทุกหนัก รถยก ตลอดถึงอุบัติภัยอันเกิดจากอุปกรณที่บรรทุกไป กับรถ เชน บันได 7.1 ผูปฏิบัติงานที่ไมเกี่ยวกับการขนสง ทางที่ดีที่สุดทีผ่ ูปฏิบัติงานจะหลีกเลีย่ งไมใหถูกรถชนก็คือ ใชความระมัดระวังอยางดี นั่นเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งเวลาที่จะออกหรือเขาประตูโรงงานที่มีรถผานไปมา เดินผานมุมอาคารเมื่อ จะขามถนน เดินบนถนนทางเดินหรือตรอกแคบ ๆ การเตรียมพรอมอยูเสมอเปนสิง่ จําเปน เพราะ ยวดยานพาหนะที่แลนไปมามักจะใชความเร็วคอนขางสูง การมองขวาซายจึงควรกระทํากอนทีจ่ ะกาว เทาออกไปสูจดุ อันตรายมิใชเมื่อเห็นผูอื่นกาวเทาก็กาวเดินตาม ผูปฏิบัติงานจะตองระวังรถบรรทุกสิ่งของที่ล้ํากระบะทายออกมา ของที่ผูกมัดไวไม มั่นคงอาจจะหลนลงมา หรือสิ่งของที่ไมไดผูกมัดไวก็อาจจะกระดอนเคลื่อนที่ไดเมื่อรถตกหลุมหรือ ปนกอนหิน หรือเมื่อรถเลี้ยววงแคบ สิ่งของเหลานี้อาจจะเฉี่ยวหรือตกลงมาทับได 7.2 ผูขับยานพาหนะและรถบรรทุกหนัก กฎเพื่อความปลอดภัยในการขับขี่ยานพาหนะ จะตองเขมงวดกวดขันสําหรับการจราจร ภายในบริเวณโรงงาน เพราะภายในบริเวณอาจจะไมมที างเทาตามขางถนนเสมอไป ทางเขาออกติด กับทางที่รถผานไปมา ถนนตัดกันคนละระดับไมมีรั้วกัน้ มีสิ่งกีดขวางขามเหนือถนนเชน สะพาน สําหรับเดินทอพาดผานถนน ซึ่งรถ Fork Lift จะตองระมัดระวังเปนพิเศษยังมีเหตุการณตาง ๆ อีก มากมายที่อาจเกิดขึ้นไดในบริเวณโรงงานซึ่งแตกตางไปจากที่จะพบเห็นไดบนถนนหลวง ฉะนัน้ การ ขับรถชา ๆ จึงเปนการดี และควรคาดคิดไวเสมอในสิ่งที่นึกไมถึง 7.3 ผูใชรถเข็นยกของ ผูใชรถเข็นของมีขอที่อาจกอใหเกิดความเสียหายไดหลายทาง เชน การเข็นรถไปเทียบ เบื้องหลังผูอื่น ซึ่งขณะนั้นรถกําลังบรรทุกของกองสูงอยู เข็นรถทับเทาผูปฏิบัติงานอื่น กระแทกคนซึ่ง กําลังทํางานอยูกับเครื่องจักร เข็นชนบันไดซึ่งพาดอยู เข็นชนของซึ่งกองทับกันอยู ซึ่งทําใหของที่กอง อยูนั้นโคนลงมา จอดรถเข็นทิ้งไวเกะกะ ทําใหผูอื่นที่เดินไปมาโดยไมระมัดระวังสะดุดลม ของซึ่งบรรทุกยื่นล้ํากระบะรถออกมาทางดานหลัง จะกวาดเปนมุมกวางเมื่อรถเลี้ยว ฉะนั้นเวลาเลี้ยว จึงควรเผื่อระยะเอาไวดว ยเมื่อจะบรรทุกของชนิดนัน้ การบรรทุกของที่กวางล้ํา กระบะดานขางออกมาอาจจะปะทะเขากับมุมแคบ ๆ เมื่อรถเลี้ยว


24 รถเข็นจะแลนเร็วเมื่อลงที่ลาด ๆ ผูใชจะตองคอยดึงอยูขา งหลังเพื่อปองกันรถแลนลงมา ทับตัวผูใชเองเมื่อของที่บรรทุกหนักมาก และผูใชเองไมอาจจะเหนีย่ วไวลําพังตัวคนเดียวได ทางที่ดี ควรจะเรียกผูอ ื่นชวย 8. ลิฟทและอุปกรณยกของ (Lifts and Lifting Tackle) วิธีการทางเทคนิคที่จะทําใหลิฟทปลอดภัยมีมากมาย อุบัติภัยอันเนื่องจากขอขัดของทาง เทคนิคมีทั้งทางดานกลศาสตรและดานโครงสราง รวมทั้งการใชอินเทอล็อคไมเหมาะสม อินเทอล็อค ขัดของงาย ไมไดระวังรักษาอินเทอล็อคใหดีเพียงพอ ไมไดทํารั้วลอมปองกันหองสําหรับน้ําหนักถวง เลื่อนขึ้นลง การหยุดของลิฟทไมไดตั้งไวใหถูกตองหรือไมไดดแู ลเลย สะลิงและรองบังคับสลิงสึก สวิตชเสีย สวนสําคัญของอุปกรณอาจชํารุดถาใชไดโดยไมระมัดระวัง ไมเหลียวและหรือใชไมเปน ยกตัวอยาง เชน กดปุม Limit Stops เพื่อใหลิฟทหยุดที่ตาํ แหนงบนสุดหรือลางสุด บังคับใหลิฟทหยุด โดยใชเลื่อนประตูตาขาย ลิฟทบรรทุกน้ําหนักเกินพิกดั ผูปฏิบัติงานใชลิฟทสําหรับสงสิ่งของเพื่อ โดยสาร ปลอยใหสิ่งของที่บรรทุกโผลออกมานอกประตู การใชลิฟทโดยไมมีผูควบคุมดูแลมัก กอใหเกิดอุบัตภิ ัยไดบอย ๆ โดยเฉพาะบุคคลซึ่งไมรูวิธีการใช อุบัติภัยอาจจะเกิดขึ้นไดในขณะทีก่ ําลังซอมแซมลิฟท อาจจะมีคนเขาไปติดอยูใตน้ําหนักถวง หรืออาจจะติดอยูใตลิฟท การทดลองใหลิฟททํางานโดยผิดวิธี หรือไมบอกกลาวในขณะที่มีบุคคลอืน่ อยูบนหองลิฟท หรืออยูในหองสําหรับน้าํ หนักถวงเลื่อนขึ้นลงมักจะกอใหเกิดอุบัตภิ ัย การปนออก นอกหองลิฟทเมื่อเกิดขัดของ อาจทําใหผนู ั้นไดรับอันตรายจากการถูกลิฟทบีบทับรางกายได 8.2 รถยก รถยกและเครือ่ งมือยกของตาง ๆ มีขอขัดของทางดานจักรกลแตกตางกัน ซึ่งบางครั้งก็มี ขอบกพรองดานการออกแบบรวมอยูดว ย แตขอขัดของทางดานกลจักรอาจจะแกไขไดดว ยการตรวจ ตราตามกําหนดเวลาโดยใชผทู ี่ชํานาญงานและวิธีการซอมที่เหมาะสม การตรวจและบํารุงรักษามิใช ทําแตเฉพาะทีห่ องเฟองสําหรับยกของเทานั้น แตจะตองกระทําโดยทั่วถึง เชน ที่เหล็กโครงสราง ฐานรองรับ ฐานยึด รางรองรับ เครื่องยนตและเฟอง ซึ่งการชํารุดแตละสวนอาจจะกอใหเกิดอุบัตภิ ัย ได การขับเคลื่อนรถยกหรือเครื่องมือยกของผิดพลาดมักจะเกิดอุบัติภยั อยูเ สมอ บางครั้งเกิด จากผูไมมีหนาที่ควบคุมรถยกนั้น บางครั้งเกิดจากผูมีหนาที่เกีย่ วของแตไมชินกับการทํางานของคัน บังคับตาง ๆ หรือบางครั้งก็เกิดจากผูมีหนาที่ควบคุมโดยตรง มีวิธีการผิด ๆ อยูมากมายที่ทําใหสิ่งของที่ยกหลนลงมา , โครงสรางหักโคนลงหรือ เครื่องมือยกลมฟาดลงมา ทั้งนี้ ยังไมรวมถึงขอบกพรองตาง ๆ ของอุปกรณยก การใชเครนดึงและสก สิ่งของไปทางดานขางจะทําใหเกิดแรงเคนในโครงสราง, สิ่งของที่ยกแกวงกระแทกคนหรือทรัพยสิน อื่น ๆ สิ่งของอาจจะกระแทกหรือคางอยูก ับโครงสรางขณะกวานขึน้ หรือลง, รถเครนรางอาจจะจอด อยูบนรางที่ไมไดระดับอาจจะพลิกคว่ําไดเมื่อยกสิ่งของ, การยกของอยูในลักษณะกระตุกไมนุมนวล


25 ในขณะเริ่มยกหรือหยุด, ใชเครนดึงลากสิ่งของออกจากกองที่ทับถมกันอาจทําใหโครงสรางไดรับแรง เคนเกินกําหนด, การวางระยะเครนเพื่อยกสิ่งของผิดระยะรัศมี, ไมทําการยึดรถยกใหมั่นคงเทาที่ควร, นํารถยกไปจอดบนพื้นดินทีไ่ มแข็งเพียงพอทําใหรถจมทรุดลงได, พยายามใชรถยกสิ่งของเกินพิกัด กําลังของรถนั้น, ผูปฏิบัติงานใกล ๆ กับรถยก ตัวรถอาจจะหนีบรางกายกับอาคารหรือสิ่งกอสรางอื่น ๆ ทั้งนี้ อาจจะเนื่องจากผูข ับไมรูหรือลืมไปวามีผูปฏิบัติงานอยูที่นนั่ , รถยกที่แลนบนรางอาจจะลม โคนตกรางถาหองควบคุมยืน่ ออกไปดานขางมากเกินไป, นอกจากนี้ ยังมีอุบัติภยั อืน่ ๆ เชน ปุมหรือ คันบังคับใหหยุดทํางานบกพรอง การใหสัญญาณผิดหรือไมเขาใจสัญญาณ 8.3 อุปกรณยก อุบัติภัยเกี่ยวกับการใชรถยกเทาที่ไดกลาวมาแลวยังนอยกวา อุบัติภยั ที่เกิดจากการใช อุปกรณยก (โซสะลิง ขอเกี่ยว สเกล หวงตา) ผลที่ไดรับจากการใชอปุ กรณยกฟด ๆ ก็คือสิ่งของที่ยก หลนลงมา อันนี้จึงเปนเหตุผลที่วาทําไมจึงหามไมใหผูปฏิบัติงานเขาไปยืนอยูใตสิ่งของยกลอยตัว และทําไมจึงใหผูขับรถเครนในโรงงานยกสิ่งของใหหางจากที่ที่ผูปฏิบัติงานจะเดินลอดไปใตสิ่งของ ได นอกจากนีย้ ังมีอันตรายอืน่ ๆ อันเกี่ยวกับสิ่งของที่ยกโดยวิธีหนีบ ใสกระบะหรือตาขาย ฯลฯ ลวดสะลิงอาจจะชํารุดไดถาตั้งไวตากแดดตากฝน เก็บไวในพัสดุโดยไมถูกวิธี ตั้งอยูใน ที่ที่รอนจัดหรือมีเคมีภัณฑอื่น ๆ ลวดสะลิงนัน้ ปกติแลวชํารุดไดงายและการชํารุดนั้นก็ไมวาจะ มองเห็นไดเสมอไป การใชลวดสะลิงผิดวิธีจะทําใหลวดสะลิงหงิกงอ ซึ่งจะเปนจุดออนของสะลิงที่ รอยหักพับนั้น การใชโซโดยผิดวิธี เชน ยกน้ําหนักมากเกินพิกัด ผูกเปนเงื่อนไวหรือพันลอดใต สิ่งของที่มีคมขณะยก โซจะเปราะเมื่อใชงานนาน ๆ จึงตองมีการเผาไฟชุบเปนครั้งคราว การเผาไฟชุบ ก็ดี การตรวจโดยถี่ถวนและซอมหลังจากเผาไฟชุบก็ดี จะตองทําอยูเ สมอกอนที่โซจะขาดลงในขณะ ใชงาน สะลิงและอุปกรณยกตาง ๆ ควรจะเขียนบอกพิกัดน้ําหนักที่จะยกไดใหเปนที่เขาใจ การยกของโดยไมมีกฎเกณฑเปนสาเหตุใหของหลนลงมา การเลือกสะลิงผิดขนาดทําให เสนลวดในสะลิงขาด ซึ่งโทษวาสะลิงไมดกี ็เปนเรื่องไมถูกตองนัก เพราะผูปฏิบัติงานอาจกะน้ําหนัก สิ่งของที่ไมทราบแนนอนผิดไปก็ได มุมของสะลิงที่ขอเกี่ยวในขณะยกอาจจะคํานวณไวผิดพลาดเมื่อ ใชสะลิงคลองสิ่งของ 3 - 4 เสน และใชสะลิงเล็กเกินไป การผูกเงื่อนสะลิง การทุบบวงสะลิง (สะลิง ทําเปนบวงมัดลอดใตสิ่งของแลวสอดผานแบบทรุด) แรงเกินไป การใชเครื่องมือเครื่องใชอยางอื่นที่ ไมเกี่ยวกับการยกของ สิ่งเหลานั้นอาจจะหลุดรวงลงมาได มีวิธกี ารใชสะลิงทีถ่ ูกตองเหมาะกับ น้ําหนัก และรูปรางของสิ่งของ ถาผูใชสะลิงผิดขนาดหรือผิดวิธี แทนที่จะเลือกใชใหเหมาะก็อาจเปน สาเหตุใหเกิดความยุงยากไดเชนกัน มุมคมของสิ่งของอาจจะตัดหรือหักพับสะลิงถาไมหาสิ่งออนนุม เชน ไมเนื้อออน หรือผากระสอบรองไวใหดี (ไมเนื้อแข็งก็อาจตัดสะลิงได) ขอเกี่ยวก็อาจกอเหตุได เชนกันถาหากไมคลองสะลิงใหมั่นคงอาจลืน่ หลุด สิ่งของที่ยกจะตกลงมา ขอเกี่ยวที่เกี่ยวหางตาสอด เขาไดแตเฉพาะตอนปลาย หรือใชขอเกีย่ วเกีย่ วรูที่ฐานสิ่งของ ยอมจะกอใหเกิดแรงเคนในตัวขอเกี่ยว ซึ่งทําใหความแข็งแรงของขอเกี่ยวตองลดลงแมวาสิ่งของจะไมรว งหลุดลงมา นอกจากนี้ ยังมีอันตราย


26 อื่น ๆ อันเกิดจากสิ่งของลื่นหลุดจากอุปกรณยกพิเศษ เชน ขอเกี่ยวชนิดยกหีบหอหรือกระปอง ขอ หนีบเหล็กแผน ขอสับยก การใชขอสับยกยกของหนัก ๆ จะตองระวังอันตรายจากของที่บรรจุอยูใน หีบรวงหลุดลงทางกนหีบ เพราะไมมีสิ่งใดรองรับ สลักขวางของสเกลถาไมขันเกลียวใหตึงพอ สลักอาจจะคลายเกลียวหลุดได หรือเมื่อใช รถยก 2 คัน ชวยยกของที่หนักมาแลวไมแบงน้ําหนักใหสมดุลพอเหมาะก็อาจกออุบตั ิภัยได หวงตาเมื่อไมใชงานยกขณะนั้น ควรถอดเก็บใหเรียบรอย เพราะอาจชํารุดไดงายถา ปลอยทิ้งไว บางครั้งถาออกแบบไมดหี รือวางไมไดศูนยถวงก็อาจกอใหเกิดเสียหายขึ้นได แตถาแมจะ ออกแบบไดถกู ตองก็จําเปนจะตองใชใหถกู ทิศทางตามแนวศูนยกลาง หรือเมื่อถอดเกลียวก็ตองถอด ใหแนน การใชขอเกี่ยวสอดผานหวงตาแทนที่จะใชสเกล จะทําใหเกิดแรงเคนทั้งในขอเกี่ยวและหวง ตา การใชสะลิงเสนเดียวรอยหวงตาหลายหวงแทนทีจ่ ะใชหวงละเสน อุบัติภัยเกี่ยวกับนิ้วมือก็มกั จะเกิดจากนิ้วถูกบีบระหวางสะลิงกับขอเกีย่ ว หรือบวงสะลิง กับสิ่งของที่จะยก สิ่งของที่จะวางลงมาทับนิ้วมือหรือนิว้ เทา สิ่งของอาจจะหนีบนิว้ มือกับสวนอาคาร หรือหีบหอทีว่ างกองอยู ขณะที่มลี มพัดแรงอาจจะบังคับสิ่งของที่ยกไมไดเนื่องจากการแกวงหรือ หมุนควางไปรอบ ๆ ตามที่กลาวมาแลวนี้ลว นแตเปนอันตรายที่จะตองขบคิดในการปฏิบัติงาน 9. การวางซอนและจัดกองสิ่งของ (Stacking and Piling) วัสดุสวนใหญมักจะตองวางกองหรือไมรวมกองอยูในโรงงาน ไมวาจะเพื่อเก็บหรือกําลังใช งาน การจัดกองสิ่งของจึงเปนงานอยางหนึง่ ตองศึกษา การบาดเจ็บเกีย่ วกับเรื่องกองสิ่งของนี้มักจะมีสาเหตุจากสิ่งของที่วางหลนลงมา ผูปฏิบัติงาน หลนลงมาหรือถูกหีบหอหีบรางกาย นอกจากนี้ยังมีการบาดเจ็บเกีย่ วกับมือซึ่งสาเหตุมาจากตะปู ลวด รัดลัง เสี้ยน รวมทั้งผูบาดเจ็บปวดเมื่อหลังไหล หรือไดรบั แผลถลอกหรือรอยขีดขวน สิ่งของอาจจะหลนลงมาขณะยกขึน้ วางบนกอง ชั้นนี้อาจจะเกีย่ วกับมือจับสิ่งของไมมั่น พยายามยกของหนักดวยแขนขางเดียว ยกวางสิ่งของไมพรอมกันเมือ่ ปฏิบัติงานหลาย ๆ คน หีบหอ หรือขวดบรรจุแตก ถังที่บรรจุฉีกขาด พืน้ ลื่น หรือมือถูกของมีคมบาดทันทีทันใด ทําใหสิ่งของที่ถือ หลุดมือของบางอยาง เชน ปอ ฝายที่ผูกมัดเปนกลุมยอมไมสะดวกแกการยกเพราะกลุมใหญเกินไป ลักษณะที่ผูกมัดไมถนัดที่จะยก หรือขาดการผูกมัดที่กะทัดรัด ถึงแมวาไดจัดกองไวแลวก็ตาม สิ่งของก็อาจจะพังทลายลงมา หรืออยางนอยก็รว งหลนลงมา ได วัสดุสวนมากมีวิธีที่จะจัดกองตามลักษณะวัสดุนั้น ยกตัวอยางเชน ของที่บรรจุถุงใชวธิ ีวาง ดานขาง วางเปนแถวสลับกันเพื่อใหขัดกันในตัว และเมื่อกองซอนขึ้นไปก็ลดระยะทับกันเขาไปเรื่อย ๆ ทั้ง 4 ดาน ถังน้ํามันใชกองวิธีนอนถังและใชไมขัดลิ่มไว และระหวางแถวที่ซอนกันก็ใชไมขัด เอาไวทุกชัน้ ไป การกองแบบแนวนอนนี้อาจกอขึ้นไปไดเปนแบบปรามิด แตถาหากตองการวางถัง น้ํามันในแนวตั้งก็จะตองมีไมแบน ๆ รองระหวางชั้นและวางไดในแนวตรงแตจะตองไมซอนสูง เกินไป ไมก็ตอ งใชวิธีกองตางหากออกไป และสิ่งของที่รูปรางไมสม่ําเสมอ เชน โลหะหลอรูปตาง ๆ


27 ตองใชวิธีพิเศษตามลักษณะสิ่งของนั้น ๆ สิ่งของตาง ๅ ที่กลิ้งไดงาย เชน ถังน้ํามัน มวนกระดาษ จําเปนตองใชลิ่ม (ซึ่งทําไวเหมาะกับถังหรือมวนนั้น ๆ ) ไมใชหยิบเพียงแตอะไรมาขัด การวางสิ่งของไมมีหลักเกณฑหรือไมปลอดภัยมักจะทําใหสิ่งของพังทลายลงมา บางครั้งก็ทํา ใหอาคารที่เก็บพลอยพังลงไปดวย การกองซอนสิ่งของหนัก ๆ ไมควรจะพิงฝาผนังอาคาร เพราะฝา ผนังออกแบบไวรับแรงแนวตั้งไมใชแนวนอน การวางสิ่งของบนพื้นก็จะตองใชการพินิจพิจารณาวา พื้นอาคารที่จะรับน้ําหนักของกองนั้นจะทานไดหรือไม ความสมดุลซึ่งเปนหลักในการกองสิ่งของยัง เปนเรื่องสําคัญมาก เมื่อกองวัสดุบนรถบรรทุกหรือยานพาหนะอื่น ๆ เพราะจะมีเรื่องเกีย่ วกับการ สั่นสะเทือนหรือแกวงเขามาเกี่ยวของดวย สิ่งของที่กองในพัสดุอาจสั่นสะเทือนไดถาในอาคารนั้นมี เครื่องจักรกลใหญ ๆ ทํางานอยูดวย การปนขึ้นบนกองสิ่งของแทนที่จะใชบันไดอาจจะไดรับบาดเจ็บได โดยเฉพาะถาตกลงไปใน ชองระหวางกองสิ่งของที่จัดไวไมดี อันตรายนี้อาจจะเกิดไดถาหากสิ่งของที่กองรูปรางไมเหมือนกัน เชน ทอนไม ลังขนาดตาง ๆ กัน เมื่อขนไมออกไปแถวหนึ่งจนต่ําลง แถวที่อยูใกลเคียงอาจจะพังทับ ลงมา ฉะนั้น การขนของออกจากกองจึงควรยกของดานบนออกโดยสม่ําเสมอกัน ผูที่ปนขึ้นไปบนกองสิ่งของอาจจะเขาไปใกลกับเครื่องจักร สายไฟฟา สําหรับเครนอื่น ๆ ซึ่ง เปนอันตราย ฉะนั้น จึงไมควรจะกองสิ่งของใหสูงเกินไป หรือควรใสครอบปองกันจุดทีจ่ ะเปน อันตรายนั้นเสีย การที่ผูปฏิบัติงานพยายามเรงขนของออกจากกองโดยวิธโี ยนของนั้น ลงมาหรือดึงของทาง ชั้นลางกอน ก็อาจจะกอใหเกิดอุบัติเหตุขึ้นได การดึงของทางดานลางกอนเปนอันตรายอยางยิ่ง บางครั้งของที่กองอยูขางบนอาจจะหลนลงมาถูกผูคนขางลางโดยไมรูตวั เนื่องจากผูปฏิบัติงานกอง สิ่งของไวไมดพี อและโดนแรงลมปะทะ การกองสิ่งของไมถูกวิธีนี้เปนสาเหตุอันหนึ่งในเรื่อง Spontaneous combustion ซึ่งไดกลาว ไวแลวในเรื่องไฟไหม 10. เครื่องแตงกายและอุปกรณปอ งกันอันตราย (Safety Equipment and Clothing) 10.1 อุปกรณปองกันอันตราย คําวาอุปกรณปองกันอันตรายนี้รวมถึง เข็มขัดเพื่อความ ปลอดภัย (Safety belt) แวนตา (Goggles) ฉากกั้นทั้งชนิดติดตั้งตายตัวและเคลื่อนที่ได เครื่องสวม ปองกันอันตรายตาง ๆ เชน หนากาก หมวก เกราะปองกันศีรษะ หนากากปองกันกาซหรือฝุนละออง เครื่องแตงกายสําหรับสวมขณะปฏิบัติงาน เหล็กครอบหลังเทา เสื้อสวมทับเพื่อปองกันเคมีภณ ั ฑตาง ๆ ครอบปองกันหนาแขง รองเทาปองกันอันตราย ถุงมือและน้ํายาลางมือ สิ่งเหลานีไ้ ดประดิษฐขนึ้ เพื่อ ปองกันชิ้นโลหะที่ปลิววอน ความรอนหรือเย็น สารที่กดั ผุกรอนเปนพิษหรือกอใหเกิดอันตรายอืน่ ๆ ฝุน กาซ ไอระเหยและควัน ผงหรือวุนเหลว ประกายไฟ แสงที่จาเกินไปหรือรังสีความรอน ของ แหลมคม และที่ใชในการขัดสี ไฟฟาดูด น้ําหรือของเหลวที่กอใหเกิดอันตรายไมรนุ แรงนัก แตกท็ ํา ใหเกิดความระคายเคือง บุคคลตกจากที่สูง สิ่งของหลอนจากที่สูง


28 อุบัติภัยเกี่ยวกับเรื่องเหลานี้ ก็เนื่องจากผูปฏิบัติงานไมสวมหรือใชอุปกรณปองกัน อันตรายที่จัดให ผลที่ไดรับ คือ การบาดเจ็บ ทุพพลภาพและเสียชีวิต บางครั้งผูปฏิบัติงานไมใชเครื่อง ปองกันอันตรายเพราะไมรูวธิ ีใช หรือไดรับเครือ่ งปองกันอันตรายมาใชไมเหมาะสมกับงานที่ ปฏิบัติอยู และที่สําคัญที่สุดก็คือไมจัดหาเครื่องปองกันอันตรายใหแกผูปฏิบัติงาน การแกไขอุบัตภิ ัยเกี่ยวกับเรื่องไมใชเครื่องปองกันอันตรายนี้ จึงขึ้นอยูก ับตัว ผูปฏิบัติงานเอง ในบางประเทศนัน้ ไดมีพระราชบัญญัติบังคับใหทางโรงงานจัดหาอุปกรณปองกัน อันตราย รวมทั้งติดประกาศ หรือฝกสอนใหผูปฏิบัติงานรูจักวิธใี ชแตในทํานองเดียวกันผูปฏิบัติงานก็ จะตองใชอุปกรณนั้น ๆ (เพือ่ ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติดวย) อยางไรก็ดี ปรากฏวา ยังมีผลู ะเลยหลีกเลีย่ งในการใชอุปกรณปองกันอันตราย ทั้ง ๆ ที่ ทางโรงงานจะไมจายคาทดแทนใหสําหรับผูที่ฝาฝน สาเหตุมิไดเนือ่ งมาจากเกียจครานหรืออวดเกง แตมาจากสามัญสํานึกที่วา ถาตนเจ็บผูอื่นก็เจ็บเหมือนกัน ถาผูอื่นเปนอะไร ตนก็ไมควรจะเปน มี บอยครั้งที่ผูปฏิบัติงานรองวาใชแลวรําคาญทํางานไมสะดวก จริงอยูความไมสะดวกอาจจะมีบางใน ตอนแรก ๆ แตเมื่อไดใชจนเคยชินแลวความรูสึกเชนนี้กจ็ ะหายไป แตถายังคงรําคาญอยูก็ขอใหนกึ เสีย วา ความไมสะดวกสบายนัน้ ยังดีกวาสูญเสียตา นิ้ว มือ แขน หรือพิการอื่น ๆ ซึ่งไมมีโอกาสเรียกรอง กลับคืนมาไดชั่วชีวิต การปฏิบัติงานโดยไมคํานึงถึงความปลอดภัยของผูอื่นมักจะมีอยูบอย ๆ เชน ไมใชฉาก กั้นขณะสกัดสิง่ ของ เพื่อปองกันผูที่เดินผานไปมาจากสะเก็ดเหล็ก ผูเดินผานไปมามองดูแสงไฟเชือ่ ม โลหะแทนทีจ่ ะหาฉากกั้นแสงไว มีอยูเรื่องหนึ่งซึ่งเกี่ยวกับการละเลย ไมใชอปุ กรณเพื่อความปลอดภัยและมีผลถึง เสียชีวิต กลาวคือ ชวยเหลือผูประสบภัยจากถูกรมดวยแกสในหองอับทึบ โดยไมมีเครื่องชวยหายใจ หรือหนากากปองกันกาซ บางครั้งผูชวยเหลืออาจนําผูประสบภัยออกมานอกหองไดสําเร็จ แตใช เวลานาน ซึ่งทําใหผูประสบภัยมักไมรอดชีวิต หรือถาอยางนอยก็ตกเปนภาระหนักแกผูพยาบาลรักษา ตอไป บางคนอาจจะเดินเขาไปในหองอับทึบ และคิดวาไมมีกาซสะสมอยูในหองนั้น แตเมือ่ ไปเหยียบหรือแซะคราบน้ํามันหรือสารอื่น ๆ ทําใหเกิดไอระเหยที่เปนพิษออกมา เข็มขัดเพื่อความปลอดภัย บางครั้งผูปฏิบัติงานใชมันเพียงครึ่งเดียว เชน รัดเข็มขัดไว กับตัวเรียบรอยดี แตไมไดคลองติดกับโครงสรางที่ผูปฏิบัติงานทํางานอยู ซึ่งไมกอใหเกิดความ ปลอดภัยแกผใู ชแตอยางใด ผูปฏิบัติงานยอมไมไดรับความสะดวกสบาย ในการสวมเครือ่ งปองกันอันตราย เหมือนกับตอนไมไดสวม ฉะนั้นการเลือกอุปกรณ จึงควรพิจารณาในเรื่องความสะดวกสบายดวย ความไมสะดวกสบายอยางอืน่ ไดแกการจัดหาแวนตากันผงชนิดไมมีรูระบายอากาศ ซึ่งทําใหอบรอนเบาตา ทางที่ดีควรจะใชชนิดมีรูระบายอากาศ หรือแบบแวนตาธรรมดา (Spectacle)


29 การใชแวนตากันผงโดยที่เครื่องกลนั้น ๆ อาจจะติดตัง้ กระจกกันสําหรับมองดูได การใชหนากาก ปองกันกาซหรือฝุนละอองผิดแบบไมเหมาะกับงานที่ทํา ถุงมือเมื่อสวมแลวจับของไมถนัด แวนตากัน ผงใชกระจกธรรมดาแทนทีจ่ ะใชกระจกทีเ่ คลือบไวไมแตกงาย นอกจากนี้มีอยูบอยครั้งที่ทางโรงงานไดจดั หาอุปกรณสําหรับปฏิบัติงาน แทนที่จะทํา การปองกันอันตรายเปนสวนรวมที่ตนเหตุ ยกตัวอยาง เชน แจกหนากากชวยหายใจแทนทีจ่ ะหาวิธี ถายเทอากาศเสียหรือฝุนละอองออกจากหองปฏิบัติงาน จัดใหผูปฏิบัติงานสวมเสือ้ ปองกันน้ํายาเคมี ตาง ๆ ที่กระเซ็นออกมาแทนที่จะปองกันการกระเซ็นนัน้ โปรดระลึกวาการใชอปุ กรณปองกันนั้น เปนวิธีการปองกันอันดับรอง สิ่งแรกที่จะตองกระทําก็คอื หยุดหรือกําจัดตนตอเสียกอนเทาที่จะทําได มีขอควรจะกลาวถึงอีกเรื่องหนึ่ง คือ เรื่องการใชอุปกรณปองกันอันตรายที่ไมถูกทาง ยกตัวอยาง เชน สวมถุงมือขณะทํางานกับเครื่องจักรกล ซึ่งเครื่องจักรกลเหลานั้นอาจจะหมุนมวนถุง มือเขาไปได ในกรณีเชนนี้มกั จะใชถุงมือแบบที่ไมบีบกระชับนัก ซึ่งถาเครื่องจักรบังเอิญหนีบดึงเขา ไปก็อาจจะสลัดมือออกไดทนั ทวงที 10.2 เครื่องแตงกายปองกันอันตราย การสวมรองเทาที่ชํารุดมักจะกออุบัตภิ ัยพืน้ รองเทาสึก มากของมีคมอาจจะแทงทะลุถึงเทา หรือพื้นที่มีของคมอาจฝงจับรองเทาไวทําใหผูสวมถลาได รองเทา ที่สนสึกมากทําใหผูสวมเดินไมถนัด เมื่อยเทาหรือสะดุดสิ่งอื่นไดงาย ความเมื่อยลาจากการที่ตองยืน ปฏิบัติงานนาน ๆ ขณะที่สวมรองเทาที่คบั เกินไปหรือชํารุด อาจจะกอใหเกิดอุบัตภิ ัยได รองเทาแตะ รองเทายาง หรือรองเทาเตนรําไมควรนํามาใชในงานชาง รองเทาสนสูงของหญิงเปนอันตราย ถาสน สูงเกินไปหรือสนสึกมาก ถาสวมไมเหมาะพอดีก็อาจจะพลิกไดขณะสวม ผูที่ปฏิบัติงานยกของหนัก ควรสวมรองเทาที่มีครอบปองกันอันตราย ที่ไหนมี เครื่องจักร ผูปฏิบัติงานก็จะตองระวังเกี่ยวกับเครื่องแตงกาย อยาผูกเน็คไทหลวม ๆ สวมเสื้อไมกลัด กระดุม ใชผาพันคอ สวมเสือ้ ปลอยชาย ไวผมยาวมาก เพราะมีอันตราย เครื่องจักรกลจะหนีบดึงเขาไป แตถึงแมจะไดระมัดระวังเรื่องเหลานี้แลว ก็ยังมีคนอีกเปนจํานวนมากทีต่ องบาดเจ็บพิการดวย เครื่องจักรเพราะเหตุตาง ๆ เพลาเรียบ ๆ ก็อาจหมุนมวนเสื้อผาที่ปลอยชายหรือสายรุงรังได ฉะนัน้ ควรสวมเครื่อง แตงกายใหกะทัดรัด กลัดกระดุมใหครบ กางเกงขายาวเกินไปควรตัดและเย็บตะเข็บใหพอดี เชน ชุด ปฏิบัติงานเมื่อไดรับมาขายาวเกินไป อยาใชวิธีพับขาแลวใชได เพราะถาที่พับไวหลุดลงก็จะทําให ตนเองสะดุดลม กางเกงทั่วไปก็เชนเดียวกันไมควรพับขา สวนเสื้อผาเปนแขนยาวก็ควรจะพับแขน ดีกวาสวมแขนยาว เวนแตวาแขนเสื้อนั้นแนบกะทัดรัด เสื้อแขนสั้นควรตัดใหแขนสั้นเหนือขอศอก ขึ้นไป ผูที่เฝาเครื่องจักรซึ่งไมมีรั้วลอมปองกัน ขณะที่เครื่องทํางานจะตองแตงกายดวย เครื่องแบบที่เหมาะกับงานนั้น มีกระเปาหลังไวสําหรับใสยุต เพื่อปองกันเศษยุตทีย่ อยลงมาซึ่งอาจจะ มวนเกี่ยวกับเพลาที่หมุนอยูไ ด


30 ชุดทํางานปกติก็มักจะเปรอะเปอนงาย ซึ่งเปนเรื่องที่หามไมได แตถาผูสวมไมคอยซัก ใหสะอาดตามที่เห็นสมควรก็จะกอความยุง ยากใหเชนกัน เชน เสื้อผาที่ชุมดวยน้ํามันอยูเสมอ เมื่อ เสียดสีกับผิวหนังก็อาจเปนตนเหตุใหเกิดโรคผื่นคัน (Dermatitis) ไมมีสถิติเกี่ยวกับอุบัติภยั อันเนื่องจากการหยอกลอเลนกันในขณะปฏิบัติงาน แต ปรากฏวาอุบัตภิ ัยเชนนี้เคยเกิดมาแลวมากมาย ความจริงแลวการหยอกลอเลนกันในการปฏิบัติงาน ไมไดแกใหเกิดประโยชนอนั ใด เปนการเสี่ยงภัยและขาดระเรียบวินัยซึ่งเปนหนทางนําไปสูอุบัติภยั สิ่งเหลานี้ผูปฏิบัติงานพึงระมัดระวังใหมาก ถึงแมบางครั้งการลอเลียนกันจะไมกอใหเกิดบาดเจ็บอยาง ใด แตกท็ ําใหผูถูกลอไดรับทุกขทรมานใจ ผูลออาจไดรับความสนุกแตถาความสนุกนัน้ กอให ผูรวมงานเสียชีวิตก็จะเปนเรื่องเศราที่ผูลอจะจดจําไปไมรูลืม การหยอกลอเลนกันในขณะปฏิบัติงานนั้น เกิดขึ้นก็เนือ่ งจากผูปฏิบัติงานไมไดระลึก ถึงผลเสียหายเหลานี้ หรือละเลยเห็นเปนเรื่องไมสําคัญ โปรดระลึกวาลมที่มีกําลังอัดดันสูงถาเปาใส หนาคนเหมาะ ๆ ก็อาจทําใหลูกตาทะลักจากเบาได เขาทวารไดของรางกายก็กอใหเกิดอันตรายภายใน บางครั้งอาจถึงเสียชีวิต แกลงผูอื่นดวยสารเคมีที่ตนไมรูคุณสมบัติของมันอาจเปนพิษหรือเกิดระเบิด หยอกลอกันดวยอุปกรณไฟฟา ยอมเปนเรื่องยากที่จะวินิจฉัยวาขาดการเอาใจใสตออุปกรณนั้น หรือไม ไฟแรงต่ํามาก ๆ (ขนาด 24 โวลต) ยอมไมมีใครทายวาจะกอใหเกิดไฟดูดถึงตายหรือไม ฉะนั้น ทางทีด่ ที ี่สุดก็คือเอาใจใสตองานที่ตนทํา ละเวนการหยอกลอเลนกันในระหวางปฏิบัติงาน 11. ไฟฟา (Electricity) เมื่อถูกไฟฟาดูดเพียงเล็กนอยจะทําใหผวิ หนังไหม หรือทําใหผูถูกไฟฟาดูดตกใจ กระโดดตก ลงมาไดรับบาดเจ็บ ในบางกรณี ผูถูกไฟฟาดูดรุนแรงอาจจะเสียชีวติ ทันทีทันใด หรือมีบาดเจ็บ รุนแรงภายหลังก็ได คนสวนมากมักจะเห็นเหตุการณเกีย่ วกับไฟฟาดูดเล็ก ๆ นอย ๆ เขาใจวาไมมี อันตราย แตความจริงแลวไฟฟาไมไดบอกใหเรารูถึงอันตรายจนกวาจะถูกเขาจริง มีองคประกอบหลายอยางทีจ่ ะนํามาพิจารณากันวา การถูกไฟฟาดูดจะเปนอันตรายถึงชีวิต หรือไม ยกตัวอยาง เชน การสัมผัสใกลและนานมากนอยเพียงใด การตอวงจรสายดินดีพอหรือไม แรงดันไฟฟาสูงหรือต่ํา ไฟตรงหรือไฟสลับ กระแสไฟฟาผานรางกายทางไหน และความชุมชืน้ ของ ผิวหนังมีมากนอยเพียงใด ขอบกพรองทางเทคนิค (เชน การหุมฉนวนไมด)ี การเดินสายไฟไมถูกตอง (เชน ตอสวิตช ทางดานสายทีไ่ มมีไฟ แทนที่จะตอดานทีม่ ีไฟ) ใชสายดินไมดี ไมมกี ารดูแลรักษาอุปกรณไฟฟา หรือ ใชไฟเกินพิกัดของอุปกรณนนั้ สิ่งเหลานี้ลวนเปนขอบกพรองที่จะทําใหเกิดอันตรายขึ้นได ผูปฏิบัติงานทางดานไฟฟา ทํางานเสี่ยงภัยมากกวาผูปฏิบัตงิ านธรรมดา เพราะจําเปนตอง ปฏิบัติงานกับอุปกรณที่มีไฟอยูเสมอ แตบางทีผูปฏิบัติงานทางไฟฟาอาจจะประมาทไมปลดสวิตช ออกทั้ง ๆ ที่จะปลดก็ได อาจจะสับสนเขาใจผิดพลาดไมแนวาอุปกรณสวนไหนมีไฟหรือไม หรือบาง ทีไมใชถุงมือเครื่องมือหรือเครื่องปองกันที่เหมาะสมกับอุปกรณที่มีไฟ


31 อุบัติภัยทางไฟฟามักจะเกิดกับผูปฏิบัติงาน ที่ไมมีหนาที่ เมื่อพยายามจะเปลี่ยนฟวสหรือตอ สายเครื่องมือหรืออุปกรณไฟฟาดวยตนเอง อันตรายที่เห็นไดงาย ๆ ที่เกิดขึ้นกับผูไมใชชางไฟฟา ไดแกการใชเครื่องมือไฟฟาชนิดยายไปมาได บางทีตอสายดินผิด บางทีสายดินขาดทําใหหัวเสียบ ไฟฟา 3 ทาง กลายเปน 2 ทาง เครื่องใชไฟฟาอาจจะมีไฟรั่วดูดผูใช ถาหากมีสิ่งบกพรองภายใน แตก็มี อยูบอย ๆ ที่มีการตอขั้วสายกลับกัน เกลียวสายไฟถาแยกออกไปแตะตัวเครื่องมือนัน้ ไฟรั่วดูดผูใชได ถาสายดินไมดพี อ ดวยเหตุนอี้ ันตรายจึงมักเกิดขึ้น เมื่อผูใชมีความรูทางไฟฟาแลวตอสายอยางลวก ๆ งาย ๆ เสียเองแทนที่จะใชชางไฟฟาอันตรายอยางอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผูไ มใชชางไฟฟาก็คือ การตอสาย โดยไมมีความรูความชํานาญทําใหไฟฟาที่ใชเกินกําลังสาย เครื่องใชไฟฟาบางอยางทําฉนวนไวอยางดี ไมตองมีสายดิน เชน ไฟสอง การถอดฝาครอบ ออกก็อาจจะทําใหไมปลอดภัยได การใชไฟสองแบบธรรมดาที่ตอดวยสายหุมไหม มักมีผูไดรับ อันตรายบอย ๆ เมื่อนําไปใชในที่เปยกชื้น หรือในหองทีท่ ําดวยโลหะ เชน หมอน้ํา บางคนเขาใจวาการถูกช็อตเบา ๆ จากไฟฟาจะไดรับอันตรายนอยกวาโดนช็อตแรง ๆ ซึ่งเปน ความเขาใจผิดอยางมาก อันตรายอื่น ๆ จากไฟฟาก็ไดแกสวิตชทํางานไมคอยดี ซึ่งเมื่อฝนใชก็จะเสียในที่สุด โดยเฉพาะเมื่อถึงคราวฉุกเฉินไมติดปาย (Tag) ที่สวิตชบอกใหแนนอนวามีผูปฏิบัติงานซอมอยูก ับ อุปกรณนั้น ๆ ไมเชื่อวาไฟตรงแรงต่ําเคยทําใหผูคนเสียชีวิตมามากแลวเมื่ออยูในสภาวะที่เหมาะ ไม ใชแวนเมื่อคิดวาจะไดรับอันตรายการขาดของฟวส ไมยกสวิตชไฟออกหรือไมสวมฉนวนปองกันเสีย กอนที่จะเขาไปชวยเหลือผูถูกไฟฟาดูด ขณะทีย่ ังติดอยูท ี่สายไฟ ไมยกสวิตชบอกกอนที่จะทํางาน งาย ๆ เกี่ยวกับไฟฟา เชน เปลี่ยนหลอดไฟ และไมใสกุญแจตัวสวิตช หรือล็อคหามคันสวิตชเสีย กอนที่จะทําการซอมอุปกรณไฟฟา 12. บันได (Ladders) อุบัติภัยที่เกิดเพราะการใชบนั ไดอาจแบงออกไดเปน 4 อยาง คือ บันไดชํารุด วางบันไดไม มั่นคงใชไมถกู วิธี และถูกเคลื่อนยายไมถูกวิธี 12.1 บันไดชํารุด เนื่องจากการใชบันไดมีอยูเ ปนประจํา และไมเปนวัตถุที่เปลี่ยนคุณสมบัติ ไดงาย บันไดจึงมีการชํารุดตาง ๆ เชน ไมขั้นบันไดแตก ไมขั้นบันไดหลวมหลุดจากรอง ไมลูกตั้งตัว บันไดแตกหรือบิดงอ การชํารุดเหลานีม้ ักจะทําใหเกิดอุบัติภยั ไดขณะใชงาน บันไดที่ไมขนั้ หลุด หายไป บางซีม่ ักจะทําใหผูใชบันไดตั้งไมมั่นคง และทําใหไมลูกตั้งอีกขางหนึ่งตองรับแรงเคนมากขึ้น ดวย บันไดที่เหมาะกับการใชงานจะตองไดรับการตรวจสอบอยูเสมอ และตรวจทุกครัง้ กอนนําไปใช ถาเห็นวามีขอบกพรองก็ไมควรฝนนําไปใช บันไดที่ขั้นบันไดทําดวยไมตอกตะปูตอ ๆ กันขึ้นไปไมปลอดภัยในการใช ไมขั้นบันไดอาจจะทรุดเขาไปทางดานขาง


32 บันไดที่ชํารุดควรจะติดปายใหเห็นชัดแจง และควรตัดออกหรือทําลายเพื่อไมใหผูที่ไม รูนําไปใชอีก ความจริงมีอยูขอหนึ่งวา บันไดที่ชาํ รุดมักจะอยูใกลมือกวาอันที่ดีและมักกอใหเกิด อุบัติภัย 12.2 การวางบันไดไมมั่นคง บางครั้งผูปฏิบัติงานอาจจะวางบันไดผิดมุมและวางชันไป เมื่อ ผูปฏิบัติงานปนขึ้นไปก็อาจจะหงายหลังลงมา ถาวางลาดไปบันไดอาจแตกชํารุดเพราะรับแรงเคนมาก ขึ้น ขาบันไดเปนเรื่องที่ตองใชความระมัดระวังเพราะมีโอกาสที่จะลื่นไถลไดงาย การวางมุมบันไดผิดนี้ บางครั้งเกิดจากการเลือกบันไดมาใชพอเหมาะ บางทียาวไป บางทีสั้นไป ถาบันไดสั้นอาจจะไมมีสวนเกินเพื่อพาดกับคานหรือของอาคาร เวลาบันไดลื่นมักจะไม เลื่อนไปมากนัก แตการแกวงของบันไดอาจทําใหผูใชตกลงมาได บันไดทีว่ างบนพื้นที่ไมเสมอมักจะลื่นไดงา ย การเสริมขาบันไดขางหนึ่งโดยใชวัตถุ รองเพื่อใหเสมอกันมีอันตรายมากเชนกัน ถาหากวัตถุที่นํามารองนัน้ ไมดีพอ ทางที่ดีควรจะใช อุปกรณสําหรับยึดฐานบันไดใหเหมาะกับการใชงาน และควรจะผูกปลายบันไดตอนบนไวดวย บันไดทีว่ างไวโดยฐานยื่นอยูใ นเสนทางการปฏิบัติงานอื่น ๆ เชน ยวดยานพาหนะหรือ ผูคนเดินไปมา ซึ่งผูที่คอยยึดบันไดทีฐ่ านนอกจากจะจับฐานบันไดใหมนั่ คงแลวก็ควรจะเตือนผูที่ สัญจรไปมาไมใหเขาใกลบนั ได บันไดทีว่ างขางทางเขาออกไมวาจะขางในหรือขางนอก จะปลอดภัย ถาหากปดประตูใสกุญแจเสีย 12.3 ใชบันไดไมถูกวิธี มีขอระมัดระวังในการพิงบันไดจะตองไมหางจากงานทีจ่ ะทํา ดานขางจนเกินไป โดยเฉพาะอยางยิ่งขณะถอดหรือคลายนัตสกรู ทอ ใชเชือกสาวเอาถุง หรือรอก แขวนกับขั้นบันได เมื่อใชบันไดเปนทางหนีเพลิง ถาวางบันไดชันมากเกินไปก็จะทําใหผูปน ลงรวง หลนลงมาได ระยะทีพ่ ื้นอยางต่ําสุด 3 ฟุต 6 นิ้ว เปนระยะที่จะใชสําหรับจุดประสงคนี้ การลงบันได แบบแปลก ๆ เชน ปลอยตัวเลื่อนไหลลงมาใชมือราไว หรือหันหลังใหบันไดขณะลงอาจจะทําใหผนู ั้น ตกลงมาได การปลอยตัวเลื่อนไหลลงมายังเปนอันตรายตอมือซึ่งอาจจะถูกเสี้ยนตําได พูดโดยทัว่ ไป การใชบันไดที่จะใหสะดวกและปลอดภัยควรจะมีคนยืนจับฐานบันได ไว วิธีนี้ยอมจะชวยไดแมกรณีที่ใชบันไดชนิดมีฐานกันลืน่ ซึ่งความจริงไมจําเปน แตถาเปนฐานชนิดที่ ไมเหมาะกับพืน้ ที่ปฏิบัติงานก็ยอมเปนเรื่องจําเปน เมื่อผูใชบันไดปนขึ้นปลายสุดของบันไดแลวก็ ควรจะผูกยึดปลายบันไดไว เพื่อผูที่ยึดฐานบันไดจะไดมีโอกาสระวังยวดยานและผูคนที่ผานไปมา เบื้องลาง การสวมรองเทาชํารุดก็อาจเปนสาเหตุตกบันไดได เมื่อรองเทาขัดตัวกับขัน้ บันได บันไดจะ หักไดถารับน้ําหนักมากเกินไป คนที่ยืนอยูบนบันไดควรจะมีเพียงคนเดียว ถาไมมีความจําเปนที่ จะตองไปปฏิบัติงานพรอม ๆ กันสองคน บันไดอาจชํารุดเสียหายไดเมือ่ เก็บไวในพัสดุ ยกตัวอยาง เชน ตากแดดตากฝน ไดรบั ความรอนมากเกินไป หรือไมหาสิ่งใดมารองใหไดระดับเมื่อวางตามแนวนอน


33 12.4 การยกเคลื่อนยายบันไดไมถกู ตอง เมื่อผูปฏิบัติงานแบกบันได ก็มีปลายบันไดสองขาง ที่ผูนั้นจะตองคอยระวัง ปลายดานหนาอาจปะทะบุคคลอื่นที่มุมอาคารซึ่งมองกันไมเห็น เวนแตผูแบก จะยกปลายบันไดใหเชิดขึ้น ปลายดานหลังอาจจะแกวงซายขวาและไปกระทบขาบุคคลอื่นได เพราะ ดานหลังผูแบกไมอาจจะระมัดระวังไดตลอดเวลา ผูที่แบกบันไดจึงควรกะเอาวา ขณะนี้ปลายบันไดอยู ประมาณตําแหนงใด แตขอสําคัญก็คือจะตองระลึกถึงขอนี้อยูเสมอเมือ่ จะเลี้ยว เมื่อจะตั้งหรือลดบันได ถาใชผูปฏิบัติงานที่ไมเขาใจก็อาจจะทําใหบนั ไดลมฟาดลงมา ได เนื่องจากบังคับไมอยู ถาบันไดยาวมากควรใชวิธีเอาเชือกผูกปลายบันไดแลวโรยเชือกลงมา รถที่มีบันไดบรรทุกติดรถ ควรมีธงแดงติดไวทั้งดานหนาและหลัง และจะตองกะระยะ ใหพอในขณะเลี้ยว

.......................................................


บทที่ 3 ความปลอดภัยในการทํางานดานตาง ๆ ความปลอดภัยในโรงงานควรมีสิ่งตาง ๆ ดังจะกลาวตอไปนี้ 1. การรักษาโรงงานและเครื่องจักร ควรจัดใหมกี ารตรวจสภาพอาคารและเครื่องจักรเปน ประจํา และตองจัดเตรียมพืน้ ที่ใหสะดวกแกการทํางาน ตองจัดเก็บวัสดุสิ่งของและสารเคมีใหเปนที่ นอกจากนี้ควรมีทางหลบหนีภัยที่อยูในสภาพพรอมเสมอ 2. ทางออกฉุกเฉิน ควรมีขนาดกวางใหเหมาะสมกับจํานวนผูปฏิบัติงานและควรมีความ พรอมตลอดเวลาจึงควรไดรบั การดูแลตลอดเวลา 3. สัญญาณอันตราย โรงงานที่มีกาซหรือวัตถุไวไฟที่มคี นงานตั้งแต 50 คน ขึ้นไป ควรมี สัญญาณแจงใหคนงานออกจากพื้นที่โดยเร็ว ซึ่งควรมีอยางนอย 2 แหง 4. เครื่องดับเพลิงในโรงงานที่มีสารเคมีและวัตถุไวไฟควรมีเครื่องดับเพลิงที่เหมาะสมตาม สภาพในอัตราสวน 1 เครื่องตอพื้นที่ 100 ตารางเมตร 5. การกําจัดขยะมูลฝอย ควรทําที่ทิ้งใหเหมาะสม 6. แสงสวางในการทํางาน ควรมีใหเพียงพอเพื่อมองเห็นสิ่งตาง ๆ ชัดเจน 7. เครื่องมือในการปฐมพยาบาลตองมีพรอมตลอดเวลา 8. สวมและสถานที่ทําความสะอาดรางกาย ควรสะอาดปราศจากเชื้อโรค 9. จัดพื้นที่ปฏิบัติงาน วางเครื่องจักตาง ๆ ใหเหมาะสม 10. น้ําดื่มควรสะอาด ถูกตองตามหลักอนามัย ประโยชนของการทํางานทีป่ ลอดภัยในโรงงาน การเกิดอุบัติเหตุ ยอมกอใหเกิดความสูญเสียหลายอยาง เชน เสียเวลา เสียคาใชจาย เสีย ขวัญ และกําลังใจ เปนตน การสูญเสียดังกลาวในทางเศรษฐกิจถือวา เปนตนทุนในการผลิตอยางหนึ่ง ดังนั้นการปองกันไมใหเกิดอุบัติเหตุขึ้นจึงเปนการประหยัดคาใชจาย เทากับเปนการลดตนทุนในการ ผลิตอีกดวย การจัดสภาพการทํางานของคนงานใหมีความปลอดภัย เปนสิ่งสําคัญของการบริหารใน ปจจุบัน การทํางานในสภาพที่มีความปลอดภัย นอกจากเปนการปองกันอุบัติเหตุที่จะเกิดขึน้ แลว (โดยการปรับปรุง แกไขสภาพแวดลอม เครื่องจักรกล และวิธีการทํางาน) ยังจะไดรบั ประโยชนดงั นี้ 1.ผลผลิตเพิ่มขึ้น การทํางานในโรงงานไดรับความปลอดภัย โดยการจัดสภาพแวดลอมที่ ถูกสุขลักษณะ เครื่องจักรมีอุปกรณปองกันอันตรายเพียงพอ ทําใหคนงานมีขวัญ และกําลังใจในการ ทํางานสูงกวาการทํางานที่อนั ตราย หรือเสี่ยงตอการบาดเจ็บ เพราะคนงานมีความรูสึกวาปลอดภัย หมดความวิตกหรือกังวลเกีย่ วกับอันตราย ทําใหมนั่ ใจทํางานไดเต็มที่และรวดเร็วยิ่งขึ้น ผลผลิตของ โรงงานเพิ่มขึ้น


35 2. ตนทุนการผลิตลดลง เมื่อสถิติการเกิดอุบัติเหตุของโรงงานลดลง ความสูญเสีย หรือ คาใชจายสําหรับอุบัติเหตุลดลงดวย ทําใหโรงงานสามารถประหยัดเงิน คารักษาพยาบาล เงินทดแทน คาซอมแซมเครื่องจักร เปนตน ถามีอุบัติเหตุเกิดขึ้นจะตองเสียคาใชจา ยสวนนี้เปนเหตุใหตน ทุนการ ผลิตเพิ่มขึ้น 3. สงวนทรัพยาการมนุษย การเกิดอุบตั ิเหตุแตละครั้งมักจะทําใหคนงานบาดเจ็บ บางครั้ง รายแรงถึงขึ้นพิการทุพพลภาพหรือเสียชีวติ เปนผลใหประเทศชาติตองสูญเสียทรัพยาการที่สาํ คัญ โดยเฉพาะเมื่อผูบาดเจ็บ หรือเสียชีวิตนัน้ เปนแรงงานทีม่ ีฝมือ มีความชํานาญงานจากการฝกฝนเรียนรู เปนเวลานาน การสูญเสียบุคคลเหลานี้ เปนการสูญเสียที่มีคาสูงมาก นอกจากนั้นความพิการหรือ ทุพพลภาพยังเปนภาระของญาติพี่นอง และสังคมที่ตองใหความชวยเหลือ การทําสภาพแวดลอมใหมี ความปลอดภัยในการทํางาน จึงเปนการสงวนทรัพยากรที่สําคัญของประเทศชาติอีกดวย

การปองกันอันตรายจากเครื่องจักร อันตรายที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทํางานกับเครื่องจักรมักปรากฎขึ้นในสถานประกอบการตาง ๆ อยูเสมอ สาเหตุของอันตรายที่เกิดขึ้นมักเกิดจากเครื่องจักรชํารุด เครื่องจักรมีสภาพทีไ่ มปลอดภัย หรือ ความประมาทของผูทํางานกับเครื่องจักร จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองหาวิธีการปองกันอันตรายมิให เกิดขึ้นได และการปองกันที่ไดผลวิธีหนึง่ คือ การติดตั้งอุปกรณปอ งกันอันตราย หรือ ฝาครอบที่ เหมาะสมที่เครื่องจักร ณ จุดที่กอใหเกิดอันตรายได ลักษณะของเครื่องจักรที่ตองใชอุปกรณปองกันอันตราย หรือฝาครอบ มี 2 ประเภท คือ 1. เครื่องสงถายกําลัง ไดแก เพลา สายพาน โซ กระเดือ่ ง เฟอง ปุลเลย เกียร เปนตน อันตรายที่เกิดกับคนงานสวนใหญอยูในลักษณะของการถูกชน กระแทก หนีบรั้งเขาไปทําใหสญ ู เสีย อวัยวะ เชน มือ แขน เทา ขา ใบหนา ศีรษะ ผิวหนัง เปนตน ทําใหคนงานพิการหรือเสียชีวิต 2. เครื่องจักรทําการผลิต ไดแก เครื่องกลึง เครื่องกัด เครื่องไส เครื่องเจาะ เครื่อง เจียระไน เปนตน ลักษณะของอันตรายอยูใ นรูปของอุบัติเหตุที่เกิดแก นิ้วมือ แขน เทา ใบหนา ลําตัว ศีรษะ และ ผิวหนัง และมักเกิดแกคนงานที่ทํางานกับเครื่องจักรนั้นโดยตรง ทําไมจึงตองใชอุปกรณปองกันอันตราย ? 1. ปองกันมิใหคนสัมผัสกับสวนที่เคลื่อนไหวอยูตลอดเวลาของเครือ่ งจักร เชน เกียร ปุลเลย สายพาน ใบมีดตัด ฯลฯ 2. ปองกันมิใหคนสัมผัส กับลักษณะงานที่เปนอันตรายมาก เชน ปองกันการกระเด็น ของวัตถุถูกตา ใบหนา ปองกันการถูกเลื่อยตัด เปนตน 3. ปองกันอันตรายที่เกิดจากการชํารุดของเครื่องจักร เนื่องจากเครื่องจักรขาดการ บํารุงรักษา ใชงานผิดวัตถุประสงค หรือใชเครื่องจักรเกินกําลัง เปนเหตุใหเกิดอันตรายตอผูใชเครื่อง จักรนั้น


36 4. ปองกันการเกิดเพลิงไหม หรือปองกันอันตรายจากไฟฟา เนื่องจากระบบสายไฟฟา ชํารุด หรือติดตั้งไวไมถูกตอง 5. ปองกันอันตราย เนื่องจากความบกพรองของตัวผูใชเครื่องจักรเอง เชน งวง เหนื่อย เมื่อยลา เจ็บปวย เปนตน ลักษณะของอุปกรณปองกันอันตรายทีด่ ี 1. ไดรับการออกแบบถูกตองตามมาตรฐาน สามารถประกอบกับเครื่องจักรไดเหมาะสม สวนใหญจะติดตั้งมาพรอมกับเครื่องจักร 2.สามารถปองกันอันตรายไดมากที่สุดและครอบคลุมพื้นที่งานในการทํางานของคนงาน 3.อุปกรณปองกันอันตรายทีต่ ิดตั้งจะตองไมกอใหมจี ุดออนเปนชนวนใหเกิดอันตรายกับ คนที่ใชเครื่องจักรนั้น 4. เมื่อติดตั้งอุปกรณปองกันอันตรายแลว จะตองไมรบกวนขัดขวางการทํางาน จนทําให ประสิทธิภาพในการทํางานของเครื่องจักรลดลง หรือเกิดความไมสะดวกสบายตอผูใชเครื่องจักร 5. มีความเหมาะสมกับงาน หรือเครื่องจักรนั้นโดยเฉพาะ สะดวกตอการปรับแตง การ ตรวจสอบ การบํารุงรักษาและการซอมแซม 6. ตองทนทานตอการกัดกรอนของ กรด และดาง 7.วัสดุที่ใชทําตองคงทนแข็งแรง สามารถรับน้ําหนักแรงกระแทก และแรงกดไดเปน อยางดี วัสดุที่นิยมใชทําอุปกรณปองกันอันตราย ตะแกรงลวดถัก หรือตาขาย, ตาขายเหล็กยึด แผนเหล็กเจาะรู หรือไมเจาะรู แผงเหล็ก หรือไม ตีเปนตาขาย หรือตีขวาง แผนไมอัด หรือแผนพลาสติก, ทอเหล็ก หรือทํารั้วกั้น


37

ความปลอดภัยในการใชเครื่องจักรกล เครื่องจักร เปนอุปกรณที่สําคัญประเภทหนึ่งของโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตตาง ๆ เพราะเปนตัว ผลิตและตกแตง ผลผลิตใหออกมามีคุณภาพ จึงตองมีการศึกษาถึงปลอดภัยในการใชเครื่องจักร ซึ่งที่ จริงแลวผูเรียนสายอาชีพสาขาชางอุตสาหกรรมจะตองศึกษาถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทงําานข องเครื่องจักรกลในโรงงาน รูป 1 แสดงเครื่องจักรกล ในโรงงาน

อุบัติเหตุที่เกิดจากเครื่องจักรกล

รูป 2 แสดงการตะไบงานบนเครื่องจักรกลผิดวิธี

1. อุบัติเหตุทเี่ กิดจากเครื่องจักรกลที่สภาพเรียบรอย แตไมไดกนั้ รั้วไว เชน เครื่องที่มีรอบการหมุนสูง สถานที่ติดตั้งเครื่องจักรกลแบบนี้ ผูติดตั้งอาจเห็นวาปลอดภัย แตเมื่อผูป ฏิบัติงานเขาไปใกลเพื่อทํา การซอม ถาหากวาผูนั้นขาดความชํานิชํานาญ, ไมเชื่อฟงหัวหนา หรืออืน่ ๆ เพลาของเครื่องจักรกล อาจหมุนมวนเสื้อผาผูปฏิบัติงานนั้นเขาไปทําใหบาดเจ็บ


38

รูป 3 แสดงการตะไบงานบนเครื่องจักรกลถูกวิธี

2. อุบัติเหตุที่เกิดจากเครื่องจักรกลบางสวนไมมีครอบปองกัน เพราะติดตั้งมีความเชื่อวา ไมมี ใครเขาไปใกลได จึงทําครอบปองกันไวไมแข็งแรงเพียงพอ

รูป 4 แสดงถึงจุดอันตรายที่อาจจะเกิด จากเครื่องจักรที่ไมมีครอบปองกัน

3. อุบัติเหตุที่เกิดจากการถอดครอบปองกันออก 4. อุบัติเหตุที่เกิดจากเครือ่ งหามอัตโนมัติหรือหามในตัว สวนใหญเนื่องจากจากออกแบบไมดีพอ บํารุงรักษาไมดี และการทํางานของเครื่องจักรกลบกพรอง

รูป 5 แสดงเครื่องกลึงซึ่งไมสามารถใสกรอบปองกันและเปนที่มาของการเกิดอุบัติเหตุ 5. อุบัติเหตุนี้เกิดจากเครื่องจักรกลบางชนิด ซึ่งไมอาจจะใสครอบปองกันไดโดยสมบูรณเพราะ ลําบากตอการใชงาน


39

รูป 6 แสดงการเกิดอุบัติเหตุมีสาเหตุมาจากบุคคลอื่น 6. อุบัติเหตุเกิดจากการสตารทเครื่องจักรกลโดยไมตั้งใจ ซึ่งสวนมากมักจะเปนบุคคลอื่นไมใช ผูปฏิบัติงาน ขอควรระวัง การปองกันอุบัติเหตุอันเกี่ยวกับเครื่องจักรกลตองอาศัยเทคนิคแลการจัดระบบที่ดพี อ

รูป 7 แสดงเครื่องมือที่มีครอบปองกัน

1. ผูรับผิดชอบจะตองเขาใจตอขอปลีกยอยในการทํางานของเครื่องจักรกลนัน้

รูป 8 แสดงอันตรายจากการใสเสื้อผาที่ไม รัดกุมทํางาน


40 2. ผูปฏิบัติงานซึ่งทํางานอยูใกลเครื่องจักรกลจะตองใชความระมัดระวังตัว การปองกัน โดยทั่วไปก็คอื เสื้อผาที่ใชจะตองกะทัดรัด ปฏิบัติตามขอแนะนําในการประกอบสายพานเครื่องจักร และระมัดระวังในการเขาไปใกลเครื่องจักรกลซึ่งผูติดตั้งเขาใจวาตั้งอยู ณ ที่ที่ปลอดภัย

รูปที่ 9 แสดงอันตรายจากน้าํ มันเครื่องที่รวั่

3. อันตรายอื่น ๆ ที่จะทําใหเกิดอุบัติเหตุเกีย่ วกับเครื่องจักรกล เชน กองหรือทิ้งสิ่งของรก รุงรัง, พื้นลื่น ขาดการทําความสะอาด แสงสวางในโรงงานไมเพียงพอ ซึ่งสิ่งเหลานี้ควรจะทําแกไข เสียกอน

อุปกรณและเครื่องจักรที่เปนอันตราย 1. เพลาขับเครื่องยนตเผาไหมภายใน ทุกชนิดมักจะกอใหเกิดการบาดเจ็บ ผูปฏิบัติงานควร ระวังเรื่องเสื้อผาที่สวม การหยอดน้ํามันโดยผูหยอดอยูห างออกมาแทนที่จะหยอดอยูใกล ๆ เพลาขับที่ หมุนอยู

I

รูป 10 แสดงอันตรายจากการจับชิ้นงานที่รอน หรือ เครื่องมือที่รอนโดยไมสวมถุงมือหรือผารอง

2. เพลาหมุน เพลาหมุนนี้จดั วาเปนอันตรายอยางหนึ่งที่กอใหเกิดการบาดเจ็บ ซึ่งเพลาหมุนนี้ นับวาอันตรายตอผูปฏิบัติงานอยางมาก ฉะนั้นควรปฏิบัติงานอยางระมัดระวัง


41

รูป 11 แสดงอันตรายจากผาเช็ดมือที่เก็บ ในกระเปาเสื้อ

3. สายพาน, เชือก, โซ และรอก นอกจากเรื่องการใชครอบปองกันไมเหมาะสมแลว อุบัติเหตุอกี ขอหนึ่งก็คือ การประกอบสายพาน ซึ่งอาจจะทําโดยผิดวิธีหรือไมใชเหล็กงัดสายพาน หรืออุปกรณ ชวย ซึ่งอาจหนีบนิ้วมือ หรือสวนหนึ่งสวนใดของรางกายได

รูป 12 แสดงอันตรายจากการใสสายพาน

4. หมูเฟอง อุบัติเหตุเกีย่ วกับหมูเฟอง มักจะเนื่องมากจากการใชครอบปองกันที่ไมถกู ตอง ที่ สําคัญก็คือ หองเฟองที่ไมไดปดมิดชิด คงใชครอบปองกันไวแตสวนที่เห็นวาเปนอันตรายเทานัน้ ซึ่ง จําเปนตองแกไขและผูใชเครื่องจักรกลเหลานั้นจะตองระวังอยางมาก

รูป 13 แสดงหมูเฟองภายในเครื่องจักรที่มาของอุบตั ิเหตุในการทํางาน


42

5. เครื่องปมขึ้นรูป เครื่องจักรกลชนิดนี้มีอนั ตรายที่จะตองเอาใจใส คือ ก. ไมติดตั้งครอบปองกันใหมนั่ คง ข. ปรับระยะครอบปองกันอัตโนมัติไมถูกตอง ค. ไมมีครอบปองกันดานขางและดานหลัง 6. เครื่องจักรกลเกี่ยวกับงานชางไม จะตัดอวัยวะรางกายในชั่ววินาที ซึ่งชางทุกคน ยอมทราบดีอยูแ ลว แตสวนมากก็ยังอาศัยความชํานาญที่จะไมตองอาศัยครอบปองกัน เหตุการณที่ไม นึกฝนเกิดขึ้น และผูชํานาญก็ไมอาจรูไดลวงหนาถึงสภาพของมันดวย สภาพเชนวานีจ้ ะเห็นไดวา ครอบปองกันสิ่งจําเปนในการปองกันอุบัติเหตุ 7. เครื่องเจาะ จะตองยึดสิ่งที่จะเจาะใหมนั่ คง โดยเฉพาะการเจาะเหล็กแผนบาง ๆ อันตราย มาก การหมุนของแผนเหล็กบาง ๆ มีลักษณะเหมือนเลื่อยวงเดือนในแนวนอน

รูป 14 แสดงอันตรายจากการเจาะ ชิ้นงานที่จับยึดไมมนั่ คง

8. หินเจียระไน มีอนั ตรายอันอาจกออุบัติเหตุไดหลายประการ เชน การประกอบหินเจียระไน กับแกนหมุนไมไดศูนยหรือยึดไมแนน, ใชรอบการหมุนสูงผิดปกติไมมีครอบปองกันหรือครอบ ปองกันไมแข็งแรงเพียงพอที่จะตานทานแรงเหวี่ยงของหินเจียระไนทีแ่ ตกกระจายออกมา

รูป 15 แสดงอันตรายจากการประกอบ หินเจียระไนไมมั่นคง


43

กฎความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ านกับเครื่องมือกลทั่วไป กฎที่สําคัญมี 6 ขอ คือ 1. จะตองหยุดเครื่องทุกครั้งเมื่อผูปฏิบัติไมอยูควบคุม 2. ชางปฏิบัติการตองไมสวมเสื้อผารุมราม 3. ชางผูปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือกลทุกชนิด ตองสวมเครื่องปองกันอันตรายตอดวงตา 4. หามทิ้งเศษขยะ หรือบวนน้ําลายลงในถังน้ําระบายความรอน หรือ น้ํายาหลอเย็นเพราะ เปนการทําใหน้ํายาเสื่อมคุณภาพ และเปนการแพรเชือ้ โรค 5. หามปรับแตงหรือวัดขนาดชิ้นงานในขณะที่เครื่องมือกลยังทํางานอยู 6. ผูปฏิบัติงานจะตองใชแปรงหรือเครื่องมือพิเศษในการกวาดเศษโลหะ สาเหตุสําคัญอยางหนึ่งทีเ่ ปนผลใหเกิดอุบัตเิ หตุแกดวงตา ในการปฏิบัติงานเกีย่ วกับเครื่องมือกลทุก ประเภท โดยเฉพาะอยางยิง่ เครื่องเจาะก็เนื่องจากการใชลมกําลังดันสูงเปาเศษโลหะออกจาเครือ่ งกล หรือออกจากเสื้อผา ซึ่งเปนวิธีการปฏิบัติที่ไมถูกตอง

อยาใชเครื่องจักรกอนเรียนรู ระบบและความปลอดภัยในโรงงาน 1. อยาซอมเครื่องจักรกอนเรียนรู เมื่อเครื่องจักรเกิดชํารุดขึน้ ควรใหชางผูชํานาญงานเปนผูซอมแซมเครื่องจักรนัน้ ไมควร ทดลองแกเอง เพราะอาจทําใหเครื่องจักรนัน้ ชํารุดมากขึน้ หรืออาจไดรับอันตรายจากเครื่องจักรนัน้ ได 2. อยาถอดการดปองกันอันตราย อยานําเครือ่ งปองกันหรือการด ซึ่งปดครอบสวนทีเ่ คลื่อนที่ไดของเครื่องจักรออก เวนเสียแตในกรณีที่มีการซอมแซมหรือปรับเสร็จเรียบรอยแลว


44

รูป 16 อยาถอดการดปองกันอันตราย 3. หมูเฟอง อุบัติเหตุเกีย่ วกับหมูเฟอง มักจะเนื่องมาจากการใชครอบปองกันที่ไมถูกตอง หรือการยืน เขาไปใกลหองเฟองซึ่งเปดทิ้งไว ที่สําคัญก็คือหองเฟองที่ไมไดปดมิดชิด คงใชครอบปองกันไวแต สวนที่เห็นวาจะเปนอันตรายเทานั้น เชน สวนที่เฟองขบกัน หรือสวนนอกของฟนเฟองซึ่งจําเปนตอง แกไข และผูใชเครื่องจักรเหลานั้นจะตองระวังเปนอยางมาก 4. การสตารทเครื่องจักร อุบัติภัยที่เกิดจากการสตารทเครื่องจักร โดยไมตั้งใจ ซึ่งสวนมากมักจะเปนบุคคลอื่น ไมใชผูปฏิบัติงาน การแกไขก็คือ ชักฟวสออกเสียกอนปฏิบัติงานซอมแกไข ใชปายเตือนระวัง อันตราย ลั่นกุญแจสตารทเตอรไมใหใครกดหรือสับสวิตชได

รูป 17 อันตรายจากการไมระวังการสตารทเครื่องจักร


45 5. การใชผา คลุมผม สําหรับผูปฏิบัติงานหญิง จะตองใสหมวก นิรภัยที่สามารถปกคลุมผมไดอยางเรียบรอยมีอยู บอยครั้งที่อุบัติภัยเกิดขึ้นเปนบทเรียน ลดความ ประมาท อยากลองดีของผูปฏิบัติงานหญิงลงได เมื่อ ปรากฎวาเครื่องมือกลไดถลกเอาหนังศีรษะติด ออกไปเปนบางสวน หรือตลอดทั้งศีรษะ ในทํานอง รูปที่ 18 อันตรายจากการไม เดียวกัน สิ่งประดับรางกายตาง ๆ เชน แหวน กําไล ใชผา คลุมผม สรอยคอ หรือเครื่องประดับอื่น ๆ ก็ไมควรสวมใส ขณะทํางาน เพราะสวนทีย่ นื่ ออกมาของชิ้นสวนที่เคลือ่ นไหวไดหรือหมุนอยูของเครื่องมือกลอาจจะ ดึงเอาเครื่องประดับเหลานีเ้ ขาไปพรอมกับอวัยวะของรางกาย เครื่องกลึงธรรมดา เครื่องกลึงชนิดนี้จัดเปนเครื่องมือที่มีอันตราย นอย แต ตองใชดวยความสุขุมรอบคอบเพื่อมิใหเกิดอันตรายได การ บาดเจ็บจากเครื่องมือประเภทนี้ เนื่องมาจาก 1. สัมผัสหรือกระทบกับรอยคมของชิ้นงาน หรือสวน ที่ยื่นออกมาจากชิ้นงาน หนาจาน หัวจับ หรือเหล็กพางาน โดยเฉพาะอยางยิ่งสลักเกลียวปรับแตงตาง ๆ ที่ยื่นออกมา 2. การกระเด็นของเศษโลหะจากการกลึง รูปที่ 19 อันตรายจากการทิ้ง ประแจ 3. คันบังคับหยุดของเครื่อง 4. ใชตะไบดวยมือขวา ใชตะไบโดยไม มีดามจับ หรือใชมือจับกระดาษทรายขัดชิ้นงาน แทน การใชไมปะกระดาษทราย 5. วัดขนาดหรือความยาวของชิ้นงาน ในขณะที่เครือ่ ง กําลังเดินอยู 6. พยายามเขี่ยหรือปดเศษโลหะ ในขณะที่เครื่อง กําลังเดินอยู 7. สัมผัสหรือกระทบกับชิ้นงานทีก่ าํ ลังหมุนซึ่งยืน่ ออกมาจากเครือ่ งกลึงประเภทแทนลูกโม หรือเครื่องทํา เกลียว รูปที่ 20 อันตรายจากการใชมือเปลา 8. ทิ้งประแจขันหัวจับคาไวที่หวั จับ กวาดเศษเหล็ก 9. เครื่องมือหมุนมวนเอาเสื้อผาที่รุมราม หรือผาเช็ด เครื่องเขาไป


46 อันตรายจากการใชสวานเจาะตั้งแทน - สัมผัสกับแกนของเครื่อง หรือกับดอกสวาน - ดอกสวานหัก - การใชดอกสวานที่ขาดความคม (ทื่อ) - ถูกกระแทกจากชิ้นงานที่เหวีย่ งหลุดออกมาเพราะจับยึดไวไมแนน - ชิ้นสวนของเครื่องหมุนมวนเอาเสนผม หรือเสื้อผาเขาไป - ใชมือเปลากวาดเอาขี้เหล็กออกจากเครื่อง - ลืมประแจหัวจับหรือเหล็กสงไวในหัวจับ การทําความสะอาดดวยลมเปา ผูปฏิบัติงานสวนมากชอบใชสายยางลมเปาทํา ความสะอาดฝุน หรือสิ่งสกปรกที่ติดอยูก ับเสื้อผาหรือที่ผม ซึ่งอาจเกิดอันตรายตอดวงตาและหูได ควรจะหามวิธี ปฏิบัติที่ผิด ๆ เชนนี้เสียและจัดหาแปรงหรือเครื่องดูดฝุน ใหใชแทน มีวิธีการที่ปลอดภัยกวาและดีกวาใชลม ในการขจัดเศษโลหะ คือ จัดหาแปรงสําหรับปดเศษโลหะ รูปที่ 21 อันตรายจากเศษเหล็ก ใชแปรงที่ใชเพื่อวัตถุประสงคดังกลาว จะตองไมมีหวง กระเด็นเขาตา ลวดหรือสิ่งอื่น ๆ ที่มีลักษณะเปนหวงอยูที่ปลายของดาม จับ เพราะนิว้ มืออาจสอดเขาไปได เปนอันตรายตอการที่เครื่องจักรอาจหนีบดึงเกีย่ วเขาไปพรอมทั้ง แปรง การเปลี่ยนหนาจานแทนกลึง เนื่องจากการทํางานกับเครือ่ งมือกลเหลานี้ ตองมี การยกเปลีย่ นอุปกรณประกอบที่หนัก ๆ หรือชิ้นสวน เครื่องมือกลที่หนัก เชน หนาจาน หัวจับ เปนตน ดังนัน้ ผูปฏิบัติงานทุกคนจะตองใสรองเทานิรภัยเพื่อลดอันตราย ที่จะเกิดขึ้นหากของหนัก ๆ เหลานี้หลนทับเทา รูปที่ 22 อันตรายจากหนาจานทับเทา ที่ไมใสรองเทานิรภัย


47

การดปองกันอันตรายจากเครื่องจักร การปองกันอันตรายจากเครื่องจักร หรือเรียกวา การทําการดเครื่องจักร ก็คือ การออกแบบ หรือหามาตรการปองกันไมใหมีอันตรายเกิดขึ้น การออกแบบการสราง การติดตั้งและการบํารุงรักษา การดที่จะปองกันจุดอันตรายของเครื่องจักรนี้ จําเปนตองเอาใจใสเปนพิเศษ อาจถึงขั้นสูญเสียนิ้ว ฝา มือ หรือแขนก็เปนได อันเปนผลใหผูบาดเจ็บตองพิการไปตลอดชีวติ แตอยางไรก็ตาม เครื่องจักรที่ ไมมีการดหรือมีแตไมเหมาะสมหรือเพียงพอ แมวาจะมีการใชมาเปนเวลานานแลวก็ตาม แตยังไมเคย มีอุบัติภัยเกิดขึน้ เลย ก็ไมไดหมายความวาเครื่องจักรนั้นจะไมเปนอันตราย เพียงแตผูปฏิบัติงานอาศัย ความชํานาญหรือทํางานดวยความระมัดระวังเทานั้น นับวาเปนการกระทําที่เสี่ยงอันตรายมาก เนื่องจากพฤติกรรมของคนคอนขางจะคาดการณไดยากและหวั่นไหวแปรเปลี่ยนไดตลอดเวลา แมวา ผูปฏิบัติงานมีความระมัดระวังมากเพียงใดก็ตาม บางครั้งก็ อาจพลาดพลั้งได ดังนัน้ จึงตองมีการทําการดเครื่องจักรให ถูกตองและเหมาะสมที่สุด ลักษณะของการดที่ดีควรจะมี ลักษณะดังนี้ 1. ใหการปองกันอันตรายตั้งแตตนมือ 2. ใหการปองกันมิใหสวนของรางกายเขาใกลเขต รูปที่ 23 การดปองกันมือกอนแกไข อันตราย 3. ใหความสะดวกแกผูทํางานไดเชนเดียวกับที่ ไมได ใสการดปองกัน 4. การดที่ดีควรไมขัดขวางผลผลิต 5. การดควรเหมาะสมกับงานและเครื่องจักร 6. การดควรมีลักษณะติดมากับเครื่อง รูปที่ 24 การดปองกันมือหลังแกไข 7. การดควรงายตอการตรวจซอมและการเติมน้ํามัน 8. การดควรทนทานตอการใชงานปกติไดดี และมีการ บํารุงรักษานอย การปองกันอันตรายสวน ที่เคลื่อนไหวของเครื่องจักรแบบตาง ๆ นั้น สามารถทําได โดยการสรางการดปองกันอันตรายจากเครื่องจักร ทั้งนี้ เพื่อ รูปที่ 25 แทนปมยังไมใส ปองกันไมใหคนงานตองสัมผัสกับจุดที่อันตราย ในการ การด ติดตั้งการดนัน้ จะตองศึกษาใหดีและละเอียดรอบคอบ เพราะหากติดตั้งการดไมเหมาะสม แทนที่จะ ปองกันไดกลับเปนจุดออนที่ทําใหเกิดอันตรายมาก ยิ่งขึ้น ดังนั้น การติดตั้งการดนั้น จะตองเลือกใหถกู กับลักษณะของงาน ปกติสามารถแบงการด


48 ออกเปนชนิดใหญ ๆ 5 ชนิด ซึ่งในการใชนั้น อาจเลือกใชแบบใดแบบหนึ่งหรือหลายแบบพรอมกันก็ ได 1. การดชนิดติดตั้งอยูกับที่ ( a Fixed Guard ) 2. การดชนิดล็อคในตัว ( an Interlocking Guard ) 3. การดชนิดปลดคลัตช ( a Trip Guard ) 4. การดชนิดอัตโนมัติ ( an Automatic Guard ) 5. การดชนิดใชมือ 2 ขาง ( a Two – hand Control Device ) ก็จะกระทบหรือสัมผัสกับตะแกรง ทําให เครื่องจักรหยุด ทํางานทันที รูปที่ 26 เครื่องผสมแปงใส การดชนิดปลดคลัตชนี้ มีหลักการทํางานอีก แบบ การดปดชนิดปลดคลัทซ หนึ่งโดยใชลําแสงแทนตะแกรงหรือกรง ประกอบขึน้ เปนฉากมานกัน้ ระหวางผูปฏิบัติงานกับจุดอันตรายของ เครื่องจักร ลําแสงนี้ออกแบบเปนพิเศษ ซึง่ เมื่อใดก็ตามที่ ลําแสงถูกตัดหรือบดบัง จะทําใหวงจรไฟฟาทํางาน เปน ผลใหกลไกหรือคลัตชปลดหรือแยกตัวออก ทําให เครื่องจักรหยุดทํางานทันที รูปที่ 27 แทนตัดโลหะแผนไมใสการด ตัวอยางเชน เครื่องผสมแปง และเครื่องผสมน้ํา ยาง เปนตน การเกิดอุบตั ิภัยจากดามตีหรือแขนผสม ของเครื่องผสม ขึ้นอยูกับการหมุนและจังหวะการตีของ แขนผสม แขนตีนอี้ าจจะเกี่ยวเสือ้ ผาหรืออวัยวะของ ผูปฏิบัติงานเขาไป กอใหเกิดการบาดเจ็บหรืออันตราย ได การดที่เหมาะสําหรับเครื่องจักรประเภทนี้ คือการด ชนิดปลดคลัตช เครื่องจักรจะทํางานได ตอ เมื่อปดชองเปดเรียบรอย และเครื่องจักรจะหยุดทันที รูปที่ 28 แทนตัดโลหะแผนใสการด เมื่อชองเปดถูกเปดออก ชนิดที่แบบเปนซี่ ๆ

การดชนิดอัตโนมัติ การดชนิดนี้ เปนการดที่ออกแบบเพื่อปองกันตัวผูปฏิบัติงาน โดยจะทําหนาที่ปดมือหรืออวัยวะ สวนหนึ่งสวนใดที่อาจจะเปนอันตราย ใหออกมาพนจุดอันตรายของเครื่องจักร สวนที่เคลื่อนที่ไดของ การด จะถูกขับเคลื่อนโดยสวนที่เคลื่อนที่ไดของเครื่องจักรนั้น ๆ รูปแบบของการเคลื่อนไหวของ การดอาจจะเปนการกวาดจากดานหนึ่งไปอีกดานหนึ่ง หรือการผลักออกมาขางนอก หรือผลักขึ้น ขางบน จากจุดปฏิบัติงาน หรืออาจจะเปนลักษณะดึงมือผูปฏิบัติงานออกจากบริเวณอันตราย การด


49 ชนิดนี้เหมาะสําหรับงานที่ตองใชมือคนปอนชิ้นงานเขาเครื่องจักรเปนประจํา เชน เครื่องปมโลหะ และเครื่องอัดขึ้นรูป เปนตน การเคลื่อนไหวของการดชนิดนีจ้ ะสัมพันธกับการเคลื่อนไหวของจุด ทํางานของเครื่องจักร โดยทีก่ ารเคลื่อนของการดจะเร็วกวาการเคลื่อนไหวของเครื่องจักร เพื่อปองกัน มือผูปฏิบัติงานใหพน จุดอันตรายกอน ดังนั้น เครื่องจักรที่มีรอบหรืออัตราความเร็วสูง ไมเหมาะที่จะ เลือกใชการดชนิดนี้ เพราะไมสามารถปรับความเร็วของการดใหสัมพันธกับเครื่องจักรได การดชนิดนี้ จําเปนตองมีการตรวจสอบและบํารุงรักษาเปนประจํา

รูป 29 เครื่องตัดกระดาษที่การดใชลําแสง พรอมสวิตชกดบังคับดวยมือสองขางพรอมกัน เพื่อความ ปลอดภัยอีกชั้นหนึ่ง A : สวิตชกดบังคับดวยมือสองขางพรอมกัน B : อุปกรณการดใชลําแสง

การดชนิดใชมือ 2 ขาง หลักการของการดชนิดนี้ ก็คือ การออกแบบ ควบคุมโดยตองใชมือ 2 ขางทํางานพรอมกัน เปนการ บังคับใหผูปฏิบัติงานตองใชมือทั้ง 2 ขางสัมผัสหรือกด บนอุปกรณหรือปุมบังคับควบคุมเครื่องจักรพรอม ๆ กัน เครื่องจักรจึงจะทํางาน หากกดหรือสัมผัสไมพรอม กัน เครื่องจักรจะไมทํางานหรือหยุดทันที การดชนิดนี้ เหมาะสําหรับเครื่องจักรที่มีการควบคุมโดยใชลม ไฮด รอลิค ไฟฟา เปนตน เพื่อปองกันการเผลอเรอของ ผูปฏิบัติงาน และอุปกรณสําคัญอีกชิ้นหนึ่งสําหรับ การดชนิดนี้ คือ ตองติดตั้งเครื่องหนวงเวลาไวดว ย เพื่อ รูปที่ 30 เครื่องปมโลหะมีการดชนิด ใชมือ 2 ขาง


50 ควบคุมใหเครือ่ งจักรทํางานไดตอเมื่อกดหรือสัมผัสปุม หรืออุปกรณควบคุมพรอม ๆ กัน เครื่องหนวง เวลานี้ควรมีเวลาไมตางกันมากกวา 2 - 3 มิลลิวินาที

การบํารุงรักษาการด ผูควบคุมหรือชางผูที่มีหนาที่ซอมและบํารุงรักษาตองถือวา การดเปนสวนหนึ่งของเครื่องจักร ที่จําเปนตองมีการตรวจสอบ บํารุงรักษา และซอมแซมใหมีสภาพเรียบรอย ใชงานไดตลอดเวลา กฎเกณฑงาย ๆ เพื่อความปลอดภัยในทางปฏิบัติ มีดังนี้ - หามถอด ปรับ หรือเคลื่อนยายการดทุก ชนิด เวนแตจะกระทําโดยผูมีหนาที่เกีย่ วของโดยตรง เทานั้น - ตองแนใจวาการดของเครื่องจักรนั้นไดตดิ ตั้ง เขาที่ในตําแหนงที่ถูกตอง และอยูในสภาพที่ทํางานได ดีแลว กอนการเดินเครื่องจักร - กอนจะถอด ปรับ หรือซอมบํารุง จะตอง หยุดเครื่องจักร ยกสวิตชใหญแลวล็อคไว และแขวน ปายเตือนไวทกุ ครั้ง - ตองแนใจวา ระหวางที่ซอมบํารุง ตองไมมี ผูใดสามารถเดินเครื่องจักรได - เมื่อซอมบํารุงเสร็จแลว ตองปลดล็อคออก รูปที่ 31 การดโปรงแสง วางเอียง อยูกับที่ ดวยตนเอง อยาใหผอู ื่นทําโดยเด็ดขาด และเมื่อปลด ปรับระยะได ล็อคแลวตองแนใจวาไมกอใหเกิดอันตรายตอผูอื่น ดวย บทสรุป อันตรายที่เกิดขึน้ เนือ่ งจากการทํางานกับเครื่องจักร มักปรากฎขึ้นในสถานประกอบการตาง ๆ อยูเสมอ จากสถิติการประสบอันตรายของกรมแรงงาน พบวามีคนงานที่ประสบอุบัติเหตุขณะทํางาน กับเครื่องจักร คิดเปนรอยละ 11.27 ของจํานวนผูประสบอันตรายทั้งหมด สาเหตุของอันตรายที่เกิดขึ้น มักเกิดจากเครือ่ งจักรชํารุด เครื่องจักรมีสภาพที่ไมปลอดภัย หรือความประมาทของผูทํางานกับ เครื่องจักร จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองหาวิธกี ารปองกันอันตรายมิใหเกิดขึ้นได และการปองกันที่ไดผล วิธีหนึ่งคือ การติดตั้งเซฟการด หรือฝาครอบที่เหมาะสมที่เครื่องจักร ณ จุดทีก่ อใหเกิดอันตรายได


51

ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา อันตรายที่เกิดจากไฟฟา เพลิงไหม ไฟฟามีสวนทําใหเกิดเพลิงไหม สาเหตุสวนใหญเนื่องจาก 1. การเกิดประกายไฟฟาในบริเวณที่มีเชื้อเพลิงไวไฟ เชน น้ํามัน แอลกอฮอล กาซหุงตม ใย ฝาย นุน และปานปอ ซึ่งสิ่งเหลานี้ติดไฟไดงายถาเพียงมีประกายไฟเกิดขึ้นในบริเวณใกลเคียง 2. การลุกไหมที่สายไฟหรืออุปกรณไฟฟา เกิดจากการใชกระแสไฟฟาเกินกวาอัตราที่กําหนด ทําใหฉนวนหุม สายไฟเกิดการลุกไหม และฟวส (อุปกรณปองกันการลัดวงจร) ติดตั้งไวไมถูกตอง เหมาะสม เพราะกวาฟวสจะขาด การลุกไหมที่ฉนวนก็กลายเปนอัคคีภยั ไปแลว 3. การใชมอเตอรไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟาเกินกําลังและมีการใชงานมากกวาปกติจนทําให มอเตอรไฟฟาหรืออุปกรณนนั้ ลุกไหมได 4. ความรอนที่จุดตอสาย และการตอสายไฟฟา รอยตอจะตองใหแนนสนิท การตอไวอยาง หลวม ๆ จะเปนผลใหเกิดความตานทานตอการไหลของกระแสไฟฟา จะมีกระแสไฟฟาไหลผานมาก จนเกิดความรอนที่จุดตอนัน้ เพิ่มมากขึ้นจนเกิดเพลิงไหมไดในที่สุด 5. ความรอนที่สะสมอยูในอุปกรณไฟฟา อุปกรณไฟฟาที่มีคุณภาพต่ําหากใชไปนาน ๆ ความ รอนจะสะสมมากขึ้นจนทําใหถึงจุดติดไฟของสิ่งรองรับ

รูปที่ 32


52

อันตรายจากการใชไฟฟาทั่วไป สาเหตุที่กอใหเกิดอันตรายจากการใชไฟฟา อุปกรณเครื่องใชตลอดจนเครื่องอํานวยความ สะดวกสบายสวนใหญทํางานดวยพลังงานจากไฟฟา ขณะเดียวกันอุบัติเหตุหรืออุบัติภัยตาง ๆ ที่ เกิดขึ้นจากกระแสไฟฟาก็มมี ากขึ้นเปนเงาตามตัว ผูที่เกี่ยวของหรือผูใชอุปกรณไฟฟาจําเปนตองใช ความระมัดระวังเปนพิเศษ อยางไรก็ตาม อันตรายจากการใชไฟฟาโดยทั่วไปก็ยังมีใหพบเห็นกันอยู เสมอ ทั้งนี้ เนือ่ งจากสาเหตุสําคัญ 3 ประการ ดังตอไปนี้ 1. การใชอุปกรณไฟฟาที่ชํารุดหรือฉนวนที่ใชในขดลวดของมอเตอรหรืออุปกรณไฟฟาชํารุด 2. สภาพแวดลอมหรือเทคนิคในการติดตั้งอุปกรณผิดลักษณะและเลือกใชไมถูกตอง เดินหรือ ตอสายไฟโดยไมตัดวงจรไฟฟากอน 3. ผูปฏิบัติงานหรือผูใชอุปกรณไฟฟาขาดความรูเรื่องความปลอดภัยจากไฟฟา ขาดความ ระมัดระวังและไมรอบคอบในการปฏิบัติงาน กระทําการดวยความประมาท เชน เลือกใชเตาเสียบผิด ประเภท ใชสายไฟฟาแทนฟวส ใชสายไฟที่มีขนาดไมเหมาะสมกับกําลังของเครื่องจักร ใชเครื่องมือ เครื่องจักรเกินกําลัง เดินสายไฟฟาหรือตออุปกรณไฟฟาโดยไมตัดไฟกอนทํางาน ตรากตรําทํางาน มากจนไมมเี วลาพักผอน ทําใหสมรรถภาพในการทํางานลดลงและมีอาการเหมอลอยขาดสติในการ ทํางาน

รูป 33


53 ปจจัยที่กอใหเกิดความรุนแรงจากการประสบอันตรายจากไฟฟา ขึ้นอยูกับปจจัย 6 ประเภท คือ 1. ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานรางกาย โดยปริมาณของไฟฟาที่รางกายมนุษยรับได จนถึง ขั้นอันตรายมีดังนี้ - นอยกวา 0.5 มิลลิแอมแปร ไมเกิดความรูส ึก - 0.5 – 2 มิลลิแอมแปร เริ่มเกิดความรูสึกวาถูกกระแสไฟฟา - 2 - 10 มิลลิแอมแปร กลามเนื้อหดตัว แตยงั ไมเสียการควบคุมตัวเอง - 5 - 25 มิลลิแอมแปร มีความรูสึกเจ็บปวดจากการถูกกระแสไฟฟา ไมสามารถขยับ เขยื้อนได - มากกวา 25 มิลลิแอมแปร เกิดอาการกลามเนื้อเกร็งและหดตัวอยางรุนแรง - 50 - 200 มิลลิแอมแปร กลามเนื้อหัวใจกระตุกอยางรุนแรงหรือหัวใจเตนถี่รัว - 100 มิลลิแอมแปร ระบบหายใจหยุดทํางาน 2. ระยะเวลาที่สัมผัส หรือระยะเวลาทีก่ ระแสไหลผาน กระแสไฟฟาเมื่อไหลผานเปน เวลานานอาจไดรับอันตรายถึงชีวิตได อาการจะเริ่มจากการชอค ระบบหายใจหรือระบบการทํางาน หยุดชะงัก การหมุนเวียนของโลหิตจะสิ้นสุดลง สมองขาดออกซิเจนและถูกทํางานเกิดการพิการทาง สมองจนถึงแกความตายได กระบวนการนี้ใชเวลา 4 - 7 นาที ตองชวยเหลือผูถูกกระแสไฟฟาไหลผาน รางกายโดยเร็วที่นสุดดวยวิธีที่ถูกตองดวยความรอบคอบและระมัดระวัง 3. แรงดันไฟฟา แรงดันไฟฟาที่คนประสบอันตรายสวนใหญไดรับอยูในปริมาณ 110 - 400 โวลท แรงดันไฟฟาตั้งแต 240 โวลท ขึ้นไปจะทําใหผิวหนังที่สัมผัสทะลุ ทําใหความตานทานการ ไหลของกระแสไฟฟาที่ผานเขาสูรางกายมีมากขึ้นจนเปนผลใหเสียชีวติ ได 4. ความตานทานของรางกายตอไฟฟา กระแสไฟฟาที่ผานเขาสูรางกายสวนใหญมักจะผาน ทางมือและลงสูดินทางมืออีกขางหนึ่งหรือฝาเทา แตการที่กระแสไฟฟาจะผานอวัยวะสวนใดสวน หนึ่งไดนั้นจะตองผานผิวหนัง ดังนั้น ผิวหนังจึงเปนตัวควบคุมปริมาณของกระแสไฟฟาที่ไหลผาน เขาสูรางกาย โดยผิวหนังแหงจะตานทานไดมากที่สุด คือ 100,000 ถึง 600,000 โอหมตอตาราง เซนติเมตร 5. ความถี่แรงดันไฟฟา ความถี่ 50/60 เฮิรตซ ความตานทานของรางกายจะมีคาสูงทีส่ ุดแตเมื่อ เพิ่มความถี่ขึ้น ความตานทานของรางกายจะลดลงในลักษณะที่ไมเปน เปนกราฟเสนตรงกระแสไฟฟา ที่จะทําใหกลามเนื้อเตนถี่รัวก็จะสูงขึ้นดวยเชนกัน 6. เสนทางหรืออวัยวะภายในรางกายทีก่ ระแสไฟฟาไหลผาน เมื่อกระแสไฟฟาเขาทางศีรษะ และออกทางฝาเทาทั้งสองขางจะมีอันตรายมากที่สุด


54

อันตรายที่เกิดตอรางกายมนุษยเมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผาน เมื่อกระแสไฟฟาไหลผานรางกายจะเกิดอันตราย 7 ประการดวยกันคือ 1. กลามเนื้อกระตุกหรือเกิดการหดตัว 2. หัวใจเกิดอาการเตนเร็วถี่รวั หรือเกิดการกระตุก 3. ดวงตาอักเสบ 4. ระบบประสาทเกิดการชะงักงัน 5. หัวใจหยุดทํางาน 6. เนื้อเยื่อและเซลลตาง ๆ ถูกทําลาย 7. เซลลภายในรางกายเสียหรือตาย

อันตรายจากไฟฟาแรงสูง สาเหตุสวนใหญที่ทําใหเกิดอันตรายจากไฟฟาแรงสูง คือ การทํางานที่ตอ งอยูใกลสายไฟฟฟา แรงสูง เชน ตอกเสาเข็มกอสรางใกลสายไฟฟาแรงสูง ใชปนจั่นยกของหนักใกลสายไฟฟาแรงสูง กอสรางปรับปรุงหรือรูเทาไมถึงการณใชบันไดเหล็กพาดสายไฟฟาแรงสูง

รูป 35

ขอควรระวังในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟาทั่วไป หลักการทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับไฟฟา ซึ่งทุกคนควรปฏิบัติเพื่อปองกันการเกิดอุบัติภยั จากไฟฟา สรุปไดดังนี้ 1. เมื่อพบวากลองสวิตชชํารุดหรือเสียหาย ควรเริ่มเปลี่ยนหรือซอมแซมทันที


55 2. บริเวณที่มีสวิตชอยูใ กล ๆ ควรรักษาใหสะอาดอยูเสมอ 3. หมั่นสํารวจตรวจสอบภายในแผงสวิตชอยูเสมอ 4. การเปลี่ยนฟวส ตองสับสวิตชกอนทุกครั้งที่จะเปลี่ยนฟวสนนั้ ๆ 5. การตรวจสอบดูแลสวิตชตัดตอนเปนประจําทุกเดือน และบํารุงรักษาใหอยูในสภาพใชงาน ไดดีตลอดเวลา 6. สวิตชแตละอันควรมีปายแสดงรายละเอียดดังนี้ - ใชกับไฟฟากระแสตรงหรือไฟฟากระแสสลับ - ความตางศักยทางไฟฟา - กระแสไฟฟา - เครื่องมือเครื่องใชทางไฟฟาที่ตอกับสวิตชนั้น 7. อยาเปดหรือปดสวิตชในขณะที่มือเปยกอยู 8. ถาจะซอมแซมอุปกรณเครื่องใชไฟฟาทุกครั้งตองสับสวิตชเสมอ

ขอควรระวังเกี่ยวกับการใชสวิตชตัดตอนภายในโรงงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมผูปฏิบัติงานสวนใหญจะตองเกีย่ วของกับไฟฟา นอกจากขอความ ระวังเกี่ยวกับไฟฟาทั่ว ๆ ไปแลว สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งที่ผูปฏิบัติงานควรระวังก็คือ การใชสวิตช ตัดตอน ซึ่งพอสรุปไดดังนี้ 1. สวิตชที่ใชงานกับสวนทีอ่ าจเกิดอันตรายไดสูง ผูรับผิดชอบตองหมั่นตรวจสอบดูแลและ ทําปายบอกเตือนไว 2. ในกรณีทมี่ ีการตรวจซอมแซมเครื่องจักรตองทําปายหรือสัญลักษณติดแขวนไวที่สวิตชวา อยูระหวางการซอมแซม หรือกําลังซอม เมื่อซอมเสร็จแลวจึงนําปายออก 3. การใชสวิตชควบคุมเครื่องจักรที่ใชรวมกันหลาย ๆ คนควรมีหลักเกณฑหรือสัญญาณใน การปฏิบัติเปนมาตรฐานเดียวกัน 4. การทํางานรวมกันระหวางคนงาน 2 กลุมที่ใชเครื่องจักรรวมกัน จะตองใชอยางระมัดระวัง โดยเฉพาะถาเกิดกรณีที่มีการตรวจซอมตองมีการติดตอประสานงานกันเปนอยางดีกอ นที่จะมีการเปด ปดวงจรไฟฟา ขอควรระวังเกี่ยวกับการใชเครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณไฟฟาภายในโรงงาน เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณตาง ๆ ภายในโรงงานสวนใหญจะใชไฟฟาเปนเครื่องตน กําลังทั้งนั้น ผูปฏิบัติงานตองระมัดระวังการใชเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณไฟฟาเหลานั้น ซึ่ง สรุปไดดังตอไปนี้ 1. ตรวจสอบสายไฟฟา ถาพบวาชํารุดใหใชเทปพันเปนฉนวนหุมใหเรียบรอย และตรวจจุด ตอสายไฟฟาใหเรียบรอยดวย


56 2. อุปกรณไฟฟาที่เคลื่อนยายไดควรตรวจสอบบริเวณขอตอ ขั้วที่ติดอุปกรณและสายไฟฟา อยางระมัดระวัง ถาพบวาชํารุดใหเปลี่ยนใหอยูในสภาพดี 3. หมั่นตรวจสอบเครื่องมือไฟฟาชนิดเคลื่อนยายได และรักษาใหอยูในสภาพดีตลอดเวลา 4. ดวงโคมไฟฟาที่เคลื่อนยายไดตองมีฝาครอบปองกันหลอดไฟฟา 5. การเปลี่ยนหรือซอมแซมเครื่องมือหรืออุปกรณไฟฟา แมจะเปนกรณีเล็กนอยก็ควรใหชาง ทางไฟฟาเปนผูดําเนินการ 6. อยาจับสายไฟฟาขณะที่มกี ระแสไฟไหลอยู 7. อยาแขวนหรือหอยสายไฟฟาบนของมีคม เชน ใบมีด ใบเลื่อย และใบพัด 8. การใชเครื่องมือทางไฟฟาควรตอเปลือกหุมที่เปนโลหะของเครื่องมือนั้นลงดิน 9. การใชอุปกรณไฟฟาบางชนิด เชน มอเตอร และหมอแปลง ควรมีผูรับผิดชอบควบคุมใน การปดเปดใชงาน 10. ในสวนทีอ่ าจกอใหเกิดอันตรายควรมีเครื่องหมายแสดงไว เชน ปาย ไฟสัญญาณธงสีแดง และเทปแดง เปนตน 11. ถาเกิดสภาพผิดปกติกับอุปกรณไฟฟา ควรสับสวิตชใหวงจรไฟฟาเปดแลวแจงให ผูรับผิดชอบทราบ 12. หามปลดอุปกรณปองกันอันตรายทางไฟฟาออก ยกเวนกรณีที่ไดรับอนุญาตแลวเทานั้น 13. เมื่อใชงานเสร็จแลวควรสับสวิตชและตองแนใจวาวงจรไฟฟาเปด 14. ควรหมั่นทําความสะอาดดวงโคมใหปราศจากฝุนละออง 15. ไฟฟาที่มีความตางศักยสูงจะมีอันตรายมากขึ้น จึงควรระวังเปนพิเศษ 16. ควรเอาใจใสกับสายสงไฟฟาแรงสูง 17. อยาหอหุมดวงโคมไฟฟาดวยกระดาษหรือผา 18. อยานําสารไวไฟหรือสารที่ลุกติดไฟงายเขาใกลบริเวณสวิตชไฟฟา 19. อยาใชเครือ่ งมือหรืออุปกรณไฟฟาขณะมือเปยกน้ํา 20. อยาใชเครือ่ งมือหรืออุปกรณไฟฟาตองรีบสับสวิตชใหวงจรไฟฟาเปด 21. เมื่อมีผูไดรับอุบัติเหตุทางไฟฟาสลบ ใหทําการผายปอดชวยหายใจกอนจนกวาแพทยหรือ พยาบาลจะมาถึงที่เกิดเหตุ 22. เมื่อเกิดไฟฟาดับควรรีบสับสวิตชใหวงจรไฟฟาเปด 23. ถาเกิดไฟฟาช็อดหรือลัดวงจรทําใหเกิดไฟไหม ใหรบี สับสวิตช (วงจรเปด) แลวรีบทําการ ดับไฟดวยเครื่องดับเพลิงชนิดสารเคมี ไมควรใชน้ําหรือเครื่องดับเพลิงที่เปนน้ําทําการดับไฟ เพราะ อาจเกิดอันตรายได 24. ควรกดสวิตชใหแนใจวาสวิตชไมคาง 25. ไมควรเดินเหยียบบนสายไฟ


57 26. ระมัดระวัง

การใชอุปกรณไฟฟาที่มีแรงเคลื่อนไฟฟาสูง

ควรสงสัญญาณการสับสวิตชอยาง

ขอควรระวังเกี่ยวกับการติดตั้งอุปกรณไฟฟาภายในโรงงาน ดังไดกลาวมาแลววา เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณในโรงงานนัน้ สวนใหญจะใชไฟฟา เปนเครื่องตนกําลังทั้งนั้น นอกจากขอควรระวังตาง ๆ ที่ไดกลามาแลว สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ การติดตั้งอุปกรณไฟฟา ซึ่งผูป ฏิบัติงานควรระมัดระวัง สรุปไดดังนี้ 1. การติดตั้งอุปกรณไฟฟาจะตองมีการควบคุมดูแลโดยชางหรือผูชํานาญทางไฟฟานอกจาก งานที่มีความตางศักยต่ํากวา 50 โวลท ซึ่งตอลงดินเรียบรอยแลว 2. การติดตั้งอุปกรณไฟฟาจะทําไดตองผานการปรึกษาหารือจากผูชํานาญแลวโดยเฉพาะการ สื่อสารเกี่ยวกับการปองกันเมื่อมีการทํางานขณะมีกระแสไฟฟาไหลอยู หรือในกรณีที่มีการขัดจังหวะ เกิดขึ้น 3. การติดตั้งอุปกรณไฟฟาตองใชอุปกรณอันตรายโดยเฉพาะ หรือมีฉนวนหอหุมเปนอยางดี 4. ควรหลีกเลีย่ งการทํางานขณะมีกระแสไฟไหลอยูย กเวนกรณีจําเปนจริง ๆ เทานั้น 5. การติดตั้งอุปกรณทางไฟฟานอกจากตองปฏิบัติตามกฎหมายและมาตรฐานทางไฟฟาแลว ควรปฏิบัติเพิม่ เติมดังนี้ 5.1 หามเปดชิน้ สวนของอุปกรณไฟฟาที่เมื่อเปดแลวจะมีกระแสไฟฟาอยูเสมอใน บริเวณทีซ่ ึ่งอาจมีการสัมผัสหรือทํางาน 5.2 หุมหออุปกรณหรือสายไฟฟาอยูเ สมอในบริเวณที่ซึ่งอาจมีการสัมผัสหรือทํางาน 5.3 หมั่นตรวจตราฉนวนหุมอุปกรณไฟฟาอยูเสมอในบริเวณที่ซึ่งอาจมีการสัมผัส หรือทํางาน 5.4 เมื่อมีการเดินสายไฟฟาบนถนน (แมวา จะเดินชั่วคราวก็ตาม) ควรมีระบบปองกัน อันตรายซึ่งใชเฉพาะงาน 6. กรณีการทํางานเกีย่ วกับไฟฟาที่อาจมีการขัดจังหวะงานได ควรเพิ่มความระมัดระวังดังนี้ 6.1 เครื่องจักรบางชนิดเมื่อเดินเครื่องแลวไมสามารถกดสวิตชใหกลับมาทํางานที่จุดเริ่ม ตนได ควรมีปายบอกไวชัดเจน 6.2 เครื่องจักรทุกชนิดควรมีระบบสายดินที่ดี 6.3 เมื่อเกิดปญหาตาง ๆ ควรปรึกษาชางไฟฟาหรือผูเชี่ยวชาญทางไฟฟา 6.4 กอนสับสวิตชทํางานควรตรวจสอบใหแนใจกอนวาจะไมเกิดอันตราย ไฟฟาลัด วงจรที่มรี ะบบสายดินแหลงจายไฟเรียบรอย 6.5 ตองมีการจายประจุไฟฟา ในกรณีเครื่องมือหรืออุปกรณไฟฟานั้นมีประจุไฟฟา คางอยู


58

ขอควรระวังเกี่ยวกับการทํางานในขณะที่มีกระแสไฟฟาไหลอยู สิ่งที่ผูปฏิบัติงานจะหลีกเลี่ยงไมไดก็คือ การปฏิบัติงานในขณะที่เครื่องมือเครื่องจักรตองใช ไฟฟาเปนเครื่องตนกําลัง ดังนั้นถาในกรณีที่มีกระแสไฟฟาไหลอยู ผูป ฏิบัติงานควรปฏิบัติดังนี้ สําหรับงานเกี่ยวกับไฟฟาแรงต่ํา 1. สวมอุปกรณปองกันอันตรายเฉพาะสําหรับงานไฟฟาแรงต่ํา 2. ในกรณีที่อาจมีการสัมผัสกับสายไฟฟาแรงต่ํา จะตองติดอุปกรณปองกันอันตรายหรือทํา การฉนวนอยางเหมาะสม สําหรับงานเกีย่ วกับไฟฟาแรงสูง 1. ตองแนใจวาใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสมกับงาน เชน ถุงมือยาง รองเทา หุมสนพื้นยาง และหมวกแข็ง 2. ถาตองทํางานในบริเวณที่มีระยะหางจากสายไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟาแรงสูงนอยกวา 60 เซนติเมตร จะตองใชอุปกรณปองกันอันตรายที่เปนฉนวนกันไฟอยางดี 3. ในกรณีอยูหางจากสายไฟฟามากกวา 60 เซนติเมตร อาจใชอปุ กรณปองกันอันตรายชนิด รองลงมา 4. การทํางานตองปรึกษาชางหรือผูชํานาญทางไฟฟาเสียกอน และตองมีผูชํานาญงาน ควบคุมดูแลการทํางานดวย 5. คนงานไมควรพักผอนในบริเวณใกลสายไฟฟาแรงสูง 6. การใชอุปกรณเครื่องมือ และเครื่องใชไฟฟาตองใชใหถูกตองเหมาะสมกับงานไฟฟาแรงสูง เทานั้น ขอควรปฏิบตั ิเมื่อคนถูกไฟฟาดูด วิธีชวยคนถูกไฟฟาดูดใหปฏิบัติโดยทันทีเพื่อชวยใหผูปว ยหลุดจากไฟฟาใหเร็วที่สุด ปด สวิตชไฟ หรือถาเปดสวิตชไฟไมได ใหใชวิธีดังตอไปนี้ - อยาจับตองรางกายผูเคราะหรายโดยตรง ใหสวมถุงมือยางแลวยืนบนพืน้ ที่ไมเปนตัวนํา ไฟฟาแลวดึงผูป วยออกมา ถาไมมีถุงมือก็ตองพันดวยผาหรือสิ่งที่ไมเปนสื่อไฟฟา เชน ผายาง เปนตน - ใชผาหรือเชือกทําเปนบวงสอดคลองแขนหรือขาของผูเคราะหรายแลวลากออก - ใชผายาว ๆ หรือเชือกคลองตัวผูเคราะหรายแลวกระตุกออก - ใชขวานคม ๆ ที่มีดามเปนไมฟนสายไฟอยางแรงและรวดเร็วใหสายไฟขาด


59

ความปลอดภัยในการปฏิบัติเกีย่ วกับงานเชื่อม – ตัดโลหะ งานเชื่อมหรือตัดโลหะดวยอุณหภูมิสูง เปนงานสวนหนึง่ ของการผลิตและซอมสรางเกี่ยวกับ โลหะทั่วไป เปนงานที่มีอันตรายหลายประการแฝงอยูแ ละมีคนงานจํานวนมากที่ทํางานเสี่ยงอันตราย เปนประจําโดยขาดความระมัดระวังที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทํางานนั้น ทําใหมีผูประสบอุบัติเหตุ และ โรคที่เกิดขึ้นจากการทํางานอยูเสมอ สาเหตุและอันตรายที่เกิดจากงานเชื่อม 1. แสงและรังสี งานเชื่อมทําใหเกิดแสงจาและรังสีอุลตราไวโอเลต (ULTRA VIOLET RAYS) ซึ่งเปนอันตรายตอสายตา ทําใหตาเปนตอได 2. ประกายไฟ ทําใหผิวหนังไหม และอาจทําใหเปนสาเหตุของเพลิงไหม งานเชื่อมที่อับทึบ และมีละอองไอน้ํามัน ทําใหเกิดการระเบิดได 3. ไฟฟาลัดวงจร ในงานเชื่อมไฟฟาหากมีการชํารุดของสายไฟ จะทําใหเกิดกระแสไฟฟา ลัดวงจรได ซึ่งเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงาน 4. ความเมื่อยลา เกิดขึ้นไดเมื่อผูปฏิบัติงานในทาทางไมถูกตอง เชน นั่งยอง ๆ กับพื้นและกม หลังเชื่อม เปนตน 5. สารเคมีในรูปของฟูม (FUME) และ กาซ (GAS) งานเชื่อมหรือตัดโลหะดวยอุณหภูมิสูง กอใหเกิดมลพิษในอากาศซึ่งสามารถเขาสูรางกายไดทางระบบหายใจ และทําใหเกิดโรคตาง ๆ ได หลายชนิด 6. งานเชื่อมหรือตัดโลหะที่ผิวมีสีเคลือบ อันตรายที่เกิดจากสารเคลือบผิวนั้น ไดแกตะกัว่ จาก สีทาที่เคลือบผิวโลหะไว 7. ชนิดลวดเชือ่ ม การเชื่อมโลหะแตละชนิดตองเลือกใชลวดเชื่อมที่มคี ุณสมบัติเหมาะสมกับ วัสดุที่ตองการเชื่อม ชนิดของสารที่เปนองคประกอบของลวดเชื่อม จะเปนตัวชี้บอกชนิดของฟูม หรือ กาซพิษที่จะเกิดขึ้นได 8. กาซที่ใชงานเชื่อม เชน คารบอนไดออกไซด ไนโตรเจน อารกอน อะเซทิลีน กาซเหลานี้ไมใชกาซพิษ แตสามารถ ทําอันตรายถึงแกชีวติ ได หากทํางานในที่อับทึบ เนื่องจากขาดออกซิเจน หรืออาจเสียชีวติ เพราะ หายใจเอากาซคารบอนมอนนอกไซดเขาสู รางกาย ซึ่งเปนกาซพิษเกิดจากการเชื่อม เปนตน รูปแสดงแรงเคลื่อนในขณะไมมีภาระ ระหวางมีอจับลวดเชื่อมและชิ้นงาน


60 อันตรายจากกระแสไฟฟาทีอ่ าจจะเกิดขึ้นกับชางเชื่อมและชางชวยงาน ในขณะทีไ่ มไดทําการ เชื่อมอารกจะเกิดแรงเคลื่อนในขณะไมมภี าระระหวางสายเคเบิลเชื่อมตอกับสายเคเบิลงาน ซึ่งเกิดจาก เครื่องเชื่อม แรงเคลื่อนดังกลาวเกิดขึ้นระหวางคีมจับลวดเชื่อมกับชิน้ งาน ถาเปนเครื่องเชื่อมแบบเย เนอเรเตอรจะสูงไมเกิน 100 โวลท แรงเคลื่อนกระแสไฟฟาตรงและกระแสสลับตองไมเกิ 70 โวลท (ใชตัวยอวา UL ) แรงเคลื่อนขนาดนีส้ ามารถทําใหเกิดอันตรายถึงชีวิตได ถาชางเชื่อมใชมือเปลา สัมผัสผิวโลหะที่ปากคีมจับลวดหรือชิ้นงาน วิธีปองกันไดโดยสวมรองเทาที่มีฉนวนปองกัน สวม เสื้อผาปองกันใชถุงมือหนังจะสามารถชวยปองกันได หามสวมเสื้อผาที่เปยกชืน้ ดวยเหงื่อนั่งที่ชิ้นงาน เพราะความชืน้ เปนตัวนําทีด่ ีอาจทําใหถูกกระแสไฟฟาดูดเปนอันตรายได ไฟฟากระแสสลับเกิดอันตรายไดงายกวาไฟฟากระแสตรง ดวยเหตุนี้ถังหรือภาชนะแคบ ๆ ทําดวยโลหะโดยรอบตองเชือ่ มดวยไฟฟากระแสตรง ถาเปนเครื่องเชื่อมแบบเรกติฟายใหสังเกต เครื่องหมายอนุญาตที่แสดงวาสามารถทําการเชื่อมได สวนเครื่องมือชวยงานอื่น ๆ เชน หลอดไฟ เครื่องใชไฟฟาหามใชแรงเคลื่อนที่มีแรงเชื่อมเกินวา 42 โวลต เพราะอาจทําใหเกิดอันตรายจากการ เชื่อมได ขอควรปฏิบัติในการใชเครื่องเชื่อมไฟฟา คือ 1. สวมถุงมือหนังกอนจับคีมจับลวดเชื่อมไฟฟาทุกครั้ง 2. หามถอดเสื้อผาใหรางกายเปลือยทําการเชื่อม แมวาอากาศจะรอนก็ตาม 3. หามหนีบคีมจับลวดเชื่อมหรือสายเคเบิลเชื่อมกับรักแร 4. ไมสวมรองเทาทํางานที่ตอกดวยพื้นตะปู 5. ไมนั่งลงบนชิ้นงานโดยตรง ถาไมมีไมหรือแผนรองงาน การเชื่อมในถังหรือที่แคบ ๆ ตอง สวมรองเทาที่มีฉนวนอยางดี 6. ไมใชสายเคเบิลที่ชํารุด 7. ไมใชเครื่องเชื่อมแบบหมอแปลงไฟฟาเชื่อมโครงสรางที่เปนรูปราง ภาชนะแคบ ๆ หรือ หองแคบ ๆ 8. ไมใชไฟสองชนิดใชมือถือที่ตอกับสายเมน 220 โวลท หรือมากกวา ควรใชไฟสองที่ใช แรงเคลื่อนไมเกิน 42 โวลท อันตรายจากเม็ดน้ําโลหะและขี้ตะกรันเหล็ก เมื่อทําการเชื่อมเสร็จขี้ตะกรันจะปดแนวเชื่อม จนกระทั่งแนวเชื่อมเย็นลง มีความแข็งและเปราะ การใชคอนเคาะขี้ตะกรันออกเปนชิ้นเล็ก ๆ อาจ กระเด็นเขาตาได ฉะนั้นตองสวมแวนตาปองกันทุกครั้งขณะที่เคาะขี้ตะกรัน นอกจานี้จะตองระวังตัวผู เชื่อมเองแลว ยังตองระวังผูรวมปฏิบัติงานดวย อันตรายจากรังสีที่เกิดจากการอารกเชื่อม แนวสวางทีเ่ กิดจากการอารกเชื่อม เปนอันตรายตอ สายตาและถามองนาน ๆ จะยิ่งเปนอันตรายไดมากขึ้น รังสีที่เกิดจากการอารกเชื่อมจะมีรังสีที่มองไม เห็นปนออกมาดวย คือรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งเปนอันตรายตอสายตา ทําใหตาระคายเคือง สวน


61 ผิวหนังที่ไดรบั รังสีอัลตราไวโอเลตจะเกิดการอักเสบ ปวดแสบปวดรอนหรืออาจทําใหผิวหนังไหม ได อาการเหลานี้จะเกิดไมนานถาไมทําการเชื่อมอีก การบรรเทาอาการเจ็บตา อาจใชยาหยอดตาหรือ ใชผาเย็นประคบหรืออาจใชเปลือกกลวยสะอาดปดที่เปลือกตาก็ได การปองกันอาการดังกลาวในระยะระหวางทําการเชื่อม คือ สวมหนากากเชื่อมที่มีกระจก กรองแสงมาตรฐาน กระจกดังกลาวจะปองกันแสงจากประกายอารกเชื่อมได กระจกกรองแสงทีม่ ี มาตรฐานจะมีเครื่องหมายรับประกันคุณภาพติดไว (รูป 1 ) มีความเขมแตกตางกันแสดงเปนหมายเลข กํากับไว กระจกกรองแสงทีเ่ หมาะสําหรับการเชื่อม คือหมายเลข 6 7 8 9 10 และ 11 โดยที่หมายเลข 7 เหมาะสําหรับการเชื่อมที่ใชลวดเชื่อมที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางไมเกิน 2.5 มิลลิเมตร และหมายเลข 10 เหมาะสําหรับการเชื่อมที่ใชลวดเชื่อมทีม่ ีขนาดเสนผานศูนยกลาง 3.25 ถึง 6 มิลลิเมตร นอกจากนี้รังสีอัลตราไวโอเลต เกิดจากแสงอาทิตยไดเชนเดียวกัน ดวยเหตุนี้ตองสวมเสื้อผา ใหมิดชิด ชางเชื่อมตองปองกันใบหนาโดยใชหนากากชนิดสวมศีรษะหรือชนิดจับเชื่อมมาปองกัน อันตรายจากน้าํ เม็ดโลหะกระเด็น น้ําเม็ดโลหะกระเด็นถูกผิวหนัง ทําใหไดรับบาดเจ็บ ผิวหนังไหมพพุ อง ฉะนัน้ ควรสวมเสื้อหนัง สวมถุงมือหนัง มีสิ่งปกปดศีรษะและสวมปลอกแขนหนัง อยาสอดปลายกางเกงลงในรองเทา ตองใหปลายกางเกงสวมทับรองเทาที่เปนรองเทาหนัง อันตรายจากควันแกสและอากาศเสีย การเชื่อมไฟฟาทําใหเกิดควันแกสและไอน้ํา การเชื่อม ในถังหรือที่แคบทําใหอากาศไมเพียงพอหายใจ จะเกิดอันตรายถาใชออกซิเจนเปาเขาไปในถังเพือ่ ให หายใจไดดี เพราะออกซิเจนทําใหเกิดไฟไหม ทําใหลุกไหมเสื้อผาได เพียงเกิดประกายเพียงนิดเดียว จะดับไมทัน ขอควรปฏิบตั ใิ นการเชื่อมภายในถังหรือภาชนะ หรือหองแคบ ๆ 1. ใหอากาศบริสุทธิ์ที่ถายเทผานไดบริเวณที่ทํางานเชื่อมดวยพัดลม 2. หามใชออกซิเจนพนเปาไปยังบริเวณทีท่ ําการเชื่อม 3. ตองระบายแกสและควันออกจากบริเวณทํางานโดยการดูดอากาศออก 4. เพื่อนรวมงานตองคอยดูแลการทํางานของชางเชื่อมอยูต ลอดเวลา

ความปลอดภัยในการถอดประกอบทอทาง ในฐานะที่เปนชางซอมประจําเรือ และตองทําการซอมทําระบบทอทางตาง ๆ เชน ทอทางน้ํา ดับเพลิง ระบบไอน้ํา ทอทางน้ํามันเชื้อเพลิง เปนตน ซึ่งการซอมทําทอน้ํามัน บางครั้งก็ไมมีอะไรมาก เพียงแตเปลี่ยนชิ้นสวนของทอ เชน กอกน้ํา หรือเปลี่ยนแกสเค็ทของหนาแปลนที่ชาํ รุด แตบางครั้งก็ อาจยุงยากมากกวานัน้ เชน อาจจะตองรื้อทอทางออกมาซอมทําเปนสวน ๆ และตองติดตั้งเขาที่ ตามเดิมทั้งหมด หรือบางสวน เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงานควรปฏิบัติดงั นี้


62

1. กอนที่จะถอดทอหรือตัดทอใหหลุดออกจากระบบทอทางจะตองแนใจวาไมมีความดันอยู ในทอทาง (โดยเฉพาะอยางยิ่งที่เปนทอไอน้ํา ทอน้ํารอน และทอน้ําทะเลที่ตอโดยตรงกับน้ําทะเล ภายนอกเรือ การปดลิ้นสตอปวาลว (STOP VALVE) อยางเดียวถาไมพอจะตองใสกุญแจหามเปดลิ้น และผูกปายหามเปดลิ้นเพื่อปองกันไมใหลนิ้ เปดเองโดยอุบัติเหตุ) 2. แนใจวาไดถายสิ่งที่อยูในทอทางออกหมดแลว กอนที่จะทําการถอดทอ หรือตัดทอใหออก จากระบบทอทาง 3. ในการถอดหนาแปลนทอจะตองปลอยนัต 2 ตัวที่อยูต รงขามในแนวเสนผานศูนยกลางไวที่ เดิมในขณะทีค่ ลายนัตตัวอืน่ หลังจากนั้นจึงใหคลายนัต 2 ตัวที่เหลือเมื่อแนใจในทอไมมีอะไรจึง ถอดนัตและถอดทอใหหลุดออกจากระบบทอทาง 4. ปฏิบัติตามขอแนะนําในการปองกันไฟไหมและการระเบิดเมื่อตัดทอ หรือถอดทอออกจาก ระบบทอทางที่บรรจุของไหลติดไฟได 5. ศึกษาและปฏิบัติตามขอแนะนําในการรักษาความปลอดภัยเมื่อจัดทําการตอทอดวยการ แลนประสาน การบัดกรีแข็ง (BRAZING) หรือดวยกรรมวิธีอยางอื่นทีใ่ ชในการซอมทําทอทาง 6. ศึกษาวิธีการใชเครื่องมือและอุปกรณทใี่ ชในการปฏิบัติงานทอทางใหถูกตองและเหมาะสม กับงาน

ความปลอดภัยในการยกเคลื่อนยายอุปกรณโดยใชเครือ่ งทุนแรง เครื่องมือเครื่องทุนแรงที่ใชยกเลื่อน เคลื่อนยายของหนัก โดยทั่วไปแลวมีมากมายหลายชนิด ขึ้นอยูกับการนําไปใชงานประเภทใดแตทเี่ รานํามาใชงานเกี่ยวกับการายกเลื่อน เคลื่อนยายของหนัก ดังนี้ 1. เครนประจําที่ เปนเครนทีต่ ิดตั้งไวใชงานบริเวณพื้นทีป่ ฏิบัติงาน เชน เครนรางไฟฟาประจํา โรงงาน, เครนรางไฟฟาประจําทาเรือ, เครนรางไฟฟาประจําอูแหง 2. รถเครน MOBILE CRANE เปนเครนที่สามารถเดินทางไปปฏิบัติงานในพืน้ ที่ตา ง ๆ 3. รถยก FORKLIFT เปนรถที่สามารถปฏิบัติงานยก เคลื่อนยาย ไดคลองตัว สะดวก รวดเร็ว ไมตองใชคนมาก 4. รถเข็น HAND PALLET TRUCKS เปนรถเข็นที่สามารถปฏิบัติงานในทีแ่ คบได 5. บันไดพาด สามารถใชงานในที่สูงไมมาก และรถกระเชา เขาไมถึง ในที่แคบ 6. เชือก ใชสําหรับผูกมัดสิ่งของมิใหตกหลน มีทั้งหมด 12 ชนิด ที่กองทัพเรือใชอยูใน โรงงานเชือกรอก 7. รอกโซ เปนรอกกลไก โดยใชโซยกใชกาํ ลังเพียงเล็กนอย


63

เครื่องทุนแรง เครื่องทุนแรง หมายถึง เครื่องมืออุปกรณที่ใชปฏิบัติงานยกเลื่อน เคลื่อนยายของหนัก เพื่อ ชวยในการผอนแรงหรือการไดเปรียบเชิงกล ซึ่งจะทําใหเราสามารถปฏิบัติงานไดสะดวกรวดเร็ว สิ้นเปลืองแรงงานนอย และเปนการประหยัดคาใชจายเครื่องทุนแรงทุกชนิด ไดถูกออกแบบและสราง ขึ้นมาไวใชงานที่แตกตางกัน หรือสรางขึ้นมาเพื่อใชไดเฉพาะงานเทานั้น ดังนั้น การที่เราจะนําเครื่อง ทุนแรงตาง ๆ ไปใชงานจําเปนตองศึกษาวิธีการใชปฏิบัติตามคูมือและคํานึงถึงหลักการใชงาน ดังนี้ 1. ใชเครื่องทุนแรงไมถูกตองกับงาน เชน รอกแมแรงยกทางดิ่ง นําไปใชดึงหรือลากของ ในทางระนาบหรือแนวนอน 2. ใชเครื่องทุนแรงไมเหมาะสมกับงาน เชน ใชรอกแมแรงขนาด 1 ตัน นําไปยกของที่มี น้ําหนักมากกวา 1 ตัน 3. ใชเครื่องทุน แรงไมถูกตามลักษณะของงาน เชน ของที่มีลักษณะเปราะบาง หรือชํารุด เสียหาย งาย ควรใชเครื่องประกอบเครื่องทุนแรงที่ไมทําใหของชํารุดเสียหาย เชน บารยก , สลิงออน เปนตน

เครื่องมือทุนแรงและอุปกรณประกอบการยก 1. สลิงยกของ ที่ใชกันอยูทวั่ ไปมี 4 ชนิด 1.1 สลิงเชือกมีลักษณะปลายขางหนึ่งทําเปนหวงขนาดขึ้นอยูกับการนําไปใชงานล - สลิงเชือกทํามาจากพืช เชน เชือกมะนิลา, เชือกกาบมะพราว - สลิงเชือกที่มาจากใยสังเคราะห เชน ไนลอน, เทอรีลีน 1.2 สลิงลวด ลักษณะปลายทั้ง 2 ขาง ทําเปนหวง ขนาดแลวแตการนําไปใชงาน 1.3 สลิงโซ ลักษณะปลายทัง้ 2 ขาง ไมมีหว งใช ใชขอและอุปกรณทใี่ ชประกอบกับโซ เชน ปากจับยึดโซ 1.4 สลิงออน (SOFT SLING) เปนสลิงที่ทํามาจากใยสังเคราะห ลักษณะมีทั้งเปนแบบ เสนกลมและแบบเปนแถบ มีปายบอกขนาดความยาวของสลิงเปนเมตร และรับน้ําหนัก SWL (รับ น้ําหนักน้ําหนักปลอดภัย) , WLL (รับน้ําหนักไดสูงสุด) 2. เสกล เปนอุปกรณที่ใชประกอบกับสลิงยกของโดยเฉพาะ สลึงลวดมีใชกันอยู 2 แบบ - เสกลตรง ลักษณะเปนรูปตัวยู แข็งแรงมากกวาเสกลโคง 0.5 เทา ( 3 D ) - เสกลโคง ลักษณะคลายรูปตัวยู แตมีความโคงมากกวา ( 2.5 D) 3. ขอ ใชประกอบกับสลิงยกของ สวนมากใชกับสลิงโซ และสลิงลวด 4. หวง ใชเปนหวงรวมสลิงในกรณีที่ใชสลิงยกมากวา 1 เสน หรือเปนอุปกรณเฉพาะ หรือ ใชประจําที่โดยไมเสียเวลาในการประกอบสลิง ใชขอเกี่ยวเขากับจุดยกไดเลยและไมตองหาจุด ศูนยกลาง


64 5. รอกจาด คือ รอกไมที่รอยเชือกไวแลว นําไปใชงานยกของหรือลากดึง เพื่อชวยผอนแรง 6. รอกแมแรง เปนรอกกลไกโดยใชโซยกใชกําลังเพียงเล็กนอยก็สามารถยกของหนักได แต การยกทําไดชา เปนไปตามกลไกของเฟอง รอกชนิดนีน้ ิยมใชมากที่สุด ใชงานงาย สะดวก รวดเร็ว เบา แรง มีขนาดตัง้ แต 1 - 5 ตัว และ 10 ตัน

การใช และวิธีการเก็บรักษา สลิงเชือก 1. สลิงเชือกที่ไมไดใชงานเมื่อเก็บไวนาน ๆ ทําใหเสื่อมคุณภาพจึงหมั่นตรวจตราทําความ สะอาด 2. สลิงเชือกที่นําไปใชงานถูกกับน้ําเค็ม เมื่อเลิกใชแลว ตองลางน้ําจืดใหสะอาดและผึ่งแดด ใหแหง 3. ระวังอยาใหครูด เสียดสีวสั ดุแข็ง เกลียวจะสึกอาจขาดไดงาย 4. เชือกที่ขมวดเปนปม ไมควรนําไปใชยกของหนักหรือเหนี่ยวรั้ง 5. อยาใชสลิงเชือกในทางที่จะทําใหเชือกคลายเกลียว 6. ถานําสลิงเชือกไปใชงานกระตุกกระชากควรใชเชือกเสนใหญ สลิงลวด 1. สลิงลวด เมื่อนําไปใชงานเสร็จแลวหากสกปรกใหลางดวยน้ําจืดแลวเช็ดใหแหง แลวทา จารบีใหทวั่ 2. สลิงลวดเกาที่เปนสนิม เสนเกลียวผุ ไมควรนําไปใชงานจะเกิดอันตรายแกคน และสิ่งของ เสียหาย เสกล 1. อยานําเสกลไปใชงานเกินกําลัง จะทําใหแกนคดเสียรูปทรง หมุนคลายเกลียวไมออก 2. อยาโยนเสกล ลงกระแทกกับพื้นจะทําใหเสกลเสียหาย 3. เมื่อนําไปใชงานถูกกับน้าํ เค็ม ตองลางดวยน้ําจืดใหสะอาดและชะโลมน้ํามัน หรือจารบีให ทั่ว โดยฉพาะเกลียวในและเกลียวนอก ขอ , หวง 1. อยานําไปใชงานที่เกินกําลังจะทําใหของาง เสียรูปทรง เกิดอุบัติเหตุขึ้นได 2. เมื่อนําไปใชงานถูกกับน้าํ เค็ม จะตองลางดวยน้ําจืดใหสะอาด แลวชะโลมน้ํามัน หรือจารบี ใหทั่ว


65 รอกชนิดตาง ๆ 1. อยานําไปใชงานเกินกําลังที่กําหนดไวตามขนาดของรอก 2. อยาโยนหรือลากไปกับพืน้ จะทําใหเปลือกรอกและอุปกรณของรอกชํารุด เสียหาย 3 อยานําไปใชงานถูกกับน้าํ เค็ม ตองลางดวยน้ําจืดใหสะอาด เช็ดใหแหงและชะโลมน้ํามัน หรือจารบีใหทั่ว 4. กอนนํารอกแมแรงไปใชงานตองตรวจความเรียบรอยของอุปกรณทุกครั้ง หากพบสิ่งใด ชํารุดหรือผิดสังเกต หามนําไปใชเด็ดขาด

หลักการยกสิ่งของที่มีน้ําหนักมาก กลาวนํา การยก เลื่อน และการเคลือ่ นยายสิ่งของที่มีน้ําหนักมาก เปนหนาทีข่ องชางสังกัดโรงงาน เชือกรอกและการอู ดังนั้น เพื่อใหการปฏิบัติงานไดผลดี และเกิดความปลอดภัยกับสิ่งของและตัว บุคคล จึงจําเปนตองทราบ คุณลักษณะของเครื่องมือ เครื่องใช อุปกรณตาง ๆ และวิธีการใชงาน สัญลักษณและเครื่องหมายที่หีบกลอง ตลอดจนขอควรระวังตาง ๆ ดวย เพื่อใหสอดคลองกับเรื่อง หลักการยกสิ่งของที่มีน้ําหนักมาก โดยใชเอกสารของ นาวาโท สมนึก อินทรจันทร มาประกอบใน การเขียน ดังนี้ เครื่องมือและเครื่องทุนแรง เครื่องมือและเครื่องทุนแรง คือ อุปกรณที่ใชในการผอนแรงการทํางาน ทําใหเกิดการ ประหยัดแรงงาน สะดวกและปลอดภัยในการทํางาน ซึ่งมีมากมายหลายชนิดดวยกัน ดังนั้น ผูปฏิบัติงานตองพิจารณาใชเครื่องมือเหลานี้ใหเหมาะสมกับงาน ในที่นี้จะกลาวเฉพาะเครื่องมือและ เครื่องทุนแรงที่ใชสําหรับในการยกสิ่งของที่มีน้ําหนักมากของโรงงานเชือกรอกและการอูเทานัน้ คือ 1. เชือก 2. รอก 3. รถโฟลคลิฟท 4. การใชรถปนจั่น 1. เชือก มีอยู 12 ชนิด คือ 1.1 เชือกปาน 1.2 เชือกมะนิลา 1.3 เชือกกาบมะพราว 1.4 เชือกมะเล็น 1.5 เชือกน้ํามัน 1.6 เชือกกันชา


66 1.7 เชือกปอ 1.8 เชือกสปนยารน 1.9 เชือกดาย 1.10 เชือกสายล็อก 1.11 เชือกลวด 1.12 เชือกใยสังเคราะห วิธีการใชแตละชนิดก็แตกตางกันออกไป แตสวนมากเชือกที่ใชในการผูกยกสิ่งของทีม่ ี น้ําหนักมาก ๆ ไดแก เชือกมะนิลา เชือกลวด เชือกใยสังเคราะห (ประเภทไนลอน) การนําเอาเชือก หรือเชือกลวดมาใชผูกยกสิ่งของที่มีน้ําหนักมาก ๆ ตองถักแทงเปนหวง เชือกที่แทงเปนหวงแลว เรียกวา “สลิงเชือก” สวนเชือกลวดที่ถักแทงเปนหวงแลว เรียกวา “สลิงเชือกลวด” การใชสลิงเชือกและสลิงเชือกลวด - การนําสลิงเชือกและสลิงเชือกลวดไปใชงานตองพิจารณาใหเหมาะสมและสัมพันธกบั ลักษณะของงาน เชน ตองการยกตุมน้ําหนักสําหรับถวงเรือ ซึ่งน้ําหนัก 1 ตัน เราก็ควร ใชสลิงเชือกหรือสลิงเชือกลวด ซึ่งมีขนาดใหญพอที่จะสามารถนําไปผูกหรือมัดเพื่อยก วัสดุที่มีน้ําหนักไดไมต่ําวา 1 ตัน ขึ้นไป เปนตน - ใชเสกลตอกับสลิงเชือกลวดเขากับงานเสมอ - ประกอบสลิงใหอยูตําแหนงจุดศูนยถวงของงาน - ปรับสลิงใหอยูในตําแหนงสมดุลยของน้ําหนัก ในกรณีที่ใชมากกวา 1 เสนขึ้นไป - หลีกเลี่ยงอยาใหสลิงบาดกับของมีคมในขณะยกงาน - ในกรณีที่ตองใชสลิงโอบรอบงานและอาจจะทําใหสลิงเกิดหักงอหรือบาดกับของมีคม ใหใชไมรองรับเพื่อปองกันไว - การใชสลิงลวดพึงระวังกระแสไฟฟา เนื่องจากลวดเปนสื่อตัวนําไฟฟาอาจจะทําใหเกิด อันตรายได - กอนนําสลิงลวดหรือสลิงเชือกมาใชงาน ใหตรวจความเรียบรอยเสียกอน 2. รอก ดังไดกลาวมาแลวในเรื่องเชือกรอกวาเปนเครื่องมือที่ใชในการทุนแรงหรือผอนแรง ดึง รอกในราชนาวี มี 5 ชนิด คือ 2.1 รอกธรรมดา 2.2 รอกตีน 2.3 รอกกล 2.4 รอกปุลเลห 2.5 รอกแมแรง


67 สําหรับรายละเอียดตาง ๆ ไดกลาวไวในเรื่องเชือกรอกแลว จึงขอกลาวซ้ําเฉพาะรอกซึ่ง เกี่ยวกับชางยกของที่มีน้ําหนักมาก ๆ อีกครั้งหนึ่ง คือ รอกแมแรงซึ่งเปนรอกที่ประดิษฐขนึ้ เพื่อชวย ผอนแรงในการยกน้ําหนักเมือ่ ออกแรงเพียงเล็กนอย ก็สามารถยกสิ่งของที่มีน้ําหนักมาก ๆ ไดซึ่ง แบง ออกได 4 ประเภท คือ 1. รอกแมแรงดึงในทางดิ่ง คือรอกแมแรงที่ใชในการดึง ขึ้น – ลง ทําดวยเหล็ก โดยใชโซ เปนตัวดึงเพื่อยกน้ําหนัก สวนมากใชยกเครื่องจักรหรือเครื่องยนตทมี่ ีน้ําหนักมาก ๆ ที่อยูในหอง เครื่องของเรือเพื่อขึ้นมาซอมทํา รอกแมแรงในทางดิ่งมีหลายขนาด 1 - 5 ตัน และ 10 ตัน ประโยชน ของแรกแมแรงดึงในทางดิ่ง คือ - สามารถยกของไดในทีแ่ คบและคนจํากัด - จํานวนคนนอยก็สามารถทํางานได - มีความมั่นคงและปลอดภัยในการทํางานดี - เปนตัวนํากระแสไฟฟาจึงตองระวังอยาใหเกิดไฟฟาชอตได - สามารถยกน้าํ หนักไดสูงสุดประมาณ 8 ตัน 2. รอกแมแรงในทางระนาบ คือ รอกแมแรงที่ดึงในทางระนาบนัน่ เอง ทําดวยเหล็กทีเ่ ปนรูป ทรงกลม มีกานตอมือโยกทีต่ ัวรอก โดยใชโซแทนเชือกเปนตัวดึง ซึ่งประโยชนก็คอื - ใชในงานชักเพลาใบจักรเรือเมื่อปรับแตงศูนยเพลาใบจักร และอืน่ ๆ ตามความ เหมาะสม - คนจํานวนนอยก็สามารถทํางานได - มีความมั่นคงและปลอดภัยในการทํางาน - เปนตัวนํากระแสไฟฟา จึงตองระวังอยาใหเกิดไฟฟาชอตได 3. รอกแมแรงลวด คือ รอกแมแรงที่ทําดวยเหล็กผสมอลูมิเนียม มีลักษณะกลมยาวมีกาน ตอ ออกมาจากตัวรอกเพื่อใชมือโยกสําหรับดึงเขาและคลายออก รอกชนิดนี้ใชลวดเปนตัวลาก หรือดึง น้ําหนัก ประโยชนของรอกชนิดนี้ คือ - ใชตรึงเรือเมื่อเรือลอยน้ําอยูในอูเพื่อเขารับการซอม - ใชลากหรือยกของหนักตาง ๆ - ลากและยกของไดเปนระยะทางครั้งละมาก ๆ - เปลี่ยนทิศทางในการลาดและยกไดสะดวก - ใชในพืน้ ที่จํากัดไดดี - คนจํานวนนอยก็สามารถปฏิบัติงานได - อยาใหเขาใกลระบบไฟฟา เพราะเปนสื่อไฟฟาอาจทําใหไฟฟาขัดของได


68 4. แมแรงไฮดรอลิกส แมแรงประเภทนีใ้ ชระบบกําลังดันน้ํามัน เชน แมแรงที่ใชยกรถยนตขึ้น เมื่อตองการซอมทําสวนที่อยูใตทองรถหรือทําการเปลี่ยนยางรถ แมแรงชนิดนี้มหี ลายแบบ ซึ่ง สามารถใชปฏิบัติงานไดความเหมาะสม คือ - ใชยกและดันในทางตั้ง เชน ยกรถขึ้นเพื่อเปลี่ยนยางลอรถ ฯลฯ - สามารถยกและดันน้ําหนักไดมากถึงประมาณ 100 ตัน - คนจํานวนนอยก็สามารถทํางานได - ใชยกของในทีแ่ คบ ๆ

ขอควรระวังในการใชรอกแมแรงแบบตาง ๆ -

ตองปฏิบัติตามสมุดคูมือขอแนะนําในการใชรอกแมแรงแตละชนิด ใชงานใหถูกวิธีและเหมาะสมกับงาน อยาใชรอกแมแรงเกินกําลังที่กําหนดไว กอนนํารอกแมแรงไปใชตองตรวจความเรียบรอยของอุปกรณทุกครั้ง หากพบสิ่งใด ชํารุดหรือผิดสังเกต หามนําไปใชเด็ดขาด - หามโยน หรือลาก ขณะเคลือ่ นยาย - เมื่อเลิกใชงานแลว ตองทําความสะอาดทุกครั้ง

3. รถโฟลคลิฟท (FOLK LIFT) รถโฟลคลิฟท เปนเครื่องมือที่มีความจําเปนอยางมากในการใชยก เลื่อน เคลื่อนยายสิ่งของ ตาง ๆ ที่มีน้ําหนักมาก จากที่หนึ่ง รถชนิดนี้จะมีงายืน่ ออกไปขางหนารถจํานวน 2 งา ซึ่งสามารถ ปรับแตงงาใหสูงต่ําได หลักเกณฑการใชรถตองปฏิบัติดังนี้ - ปฏิบัติตามคูมือการใชรถอยางเครงครัด - กอนใชงานตองตรวจดูความเรียบรอยของอุปกรณ ตัวรถ เครื่องยนต น้ําหลอ และน้ํามัน หลอใหอยูใ นระดับใชการได - ผูไมมีหนาที่หา มใชรถอยางเด็ดขาด - ขณะเดินเครื่องตองมีเจาหนาที่ใชรถประจําอยูเสมอ - อยาใชรถยกของที่มีน้ําหนักเกินกําลังที่กําหนดไว - หลีกเลี่ยงการใชรถในสถานที่อาจเกิดอันตรายได เชน ริมเขื่อน และพืน้ ที่ที่ไมแข็งแรง - ในการยกของตองใหจดุ ศูนยถวงของน้ําหนักอยูก ึ่งกลางงาทั้ง 2 ขาง และตองใชเชือกผูก ตึงกับงานเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่งขณะเคลื่อนยาย - อยาใชงายกของที่เห็นวาอาจเกิดชํารุดเสียหายกับงาชิน้ ได ถาจําเปนตองใชควรใชยาง สวมงาปองกันไว - อยาตองายกของใหยาวเกินกวาที่กําหนดไว


69 - อยาใชงาของรถดันสิ่งของ - การยกของในลักษณะดึงขึ้นหรือหยอนลง ตองกระทําอยางระมัดระวังและนิ่มนวล ไม กระตุกกระชาก - เมื่อเคลื่อนรถออกจากที่เพื่อนําไปใชงาน ตองแนใจวาไมมีสิ่งกีดขวาง หรือเปนอันตราย แกบุคคลและสิ่งของ - ในการเคลื่อนยายของหนักในพื้นที่ลาดเอียงใหเดินหนาขึ้นและ ขณะลงใหถอยหลังลง เสมอ - ตองปฏิบัติตามกฎจราจรในพื้นที่อยางเครงครัด - ใชความเร็วของรถขณะยกของหนักประมาณ 5 กม./ชม. - อยาใชงานผิดประเภท - เมื่อเลิกใชรถแลวใหลดงาลงกับพื้นและดึงหามลอทุกครั้ง 4. การใชรถปน จั่น การที่จะใชรถปนจั่นใหถูกวิธีและปลอดภัย ตองปฏิบัติดังนี้ คือ - ปฏิบัติตามคูมือและคําแนะนําในการใช - กอนใชงานตองตรวจสอบความเรียบรอย อุปกรณตวั รถ เครื่องยนต น้ําหลอ น้ํามันหลอลื่น ตลอดจนระบบของการยก เชน รอก ลวด และสวนเคลื่อนไหวของ ระบบไฮดรอลิกส - ผูใชรถตองเปนเจาหนาที่ที่ชาํ นาญเทานั้น - ขณะเดินเครื่องตองมีเจาหนาที่ขับรถประจําอยูเสมอ - หามใชรถยกของเกินกําลังทีก่ ําหนดไว - ใหปรับมุมกระดกและความยาวของคันเบ็ด (แขนปนจั่น) ในการยกของใหเปนตามคูมือ ที่กําหนดไวของรถแตละคัน ตามพิกัดความสูงที่กําหนดไว - ในกรณีที่ยกปน จั่นที่มีฐานสําหรับรองรับ ตองการฐานรองรับเสมอ แมยกน้ําหนักเพียง เล็กนอย - การยกของดึงขึ้นหรือหยอนลงตองกระทําอยางระมัดระวัง ไมกระตุกกระชาก - ขณะทีย่ กของหนักแขวนอยู หามเคลื่อนรถปนจั่นเปนอันขาด - การยกของดวยรถปนจั่น ตองใชสัญญาณเสมอ - ตองใชเชือกผูกมัดของใหแนน และคอยประคองน้ําหนักที่ยกทุกครั้ง - เมื่อจอดรถปนจั่นตองดึงหามลอทุกครั้ง - หามใชรถปนจั่นยกของขามศีรษะผูอื่นเด็ดขาด - เมื่อเลิกใชรถแลวตองเก็บอุปกรณตาง ๆ เขาที่ใหเรียบรอย

ขอจํากัดของการยก 1. ตองทราบจํานวน น้ําหนักของสิ่งของ


70 2. เลือกวิธีใชสลิงที่ถูกตอง 3. พิจารณามุมที่ตองสูญเสียแรงดึงของสลิง 4. เลือกอุปกรณที่ชวยยกที่เหมาะสม 5. ยึดอุปกรณชวยยกตามความเหมาะสม - หาศูนยถว งของสิ่งของใหถูกตอง - ปองกันสิ่งของจากการหมุน - ปองกันตะขอหรือสิ่งของลื่นไถล 6. เคลียรพื้นที่ ที่จะยกของใหปลอดภัย 7. ในการยกสิง่ ของ ตองตรวจสอบใหแนใจกอนจึงยกได 8. ระวังการหลนของสิ่งของที่กําลังยก อาจเกิดไดตลอดเวลา 9. หามลากอุปกรณชวยยกไปตามพื้น 10. สังเกตน้ําหนักที่ปลอดภัย พยายามอยาใหเกินน้ําหนัก การใชสลิงยกอยางถูกวิธี และปลอดภัย หลักการยก 1. ตองทราบจํานวนน้ําหนักของสิ่งของ 2. เลือกวิธีการใชสลิงที่ถูกตอง 3. พิจารณามุมที่ตองสูญเสียแรงดึงของสลิงไป 4. เลือกอุปกรณที่ชวยยกที่เหมาะสม 5. ยึดอุปกรณชวยยกตามความเหมาะสม ก) หาศูนยถวงของสิ่งของใหถูกตอง ข) ปองกันสิ่งของจากการหมุน ค) ปองกันตะขอหรือสิ่งของลื่นไถล ง) เก็บรักษาสวนตาง ๆ ขิงสิ่งยกไมใหแอน ไหลออกมา 6. เคลียรพื้นทีท่ ี่จะยกของใหปลอดภัย 7. การหิ้ว ตองตรวจสอบกอนที่จะยกออกไป 8. ระวังการหลนของสิ่งของ อาจเกิดไดทุกเวลา 1 การแขวน 9. หามลากอุปกรณชวยยกไปตามพื้น 2 ตรวจสอบ 3 ยกออก 10. สังเกตุน้ําหนักที่ปลอดภัย อยาใหเกินพิกัดได 4 เอามือออกจากของที่ยก 5 พันสลิงสองทบ

จะยืนที่ไหน ไมใชที่นี่ ตรวจของที่นี่


71


72

ตําแหนงที่อันตราย

ตําแหนงที่ถูกตอง

การถวงดุลย

ปลายกระดก

ผูกสลิงใหมีระยะเทากัน จากดุลศูนยถวง เพื่อความสมดุลย

บางครั้งเปนการยากที่จะหาจุดศูนยถวง โปรดระมัดระวังการผูกสลิงและยกอยางระมัดระวัง ปรับและพยายามจนกวาจะยกไดสมดุล


73


74


75


76


77


78


79


80


81


82

….


83


84


85


86

ความปลอดภัยในการบํารุงรักษารถยนต ความปลอดภัยในระหวางทําการบํารุงรักษารถยนต ควรปฏิบัติตามขอควรระวังในการทํางาน อยางเครงครัด เพื่อใหรูถึงหลักการทํางานที่ปลอดภัยเพือ่ หลีกเลี่ยงไมใหเกิดอุบัติเหตุขึ้นได ซึ่งเปนผล มาจากทัศนคติที่ไมถูกตอง ขาดความรูความชํานายและมีสภาพรางกายที่ไมเหมาะสมกับงาน อยางไร ก็ตาม หากไมแนใจเกีย่ วกับวิธีการใชเครือ่ งมือหรืออุปกรณที่ใชในการทํางาน หรือไมแนใจในการ วิเคราะหในการทําการตรวจสอบ ใหปรึกษาปญหาเหลานั้นกับผูควบคุมงานหรือผูชํานาญ โดยไมควร ตัดสินใจดวยตนเอง หากไมมีความมั่นใจ ดังนั้น ในขณะที่ทําการบํารุงรักษารถยนต จึงควรปฏิบัติใหถูกตองอยางเครงครัดเพื่อความ ปลอดภัยดังนี้ 1. กอนปฏิบตั ิงานควรใชผา คลุมบังโคลน ผาคลุมเบาะและผารองพื้นรถ ทั้งนี้เพื่อปองกัน ความสกปรก และรอยขีดขวนที่เกิดจากเครือ่ งมือ หัวเข็มขัด กับสีรถยนต ดังแสดงในรูปที่ 1.1

รูปที่ 1.1 ใชผาคลุมบังโคลน เบาะรถ และผารองพื้นเพื่อปองกัน รอยขีดขวนและคราบสกปรกที่เกิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน

2. เมื่อตองการใชแผนกัน้ ลอ ใหติดตั้งแผนกั้นลอทั้งดานในและดานนอกของลอหนาและลอ หลัง ดังแสดงในรูปที่ 1.2 เพื่อปองกันอันตรายที่จะเกิดจากมอเตอรสตารททํางานในขณะที่รถไมอยูใ น ตําแหนงเกียรวาง ซึ่งเปนการเพิ่มความปลอดภัยใหมากยิง่ ขึ้น แ มวาเบรกมือจะถูกดึงไวก็ตาม รูปที่ 1.2 ใชแผนกั้นลอปองกันอันตรายเพื่อชวย เพิ่มความปลอดภัยใหมากยิ่งขึ้นในขณะปฏิบัติงาน


87 3. การใชแมแรง ควรตั้งแมแรงใตคานหรือเพลา โดยใหแผนรองรับน้ําหนักของแมแรงอยูตรง ศูนยกลางของจุดรองรับและมีความมั่นคงเพียงพอ ไมลื่นไถลออกจากจุดรองรับได ดังแสดงในรูปที่ 1.3

ตําแหนงขึ้นแมแรงดานหนา

ตําแหนงขึ้นแมแรงดานหลัง

รูปที่ 1.3 การใชแมแรงยกรถ ควรใหแผนรองรับน้ําหนักอยูตรงศูนยกลางของจุดรองรับใตคานและเพลาพอดี

4. ขาตั้งที่ใชรองรับตัวถังรถ ควรใหอยูในตําแหนงดังแสดงในรูปที่ 1.4 ภายหลังจากที่ได ปรับตั้งระดับความสูงของขาตั้งแลว

ตําแหนงรองรับขาตั้งดานหนา

ตําแหนงรองรับขาตั้งดานหลัง

รูปที่ 1.4 ตําแหนงติดตั้งขาตั้งรองรับตัวถังรถ

รูปที่ 1.5 ตําแหนงรองรับของขายกลิฟทกับบันไดรถจะตอง สมดุล

5. การใชลิฟทยกระทุก ครั้ง จะตองเคลื่อนรถใหอยูใน ตําแหนงสมดุล โดยใหขายกของ ลิฟทกางออกใหกวางมากที่สดุ และควรระวังขายก อยาใหกดทับ ทอทางเดินของระบบตาง ๆ ที่อยู ภายใตทองรถ และตองขึ้นทีบ่ ันได ของรถซึ่งเปนจุดที่แข็ง โดยใหยาง รองขายกตรงกับรองบันได ดัง แสดงในรูปที่ 1.5


88 6. เครื่องมือพิเศษ (Special tool and sst) เปนเครื่องมือที่ถูกทําขึ้นมาใชแทนเครือ่ งมือ ประจําตัวธรรมดา ซึ่งถาหากใชเครื่องมือประจําตัวธรรมดา อาจเปนอันตรายแกผูปฏิบัติ จัดเรียงชิ้นสวนอุปกรณตามลําดับ

ระวังสายพานขณะกําลังเดินเครื่องยนต


89

ลางเครื่องกอนที่จะทําการถอดประกอบ

แตงกายใหรัดกุมและเหมาะสมกับงาน

ลางเครื่องกอนที่จะทําการถอดประกอบ ปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีแสงสวางเพียงพอ


90

ปฎิบัติงานในที่ที่มีแสงสวางเพียงพอ

กวดนัตตามเข็มนาฬิกา และ คลายทวนเข็มนาฬิกา


91

ทํางานใตทองรถตองใชแสตนรอง

อยาใชสันหลังยกของ

อยาใชสันหลังยกของ


92

สตารทเครื่องอยายืนหนารถปลดเกียรวาง

ระวังฝากระโปรงกระแทก


93

ดวงตาเปนหนาตางของดวงใจตองถนอมเอาไว

ใชเครื่องทุนแรงในการทํางาน


94

ควรมีเครื่องชวยความจํา

ใชเครื่องมือที่ถูกตอง


95

กวดนอตลอใหแนน

จับงานใหมั่นคง


96

เครื่องมือตองวางใหเปนระเบียบ

อยาใชอารมณในการทํางาน


97

อยาใชเครื่องมือผิดประเภท หรือเกินกําลัง

กวดฝาสูบดวยประแจปอนด


98

เสริมสรางความปลอดภัย ดวยหลักการ 3 E ปจจุบันประเทศไทยพัฒนากาวหนาไปสูระบบอุตสาหกรรม ทําใหมีโรงงานอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก เจาของโรงงานหรือผูประกอบการทั้งหลายไดแขงขันการผลิตสินคาออกสู ตลาด เพื่อใหมีคุณภาพสูง ราคาถูก และเปนที่นิยมของประชาชนทั่วไป และนําหลักการ 3 E มาใช บริหารในโรงงาน จนประสบผลสําเร็จอยางมากมาย เชน พนักงานมีความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน สูง มีขวัญและกําลังใจเพิม่ ขึ้น ไดผลผลิตสูง และลดการสูญเสียคาใชจายอันเนื่องมาจากการเกิด อุบัติเหตุอีกดวย เมื่อถึงสิ้นปเจาของโรงงานและพนักงานตางไดรับผลตอบแทนสูงที่ไดรวมมือกัน สรางความปลอดภัยขึน้ ในโรงงาน

หลักการ 3 E มีอะไรบาง หลักการ 3 E ที่เจาของโรงงานและพนักงานไดนํามาแกไขและพัฒนาการปฏิบัติงานใหมี ประสิทธิภาพและปลอดภัยเพิ่มขึ้น มีดังนี้ 1. ความปลอดภัย (ENGINEERING) การใชความรูทางดานวิศวกรรมศาสตรในการคํานวณ และออกแบบ หรือ จัดหา เครื่องจักรกล และเครือ่ งทุนแรง ในการผลิตใหมีประสิทธิภาพและ ปลอดภัยสูงขึน้ รวมทั้งติดตัง้ เครื่องปองกันอันตรายสวนที่เคลื่อนไหวของเครื่องจักรกล และการจัดผัง โรงงานเกี่ยวกับระบบไฟฟา แสงสวาง เสียง และการระบายอากาศใหถูกตองเหมาะสม เพื่อใชงานได สะดวกและปลอดภัย กําหนดใหเปน E ตัวแรก 2. การศึกษา (EDUCATION) จัดใหมกี ารศึกษา อบรม แนะนํา กับพนักงาน หัวหนางาน ตลอดจนผูเกีย่ วของในการปฏิบัติงานโดยทุกคน ไดมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับการปองกัน อันตรายและวิธีปฏิบัติงานที่ถูกตอง กําหนดใหเปน E ตัวที่สอง 3. การออกกฎหมายและขอบังคับ (ENFORCEMENT) ไดกําหนดวิธีการปฏิบัติงานและมี มาตรการควบคุมใหพนักงานทุกคนปฏิบตั ิงานโดยวิธีที่ถูกตอง และปลอดภัย หากผูใ ดไมปฏิบัติตามก็ จะตองถูกลงโทษ เพื่อใหเกิดความสํานึก และหลีกเลีย่ งในการปฏิบัติงานที่เปนอันตราย กําหนดให เปน E ตัวที่สาม


บทที่ 4 อุปกรณนิรภัย โรงงานอุตสาหกรรม หรือสถานประกอบการทางชางไดรณรงคเรื่องความสําคัญของความ ปลอดภัยในการทํางาน เพื่อฝกพนักงานใหเปนผูมีสามัญสํานึกในการทํางานจนเปนนิสัย และถือวา “การปองกันอุบัติเหตุหรือความปลอดภัย เปนสวนหนึ่งของการทํางาน” แตอยางไรก็ตามแมจะมีการ รณรงคและประชาสัมพันธเรื่องความปลอดภัยอยางทั่วถึงแลวก็ตาม อุบัติเหตุก็ยังมีเกิดขึ้นบอยครั้ง เพราะอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น เกิดจากการเผลอหรือประมาทของพนักงาน ซึ่งยอมจะเกิดขึ้นได ตอมาก็ไดมี วิธีชวยลดอุบัติเหตุโดยวิธีขจัดอันตรายหรือควบคุมทางวิศวกรรม ซึ่งไดแกการสรางเครื่องปองกัน อันตรายที่เครื่องจักร เชน พวกการดหรือครอบปดชิ้นสวนที่หมุน, ที่เคลื่อนไหว และเครื่องจักร ถึงแม จะมีการปองกันทางวิศวกรรม แตอุบัติเหตุก็ยังเกิดขึ้นอีก ไมสามารถจะปองกันได 100% และเพื่อเปน การเพิ่มความปลอดภัยใหพนักงาน จึงตองมีเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคลเปนวิธีสุดทาย

อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล หมายถึง สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สวมใสลงบนอวัยวะสวนใดสวนหนึ่ง ของรางกายหรือหลาย ๆ สวนรวมกัน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันอันตรายใหแกอวัยวะสวนนั้น ๆ ไมใหตองประสบกับอันตรายที่จะเกิดขึ้นในระหวางการปฏิบัติงาน เครื่องปองกันหรืออุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลทําหนาที่ปองกันภัยที่จะเกิดแกอวัยวะ ตาง ๆ ของรางกายพนักงาน เชน ศีรษะ, ดวงตา, มือ และเทา ฯลฯ

รูปแสดงอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล


100

แนวทางการเลือกและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยาง เหมาะสม 1. หลักเกณฑในการเลือกอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล การเลือกอุปกรณปองกัน ฯ มีหลักเกณฑทใี่ ชประกอบการพิจารณาเลือก 9 ประการสําคัญ คือ 1.1 เลือกใหเหมาะสมกับลักษณะงานที่เปนอันตราย ตองทราบลักษณะงานที่ทําจะเกิด อันตรายอะไรไดบาง ขอมูลนี้จะไดจากการวิเคราะหงานเพื่อความปลอดภัย เชน ถาเราตองทํางาน เกี่ยวกับกรด เราก็ควรเลือกใชหนากากที่สามารถปองกันไอกรดนั้นได เลือกใชถุงมือปองกันกรด เปน ตน 1.2 เปนอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่ผานการทดสอบหรือรับรองประสิทธิภาพ จากสถาบันหรือองคการที่เกี่ยวของกับงานทางดานความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย เชน อุปกรณ ปองกันระบบทางเดินหายใจที่มีหนังสือรับรองประสิทธิภาพจากสถาบันอาชีวอนามัยและความปลอดภัย แหงสหรัฐอเมริกา (National Institute for Occupational Safety and Health : NIOSH) สํานักงาน ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยเหมืองแรแหงสหรัฐอเมริกา (Mine Safety and Health Administration : MSHA) หรือเปนอุปกรณปองกันที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐานกําหนด เชน มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) มาตรฐานแหงชาติอเมริกัน (American National Standard Institute : ANSI) จะทําใหมั่นใจไดวา สามารถปองกันอันตรายดังที่ระบุไวที่อุปกรณปองกันนั้น 1.3 ขนาดที่พอเหมาะกับผูใช เนื่องจากอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลสวนใหญแลว จะเปนผลิตภัณฑที่มาจากตางประเทศ และมีขนาดที่แตกตางกันไปมาก บางชนิดจะมีขนาดใหญโตเกินไป ไมเหมาะสมกับขนาดรางกายคนไทย 1.4 ประสิทธิภาพสูง ตองพิจารณาประสิทธิภาพของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สามารถป อ งกั น อั น ตรายนั้ น ได เ ป น อย า งดี การใช อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตราย สวนบุคคลที่มี ประสิ ทธิภ าพต่ํานอกจากจะไมเ กิดประโยชนในการป องกันแลว ยังอาจทําให เกิด อันตรายมากยิ่งขึ้นไปอีก 1.5 มีน้ําหนักเบา และสวมใสสบาย เนื่องจากอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลตองใช สวมใสเขาไปยังอวัยวะสวนใสใดสวนหนึ่งหรือหลายสวนของรางกาย ถามีน้ําหนักเบาและสวมใสสบาย ก็จะทําใหผูใชงานไมเกิดความรําคาญ มีความเต็มใจที่จะสวมใสอยูไดเปนเวลานานและมีความรูสึก ไมขัดขวางตอการทํางาน 1.6 ใชงานไมยุงยาก อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่ออกแบบมาใชไดงาย ไมยุงยาก จะทําใหไมตองใชเวลาในการฝกอบรม หรือฝกปฏิบัติใหกับผูใชงาน ซึ่งสามารถเรียนรูวิธีการใช ไดอยางรวดเร็ว ซึ่งทําใหเกิดความพึงพอใจในการใชอุปกรณปองกันนั้น


101 1.7 บํารุงรักษางาย เมื่อใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไป ยอมตองมีการบํารุงรักษา เพื่อใหมีอายุการใชงานที่ยาวนานและคงประสิทธิภาพในการปองกันเอาไว การบํารุงรักษาควรกระทํา ไดงายไมยุงยาก เพื่อใหผูใชงานหรือผูรับผิดชอบในการบํารุงรักษาใหความสนใจในการบํารุงรักษา อยางสม่ําเสมอ 1.8 ทนทาน หาอะไหลไดงาย ควรเปนอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่ทําดวยวัสดุ ที่ทนทาน มีอายุการใชงานที่ยาวนานและเมื่อมีชิ้นสวนหรืออุปกรณประกอบชํารุดหรือหมดอายุ สามารถหาอะไหลมาเปลี่ยนไดงาย 1.9 มีใหเลือกหลายสี หลายแบบ และหลายขนาด เนื่องจากอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ตองใชติดตัวผูปฏิบัติงานตลอดเวลาที่ทํางาน ความพึงพอใจหรือความเต็มใจของผูใชงานนั้นอาจขึ้นอยู กับสีสัน แบบและขนาดของอุปกรณปองกันประเภทนั้นได เมื่อมีใหเลือกหลายสี หลายแบบ หรือ หลายขนาดก็สามารถจัดหาใหตรงกับความตองการของผูใชงานได ทางโรงงานหรือสถานประกอบการ อาจมีความประสงคที่จะใชสีสันของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลเพื่อแบงกลุมงานในหนาที่ รับผิดชอบตาง ๆ กันได 2. หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล การใชอุปกรณปองกัน ฯ อยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดนั้น ควรพิจารณา หลักเกณฑ 9 ประการตอไปนี้ 2.1 ใชใ หถู กกับชนิดของอันตราย เนื่องจากอุปกรณปองกัน อันตรายส วนบุคคลแตละ ประเภทหรือแตละชนิดสวนใหญจะออกแบบมาสําหรับปองกันอันตรายเฉพาะอยาง เชน หนากาก ปองกันฝุนก็ใชเฉพาะการปองกันฝุนเทานั้น ไมสามารถนําไปใชปองกันไอระเหยของสารอินทรียหรือ กาซพิษ หมวดนิรภัยที่ปองกันแรงดันไฟฟาจํากัด ไมสามารถนําไปใชกับงานที่มีกระแสไฟฟาแรงสูงได เปนตน 2.2 ตองมีการสอนหรืออบรมการใชอุปกรณปองกัน ฯ ผูปฏิบัติงานอาจจะยังไมทราบถึง ความจําเปนที่ตองใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล จึงควรมีการสอนใหความรูเกี่ยวกับอันตราย และวิธีการปองกัน บอกใหทราบถึงประโยชนของการใชและโทษของการไมใช มีการอบรมใช อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง 2.3 มีแผนการใชเพื่อใหเกิดความเคยชินในการใชอุปกรณปองกันระยะแรก สําหรับผูปฏิบัติงาน ที่ไมเคยใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลมากอน จะมีความรูสึกที่ตอตานกับสิ่งแปลกปลอมที่ นํามาสวมใสเขากับรางกาย ดังนั้นการใชอุปกรณปองกัน ฯ ควรมีแผนการใชเพื่อใหเกิดความเคยชิน และปรับตัวในระยะแรก โดยวันแรกของสัปดาหที่เริ่มใชใหสวมใสเปนระยะเวลาสั้น ๆ กอน และวัน ตอมาใหเพิ่มระยะเวลาที่สวมใสใหนานขึ้นทั้งชวงเชาและบาย จนในวันสุดทายของสัปดาหที่เริ่มใชนี้ สามารถสวมใสไดตลอดการทํางาน


102 2.4 มีแผนชักจูงและสงเสริมใหใช โดยฝายบริหารของโรงงานจัดการ อาจจัดกิจกรรมที่เปน การชักจูงและสงเสริมใหมีการใชอุปกรณปองกัน ฯ เชน การจัดประกวดแขงขันเพิ่มอัตราการใช อุปกรณปองกัน ฯ ขณะทํางานระหวางหนวยงานในโรงงานจัดใหมีก ารติดโปสเตอร ปายเตือน เกี่ยวกับการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 2.5 มีการกําหนดกฎระเบียบขอบังคับในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล โดยยึด ขอกําหนดตามกฎหมายที่จะตองจัดเตรียมไวใหใชในกรณีที่ไมสามารถควบคุมปองกันอันตรายดวย วิธีการทางวิศวกรรมลงได เมื่อผูปฏิบัติงานไดปฏิบัติไปตามกฎระเบียบที่กําหนดไวก็ควรไดรับรางวัล ไดรับคํายกยองชมเชยใหไดทราบทั่วกัน สวนผูที่ฝาฝนไมปฏิบัติตามกฎระเบียบควรมีการตักเตือน และลงโทษตามสมควร 2.6 จัดใหมีปริมาณพอเพียงกับจํานวนผูใช ผูปฏิบัติงานที่ทํางานเสี่ยงตออันตรายทุกคน จําเปนจะตองสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลทุกคน ดังนั้น การจัดเตรียมจะตองมีใหเพียงพอ กับ จํา นวนคนที่ทํา งาน อุป กรณปอ งกัน อัน ตรายสว นบุค คลบางประเภทควรมีใ ชป ระจํา ตัว เชน หมวกนิรภัย รองเทานิรภัย ปลั๊กอุดหู เปนตน บางประเภทอาจสับเปลี่ยนกันใชงานได เชน ถุงมือปองกัน ความรอน หนากากเชื่อม เปนตน 2.7 เมื่ อ ชํ า รุ ด ต อ งรี บ เปลี่ ย นใหม ห รื อ ซ อ มแซม อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล เมื่อชํารุดจะทําใหประสิทธิภาพในการปองกันอันตรายนั้นลดลงไปหรือหมดสภาพในการปองกันอันตราย นั้นเลย เมื่อพบวามีการชํารุดจะตองเปลี่ยนชิ้นสวนที่ชํารุดหรือซอมแซมใหม ถาเปนประเภทที่ไมมี ชิ้นสวนสําหรับเปลี่ยนหรือซอมแซมไมไดก็จําเปนจะตองเปลี่ยนไปใชของใหม 2.8 มีการทําความสะอาดเปนประจํา เมื่อใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไปแลว จะมีสิ่งสกปรกเปรอะเปอนติดคางอยูหรืออาจมีสิ่งที่ทําใหวัสดุที่ใชทําอุปกรณเสื่อมสภาพไปไดเร็ว ดังนั้นจึงควรมีการทําความสะอาดเปนประจําทั้งกอนใชงานและหลังใชงานแลว และบางประเภท ตองผานการฆาเชื้อโรค ในกรณีที่ตองใชรวมกันกับผูอื่น หรือแมจะใชกับตัวเอง เชน อุปกรณปองกัน ระบบทางเดิ น หายใจ อุ ป กรณ ป อ งกั น ระบบการได ยิ น เป น ต น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให อ ายุ ก ารใช ง านที่ ค ง ประสิทธิภาพไดนาน มีความปลอดภัยตอการติดเชื้อโรคและทําใหอุปกรณปองกันนั้นสะอาดนาใช หรือนาสวมใส 29. มีการตรวจสอบและการเก็บรักษาอยางถูกตอง อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เมื่อใชงานไปแลวจะตองไดรับการตรวจสอบสภาพของวัสดุอุปกรณที่ใชทํา ประสิทธิภาพในการ ปองกันอันตรายยังดีอยูหรือไม เมื่อพบขอบกพรองก็ทําการซอมแซมหรือเปลี่ยนใหม ในการเก็บรักษา ทั้งที่เปนของใหมสํารองไวใชงานหรือที่ผานการใชงานมาแลว ตองมีการเก็บที่เหมาะสมไมเปนแหลง ที่จะเกิดการปนเปอนของสิ่งสกปรก หรือเปนแหลงที่จะทําใหวัสดุอุปกรณนั้นเสื่อมสภาพไปเร็ว เชน มีความรอน ความชื้นสูง มีสารเคมี ฝุนละอองปนเปอน เปนตน


103 3. ในการใชอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เนื่องจากอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลตองนํามาใชกับตัวคน ทําใหเกิดขอจํากัดและ ขอบเขตในการใชงาน ที่ควรแกการพิจารณาไว 7 ประการ คือ 3.1 เปนการใชเพียงชั่วคราวในระหวางที่ยังไมสามารถแกไขสิ่งที่เปนอันตรายนั้นลงได จะดวยวิธีการทางวิศวกรรมหรือดวยวิธีการทางบริหาร 3.2 ใชควบคูกับการปองกันอันตรายวิธีอื่น เพื่อใหเกิดความปลอดภัยยิ่งขึ้น เชน การควบคุม การฟุงกระจายของสารเคมีดวยระบบระบายอากาศเฉพาะแหงสามารถลดความเขมขนของสารเคมี ลงไปไดระดับหนึ่ง ซึ่งยังอยูในเกณฑที่อาจเปนอันตรายอยูจึงตองใชหนากากปองกันสารเคมีเพิ่มเขาไป 3.3 ใชกับการทํางานระยะสั้น ๆ หรือในกรณีฉุกเฉิน เชน การใชอุปกรณปองกันระบบ ทางเดิ น หายใจ เข า ไปปฏิ บั ติ ง านในที่ อับ อากาศ ที่ข าดออกซิ เ จนหายใจ หรื อ บริ เ วณที่มี ก า ซพิ ษ ฟุงกระจายอยู 3.4 เมื่อกําหนดใหมีการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล จะตองมีแผนการเลือกชนิด อบรมวิ ธีก ารใช การติ ด ตามการใชง านและการบํารุงรั ก ษาอย างดี จึง จะทํ า ให ก ารใชง านนั้น เกิ ด ประสิทธิภาพสูงสุด 3.5 ผูสวมใสไมคุนเคยกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ทําใหเกิดความรูสึกรําคาญ ไมสะดวกสบายจนเกิดการตอตานที่จะสวมใส เชน การสวมหมวกนิรภัย 3.6 การสวมใสอุปกรณปองกันระบบหายใจและอุปกรณปองกันระบบการไดยินจะทําให การติดตอสื่อสารกระทําไดยาก 3.7 การใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลจะเปนเรื่องที่เกี่ยวของโดยตรงกับคนซึ่งมี สภาวะของรางกายและจิตใจที่แตกตางกัน จึงเปนไปไดยากที่จะใหการใชนั้นเกิดประสิทธิภาพในการ ปองกันไดอยางเต็มที่

อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลแบงออกตามลักษณะของการ ปองกันไดหลายชนิด ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

อุปกรณปองกันศีรษะ อุปกรณปองกันหู อุปกรณปองกันหนาและดวงตา อุปกรณปองกันระบบหายใจ อุปกรณปองกันลําตัว อุปกรณปองกันมือ อุปกรณปองกันเทา


104 8. อุปกรณปองกันตกจากที่สูง 9. อุปกรณปองกันพิเศษเฉพาะงาน 1. หมวกนิรภัย การปองกันอันตรายที่ศีรษะ คือความปลอดภัยอันสุดยอด เพราะศีรษะนั้นเปนที่รวมของ ประสาทที่สั่งการ หรือควบคุมทุกสิ่งทุกอยางของรางกายมนุษย เมื่อศีรษะเปนอวัยวะที่สําคัญเชนนี้ บรรพบุรุษของมนุษยไดพยายามหาทางปองกันศีรษะโดยคิดประดิษฐ และผลิตหมวกนิรภัยมาตั้งแต สมัยกอนคริสตกาล 334 ป คนสมัยโบราณนั้นใชกระดองเตา เปนเครื่องปองกันศีรษะใหรอดจากการ ขวางปาดวยกอนหินของศัตรู ตอมานักรบโบราณเมื่อออกศึกใชเครื่องปองกันศีรษะที่ทําจากโลหะ หรือหนัง ในการรบที่แมน้ํา “แกรนนิคัส” เมื่อ 334 กอนพระเยซูเกิด พระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช ไดสวมหมวกนักรบซึ่งทําดวยเหล็กขัดผิวเปนมันเหมือนสีเงินตบแตงดวยขนนก แพรวพราวเหมือน มงกุฎ รบกับศัตรูซึ่งเปนชาวเปอรเซีย และถูกทหารเปอรเซียผูหนึ่งเขาใกลพระองคและฟนศีรษะของ พระองคเต็มแรง ปรากฏวา พระเจาอเล็กซานเดอรมหาราชไมบาดเจ็บและไมเกิดบาดแผลอะไรเลย ตอมาหมวกนักรบโบราณก็ไดหายไปเมื่อเริ่มมีการใชดินปนเปนอาวุธ และเครื่องปองกัน ศีรษะกลับมาใชอีกครั้งในสงครามโลกครั้งที่ 1 ใชเปนหมวกแข็งเพื่อความปลอดภัยจากระสุนปนใหญ และหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 เปนต นมา หมวกเหล็ก ของทหารถูกดั ดแปลงมาปองกัน ศีรษะ คนงานในงานอุตสาหกรรมและไดปรับปรุงพัฒนาใชในหลายรูปแบบใหเหมาะสมกับลักษณะงาน และหมวกนิรภัยไดชวยชีวิตคนงานไวเปนจํานวนมาก เปลื อกหมวกที่โค ง เขารูปตามลั ก ษณะศี ร ษะมีข อดีคือ ช ว ยกระจายน้ํา หนัก หรือแรงที่ กระแทกจากสิ่งของหรือวัสดุที่กระเด็น หรือตกมาถูก แมหมวกจะบุบหรือแตกราว แรงก็ไมกระทํา ที่จุด ๆ เดียว เพราะที่รองในหมวกจะเปนตัวลดแรงกระแทกคลายกับโชคอัพ นอกจากนี้หมวกนิรภัยในปจจุบัน ยังถูกออกแบบใชปอ งกันการไหลผานของกระแสไฟฟา ปองกันการดูดซึมน้ํา ทนตอการไหมไฟ ซึ่งคุณสมบัติตาง ๆ เหลานี้ขึ้นอยูกับคุณภาพและงานทีใ่ ช 1.1 รูปทรงของหมวกนิรภัย หมวกนิรภัยแบงตามรูปทรงได 2 ลักษณะ คือ 1.1.1 หมวกนิรภัยทีม่ ีขอบหมวกโดยรอบ 1.1.2 หมวกนิรภัยทีม่ ีเฉพาะกระบังหมวก รูป แสดงประเภทของหมวกนิรภัย


105 1.2 สวนประกอบของหมวกนิรภัย 1.2.1 ตัวหมวก การออกแบบเปนรูปทรงกลมมีกลีบตลอดแนวกลางหมวก จากดานหนา ถึงดานหลังเพื่อชวยใหวัตถุที่ตกกระทบแฉลบใหพนจากตัวผูสวมใสและลดการรับแรงกระแทก โดยตรงดวย วัสดุที่นํามาใชทําตัวหมวกตามมาตรฐานของอเมริกา *(ANSI Z 89.1) ขึ้นอยูตามประเภท ของหมวก วัสดุที่ใชทําหมวกนิรภัยชั้นคุณภาพ A, B ตองกันน้ําไดและไหมไฟชา ชั้นคุณภาพ C ตองทําจากวัสดุพวกโลหะที่มีความแข็งแรงสูง น้ําหนักเบา ชั้นคุณภาพ D จะตองใชวัสดุที่ไมไหมไฟ และไมเปนสื่อตัวนํา 1.2.2 รองในหมวก สวนที่จะทําใหหมวกกระจายแรงไปได สายกระจายแรงตองปรับ ใหพอดีกับผูใส และใหหมวกอยูเหนือศีรษะผูใสเปนระยะอยางนอย 3 ซม. สายกระจายแรงไมควรจะ ทําใหเกิดความรําคาญกับผูใส นอกจากนี้ยังมีสวนของแถบซับเหงื่อเพื่อใชซับเหงื่อ 1.2.3 สายรั ด คาง มั ก จะทํ า จากหนั ง ผ า หรื อ ผ า ที่ ยื ด หยุ น ได บ อ ยครั้ ง ที่ ห มวกถู ก กระแทกหลุดออก หรือหลนลงมาในขณะตกจากที่สูง สายรัดคางจะชวยไดอยางดีไมใหหมวกหลุด ขณะใชงาน 1.3 ชั้นคุณภาพของหมวกนิรภัย หมวกนิรภัยสามารถแบงตามชั้นคุณภาพหรือตามลักษณะของการใชงานไดเปน 4 ชั้น คุณภาพ คือ 1.3.1 ชั้นคุณภาพ A คือ หมวกนิรภัยที่ปองกันแรงดันไฟฟาจํากัด จึงเปนหมวกนิรภัย ซึ่งเหมาะสมที่จะใชกับงานทั่ว ๆไป เชน งานกอสราง, โยธา, งานเครื่องกล, งานเหมือง หรืองานที่ไม เสี่ยงตออันตรายจากไฟฟาแรงดันสูง 1.3.2 ชั้นคุณภาพ B คือ หมวกนิรภัยที่ปองกันแรงดันไฟฟาสูง จึงเหมาะที่จะใชกบั งาน สายสง, ชางไฟฟา, สถานีไฟฟายอย หรืองานอื่น ๆ ซึ่งตองเสี่ยงกับกระแสไฟฟาแรงดันสูง 1.3.3 ชั้นคุณภาพ C คือ หมวกนิรภัยที่ไมสามารถปองกันแรงดันไฟฟาได เนื่องจาก วัสดุที่ใชทําเปนโลหะ หมวกนิรภัยประเภทนี้จะทนแรงเจาะไดดี ฉะนั้นจึงเหมาะสมที่จะใชกับงานที่ ตองเสี่ยงกับแรงเจาะ แตไมตองเสี่ยงกับกระแสไฟฟา

รูป แสดงหมวกนิรภัย ชนิดกันเพลิงและกระแสไฟฟา


106 1.3.4 ชั้นคุณภาพ D คือ หมวกนิรภัยที่ปองกันอัคคีภัยและแรงดันไฟฟาจํากัด ดังนั้น จึงเหมาะที่จะใชกับงานดับเพลิง หรือผจญเพลิงเทานั้น อนึ่งหมวกนิรภัยชั้นคุณภาพ D นี้ ตองเปน หมวกที่มีขอบหมวกโดยรอบเทานั้น 1.4 คุณลักษณะของหมวกนิรภัย หมวกนิรภัยจําเปนจะตองไดรับการทดสอบ หรือการรับรองมาตรฐานที่เชื่อถือได เพื่อใหสามารถปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผูปฏิบัติงานไดอยางแทจริง 1.4.1 ระยะหางระหวางยอดหมวดดานในกับรองหมวก คาเฉลี่ยของระยะหางระหวาง ยอดหมวกดานในกับรองหมวกไมนอยกวา 30 มิลลิเมตร 1.4.2 ความเปนฉนวนไฟฟา 1.4.2.1 หมวกนิร ภัย ชั้น คุณ ภาพ A และ D ตอ งสามารถตา นแรงดัน ไฟฟา กระแสสลับได 2,200 โวลท (รูทมีนสแควร) ความถี่ 50 เฮิรทซ เปนเวลา 1 นาที โดยมีกระแสไฟฟา รั่วไหลผานหมวกไมเกิน 3 มิลลิแอมแปร 1.4.2.2 หมวกนิรภัยชั้นคุณภาพ B ตองสามารถตานแรงดันไฟฟากระแสสลับ ได 20,000 โวลท (รูทมีนสแควร) ความถี่ 50 เฮิรทซ เปนเวลานาน 3 นาที กระแสไฟฟารั่วไหลผาน หมวกไมเกิน 9 มิลลิแอมเปร และจุดวิบัติทางไฟฟาตองไมต่ํากวา 30,000 โวลท 1.4.3 ความตานทานตอแรงกระแทก คาแรงกระแทกสูงสุดที่สงผานหมวกแตละใบ ไมเกิน 4,448 นิวตัน และคาเฉลี่ยแรงกระแทกที่สงผานหมวกไมเกิน 3,780 นิวตัน 1.4.4 ความตานทานตอแรงเจาะ รอยเจาะที่เกิดขึ้นบนหมวกชัน้ คุณภาพ A, B และ D ตองลึกไมเกิน 10 มิลลิเมตร และชั้นคุณภาพ C ไมเกิน 12 มิลลิเมตร โดยคิดรวมความหนาของหมวกดวย 1.4.5 น้ําหนักเปลือกหมวกรวมทัง้ รองในหมวก 1.4.5.1 หมวกนิรภัยชัน้ คุณภาพ A และ C น้ําหนักไมเกิน 420 กรัม 1.4.5.2 หมวกนิรภัยชัน้ คุณภาพ B น้ําหนักไมเกิน 435 กรัม 1.4.5.3 หมวกนิรภัยชัน้ คุณภาพ D น้ําหนักไมเกิน 840 กรัม 1.4.6 การติดไฟ สวนบางที่สุดของหมวกชั้นคุณภาพ A และ B ตองติดไฟดวยอัตรา ความเร็วไมเกิน 75 มิลลิเมตร ตอนาที และชั้นคุณภาพ D ตองดับไดเอง 1.4.7 การดูดซึม 1.4.7.1 การดูดซึมน้ําของหมวกชัน้ คุณภาพ A และ D ไมเกินรอยละ 5 โดยน้ําหนัก 1.4.7.2 การดูดซึมของหมวกชั้นคุณภาพ B ไมเกินรอยละ 0.5 โดยน้ําหนัก 1.5 มาตรฐานของหมวกนิรภัย 1.5.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมหรือ มอก. 368/2524 1.5.2 มาตรฐาน ANSI 89.3-1983


107 1.5.3 มาตรฐาน IS 2925-1964 1.5.4 มาตรฐาน BS 5240 : 1975 1.5.5 มาตรฐานอื่น ๆ ที่เชื่อถือได 1.6 เครื่องหมายบนตัวหมวก หมวกนิรภัยทีม่ ีคุณภาพ หรือผานการทดสอบตามมาตรฐานจะตองมีตวั เลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมายแสดงขอความตอไปนี้ใหเห็นไดงาย ชัดเจน และถาวร 1.6.1 ประเภทและชัน้ คุณภาพ 1.6.2 ชื่อผูทํา หรือ โรงงานที่ทําหรือเครื่องหมายการคา 1.6.3 ประเทศที่ทํา 1.6.4 วัน เดือน ป ทีผ่ ลิต 1.7 การบํารุงรักษา กอนการใชงานควรตรวจดูหมวกเพื่อหารอยราว รอยที่เกิดจากการกระแทก หมวกที่ ไดรับความเสียหายตองเลิกใชทันที หมวกควรไดรับการทําความสะอาดอยางนอยเดือนละครั้ง โดยเฉพาะสายกระจายแรงและแถบซับเหงื่อ การทําความสะอาดควรลางดวยน้าํ อุนกับน้ําสบู หรือใชน้ํายา ที่เหมาะสม กอนที่จะนําหมวกที่ใชแลวไปใหผูปฏิบัติงานอีกคนหนึ่งใช ควรทําความสะอาดและ ฆาเชื้อโรคกอน สิ่งสําคัญที่จะตองตรวจอยูเสมอคือรองในหมวก เพราะรองในหมวกจะเปนตัวสําคัญที่ ลดแรงกระแทกลง นอกจากนี้เราตองตรวจดูหารอยฉีกขาดของสายรัดตาง ๆ หารอยปริขาดของดาย ที่เย็บไว ถาหากพบความบกพรองตาง ๆ ควรทําการเปลี่ยนใหมทันที 1.8 ขอควรระวัง อยาใชสีทาลงไปบนตัวหมวก เพราะจะทําใหประสิทธิภาพในการตานทานแรงดันไฟฟา และแรงกระแทกลดลง และยังอาจทําใหอายุการใชงานของหมวกลดลง สาเหตุสําคัญที่ทําใหอายุการใชงานของหมวกลดลงประการหนึ่ง คือ การนําหมวกไป ตากทิ้งไวกลางแดด หรือสัมผัสกับความรอน ในขณะที่ไมไดใชงาน


108 2. อุปกรณปองกันหู

รูป แสดงสวนประกอบของหู อุปกรณปองกันหู

รูป แสดงอุปกรณปองกันหู หูมีหนาที่ในการับฟงเสียง เพื่อเปนการสื่อภาษาที่ทําใหเกิดความเขาใจซึ่งกันและกันได หูจึงเปนอวัยวะที่สําคัญในการดํารงชีวิตประจําวันที่อยูรวมกันในสังคม


109 เสี ย งเป น อั น ตรายต อ หู ถ า เสี ย งนั้ น ดั ง มากเกิ น ไป เช น เสี ย งเครื่ อ งจั ก รกํ า ลั ง ทํ า งาน เสียงเครื่องยนตจากยานพาหนะที่ไดยินติดตอกันเปนระยะเวลานาน เสียงที่ดังนี้จะทําใหสมรรถภาพ การไดยินลดลงกลายเปนคนหูตึงและหูหนวกในที่สุด อาการของผูที่หูตึงและหูหนวก ในระยะเริ่มแรก จะมีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส หูอื้อ หรืออยูในที่เงียบ ๆ จะมีเสียงดังในหู การสูญเสียการไดยินจะคอย ๆ เกิดขึ้นทีละนอย ๆ แมแตตัวเองก็ไมทราบวาหูตึง จนอาการนี้จะถาวร และไมสามารถจะรักษากลับคืนสูสภาพปกติได นอกจากนี้ เ สี ย งยั ง มี อั น ตรายต อ การเกิ ด โรคของคนเราอี ก หลายโรคด ว ยกั น เช น โรค กระเพาะอาหาร ความดันโลหิตสูง และตอมธัยรอยดเปนพิษ ฯลฯ เสียงที่ดังยังรบกวนสมาธิในการทํางาน ทําใหเกิดความเครียด จึงเปนที่มาของการเกิดอุบัติเหตุ และเปนโรคประสาทไดอีกดวย ฉะนั้นหากตองทํางานในสภาพแวดลอมที่มีเสียงดังและไมตองใหเกิดปญหาดังกลาวแลว ขางตน ทานควรปองกันอันตรายจากเสียงดังนี้ 1. ใชอุปกรณปองกันเสียง 2. ตรวจสมรรถภาพทางการไดยินเปนประจําทุกป อุปกรณปองกันหูเปนอุปกรณที่สวมใสเพื่อลดระดับความดังของเสียงที่จะมากระทบตอ กระดู ก หู แ ละแก ว หู ซึ่ง เปน การปองกัน หรือลดอัน ตรายที่มีตอ ระบบการไดยินและผลพลอยได ยังสามารถปองกันเศษวัสดุที่จะกระเด็นเขาไดอีกดวย อุปกรณปองกันหูนี้มิไดหมายถึงการปองกัน ใบหู ในที่นี้จะพูดถึงประสาทหูและกลไกของการไดยิน การเลือกใชอุปกรณปองกันหูจะตองมีขอมูลอื่น ๆ ประกอบ เชน ระดับความดังและความถี่ ของเสียงในบริเวณที่จะใหใชอุปกรณปองกันหู เพื่อที่เราจะไดทราบวาตองการลดเสียงลงมาเทาใด ความถี่ขนาดใด จึงจะอยูในเกณฑมาตรฐาน 2.1 มาตรฐานของเสียง การที่พนักงานปฏิบัติงานในที่มีเครื่องจัก รมีเสียงดังมากติดตอกันนาน ๆ จะทําให ประสาทหูเสีย คือหูอาจจะตึงหรือหนวก จึงมีขอกําหนดการทํางานที่เสียงดังไวเชนทํางานติดตอกัน 8 ชั่วโมง หรือ 40 ชั่วโมง ตอ สัปดาหเสียงจะตองดังไมเกิน 90 เดซิเบล (เอ) มาตรฐานตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานกับภาวะ แวดลอม หมวด 3 เสียง


110 ระยะเวลาการทํางาน ระดับเสียงที่สมั ผัสได ชม./วัน เดซิเบล (เอ) ไมเกิน 7 97 7–8 90 เกินกวา 8 80 หามสัมผัสเสียงเกินกวา 140 เดซิเบล (เอ) เปนอันขาด 2.2 ชนิดของอุปกรณปองกันหู อุปกรณปองกันหูแบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ ก. ปลั๊กอุดหู ใชสําหรับสอดใสเขาไปในรูหูทั้งสองขาง วัสดุที่ใชทําปลั๊กอุดหูมีหลายประเภท ดวยกัน เชน สําลี ยาง ขึ้ผึ้ง แตชนิดที่นิยมใชกันมากที่สุด คือ พลาสติกออน ปลั๊กอุดหูมีขนาดและรูปราง ที่แตกตางกันออกไป ฉะนั้นจึงตองเลือกขนาดที่เหมาะสม การใชงานจะไมรูสึกเจ็บปวด สําลีเปนวัสดุทหี่ าไดงายเพื่อใชในการปองกันหู แตความสามารถในการลดระดับเสียง จะลดไดเพียง 8 เดซิเบล สวนปลั๊กอุดหูทที่ ําดวยพลาสติกออนจะสามารถลดระดับเสียงไดประมาณ 15 - 20 เดซิเบล

รูป แสดงปลั๊กอุดหูเพื่อลดเสียง การสวมใสปลัก๊ อุดหู เทคนิคและวิธีการสวมใสปลั๊กอุดหูก็มีความสําคัญอยูไมนอย ถาใสไมถูกวิธีจะรูสึกเจ็บ ขณะใสหรือขณะถอด หรือแมกระทั่งในขณะปฏิบัติงาน


111 วิธีการสวมใสปลั๊กอุดหู 1. ใชมือดานตรงกันขามกับหูทจี่ ะใสปลั๊กอุดหู ออมไปขางดานหลังศีรษะจับใบหู ทางสวนบน 2. ยกใบหูขึ้นแลวดึงไปดานหลัง 3. คอย ๆ ดันปลั๊กเขาไปในรูหดู วยมืออีกดานหนึ่งลึกพอสมควร การบํารุงรักษา 1. ใหทําความสะอาดทุกวันหลังจากใชงาน โดยใชน้ําอุนและสบูออน ๆ แลวลางดวยน้ําสะอาด ชนิดที่ทําดวยพลาสติกหรือยางออน หลังจากทําความสะอาดแลวใชผาหรือกระดาษชําระที่สะอาด เช็ดใหแหง 2. ทําการฆาเชื้อโรคโดยการใชสําลีชุบแอลกอฮอล 70% เช็ดใหทวั่ แลวปลอยใหแหง 3. ถาอุปกรณอุดหูชนิดที่ทําดวยฟองน้ําหรือโฟม หลังจากลางดวยน้ําสะอาดแลวบีบน้ําออก แลวตากใหแหง 4. ถาเปนชนิดที่ทําดวยสําลี หรือเสนใยสังเคราะหใหใชเพียงครั้งเดียวเมื่อเลิกใชแลวใหทิ้งไป 5. เมื่อทําความสะอาดเรียบรอยแลวควรเก็บในกลองเฉพาะที่สะอาดไมควรเก็บไวในทีม่ ี อุณหภูมิสูง 6. ควรใชเปนของเฉพาะตัวแตละบุคคล

ข. ชนิดครอบใบหู

รูป แสดงอุปกรณปองกันหูชนิดครอบใบหูโดยสวมหัว


112 อุปกรณปองกันหูชนิดครอบใบหูนี้ จะชวยลดเสียงไดดกี วาชนิดแรกแตมีราคาแพงกวา เหมาะ กับผูทํางานในสภาพแวดลอมที่มีเสียงดังมาก ตองเลือกใชขนาดที่พอเหมะกับศีรษะ เวลาใชใหครอบ ปดใบหูใหมดิ และกระชับ อุปกรณปองกันหูชนิดครอบใบหู แบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ 1) ชนิดสวมหัว ครอบหูแบบนีย้ ังสามารถสวมใสได 3 ลักษณะดวยกัน คือ 1. สายรัดศีรษะอยูบนศีรษะ 2. สายรัดศีรษะอยูดานหลัง 3. สายรัดศีรษะอยูใตคาง ซึ่งประสิทธิภาพในการปองกันเสียงจะแตกตาง กันไป คือ แบบที่ 1 ดีที่สุด แบบที่ 2 รองลงมา และแบบที่ 3 ปองกันไดนอยที่สุด 2) ชนิดติดกับหมวกนิรภัย ในขณะที่สวมหมวกนิรภัย การใชครอบหูชนิดสวมหัวจะทําไดลําบากแมวาจะหลีกเลี่ยง มาสวมแบบสายรัดศีรษะอยูดานหลังก็ยังไมสะดวกขณะปฏิบัติงาน ฉะนั้นจึงอาจเลือกใชครอบหูชนิด ที่ติดกับหมวกนิรภัย

รูปแสดง ที่ครอบหู ใชกับงานที่มีเสียงดังอยางเครื่องตอกกระแทกพื้นครอบหูปอ งกันเสียง ปองกันเสียงไดประมาณ 20 – 30 เดซิเบล การบํารุงรักษา 1. ควรทําความสะอาดทั่วไปทุกวันหลังจากใชงาน โดยการปด เช็ดฝุน หรือสิ่งสกปรกที่ติดอยู ดวยผาชุบน้ําหมาด ๆ 2. ควรลางและทําความสะอาดวัสดุรูปถวย วัสดุปองกันเสียรั่ว และสายคาดศีรษะดวยน้ําอุน และสบูออน ๆ แลวลางดวยน้ําสะอาดทําอยางนอยสัปดาหละครั้งเมื่อมีการใชงานทุกวัน


113 3. วัสดุปองกันเสียงชั้นในที่เปนฟองน้ําใหถอดออกมาลางและทําความสะอาดดวยน้ําอุนและ สบูออน ๆ ลางดวยน้ําสะอาดและบีบน้ําออก ตากใหแหงแลวประกอบเขาที่เดิม 4. เมื่อวัสดุปองกันเสียงชั้นใน วัสดุปองกันเสียงรั่ว มีการชํารุดหรือฉีกขาดใหเปลีย่ นชิน้ สวน นั้นใหม หรือถาไมมีชิ้นสวนสํารองเปลี่ยน หรือวัสดุรปู ถวยมีการแตก หรือรอยรั่วเกิดขึ้น ตองเปลี่ยน อุปกรณครอบหูใหมทั้งอัน 5. เมื่อลางทําความสะอาดแลว ใชสําลีชุบแอลกอฮอล 70% เช็ดเพื่อฆาเชื้อโรค โดยเฉพาะ บริเวณวัสดุปอ งกันเสียงรัว่ 6. เก็บอุปกรณครอบหูไวในที่ ๆ สะอาดปราศจากฝุน พรอมที่จะใชงานไดตอไป 7. ควรใชเปนของสวนตัว ถาใชเปนของสวนรวมควรทําความสะอาดและฆาเชื้อโรคทุกครั้ง หลังจากใชงาน กอนเปลี่ยนไปใหผูอื่นใช 3) อุปกรณปองกันหนาและดวงตา การทํางานหลายประเภทในโรงงานตาง ๆ อาทิเชน ทํางานกับสารเคมี งานเจียร งานเชื่อม ตลอดจนงานกลึง ผูปฏิบัติงานมักจะประสบอุบัติเหตุจากวัตถุปลิวเขาตา การกระเด็นของของเหลว หรือโลหะหลอมละลาย ฝุน และรังสี เปนตน จึงจําเปนตองมีอุปกรณปองกันหนาและดวงตาที่เหมาะสม ตามลักษณะของการทํางาน เชน แวนตาใชสําหรับงานประเภทที่มีเศษวัตถุกระเด็นเขาตา ตองมีกระบังขาง ปองกันดานขาง อุปกรณปองกันหนาและดวงตา แบงออกเปน 5 แบบ คือ 3.1 แวนตานิรภัย 3.2 แวนครอบตา 3.3 หนากากปองกันใบหนา 3.4 หนากากเชื่อม 3.5 ครอบปองกันใบหนา รายละเอียดของอุปกรณแตละชนิดมีดังตอไปนี้ 3.1 แวนตานิรภัย มีรูปรางและลักษณะเหมือนแวนตาที่ใชกันทั่วไป แตกตางกันตรงที่เลนสของ แวนตานิรภัยสามารถทนทานตอแรงกระแทก แรงเจาะ ความรอน และสารเคมีไดดีเปนพิเศษ นอกจากนี้ แวนตานิรภัยยังมีกระบังขาง เพื่อปองกันเศษวัสดุปลิวกระเด็นเขาดานขางของแวนตานิรภัยไดอีกดวย


114

รูป แสดงแวนตานิรภัย

แวนตานิรภัยเหมาะที่ใชงานประเภทกลึงแตงโลหะหรืองานอื่น ๆ ที่อาจมีเศษวัสดุกระเด็น มาเขาตาหรือแทงดวงตา 3.2 แวนครอบตา แว น ครอบตามี ลัก ษณะคล า ยกับ แวน ตานิ รภัย แต จ ะสามารถครอบดวงตา ทั้งสองขางและมีรูระบายอากาศเพื่อปองกันไอน้ําที่จะเกิดขี้นภายในแวนครอบตา ความสามารถ ของเลนสที่ครอบตาก็จะแตกตางกันออกไปตามลักษณะการใชงาน แวนครอบตาแบงออกเปน 3 ประเภท คือ 3.2.1 แวนครอบตาปองกันวัตถุกระแทก แวนครอบตาชนิดนี้เหมาะกับงานไส งานเจียร หรืองานอื่น ๆ ซึ่งเสี่ยงตอเศษวัสดุปลิวกระเด็น แวนครอบตาชนิดนี้จะมีรูระบายอากาศ เปนรูเล็ก ๆ อยูมากมาย

รูป แสดงแวนครอบตากันวัตถุกระแทก


115 3.2.2 แวนครอบตาปองกันสารเคมี เปนแวนครอบตาที่ใชสําหรับปองกัน การกระเด็นหรือไอของสารเคมี และฝุนชนิดละเอียด ดวยเหตุนี้เลนสของแวนครอบตาชนิดนี้จึงปองกัน ไดสองทาง คือ แรงกระแทกและทนทานตอสารเคมี

รูป แสดงแวนครอบตาปองกันสารเคมี 3.2.3 แวนครอบตาสําหรับงานเชื่อมหรือตัด เลนสของแวนครอบตาชนิดนี้ จําเปนจะตองมีลักษณะพิเศษกวาแบบที่แลวมา เพราะตองมีคุณสมบัติในการปองกันแสงจาและรังสี จากการเชื่อมและตัด ฉะนั้น เลนสชนิดนี้จึงมีสีดําและมีตัวเลขระบุขนาดความเขมหรือขนาดของเลนส (Shade Number) แวนครอบตาสําหรับงานเชื่อมหรือตัดนี้ มี 2 แบบ คือ แบบเลนสกรองแสง ยกเปดไมได กับแบบเลนสกรองแสงยกเปดได เพื่อใหมองเห็นชิ้นงาน รูป แสดงแวนตาสําหรับงานเชื่อม และคิดแบบเลนสเปดไดและไมได


116 การบํารุงรักษาแวนครอบตา 1. ควรทําความสะอาดหลังใชงานทุกวัน 2. การทําความสะอาดใหลางดวยน้าํ อุนและสบู หรือผงซักฟอก 3. ลางดวยน้ําสะอาด 4. นําแวนไปจุมสารละลาย Hypochlorite เปนเวลา 10 นาที เพื่อฆาเชื้อโรค 5. นําขึ้นมาแขวนไวปลอยใหแหงเอง 6. นําไปเก็บไวที่ ๆ สะอาดปราศจากฝุน พรอมที่จะนําไปใชงานตอไป 7. ควรใชเปนของสวนตัว 3.3 หนากากปองกันใบหนา หน า กากป อ งกั น ใบหน า จะมี แ ผงใสโค ง ครอบใบหน า ทํ า หน า ที่ ป อ งกั น การกระเด็น การกระแทกของของแข็ง หรือแมกระทั่งสารเคมี และวัตถุที่มีความรอนมากระทบถูกหนา หนากากปองกันใบหนาจึงเหมาะสําหรับงานเจียร สกัด และงานที่เกี่ยวของกับสารเคมี แผงใสกรอบใบหนานัน้ มักจะทําดวยโพลีคารบอเนต (Polycarbonate) หรือ พลาสติกใสและตองผานการทดสอบตามมาตรฐาน หนากากปองกันใบหนา แบงออกเปน 2 แบบ คือ 3.3.1 แบบสวมหัว 3.3.2 แบบติดกับหมวกนิรภัย ในบางครั้งจําเปนตองสวมหนากากปองกันใบหนาควบคูไปกับหมวกนิรภัย หนากากปองกันใบหนาแบบติดกับหมวกนิรภัย ทําใหสะดวกสบายในการใช

แบบสวมหัว

แบบติดกับหมวกนิรภัย

รูป แสดงหนากากปองกันใบหนาแบบสวมหัวและติดกับหมวกนิรภัย


117 การบํารุงรักษาหนากากปองกันใบหนา 1. ควรทําความสะอาดหลังใชงานทุกวัน 2. ควรทําความสะอาดดวยการลางดวยน้ําอุนกับสบูหรือผงซักฟอก 3. ลางดวยน้ําสะอาด 4. นําจุมลงในสารละลาย Hypochlorite เปนเวลา 10 นาที เพื่อฆาเชื้อโรค 5. นําขึ้นมาแขวนไวปลอยใหแหงเอง 6. นําไปเก็บไวที่ ๆ สะอาดปราศจากฝุนและปองกันการขีดขวนกับแผนกระบัง พรอมที่จะ นําไปใชงานตอไป 3.4 หนากากเชื่อม หน า กากเชื่ อ มเป น อุ ป กรณ ป อ งกั น ใบหน า และดวงตาซึ่ ง ใช ง านเชื่ อ ม วัตถุประสงคเพื่อปองกันการกระเด็นของโลหะ ความรอนและรังสี ที่เกิดจากการเชื่อมถูกหนาและเขาตา หนากากเชื่อมจะประกอบดวย ตัวหนากาก และเลนสกรองแสง ทั้วตัว หนากากและเลนสกรองแสงตองมีคุณสมบัติถูกตองตามมาตรฐานที่กําหนด หนากากเชื่อมแบงตามลักษณะการใชงานไดเปน 3 ประเภท คือ 3.4.1 หนากากเชื่อมชนิดมือถือหนากากเชื่อมชนิดนีจ้ ะ มีกานสําหรับถือขณะเชื่อม ขอดีคือ ไมทําใหรูสึกเกะกะ และอึดอัดขณะปฏิบัติงาน แตขอเสียคือ จะทําให ปฏิบัติงานไมสะดวกไมคลองตัว รูป แสดงหนาเชื่อมชนิดมือถือ

3.4.2 หนากากเชื่อมชนิดสวมหัว หนากากชนิดนี้จะมีสายรัดศีรษะซึ่งสามารถ ปรับใหขนาดพอเหมาะกับขนาดศรีษะของ ผูใชงาน

รูป แสดงหนากากเชื่อมชนิดสวมหัว


118 3.4.3 หนากากเชื่อมชนิดติดกับหมวกนิรภัย หนากากประเภทนี้ใชประกอบเขากับหมวกนิรภัย เมื่อมีความจําเปน จะตองใชหนากากเชื่อมพรอมกับหมวกนิรภัย

รูป แสดงหนากากเชื่อมติดกับหมวกนิรภัย สําหรับหนากากเชื่อมบางชนิด เลนสกรองแสงสามารถยกเปดไดเพื่อดูชิ้นงาน ไดชัด แลวคอยปดลงเมื่อตองการเชื่อม ปกติเลนสกรองแสงจะตองมีเลนสใสอีก 1 อัน ที่จะคอยปดไว เพื่อกันวัตถุที่รอนมากระเด็นถูกเลนสกรองแสง เลนสกรองแสงที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการใชงานจะตองมีตัวเลขระบุความมืด หรือขนาดของเลนสตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ จึงควรเลือกใชใหเหมาะสม ตารางแสดงลักษณะงานกับขนาดของเลนส ลักษณะงาน

ขนาดของเลนส (Shade Number)

1. ผูปฏิบัติงานใกลงานเชื่อมและตัด 2. งานเชื่อมทองเหลือง บัดกรี 3. งานตัดหรือเชื่อมดวยออกซีเจนหรือกาซ ชิ้นงานหนาไมเกิน 1/8 นิว้ 4. งานตัดหรือเชื่อมดวยออกซิเจนหรือกาซ ชิ้นงานหนาไมเกิน 1/2 นิว้ และงานเชื่อมไฟฟานอยกวา 30 แอมป 5. งานเชื่อมดวยกาซ ชิ้นงานหนามากกวา 1/2 นิ้ว และงานเชื่อมไฟฟา 30-75 แอมป 6. งานเชื่อมไฟฟา 75-200 แอมป 7. งานเชื่อมไฟฟา 200-400 แอมป 8. งานเชื่อมไฟฟามากกวา 400 แอมป

2 3-4 4-5 5-6 6-8 10 12 14


119 3.5 ครองปองกันใบหนา ครอบปองกันใบหนาทําหนาที่ปองกันสารเคมีหรือของเหลวที่มีอันตรายรวม ไปถึงผง, ฝุน ครอบปองกันในหนามีสวนประกอบสําคัญ 2 สวน คือ ตัวครอบและเลนสใส วัสดุที่จะ ใชทําตัวครอบและเลนสนั้น ตองทนทานตอสารเคมี สวนเลนสใสนั้นสามารถทนตอแรงกระแทก แรงเจาะและมีคุณสมบัติอื่น ๆ ตามมาตรฐานเชนเดียวกับเลนสของแวนตานิรภัย ครอบปองกันใบหนาแบงออกได 2 ชนิด คือ 3.5.1 ชนิดไมมีไสกรองเคมี ครอบป อ งกั น ใบหน า ชนิ ด นี้ จ ะใช ใ นบริ เ วณที่ มี ฝุ น มาก ๆ หรื อ บริเวณที่สารเคมีเจือจาง จึงไมจําเปนตองใชไสกรองสารเคมี

รูป แสดงครอบปองกันใบหนา

ขณะสวมใสครอบปองกันใบหนาแบบนี้จะรูสึกรอน จึงอาจจะจําเปนที่ตองจายอากาศ เขาไปโดยใชทออากาศ หรือบางชนิดอาจมีหมวกนิรภัยติดมาดวย เพื่อปองกันอันตรายที่ศีรษะ 3.5.2 ชนิดมีไสกรองเคมี ไสกรองเคมีจะทําหนาที่ในการกรองสารเคมีที่เปนอันตรายตอรางกาย เพื่อใหผูใชหายใจแตอากาศที่บริสุทธิ์เขาไป

รูป แสดงครอบปองกันชนิดมีไสกรองเคมี


120 การบํารุงรักษา 1. ทําความสะอาดทุกวันหลังใชงานแลว 2. ทําความสะอาดดวยน้ําและสบู หรือผงซักฟอก กรณีที่มีไสกรองเคมีตองถอดไสกรองเคมี ออกกอนทําความสะอาดทุกครั้ง 3. ลางดวยน้ําสะอาด 4. แขวนไวใหแหงเอง 5. ตรวจสอบดูวามีการแตกขาดของตัวครอบหรือเลนสหรือไม ถาชํารุดควรเปลี่ยนใหมทันที 6. เปลี่ยนไสกรองเคมีทุกครั้งกอนใชงาน 4. อุปกรณปองกันระบบหายใจ ในโรงงานอุตสาหกรรม มีอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ เพราะการปฏิบัติงานในโรงงานจะทําใหเกิดเศษผง, กาซและไอพิษ ฉะนั้นจึงตองใชอุปกรณปองกัน การหายใจ และจําเปนจะตองทราบลักษณะของอันตราย ความรุนแรง ตลอดจนเวลาในการปองกัน เพื่อประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช การจะทราบขอมูลดังกลาว จําเปนจะตองมีการสํารวจและ ตรวจวัดทางดานสุขศาสตรอุตสาหกรรม 4.1 อันตรายตอระบบหายใจ 4.1.1 เศษผง เศษผงเปนอนุภาคเล็ก ๆ ทั้งของแข็งและของเหลวที่แพรกระจายอยูใ นอากาศใน รูปของฝุน, ละออง, ควัน หรือหมอก ซึ่งกอใหเกิดอันตรายตอการหายใจ เศษผงที่ลอยอยูในอากาศจะ มีชนิดและความเขมขนที่แตกตางกันออกไป ตัวอยางของเศษผงไดแก ขีเ้ ลื่อย, แอสเบสทอส, ฝุนถาน, ยาฆาแมลง เปนตน 4.1.2 กาซและไอพิษ สิ่งเจือปนในอากาศในรูปของกาซและไอ กอใหเกิดอันตรายตอรางกายไดหลาย รูปแบบ คือ 1. สารทําใหระคายเคือง เปนสารที่ทําใหเนื้อเยื่อของระบบหายใจอักเสบ บวม และมีการคั่งของเยื่อเมือก จนทําใหหายใจไมออก ตัวอยางของสารนี้ไดแก แอมโมเนีย, คลอรีน และซัลเฟอรไดออกไซด เปนตน 2. สารทําใหการหายใจหยุดชะงัก สารประเภทนี้จะไปเกี่ยวของกับปริมาณ หรือการใชออกซิเจนของรายกาย กลาวคือ สารนี้จะไปแทนที่อากาศ ทําใหปริมาณออกซิเจนในอากาศ เจือจางลงจนกระทั่งไมเพียงพอตอการหายใจ ไนโตรเจน คารบอนไดออกไซดและไฮโดรเจน ยังมี สารบางประเภทเมื่อรางกายรับเขาไปแลว จะมีผลในการจํากัดการสงผานออกซิเจนของเลือดใหแกเซล หรือทําใหเซลไมสามารถนําออกซิเจนไปใชได ตัวอยางเชน คารบอนมอนออกไซดและไฮโดรเจน ไซยาไนด เปนตน


121 3. สารทําใหสลบ เปนสารที่ไปมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ทําใหเกิด อาการวิงเวียนศีรษะและระบบการทํางานของระบบตาง ๆ ไมสัมพันธกัน ถารับมากขึ้นจะทําใหสลบ จนกระทั่งถึงตายได ตัวอยางของสารประเภทนี้ไดแก เบนซิน คลอโรฟอรมและไนตรัสออกไซดเปน ตน 4. สารพิษตอระบบภายในรางกาย เปนสารพิษที่รางกายรับเขาไปแลวจะไป ทําลายอวัยวะและเนื้อเยื้อของรางกายเฉพาะแหง โดยการซึมเขากระแสโลหิตผานทางปอด เชน ปรอท มีผลตอระบบประสาท - ไต - ตอม, ไฮโดรเจนซัลไฟด มีผลตอระบบหายใจ และฟอสฟอรัส มีผลตอ กระดูก เปนตน 4.1.3 ปริมาณออกซิเจนนอย ปริมาณออกซิเจนในอากาศปกติประมาณ 21 เปอรเซ็นต โดยปริมาตรถาไมมี ออกซิเจนสิ่งที่มีชีวิตก็ไมสามารถดํารงชีวิตอยูไดและในกรณีที่ในบรรยากาศมีออกซิเจนนอยกวา 16% โดยปริมาตร ถือวาบรรยากาศนั้น มีปริมาณออกซิเจนนอย การที่จะทราบวาปริมาณออกซิเจนนั้นมีเพียงพอหรือไม ก็ตองใชเครื่องตรวจวัด ปริมาณออกซิเจน อุปกรณปองกันระบบหายใจที่ใชในบริเวณที่มีปริมาณออกซิเจนนอยตองใช ชนิดที่ปอนสงอากาศบริสุทธิ์ หรือชนิดหมุนเวียนอากาศ 4.2 ชนิดของอุปกรณปองกันระบบหายใจ อุปกรณปองกันระบบหายใจ แบงออกเปนชนิดใหญ ๆ ได 2 ชนิด คือ 4.2.1 ชนิดกรองอากาศ แยกออกเปน 3 แบบ คือ

รูป แสดงอุปกรณ ปองกันระบบหายใจแบบกรองอากาศ


122 1.

หนากากกรองอากาศ 2. หนากากปองกันแบบไสกรองเคมี 3. หนากากกรองกาซ 4.2.2 ชนิดหมุนเวียนอากาศมี 2 แบบ คือ 4.2.2.1 แบบมีถังอากาศ 4.2.2.2 แบบทออากาศ

รูป แสดงอุปกรณกรองอากาศชนิดหมุนเวียนอากาศ

อุปกรณปองกันระบบหายใจชนิดกรองอากาศ เปนอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซึ่งสามารถขจัดสิ่งเจือปนในอากาศ โดยอาศัยหลักการฟสิกส และทางเคมี อุปกรณปองกันระบบหายใจชนิดกรองอากาศนี้ จึงใชสําหรับปองกัน เศษผงและกาซที่ เปนอันตรายตอรางกาย สามารถแบงออกไดเปน 3 ชนิด คือ 1. หนากากกรองอากาศ หนากากกรองอากาศใชสําหรับปองกันเศษผงในบรรยากาศ ไมสามารถปองกันไอหรือกาซ ของสารเคมีได หนากากกรองอากาศสามารถกรองเศษผงตามขนาดตาง ๆ ที่ไดระบุไว สวนประกอบของหนากากกรองอากาศจะมี 3 สวน คือ ตัวหนากาก แถบกันรั่ว และสายรัดศีรษะ ตัวหนากากก็จะทําหนาทีใ่ นการกรองเศษผง แถบกันรั่วมีลักษณะเปนแผนโลหะออน สามารถปรับให โคงงอไดตามแนวสันจมูก เพื่อกันไมใหเศษผงเล็ดลอดเขาไปตามแนวสันจมูก สวนสายรัดศีรษะก็จะ ทําหนาที่รัดตัวหนากากใหตดิ แนนกับใบหนา หนากากกรองอากาศบางชนิดอาจจะมีลิ้นระบายอากาศ หรือ Exhalation Valve เพื่อระบายกาซคารบอนไดออกไซดที่ออกมาพรอมกับลมหายใจออก


123

รูป แสดงหนากากกรองอากาศที่มีลิ้นระบายอากาศ ปกติหนากากกกกรองอากาศถูกออกแบบมา เพื่อใชงานครั้งเดียวแลวทิ้ง จึงไมมีวิธีการ บํารุงรักษาที่แนนอน วิธีการใชที่ปลอดภัย 1. ตองไมใชในบริเวณที่ขาดออกซิเจน หรือบริเวณที่มีความเขมขนของฝุนมากเกินไป เพราะ จะตองเปลี่ยนแผนกรองบอย ๆ เปนการสิ้นเปลืองมาก 2. ตองแนใจวาอยูในสภาพที่เรียบรอย ไมชํารุด โดยเฉพาะแผนกรองตองอยูในสภาพที่ใชงานไดดี 3. การสวมใสตองใหกระชับกับใบหนา ตองตรวจดูลิ้นปดเปดที่เปนทางผานของอากาศที่ หายใจออก ตองอยูในสภาพที่ใชงานได 4. ถา หากใชแ ลว เกิด การอึด อัด มาก จะตอ งเปลี่ย นแผน กรองทัน ทีห รือ ตอ งปรึก ษาผูที่มี ความชํานาญเพราะอาจจะมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดผิดปกติ 2. หนากากปองกันแบบไสกรองเคมี หนากากปองกันแบบไสกรองเคมี ใชสําหรับปองกันกาซและไอที่เปนอันตรายหรือบางครั้ง สามารถใชไสกรองเศษผงเขาไปควบคูกับไสกรองเคมีไดดวย อุปกรณปองกัน ฯ แบบนี้กรองกาซและ ไอโดยใชไสกรองเคมี ซึ่งไสกรองเคมีก็จะมีอยูมากมายหลายชนิด ไสกรองเคมี 1 อัน จะกรองสารเคมี ไดเฉพาะอยาง จึงจําเปนจะตองเลือกใหเหมาะสม สวนประกอบของหนากาก คือ ตัวหนากาก ไสกรองเคมี และสายรัดศีรษะ สําหรับตัว หนากากนั้นจะมีลิ้นอากาศ ทั้งลิ้นหายใจเขาและลิ้นหายใจออก สวนไสกรองเคมีก็จะมีหลายชนิด แต ละชนิดก็จะมีสัญลักษณสี และการปองกันที่แตกตางกันออกไป สําหรับสายรัดศีรษะก็ตองสามารถปรับ ใหแนนและคลายไดตามความตองการของผูใชงาน


124 หนากากปองกันแบบไสกรองเคมี แบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1) ชนิดไสกรองเดี่ยว หนากากปองกันชนิดนี้จะมีไสกรองเพียง 1 อัน ใชในบรรยากาศที่มีกาซและไอเจือจาง

รู ป แสดงรู ป หน า กากป อ งกั น ชนิ ด ไส กรองเดี่ยว

2)

ชนิ   2) ดไส ชนิกดรองคู ไสกรองคู กรองคู รือกไส กรอง น จะเปนประโยชนในการปองกันสารเคมี ไสกไส รองคู หรือหไส รองสองอั ที่มีความเขมขน

รูปแสดงรูปหนากากปองกันชนิดไส กรองคู

ในบรรยากาศการทํางานซึ่งไอและกาซพิษนั้น อาจทําอันตรายตอผิวหนังหรือดวงตา ของผูปฏิบัติงาน จําเปนตองใชครอบปองกันใบหนาและลําตัวแบบมีไสกรองเคมี


125

รูป แสดงครอบปองกันใบหนาและลําตัวชนิดไสกรองเคมี วิธีการใชไสกรองเคมีที่ปลอดภัย 1. ตองแนใจวาเลือกใชไดถูกชนิดกับสิ่งที่จะปองกัน 2. ตองไมใชในบริเวณที่มีออกซิเจนต่ํากวา 16 เปอรเซ็นต 3. กอนสวมใสตอ งตรวจดูความพรอม, สภาพของตัวหนากาก, ไสกรองติดแนนดีแลว 4. การใส หน ากากตองระมัดระวังไมใ หเ กิดความดัน บริเ วณจมู กมากเกิน ไป หรือบริเ วณ ภายในหนากากตองระวังเกี่ยวกับความดัน ซึ่งอาจจะมีผลตอถุงลมในปอดทําใหแตกได ลิ้นปดเปด ตองใชงานไดปกติ 5. ถาเกิดการรั่วซึมของกาซเขาไปในหนากากไดจะตองรีบเปลี่ยนไสกรองทันที 6. การสวมหนากากจะตองไมใชผารองของหนากาก เพราะอาจจะเกิดเปนรอยรั่วเขาไป 7. สําหรับ Filter ไสกรองเคมี และกลองบรรจุสารเคมีที่หมดอายุการใชงานใหเปลี่ยนใหม โดยสังเกตจากความรูสึกอึดอัดเพราะมีการอุดตันของฝุน Filter หรือไดกลิ่นกาซหรือไอระเหยเนื่องจาก ตัวดูดซับสารเคมีหมดอายุ 8. นําไปเก็บไวในถุงพลาสติกปดมิดชิด อยูในที่เก็บเฉพาะที่สะอาดปราศจากฝุนและสิ่งปนเปอน พรอมที่จะใชงานไดตอไป


126

-

ตาราง สัญลักษณสีของไสกรองเคมีและชนิดของกาซและไอพิษ ตามมาตรฐาน ANSI K 13.1 - 1973 สิ่งเจือปนในอากาศที่ปองกัน สีที่กําหนด กาซที่เปนกรด ขาว ไอจากสารอินทรีย ดํา กาซแอมโมเนีย เขียว กาซคารบอนมอนนอกไซด น้ําเงิน กาซที่เปนกรดและไอจากสารอินทรีย เหลือง กาซที่เปนกรดแอมโมเนียและไอจากสารอินทรีย น้ําตาล กาซที่เปนกรดแอมโมเนียคารบอนมอนนอกไซดและไอจากสารอินทรีย แดง ไออยางอื่นและกาซที่ไมกลาวไวขางบน เขียวอมเหลือง วัสดุกัมมันตภาพรังสีนอกจากทริเทียม (Tritium) Noble Gases มวง ฝุน ควัน และหมอก (นอกเหนือจากวัสดุกัมมันตภาพรังสี) สม

3) หนากากกรองกาซ หนากากกรองกาซถูกกําหนดใหใชสําหรับกรณีฉุกเฉิน ในบรรยากาศที่มีกาซที่เปน อันตรายตอชีวิต สวนหนากากแบบไสกรองเคมีนั้น ใชสําหรับงานประจํา หนากากกรองกาซจะใช กลองบรรจุสารเคมี ซึ่งประกอบดวยสารขจัดกาซที่มีการทํางานเหมือนกับไสกรองเคมี แตกลองบรรจุ เคมีจะมีขนาดโตกวาและปองกันสารเคมีไดมากชนิดกวา

รูป แสดงหนากากกรองกาซ


127 วิธีการใชที่ปลอดภัย 1. ตองแนใจวาตัวหนากากตอเขากับกลองบรรจุสารเคมีอยางเรียบรอยทุกครั้ง 2. ตองตรวจสอบลิ้นอากาศดูวา อากาศสามารถผานเขาออกไดดี 3. เวลาจะใชกลองบรรจุสารเคมีตองอยูในตําแหนงทีไ่ มเกะกะการทํางาน 4. ตรวจดูรอยรัว่ ซึมของอุปกรณประกอบทุกสวนกอนทีจ่ ะใชทุกครั้ง 5. หลังการใชงานตองมีการบํารุงรักษาเปนอยางดีตามระยะเวลาการใชงาน

อุปกรณปองกันระบบหายใจชนิดหมุนเวียน อุปกรณปองกันระบบหายใจชนิดนี้จะมีอุปกรณที่ทําหนาที่ในการสงอากาศหรือออกซิเจน ใหแกผูใช เนื่องจากตองปฏิบัติงานในบรรยากาศที่มีออกซิเจนนอย หรือบรรยากาศที่เปนอันตราย เฉียบพลันตอชีวิตและสุขภาพ สามารถแบงอุปกรณประเภทนี้ออกเปน 2 แบบ คือ 1. แบบถังอากาศ ผูใชอุปกรณแบบนี้จะตองแบกแหลงจายอากาศหรือออกซิเจนในรูปของถังบรรจุออกซิเจน หรือถังอากาศ อุปกรณปองกัน ฯ แบบนีจ้ ะประกอบไปดวย ถังอากาศ สายรัดตัว ตัวควบคุมความดัน ทออากาศ และตัวหนากากแบบเต็มใบหนา

รูป แสดงหนากากแบบเต็มใบหนา ถังอากาศก็มีหลายขนาดน้ําหนักและความดันของถังก็จะแตกตางกันออกไป

รูป แสดงถังอากาศชวยระบบหายใจ


128 อุปกรณปองกันระบบหายใจแบบถังอากาศนี้ ผูที่จะใชตองศึกษาเทคนิคและวิธกี ารใชอยางดี และจะพบวาการทํางานโดยใชอุปกรณแบบนี้ตองมีมาตรการความปลอดภัยที่ไดวางแผนงานเปนอยางดี

รูป แสดงอุปกรณชวยหายใจแบบถังอากาศ วิธีการใชที่ปลอดภัย 1. ตองแนใจวาผูท ี่ใชนั้นผานการอบรมเทคนิคและวิธีการใชอยางดีและถูกตอง 2. ตองตรวจดูอุปกรณที่จะเปนตัวจายออกซิเจนใหกับผูสวมใส ตองทําหนาที่ไดเปนอยางดี ไมมีการชํารุดเสียหาย ขณะทีจ่ ะสวมใสตองไมมีสารเคมีเปนพิษตกคางอยูภายในหนากาก 3. ตองพยายามปรับปริมาณออกซิเจนที่เขาออกใหเหมาะสม เมื่อสวมใสจะไมทําใหอึดอัด อาจจะตองศึกษารายละเอียดกับบริษัทผูผลิตดวย 4. ในการที่ตองใชอุปกรณบริเวณที่อันตรายสูง จะตองมีทอสํารองและสายชวยชีวิตในกรณี ฉุกเฉิน หรือเกิดอุบัติเหตุขึ้น เชน ทอนําสงอากาศจริงเกิดชํารุดเสียหายก็สามารถใชทอสํารองไดทันที หรือออกซิเจนในถังของเราเกิดรั่วหมดก็สมมารถใชทอตอกับของเพื่อนรวมงานไดทนั ที 5. เวลาใชตองใหคนใชคอยสังเกตในสิ่งที่ผิดปกติอาจจะเกิดขึ้น เชน มีกลิ่น รส การระคายเคือง ถาหากวาพบสิง่ ผิดปกติเหลานี้ตองรีบออกมาจากบริเวณที่ทํางานทันที 6. ระยะเวลาในการใชนั้นตองศึกษาใหดี เพราะอุปกรณดังกลาวนี้จะมีขีดจํากัดในการใช เกี่ยวกับเวลา เพราะบริษัทผูออกแบบจะออกแบบใหใชเพียงระยะเวลาหนึ่งเทานั้น ถาหากวาหมดเวลาใช ตองรีบเตือนใหออกมาจากบริเวณการทํางานทันที ปกติจะไมเกิน 1 ชั่วโมง 7. ตองมีการฝกอบรม สาธิตวิธีการใช การซอมบํารุง การเก็บรักษาใหกับผูใช


129 การบํารุงรักษา 1. ตัวหนากากและทออากาศใหตรวจสอบและทําความสะอาดเหมือนการบํารุงรักษาในหัวขอ การใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ 2. ถังอากาศและตัวควบคุม ตองตรวจสอบตามคําแนะนําของบริษัทและบรรจุกาซใหมเมื่อ กาซในถังหมดลง 2. แบบทออากาศ ประกอบไปดวยหนากากปดจมูก หรือปดครึ่งใบหนา หรือปดเต็มใบหนา อากาศที่ใชชวย หายใจจะถูกสงมาตามทอขนาดเล็กที่อัดมาดวยเครื่องอัดอากาศ การปรับปริมาณความตองการอากาศ ทําโดยการปรับที่ลิ้นปดเปด ลิ้นนี้อาจจะติดที่บริเวณลําตัวหรือเข็มขัด อุปกรณนี้เหมาะกับการใช ในบรรยากาศทั่วไปที่มีสารเคมีเปนพิษสูง เชน การหลอมโลหะ การพนสี เชื่อมดวยกาซหรือไฟฟา เผาโลหะ การขัดที่มีฝุนมาก อุปกรณนี้จ ะออกแบบมาใหเหมาะกับการที่จะใชกั บลักษณะงานใด งานหนึ่งเทานั้น อากาศที่ออกจากเครื่องอัดอากาศ (Air Compressor) ตองผานการกรองน้ํามันและความชื้น โดยเครื่องกรองที่มีคุณภาพถูกตองตรงตามมาตรฐาน

รูป แสดงเครื่องชวยหายใจแบบทออากาศ การใชที่ปลอดภัย 1. ตองมีการตรวจสอบกอนจะใชเสมอ เชน ตรวจหนากาก ทอสงอากาศและลิ้นควบคุม 2. ตองปรับขนาดของหนากากใหพอดีกับใบหนาของผูสวมใส 3. การปรับอัตราการไหลของการอากาศ 4. ตองมีการตรวจสอบรอยรั่วที่สายสงอากาศกอนใชงาน 5. ตองมีการอบรมเทคนิควิธีการใช การบํารุงรักษาใหกับผูท ี่เกี่ยวของและใชเปนอยางดี กอนที่จะนํามาใหใช การบํารุงรักษา ใชหลักการเดียวกับอุปกรณปองกัน ฯ แบบถังอากาศ


130 5. อุปกรณปองกันลําตัว เสื้อผาหรือชุดทํางานนั้นในงานบางประเภทไมสามารถจะปองกันอันตรายที่จะเกิดแกลําตัวได ฉะนั้นตองมีอุปกรณเพิ่มเติมนอกเหนือจากเสื้อผาที่เปนชุดฝกงานธรรมดา เชน เมื่อทํางานที่มีประกายไฟ มีความรอน หรือทํางานกับวัตถุรอน ตองใชเสื้อผาที่ทําดวยใยหิน (แอสเบสตอส) หรือหนังชุบดวย โครเมียม หรืออะลูมิเนียมที่ชวยสะทอนแสงเพื่อกันความรอน

รูป แสดงอุปกรณปองกันลําตัว

และในงานที่มีสารจําพวกกัดกรอนหรือทําอันตรายเสื้อผา เปนของเหลวที่สาดกระเซ็น ก็ตองใชอุปกรณประเภทแผนยางหรือพลาสติกคลุมทับเสื้อผาอีกชั้นหนึ่ง สวนสารที่เปนกรดหรือสารเคมี ก็ควรใชฝาที่ทําดวยไฟเบอรปกปด อุปกรณปองกันลําตัวทําหนาที่สําหรับปองกันสวนของหนาอก ทอง ลําตัว และรวมไปถึง สวนของแขนและขา อันตรายที่เกิดขึ้นจากลําตัวนัน้ มีหลายรูปแบบดังกลาวแลวในตอนตน ชนิดของอุปกรณปองกันลําตัว อุปกรณปองกันลําตัวแบงออกไดตามลักษณะของการปองกันไดเปน 3 แบบ คือ 5.1 ชุดปองกันสารเคมี ใชสําหรับปองกันสารเคมี ทั้งในรูปแบบเปนของเหลว ผง และไอ การสวมใสชุดปองกัน สารเคมีสามารถปองกันเฉพาะสวนของลําตัวและขาเทานั้น ฉะนั้นถาจะปองกันอันตรายจากสารเคมี ใหครบทุกสวนของรางกาย ก็จําเปนตองใชควบคูไปกับอุปกรณปองกันสวนอื่น ๆ ของรางกาย เชน แวนครอบตา, หนากากปองกันใบหนา และหนากากปองกันแบบไสกรองเคมี เปนตน วัสดุที่ใชทําชุดปองกันสารเคมีไดแก พลาสติก ไวนิล หรือยางสังเคราะห เปนตน ชุดปองกันสารเคมีแบงออกเปน 3 ชนิด คือ 5.1.1 เอี๊ยมปองกันสารเคมี ใชสําหรับปองกันการกระเด็นของสารเคมีเฉพาะสวนของหนาอกและลําตัว เมื่อ ถูกสารเคมีสามารถถอดออกไดรวดเร็ว ไมเปนอันตรายตอรางกาย


131

รูปที่ 34 แสดงเอี๊ยมปองกันสารเคมี

5.1.2 ชุดปองกันสารเคมีชนิดอื่น ๆ ชุดปองกันสารเคมีมีหลายแบบซึ่งตองเลือกใชใหเหมาะสมกับงานมีทงั้ ชนิดที่ เปนเสื้อคลุมยาว ชนิดทีเ่ สื้อกางเกงติดกันเปนชุดหมี และเสื้อกางเกงแยกกัน หรือแมกระทั่งชนิดที่เปน กางเกงและมีสวนสําหรับกันหนาอก เปนตน

รูปที่ 35 แสดงชุดปองกันสารเคมีแบบตาง ๆ 5.1.3

ที่คลุมศีรษะ ในบางครั้งการทํางานกั บสารเคมีอาจจํ าเป น ตองใสที่คลุ มศีรษะเพื่ อปองกัน อันตรายที่จะเกิดขึ้นกับศีรษะเขาประกอบกับชุดปองกันสารเคมีเพื่อใหการปองกันสมบูรณแบบยิ่งขึ้น

รูปที่ แสดงที่คลุมศีรษะ


132 5.2 เสื้อหนัง เปนชุดปองกันรางกายไมใหสัมผัสความรอนที่ไมสูงมากนัก ปองกันการแผความรอน ที่เกิดจากโลหะถูกเผาและปองกันแรงกระแทกจากวัสดุ เสื้ อ หนั ง นี้ มั ก จะใช ใ นการเชื่ อ มเป น ส ว นมาก นอกจากส ว นที่ เ ป น เสื้ อ แล ว ยั ง ประกอบดวยสนับแขง และสวนที่เปนปองกันแขนอีกดวย วัสดุที่ใชทําเสื้อหนังนี้ตองเบา สามารถสวมใสสะดวกไมทําใหเกิดความรูสึกอึดอัด ขณะปฏิบัติงาน และยังตองบํารุงรักษาทําความสะอาดไดงาย 5.3 ชุดปองกันความรอน ใชสําหรับงานที่เกี่ยวของกับความรอนสูง ๆ และการแผรังสีจากแหลงความรอนโดยตรง วัสดุที่ใ ชทําชุดป องกั นความรอนนี้ มักทําดว ยอะลูมิ เนี ย ม แอสเบสตอส หรือไฟเบอรกลาส ซึ่งมี ขนสัตวหุมอยูภายใน ชุดปองกันความรอนนี้ใชสําหรับงานเตาหลอมและงานดับเพลิง ซึ่งตองใชประกอบกับ ที่คลุมศีรษะ ถุงมือ และรองเทาปองกันความรอน

รูป แสดงเสื้อหนังปองกันความรอน 6. อุปกรณปองกันมือ มือและนิ้วเปนอวัยวะของรางกายที่ประสบอุบัติเหตุบอยที่สุด อันตรายที่เกิดขึ้นกับมือ และนิ้วนั้นมีทุกรูปแบบ ตั้งแตถูกตัด ถูกขีดขวน ถูกสารเคมี ถูกไฟฟาดูด ถูกความรอนหรือไฟไหม เปนตน เนื่องจากเราจําเปนอยางยิ่งที่จะตองใชมือในงานหลายประเภท ดังนี้นจึงเปนการยากที่จะปองกัน อันตรายอันจะเกิดขึ้นกับมือและนิ้วได แตอยางไรก็ตามการใชถุงมือนิรภัย ก็เปนแนวทางหนึ่งในการ ชวยลดอันตรายที่จะเกิดขึ้นได นอกจากนี้ถุงมือยังชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน และความ ปลอดภัยในที่นี้หมายถึงความปลอดภัยของมือและสิ่งของที่หยิบยกจับตอง เชน แพทยใสถุงมือยางใน การผาตัดสมอง เพื่อปองกันเชื้อโรค สําหรับชางเหล็กใชถุงมือหนังในการจับโลหะเพื่อปองกันมือตัวเอง


133 ชนิดของถุงมือนิรภัย ถุงมือนิรภัยสามารถแยกออกไดตามลักษณะงานดังนี้ 6.1 ถุงมือปองกันความรอน ใชสําหรับปองกันความรอนที่เกิดขึ้นขณะทํางาน เชน การจับตองของรอนแตการสัมผัสนั้น ตองไมนานมากนัก วัสดุที่ใชทํานั้นไดแก ใยสังเคราะห ฝาย และอะลูมิเนียม เปนตน

รูป แสดงถุงมือหนัง

6.2 ถุงมือปองกันสารเคมี ใชปองกันสารเคมีทั้งในสภาวะของแข็งและของเหลว วัสดุที่ใชทําถุงมือปองกันสารเคมี ไดแก ไวนิล นีโอพรีน และยางสังเคราะห เปนตน ความยาวของถุงมือก็มีความจําเปนจะตองเลือกใหเหมาะสมกับลักษณะงาน

รูปที่ แสดงถุงมือปองกันสารเคมี


134 6.3 ถุงมือหนัง ใชปองกันอันตรายที่เกิดจากการขีดขวนของวัสดุซึ่งขรุขระ และปองกันความรอนที่ ไมสูงมากนัก ทําดวยหนังที่มีคุณสมบัติเหมือนเสื้อหนัง ดังไดกลาวมาแลว ถุงมือหนังเหมาะสําหรับใชยกของและงานเชื่อมเปนสวนมาก จําเปนจะตองเลือกชนิด ที่ไมหนามากเกินไป เพื่อใหสามารถจับยกสิ่งของและปฏิบัติงานไดถนัด 6.4 ถุงมือยางปองกันไฟฟา งานที่เกีย่ วของกับกระแสไฟฟาโดยตรงจําเปนจะตองใชถุงมือยางปองกันไฟฟา เพราะ ดังที่ทราบกันดีอยูแลว อันตรายจากไฟฟานั้นรุนแรงถึงขนาดทําใหสูญเสียชีวิตได ถุงมือยางปองกันไฟฟาแบงออกเปน 5 ระดับคุณภาพ ตามปริมาณแรงดันไฟฟาที่จะใช งาน ดังนี้ ระดับ แรงดันไฟฟากระแสสลับ แรงดันไฟฟากระแสตรง แรงดันไฟฟาสูงสุด (AC) ที่ทดสอบ (DC) ที่ทดสอบ คุณภาพ ที่ใหใชงานได (Voltage rms.) (Voltage avg.) (ac rms.) 0 5,000 20,000 1,000 1 10,000 40,000 7,500 2 20,000 50,000 17,000 3 30,000 60,000 26,500 4 40,000 70,000 36,000 ถุงมือยางปองกันไฟฟาจําเปนจะตองใชควบคูไปกับถุงมือหนังเสมอ โดยนําถุงมือหนัง มาสวมทับถุงมือยางปองกันไฟฟา ถุงมือหนังจะทําหนาที่ปองกันไมใหถุงมือยางปองกันไฟฟาถูกขีดขวน หรือถูกบาดตัดจนเกิดรอยรั่ว เพราะถาเกิดรอยรั่วถุงมืออันนั้นจะไมสามารถทนทานตอแรงดันไฟฟา ตามมาตรฐาน และตามระดับคุณภาพนั้น ๆ ฉะนั้นกอนที่จะนําถุงมือไฟฟาไปใชงานตองทดสอบการรั่ว ทุกครั้ง

รูป แสดงถุงมือยาง


135 เนื่องจากการทํางานกับไฟฟาเปนงานที่เสี่ยงอันตรายคอนขางสูง ดังนั้นถุงมือยางปองกัน ไฟฟาตองไดรับการทดสอบ และรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได เชน American National Standard Institute (ANSI) หรือ American Society for Testing and Material (ASTM) 6.5 ถุงมือตาขายลวด ถุงมือตาขายลวดนีใ้ ชสําหรับงานที่เกีย่ วของกับของมีคม โดยเฉพาะการปองกันการตัด และเฉือน ถุงมือประเภทนีจ้ ะทําดวยลวดหรือเหล็กกลาไรสนิม ซึ่งเปนเสนเล็ก ๆ ถักเปนรูปถุงมือ แต อยางไรก็ตาม ถุงมือประเภทนี้ยังไมคอยมีใชแพรหลายมากนัก จะสั ง เกตได ว า ถุง มือ นิ รภั ย ที่ ก ล าวแลว ขา งต น เป น ถุ งมื อที่ ใ ช ส วมครบทั้ ง ห า นิ้ว มี อุปกรณปองกันมือบางประเภทที่ใชปองกันเฉพาะอุงมือหรือฝามือ และปองกันนิ้วบางนิ้ว ซึ่งอุปกรณ ประเภทหลังนี้ก็ไมคอยมีใชอยางแพรหลายเชนเดียวกัน การบํารุงรักษา การบํารุงรักษาถุงมือนิรภัยตองเลือกใหเหมาะสมสําหรับแตละชนิดไป แตหลักโดยทั่วไปมีดังนี้ 1. ทําความสะอาดทุกครั้งหลักจากเลิกใชงานแลว 2. ถุงมือที่สามารถทําความสะอาดดวยน้ําและสบู หรือผงซักฟอกได เชน ถุงมือปองกันสารเคมี ถุงมือหนัง ก็ใหซักลางแลวผึ่งใหแหง สวนถุงมือประเภทอื่น ๆ ใหทําความสะอาดตามคูมือและคําแนะนํา ของบริษัท 3. เก็บถุงมือไวในที่ที่ไมรอนจนเกินไป ปราศจากฝุนและสารเคมี 7. รองเทานิรภัย

รูป แสดงรองเทานิรภัย


136 ไดมีการรวบรวมสถิติจํานวนผูประสบอันตรายในโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ ของ สํานักงานกองทุนเงินทดแทนพบวาอันตรายที่เกิดขึ้นกับนิ้วเทาและบริเวณเทาจากวัตถุกระแทก การกลิง้ หลนทับของวัตถุ เครื่องจักรหนีบ ของมีคมบาดหรือตัดขาด และถูกสารเคมีทําใหหนังไหม มีจํานวน สูงมาก อันตรายที่เกิดกับเทานี้ สามารถทําใหลดจํานวนลงได ถาพนักงานสวมใสอุปกรณปองกันเทา หรือรองเทานิรภัย ชนิดของรองเทานิรภัย รองเทานิรภัยสามารถจําแนกตามคุณลักษณะในการใชงานไดหลายชนิด แตจะกลาวถึงเฉพาะ ชนิดที่ใชกันอยางแพรหลายดังตอไปนี้ 7.1 รองเทานิรภัยชนิดหัวโลหะ รองเทานิรภัยประเภทนี้ใชกันอยางแพรหลายที่สุดในบรรดารองเทานิรภัยทั้งหมด จนบางครั้งถาพูดถึงรองเทานิรภัย ก็จะหมายถึงรองเทานิรภัยชนิดหัวโลหะทันที เปนรองเทาหุมสน หุมขอและหุมแข็ง มีเหล็กบัว (หัวโลหะ) ครอบปองกันบริเวณนิ้วเทาและมีแผนเหล็กรองบริเวณฝาเทา สําหรับปองกันของมีคมบาดหรือตําทะลุขึ้นมา สนและพื้นรองเทาจะเปนดอกกันลื่นหกลม รองเทา นิรภัยแบบนี้มี 3 ระดับ ตามความสามารถในการทนตอแรงกด และแรงกระแทกดังนี้ ระดับที่ 1 ทนแรงกระแทกไดไมนอยกวา 400 กิโลกรัม-เซนติเมตร และทนแรงกดได ไมนอยกวา 446 กิโลกรัมแรง ระดับที่ 2 ทนแรงกระแทกไดไมนอยกวา 650 กิโลกรับ-เซนติเมตร และทนแรงกดได ไมนอยกวา 800 กิโลกรัมแรง ระดับที่ 3 ทนแรงกระแทกไดไมนอยกวา 1,000 กิโลกรับ-เซนติเมตร และทนแรงกด ไดไมนอยกวา 1,150 กิโลกรัมแรง รองเทานิรภัยชนิดหัวโลหะนี้มีรูปรางลักษณะเหมือนรองเทาธรรมดา แตจะมีสวนที่สําคัญ ที่แตกตางกันออกไปดังตอไปนี้คือ 1) หัวโลหะครอบนิ้วเทา อยูสวนหัวของรองเทา มีสําหรับปองกันวัตถุตกกระแทกนิ้วเทา 2) แผนเหล็กบาง แทรกตลอดพื้นของรองเทา ปองกันวัสดุและของแหลมทิ่มแทง 3) พื้นของรองเทาตองทนทานตอการกัดกรอนของสารเคมี และเปนพื้นแบบหลออัด ติดกับตัวรองเทา


137

รูป แสดงหัวรองเทาและพื้นรองเทานิรภัย

รองเทานิรภัยมีรูปรางและลักษณะทีแ่ ตกตางกันออกไปตามความตองการของผูใช เชน ชนิดซิปรูด สีของรองเทาอาจเปนสีดํา สีนา้ํ ตาล หรือบางครั้งอาจจะเห็นรองเทานิรภัยมีรูปรางลักษณะ และสีเหมือนรองเทาธรรมดาก็มีใชเชนกัน

รูป แสดงรองเทานิรภัยแบบตาง ๆ

รองเทานิรภัยชนิดหัวโลหะนีจ้ ะหนักกวารองเทาธรรมดา และพื้นรองเทานิรภัยก็จะแข็ง ทําใหไมเหมาะสมกับลักษณะงานบางประเภท เชน การขับขี่รถยนต การขับขี่เครื่องจักรบางประเภท เพราะจะทําใหไมสะดวกในการปฏิบัติงาน เนื่องจากพื้นรองเทานิรภัยแข็ง ผูที่สวมใสรองเทานิรภัยจึงไมควรปฏิบัติงานบนที่ สูงเชน การเดินบนโครงเหล็ก เพราะอาจเกิดการลื่นตกจากที่สูงใหไดรับอันตรายได หัวโลหะ พื้น และสวนประกอบอื่น ๆ ของรองเทาตองไดรับการทดสอบตามมาตรฐาน ที่เชื่อถือได


138 7.2 รองเทาปองกันสารเคมี รองเทานิรภัยสําหรับปองกันสารเคมี ทําดวยวัสดุซึ่งตองทนทานตอการกัดกรอนของ สารเคมีทั้งชนิดในรูปของของเหลว ของแข็ง และไอ วัสดุที่ใชสวนใหญเปนไวนิล และนีโอพรีน รองเทาปองกันสารเคมีใชสําหรับงานที่เกี่ยวของกับสารเคมี แบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ 7.2.1 รองเทาปองกันสารเคมีชนิดไมมีหัวโลหะ เปนรองเทานิรภัยที่ทําดวยยางหรือไวนิล หรือนีโอพรีน ซึ่งทนตอการกัดกรอน ของสารเคมีเพียงอยางเดียว 7.2.2 รองเทาปองกันสารเคมีชนิดหัวโลหะ มีลักษณะเหมือนรองเทาปองกันสารเคมีในหัวขอ ก. แตจะมีสวนหัวของรองเทา เปนหัวโลหะครอบนิ้วเทาไว ปองกันสิ่งของตกกระแทก และนอกจากนี้ที่พื้นอาจมีแผนเหล็กบางปองกัน ของมีคมแทงทะลุไดอีกดวย รองเทาปองกันสารเคมีควรเปนรองเทาบูทที่มีความสูงถึงครึ่งหนาแขงหรือถึงหัวเขา เพื่อปองกันไมใหสารเคมีเขาไปทําอันตรายสวนของหนาแขงได

7.3 รองเทาปองกันความรอน วัสดุที่ใชทํารองเทาปองกันความรอนก็จะมีคุณสมบัติเหมือนชุดปองกันความรอนและ ถุงมือปองกันความรอน เพราะตองใชควบคูไปกับอุปกรณปองกันดังกลาว รองเทาปองกันความรอนจึงเหมาะทีจ่ ะใชงานดับเพลิงและงานหลอมโลหะ เปนตน นอกจากนี้แลวอุปกรณปองกันเทาก็ยังมีเหล็กครอบรองเทา และรองเทาปองกันไฟฟา มีคุณสมบัติเปนฉนวนไฟฟาที่ดี รองเทาชนิดนี้หากชํารุด หามซอมแซมโดยใชตะปูหรือลวดตรึงเพราะ สิ่งเหลานี้เปนสื่อไฟฟา


139 การบํารุงรักษารองเทานิรภัย 1. การทํ า ความสะอาด ควรทําทุ ก วัน หลัง จากใชง านแลว โดยการป ด และเช็ ด ฝุ น หรื อสิ่ ง สกปรกที่ติดอยูทั้งดานนอกและดานใน ดวยผาชุบน้ําหมาด ๆ 2. ควรซักลางดวยน้ําและสบูหรือผงซักฟอกทุก ๆ สัปดาหแลวลางน้ําสะอาด นํารองเทาไป ตากใหแหง 3. ควรใชรองเทานิรภัยเปนของสวนตัว 4. รองเทาปองกันความรอนทีท่ ําดวยอะลูมิเนียม ตองทําความสะอาดตามคูมือและคําแนะนํา ของบริษัท 8. อุปกรณปองกันตกจากที่สูง การทํางานบนที่สูงหรือทํางานตางระดับที่ตองเสี่ยงกับการตกจากที่สูง ตัวอยางเชน งานกอสราง งานสายสงโทรศัพท งานบํารุงรักษา เกี่ยวกับไฟฟาและทําความสะอาด หรือแมกระทั่ง การทํางานในหลุม บองานที่ตองเสี่ยงกับการตกจากที่สูงหรือตางระดับ จําเปนตองใชอุปกรณปองกัน การตกจากที่สูง ชนิดของอุปกรณปองกันการตกจากที่สูง อุปกรณปองกันการตกจากทีส่ ูงแยกออกตามลักษณะและชนิดของการใชงานออกไดหลายชนิด ดังนี้ 8.1 เข็มขัดนิรภัย เข็มขัดนิรภัยประกอบดวยตัวเข็มขัด ซึ่งตองใชควบคูก ับเชือกนิรภัยทุกครั้ง โดยตัวเข็มขัด จะใชรัดเขากับลําตัวของผูใชงาน สวนเชือกนิรภัยจะคลองตัวเข็มขัดโยงไวกับเสาหรือโครงสรางเหล็ก

ตัวเข็มขัด วัสดุที่ใชทําตัวเข็มขัดไดแก หนังและใยสังเคราะห ซึ่งไดแกพวกไนลอน หรือดากอน เข็มขัดที่ทําดวยหนังจะรับน้ําหนักไดนอยกวา สวนเข็มขัดที่ทําดวยใยสังเคราะหแมวาจะรับน้ําหนักได มากกวา แตจะลื่นหลุดไดงายกวาซึ่งอาจจะเปนอันตรายได ตัวเข็มขั ดจะมีห วงรูปตัวดี ไวสําหรับคลองเขากับเชือกนิรภัย ซึ่งอาจมี 1 ถึง 3 อัน ตัวเข็มขัดที่ดีควรจะมีรูสําหรับสอดใสอุปกรณตาง ๆ เชน ฆอน ไขควง เปนตน และนอกจากนี้ยัง อาจจะมีถุงใสตะปูและนอตอีกดวย


140

รูปที่ 45 แสดงเข็มขัดนิรภัย ตัวเข็มขัดมี 2 แบบ คือ แบบรัดลําตัวดวยขอเกี่ยวเหมือนเข็มขัดธรรมดา และแบบรัด ลําตัวดวยระบบล็อค ซึ่งเข็มขัดนิรภัยแบบแรกจะนิยมใชมากกวา และรัดตัวไดอยางมัน่ คงกวา ตัวเข็มขัดนิรภัยควรมีความกวางไมต่ํากวา 43 มิลลิเมตร และมีความยาวไมนอยกวา 1,200 มิลลิเมตร เชือกนิรภัย เชือกนิรภัยจะมีตะขอสําหรับเกี่ยวเขากับตัวเข็มขัดบริเวณหวงรูปตัวดี ซึ่งอาจเปนแบบ มีตะขอทั้งสองปลาย หรือแบบมีตะขอ 1 ขาง สวนอีกขางเปนแบบล็อคติดกับสายชวยชีวิต ซึ่งจะ สามารถปรับใหเลื่อนขึ้นและลงได ในขณะปฏิบัติงาน เชือกนิรภัยมีทั้งชนิดเสนกลม และชนิดแถบ แตชนิดเสนกลมนิยมใชกันอยางแพรหลายกวา วัสดุที่ใชทําเชือกนิรภัยไดแก มนิลา ไนลอน ใยสังเคราะห และหนัง เชือกนิรภัยมีความยาวประมาณ 1.50 เมตร

รูป แสดงเชือกนิรภัย


141 8.2 สายรัดลําตัว เปนอุปกรณที่ใชสําหรับงานที่เสี่ยงภัยมาก ๆ ซึ่งจะสามารถปองกันการตกจากที่สูงได ดีกวาเข็มขัดนิรภัย ทั้งนี้เพราะสายรัดลําตัวออกแบบใหรับน้ําหนักหรือแรงกระตุกที่เกิดขึ้นเฉลี่ยไปที่ หนาอก เอวและขาได แทนที่จะเปนที่เอวแหงเดียวในกรณีที่ใชเข็มขัดนิรภัย สายรัดลําตัวตองใชกับสายชวยชีวิต ซึ่งบางครั้งอาจจําเปนตองใชเชือกนิรภัย ในการ เกี่ยวสายรัดลําตัวเขากับสายชวยชีวิต

รูป แสดงสายรัดลําตัว สายรัดลําตัวควรจะบุดวยวัสดุที่ออนนิ่ม ทําหนาที่ลดแรงกระแทกในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ ตกจากที่สูง 8.3 สายชวยชีวิต สายชวยชีวิตเปนสายซึ่งผูก ยึด หรือเกี่ยวแนนกับโครงสรางของอาคารหรือสวนที่มั่นคง เพื่อชวยไมใหผูใชตกลงจากที่สูง ซึ่งผูที่จะใชสายชวยชีวิตนี้จําเปนจะตองใชเข็มขัดนิรภัยหรือสายรัด ลําตัวประกอบดวยทุกครั้ง โดยมีเชือกนิรภัยเกี่ยวเข็มขัดหรือสายรัดลําตัวเขากับสายชวยชีวิต โดยปกติ เชื อ กนิ ร ภั ย จะต อ งเป น ระบบล็ อ ค ติ ด กั บ สายช ว ยชี วิ ต และสามารถเลื่ อ นขึ้ น ได ส ะดวก แต ถ า ผูปฏิบัติงานพลาดตก ระบบล็อคนี้จะล็อคติดกับสายชวยชีวิตทันที สายชวยชีวิตอาจเปนเชือกไนลอน หรือเชือกมนิลาผูกยึดแนนกับโครงสรางอาคารหรือ บางครั้งอาจทําดวยสลิง ซึ่งมีระบบล็อคเมื่อถูกดึงหรือเมื่อพลาดตากจากที่สูง

รูป แสดงสายชวยชีวิต


142 การใชอยางปลอดภัย 1. ตรวจสอบตัวเข็มขัดวามีการฉีก ปริ และขาดหรือไม และตรวจดูตะเข็บเย็บวาขาดหรือไม ถาเกิดการชํารุดไมควรนําไปใชงาน 2. ตรวจสอบดูระบบล็อคของตัวเข็มขัด เชือกนิรภัย และสายชวยชีวิตวาแนนหนาดีหรือไม 3. ตรวจดูเชือกนิรภัยและสายชวยชีวิตวามีการฉีกขาดของเชือกและสลิงหรือไม 4. สายชวยชีวิตตองยึดติดแนนอยางมั่นคงกับโครงสรางอาคาร 5. ตรวจสอบ D-rings ของเข็มขัดนิรภัยวามีการผุกรอนหรือไม 9.

อุปกรณปองกันพิเศษเฉพาะงาน อุปกรณปองกันพิเศษเฉพาะงาน เปนอุปกรณซึ่งไมสามารถจัดหมวดหมูในการปองกัน อันตรายไดอยางแนชัด และเปนอุปกรณที่ราคาคอนขางแพง มีเทคนิคและวิธีการใชทพี่ ิเศษยุงยาก ซึง่ ถาจะนําไปใชจะตองศึกษาแนวทาง วิธีการใช และขอจํากัดของอุปกรณชนิดนั้น ๆ โดยละเอียด ชนิดของอุปกรณปองกันพิเศษเฉพาะงาน มีดังตอไปนี้ 9.1 อุปกรณประดาน้ํา 9.2 ปลอกแขนยางปองกันไฟฟา 9.3 ครีมหรือโลชั่นทาผิวปองกันสารเคมี 9.4 เสื้อชูชีพและทุนชูชีพ 9.5 ชุดปองกันรังสี 9.6 ฟลมตรวจรับรังสี (Film Badge) สําหรับติดตัว 9.7 มานกันแสงเชือ่ ม (Welding Curtain) เนื่องจากอุปกรณปองกันพิเศษเฉพาะงาน มีหลายชนิดรายละเอียดและเทคนิคการใช ซึ่งยุงยาก จึงไมไดกลาวในที่นี้ ผูที่จะใชจําเปนตองศึกษารายละเอียดจากคูมือและคําแนะนําของ บริษัทผูผลิต

การทดสอบประสิทธิภาพอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อุปกรณ ปองกั นอั นตรายสวนบุคคล เปนสิ่งที่นํามาสวมใสอวั ยวะส วนใดสว นหนึ่งของ รางกาย เพื่อปองกันอันตรายในสวนนั้น อุปกรณปองกัน ฯ จึงควรมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะปองกัน อันตรายใหกับอวัยวะสวนนั้น ไดมีอุปกรณปองกันหลายประเภทที่กําหนดเปนมาตรฐานเพื่อใหเปน บรรทัดฐานสําหรับการผลิต การเลือก การนํามาใชงาน การบํารุงรักษา ทําใหการนําไปใชปองกัน อันตรายนั้นมีประสิทธิภาพที่ดี ตามมาตรฐานไดกําหนดวิธีการทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณปองกันไว ดังจะไดกลาวถึงอุปกรณปองกัน ฯ บางประเภท ที่มีการกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม โดย


143 สํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม คือ หมวกนิรภัยและรองเทานิรภัย ดังมี รายละเอียดการทดสอบดังตอไปนี้ 1. การทดสอบประสิทธิภาพหมวกนิรภัย ไดกําหนดการทดสอบประสิทธิภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมไว 7 ประการ คือ 1.1 การทดสอบหาระยะหางระหวางยอดหมวกดานในกับรองในหมวก 1.2 การทดสอบความเปนฉนวนไฟฟา 1.3 การทดสอบความตานทานการกระแทก 1.4 การทดสอบความตานทานการเจาะ 1.5 การทดสอบการติดไฟ 1.6 การทดสอบการดูดซึมน้ํา 1.7 การทดสอบความคงรูปตามขวางดังมีรายละเอียดการทดสอบ ดังตอไปนี้ 1.1 การทดสอบหาระยะหางระหวางยอดหมวกดานในกับรองในหมวก นําหมวกที่มีรองใน มาครอบบนหุนรูปศีรษะขนาดมาตรฐาน (เสนรอบวงหุนรูปศีรษะ 560 มิลลิเมตร) ปลอยแทงเหล็ก หนารูปทรงกระบอกมีน้ําหนัก 11.2 กิโลกรัม เสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 50 มิลลิเมตร ใหกดบน ยอดหมวกแลวอานระยะจากเครื่องวัดระยะ หลังจากนั้นนําหมวกมาถอดรองในออก แลวนํามาครอบ บนหุน รูปศีรษะอีกครั้งหนึ่ง ปลอยแทงเหล็กใหกดบนยอดหมวก แลวอานระยะจากเครื่องวัดระยะ ผลตางของระยะที่อานไดบนเครื่องวัดระยะครั้งแรกและครั้งหลังจะเปนระยะหางระหวางยอดหมวก ดานในกับรองในหมวก ใหนําผลตางของคาที่อานไดจากการวัดของหมวกแตละใบมาเฉลี่ย ถือเปน คาเฉลี่ยของหมวกรุนนั้น ๆ ซึ่งตองมีคาเฉลี่ยไมนอยกวา 30 มิลลิเมตร 1.2 การทดสอบความเปนฉนวนไฟฟา นําหมวกที่จะทําการทดสอบมาถอดรองในออกแลว หงายขึ้นใสน้ําถังในหมวกใหถึงระดับต่ํากวาขอบหมวกประมาณ 12 มิลลิเมตร ถาเปนชิ้นคุณภาพ A และ D ซึ่งมีรูสําหรับใสรองในใหระดับน้ําอยูต่ํากวารูประมาณ 12 มิลลิเมตร นําหมวกไปวางลงใน ภาชนะบรรจุน้ํา ใหขอบหมวกมีระยะหางจากขอบภาชนะตางกัน ใชที่รองหรือที่ยึดหมวกใหระดับน้ํา ในหมวกอยูในระดับเดียวกันกับน้ําในภาชนะตออุปกรณจายกระแสไฟฟา มิลลิอัมมิเตอรโวลตมิเตอร เขากับสายไฟฟาขั้วจายและรับกระแสไฟฟาใหครบวงจร ในระหว างการทดสอบตองใหหมวกสว นที่เ ป นผิว น้ํา แหง และไมใ หน้ําภายในและ ภายนอกหมวกสัมผัสกัน สําหรับการทดสอบหมวกนิรภัย ชั้นคุณภาพ A และ D เมื่อปลอยกระแสไฟฟา คอย ๆ เพิ่มความดันจนถึง 2,200 โวลต และคงคาแรงดันไฟฟานี้ไว 1 นาที อานคากระแสไฟฟาไหล ผานหมวก ตองไมเกิน 3 มิลลิอัมแปร สําหรับการทดสอบชิ้นคุณภาพ B ใหเพิ่มแรงดันไฟฟาจนถึง ระดับ 20,000 โวลต ทิ้งไว 3 นาที อานคากระแสไฟฟาไหลผานหมวกตองไมเกิน 9 มิลลิอัมแปร จากนั้นเพิ่มแรงดันไฟฟาตอไปอีกดวยอัตราวินาทีละ 1,000 โวลต จนถึงระดับ 30,000 โวลต เพื่อ ทดสอบหาแรงดันไฟฟาเสียสภาพฉับพลัน โดยตองมีคาไมต่ํากวา 30,000 โวลต


144 1.3 การทดสอบความต า นทานการกระแทก เครื่ อ งมื อ ประกอบด ว ยหุ น รู ป ศี ร ษะ แท น ทดสอบบริไนลล ซึ่งมีแทงรับแรงกดทําดวยอะลูมิเนียมมาตรฐาน และหัวกดบริเบลล ดังภาพที่ 10.78 ตุ ม น้ํ า หนั ก เป น ลู ก เหล็ ก กลม เส น ผ า ศู น ย ก ลาง 95 มิ ล ลิ เ มตร มี ม วล 3.6 ± 0.1 กิ โ ลกรั ม กล อ ง จุลทรรศนที่ยึดและกระบอกบังคับแนวตุมน้ําหนัก การเตรียมการทดสอบ โดยการนําหมวกตัวอยางซึ่งถอดสวนประกอบอื่น ๆ ออก ยกเวน รองในหมวก จัดรองในหมวกใหไดเสนรอบวงสายรัดศีรษะ 580 มิลลิเมตร นําไปทดลองครอบบนหุน รูปศีรษะซึ่งวางอยูบนแกนทดสอบบริเนลล โดยหันหนาออก จัดใหยอดหมวกตรงกับจุดที่ตุมน้ําหนัก และตกลงตามแนวดิ่ง ปรับระดับกระบอกบังคับแนวตุมน้ําหนักใหจุดลางสุดของตุมน้ําหนักอยูเหนือ ยอดของหมวก 1,524 มิ ลลิ เ มตรพอดี ก อ นทํ า การทดสอบต องนํา หมวกตั ว อย า งไปไวที่อุ ณ หภู มิ –10 ± 2 องศาเซลเซียส และ 50 ± 5 องศาเซลเซียส ครั้งละไมนอยกวา 2 ชั่วโมง จึงเริ่มทําการทดสอบ การทดสอบนําหมวกตัวอยางไปครอบลงบนหุนศีรษะแลวปลอยตุมน้ําหนักลงบนหมวก การกระทําทั้งหมดนี้จะตองใหเสร็จภายใน 15 วินาที เพื่อใหอุณหภูมิของหมวกขณะทดสอบเปลี่ยนแปลง นอยที่สุด วัดเสนผาศูนยกลางของรอยกดที่เกิดขึ้นบนแทงรับแรงกดแตละครั้งนําไปอานคาเปนแรง กระแทกที่วิ่งผานหมวกไดจากตารางที่ 4 นําคาแรงกระแทกที่สงผานหมวกแตละใบมาหาคาเฉลี่ย ซึ่งตองไมเกิน 3,781 นิวตัน และแรงกระแทกสูงสุดที่สงผานหมวกทุกชิ้นคุณภาพแตละใบตองไมเกิน 4,448 นิวตัน

ภาพที่ 10.78 เครื่องมือทดสอบความตานทานการกระแทก


145 1.4 การทดสอบความตานการเจาะ โดยการนําหมวก ซึ่งถอดสวนประกอบอื่น ๆ ยกเวน รองในหมวกออกจัดรองในใหไดเสนรอบวงสายรัดศีรษะ 580 มิลลิเมตร และนําหุนรูปศีรษะไปวาง บนพื้ น ราบที่ เ รี ย บและแข็ ง แรง ควรเป น พื้ น คอนกรี ต และให อ ยู ใ ต ก ระบอกบั ง คั บ ตุ ม น้ํ า หนั ก ปลายแหลมซึ่งมีมวล 446 กรัม จัดระดับปลายตุมน้ําหนักใหอยูหางจากยอดหมวก 3.05 เมตร และจัด ยอดหมวกใหอยูในแนวดิ่งที่ตุมน้ําหนักจะตกลงมาบนยอดหมวกพอดี ใหทดสอบที่อุณหภูมิหอง โดยปลอยตุมน้ําหนักใหตกลงบนหมวกตัวอยางภายในวงกลม ที่มีรัศมี 38 มิลลิเมตร ซึ่งวัดจากจุดยอดของหมวกและตุมน้ําหนักจะตองไมตกลงบนสันหรือรอยจุด ที่ฉีดวัสดุในการหลอหมวก วัดความลึกของรอยเจาะตามรอยเอียงตามรูปของปลายตุมน้ําหนักบวกกับ ความหนาของหมวก รอยเจาะที่เกิดขึ้นเปนหมวกนิรภัยชนิดคุณภาพ A B และ D ต องลึกไมเกิน 10 มิลลิเมตร และชั้นคุณภาพ C ไมเกิน 12 มิลลิเมตร โดยคิดรวมความหนาของหมวกดวย เปนคา ความตานทานการเจาะของหมวก 1.5 การทดสอบการติดไฟ โดยการนําหมวกตัวอยางที่ทําความสะอาดผิวแลว มาตัดเปนแถบ รูปสี่เหลี่ยมผืนผา มีขนาดกวาง 13 มิลลิเมตร ยาวประมาร 125 มิลลิเมตร โดยเลือกตัดสวนใดสวนหนึ่ง ของหมวกที่จะใหไดชิ้นสวนมีลักษณะแบนมากที่สุดและบางมากที่สุด เลือกตัดใหทั่ว ๆ ตัวหมวก จํานวน 3 ชิ้น นํามาขีดเครื่องหมายเปนเสนตามขวางโดยเริ่มจากปลายขางใดขางหนึ่งหางกันเสนละ 13 มิลลิเมตร ประมาณ 7 ถึง 8 เสน ทุกชิ้นนําไปยึดไวกับที่ยึด ใหดานยาวขนานกับพื้นและดานกวาง เอียงเปนมุม 45 องศา กับแนวราบ เริ่มทดสอบโดยจุดตะเกียงแอลกอฮอลหรือตะเกียงกาซปรับเปลวไฟสีน้ําเงินใหไดสูง 16 ± 3 มิลลิเมตร เลื่อนตะเกียงเขาไปเผาปลายสุดของชิ้นสวนใหยอดของเปลวไฟสีน้ําเงินสัมผัสกับ ขอบลางสุดของชิ้นสวนพอดี ใชเวลาประมาณ 30 วินาที แลวเลื่อนตะเกียงออก ปลอยใหชิ้นสวนติดไฟ จนกระทั่งเริ่มลามไปถึงเครื่องหมายเสนแรก เริ่มจับเวลาจนกระทั่งเปลวไฟลามไปถึงเครื่องหมายเสน ที่ 7 (ระยะ 91 มิลลิเมตร) หยุดจดเวลาที่ไดไว ในกรณีที่วัสดุนั้นติดไฟยากหรือเปลวไฟดับไดเอง ให ทดสอบวาเปนวัสดุที่ไมดับไดเอง โดยเผาอีกครั้งหนึ่งใชเวลา 30 วินาทีเทาเดิม เลื่อนตะเกียงออก ใหเริ่มจับเวลาตั้งแตเมื่อเลื่อนตะเกียงออกจนกวาเปลวไฟบนชิ้นสวนดับไปเอง ผลการทดสอบในกรณีที่หมวกติดไฟจนถึงเครื่องหมายเสนที่ 7 ใหคํานวณความเร็วของ การติดไฟของชิ้นสวนเปนมิลลิเมตรตอนาที หมวกนิรภัยชิ้นคุณภาพ A และ B ตองติดไฟดวย ความเร็วไมเกิน 75 มิลลิเมตร ตอนาที และชิ้นคุณภาพ D ไมตองดับไดเอง 1.6 การทดสอบการดูดซึมน้ํา นําหมวกตัวอยางมาถอดสวนประกอบตาง ๆ ออกใหหมด ในกรณีที่หมวกมีวัสดุฉาบผิว ตองขูดหรือขัดผิวที่ฉาบออกใหถึงผิวเนื้อหมวกจริง ๆ โดยการขัดดวย กระดาษทราบละเอียด ทําความสะอาดผิวของหมวก เช็ดใหแหงแลวนําไปอบไวในเตาอบที่อุณหภูมิ 50 ± 5 องศาเซลเซียส เปนเวลาอยางนอย 4 ชั่วโมง การทดสอบทําที่อุณหภูมิหอง โดยนําหมวก ภายหลั ง จากการอบมาชั่ ง และจดน้ํ า หนั ก ที่ อ า นไว นํ า ไปแช น้ํ า ในภาชนะที่ มี ข นาดใหญ แ ละลึ ก


146 ใหหมวกจมมิดไดหมดทั้งใบเปนเวลา 24 ชั่วโมง หลังจากนั้นเช็ดน้ําที่ผิวหมวกออกจนผิวแหงสนิท นําไปชั่งใหมอีกครั้ง นําคาน้ําหนักที่อานไดครั้งแรกและครั้งหลัง ไปคํานวณจากการดูดซึมน้ําของ หมวกเปนรอยละ น้ําหนักของหมวกที่ชั่งไดครั้งที่สอง – น้ําหนักหมวกที่ชั่งไวครั้งแรก × 100 น้ําหนักหมวกที่ชั่งไดครั้งแรก การดูดซึมน้ําของหมวกนิรภัยชั้นคุณภาพ A, C และ D ไมเกินรอยละ 5 ของน้ําหนัก ของชั้น คุณภาพ B ตองไมเกิน 0.5 ของน้ําหนัก 1.7 การทดสอบการคงรูปตามขวาง โดยนําหมวกแตละใบวางอยูระหวางแผนโลหะที่ขนาน กันสองแผน ใหปลายขอบดานที่มนกลมของแผนโลหะทั้งสองสอดอยูในขอบหมวก ดังภาพที่ 10.79 ใหแรงกดบนแผนโลหะที่วางบนเปลือกหมวกอยูในตําแหนงของหูผูสวมใสครั้งแรก 30 นิวตัน เมื่อทิ้ง ไว 30 วินาที วัดระยะหางระหวางแผนโลหะที่วางขนานกัน เพิ่มแรงกดจนถึง 430 นิวตัน โดยมีอัตรา การเพิ่มครั้งละ 100 นิวตัน โดยมีอัตราการเพิ่มครั้งละ 100 นิวตันตอนาที ทิ้งไว 30 วินาที วัดระยะหาง ระหวางแผนโลหะขนานกันอีกครั้ง ผลตางของการเสียรูปของหมวกตองไมเกิน 40 มิลลิเมตร จากนั้น ลดแรงกดจนกระทั่งถึ ง 25 นิวตั น และเพิ่มแรงกดทันทีจนถึง 30 นิวตัน และทิ้งไว 30 วินาที วัด ระยะหางระหวางแผนโลหะขนานกันอีกครั้ง ผลตางของการเสียรูปอยางถาวรของหมวกที่แรงกด 30 นิวตัน ในครั้งแรกและครั้งหลังตองไมเกิน 15 มิลลิเมตร และหมวกตองไมปรากฏการแตกราว ตารางที่ 10.4 แสดงแรงกระแทกที่สงผานหมวก


147

หมายเหตุ 1. คาที่อยูใตเสน A หมายถึง คาของแรงกระแทกที่มีคาเกินหรือเทากับคาแรงที่สงผานหมวกเฉลี่ยตามที่ระบุไว 2. คาที่อยูใตเสน B หมายถึง คาของแรงกระแทกที่มีคาเกินหรือเทากับคาแรงที่สงผานหมวกแตละใบที่ระบุไว


148

ภาพที่ 10.79 การทดสอบการคงรูปตามขวาง 2. การทดสอบประสิทธิภาพรองเทานิรภัย การทดสอบประสิทธิภาพรองเทานิรภัยไดกําหนดการทดสอบประสิทธิภาพ ตามมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมไว 5 ประการ คือ 2.1 การทดสอบการติดแนนของพื้นรองเทากับหนังหนารองเทา 2.2 การทดสอบความทนน้ํามันของพื้นรองเทา 2.3 การทดสอบความทนแรงกระแทก 2.4 การทดสอบความทนแรงทะลุของแผนโลหะ 2.5 การทดสอบความตานทานไฟฟาของพื้นรองเทา ดังมีรายละเอียดการทดสอบดังนี้ 2.1 การทดสอบการติดแนนของพื้นรองเทากับหนังหนารองเทา เครื่องทดสอบการติดแนน ของพื้นรองเทา ดังภาพที่ 10.80 และ 10.81 ประกอบดวยแทงกดแรงซึ่งมีปลายขางหนึ่งยึดอยูกับ ที่สวนปลายอีกขางหนึ่งตัดกับนิ้วกดแทนรองรับ แทนประกบ และเครื่องบันทึกแรงกด วิธีการทดสอบการติดแนนของพื้นรองเทากับสวนหัวรองเทา เลือกใชนิ้วกดที่มีรูปรางเหมาะกับ สวนหัวรองเทา วางสวนหัวรองเทาตัวอยางที่ใสหุนแลวลงบนแทงรองรับปรับความสูงจนกระทั่งเมื่อ สวนหัวรองเทาติดกับนิ้วกด แลวสวนหนาของพื้นรองเทาอยูในแนวราบ กดสวนหลังของหุนรองเทาลง เพื่อใหแรงกดเพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอ ดวยอัตราที่ทําใหแรงกดเพิ่มขึ้นถึง 310 นิวตัน ในเวลาประมาณ 3 วินาที เมื่อแรงกดเพิ่มขึ้นถึง 310 นิวตัน แลว ใหนํารองเทาตัวอยางออกจากเครื่องทดสอบ แลวตรวจดู การขาดของดายหรือรอยแยกของพื้นรองเทาจากหนังหนารองเทา


149

ภาพที่ 10.80 เครื่องทดสอบการติดแนนของพื้นรองเทากับสวนหัวรองเทา

ภาพที่ 10.81 เครื่องทดสอบการติดแนนของพื้นรองเทากับสวนของสนรองเทา วิธีการทดสอบ การติดแนนของพื้นรองเทากับสวนรองเทาทําลักษณะเดียวกับการทดสอบ สวนหัวรองเทาตางกันที่ใชแรงกดเพิ่มขึ้นถึง 450 นิวตัน ในเวลาประมาณ 3 วินาที เมื่อแรงกดเพิ่มขึ้น ถึง 450 นิวตัน ใหนํารองเทาตัวอยางออกจากเครื่องทดสอบแลวตรวจดูการเคลื่อนถอนของตะปูหรือ รอยแยกของพื้นรองเทาจากหนังหนารองเทา 2.2 การทดสอบความทนน้ํ า มั น ของพื้ น รองเท า การทดสอบโดยตั ด รองเท า หนั ง นิ ร ภั ย ตัวอยางตรงพื้นรองเทามาทําเปนชิ้นทดสอบ ใหมีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร × 25 มิลลิเมตร × 50 มิลลิ เมตร × จํ านวน 3 ชิ้ น ก อนทดสอบใหเ นนชิ้นทดสอบไวที่อุณ หภูมิ 27 ± 2 องศาเซลเซีย ส ความชื้นสัมพัทธ รอยละ 65 ± 5 ไมนอยกวา 72 ชั่วโมง วิธีการทดสอบ โดยการชั่งชิ้นทดสอบในอากาศใหทราบคาที่แนนอนถึง 0.1 กรัม แลวชั่งใน น้ํากลั่นที่อุณหภูมิ 27 ± 2 องศาเซลเซียส อาจใชเครื่องถวงชิ้นทดสอบใหจมน้ํา ซึ่งตองชั่งเครื่องถวง


150 ในน้ํากลั่นดวย จากนั้นซับชิ้นทดสอบใหแหงดวยกระดาษกรองหรือผา แลววางในชามแกวบรรจุ น้ํามันเครื่อง ประเภท 3 ชนิด 40 มีปริมาตรอยางนอย 15 เทา ของชิ้นทดสอบ และเพียงพอที่จะทวม ชิ้นทดสอบ ปลอยไว 22 ชั่วโมง ± 15 นาที ที่อุณหภูมิ 27 ± 2 องศาเซลเซียส โดยไมใหชิ้นทดสอบ ถูกแสง นําชิ้นทดสอบเช็ดน้ํามันที่ติดตามผิวและชั่งในอากาศทันทีและชั่งน้ําหนักในน้ํากลั่น นําคาน้ําหนักที่ไดคํานวณหาปริมาตรที่เปลี่ยนแปลงไปเปนรอยละ จากสูตรปริมาตรที่เปลี่ยนแปลง (น้ําหนักในอากาศหลังแชน้ํามัน – น้ําหนักในน้ําหรือแชน้ํามัน) + (น้ําหนักในอากาศ – น้ําหนักในน้ํา) × 100 น้ําหนักในอากาศ – น้ําหนักในน้ํา

ปริมาตราที่เปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ยตองไมเกินรอยละ ± 10 2.3 การทดสอบความทนแรงกระแทก เครื่องมือและอุปกรณประกอบดวย เครื่องปลอย ตุ ม เหล็ ก หนัก 20 ± 0.2 กิโ ลกรั ม ใหตกลงมาตามราง มี ป ลายกระแทกประกอบด ว ยลิ่ม ฉากยาง 60 มิลลิเมตร ตรงปลายมนขนานกับฐานของเครื่องทดสอบ ซึ่งเปนไมหนา 75 ± 5 มิลลิเมตร กวาง และยาวไมนอยกวา 350 และ 1,100 มิลลิเมตร ฐานจะรองรับและยึดแผนเหล็กหนา 50 ± 5 มิลลิเมตร ยึดรางกิ่งไว มีเครื่องจับลูกตุมเหล็กใหกระแทกสวนหนาของรองเทานิรภัยตัวอยางเพียงครั้งเดียว มีดิน น้ํ า มั น รู ป ทรงกระบอกตั น เส น ผ า ศู น ย ก ลาง 25 มิ ล ลิ เ มตร สู ง 30 มิ ล ลิ เ มตร และมี อุ ป กรณ ยึ ด ชิ้นทดสอบ วิธีการทดสอบ นํารองเทานิรภัยตัวอยางที่จะใชทดสอบตัดเอาเฉพาะสวนหนาของรองเทา มี ระยะหางจากขอบหลังของเหล็กหัวบัว 30 มิลลิเมตร ยึดชิ้นทดสอบใหแนนดวยอุปกรณยึดชิ้นทดสอบ วางดินน้ํามันไวภายในชิ้นทดสอบ โดยใหจุดกึ่งกลางของดินน้ํามันอยูบนแนวทางการทดสอบ และ ดานหลังสุดอยูตรงในแนวดิ่งกับขอบหลังของเหล็กหัวบัว ดังภาพที่ 10.82 ปลอยลูกตุมเหล็กยกระดับสูง

ภาพที่ 10.82 ตําแหนงการวางดินน้ํามัน


151 ที่กําหนดสําหรับรองเทานิรภัยแตละชนิดใหเกิดแรงกระแทกบนชิ้นทดสอบ ชนิด 40 จากระดับความสูง 200 มิลลิเมตร ชนิด 65 จากระดับความสูง 325 มิลลิเมตร ชนิด 100 จากระดับความสูง 500 มิลลิเมตร ชนิด 200 จากระดับความสูง 1,020 มิลลิเมตร วัดความสูงของดินน้ํามันที่ระยะ 10 มิลลิเมตร จากขอบหลังของเหล็กหัวบัว ความสูงของดินน้ํามัน โดยเฉลี่ ย ต อ งไม นอ ยกว า 13.75 มิ ล ลิ เ มตร โดยความสู ง ของดิ น น้ํ ามั น แต ล ะตั ว ต อ งไม น อ ยกว า 13.5 มิลลิเมตร 2.4 การทดสอบความทนแรงแทงทะลุของแผนโลหะ เครื่องมือประกอบดวยเครื่องทดสอบ แรงดึงที่สามารถวัดคาไดถึง 2,000 นิวตัน พรอมดวยอุปกรณทดสอบแรงดัน ตะปูเหล็กกลาปลายตัด ดังภาพที่ 10.83 และที่ยึดชิ้นทดสอบและตะปู ดังภาพที่ 10.84

ภาพที่ 10.83 ปลายตะปู

ภาพที่ 10.84 อุปกรณทดสอบความทนแรงแทงทะลุ


152 ชิ้นทดสอบใหใชแผนโลหะที่ตัดจากรองเทานิรภัยตัวอยางซึ่งไมมียางหรือวัสดุอื่นติดอยู ทดสอบขางละ 4 ตําแหนง ยึดชิ้นทดสอบไวระหวางแผนแข็ง 2 แผน ดังในภาพที่ 10.84 ยึดโลหะ ประกบ 2 แผน ไวระหวางมือยึดของอุปกรณทดสอบแรงอัดซึ่งประกอบอยูกับเครื่องทดสอบแรงดึง แล ว เดิ น เครื่ อ งด ว ยความเร็ ว ที่ ทํ า ให เ กิด อั ต ราการแทงทะลุข องตะปู ร ะหว า ง 7 มิ ล ลิ เ มตร ถึ ง 13 มิลลิเมตรตอนาที บันทึกคาแรงแทงทะลุเมื่อแรงแทงทะลุถึงคาสูงสุดแลว ทั้งนี้ตองไมใหตะปูแทง ทะลุชิ้นทดสอบกับสวนปลายตะปู แรงแทงทะลุเฉลี่ยตองไมนอยกวา 1,200 นิวตัน 2.5 การทดสอบความตานทานไฟฟาของพื้นรองเทา การเตรียมตัวอยาง ดวยการทําความ สะอาดผิวนอกของพื้นรองเทาหนังนิรภัยตัวอยางดวยแอลกอฮอลเพื่อขจัดสารเคลือบนําไฟฟาใด ๆ ที่ อาจติดอยูทาแลกเกอรนําไฟฟาขนผิวนอกของพื้นรองเทา ดังภาพที่ 10.85 นํารองเทาตัวอยางไปปรับภาวะ ที่อุณหภูมิ 27 ± 2 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธรอยละ 65 ± 5 เปนเวลา 7 วัน วางรองเทาตัวอยาง ที่บรรจุลูกปนโลหะไวขางในลงบนหมุดสัมพัทธโลหะ ดังภาพที่ 10.86 โดยใหสวนสนรองเทาอยูบน หมุ ด เดี่ ย วและส ว นหน า ของรองเท า อยู บ นหมุ ด คู ความต า นทานไฟฟ า ของอิ เ ล็ ก โทรดภายนอก วัดระหวางหมุดคูและหมุดเดียว ตองไมเกิน 1,000 โอหม สวนความตานทานไฟฟาของอิเล็กโทรด ภายในที่วัดระหวางตัวนําโลหะกับสวนใดสวนหนึ่งของลูกปนโลหะ ตองไมเกิน 1,000 โอหม วิธีทดสอบ ปลอยไฟฟากระแสตรงแรงดัน 100 โวลต เขาระหวางอิเล็กโทรด ภายในกับหมุด สัมผัสและอิเล็กโทรดภายนอก โดยที่อิเล็กโทรดภายในเปนขั้วลบวัดความตานทานไฟฟาเปนโอหม หลั ง จากปล อ ยไฟฟ า กระแสตรงเข า ไป 10 นาที ความต า นทานไฟฟ า เฉลี่ ย ต อ งไม น อ ยกว า 150,000 โอหม


153

รูปแสดงอิเล็กโทรดภายนอก


บทที่ 5 เครื่องหมาย/ สัญลักษณ/ สีเกี่ยวกับความปลอดภัย สีคือคลื่นไฟฟาชนิดหนึ่ง แตละสีจะมีความยาวคลื่นแตกตางกัน แสงสีปฐมภูมิมี 3 สี คือ แดง เขียว และน้ําเงิน สวนสีอื่น ๆ ที่ประสาทตาของมนุษยสามารถเห็นไดนนั้ คือ การรวมกันของสีปฐมภูมิ ในขนาดตาง ๆ กัน และเมือ่ แสงสีปฐมภูมิทั้ง 3 รวมกันในปริมาณเทา ๆ กัน จะเกิดแสงสีขาว (White Light) ขึ้น อิทธิพลของสีตอจิตใจมนุษย นักนิยมธรรมชาติรูกันมานานแลววา สัตวหลายชนิดสื่อสารกันดวยสีบนตัวของมัน ปลาเขตรอน ที่มีสีสันสดสวยจะรับการเปลี่ยนแปลงของสีบนปลาตัวอื่น ๆ ไดอยางรวดเร็ว ลูกปลาบางชนิดจะ เคลื่อนไหวเขาหาวัตถุที่มีรูปรางและสีคลายพอแมของมันเมื่อมีอันตราย สัตวบางชนิดก็จะเปลี่ยนแปลง สีบนตัวของมันโดยสัญชาตญาณเมื่อเขาใกลสัตวอื่น มนุษ ยเรามัก คิด วา เราพัฒ นาไปเหนือ กวาสัญชาตญาณของสัตวเ ชน นั้น แลว เราจะมีก าร ตอบสนองทันทีทันใด ทั้งทางรางการและจิตใจ แบบอัตโนมัติเมื่อเห็นสีเทานั้นหรือ ? ผูชายจะเขาเกี้ยวพาราสีหรือจับคูทันทีที่เห็น ผูหญิงแกมและริมฝปากสีแดงเรื่อขึ้นดวยความอาย อันเปนสัญญาณที่ชัดเจนวาเธอกําลังมีการสูบฉีดของเลือดแรงขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ... กระนั้นหรือ ? แมจะยังไมมีใครยืนยันวามีสัญชาตญาณแบบนี้ในมนุษย แตการที่สตรีชาวอิยิปตโบราณรูจัก การทาปากใหเปนสีแดงอยางกวางขวางนั้น ก็อาจเนื่องมาจากคนโบราณไดตั้งขอสังเกตในเรื่องนี้ และ รูจักใชสีในการกระตุนความรูสึกตามธรรมชาติของผูชายได อยางไรก็ตาม มีหลักฐานหลายอยางที่ สนับสนุนวา คนเราไมไดเห็นสีเพียงแตตาเทานั้น จิตใจ ก็มีการรับรูและตอบสนองตอสีดวย สีแตละสี ทําใหเกิดความรูสึกจําเพาะบางอยางในจิตใจของคน นักจิตวิทยาชาวสวิสกลาววา สีฟา ทําใหเกิด ความรูสึกสันโดษและสงบสันติ สีฟาถูกใชกันมากในสัญลักษณของธนาคารและบริษัทผลิตรถยนต สี แดง กระตุนใหเกิดพลัง อํานาจ และความตองการเอาชนะ สีแดงเปนสีที่บริษัทผลิตน้ําอัดลม บุหรี่ เลือกใชกันมาก เปนตน นอกจากนี้ เขายังพบวาเด็ก ๆ จะชอบสีที่สด ๆ ซึ่งสามารถกระตุนอารมณไดอยาง รวดเร็ว สวนผูใหญจะชอบสีที่ออนกวา สีและแสงยังมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของรางกายของสิ่งมีชีวิตหลายอยาง ซึ่งมีหลักฐานแสดง ไดจากหองปฏิบัติการ เปนตนวาหนูที่ถูกแยกเลี้ยงในหองที่ใชแสงแตละสี จะมีการเจริญเติบโตของ อวัยวะตาง ๆ เร็วไมเทากัน หนูที่เลี้ยงในหองแสงสีเขียวจะไมคอยกระฉับกระเฉง และหนูในหองแสง สีแดงจะกระฉับกระเฉงที่สุด


155 แสงสีแดงเพียงวูบเดียวจะเปลี่ยนตารางเวลาการดําเนินชีวิตภายในเซลของสาหรายได นกที่ ถูกกระตุนดวยแสงเชนเดียวกันนี้ แตเปนเวลานาน จะมีแรงผลักดันในการผสมพันธมากขึ้น และหนู จะมีระดับฮอรโมนในเลือดสูงขึ้น คนที่ชอบแสงวูบวาบในดิสโกเธคจึงควรระวังมีผลกระทบเชนกัน นักวิทยาศาสตรโซเวียต พบวา คนที่ทํางานภายใตแสงสีแดงจะมีปฏิกิริยาตอบสนองตอสิ่งเรา ไวขึ้น แตประสิทธิภาพในการทํางานกลับลดลงอยางมาก นักวิทยาศาสตรโซเวียต และญี่ปุนพบวา แสงสีแดงสามารถเปลี่ยนลักษณะคลื่นไฟฟาของสมองใหผิดไปจากเดิมดวย จากรายงานการวิจัยพบวา สีของวัสดุในงานผลิตที่ใกลเคีย งกับสีของชิ้นสวนเครื่องจัก ร ผูควบคุมตองใชแสงมาก เพราะจะตองแยกวัสดุออกจากกลไกลของเครื่องจักร ไมเพียงแตดวงตาเทานั้น ที่ออนลา แตจะเกี่ยวของไปถึงกลามเนื้อประสาท จะเกิดความออนลาทางกาย จะรูสึกออนเพลียตลอดเวลา ความจําเสื่อม มักจะปวดศีรษะบอย ไมสบายใจ บางรายอาจมีอาการทางประสาท และกระทบถึงระบบ ยอยอาหารได สีมีอิทธิพลตอการลวงตาและเกิดการรับรูที่ผิดพลาดสามารถลวงขนาดที่แทจริง เชน สีอาจทํา ใหหองสี่เหลี่ยมดูยาวขึ้น หรือทําใหหองทีด่ ูแคบดูกวางขึน้ กวาทีเ่ ปนจริง และในทํานองเดียวกันทําให รูสึกเหมือนวาเพดานหองดูสงู ขึ้นหรือต่ําลง สีออน ๆ ทําใหสิ่งของดูเบาลง สีเขมทําใหสิ่งของดูหนักขึ้น สีทําใหวัสดุดูเดนขึ้นมา สีจากธรรมชาติก็ยังใชเปนประโยชนสําหรับการพรางตาของสัตว เพื่อปกปองชีวิตของมัน จากอันตรายตาง ๆ ขอดีของสีเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัย 1. ทําใหชิ้นงานสวยงาม 2. งายตอการดูแลและการบํารุงรักษา 3. ทําใหสภาพจิตใจและสภาพแวดลอมดีขนึ้ 4. ชวยใหเกิดขอเปรียบเทียบ 5. เปนจุดทีจ่ ะเนนใหเห็นถึงอันตราย สีและรูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ปจจุบันสีและเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย มีความสําคัญและเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันมาก มีใชกันทั่วไป สวนมากจะมีลักษณะเปนภาพสีที่ดูเขาใจงาย และอาจมีถอยคําขยายความเพียงเล็กนอย ใหพึงปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติ หรือแสดงการเตือนอันตรายที่จะเกิดกับสุขภาพรางกาย ดังนั้น เพื่อใหเขาใจความหมายของสีและเครื่องหมายตาง ๆ ในระบบเดียวกันและเปนที่ยอมรับของสากล สํานัก งานมาตรฐานผลิตภัณ ฑอุตสาหกรรม จึงกํา หนดมาตรฐานผลิตภัณ ฑอุตสาหกรรม สีแ ละ เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยขึ้น โดยอาศัยเอกสารตอไปนี้ประกอบการพิจารณา


156 ISD 3864-1984 BS 5378: Part 1:1980 BS 5378: Part 2:1980

BS 5378: Part 3:1982

Safety colours and safety signs Safety signs and colours Part 1 specification for colour and design Safety signs and colours Part 2 specification for colorimetric and photometric properties of materials Safety signs and colours Part 3 specification for additional sings to those given in BS 5378:Part 1


157 มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สีและเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย เลม 1 สีและรูปแบบ 1. ขอบขาย มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมฉบับนี้กําหนดสีเพื่อความปลอดภัย รูปแบบของเครื่องหมาย เพื่อความปลอดภัย เครื่องหมายเสริม และขนาดของเครื่องหมายและตัวอักษรของสีและเครื่องหมาย เพื่อความปลอดภัย ที่ใชสื่อความหมายตาง ๆ แทนการใชขอความเพื่อจุดประสงคในการเตือนภัย หรือ ใหคําแนะนําในการปองกันอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้นกับบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ไมรวมถึงเครื่องหมายที่ใชในการ ควบคุมการจราจร 2. บทนิยาม ความหมายของคําศัพทที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑฉบับนี้ มีดังตอไปนี้ 2.1 สีเพื่อความปลอดภัย หมายถึง สีที่กําหนดในการสื่อความหมายเพื่อความปลอดภัย 2.2 เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย หมายถึง เครื่องหมายที่ใชสื่อความหมายเกี่ยวกับความ ปลอดภัยโดยมีสี รูปแบบ และสัญลักษณภาพหรือขอความแสดงความหมายโดยเฉพาะเพื่อ ความปลอดภัย 2.3 เครื่องหมายเสริม หมายถึง เครื่องหมายที่ใชสื่อความหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยโดยมีสี รูปแบบ และขอความเพื่อใชรวมกับเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยในกรณีที่จําเปน 3. สีเพื่อความปลอดภัย 3.1 สีเพื่อความปลอดภัยและสีตัดใหเปนไปตามตารางที่ 1 3.2 สมบั ต ิ ท างสี แ ละแสง ของวัส ดุที ่ทํ า ใหเ กิด สีต า ง ๆ ใหเ ปน ไปตามมาตรฐาน ผลิ ต ภัณ ฑ อุตสาหกรรม สีแ ละเครื่อ งหมายเพื่อความปลอด เลม 2 สมบัติท างสีแ ละแสง ของวัสดุ มาตรฐานเลขที่ มอก.635 เลม 2 3.3 ตัวอยางการใชสีเพื่อความปลอดภัยและสีตัดเพื่อเตือนภัยอันตราย การใชสีเพื่อความปลอดภัย สีเหลืองและสีตัดสีดํา ดังตัวอยางในรูปที่ 1 โดยทั่วไปจะใชสําหรับบริเวณหรือสถานที่ที่อาจ มีอันตรายชั่วคราวหรือถาวร เชน 1. สถานที่ที่อาจมีภัยอันตรายจากการชน การตกหลน การสะดุด หรืออาจมีของตกหลนจากที่สูง 2. สถานที่ที่เปนขั้นบันได หรือมีหลุมบอ เปนตน


158

สีเพื่อความ ปลอดภัย สีแดง1)

ตารางที่ 1 สีเพื่อความปลอดภัยและสีตัด (ขอ 3.1 และขอ 5.2) ความหมาย ตัวอยางการใชงาน - หยุด

สีตัด

- เครื่องหมายหยุด สีขาว - เครื่องหมายอุปกรณหยุดฉุกเฉิน - เครื่องหมายหาม สีเหลือง - ระวัง - ชี้บงวามีอันตราย (เชน ไฟ, วัตถุระเบิด, สีดํา - มีอันตราย กัมมันตภาพรังสี, วัตถุมีพิษ และอื่น ๆ) - ชี้บงถึงอันตราย, ทางผานที่มีอันตราย, เครื่องกีดขวาง2) - เครื่องหมายเตือน สีฟา - บังคับใหตองปฏิบัติ - บังคับใหตองสวมเครื่องปองกันสวนบุคคล สีขาว - เครื่องหมายบังคับ สีเขียว - แสดงภาวะปลอดภัย - ทางหนี สีขาว - ทางออกฉุกเฉิน - ฝกบัวชําระลางฉุกเฉิน - หนวยปฐมพยาบาล - หนวยกูภยั - เครื่องหมายสารนิเทศแสดงภาวะปลอดภัย หมายเหตุ 1) สีแดงยังใชสําหรับอุปกรณเกี่ยวกับการปองกันอัคคีภัย อุปกรณดับเพลิงและตําแหนง ที่ตั้งอีกดวย 2) อาจใชแดงสมวาวแสงแทนได แตไมใหใชแทนสีเหลืองกับเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย ตามตารางที่ 2 สีแดงสมวาวแสงนี้มองเห็นเดนโดยเฉพาะอยางยิ่งในภาวะที่มืดมัว

รูปที่ 1 ตัวอยางการใชสีเพื่อความปลอดภัยและสีตัด (ขอ 3.3) หมายเหตุ พื้นที่สีเหลืองตองมีอยางนอยรอยละ 50 ของพืน้ ที่ทั้งหมดของเครื่องหมาย


159 4. รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย 4.1 รู ป แบบของเครื่ อ งหมายเพื่ อ ความปลอดภั ย และสี ที่ ใ ช แบ ง เป น 4 ประเภท ตาม จุดประสงคของการแสดงความหมายตามตารางที่ 2 4.2 ใหแ สดงสัญ ลัก ษณภ าพไวต รงกลางของเครื่อ งหมายโดยไมทับ แถบ ขวางสําหรับเครื่องหมายหาม 4.3 ในกรณีที่ไ มมีสัญลักษณภาพที่เหมาะสมสําหรับสื่อความหมายตามที่ตองการ ใหใ ช เครื่องหมายทั่วไปสําหรับเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยแตละประเภท (ดูในภาคผนวก ก.) รวมกันเครื่องหมายเสริม ตารางที่ 2 รูปแบบของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย (ขอ 4.1) ประเภท

รูปแบบ

สีที่ใช

หมายเหตุ

เครื่องหมายหาม

- พื้นที่ของสีแดงตองมี อยาง สีพื้น:สีขาว นอยรอยละ 35 ของ พื้นที่ทั้งหมด สีของแถบตามขอบของ วงกลมและแถบขวาง:สีแดง ของเครื่องหมาย

เครื่องหมายเตือน

สีพื้น : สีเหลือง สีของแถบตามขอบ : สีดํา สีของสัญลักษณ : สีดํา

- พื้นที่ของสีเหลืองตองมี อยางนอย รอยละ 50 ของพื้นที่ ทั้งหมดของ เครื่องหมาย

เครื่องหมายบังคับ

สีพื้น : สีฟา สีของสัญลักษณภาพ : สี ขาว

- พื้นที่ของสีฟาตองมี อยางนอยรอยละ 50 ของพื้นที่ทั้งหมดของเครื่องหมาย

เครื่องหมายสารนิเทศ เกี่ยวกับภาวะปลอดภัย

สีพื้น : สีเขียว สีของสัญลักษณภาพ : สี ขาว

-พื้นที่ของสีเขียวตองมี อยางนอย รอยละ 50 ของพื้นที่ทั้งหมดของ เครื่องหมาย -อาจใชรูปแบบเปนสี่เหลี่ยมผืนผา ได

5. เครื่องหมายเสริม 5.1 รูปแบบของเครื่องหมายเสริมเปนสี่เหลี่ยมผืนผา หรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส 5.2 สีพื้นใหใชสีเดียวกับสีพื้นความปลอดภัย และสีของขอความใหใชสีตดั ดังกําหนดไวใน ตารางที่ 1 หรือสีพื้นใหใชสีขาวและสีของขอความใหใชสีดํา 5.3 ตัวอักษรทีใ่ ชในขอความ


160 5.3.1 ชองไฟระหวางตัวอักษรตองไมแตกตางกันมากกวารอยละ 10 5.3.2 ลักษณะของตัวอักษรตองดูเรียบงาย ไมเขียนแรงเงาหรือลวดลาย 5.3.3 ความกวางของตัวอักษรตองไมนอยกวารอยละ 70 ของความสูงของตัวอักษร 5.4 ใหแสดงเครื่องหมายเสริมไวใตเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย ดังตัวอยางในรูปที่ 2

เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย เครื่องหมายเสริม รูปที่ 2 ตัวอยางการแสดงเครื่องหมายเสริม (ขอ 5.4) 6. ขนาดของเครือ่ งหมายเพื่อความปลอดภัยและตัวอักษร 6.1 ขนาดของเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยและตัวอักษรที่ใชในเครื่องหมายเสริม กําหนดไว เปนแนวทางตามตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ขนาดของเครื่องหมายและตัวอักษร (ขอ 6.1)


161

ความสูงของแผน เครื่องหมาย (a) 75 100 150 225 300 600 750 900 1,200

เสนผาศูนยกลางหรือความสูง ของเครื่องหมาย (b) 60 80 120 180 240 480 600 720 960

ความสูงของตัวอักษร ในเครื่องหมายเสริม 5.0 6.6 10.0 15.0 20.0 40.0 50.0 60.0 80.0


162 ภาคผนวก ก. ตัวอยางเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยและความหมาย ก.1 เครื่องหมายหาม หมายเลข ก. 1.1

เครื่องหมายหาม

ความหมาย หามทั่วไป (general prohibition)

ก. 1.2

หามสูบบุหรี่

( no smoking )

ก. 1.3

หามจุดไฟหรือสูบบุหรี่

( smoking and make flames prohibition ) ก. 1.4

หามคนเดินผาน ( pedestrians

prohibition )


163

หมายเลข ก. 1.5

เครื่องหมายหาม

ความหมาย หามใชน้ําดับไฟ

( do not extinguist with water ข. 1.6

หามใชน้ําดื่ม

( not drinking water )

ค. 1.7

หามใชบันได

( do not use ladder )

ง. 1.8

หามเดินเครื่อง

( do not operate )


164 เครื่องหมายเตือน หมายเลข

(

ก. 2.1

ความหมาย

เครื่องหมายหาม เตือนทั่วไป

( general hazard ) ระวังอันตรายจากไฟ

ก. 2.2

( caution. risk of fire )

ก. 2.3

ระวังอันตรายจากการระเบิด

ก. 2.4

ระวังอันตรายจากวัตถุมีพิษ

ก. 2.5

ก. 2.6

( caution. Risk of explosion )

( caution. toxic hazard ) ระวังอันตรายจากสารกัดกรอน

( Caution. Corrosive substance)

ระวังอันตรายจากการแผรังสี

( Caution. Risk of ionizing radiation) ก. 2.7

ระวังอันตรายจากการแผรังสี ที่ไมทําใหเกิดการแตกตัวเปนไอออน

( Caution. Non- ionizing Radiation ก. 2.8

ระวังอันตรายจากของตกจากที่สูง


หมายเลข ก. 2.9

165 เครื่องหมายเตือน

ความหมาย ระวังอันตรายจากรถโรงงาน

( caution. industrial trucks )

ก. 2.10

ระวังอันตรายจากไฟฟาช็อต

( caution. risk of electric shock ) ก. 2.11

ระวังอันตรายจากลําแสงเรเซอร

( caution. laser beam ) ก. 2.12

ระวังอันตรายจากสุนัข

( caution. guard dog ) ก. 2.13

ระวังหลังคาแตกหักงาย

( caution fragile roof )

ก. 2.14

ก. 2.15

ระวังศีรษะกระแทก

( caution. overhead hazard ( fixed harzard )) ระวังจํากัดความสูง

( caution. limited overhead height )

หมายเหตุ การจํากัดความสูงอาจจะแสดง ได ดังในรูป หรือแสดงไวในเครื่องหมาย เสริมก็ได


166 หมายเลข

เครื่องหมายหาม

ก. 2.16

ความหมาย ระวังสะดุด

( caution. trip hazard ) ระวังพื้นลื่น

ก. 2.17

( caution. slipperly surface ) ระวังสนามแมเหล็กความเขมสูง

ก. 2.18

( caution. strong magnetic field )

ก. 2.19

ระวังอันตรายจากเชื้อโรค

( caution. biological hazard ) ก. 3 เครื่องหมายบังคับ หมายเลข ก. 3.1

เครื่องหมายหาม

ความหมาย บังคับทั่วไป

( general mandatory sign ) ก. 3.2

ตองสรวมเครือ่ งปองกันตา

( eye protection must be worn ) ก. 3.3

ตองสรวมเครือ่ งปองกันศีรษะ

( head protection must be worn ) ก. 3.4

ตองสรวมเครือ่ งปองกันเสียง

( hearing protection must be worn )


167 หมายเลข ก. 3.5

เครื่องหมายหาม

ความหมาย ตองสรวมหนากากปองกันระบบ หายใจ ( respiratory protection

must be worn ) ก. 3.6

ตองสรวมเครือ่ งปองกันเทา

ก. 3.7

ตองสรวมเครือ่ งปองกันมือ

( foot protection must be worn ) ( hand protection must be worn )

ก. 3.8

ตองสรวมกระบังปองกันในหนา

( were face shield )

ก. 3.9

ใหใชแตร

( sound horn ) ก. 3.10

ใหลางมือ

( wash hand ) ก. 3.11

ใหใชที่บังปกปองชนิดปรับได

( use adjustable guard ) ก. 3.12

ตองใสกุญแจตลอดเวลา

( keep locked )


168 ก. 4 เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับความปลอดภัย หมายเลข ก. 4.1

ความหมาย

เครื่องหมายสารนิเทศ เกี่ยวกับความปลอดภัย

สารนิเทศทั่วไป

( general safe condition ) ก. 4.2

หนวยปฐมพยาบาล

( first aid )

ก. 4.3

ก. 4.4 ( ก.4.5

ก. 4.6

ก. 4.7

บอกทิศทาง

( indication of direction ) ที่ลางตาฉุกเฉิน

( emergency eye wash ) โทรศัพทฉุกเฉิน

( emergency telephone ) ปุมกดสําหรับหยุดฉุกเฉิน

( emergency stop push button ) ฝกบัวสําหรับชําระลางฉุกเฉิน

( emergency shower )


169 ภาคผนวก ข. ขอแนะนําในการเลือกและการใชเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย ข.1 การใชเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยรวมกับเครื่องหมายเสริม ในกรณีที่ไมมีเครื่องหมายที่ ใชสัญลักษณภาพตามทีแ่ สดงในภาคผนวก ก. ข.1.1 ใชสัญลักษณภาพที่เหมาะสม ที่ดูแลวเขาใจมากที่สุด ไมตองแสดงรายละเอียดใน สัญลักษณภาพที่ไมจําเปนตอที่ไมจําเปนตอการสื่อความหมายแตอาจใชเครื่องหมายเสริมดวย ถาจําเปน ข.1.2 ใชเครื่องหมายทั่วไปสําหรับเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยแตละประเภทรวมกับ เครื่องหมายเสริม ดังตัวอยางในรูปที่ ข.1

รูปที่ ข.1 เครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย (ขอ ข.1.2) ข.2 การใชเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย เพื่อจุดประสงคในการสื่อความหมายมากกวา 1 ความหมาย ข.2.1 ไมควรสื่อความหมายโดยใชเครื่องหมายเพือ่ ความปลอดภัย รวมกับเครือ่ งหมายเสริมที่มี ขอความสื่อความหมาย 2 ประการ ดังนี้


170

ถาตองใชเครื่องหมายรวมกับขอความเพื่ออธิบายขอความเกี่ยวกับประกาศเตือน ไมควรใชเครื่องหมายดังนี้


171 ควรใชเครื่องหมายแยกเปน 2 เครื่องหมาย ดังนี้


172 ข.3 การใชเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัยสําหรับเงื่อนไขที่แตกตางกัน เมื่อตองการใชเครื่องหมาย เพื่อความปลอดภัยที่แสดงไวในภาคผนวก ก. เพื่อแสดงความหมายสําหรับเงื่อนไขที่แตกตาง ออกไป แตการสื่อความหมายยังเหมือนเดิม ใหใชสัญลักษณภาพนั้นรวมกับเครื่องหมายเสริม ที่ใชถอยคําแตกตางออกไป เชน ตัวอยางที่ ข.1

ตัวอยางที่ ข.2


บทที่ 6 การปฐมพยาบาลเบื้องตน การปฐมพยาบาลบาดแผล บาดแผลแบงออกเปน 2 ชนิดใหญ ๆ คือ แผลช้ําและแผลแยก วิธีการปฐมพยาบาลจะแตกตางกัน การปฐมพยาบาลแผลช้ําตองประคบบริเวณแผลดวยความเย็นประมาณ 30 นาที แลวพันผาใหแนน พอสมควรจัดทําใหบริเวณแผลช้ําอยูนิ่ง ๆ 24 ชั่วโมง หลังจากนั้นประคบบริเวณแผลดวยความรอน เพื่อใหอาการบวมช้ําลดลง สวนแผลแยกถามีการตกเลือดตองหามเลือดกอน ถามีอาการช็อคหรือเปนลมตองรีบแกไข อาการเหลานี้ และเมื่อเลือดหยุดแลวทําความสะอาดบาดแผลดวยน้ําตมสุกน้ําเกลือ หรือน้ําผสม ดางทับทิม อยาเช็ดเลือดกอนที่แข็งตัวอยูออกเพราะจะทําใหเลือดออกจากแผลอีก ระหวางทําความสะอาด บาดแผลตองสังเกตลักษณะบาดแผลวามีความกวาง ยาว ลึก หรือมีสิ่งแปลกปลอมหักคางอยูหรือไม หากไมลึกมากควรเอาออก กรณีบาดแผลบริเวณแขนขาควรใหอวัยวะสวนนั้นพักนิ่ง ๆ เมื่อทําความสะอาด บาดแผลแลวใสยาฆาเชื้อโรค เชน เบตาดีนและปดแผลดวยผากอซหรือผาสะอาด แตถาแผลลึกมาก ไม ค วรล า งบาดแผลด ว ยตนเอง เพราะเลื อ ดออกมากขึ้ น และเป น แผลติ ด เชื้ อ ได ง า ยควรรี บ ส ง โรงพยาบาลและสิ่งสําคัญบาดแผลทุกชนิดตองฉีดวัคซีนปองกันบาดทะยัก

การปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก กระดูกของคนเราอาจเกิดแตกหักไดตลอดเวลา ถาไมระมัดระวังหรือไมปองกันอันตราย เชน จากอุบัติเหตุตาง ๆ ลักษณะของกระดูกหักแบงออกเปน 2 ประเภท คือ หักออกจากกันเปน 2 สวน อาจหักธรรมดาไมมีบาดแผลหรือหักมีบาดแผล กระดูกแตกละเอียด มีอาการแทรกซอนโดยกระดูกที่ หักแทงทะลุอวัยวะภายในที่สําคัญ กระดูกหักไมขาดออกจากกันมีลักษณะกระดูกราว กระดูกเดาะ หรือกระดูกบุบลักษณะอาการจะแตกตางกันไปตามตําแหนงที่กระดูกหัก อาการทั่ว ๆ ไป อาจมีอาการช็อค


174 มี อาการบวม และรอ น ลั ก ษณะกระดูก ผิด รู ปรา งไปจากเดิ มเคลื่ อ นไหวไมไ ด ถ าจั บ ดู จ ะมี เ สี ย ง กรอบแกรบ อาจมีบาดแผลหรือพบปลายกระดูกโผลออกมาใหเห็นชัดเจน ถาพบผูปวยกระดูกหักอยาพยายามเคลื่อนยายผูปวย จนกวาสวนของกระดูกที่หักไดรับการ ใสเผือกชั่วคราว โดยใชวัสดุที่หางาย เชน กระดาษหนังสือพิมพ กระดาษแข็ง ไมไผ เปนตน และกอน เขาเฝอกควรใชผาสะอาดพันสวนที่หักหนาพอสมควร ในรายไมรูสึกตัวตองจับผูปวยนอนตะแคง หันหนาไปดานใดดานหนึ่ง ถามีเลือดออกมากบริเวณบาดแผลตองทําการหามเลือด หากปวดแผลมาก ใหยาแกปวดและใหความอบอุนแกรางกาย ถากระดูกที่หักโผลออกมานอกเนื้ออยาดันกลับเขาที่เดิม เด็ดขาด หลังจากชวยเหลือขั้นตนแลวรีบนําผูปวยสงโรงพยาบาล การเคลื่อนยายผูปวยตองทําอยาง ระมัดระวังโดยใหสวนที่หักเคลื่อนไหวนอยที่สุด การปฐมพยาบาลผูปวยขอเคล็ด ขอเคล็ด หมายถึงที่ขอตาง ๆ ไดรับการเคลื่อนไหวมากเกินไป ทําใหเนือ้ เยื่อหุมขอ หรือเอ็น รอบ ๆ ขอ หรือกลามเนื้อบริเวณขอมีการฉีกขาดหรือช้ํา สาเหตุขอเคล็ดนั้น เกิดจากขอตอสวนใหญ เกิดกระทบกระเทือน ทําใหเยื่อหุมหรือเอ็นรอบ ๆ ขอตอเคล็ดหรือแพลงได ขอเคล็ดมีอาการบอกใหรูดังนี้ บริเวณขอสวนนั้นจะบวม มีอาการเจ็บปวด ถาเคลื่อนไหวหรือใชมือกดจะทําใหเจ็บมากขึ้น ในรายที่มีอาการรุนแรงจะไมสามารถเคลื่อนไหวไดเลย เพราะจะเจ็บปวดมาก มีอาการทั่วบริเวณขอเคล็ดแสดงวาเสนประสาทสวนนัน้ เกิดฉีกขาดดวย

ใหบริเวณขอนั้นอยูน ิ่งและยกสูงไวภายใน 24 ชั่วโมงแรกให การปฐมพยาบาล ประคบดวยน้าํ แข็งทันที เพือ่ ลดอาการปวดบวม ภายใน 24 ใหบริเวณขอนั้นอยูน ิ่ง และยกสูงไว ชั่วโมงตอมามีอาการบวม ใหประคบดวยน้ํารอน หรือนวด ภายใน 24 ชั่วโมงแรกใหประคบดวยน้ําแข็งทันที เพื่อลดอาการปวด บวม ดวยยาหมอง ถามีอาการปวดหรือบวมมากใหรบี ไปพบ ภายใน 24 ชั่วโมงตอมามีอาการบวมใหประคบดวยน้ํารอนหรือนวดดวยยาหมอง แพทย ถามีอาการปวดหรือบวมมากใหรบี ไปพบแพทย


175 การปฐมพยาบาลผูปวยช็อค ช็อคจะมีอาการเริ่มแรกเชนเดียวกับเปนลม คือ มีอาการหนามืด มือเทาออนแรง อยากลมตัวนอน หายใจไมอิ่ม ใจหวิว มืออาจสั่นและตาลาย ถาตรวจดูจะพบวาตัวเย็นชืด หนาซีดหรือเขียว อาจมีเหงื่อ ออกซิบ ๆ ชีพจรเบาเร็วและหายใจหอบ ความดันเลือดตก ปสสาวะออกนอยหรือไมออกเลย จมูกบาน เขาออกพรอมกับการหายใจ ไมคอยพูด เพราะเหนื่อย อาการจะมีมากหรือนอยขึ้นอยูกับความรุนแรง ของอาการ ถาช็อคอยูนาน สมองจะขาดเลือดมากทําใหหมดสติได ช็อค เกิดจากสาเหตุใด ๆ ก็ตามการรักษาเริ่มแรกเหมือนกันหมด คือ พยายามใหมีการไหลเวียน ของเลือดใหดีขึ้น อวัยวะที่ทนตอหัวใจขาดเลือดที่นอยที่สุดคือสมอง หัวใจ และไต ดังนั้นควรใหผูปวย นอนราบเลือดจะไดไปเลี้ยงสมองพอเพียงพรอมกับทําใหหัวใจทํางานนอยลง ควรนอนยกเทาใหสูง ถามีเลือดออกจากภายนอกตองหามเลือดตามวิธีการที่เหมาะสม ถามีกระดูกหักตองใสเผือกชั่วคราว ปองกันไมใหเสียเลือดมากและทําใหไมเจ็บปวยเพิ่มขึ้น ถาอากาศเย็นหรือหนาวควรใหมีความอบอุน เชน หมดวยผาหม ใหยาระงับปวดใชเฉพาะผูปวยที่มีความเจ็บปวดมากเทานั้น ที่ดีที่สุดคือ ยาฉีด เขาหลอดเลือดได เชน มอรฟนตองใหดวยความระมัดระวังและเมื่อมีความจําเปนจริง ๆ ถาใหถูกวิธีจะ มีประโยชนมาก ไมควรใหยาแกปวดทางปากเพราะจะทําใหอาเจียนได นําสงโรงพยาบาล

การปฐมพยาบาลผูปวยที่มอี าการชัก อาการชัก เปน อาการแสดงของโรคหลายอยา ง การชั ก แต ล ะครั้ ง สมองจะไดรับ ความ กระทบกระเทือน ถาไมไดรับการรักษาที่ถูกตองจะทําใหสมองพิการได อาการชักที่พบบอยไดแก ผูปวยโรคลมชักหรือลมบาหมูและอาการชักเนื่องจากไขขึ้นสูง เวลาชักผูปวยมักไมรูสึกตัว มีอาการ คอแข็ง ตาเหลือก นิ้วมือนิ้วเทากระตุก จึงตองทําการชวยเหลือเบื้องตน โดยจัดใหผูปวยนอนตะแคง ระวังอยางใหตกเตียง ระวังสําลัก ถามีสิ่งของในปาก เชน เศษอาหาร ฟนปลอมใหลวงออก และใช ดามชอน ไม หรือดามดินสอสอดเขาไปในปากระหวางฟน เพื่อปองกันไมใหผูปวยกัดลิ้นระยะหลับ หลังชัก ควรเฝาดูอาการจนกวาจะฟนและรูสึกตัวแลวรีบนําสงโรงพยาบาล ผูปวยโรคลมชักไมควรขับ รถ วายน้ํา หรือทํางานที่เสี่ยงอันตราย เพราะอาจมีอาการชักเวลาใดก็ไดและควรรับการรักษาจาก แพทยอยางตอเนื่อง


176 ในกรณีที่ชัก เนื่อ งจากไขสูงมัก พบในเด็ก อายุระหวาง 6 เดือ น ถึง 6 ป สาเหตุสว นใหญ เนื่องมาจากโรคติดเชื้อของทางเดินหายใจ เชน ไขหวัด ดังนั้น เด็กที่มีประวัติเคยชักและมีไขขึ้นสูง ยังรูสึกตัวดีตองรีบใหยาลดไขกอน สวนการชวยเหลือในขณะที่เด็กกําลังชักใหใชผาชุบน้ําเย็นธรรมดา เช็ดตัวแรง ๆ จนเปยกชุม โดยเฉพาะบริเวณหลัง แขน ขา และตะโพก เมื่อเด็กหยุดชักแลว ใหเช็ดตัว ดวยผาชุบน้ําพอหมาด ๆ ตอไปอีก พรอมกันวางผาชุบน้ําเย็นบริเวณที่มีเสนเลือดใหญ ๆ ผาน เชน หนาผาก รักแร ขาหนีบ ตนคอ สวนปลายเทาใชกระเปาน้ํารอนวางเพื่อใหเทาอบอุน การเช็คตัวแตละครั้ง นานประมาณ 10 ถึง 40 นาที ถาเช็ดตัวจนเย็นเกินไป อาจทําใหรางกายเกิดภาวะอุณหภูมิต่ําและ อาจช็อคได หลังจากนั้นควรพาเด็กสงโรงพยาบาล

การปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ การหมดสติ เปนสิ่งสําคัญมากที่จะตองศึกษาสําหรับผูปวยที่จะตองปฐมพยาบาล เพราะหมดสติ หายใจ และหมดสติแตยังมีการหายใจเปนพวกที่มีอาการชัก ไดแก ลมบาหมู เกิดจากโลหิตเปนพิษ หรือโรค เชน อิสทีเรีย พวกไมมีอาการชัก ไดแก ช็อค เปนลม เมาเหลา เบาหวานและเสนโลหิต ในสมองแตก ลักษณะการหมดสติมี 2 ลักษณะคือ อาการซึม มึนงง เขยาตัวอาจตื่น งัวเงียแลวหลับ พูดไดบางแตฟงไมไดศัพท และลักษณะอาการหมดความรูสึกทุกอยางเปนการหมดความรูสึกแมแต เขยาตัวก็ไมฟน

การชวยเหลือผูปวยไมรูสึกตัว แบบผูชว ยเหลือ 1 คน


177 การปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ ใหดวู าผูปวยหายใจหรือไม ถาหยุดหายใจชวยฟนคืนชีพโดย การนวดหัวใจ ถาผูปวยมีเลือดออก จับใหผปู วยนอนหงาย เอียงหนาไปดานใดดานหนึ่ง เพื่อเปนการ ปองกันไมใหลิ้นตกไปดานหลังลําคอ ซึ่งอุดกั้นทางเดินหายใจ และปองกันไมใหอาเจียนไหลเขาสู หลอดลม การจัดทานอน ถาผูปวยหนาแดง การใหนอนศีรษะสูง ถาสีหนาซีดใหนอนราบเหยียดขา และแขน เพราะอาจมีกระดูกหักได หากตองการเคลื่อนตองระมัดระวังไมใหดื่มน้ําหรือรับประทานยา ใด ๆ ตรวจดูบาดแผลโดยเฉพาะบริเวณศีรษะหากมีอาการชักใหมว นผา ดามชอนใสเขาไประหวางฟน เพื่อปองกันไมใหกัดลิน้ ตนเอง ใหหาสาเหตุที่ทําใหผูปวยหมดสติ และประวัติการเกิดอุบัติเหตุของผูปวย เพื่อแจงใหแพทยทราบ

การชวยเหลือผูปวยไมรูสึกตัว แบบผูชว ยเหลือ 3 - 4 คน การปฐมพยาบาลผูปวยเปนลม การเปนลม เปนอาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไมเพียงพอชั่วคราว ทําใหผูปวย เปนลมหมดสติไปชั่วครู มักมีอาการซึม เวียนศีรษะนํามากอนและมีอาการตัวซีดเย็นเฉียบรวมดวย ความรูสึกเชนนี้อาจเกิดขึ้นโดยไมหมดสติก็ได การตกใจรุนแรง ภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา อาจทําให ความดันโลหิตลดลง และรูสึกจะเปนลมได การเปนลมอยางเดียวโดยไมมีอาการอื่นแทรกนั้นเปนเรื่อง ที่ไมนาวิตก แตถาเปนลมบอย ๆ หรือมีอาการอื่น ๆ รวมดวย จําเปนอยางยิ่งที่ตองปรึกษาแพทย ดังนั้น ถาการเปนลมหมดสติไปชั่วคราว แตหายใจไดดี และรูสึกตัวภายใน 2 - 3 นาที เปนสิ่งที่ไมนากังวล แตถาหมดสติไปนาน หายใจไมดีไมสม่ําเสมอหรือหายใจชาผิดปกติ ตองนําสงโรงพยาบาลทันที และ ระหวางทางไปโรงพยาบาลควรอยูในทานอนกึ่งคว่ํา เพื่อปองกันไมใหทางเดินหายใจอุดตัน

การเปนลมเนื่องจากสูญเสียน้ําและเกลือแรออกจากรางกายโดยทางเหงื่อ

การเปนลมเนื่องจากความรอน


178 การปฐมพยาบาลผูปวยถูกไฟฟาดูด ในวันหนึ่ง ๆ วิถีการดําเนินชีวิตของคนเราตองอาศัยไฟฟา ซึ่งเปนสิ่งจําเปนที่ขาดเสียไมได เราใชเครื่องอํานวยความสะดวก เครื่องไฟฟาตาง ๆ มากมายบางครั้งอาจใชอุปกรณไฟฟาพรอมกัน หลายอยางในเวลาเดียวกัน บางคนรูเทาไมถึงการณ เผอเรอ โดยเฉพาะในชวงฤดูฝนชวงที่มีน้ํามาก หรือน้ําทวมบาน ไฟฟาจะมีอันตรายมากอาจทําใหผูใชถูกไฟฟาดูดทําใหมีบาดแผลไฟไหม หรืออาจ ทําใหเสียชีวิตไดถาเราเปนผูประสบเหตุการณเชนนี้ ชวยผูปวยใหพนจากการสัมผัส โดยการปลดสวิทชกระแสไฟฟา หรือใชผาหรือกระดาษหุม โคนไมแหง ๆ หรือสิ่งที่เปนฉนวนไฟฟาเขีย่ สายไฟออกใหพนตัวผูปวย โดยผูชวยเหลือตองสวมรองเทา พื้นยางยืนอยูบ นกระดานหรือพื้นที่ไมเปยกไมเปนสื่อ ไฟฟา เมื่อตัดกระแสไฟฟาออกไปไดแลว ตรวจดู การหายใจของผูปวยถาไมหายใจตองรีบผายปอด ทันทีเมื่อผูปวยหายใจดีแลว ใหผูปวยนอนพักผอน เงียบ และใหความอบอุน

การปฐมพยาบาลผูปวยอวัยวะขาด การที่มีผูบาดเจ็บมีอวัยวะขาด เกิดไดจากหลายสาเหตุ ดังเชน จากอุบัติเหตุเมื่อพบผูบาดเจ็บมี อาการดังกลาวไมตองตกใจตั้งสติโดยเร็วและทําการหามเลือดดวยการใชมือกดบาดแผลที่ถูกตัดขาด โดยมีขั้นตอนดังนี้ นําอวัยวะที่ขาดไปใสในถุงพลาสติกที่สะอาดและแหงปด ปากถุงใหแนน นําไปแชในกระติกน้ําแข็งนําสงถุง อวัยวะนั้นพรอมผูบาดเจ็บสงโรงพยาบาลโดยเร็ว

การปฐมพยาบาลผูปวยไดรับสารเคมีพิษ 1. ทําใหอาเจียน เมื่อผูปวยกินสารพิษเขาไปควรทําใหอาเจียนโดยมีวิธีดังตอไปนี้ 1.1 ใชนิ้วมือลวงคอ


179 1.2 หากยังไมอาเจียนใหรับประทานน้ําเชื่อมไอปแคค (Syrup of lpecac) ขนาดที่ใช เด็ก 2 – 3 ชอนชา ผูใหญ 1 – 2 ชอนโตะ และดื่มน้ําตามอีก 1 แกว ใหรับประทาน อาหารซ้ํา หลังจากใชยา 15 – 30 นาที แลวยังไมอาเจียน ขอหาม การทําใหผูปวยอาเจียนขณะหมดสติ หรือผูปวยที่เปนโรคหัวใจ หรือตั้งครรภ 2. ลดการดูดซึมสารพิษในทางเดินอาหาร โดยใหรับประทานดังตอไปนี้ 2.1 ผงถานแอคติเวเตดชารโคล ขนาดที่ใช 2 ชอนโตะ ผสมน้ํา 1/4 แกว 2.2 ไขขาวดิบ ขนาดที่ใช เด็ก 4 ฟอง ผูใหญ 8 ฟอง หมายเหตุ การใชน้ําเชื่อมไอปแคคกับผงถานแอคติเวเตดชารโคลรวมกันนั้น ตองใหน้ําเชื่อมไอปแคค กอน จนอาเจียนออกหมด แลวรีบใชผงถานเพื่อดูดซับพิษที่ยังเหลืออยู หามใชพรอมกันเพราะจะทํา ใหผงถานไปดูดซับไอปแคค และไมเกิดอาการอาเจียน การปฐมพยาบาลผูปวยไดรับสารพิษจากการสูดดม 1. นําผูปวยไปยังบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ทันที ผูเขาไปชวยควรมีเครื่องปองกันสารพิษ เชน เครื่องชวยหายใจ หรือหนากากกันสารพิษ 2. คลายเสื้อผาใหหลวม 3. พยายามควบคุมอุณหภูมิรางกายของผูปวย ถาผูปวยรอน พยายามเช็ดตัวดวยน้ําเย็น 4. หามผูปวยสูบบุหรี่หรือดื่มสุรา การปฐมพยาบาลผูปวยไดรับพิษทางผิวหนัง 1. ถอดเสื้อผาที่เปรอะสารพิษออก รีบลางและทําความสะอาดรางกายทุกสวนดวยน้ําและสบู ธรรมดาอยาขัดถูผิวหนัง เพราะจะทําใหสารพิษดูดซึมเขาผิวหนังไดงาย ผูทําการปฐมพยาบาลตอง สวมรองเทาบูทและถุงมือ ขณะทําการปฐมพยาบาลผูปวย 2. เช็ดตัวผูปว ยใหแหง และหมผาใหผูปวย 3. ถาผิวหนังไหมใหใชผาบาง ๆ ที่นุมและสะอาดคลุมทิ้งไว หามทาชี้ผึ้ง โรยยาอื่น ๆ การปฐมพยาบาลเมื่อสารพิษเขาตาผูปวย 1. รีบลางตาโดยเปดเปลือกตาแลวใหน้ําสะอาดผานจํานวนมาก ๆ นานประมาณ 15 นาที


180 2. หามใชยาลางตา หรือผสมสารเคมีลงในน้ําลางตา การปฐมพยาบาลที่กลาวมาขางตน ทุกวิธีนั้น ในขั้นสุดทายตองรีบนําผูปวยสงแพทยโดยดวน พรอมกับภาชนะบรรจุ เชน กระปอง ขวด ซองของสารเคมีที่ทําใหเกิดพิษ นอกจากนี้ควรศึกษาขอผิดพลาดเพื่อไมใหเกิดอุบัติเหตุซ้ําอีก


บทที่ 7 มาตรฐานสากล ISO 14000 กับ การปองกันไมใหเกิดมลภาวะตอสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม

หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ และมนุษยสรางขึ้น นับตั้งแตคน สัตว ดิน น้ํา ตนไม ภูเขา ตลอดจนอาคาร บานเรือน ถนนหนทาง สิ่งประดิษฐตาง ๆ รวมถึงทั้งขนบธรรมเนียมดวย สิ่งแวดลอมแบงได 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. สิ่ ง แวดล อ มตามธรรมชาติ คื อ สิ่ ง แวดล อ มที่ เ กิ ด ขึ้ น เองหรื อ มี อ ยู ต ามธรรมชาติ แบ ง ออกเปน 2 ชนิด คือ 1.1 สิ่งที่ไมมีชีวิต ทั้งที่มองเห็นสัมผัสได และมองไมเห็นสัมผัสไมได เชน อากาศ พลังงาน แรธาตุ ปาไม ธารน้ํา ฯลฯ 1.2 สิ่งมีชีวิต ไดแก คน สัตว และพืช สิ่งมีชีวิตตาง ๆ เหลานี้ลวนแตเกื้อกูลประโยชน ซึ่งกันและกัน โดยพืชและสัตวมีคุณคาตอการอยูรอดของมนุษยทั้งทางตรงและทางออม 2. สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยางที่เกิดขึ้นหรือมีขึ้นโดยการกระทําของ มนุษย ทั้งที่ตั้งใจและไมไดตั้งใจ ทั้งที่มีตัวตนและไมมีตัวตน เชน บานเรือน โตะ เกาอี้ ตลอดจน ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีตาง ๆ แบงเปน 2 ชนิด คือ 2.1 ทางกายภาพ คือ สิ่งแวดลอมที่เปนรูปธรรม เชน รถยนต เครื่องบิน เขื่อน เปนตน 2.2 ทางสังคม คือ สิ่งแวดลอมที่เปนนามธรรมที่สังคมมนุษยสรางขึ้น เชน วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ เปนตน

ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่มีอยูหรือเกิดขึ้นมาเองตามธรรมชาติและ มนุษยสามารถนํากลับมาใชประโยชนได เชน ดิน น้ํา ปาไม สัตวปา แรธาตุ และพลังงานตาง ๆ เปนตน สิ่งใดที่มีอยูหรือเกิดขึ้นตามธรรมชาติ แตไมอาจนํามาใชประโยชนได เราเรียกวา ธรรมชาติ เมื่อนํามาใชประโยชนไดเราจึงเรียกวา ทรัพยากร ทรัพยากรธรรมชาติแบงเปน 3 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. ใชแลวไมหมดเปลืองหรือสูญหายไป (Inexhaustible) ไดแก บรรยากาศ น้ําที่อยูในวัฏจักร (Water in Cycle) 2. ทดแทนไดหรือรักษาไวได (Replaceable and Maintainable) เชน h

น้ําที่อยู ณ ที่แหงใดแหงหนึ่ง

h

สัตวปา

h

ดินและทีด่ ิน

h

ทุงหญา

h

ปาไม


182

3. ไมงอกเงยใชแลวหมดไป (Exhaustible) h

แรธาตุ

h

ที่ดินในสภาพธรรมชาติ

ระบบนิเวศน

หมายถึง ระบบความสัมพันธที่ประกอบดวยสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิตอยู รวมกันในพื้นที่แหงใดแหงหนึ่ง อาจจะเปนพื้นที่ขนาดเล็กหรือใหญก็ได ซึ่งตองมีความสัมพันธและ มีการเปลี่ยนสสารและพลังงานระหวางหนวยที่มีชีวิตและไมมีชีวิตในระบบนิเวศนนั้นดวย ระบบ นิ เ วศนมีส ว นประกอบหลายอยาง เช น น้ํ า อุ ณ หภูมิ ความชื้ น ความเค็ม ปริม าณฟอสฟอรั ส ปริมาณออกซิเจน ปริมาตรของแองน้ํา ความสูงจากระดับน้ําทะเล ความลาดชันของหุบเขา ลักษณะ พืชสัตว ฯลฯ

ผลกระทบจาก ปญหาดานสิ่งแวดลอม 1. สภาพความสมดุลของธรรมชาติที่ประกอบขึ้นมาประกอบดวย สิ่งมีชีวิตตาง ๆ น้ํา อากาศ ดิน คน พืช สัตว ทรัพยากรธรรมชาติ และความสัมพันธขององคประกอบขางตนถูกสราง ขึ้นมาโดยระยะเวลาอันยาวนาน ความสัมพันธขององคประกอบขางตนเกื้อหนุนกัน กิจกรรมของ มนุษย เชน การผลิตก็จะมีการนําเอาทรัพยากรธรรมชาติมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑ เปนพลังงาน เปน ของกินของใช และเศษที่เ หลือจากกิจกรรมเหลานี้ ก็จะถูก ปลอยลงสูดิน สู อากาศ สูน้ํา ทํา ให สัดสวนที่เคยสมดุลเสียไป และสรางความเสียหายใหองคประกอบที่เหลือ เชน มีการปลอยความรอน ปลอยควันพิษ ปลอยฝุน ออกมาซึ่งจะไปทําลายสิ่งมีชีวิต พืช สัตวตาง ๆ สัตวที่เคยอาศัยอยูไดก็อยู ไมได ขาดแหลงอาหาร ขาดสภาพพอเหมาะที่อยูได ขาดน้ําสะอาดที่ดํารงอาศัยและใชได สภาพ อากาศก็แปรปรวน ฝนก็เปนฝนกรด ตาง ๆ เหลานี้ เปนตน 2. เปนที่ทราบกันวาชั้น OZONE ในบรรยากาศจะชวยปองกันรังสีจากแสงอาทิตยที่อาจจะ เปนอันตรายตอคนและสิ่งมีชีวิตตาง ๆ สารประเภทที่มีคลอรีนเปนองคประกอบ เชน CFCs และ อื่น ๆ จํานวนมากที่ไปทําลายและทําใหเกิดรูในชั้นบรรยากาศ OZONE ถึงแมวาจะถูกหามใชใน หลาย ๆประเทศแลวก็ตาม แตการปฏิบัติคอนขางชา 3. การเกิดฝนกรด เกิดจากปญหามลพิษอันเกิดจากกระบวนการเผาผลาญของสารฟอสซิล เชน น้ํามัน ถานหิน แกส การผลิตไฟฟาที่ไมใชพลังน้ําจํานวนมากจะใชพลังงานจากการเผาผลาญ น้ํามัน แกส ถานหิน หรืออีกกิจการหลาย ๆ ประเภท รวมทั้งรถยนต ซึ่งจากการเผาผลาญนี้จะทําให เกิดสารที่เรียกวา SOx NOx เมื่อรวมกับฝนที่ตกลงมาจะทําใหเกิดกรดพวกซัลฟูริกและไนตริก ซึ่งมี สภาพเปนกรดออน มีฤทธิ์ทําลายกัดกรอน อาคารบานเรือน ทําลายพืชผักการเกษตร แหลงน้ํา มีผล ตอความเปนอยูของผูคนที่อาศัยอยูในบริเวณนั้น ๆ 4. อุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้น อาจจะเรียกปรากฏการณนี้อีกอยางวา “เรือนกระจก” ซึ่งแมจะ ไมเกิดโดยตรงตอประเทศไทยแตก็ทําใหรอนขึ้น ในบางประเทศทําใหคนมีอาการทางรางกาย


183

คือชอกก็มี ทําใหน้ําแข็งที่ขั้วโลกละลาย เกิดน้ําทวมทําลายพื้นที่เพาะปลูก ทําลายดินที่อุดมสมบูรณ ทําใหระดับน้ําทะเลสูงขึ้น การเกิดเรือนกระจกนี้มักเกิดจากการเผาผลาญพวกสารฟอสซิล พวกสารที่ มีคารบอนเปนองคประกอบ เชน พวกพืช ซึ่งจะทําใหเกิดกาซ CO2 (คารบอนไดออกไซด) แมวาใน ธรรมชาติพืชจะเปนตัวเปลี่ยน CO2 มาเปนออกซิเจน แตมนุษยก็มีการตัดไมทําลายปา มีกิจกรรม การผลิตที่เพิ่ม CO2 ออกสูบรรยากาศเกินกวาความสามารถของพืชจะเปลี่ยนเปน O2 ได ทําใหมี O2 ปลอยออกสูชั้นบรรยากาศโลกมาก เกิดเปนชั้นเรือนกระจกที่สะทอนความรอนกลับมาสูมนุษยอีก เหมือนมนุษยอยูในภาชนะที่ปด เมื่อความรอนถูกปลอยออกมากระทบกับชั้นของเรือนกระจกก็จะ สะทอนกลับมาทําใหโลกรอนยิ่งขึ้นตามลําดับ 5. การเกษตรแผนใหมที่มุงเนนการเพาะปลูกใหเกิดผลผลิตจํานวนมากเพื่อตอบสนองความ ตองการของผูบริโภค จะเปนตัวทําลายและกอใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอมมากกวาการพังทะลาย ของผิวดิน สาเหตุเนื่องจากสารพิษ ยาฆาแมลง ปุย ซึ่งสารเหลานี้จะถูกปลอยหรือฉีดสูผิวดินวงกวาง เมื่อมีฝนตกลงมา ก็จะชะลางสารเหลานี้ลงสูที่ต่ํากวา คือแหลงน้ํา ขณะเดียวกันกระบวนการผลิตใน อุตสาหกรรมคือจากกิจกรรมประจําของมนุษยก็จะมีการปลอยสารเคมีตาง ๆ ออกมา และถูกปลอยลง สูแหลงน้ํา มีผลตอการขาดแคลนน้ํากินน้ําใชที่สะอาด เมื่อน้ําเหลานั้นถูกปลอยรวมกันและไหลลงสู ทะเล แมวาจะมีความเชื่อวาทะเลคือแหลงที่เจือจางความเขมขนของสารพิษนั้นได มีสาหราย มี สิ่งมีชีวิตตาง ๆ ที่คอยกําจัดไดบาง แตเมื่อเกินขีดความสามารถแลว สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ในทะเลก็ถูก ทําลาย มีผลตอหวงโซอาหารซึ่งกลายเปนแหลงสะสมสารพิษ และในที่สุดก็ยอนกลับมาสูมนุษยจาก การเปนหวงโซอาหารนั่นเอง 6. ดินที่สมบูรณ คือดินที่มีแหลงแรธาตุที่เปนอาหารของพืชอุดมสมบูรณทําใหพืชเจริญ งอกงาม ซึ่งจะเปนแหลงยังชีพและประโยชนตอมนุษยมหาศาล หากดินถูกทําลายความอุดมสมบูรณ ไปแลวก็เทากับทําลายแหลงยังชีพของมนุษยไปดวย การเกษตรแผนใหมที่มุงเนนการใชสารเคมีคือ ตัวการหลัก การตัดไมทําลายปาซึ่งเปนแหลงผลิต CO2 และ O2 ทําใหขาดความสมดุลไป และมี ผลกระทบตอระบบนิเวศนดวย อุณหภูมิของโลกรอนขึ้น ซึ่งเหลานี้ลวนแตมีผลตอการทําใหดินขาด ความอุดมสมบูรณไป การเกษตรแผนใหมสวนหนึ่งมีการปลูกในปริมาณมากแลวใชสารเคมีเพื่อเรงสรางแหลงอาหาร ปฐมภูมิและทุติยภูมิตอมนุษยเอง โดยไมคํานึงถึงการทําลายความสมบูรณของผิวดิน ไมคํานึงถึง ความยั่งยืนของการใชพื้นดิน ทําใหดินถูกทําลายไป

อุณหภูมิโลกที่รอนขึ้นทําใหเกิดกระแสลม ทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลงอยางรุนแรง ทําใหผิว ดินถูกกัดกรอนและชะลางแรธาตุที่สมบูรณเมื่อมีฝนตกลงมา


184

ปญหามลพิษที่ถูกปลอยลงสูดินจากกระบวนการจากอุตสาหกรรมนั้นมีคอนขางมากและ หลากหลาย มีทั้งผลกระทบระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งผลกระทบตรงนี้ยังไมไดมีการศึกษาทําเปนแผน ระดับความรุนแรงเอาไว ในจํานวนสิ่งที่ปลอยออกมา เชน ขยะ , สารเคมี , สารปนเปอน , กาก นิวเคลียร เมื่อถูกปลอยออกมาแลวจะมีผลกระทบตอการใชพื้นที่ ทําลายความสมบูรณของดิน ไม สามารถใชพื้นดินได พืชไมสามารถขึ้นได แตอยางไรก็ตามเมื่อถูกปลอยลงสูดินก็จะไหลลงสูน้ํา เชนกัน ฉะนั้นจะเห็นอีกวาเมื่อมีปญหาตอพื้นดินก็จะกระทบตอการดํารงชีวิตอยูของมนุษยเชนกัน 7. ขยะเกิดจากเศษที่เหลือจากการใชบริโภค หรือจากกระบวนการผลิต ในบานเราจะเห็น ขยะทุกหนทุกแหง มีกองเปนภูเขา มีกองอยูบนถนน ในแมน้ํา สวนสาธารณะ มีทั้งที่ยอยสลายได ในเวลาไมนาน และที่ตองใชเวลานาน สรางความรําคาญทั้งในแงสายตา แงกลิ่น ที่เราจะไดพบอยู เสมอ พวกขยะพลาสติก สารสังเคราะหตาง ๆ อาจจะเปนภาชนะบรรจุภัณ ฑ อาจจะเหลือจาก กระบวนการผลิต เหลานี้ไมสามารถยอยสลายทางชีวภาพ หรือนํากลับมาใชใหมไดทั้งหมด หรือไม สามารถนํามาแปรรูปใหมไดทั้งหมด กลายเปนขยะที่ไรคุณคาก็จะถูกนํามาฝงกลบ


185

ISO 14000 : มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม เกี่ยวกับการตรวจสอบ การประเมินผลดาน สิ่งแวดลอม (EPE) ISO 14031

〉 〉14010

แนวทางการ ประเมินผลการ ดําเนินการ ดาน สิ่งแวดลอม

การตรวจสอบดาน สิ่งแวดลอม (EA)

แนวทางและ ห ลั ก ก า ร ในการตรวจสอบ สิ่งแวดลอม 14011 – 1 แนวทางในการ ตรวจสอบระบบ ก า ร จั ก ก า ร สิ่งแวดลอม 14012 ข อ กํ า ห น ด คุ ณ ส ม บั ติ ของผู ต รวจสอบ สิ่งแวดลอม

การจัดการระบบในหนวยงาน ISO 14001 ระบบการจัดการ สิ่งแวดลอม (EMS )

ขอกําหนดสําหรับการใช ISO 14004 ระบบการจัดการ สิ่งแวดลอม (EMS )

หลักเกณฑและขอแนะนํา

เกี่ยวกับผลิตภัณฑ ฉลากสิ่งแวดลอม ( EL ) 14020 ห ลั ก ก า ร ขั้ น พื้ น ฐ า น เกี่ยวกับการพัฒนาและการ ใชฉลากสิ่งแวดลอม 14021 คํ า นิ ย า ม แ ล ะ คํ า ศั พ ท เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ใ ช ฉ ล า ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ป ร ะ เ ภ ท ที่ 2 ใ น ก า ร ป ร ะ ก า ศ คุ ณ สมบั ติ ท างสิ่ ง แวดล อ ม ของผลิตภัณฑ 14022 วิธีการในการใช สัญลักษณ ข อ ง ฉ ล า ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ประเภทที่ 2 14023 วิ ธี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ รั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ จ ะใช ฉลากผลิตภัณฑประเภทที่ 2 14024 แนวทาง หลักการ และ ขอกําหนด ของวิธีการรับรอง ของผลิตภัณฑที่จะใชฉลาก ผลิตภัณฑประเภทที่ 1 การประเมินวงจรผลิตภัณฑ (LCA ) 14040 หลักการและการดําเนินการ 14041 วิธีการจัดทํารายการปจจัยที่ ใช ใ นกระบวนการผลิ ต / บ ริ ก ารและผลที่ ไ ด จ า ก กระบวนการ 14042 ประเมิ น ผลกระทบทาง สิ่งแวดลอม 14043 ประเมินการปรับปรุงวงจร ผลิตภัณฑ


186

องคประกอบสําคัญของระบบการจัดการสิ่งแวดลอม h

การกําหนดนโยบายสิ่งแวดลอม และความมุงมั่นในการดําเนินการของผูบริหารระดับสูง

h

การวิเคราะหปญหาสิ่งแวดลอม กฎหมาย พันธกรณีทางสิ่งแวดลอม พรอมทั้งกําหนด วัตถุประสงคและเปาหมายเพื่อดําเนินการ

h

การจัดทําแผน วิธีการดําเนินการกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคและ บรรลุถึงเปาหมาย

h

การตรวจสอบ/ควบคุม จัดประเมินผลการดําเนินการตรวจสอบทั้งในแงระบบและผลการ ดําเนินงานและหามาตรการในการปรับปรุงแกไข

h

ทบทวนการดําเนินการที่ผานมาโดยระดับบริหาร โดยเปรียบเทียบกับนโยบาย วัตถุ ประสงค ทบทวนเปาหมายทีว่ างไวและปรับปรุงการดําเนินงานใหดีขนึ้ อยางตอเนื่อง

มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม ประกอบดวย 2 มาตรฐาน คือ

มีประเทศอังกฤษเปนเลขาธิการ

อนุกรมมาตรฐานฉบับนี้

ISO 14001 : ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม : ขอกําหนดสําหรับการใช เปนขอกําหนดของ ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม และแนวทางในการนําขอกําหนดไปใชในองคการ ISO 14004 : ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม : หลักเกณฑและขอแนะนํา เปนแนวทางเกี่ยวกับ หลักการของระบบการจัดการสิ่งแวดลอมและการประยุกตใชในองคกร

การตรวจสอบสิ่งแวดลอม การตรวจสอบสิ่ งแวดลอมอยางเปนระบบตามขั้นตอนที่กํ าหนดไวโดยการประเมิน จาก หลักฐานที่พบ เพื่อพิจารณาวาองคกรนั้นไดปฏิบัติตามขอกําหนดทางสิ่งแวดลบิ้มที่ไดตั้งไวหรือไม และรวมทั้งการรายงานผลการตรวจสอบที่ไดใหแกผูเกี่ยวของทราบ มาตรฐานการตรวจสอบสิ่งแวดลอม มีประเทศเนเธอรแลนดเปนเลขาธิการ อนุกรมมาตรฐาน ฉบับนี้ ประกอบดวย 3 มาตรฐาน ISO 14010 : หลักเกณฑทวั่ ไป : เปนแนวทางและหลักการในการตรวจสอบสิ่งแวดลอมซึ่ง สามารถนําไปประยุกตใชกบั การตรวจสอบสิ่งแวดลอมหลาย ๆ รูปแบบ ISO 14011 : วิธีการตรวจสอบระบบการจัดการสิ่งแวดลอม : เปนแนวทางในการ ตรวจสอบระบบการจัดการสิ่งแวดลอมซึ่งครอบคลุมถึงการวางแผน วิธีการดําเนินการตรวจสอบ และตรวจสอบผลการดํ า เนิ น งานทางสิ่ ง แวดล อ มว า เป น ไปตามมาตรฐานของระบบการจั ด การ สิ่งแวดลอมหรือไม


187

ISO 14012 : คุณสมบัติผูตรวจสอบ : เปนขอกําหนดคุณสมบัติของผูตรวจสอบสิ่งแวดลอม และหัวหนาผูตรวจสอบสิ่งแวดลอม ซึ่งครอบคลุมถึงผูตรวจสอบสิ่งแวดลอมภายในองคกรและผู ตรวจสอบสิ่งแวดลอมอิสระ

ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอม (Environmental Labeling) ฉลากเพื่อสิ่งแวดลอมที่ใชในปจจุบันแบงออกเปน 3 ประเภท ประเภทที่ 1 (Type 1) เปนฉลากที่ดําเนินการโดยองคกรอิสระ มอบใหกับผลิตภัณฑที่มี คุณสมบัติตรงกับขอกําหนดทางสิ่งแวดลอมที่องคกรกําหนด โดยสวนใหญจะมีเงื่อนไขทาง สิ่งแวดลอมหลายขอดวยกัน ประเภทที่ 2 (Type 2) เปนฉลากผลิตภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอมดวยความมุงหมายเฉพาะดาน โดยปกติแลวผูผลิตจะเปนผูติดฉลากเอง ประเภทที่ 3 (Type 3) มีลักษณะเปนฉลากบอกรายละเอียดใหขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ ในการใชทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ปริมาณ มลพิษที่เกิดขึ้น เปนตน มีลักษณะคลายกับฉลาก โภชนาการของอาหาร มาตรฐานฉลากสิ่งแวดลอม มีประเทศออสเตรเลียเปนเลขาธิการ อนุกรมมาตรฐานฉบับนี้ ประกอบดวย 6 มาตรฐาน คือ ISO 14020 : เปนหลักการขั้นพื้นฐานเกีย่ วกับการพัฒนาและการใชฉลากสิ่งแวดลอม ISO 14021 : เปนคํานิยามและคําศัพทเกีย่ วกับการใชฉลากผลิตภัณฑประเภทที่ 2 ในการ ประกาศคุณสมบัติทางสิ่งแวดลอมของผลิตภัณฑ ISO 14022 : เปนวิธีการในการใชสัญลักษณของฉลากผลิตภัณฑประเภทที่ 2 ISO 14023 : เปนวิธีการตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑที่จะใชฉลากผลิตภัณฑประเภทที่ 2 ISO 14024 : เปนแนวทางหลักการ และขอกําหนดของวิธีการรับรองผลิตภัณฑที่จะใชฉลาก ผลิตภัณฑประเภทที่ 1 ISO 14025 : เปนแนวทางหลักการ และขอกําหนดของวิธีการรับรองผลิตภัณฑที่จะใชฉลาก ผลิตภัณฑประเภทที่ 3

การประเมินผลการดําเนินการดานสิ่งแวดลอม (Environmental Performance Evaluation) มาตรฐานการประเมิ น ผลการดํ า เนิ น การด า นสิ่ ง แวดล อ มมี ป ระเทศสหรั ฐ อเมริ ก าเป น เลขาธิการ ซึ่งขณะนี้มีเพียง 1 มาตรฐาน คือ


188

ISO 14031 : Environmental Management – Environmental Performance Evaluation – Guideline เปนแนวทางในการออกแบบและการใชประโยชนของการประเมินผลการดําเนินการดาน สิ่งแวดลอมสําหรับองคกรทุกขนาด ทุกประเภท

การประเมินวงจรของผลิตภัณฑ (Life Cycle Assessment) นอกจากมาตรฐานการใชฉลากสิ่งแวดลอม และระบบการจัดการสิ่งแวดลอมแลว ยังเชื่อกัน วามาตรฐานการประเมินวงจรอายุของผลิตภัณฑจะเปนมาตรฐานอีกประการซึ่งจะมีผลกระทบสูงตอ ธุรกิจตาง ๆ เนื่องจากความตื่นตัวในการรักษาสภาพแวดลอมและผลกระทบตาง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น เกี่ยวกับผลิตภัณฑตาง ๆ มีมากขึ้น ทําใหเกิดความตองการในการหาวิธีในการประเมินผลกระทบ และ มาตรการในการลดผลกระทบดังกลาว

การประเมินวงจรของผลิตภัณฑ มีหลักการทั่ว ๆ ไปดังนี้ h

h

จัดทํารายการของปจจัยที่ใชในกระบวนการผลิต ตลอดจนสวนตาง ๆ ที่นํามาใชเพื่อการ ผลิต ใหบริการ การใชงานและผลทั้งหมดที่ไดรับจากกระบวนการดังกลาว ประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่อาจจะเกิดขึ้นจากรายการของปจจัยที่ใชในกระบวน การผลิตและสวนตาง ๆ เพื่อการผลิต ใหบริการกับการใชงานและผลทั้งหมดที่ไดรับจาก กระบวนการดังกลาว

วิเคราะหขอมูลเพื่อดูความจําเปนและหาโอกาสในการลดผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่ได ในการประเมิน โดยปกติการประเมินผลกระทบจะครอบคลุมไปถึงการใชทรัพยากรธรรมชาติ ผลกระทบตอ ระบบนิเวศนวิทยา และผลกระทบตอสุขภาพดวย h

การประเมินวงจรของผลิตภัณฑสามารถนําไปใชประโยชนไดดังนี้ h

ผูผลิต/บริการใชเปนเครื่องมือในการคนหาโอกาสในการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ของผลิตภัณฑ/บริการ โดยพิจารณาตลอดวงจรอายุของผลิตภัณฑ/บริการ การไดมา ซึ่งวัตถุดิบเพื่อการผลิต การออกแบบ การติดตั้ง การผลิต การบริการ การใชงาน

h ภาครัฐบาล

ผูผลิต/บริการ มักจะใชผลการศึกษาการประเมินวงจรของผลิตภัณฑเปนแนว ทางในการตั ด สิ น ใจในการวางแผนเชิ ง กลยุ ท ธ การจั ด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ การ ปรับปรุงผลิตภัณฑหรือกระบวนการผลิต


189

h

ผูผลิต/บริการจะใชขอมูลในการวางแผนการตลาด เชน ในการทําฉลากสิ่งแวดลอมหรือ ฉลากเขียว

การควบคุมสารเคมีอันตราย สารเคมี อันตราย เปน สารเคมีที่มีคุณสมบัติที่แตกต างกันไปที่อ าจกอใหเ กิด อันตรายตอ พนักงานทั้งในรูปของการบาดเจ็บและการเจ็บปวย โดยความรุนแรงนั้นจะขึ้นอยูกับชนิด ปริมาณ และระยะเวลาที่สัมผัสกับสารเคมี ซึ่งสารเคมีในกลุมนี้อาจจะประกอบดวย 1. สารที่ระเบิดได (Explosives) 2. กาซอันตราย/อัดแรงดัน (Dangerous/Compressed Gases) 3. ของแข็งไวไฟ/ติดไฟ (Flammable/Combustible Liquid) 4. ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) 5. สารที่เติมออกซิเจน (Oxidizing Materials) 6. สารเปนพิษ (Toxic/Poisons Chemicals) 7. สารกัมมันตรงสี (Radioactive) 8. สารที่กัดกรอนได (Corrosives) 9. กาซอันตรายอื่น ๆ (ORM / Other Regulated Material) โดยทั่วไปสารเคมีจะเขาสูรางกายของคนได 4 ทางดวยกัน คือ โดยการหายใจ, การกิน, การ ดูดซึมผานผิวหนัง และผานเขาทางบาดแผล เมื่อสารเคมีถูกดูดซึมเขาสูกระแสโลหิตแลว สารเคมีที่ เปนพิษนั้นก็จะกอใหเกิดผลรายขึ้น หรือบางครั้งก็อาจทําใหเกิดอันตรายตออวัยวะตาง ๆ ไดดวย อาการเฉียบพลัน (Acute Effect) = อาการที่รางกายแสดงออกมาภายหลังจากไดรับสารเคมี เขาไปไมนานนัก อาคารเรื้อรัง (Chronic Effect) = อาการที่รางกายคอยแสดงออกมา ซึ่งเปนผลจากการที่ รางกายไดรับสารเคมีเขาไปทีละนอย ๆ สะสมจนมีระดับสารเคมีที่สูงพอจะทําใหเ ปนผลเสียตอ รางกายได สารเคมีอันตราย จะมีสิ่งบงบอกถึงอันตรายของสารเคมีนั้น 2 ทางคือ - ฉลากขางภาชนะบรรจุ - แบบแจงรายละเอียดเกีย่ วกับสารเคมีอันตราย (MSDS) ขอควรปฏิบัติในการใชสารเคมี h อานฉลากขางภาชนะบรรจุสารเคมีทุกชนิดที่ใช h ศึกษาขอมูลจาก MSDS

เมื่อตองการรายระเอียดดานความปลอดภัย


190

h เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสารเคมีตัวใหม

องคกร ควรจะพิจารณาถึงอันตรายของสารเคมีนั้น และจัดใหมกี ารฝกอบรมการใชสารเคมีอยางปลอดภัย

ั้ เปนอยางไร ใหคิดไวกอนวาสารเคมีนั้น h ถาไมทราบวาสารเคมีนน

“อันตราย” และปฏิบัติ

ตามแผนควบคุมสารเคมีอันตรายขององคกร

แผนควบคุมสารเคมีอันตราย (Chemical Hazard Control Plan) วัตถุประสงค เพื่อควบคุมปริมาณการสัมผัสเคมี ปองกันมิใหพนักงานไดรับอันตรายจาก สารเคมีและการเผาระวังทางการแพทย แผนควบคุมสารเคมีอันตรายจะมีผลทางการปฏิบัติจะตองครอบคลุมทั้ง 8 หัวขอนี้คอื 1. มีบุคคลรับผิดชอบ สนับสนุนแผน รวมถึงเจาหนาทีค่ วามปลอดภัยในการทํางาน 2. การตรวจสุขภาพาและใหคําปรึกษาทางการแพทยสําหรับพนักงาน 3. องคกรพิจารณาและสนับสนุนใหมกี ารตรวจวัดเพื่อควบคุมอันตรายที่จะเกิดขึน้ 4. ดําเนินการตรวจสอบทอดูดควันและอุปกรณปองกันอื่น ๆ ใหมั่นใจวายังมีประสิทธิภาพ 5. มาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติของบริษัท ฯ 6. การปฏิบัติงานพิเศษที่มีอนั ตรายจําเปนตองขออนุญาตกอน 7. การทดสอบอุปกรณปองกันที่ใชสําหรับทํางานในบริเวณที่มีอนั ตรายพิเศษ 8. ขาวสารและการฝกอบรมพนักงาน

ขาวสารและการฝกอบรมพนักงาน (Employee Information and Training) การตระหนักถึงอันตราย สิ่งที่จะตองกระหนักถึงมีดังนี้ h อันตรายทางกายภาพ

และสุขภาพในพื้นที่ทํางานของทาน

- อันตรายทางกายภาพ เปนสารเคมีจําพวกสารไวไฟ สารที่ระเบิดได และสารที่ทํา ปฏิกิริยารุนแรง - อันตรายตอสุขภาพ เปนสารเคมีจําพวกสารพิษ ซึ่งเปนเหตุกอใหเกิดมะเร็ง ทําลาย ระบบสืบพันธุ หรือทําลายผิวหนัง, ตา, เนื้อเยื่อในจมูก, ปอด หรืออวัยวะภายใน อื่น ๆ h วิธีการตรวจสอบหาระดับอันตรายของสารเคมี

ซึ่งรวมถึง - การตรวจสอบหาระดับของสารเคมีเปนประจํา - การสังเกตปรากฏการณที่เกิดขึ้น หรือกลิ่น

h มาตรฐานที่กําหนดระดับสารเคมีอันตราย


191

- สถานที่จัดเก็บของ MSDS และเอกสารอางอิงอื่น

อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล กอนเริ่มปฏิบัติงานที่เกีย่ วของกับสารเคมีอันตรายจะตองทําความเขาใจเพื่อใหสามารถ นํามาใชไดอยางถูกตองและเหมาะสม และควรสวมใสอปุ กรณใหครบถวนตามที่กําหนด ดังนี้ h รองเทากันสารเคมี

 งกันรางกาย h อุปกรณปอ

เชน ผากันเปอ น - สวมใสใหเรียบรอยกอนเขาปฏิบัติงาน - ถอดออกทันทีถาสารเคมีหกรด

h อุปกรณปองกันตา

ไดแก กอกเกอร, แวนตานิรภัยมีกระบังขางหรือกระบังหนา ควรสวม ใสทุกครั้ง เมื่อเขาไปปฏิบัติงานในบริเวณที่มีระดับสารเคมีเกินมาตรฐานหรือในระดับที่อาจเปน อันตราย h ถุงมือกันสารเคมี เมื่อตองสัมผัสสารมีพิษ

-

h

เลือกชนิดที่เหมาะสมกับสารเคมีนั้น ตรวจสอบถุงมือกอนสวมใสทุกครั้ง ลางถุงมือกอนถอด เปลี่ยนใหมเปนระยะ ๆ

หนากากกรองอากาศ ใชเมื่อจําเปนตองปฏิบัติงานในบริเวณที่มีระดับสารเคมีเกิน มาตรฐาน - ผูใชตองมั่นใจวาไมมีผลตอสุขภาพ - ผูใชตองไดรับการอบรมวิธีการใชอยางถูกตองและวิธีบํารุงรักษาอุปกรณ

h อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอื่น ๆ ที่จําเปน

มาตรการในการปฏิบัติงาน h การเก็บสารเคมี

ควรเก็บไวในที่เย็น อากาศถายเทดีมีพัดลมระบายอากาศ และไมสัมผัส กับแสงอาทิตยโดยตรง

h เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณไฟฟาทุกชนิดในหองปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารเคมี ควรเปนชนิด

ปองกันประกายไฟที่ทําใหระเบิดได (Explosion Proof) และควรมีสายไฟตอลงดิน

h สําหรับสารเคมีที่มีพิษ ควรจะติดตั้งระบบดูดอากาศเฉพาะที่


192

h หลังปฏิบัติงานตองทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงานทุกครั้ง h จัดเก็บพื้นที่ปฏิบัติงานใหสะอาดและเปนระเบียบเรียบรอย h หามปฏิบัติงานคนเดียวในพื้นที่ที่สารเคมีอันตรายมาก ใหใชระบบ Two Person Rule h การกําจัดของเสีย จะตองจัดภาชนะที่ปลอดภัย และนําไปทิ้งในที่ที่ปลอดภัยทุกกะ

ปฏิบัติการฉุกเฉิน (Emergency Procedures) h กรณีที่สารเคมีกระเด็นเขาตา มีขอควรปฏิบัติดังนี้

- ไปที่บริเวณอางลางตาฉุกเฉินที่ใกลที่สุดทันที - ลางตาดวยน้ํา โดยใหน้ําผานตานานอยางนอย 15 นาที ผานตา - พบปรึกษาแพทย/พยาบาล ทันที

(เบิกตาตลอดเวลาขณะที่น้ํา

h กรณีที่สารเคมีกระเด็น/หกรดผิวหนังหรือรางกาย

ลางบริเวณที่สัมผัสกับสารเคมีดวยน้ํา นานอยางนอย 15 นาที แลวถอดเสื้อผาที่ถูกสารเคมี ออกทันที (กรณีรุนแรงใหลางน้ําอีกครั้ง หลังจากถอดเสื้อผาที่ปนเปอนแลว) h กรณีเกิดไฟไหม หรือการรั่วไหลของสารเคมี

- ใหปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินขององคกร โดยจะตองมีแผนฉุกเฉินของกรณีไฟไหมดวย


193


194

หมายเหตุ : ขนาดของฉลากขางภาชนะบรรจุขึ้นอยูกับปริมาตรของภาชนะ ดังตารางตอไปนี้

ปริมาตรของภาชนะบรรจุ (V)

ขนาดเล็กที่สุดของฉลาก

V < 0.5 ลิตร 0.5 ลิตร < V < 1 ลิตร 1 ลิตร < V < 10 ลิตร 10 ลิตร < V < 50 ลิตร < 50 ลิตร

37 มม. X 52 มม. 52 มม. X 74 มม. 74 มม. X 105 มม. 105 มม. X 148 มม. 148 มม. X 210 มม.


1

บทที่ 8 กฎกระทรวงอุตสาหกรรม และกฎหมายที่เกี่ยวของกับความปลอดภัย ในการทํางานดานตาง ๆ กฎหมายโรงงานที่สําคัญ คือ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 ซึ่งแบงสาระสําคัญไดเปน 4 สวน คือ การอนุญาตโรงงาน นโยบายเศรษฐกิจ ความปลอดภัย – อนามัย และสิ่งแวดลอม บทความนี้ จะกลาวเฉพาะบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับความปลอดภัย และอนามัย โดยมีคําอธิบายตัว บทเพื่อเปนแนวทางดานปฏิบัติดวย บทบัญญัติที่เกี่ยวของกับการปองกันอุบัติเหตุอันตราย และการเสริมสรางความปลอดภัยในโรงงาน อุตสาหกรรม ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2512 ไดแก มาตรา 27 ในกรณีมีอุบัติเหตุในโรงงานเนื่องจากโรงงานหรือเครื่องจักรของโรงงานถาอุบัติเหตุนั้น (1) เปนเหตุใหบุคคลถึงแกความตาย หรือเจ็บปวยซึ่งภายหลังเจ็ดสิบสองชั่วโมงแลวยัง ไมสามารถทํางานในหนาที่เดิมได ใหผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานแจงเปนหนังสือใหพนักงาน เจาหนาที่ทราบภายในสามวันนับแตวันตาย หรือวันครบกําหนดเจ็ดสิบสองชั่วโมงแลวแตกรณี (2) เปนเหตุใหโรงงานตองหยุดดําเนินงานเกินกวาเจ็ดวัน ใหผูรับใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงานแจงเปนหนังสือใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในสิบวันนับแตวนั เกิดอุบัติเหตุ

คําอธิบาย เมื่อเกิดอุบัติเหตุในโรงงานอันเนื่องมาจากการประกอบกิจการ อาคารโรงงาน หรือเครื่องจักร ผูรับ ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (เจาของโรงงาน หรือผูจัดการตามทะเบียนนิติบุคคล) จะตองแจงเปน หนังสือ (ในลักษณะของรายงาน) ใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมไดทราบภายในเวลาที่กําหนดไว แยกไดเปน 2 กรณี คือ 1. กรณีที่อุบัติเหตุนั้น ทําใหมีคนถึงแกความตาย หรือ ทําใหมีผูเจ็บปวยไมสามารถทํางานในหนาที่ เดิมไดเกินกวา 3 วัน หรือ 72 ชั่วโมง ซึ่งอาจเปนกรณีที่ผูบาดเจ็บตองหยุดงานไป หรือพักรักษาตัวใน สถานพยาบาล หรือถูกสับเปลี่ยนไปทํางานในหนาที่อื่นมากกวา 3 วันติดตอกัน เจาของโรงงานหรือผูจัดการ มีหนาที่ตองแจงการเกิดอุบัติเหตุนั้น โดยรายงานเปนหนังสือใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมไดทราบภายใน 3 วัน นับแตวันตาย หรือในวันที่สี่ของการหยุดงานครบ 3 วัน แลวแตกรณี 2. กรณีที่เกิดอุบัติเหตุโดยไมทําใหมีคนบาดเจ็บหรือตาย แตทําใหโรงงานตองหยุดดําเนินงานเกินกวา 7 วัน ซึ่งอาจจะเนื่องมาจากเครื่องจักรหรืออุปกรณบางอยางชํารุดเสียหายตองหยุดซอมแซมแกไข หรือทําให


2 เกิดปญหาในขบวนการผลิต หรือเกิดอัคคีภัยเจาของโรงงานหรือผูจัดการก็ตองแจงเปนหนังสือโดยทํารายงาน เกี่ยวกับอุบัติเหตุใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมไดทราบภายในเวลา 10 วัน นับตั้งแตวันที่เกิดอุบัติเหตุนั้น มาตรา 28 ในกรณีโรงงานเกิดอุบัติเหตุตามมาตรา 27 และ พนักงานเจาหนาที่ไดเขาตรวจโรงงาน และเครื่องจักรแลว เห็นวาโรงงานและเครื่องจักรนั้นไมอาจซอมแซมใหอยูในสภาพที่จะใชการไดโดย ปลอดภัยใหพนักงานเจาหนาที่รายงานตอปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายใหออกใบอนุญาต เพื่อพิจารณาสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานเมื่อมีคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงานแลวใหแจงใหผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานทราบ คําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ใหอุทธรณตอรัฐมนตรีไดภายในสิบหาวันนับแต วันที่ไดทราบคําสั่ง คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด ถาผูซึ่งถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานตามวรรคหนึ่งประสงคจะตั้งโรงงานขึ้นใหม แทนโรงงานเดิม ใหดําเนินการเสมือนผูขออนุญาตตั้งโรงงานใหม และถาไดขออนุญาตภายในหนึ่งรอยแปด สิบวัน นับแตวันที่ถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตแลว มิใหนํามาตรา 33 มาใชบังคับ ในการพิจารณาการขออนุญาตตามวรรคสาม ถาปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมาย ให อ อกใบอนุ ญ าตเห็ น ว า การขออนุ ญ าตดั ง กล า วเป น ไปตามหลั ก เกณฑ วิ ธี ก ารและเงื่ อ นไขที่ เ คยได รั บ ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานเดิม ก็ใหออกใบอนุญาตตั้งโรงงานและใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ใหโดยมิชักชาแตสถานที่ตั้งโรงงานนั้นหากไมอาจอนุญาตใหตั้งในสถานที่เดิมได จะอนุญาตใหตั้งในสถานที่ อื่นได

คําอธิบาย เมื่ อ เกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ใ นโรงงานอุ ต สาหกรรม อั น ทํ า ให มี ผู ถึ ง แก ค วามตาย หรื อ ต อ งหยุ ด งานเพื่ อ รักษาพยาบาลเกินกวา 3 วัน หรือทําใหโรงงานตองหยุดดําเนินงานมากวา 7 วันตามมาตรา 27 แลวเมื่อกรม โรงงานอุ ต สาหกรรมได ท ราบเรื่ อ งราวการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ก็ จ ะมอบหมายให พ นั ก งานเจ า หน า ที่ ต าม พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2518 ไดเขาตรวจโรงงานและเครื่องจักร หากการตรวจสอบโรงงานพบวา อาคารโรงงานและเครื่องจักรนั้นไมอาจจะทําการซอมแซมแกไขให มีสภาพใชงานไดดังเดิมหรือใชไดอยางปลอดภัยแลว พนักงานเจาหนาที่ผูตรวจโรงงาน จะตองทํารายงาน เสนอใหมีการพิจารณาสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานนั้น หากปลัดกระทรวงหรือผูไดรับ มอบหมายใหออกใบอนุญาตพิจารณาแลวเห็นชอบ และมีคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตโรงงานที่เกิดอุบัติเหตุนั้น ก็จะสิ้นสภาพการเปนโรงงานตามกฎหมาย หากโรงงานประสงคจะประกอบกิจการตอไป ก็ตองดําเนินการ เสมือนผูขออนุญาตตั้งโรงงานใหมในกรณีที่โรงงานไมพอใจคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตก็สามารถอุทธรณตอ รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมได และหากวาถูกเพิ กถอนใบอนุ ญาตแลวและทําเรื่องของจัดตั้ง โรงงานใหมภายใน 180 วัน ก็จะไมตองถูกบังคับโดยมาตรา 33 ซึ่งระบุวา “เพื่อประโยชนในทางเศรษฐกิจ


3 ของปรเทศใหรัฐมนตรีมีอํานาจประกอบในราชกิจจานุเบกษา โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ใน เรื่องดังตอไปนี้ 1. กําหนดจํานวนโรงงานแตละประเภทหรือชนิดที่จะอนุญาตใหจัดตั้งหรือขยาย หรือที่จะไมอนุญาต ใหจัดตั้งหรือขยายในทองที่ใดทองที่หนึ่ง 2. กําหนดชนิด คุณภาพ อัตราสวนของวัตถุดิบหรือแหลงกําเนิดของวัตถุดิบ ที่จะนํามาใชหรือผลิต ในโรงงานที่จะอนุญาตใหจัดตั้ง หรือขยาย 3. กําหนดชนิดหรือคุณภาพของสินคาที่ผลิตในโรงงานที่จะอนุญาตใหจัดตั้งหรือขยาย 4. กําหนดใหนําผลผลิตของโรงงานที่จะอนุญาตใหจัดตั้งหรือขยายไปใชในอุตสาหกรรมบาง ประเภทหรือใหสงผลผลิตออกนอกราชอาณาจักรทั้งหมดหรือบางสวน ดังนั้น แมวาในระยะเวลาดังกลาวจะไดมีประกาศตามมาตรา 33 นี้ใชบังคับอยูและโรงงานที่ขอจัดตัง้ ใหม เนื่องจากถูกเพิกถอนใบอนุญาตตามมาตรา 28 จะไดเขาขายในประกาศนั้นก็ตาม แตก็ยกเวนไดตาม วรรคสามของมาตรา 28 แตหากวาไมไดดําเนินการขอจัดตั้งภายใน 180 วัน ก็จะตองถูกบังคับดวยมาตรา 33 ดวย

มาตรา 35 โรงงานใดที่กอใหเกิดอันตรายอยางรายแรงแกสาธารณชนใหปลัดกระทรวงหรือผูซึ่ง ปลัดกระทรวงมอบหมายใหออกใบอนุญาตสั่งใหผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานนั้นหยุดประกอบ กิจการโรงงานทั้งหมดหรือบางสวนเปนการชั่วคราว และปรับปรุงแกไขโรงงานนั้นเสียใหมใหเสร็จภายใน ระยะเวลาที่กําหนด


4 เมื่อพนระยะเวลาดังกลาวแลว ถาผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานปรับปรุงแกไขโรงงาน แลว ใหปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายใหออกใบอนุญาตสั่งใหประกอบกิจการโรงงาน ตอไปได ถาผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานไมปรับปรุงแกไขหรือไมสามารถปรับปรุงแกไขโรงงานให ปลอดภัยแกสาธารณะชนใหปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายใหออกใบอนุญาตรายงานตอ รัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งยายโรงงานทั้งหมดหรือบางสวนภายในระยะเวลาที่กําหนดจากทองที่นั้นไปยังทองที่ อื่นซึ่งจะไมทําใหเกิดอันตรายอยางรายแรงแกสาธารณชน คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด เมื่อไดรับคําสั่งใหยายโรงงานแลว ใหผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานดําเนินการเสมือนผูขอ อนุญาตตั้งโรงงานใหม แตใหไดรับการยกเวนไมตองเสียคาธรรมเนียมใบอนุญาตตั้งโรงงานและใบอนุญาต ประกอบกิจการโรงงานที่ออกใหใหมนั้น ในกรณี ที่ มี คํ า สั่ ง ย า ยโรงงาน ถ า ผู รั บ ใบอนุ ญ าตประกอบกิ จ การโรงงานไม ย า ยโรงงานภายใน ระยะเวลาที่กําหนด ใหปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายใหออกใบอนุญาตสั่งเพิกถอน ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานนั้นดวย

คําอธิบาย มาตรา 35 หมายถึงโรงงานที่กอใหเกิดอันตรายาอยางรายแรงแกสาธารณชน ไดแก โรงงานที่ปลอย สารพิษออกนอกโรงงาน ปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายใหออกใบอนุญาตก็จะสั่งการให โรงงานหยุดดําเนินงานทั้งหมดหรือเฉพาะบางขบวนการผลิตเปนที่กอใหเกิดอันตรายนั้นเปนการชั่วคราว เพื่อใหโรงงานไดแกไขปรับปรุงใหปลอดภัยภายในเวลาที่กําหนด ในกรณีที่เปนอันตรายรายแรงถึงขนาด และโรงงานไมสามารถแกไขไดก็จะถูกสั่งยายโรงงานทั้งหมด หรือบางสวนไปตั้งในทําเลที่เหมาะสมตอไป หรืออาจถึงขั้นถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตจนสิ้นสภาพโรงงาน ตามกฎหมาย มาตรา 36 เพื่อปฏิบัติการใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจดังตอไปนี้ (1) เขาไปในอาคารสถานที่หรือยานพาหนะที่พนักงานเจาหนาที่มีเหตุควรสงสัยวาจะเปนโรงงานที่ ไมไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ (2) เขาไปในโรงงานในระหวางเวลาทําการเพื่อตรวจสภาพโรงงาน อาคาร หรือสถานที่ สภาพ เครื่องจักร บริเวณโรงงาน บริเวณอาคารหรือสถานที่ และอื่น ๆ เพื่อปองกันความรําคาญหรืออันตรายอันอาจ กอใหเกิดแกบุคคลหรือทรัพยสิน


5 (3) ออกคําสั่งเปนหนังสือใหผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานจัดการเปลี่ยนแปลงซอมแซม เกี่ยวกับโรงงานหรือเครื่องจักร หรือเกี่ยวกับการอื่นที่กอใหเกิดความรําคาญ หรืออันตรายแกบุคคลหรือ ทรัพยสินใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด (4) ออกคําสั่งเปนหนังสือใหผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานหยุดประกอบกิจการโรงงาน ทั้งหมด หรือบางสวนจนกวาจะไดปรับปรุงแกไขโรงงานใหเปนที่ปลอดภัยหรือเปนไปตามประกาศของ รัฐมนตรี ในกรณีการประกอบกิจการโรงงานอาจกอใหเกิดอันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินหรือในกรณีที่ ผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานไมขจัดเหตุรําคาญ ไมกําจัดสิ่งปฏิกูล ไมจัดระบบระบายน้ําทิ้ง หรือ ระบบระบายอากาศใหถูกตองตามประกาศของรัฐมนตรี (5) นําตัวอยางผลิตภัณฑที่สงสัยเกี่ยวกับคุณภาพในปริมาณพอสมควรเพื่อตรวจสอบคุณภาพพรอม กับเอกสารที่เกี่ยวของ (6) ยึดผลิตภัณฑหรือภาชนะบรรจุที่อาจกอใหเกิดอันตรายแกบุคคล หรือทรัพยสิน (7) ผูกมัดประทับตราเครื่องจักรเพื่อมิใหเครื่องจักรทํางานไดในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงานไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ซึ่งสั่งตาม (3) หรือ (4) ทั้งนี้ตองไดรับอนุมัติจาก ปลัดกระทรวง หรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายใหออกใบอนุญาต

คําอธิบาย มาตรา 36 เปนบทบัญญัติที่กําหนดถึงอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2518 เพื่อควบคุมโรงงานใหปฏิบัติการตามกฎหมาย มาตรา 36 (2) , (3) และ (4) เปนมาตรการทางกฎหมายในการปองกันอุบัติเหตุอันตรายและ เสริมสรางความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม โดยใหอํานาจพนักงานเจาหนาที่ในการตรวจโรงงานและ สั่งการแกไขปรับปรุงอาคารโรงงาน เครื่อง และสภาพการณตาง ๆ ที่ไมปลอดภัยตอการทํางาน อันจะ กอใหเกิดอันตรายหรือความเสียหายแกบุคคลและทรัพยสินได มาตรา 39 ผูรับใบอนุญาตประกอบการโรงงานมีหนาที่กระทําดังตอไปนี้ (1) รักษาโรงงานใหมั่นคงแข็งแรงและมีสภาพอันปลอดภัยอยูเสมอ ตลอดจนดูแลรักษาเครื่องจักรให มีสภาพมั่นคงและแข็งแรงปลอดภัยเหมาะแกการใช (2) จัดใหโรงงานมีทางออกฉุกเฉินพอเพียงกับจํานวนคนงาน (3) จัดใหมีสัญญาณแจงเหตุอันตราย (4) จัดใหมีเครื่องดับเพลิง หรือสิ่งอื่นที่ใชในการดับเพลิงจํานวนเสพียงพอแกสภาพขนาดหรือ ลักษณะการประกอบกิจการโรงงาน ตลอดจนไดจัดใหมีการปองกันอัคคีภัยโดยวิธีอื่นดวย (5) จัดโรงงานใหถูกตองตามสุขลักษณะและอนามัย


6 (6) จัดใหมีการกําจัดสิ่งปฏิกูลการระบายน้ําทิ้งและการระบายอากาศ (7) จัดใหมีแสงสวางพอเพียงแกการทํางาน (8) จัดสถานที่ทํางานใหพอเพียงและเหมาะสมกับจํานวนคนงาน เครื่องจักร วัตถุดิบและ วัตถุสําเร็จรูป (9) จัดใหมีเครื่องมือในการปฐมพยาบาล (10) จัดใหมีสวมและที่ปสสาวะอันถูกตองตามสุขลักษณะตลอดจนสถานที่สําหรับทําความสะอาด รางกาย

(11) จัดใหมีน้ําสะอาดสําหรับดื่ม (12) จัดใหมีการปองกันอุบัติเหตุ หรืออันตรายที่อาจเกิดจากเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่อง เคลื่อนยาย หยิบยกหรือลําเลียงพัสดุ สายไฟฟา ทอไอน้ําหรือวัตถุอันเปนสื่อสงกําลังในโรงงานโดยจัดใหมี รั้ว เครื่องกั้นหรือเครื่องปองกันอยางอื่นเพื่อความปลอดภัย (13) จัดใหมีการเก็บและใชโดยปลอดภัยเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือ วัตถุอื่นที่อาจเปนอันตรายหรือที่อาจทําใหเกิดฝุนละออง ความรอนแสงหรือเสียงซึ่งเปนอันตรายในการ ปฏิบัติงานในหนาที่ที่เกี่ยวกับวัตถุนั้น ๆ ทั้งนี้ ภายใตบังคับกฎหมายวาดวยการนั้นตลอดจนจัดใหมีวิธีปองกัน และเครื่องปองกันมิใหเกิดอันตรายแกคนงานซึ่งปฏิบัติหนาที่นั้น ๆ ดวย (14) ประกอบกิจการโรงงานมิใหเกิดเหตุรําคาญตามกฎหมายวาดวยสาธารณสุข (15) จัดทํารายงานเกี่ยวกับปริมาณการผลิตและการจําหนายของโรงงาน (16) จัดใหมีการกระทําอยางอื่นตามที่รัฐมนตรีกําหนด ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา


7

คําอธิบาย มาตรา 39 เปนบัญญัติที่กําหนดหนาที่ของผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (เจาของโรงงาน หรือผูจัดการตามทะเบียนนิติบุคคล) ซึ่งจะตองดําเนินการเพื่อใหเกิดความปลอดภัยและสุขลักษณะอนามัย ภายในโรงงานอุตสาหกรรมของตนเอง โดยกําหนดเปนหนาที่หลักจํานวน 16 ขอ สวนรายละเอียดใน ลักษณะของมาตรฐานหรือเกณฑบังคับขั้นต่ําไดกําหนดไวชัดเจนในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513) , ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2514) , ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2525) , ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2528) (1) ประกาศกระทรวง อุตสาหกรรมที่กลาวนี้ไดทําเปน “หลักเกณฑและวิธีการทั่วไป” สําหรับผูประกอบกิจการโรงงาน จะได ยึดถือเปนแนวทาง หรือมาตรฐานขั้นต่ําที่จะตองปฏิบัติตามมาตรา 39 แบงเปน 14 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 การรักษาโรงงาน และเครื่องจักร หมวดที่ 2 ทางออกฉุกเฉินในโรงงาน หมวดที่ 3 สัญญาณแจงเหตุอันตราย หมวดที่ 4 เครื่องดับเพลิงหรือสิ่งที่ใชในการดับเพลิงและการปองกันอัคคีภัย หมวดที่ 5 การกําจัดสิ่งปฏิกูลการระบายน้ําทิ้ง และการระบายอากาศ หมวดที่ 6 แสงสวางในการทํางาน หมวดที่ 7 การจัดสถานที่ทํางาน หมวดที่ 8 เครื่องมือในการปฐมพยาบาล หมวดที่ 9 สวม ที่ปสสาวะและสถานที่ทําความสะอาดรางกาย หมวดที่ 10 น้ําสะอาดสําหรับดื่ม หมวดที่ 11 การจัดโรงงานใหถูกตองตามสุขลักษณะและอนามัย หมายเหตุ (1) จัดพิมพในวารสารโรงงาน ปที่ 4 ฉบับที่ 3 กุมภาพันธ – พฤษภาคม 2528 หมวดที่ 12 การปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายจากเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องเคลื่อนยายหยิบยก หรือลําเลียงวัสดุ สายไฟฟา ทอไอน้ํา หรือวัตถุอันเปนพิษในโรงงาน หมวดที่ 13 การเก็บและการใชวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด และวัตถุอื่นที่อาจเปน อันตราย หรืออาจทําใหเกิดฝุนละออง ความรอน แสงหรือเสียง ซึ่งเปนอันตรายในการปฏิบัติงานกับวิธีการ ปองกัน และเครื่องปองกันมิใหเกิดอันตรายแกคนงาน หมวดที่ 14 การประกอบกิจการโรงงานมิไดเกิดเหตุรําคาญ


8

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2512 เปนปที่ 24 ในรัชกาลปจจุบัน


9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหประกาศ วา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยโรงงาน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 “ มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราช-กิจจา นุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติโรงงาน พุทธศักราช 2482 (2) พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2503 ความในมาตรา 4 เดิม ถูกยกเลิกโดยมาตรา 3 แหง พ.ร.บ.โรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2518 และใชความใหมแทนดังตอไปนี้ “มาตรา 4 พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแกโรงงานของทางราชการที่ดําเนินงานโดยทางราชการ เพื่ อ ประโยชน แ ห ง ความมั่ น คงหรื อ ความปลอดภั ย ของประเทศ แต โ รงงานดั ง กล า วต อ งปฏิ บั ติ ต าม กฎกระทรวงที่วาดวย ที่ตั้งของโรงงาน การปองกันหรือระงับอันตรายที่อาจเกิดหรือเกิดแกบุคคลหรือ ทรัพยสินหรือเหตุรําคาญ การกําจัดสิ่งปฏิกูล การระบายน้ําทิ้ง หรือการระบายอากาศ” มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้ “โรงงาน” หมายความวา อาคารสถานที่หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแตสองแรงมา หรือกําลังเทียบเทาตั้งแตสองแรงมาขึ้นไป หรือใชคนงานตั้งแตเจ็ดคนขึ้นไป โดยใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม เพื่อใชสําหรับทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ หรือทําลายสิ่งใด ๆ ทั้งนี้ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง “เครื่องจักร” หมายความวา สิ่งที่ประกอบดวยชิ้นสวนหลายชิ้นสําหรับใชกอกําเนิดพลังงานเปลี่ยน หรือแปลงสภาพพลังงาน หรือสงพลังงาน ทั้งนี้ ดวยกําลังน้ํา ไอน้ํา เชื้อเพลิง ลม กาซ ไฟฟา หรือพลังงานอื่นอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงเครื่องอุปกรณ ไฟลวีล ปุล เล สายพาน เพลา เกียร หรือสิ่งอื่นที่ทํางานสนองกัน “คนงาน” หมายความวา ผูซึ่งทํางานในโรงงาน ทั้งนี้ ไมรวมถึงผูซึ่งทํางานฝายธุรการ “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ “ปลัดกระทรวง” หมายความวา ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ความในมาตรา 6 เดิม ถูกยกเลิกโดยมาตรา 4 แหง พ.ร.บ. โรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2518 และใช ความใหมแทนดังตอไปนี้


10 “มาตรา 6 รัฐมนตรีมีอํานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดโรงงานใด ๆ ที่มีลักษณะตอง ตามที่ระบุตอไปนี้ ใหไดรับยกเวนจากปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ทั้งหมด หรือแตบางสวน นอกจากในสวนที่เกี่ยวกับการควบคุมปองกันหรือระงับอันตรายที่อาจเกิดหรือเกิดแกบุคคลหรือทรัพยสิน หรือเหตุรําคาญ การกําจัดสิ่งปฏิกูล การระบายน้ําทิ้ง หรือการระบายอากาศ คือ (1) โรงงานที่มีวัตถุประสงคเพื่อการศึกษาวิจัยสําหรับการพัฒนาอุตสาหกรรม (2) โรงงานของสถาบันการศึกษาที่ตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงคในการฝกอบรมนักศึกษา (3) โรงงานที่ดําเนินงานเพียงเปนอุปกรณที่จําเปนสําหรับการอื่นซึ่งมิใชกิจการโรงงาน (4) โรงงานที่ดําเนินงานอันมีลักษณะเปนอุตสาหกรรมในครอบครัว หรือ (5) โรงงานที่ดําเนินงานอันมีลักษณะไมอานเปนอันตรายหรือรําคาญแกผูใด ประกาศดังกลาวจะกําหนดหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขดวยก็ได ในกรณีที่เปนการประกาศใหโรงงานใดไดรับยกเวนในสวนที่เกีย่ วกับการขอรับใบอนุญาต ใหถือวาผูประกอบกิจการโรงงานเปนผูรับใบอนุญาตในสวนอื่นที่มิไดรับยกเวน” มาตรา 7 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้ง พนักงานเจาหนาที่กับออกกฏกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ และกําหนด กิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฏกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2512) ออกตามความพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 อาศัยอํานาจตามความใจมาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 12 และมาตรา 21 แหงพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมออกกฏกระทรวงไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ผูใดประสงคจะขออนุญาตตั้งโรงงาน หรือผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ผูใด ประสงคจะขยายโรงงาน ใหยื่นคําขอตามแบบ ร.ง. 1 ทายกฏกระทรวงนี้ พรอมดวยแผนผังและรายการของ โรงงานและเครื่องจักรกับเอกสารครบถวนตามที่ระบุไวในแบบ ร.ง. 1


11 การยื่นคําขอรับใบอนุญาต ในจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี ใหทําคําขอเปน 2 ฉบับ ยื่นตอ กระทรวงอุตสาหกรรม ในจังหวัดอื่นใหยืนคําขอเปนสามฉบับ ยื่นตออําเภอทองที่ที่ตั้งโรงงานอยู หรือจะยื่น ตอกระทรวงอุตสาหกรรมก็ได ขอ 2 ใบอนุญาตตั้งโรงงาน ใหทําตามแบบ ร.ง. 2 ทายกฏกระทรวงนี้ ขอ 3 ใบอนุญาตขยายโรงงาน ใหทําตามแบบ ร.ง. 3 ทายกฏกระทรวงนี้ ขอ 4 ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานใหทําตามแบบ ร.ง. 4 ทายกฏกระทรวงนี้ ขอ 5 โรงงานตองตั้งอยูในทําเลที่เหมาะสมและมีบริเวณเพียงพอที่จะประกอบกิจการอุตสาห-กรรม ตามขนาดและประเภทหรือชนิดของโรงงาน โดยไมอาจกอใหเกิดอันตราย เหตุรําคาญ หรือความเสียหายตอ บุคคลหรือทรัพยสินของผูอื่น ขอ 6 โรงงานตองมีลักษณะดังตอไปนี้ (1) มั่นคงแข็งแรงและเหมาะสมและมีบริเวณเพียงพอที่จะประกอบกิจการอุตสาห-กรรมนั้น ๆ โดยมีคํารับรองของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรือวิศวกรอื่นที่กระทรวงอุตสาหกรรม เห็นชอบในการคํานวณและออกแบบ (2) มีการระบายอากาศที่เหมาะสม โดยใหมีพื้นที่ประตู หนาตาง และชองลมรวมกัน โดย ไมนับที่ติดตอระหวางหองไมนอยกวา 1 ใน 10 สวนของพื้นที่ของหอง หรือมีการระบายอากาศไมนอยกวา 0.5 ลูกบาศกเมตรตอนาที ตอคนงาน 1 คน (3) มีประตูหรือทางออกใหพอกับจํานวนคนในโรงงานที่จะหลบหนีภัยออกไปไดทันทวงที เมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้นอยางนอยสองแหง อยูหางกันพอสมควร บานประตูตองเปนแบบผลักเปดออกไดงาย และมีบันไดระหวางชั้นอยางนอยสองแหง อยูหางกันพอสมควร (4) ระยะดิ่งระหวางพื้นถึงเพดานโดยเฉลี่ยตองไมนอยกวา 3.50 เมตร เวนแตจะมีการ จัดระบบปรับอากาศ แตระยะดิ่งดังกลาวตองไมนอยกวา 3.00 เมตร (5) บันไดตองมั่นคงแข็งแรง มีลักษณะ ขนาด และจํานวนที่เหมาะสมกับอาคารโรงงาน และการประกอบกิจการอุตสาหกรรมนั้น ๆ ขั้นบันไดตองไมลื่นและมีชองระยะเทากันโดยตลอด (6) บันได และพื้นหรือทางเดินที่อยูสูงจากระดับพื้นตั้งแต 1.50 เมตรขึ้นไปอยางนอยตอง มีราวที่มั่นคงแข็งแรงและเหมาะสม ทั้งนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมอาจกําหนดใหมีสวนประกอบอื่นเพื่อ ปองกันอันตรายหรือยกเวนการจัดใหมีราวดังกลาวได (7) พื้นตองมั่นคงแข็งแรง ไมขรุขระหรือมีน้ําขัง หรือลื่น อันอาจกอใหเกิดอุบัติเหตุได งาย (8) บริเวณหรือหองทํางานตองออกแบบใหมีพื้นที่ไมนอยกวา 3 มาตรงเมตร ตอ คนงาน 1 คน (9) วัตถุที่ใชในการกอสรางตองเหมาะสมกับการประกอบกิจการอุตสาหกรรม ตามขนาด และประเภทหรือชนิดของโรงงานรวมทั้งที่ไมกอใหเกิดการลุกลามของอัคคีภัย


12 (10) ในกรณีที่มีลิฟต ลิฟตตองมีสวนปลอดภัยไมนอยกวาที่เทาของน้ําหนักที่กําหนดใหใช ทั้งนี้ โดยถือวาคนที่บรรทุกมีน้ําหนัก 70 กิโลกรัมตอหนึ่งคนและตองเปนแบบที่จะเคลื่อนที่ไดก็ตอเมื่อประตู ไดปดแลว กับตองมีทางออกฉุกเฉินดวย ลิฟตตองมีปายระบุจําจํานวนคนหรือน้ําหนักที่จะบรรทุกได ให เห็นไดงาย และชัดเจน (11) จัดใหมีสายลอฟาตามความจําเปนและเหมาะสม (12) จัดใหมีที่เก็บรักษาวัตถุหรือสิ่งของที่อาจกอใหเกิดอันตรายหรืออัคคีภัยไดงายไวในที่ ปลอดภัย ขอ 7 เครื่องจักรตองมีลักษณะดังตอไปนี้ (1) มั่นคงแข็งแรงและเหมาะสม โดยมีคํารับรองของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรควบคุม หรือวิศวกรอื่นที่กระทรวงอุตสหกรรมเห็นชอบในการคํานวณออกแบบและวางแผนติดตั้งและใชเครื่องจักร ใหมีความปลอดภัยและไมกอใหเกิดความสั่นสะเทือน เสียง หรือคลื่นวิทยุ รบกวนผูอยูอาศัยใกลเคียง (2) มีเครื่องปองกันอันตรายอันอาจเกิดจากสวนที่เคลื่อนไหวของเครื่องจักรตามความจําเปน และเหมาะสม (3) บอหรือถังเปดที่ทํางานสนองกันกับเครื่องจักรที่อาจเปนอันตรายในการปฏิบีติงานของ คนงานตองมีขอบหรือราวกั้นแข็งแรง ปลอดภัย ทางดานที่คนเขาถึงไดสูงไมนอยกวา 100 เซนติเมตร จาก ระดับพื้นที่ติดกับบอหรือถังนั้น (4) หมอน้ําและการติดตั้งหมอน้ํา ตองมั่นคงแข็งแรงปลอดภัยในการใชงาน และมี สวนประกอบที่จําเปนตามหลักวิชาการที่ยอมรับกัน (5) เครื่องอัดกาซ (Compressor) และภาชนะที่จะใชกับงานที่มีความกดดันแตกตางจาก บรรยากาศ ตองเปนแบบที่แข็งแรงทนทาน เหมาะสมกับงานนั้น และมีสวนประกอบในตําแหนงที่จําเปน ตามหลักวิชาการที่ยอมรับกัน (6) การเดินสายไฟฟาและการติดตั้งเครื่องยนตไฟฟา สวิทซไฟฟา และอุปกรณเครื่องไฟฟา อื่น ตองเปนไปตามหลักวิชาการที่ยอมรับกัน โดยมีคํารับรองของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรือ วิศวกรอื่นที่กระทรวงอุตสาหกรรมเห็นชอบ (7) เครื่องยก (Crane and Hoist) และสวนที่รับน้ําหนักตอเนื่องกันตองมั่นคงแข็งแรงมี ลักษณะ ขนาด และจํานวนที่เหมาะสม และตองมีปายระบุน้ําหนักปลอดภัยสูงสุดที่จะใชยกของไดใหเห็นงาย และชัดเจน กับตองมีที่หามลอ ซึ่งสามารถจะหยุดน้ําหนักไดไมนอยกวาหนึ่งเทาครึ่งของน้ําหนักปลอดภัย สูงสุด และถาเปนเครื่องยกที่ใชไฟฟาตองมีอุปกรณสําหรับหยุดยก และตัดกระแสไฟฟาเมื่อยกน้ําหนักถึง ตําแหนงสูงสุดที่กําหนด (8) การติดตั้งทอ และอุปกรณสําหรับสงวัตถุทางทอตองเปนไปตามหลักวิชาการที่ยอมรับ กัน


13 (9) เครื่องลําเลียงขนสง (Conveyor) ซึ่งมีสายลําเลียงผานเหนือบริเวณซึ่งมีคนปฏิบัติงาน หรือทางเดิน ตองมีเครื่องปองกันของตกแบบแผนหรือตะแกรงกันดานขางและรองรับของตกตลอดได สาย ลําเลียงนั้น โดยใหอยูในลักษณะที่จะทําใหเกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงานสําหรับเครื่องลําเลียงขนสงทีม่ ี สายลําเลียงตางไปจากแนวระดับตองมีเครื่องบังคับที่ทําใหสายลําเลียงหยุดไดเองเมื่อเครื่องหยุดปฏิบัติงาน (9) โรงงานที่มีการระบายน้ําทิ้งตองมีวิธีการขจัดน้ําทิ้งที่ถูกตองและเหมาะสมพรอมทั้งมีแบบแปลน แผนผังและคําอธิบายโดยละเอียดแสดงวิธีการขจัดน้ําทิ้ง (Waste water treatment process) ซึ่งไม กอใหเกิดอันตราย ความเสียหายหรือเหตุเดือดรอนรําคาญ ใหไว ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2512 พลโท พ. ปุณณกันต รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม (86 ร.จ.3 ตอนที่ 50 (ฉบับพิเศษ) ลงวันที่ 4 มิถุนายน 2512) หมายเหตุ เหตุผลในการประกาศใชกฏกระทรวงฉบับนี้ คือ เพื่อปฏิบัติใหเปนไปตาม มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 12 มาตรา 21 แหงพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 ซึ่งออกกฏกระทรวงขึ้นไว

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2514) ออกตามความพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 เรือ่ ง หนาที่ของผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 39 แหงพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ออกประกาศกําหนดหลักเกณฑและวิธีการที่ผูรับใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงานทุกประเภทหรือชนิด มีหนาที่กระทําการตอจากที่กําหนดไวในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513) ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2513 ดังตอไปนี้


14

หลักเกณฑและวิธกี ารทั่วไป หมวดที่ 11 การจัดโรงงานใหถูกตองตามสุขลักษณะและอนามัย ออกโดยอาศัยอํานาจตามความใน (5) แหงมาตรา 39 ขอ 1 ตองจัดโรงงานใหสะอาดปราศจากสิ่งสกปรก รกรุงรัง และใหถูกสุขลักษณะและอนามัยตาม สภาพของโรงงานแตละประเภทหรือชนิด

หมวดที่ 12 การปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายจากเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องเคลื่อนยาย หยิบยก หรือลําเลียงวัสดุ สายไฟฟา ทอไอน้ํา หรือวัตถุอันเปนสื่อสงกําลังในโรงงาน ออกโดยอาศัยอํานาจตามความใน (12) แหงมาตรา 39 ขอ 2 เครื่องจักรใดที่ผูผลิตไดติดเครื่องปองกันอันตรายไวเพื่อความปลอดภัย หรือมีเครื่องจักร ปองกันอันตรายอยูในวันตรวจโรงงานและเครื่องจักร ตามมาตรา 12 ตองดูแลรักษาเครื่องปองกันอันตราย ของเครื่องจักรดังกลาวใหอยูในสภาพเชนนั้นเสมอ ขอ 3 ชิ้นสวนของเครื่องจักรที่มีการเคลื่อนไหวอันอาจจะเปนอันตรายตองมีเครื่องปองกันอันตราย ที่มั่นคงแข็งแรง และหามถอดยาย เปลี่ยนแปลงหรือซอมเครื่องปองกันอันตราย รวมทั้งอุปกรณและกลไกของ เครื่องปองกันอันตรายในขณะที่เครื่องจักรมีการเคลื่อนไหว ขอ 4 ไฟลวีลตองมีฝาครอบหรือตาขายเหล็ก ชองกวางไมมากกวา 5 เซนติเมตร ปดกันคนงานหรือ สิ่งของกระทบไฟลวีล เวนแตในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังตอไปนี้ (1) ไฟลวีลที่ในการใชงานปกติ หมุนไมเร็วกวา 500 รอบตอนาที จะจัดใหมีรั้วที่มั่นคง แข็งแรง กั้นสูงจากพื้นไมนอยกวา 100 เซนติเมตร มีลูกนอนอยางนอย 1 ลูกสูงจากพื้นไมมากกวา 30 เซนติเมตรและหางจากไฟลวีลไมนอยกวา 50 เซนติเมตรแทนก็ได (2) ไฟลวีลที่สูงจากพื้นที่ปฏิบัติงานหรือทางเดินลอดตั้งแต 250 เซนติเมตรขึ้นไป ซึ่งตองมี เครื่องปองกันอันตราย ก็ตอเมื่อพนักงานเจาหนาที่ออกคําสั่งเปนหนังสือใหจัดทํา (3) ในกรณีที่จําเปนตองใชคานสอดเพื่อหมุนไฟลวีลเมื่อจะเดินเครื่อง จะจัดใหมีชองไวที่ เครื่องปองกันอันตรายสําหรับสอดคานเขาไปก็ได (4) ในกรณีที่จําเปนตองใชคนหมุนไฟลวีลเมื่อจะเดินเครื่อง จะจัดใหมีชองปดเปดไวที่ เครื่องปองกันอันตราย เพื่อประโยชนแกการนั้นก็ได


15 ขอ 5 เครื่องตนกําลังกลทุกชนิด ยกเวนเครื่องยนตไฟฟา ตองมีเครื่องรักษาระดับความเร็วอัตโนมัติ (governor) ที่มีประสิทธิภาพดี ขอ 6 ตองจัดใหมีวิธีหยุดเดินเครื่องจักรไดในกรณีฉุกเฉิน จากที่ซี่งอยูหางจากสวนที่เคลื่อนไหว ของเครื่องจักรในระยะที่ปลอดภัยแกการปฏิบัติ ขอ 7 ถาจําเปนตองมีทางเดินขามเพลาหรือที่ยึดเพลา ทางเดินนั้นตองมีพื้นที่มั่นคงและมีราวกั้น อยางแข็งแรง ขอ 8 เพลา สายพาน ปุลเล และอุปกรณสงถายกําลังอื่น จะไมมีเครื่องปองกันอันตรายตามขอ ขางตนก็ได หากไดจัดใหอยูในบริเวณหรือหองเฉพาะ และปฏิบัติตามขอตอไปนี้ครบถวนทุกขอคือ (1) หองหรือบริเวณดังกลาวปดไมใหผูที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของวเขาไป ตลอดเวลา ที่กําลังเดินเครื่องอยู (2) ควบคุมจากพื้นถึงเพดานหรือวัตถุอื่นใดเหนือทางเดินไมนอยกวา 170 เซนติเมตร (3) มีแสงสวางเพียงพอ พื้นแหงราบเรียบ ไมลื่นและมั่นคงแข็งแรง (4) มีเครื่องปองกันอันตรายตามทางเดินของชางเครื่อง ขอ 9 เพลาที่สูงจากพื้นที่ปฏิบัติงานหรือทางเดินไมมากวา 250 เซนติเมตร ตองมีเครื่องปองกัน อันตรายที่มั่นคงแข็งแรงอยางใดอยางหนึ่งดังนี้ (1) ครอบปดยาวตลอดตัวเพลาโดยรอบหรืออยางรอยที่สุดดานขางและดานบนหรือดานลาง ที่คนทํางานหรือสิ่งของอาจกระทบเพลาได (2) รั้วกั้นสูงจากพื้นไมนอยกวา 100 เซนติเมตร มีลูกนอนอยางนอย 1 ลูก สูงจากพื้นไม มากกวา 30 เซนติเมตร และหางจากเพลาไมนอยกวา 50 เซนติเมตร ขอ 10 ขอตอเพลา คลัช ปุลเล และสายพานหรือโซสงถายกําลังที่อยูสูงจากพื้นหรือพื้นที่ ปฏิบัติงานไมมากกวา 2.5 เมตร ตองมีเครื่องปองกันอันตรายอยางมั่นคงแข็งแรง ขอ 11 เกียรที่อยูในบริเวณที่อาจจะกอใหเกิดอันตรายได ตองมีเครื่องปองกันอันตรายอยางมั่นคง แข็งแรงอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ (1) มีครอบปดคลุมหมด นอกเสียจากจานเกียรเปนแบบทึบจะใชครอบปดคลุมเฉพาะขอบ ตรงบริเวณพันเกียรก็ได (2) ถาเปนเกียรขนาดใหญ ตองทําคอกกั้นอยางมั่นคงแข็งแรง ขอ 12 ตองไมใชงานปุลเลที่มีสภาพไมมั่นคงแข็งแรง หรือมีรอยราว หรือขอบบิ่น แตกราว ขอ 13 ปุลเลที่มีความเร็วที่ขอบนอกมากกวา 1,200 เมตร ตอนาที ตองเปนปลุเลที่ไดสรางขึ้น ถูกตองตามหลักวิชาการเพื่อกิจการนั้นเปนพิเศษเทานั้น ขอ 14 ปุลเลที่ใชกับสายพานแบน ที่ไมมีการขยับเลื่อน ตองมีหนานูนเพื่อปองกันไมใหสายพาน หลุด


16 ขอ 15 ถาปุลเลอยูหางจากปุลเลตายหรือคลัชหรืออยางอื่น ๆ ไมมากกวาความกวางขอสายพาน ตองจัดใหมีเครื่องปองกันไมใหสายพานหลุดทางดานที่อยูใกลกับปลุเลตาย หรือคลัช หรืออื่น ๆ นั้น ขอ 16 ปุลเลที่ติดอยูที่ปลายเพลาลอยตองมีเครื่องปองกันไมใหสายพานหลุดออกนอกเพลาได ขอ 17 ถาสายพานหรือโซสงถายกําลังอยูสูงจากพื้นหรือพื้นที่ปฏิบัติงานไมมากกวา 250 เซนติเมตร ตองมีเครื่องปองกันดานขางสูงพนจากสวนบนของสายพานหรือโซสงถายกําลังไมนอยกวา 40 เซนติเมตร หรือสูง 250 เซนติเมตร จากพื้นหรือพื้นที่ปฏิบัติงานแลวแตวาอยางไหนจะนอยกวากัน แตตอง สูงไมนอยกวา 100 เซนติเมตร ทั้งนี้ เวนแตวาสายพานหรือโซสงถายกําลังจะมีครอบปดคลุมหมด ขอ 18 สายพานสงถายกําลังที่มีความกวางมากกวา 12 เซนติเมตร ความเร็วของสายพานตั้งแต 540 เมตรตอนาทีขึ้นไป และศูนยกลางปุลเลหางกันตั้งแต 300 เซนติเมตรขึ้นไป ถาอยูสูงจากพื้นหรือพื้นที่ ปฏิบัติงานมากกวา 250 เซนติเมตร ตองมีเครื่องปองกันดานลางตลอดความยาวของสายพาน ขอ 19 คันขยับสายพานตองมีเครื่องบังคับไมใหสายปนขามปุลเลไดเอง ขอ 20 ในอาคารโรงงานเดียวกัน คันขยับสายพานหรือคันขยับคลัช ตองขยับไปทางเดียวกันเมื่อ จะหยุดเครื่อง ยกเวนคันขยับสามตําแหนง ขอ 21 เครื่องจักรที่ไมไดขับเครื่องตนกําลังเฉพาะตัว ตองจัดใหมีคลัชปุลเลฟรีหรือวิธีการอื่นใดที่ เหมาะสม เพื่อใหหยุดหรือเดินเครื่องจักรนั้นเฉพาะตัวไดโดยสะดวกและปลอดภัย ขอ 22 สวิชตัดตอนของเครื่องยนตไฟฟา ตองเปนชนิดที่ไมอาจจะเปด-ปด ไดเมื่อมีการกระทบโดย บังเอิญ ขอ 23 ถาสวิชตัดตอนเปนแบบปุมกด ตองเปนแบบที่มีปุมกดเดินและปุมกดหยุดแยกกัน ปุมกด เดินตองเปนชนิดสีเขียวหรือดํา สวนปุมกดหยุดตองเปนชนิดสีแดง ขอ 24 เครื่องจักรที่ใชงานหลายคนปฏิบัติงานรวมกัน ตองมีเครื่องบังคับมิใหเครื่องจักรนั้น ปฏิบัติงานไดในขณะที่คนงานอยูในตําแหนงอันอาจจะเปนอันตรายได ขอ 25 ถาเครื่องจักรขับดวยเครื่องยนตไฟฟาหลายเครื่อง นอกจากมีสวิชตัดตอนเฉพาะเครื่องไฟฟา แตละเครื่องแลว ตองมีสวิชตัดตอนหยุดเครองยนตไฟฟาทั้งหมดพรอมกันดวย ขอ 26 เครื่องจักรขนาดใหญ ซึ่งสามารถจะเคลื่อนตอไปไดอีกดวยแรงเฉื่ย แมจะไดหยุดสงถาย กําลังแลว ตองมีหามลอที่มีประสิทธิภาพพอที่จะหยุดเครื่องไดโดยเร็ว ในกรณีที่อาจจะกิ่ใหเกิดอันตรายได ตองมีหามลอชนิดอัตโนมัติ ขอ 27 ไฟฟาแสงสวางและไฟฟากําลังที่ใชผลิตหรือชวยในการผลิต ตองใชวงจรแยกจากกันแตละ วงจรตองมีสวิชตัดตอนชนิดที่สามารถตัดวงจรเมื่อกระแสไฟฟาไหลผานเกินกําลัง ขอ 28 ในหองปฏิบัติงานหรือหองเก็บสิ่งของที่อาจมี กาซ ควัน ฝุน ไอ หรือหมอกที่ติดไฟไดงาย ตองเดินสายไฟฟาในทอ เครื่องยนตไฟฟา สวิชไฟฟา และอุปกรณไฟฟาอื่น ๆ ตองเปนแบบปดชนิดปองกัน การระเบิด และหามใชหลอดไฟฟาฟลูออเรสเซนทแบบมีสตารทเตอรสวิชตัดตอนแบบใบมีด เตาเสียบและ อุปกรณที่อาจทําใหเกิดประกายไฟได


17 ขอ 29 หลอดไฟฟาที่จะใชเคลื่อนยายไปมา ตองมีเครื่องปองกันการกระทบแตก และตองเปนแบบ ที่สรางขึ้นเพื่อใชในกิจการนั้น ๆ โดยเฉพาะ ขอ 30 เครื่องยนตไฟฟา หรือเครื่องใชไฟฟาชนิดที่เคลื่อนยายไปมาไดตองใชปลั๊กและเตาเสียบที่ แข็งแรงและมีที่ตอกับสายดินดวย ขอ 31 เครื่องยนตไฟฟาที่มีขนาดตั้งแต ¼ แรงมาขึ้นไป ตองมีเครื่องปองกันกระแสเกินขนาดและ การใชเกินกําลัง ขอ 32 เครื่องยนตไฟฟาและเครื่องไฟฟาตองตอสายดิน การตอสายดินตองใชเสาไฟฟาขนาด พื้นที่หนาตัดไมนอย 2.5 ตารางมิลลิเมตร และไมเล็กกวาครึ่งหนึ่งของสายไฟฟาเขาเครื่อง แตไมจําเปนตอง ใหญกวา 70 ตารางมิลลิเมตร ตอเขากับทอน้ําชนิดโลหะที่ติดตอลงถึงพื้นดินได หรือตอลงสูทอหรือแทง ทองแดงซึ่งยาวไมนอยกวา 150 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 1 เซนติเมตร ฝงในพื้นดินที่ชั้นลึก ไมนอยกวา 150 เซนติเมตร หรือตอลงสูตัวนําอื่นดวยวิธีที่ถูกตองตามหลักวิชาการ ขอ 33 ตองดูแลรักษาสายไฟฟา สายดิน เครื่องยนตไฟฟา สวิช เตาเสียบและอุปกรณไฟฟาอื่น ๆ ใหอยูในสภาพเรียบรอย ไมหลุดหลวม แตกราว หรือผุกรอน ขอ 34 แผงสวิช หมอแปลงแรงไฟ แคพแปชิเตอร แบตเตอรี่ ขนาด 150 โวลตขึ้นไปที่มิไดติดตั้ง ไวในหองที่จัดไวโดยเฉพาะ ตองจัดทํารั้วกันโดยรอบมิใหบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของเขาไปได ขอ 35 หามมิใหซอมสายไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟาในขณะที่มีกระแสไฟฟาไหลผาน ขอ 36 สายไฟฟา เครื่องไฟฟาและอุปกรณ ตองไดรักการตรวจรับรองเห็นชอบจากผูไดรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม หรือนายชางของการไฟฟานครหลวง หรือนายชางของการ ไฟฟาสวนภูมิภาค หรือจากวิศวกรที่กระทรวงอุตสาหกรรมเห็นชอบทุก ๆ ระยะ 1 ป โดยมีเอกสารรับรอง เปนหลักฐานทุกป ขอ 37 ตองจัดใหทุกคนที่อยูในบริเวณงานที่อาจจะเปนอันตราย สวมหมวกปองกันอันตรายตาม ความเหมาะสม ขอ 38 ตองจัดใหทุกคนที่อยูในบริเวณงานที่อาจจะเปนอันตรายตอตา หรือใบหนา สวมแวนตา (Safety glasses หรือ goggle) หรือกระบังหนา (face shield) ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม ขอ 39 ตองจัดใหทุกคนที่อยูในบริเวณงานที่มีเสียงดังเกินกวา 80 เดซิเบล หรือเสียงดังอันอาจเปน อันตรายตอแกวหู อุดหูดวยที่อุดหู (ear plug) ที่มีประสิทธิภาพ ขอ 40 ตองจัดใหทุกคนที่อยูในบริเวณงานที่อาจจะเปนอันตรายตอใบหูและรูหู สวมเครื่องปองกันหู (ear guard) ที่มีประสิทธิภาพ ขอ 41 ตองจัดใหคนงานที่ใชมือในการปฏิบัติงานอันอาจสัมผัสกับสวนที่แหลมหรือคมของวัตถุ สวมถุงมือที่มีความเหนียวทนตอวัตถุแหลมคม ขอ 42 ตองจัดใหคนงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัตถุที่รอน สวมเครื่องปองกันอันตราย เชน ถุงมือ รองเทา ซึ่งทําดวยวัตถุที่มีคุณภาพเปนฉนวนความรอน ตามความจําเปนและเหมาะสม


18 ขอ 43 ตองจัดใหคนงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัตถุเคมี กรด ดาง อันอาจจะเปนอันตรายตอผิวหนัง สวมเครื่องปองกันอันตราย เชน ถุงมือ รองเทาหุมนอง ผากันเปอนที่ทําดวยยางหรือพลาสติก หรือวัตถุที่มี คุณสมบัติทนทานตอการกัดกรอนของสารเคมีนั้น ๆ ตามความจําเปนและเหมาะสม ขอ 44 ตองจัดใหคนงานที่ปฏิบัติงานอันอาจเปนอันตรายตอขา หรือเทา สวมเครื่องปองกัน อันตรายที่ขาหรือเทาตามความจําเปนและเหมาะสม ขอ 45 ตองจัดใหคนงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานไฟฟา สวมรองเทาที่มีคุณสมบัติเปนฉนวนไฟฟา ขอ 46 ตองจัดใหคนงานที่ตองการไปปฏิบัติอยูบนที่สูง ซึ่งตองมีการปนปายใชสายรัดหรือเข็ม ขัดกันตก ขอ 47 ตองจัดใหคนงานที่ปฏิบัติงานอันอาจจะเปนอันตรายตอระบบการหายใจสวมเครื่องปองกัน อันตราย (respiratory protection) หรือเครื่องชวยในการหายใจที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมตอการ ปฏิบัติงานนั้น ๆ ขอ 48 ตองทําความสะอาดและรักษาเครื่องปองกันอันตรายสําหรับคนงานใหอยูในสภาพเรียบรอย พรอมที่จะใชงานไดตลอดเวลา

หมวดที่ 13ж การเก็บและการใชวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด และวัตถุอื่นที่อาจเปนอันตรายหรือที่อาจทําใหเกิดฝุนละออง ความรอน แสงหรือเสียง ซึ่งเปนอันตรายในการปฏิบัติงาน กับวิธีการปองกัน และเครื่องปองกันมิใหเกิดอันตรายแกคนงาน ออกโดยอาศัยอํานาจตามความใน (13) แหงมาตรา 39 ขอ 49 ตองแยกเก็บวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อาจเปนอันตรายหรือที่อาจทํา ใหเกิดฝุนละออง ใหเปนระเบียบและเปนสัดสวนตางหาก และตองปดกุญแจหองเก็บทุกครั้งเมื่อไมมีการ ปฏิบัติงานในหองนี้แลว ขอ 50 ตองจัดใหมีการระบายอากาศในหองเก็บและหองปฏิบัติงานอันเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อาจเปนอันตรายหรือที่อาจทําใหเกิดฝุนละอองอยางเพียงพอและตองปองกันมิให อากาศที่ระบายออกจากหอง เปนอันตรายตอบุคคลหรือทรัพยสินของผูอื่น หรือเปนเหตุเดือดรอนรําคาญกับ ตองดูแลรักษาใหหองตาง ๆ ดังกลาวอยูในสภาพที่มั่นคงแข็งแรงเหมาะสมแกงานนั้น ๆ ขอ 51 ตองไมใหวัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุที่ระเหยเปนไอไดงายอยูใกลเตาไฟ หมอน้ํา ทอ ไอน้ํา สายไฟฟาแรงสูง บริเวณที่อาจมีการเกิดประกายไฟ หรือในที่ซึ่งมีอุณหภูมิสูง


19 ขอ 52 ตองจัดทําปาย “ วัตถุมีพิษ “ “ วัตถุไวไฟ หามสูบบุหรี่ “ “วัตถุระเบิด หามสูบบุหรี่” แลวแตกรณี และปาย “ หามบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของเขา “ ดวยตัวอักษรสีแดงขนาด 20 เซนติเมตรบนพื้น สีขาว และปายเครื่องหมายแจงอันตรายติดไวใหเห็นไดอยางจชัดเจนที่หนาทางเขาทุกหอง กับควบคุมดูแล ใหคนงานปฏิบัติตามขอหามนั้น ๆ อยางเครงครัด ขอ 53 ตองดูแลรักษามิใหมีการรั่วไหลของวัตถุมีพิษออกมาจากเครื่องจักรที่ใชในการทําผลิต บรรจุ แปรสภาพ แยก หรือผสมวัตถุมีพิษ ขอ 54 ตองทําความสะอาดเครื่องจักร อุปกรณตาง ๆ ที่ใชเกี่ยวของกับวัตถุมีพิษกอนใชงานกับวัตถุ อยางอื่นทุกครั้ง เพื่อปองกันมิใหเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารตางชนิดกัน ขอ 55 ตองดูแลรักษาทอและสวนประกอบของทอสงวัตถุใหอยูในสภาพเรียบรอย ไมมีการ แตกราว รั่ว ชํารุด หรือเกิดการไหลยอนกลับ ขอ 56 ทอสงวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด ตางชนิดกัน ตองทาสี หรือเครื่องหมายแสดงความ แตกตางไวอยางชัดเจน ขอ 57 ทอสงวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงกวา 100 องศาเซนติเกรด ตองมีฉนวนกันความรอนหุมตามความ จําเปนและเหมาะสม เพื่อมิใหเกิดอันตรายตอบุคคลหรือสิ่งของ ขอ 58 ตองจัดไมใหทอสงวัตถุไวไฟ อยูใกลเตาไฟ หมอน้ํา ทอไอน้ํา สายไฟฟาแรงสูง เครื่องยนต ไฟฟา สวิทชไฟฟา หรือสวนของเครื่องจักร ที่มีประกายไฟฟา หรือบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกวาปกติ ขอ 59 ตองวางทอสงวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด ในลักษณะที่จะไมทําใหเกิดการชํารุด เสียหาย ขอ 60 ตองดูแลรักษาลิ้นเปดปดตาง ๆ มิใหมีการรั่วซึม และตองมีเครื่องหมายแสดงการเปดหรือ ปดของลิ้นไวดวย ขอ 61 การเปด ปด ลิ้นที่ตองปฏิบัติไปตามลําดับ ตองมีกลไกควบคุมเพื่อมิใหเกิดอันตรายขึ้นได ขอ 62 ตองแยกภาชนะสําหรับบรรจุวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด แตละชนิดใหเปนสัดสวน ไมปะปนกัน และตองจัดทําปายชื่อวัตถุที่บรรจุติดไวที่ภาชนะทุกใบ ขอ 63 ภาชนะบรรจุวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด และอุปกรณตองเปนแบบแข็งแรง ทนทาน และปลอดภัยในการใชงาน กับตองดูแลรักษาใหอยูในสภาพเรียบรอยและปลอดภัยตอการใชงานอยูเสมอ ขอ 64 ภาชนะที่บรรจุวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟหรือวัตถุที่ระเหยเปนไอไดงายตองปดฝาอยางสนิท มิดชิด ขอ 65 ตองทําความสะอาดภาชนะที่ใชกับวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หลังจากใชงานแลวทุก ครั้ง ภาชนะบรรจุที่ไมตองการใชใหทําลายเสีย หามนําไปบรรจุวัตถุสิ่งของอื่น ๆ ขอ 66 ภาชนะบรรจุวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด ตองเปนแบบที่หยิบยกหรือขนยายไดดวย ความปลอดภัย


20 ขอ 67 ตองจัดใหคนงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อาจ เปนอันตราย หรือที่อาจทําใหเกิดฝุนละออง ความรอน แสงหรือเสียง ซึ่งอาจเปนอันตรายตอการปฏิบัติงาน ในหนาที่ สวมเครื่องปองกันอันตราย ตามความเหมาะสมตอการปฏิบัติงานนั้น ๆ ขอ 68 ตองจัดใหมีการอบรม แนะนํา ชี้แจงคนงานใหเขาใจถึงเหตุอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้นไดของ งานตาง ๆ ที่ตนปฏิบัติอยู ตลอดจนอธิบายใหรูถึงวิธีระมัดระวังปองกันอันตรายและการใชมาตรการแกไข อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานไดไนทันทีดวย ขอ 69 ตองไมยอมใหผูที่ไมมีหนาที่โดยตรง หรือผูซึ่งไมเขาใจดีถึงเหตุอันตรายของงานปฏิบัติงาน ที่มีอันตราย ขอ 70 ตองไมใหมีการรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มในบริเวณโรงงาน ซึ่งมีการปฏิบัติเกี่ยวกับ วัตถุมีพิษ ทั้งนี้ นอกเสียจากจะไดกระทําในหองอาหาร หรือโรงอาหารอยางถูกตองตามสุขลักษณะอนามัย โดยเฉพาะ ขอ 71 ตองใหคนงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ ลางมือและลางหนากอนรับประทานอาหาร และทําความสะอาดรางกายเมื่อเลิกงานแลว ขอ 72 ตองไมใหมีการพักอาศัยอยูในอาคารโรงงานหรือโรงเก็บ ขอ 73 ในการซอมเครื่องจักรตาง ๆ ที่ผูปฏิบัติงานอาจไดรับอันตรายจากวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุ ไวไฟ วัตถุระเบิด ตองใชผูที่มีความชํานาญในการปฏิบัติงานนั้น ๆ โดยเฉพาะ และตองสวมเครื่องปองกัน อันตรายตามความเหมาะสมดวย ในการซอมตองหยุดเครื่องจักรสวนอื่นที่อาจจะกอใหเกิดอันตรายได และ ใหผูที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของในขณะปฏิบัติงานออกจากบริเวณนั้น ขอ 74 ในกรณีที่มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงาน ตองหยุดงานสวนนั้น ๆ ทันทีคนงานซึ่งไมมี หนาที่ซอมแซมแกไขตองออกจากบริเวณนั้นโดยดวน และจัดใหมีการแกไขหรือระงับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น โดยใหผูที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานสวมเครื่องปองกันอันตรายตามความเหมาะสม

หมวดที่ 14< การประกอบกิจการโรงงานมิใหเกิดเหตุรําคาญ ออกโดยอาศัยอํานาจตามความใน (14) แหงมาตรา 39 ขอ 75 ตองทําการกําจัดกลิ่น เสียง ความสั่นสะเทือน ฝุนละออง เขมา เถาถาน ที่เกิดขึ้น จากโรงงานมิใหเปนที่เดือดรอนหรือเปนเหตุเสื่อมหรืออาจเปนอันตรายแกสุขภาพของผูอยูอาศัยใกลเคียง ขอ 76 ตองดูแลรักษาระบบเก็บเสียง ทอไอเสีย หมอพักของเครื่องตนกําลังใหอยูในสภาพ เรียบรอยตลอดเวลา ขอ 77 โรงงานที่มีการใชเตาหรือเครื่องจักรอื่นใด ซึ่งทําใหมีเขมาควันออกสูบรรยากาศ ตองปลอยออกทางปลองที่มีความสูงตามความจําเปนและเหมาะสม ความดําของเขมาควันที่ปากปลองตองไม


21 เกินรอยละสี่สิบของความดํามาตราฐานริงเกลมานน เวนแตในชวงระยะเวลาสั้นในขณะที่เริ่มติดเตาหรือติด เครื่อง เขี่ยขี้เถา เปาเขมา หรือเกิดขัดของขึ้นในระบบขจัดเขมาควัน

ใหไว ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2514 พลโท พ. ปุณณกันต รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ใหดูประกาศกระทรวงอุตสหกรรม ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2530) พ.ศ. 2512 แทน <

ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน


22

ประกาศกระทรวงมหาดไทย ความปลอดภัยในการทํางานเกีย่ วกับเครือ่ งจักร การใชเครือ่ งจักรทั่วไป --------------------------------ฯลฯ ขอ 2 ใหนายจางจัดใหลูกจางซึ่งทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร สวมใส หมวก ถุงมือ แวนตา หนากาก เครื่องปองกันเสียง รองเทาพื้นยางหุมสน หรือเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคลอื่น ๆ ตามสภาพและลักษณะ ของงาน และใหถือเปนระเบียบปฏิบัติงานของสถานประกอบการตลอดเวลาที่ลูกจางปฏิบัติงานนั้น ขอ 3 ใหนายจางดูแลลูกจางสวมใสเครื่องนุงหมใหเรียบรอยรัดกุม ไมขาดรุงริ่ง ในกรณีที่ทํางาน เกี่ยวกับไฟฟาจะตองใหลูกจางสวมใสเครื่องนุงหมที่ไมเปยกน้ํา ขอ 4 ใหนายจางดูแลมิใหลูกจาง ซึ่งมีผมยาวเกินสมควร และมิไดรวบหรือทําอยางหนึ่งอยางใดให อยูในลักษณะที่ปลอดภัย หรือสวมใสเครื่องประดับที่อาจเกี่ยวโยงกับสิ่งใดไดเขาทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ขอ 5 ใหนายจางจัดใหมีอุปกรณเพื่อปองกันอันตรายจากเครองจักรดังตอไปนี้ (1) เครื่องจักรที่ใชพลังงานไฟฟาตองมีสายดิน เพื่อปองกันกระแสไฟฟารั่วตามมาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยทางไฟฟา ของสํานักงานพลังงานแหงชาติทุกเครื่อง (2) เครื่องจักรที่ใชพลังงานไฟฟา ตองมีสายไฟฟาเขาเครื่องจักรโดยฝงเดินหรือลงมาจากที่ สูง ทั้งนี้ใหใชทอรอยสายไฟฟาใหเรียบรอย เวนแตใชสายไฟฟาที่มีฉนวนหุมเปนพิเศษ (3) เครื่องจักรสําหรับปมวัตถุ ซึ่งใชน้ําหนักเหวี่ยงใหติดตั้งตัวน้ําหนักเหวี่ยงไวสูงกวา ศรีษะผูปฏิบัติงานพอสมควร เพื่อไมใหเกิดอันตรายแกผูปฏิบัติงาน หรอใหจัดทําเครื่องปองกันอยางหนึ่ง อยางใดใหมีความปลอดภัยตอลูกจาง และจะตองไมมีสายไฟฟาอยูในรัศมีของน้ําหนักเหวี่ยง (4) เครื่องจักรสําหรับปมวัตถุ โดยใขชเทาเหยียบตองมีที่พักเทาและมีที่ครอบปองกันมิให เหยียบโดยไมตั้งใจ (5) เครื่องจักรสําหรับปมวัตถุ โดยใชมือปอนตองมีเครื่องปองกันมือใหพนจากแมปม หรือจัดหาเครื่องปอนวัตถุแทนมือ


23 (6) เครื่องจักรที่ใชพลังงานไฟฟาปมหรือตัดวัตถุที่ใชมือปอน ตองมีสวิทซสองแหงหางกัน เพื่อใหผูปฏิบัติงานตองเปดสวิทซพรอมกันทั้งสองมือ (7) เครื่องจักรชนิดอัตโนมัติ ตองมีสีเครื่องหมายปด – เปดที่สวิทซอัตโนมัติ ตามหลัก สากล และมีเครื่องปองกันมิใหสิ่งหนึ่งสิ่งใดกระทบสวิทซเปนเหตุใหเครื่องจักรทํางานโดยมิไดตั้งใจ (8) เครื่องจักรที่มีการถายทอดพลังงานโดยใชเพลา สานพาน ปุลเล ฟลายวีล ตองมี ตะแกรงเหล็กเหนียวครอบสวนที่หมุนได และสวนสงถายกําลังใหมิดชิด ถาสวนที่หมุนไดหรือสวนสงถาย กําลังสูงกวาสองเมตรตองมีตะแกรงหรือรั้วเหล็กเหนียวสูงไมต่ํากวาสองเมตรกั้นลอมใหมิดชิด สําหรับสายพานแขวนลอยที่มีความเร็วไมนอยกวาหารอยสี่สิบเมตรตอนาที หรือสายพานที่มีชวงยาว เกินกวาสามเมตร หรือสายพานที่กวางกวายี่สิบเซนติเมตร หรือสายพานโซ ตองมีที่ครอบรองรับซึ่งเปด ซอมแซมได (9) ใบเลื่อยวงเดือนที่ใชกับเครื่องจักร ซึ่งอาจจะเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานได ตองมีที่ ครอบใบเลื่อยสวนที่สูงเกินกวาโตะหรือแทน (10) เครื่องจักรที่ใชเปนเครื่องลับ ฝน หรือแตงผิวโลหะ ตองมีเครื่องปดบังประกายไฟ หรือเศษวัตถุในขณะใชงาน ขอ 6 กอนการติดตั้งหรือซอมเครื่องจักร หรือเครื่องปองกันอันตรายของเครื่องจักร ใหนายจางทํา ปายปดประกาศไว ณ บริเวณติดตั้งหรือซอมแซมและใหแขวนปายหามเปดสวิทซดวย ขอ 7 ใหนายจางดูแลใหลูกจางทํางานเกี่ยวกับเครื่องมือกลดังตอไปนี้ (1) ทุกวันกอนนําเครื่องมือกลออกใช ตองตรวจดูใหแนใจวาเครื่องมือกลนั้นอยูใ นสภาพใช การไดดีและปลอดภัย (2) เครื่องมือกลที่ใชขับเคลื่อนไดจะตองมีสภาพที่ผูใชงานสามารถมองเห็นขางหลังได เวน แตจะมีสัญญาณเสียงเตือนหรือมีผูบอกสัญญาณเมื่อถอยหลัง (3) ไมนํารถยก รถปนจั่น หรือเครื่องมือสําหรับยกอื่น ๆ ไปใชปฏิบัติงานใกลสายหรือ อุปกรณไฟฟาที่มีกระแสไฟฟา ใกลกวาระยะหางที่ปลอดภัย เวนแต ก. จะมีแผงฉนวนกั้นระหวางสวนที่มีกระแสไฟฟากับเครื่องมือกลนั้น ข. เครื่องมือกลนั้นไดตอสายดินไวเรียบรอยแลว ค. มีฉนวนหุมอยางดี หรือ ง. ใชมาตรการความปลอดภัยในการใชเครื่องมือกลนั้นเชนเดียวกับวามีกระแสไฟฟา อยู ขอ 8 หามมิใหนายจางหรือยอมใหลูกจางใชเครองมือกลทํางานเกินกวาพิกัดที่ผูผลิตกําหนดไว สําหรับเครื่องมือกลนั้น ขอ 9 ใหนายจางจัดใหมีทางเดินเขา – ออกจากที่สําหรับปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องจักร มีความกวาง ไมนอยกวาแปดสิบเซนติเมตร


24 ขอ 10 ใหนายจางจัดทํารั้ว คอดกั้น หรือเสนแสดงเขตอันตราย ณ ที่ตั้งของเครื่องจักรหรือเขตที่ เครื่องจักรทํางานที่อาจเปนอันตรายใหชัดเจนทุกแหง ฯลฯ

หมวด 3 การคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ขอ 19 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับงานเชื่อมแกส และงานเชื่อมไฟฟา สวมแวนตาลด แสง หรือกระบังหนาลดแสง ถุงมือหนัง รองเทายางหุมสน และแผนปดหนาอกกันประกายไฟ ตลอดเวลาที่ ลูกจางทํางาน ขอ 20 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับงานลับหรือไสโลหะดวยหินเจียระไน สวมแวนตา หรือหนากากชนิดใส ถุงมือผา และรองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน ขอ 21 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับงานกลึงโลหะ กลึงไม งานไสโลหะ งานไสไม งานตัดโลหะ สวมแวนตาหรือหนากากชนิดใส ถุงมือผา รองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน ขอ 22 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับงานปมโลหะ สวมแวนตาชนิดใส ถุงมือผา และ รองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน ขอ 23 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับงานชุบโลหะ สวมถุงมือยางและรองเทาพื้นยางหุม สน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน ขอ 24 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับงานพนสี สวมถุงมือยางและรองเทาพื้นยาง หุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน ขอ 25 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับงานยกขนยาย ติดตั้ง สวมรองเทาหนังหัวโลหะ ถุง มือหนัง และหมวกแข็ง ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน ขอ 26 ใหนายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานควบคุมเครื่องยนต เครื่องจักร หรือเครื่องมือกล สวมหมวก แข็ง รองเทาพื้นยางหุมสน ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางาน ฯลฯ

ความปลอดภัยในการทํางานเกีย่ วกับภาวะแวดลอม ฯลฯ ความรอน ขอ 2 ภายในสถานที่ประกอบการที่มีลูกจางทํางานอยูจะมีสภาพความรอนที่ทําใหอุณภูมิของ รางกายลูกจางสูงเกินกวา 38 องศาเซลเซียส มิได


25 ขอ 3 ในกรณีที่ภายในสภานที่ประกาอบการมีสภาพความรอนที่ทําใหอุณหภูมิของรางกายของ ลูกจางสูงกวา 38 องศาเซลเซียส ใหนายจางดําเนินการแกไขปรับปรุง เพื่อลดสภาพความรอนนั้น หากแกไข หรือปรับปรุงไมได นายจางจะตองจัดใหลูกจางมีเครื่องปองกันความรอน มิใหอุณหภูมิของรางกายลูกจางสูง กวา 38 องศาเซลเซียส ขอ 4 ในกรณีที่อุณหภูมิของรางกายลูกจางสูงกวา 38 องศาเซลเซียส นายจางจะตองใหลูกจาง หยุดพักชั่วคราว จนกวาอุณหภูมิของรางกายลูกจางจะอยูในสภาพปกติ ฯลฯ แสงสวาง ขอ 7 ภายในสถานที่ประกอบการที่ใหลกู จางทํางานดังตอไปนี้ (1) งานที่ไมตองการความละเอียด เชน การขนยาย การบรรจุ ตองมีความเขมของ แสงสวางไมนอยกวา 50 ลักซ (2) งานที่ตองการความละเอียดเล็กนอย เชน การผลผลิตหรือการประกอบชิ้นงานอยาง หยาบ ๆ ตองมีความเขมของแสงสวางไมนอยกวา 100 ลักซ (3) งานที่ตองการความละเอียดปานกลาง เชน การเย็บผา เย็บหนัง ตองมีความ เขมของแสงไมนอยกวา 200 ลักซ (4) งานที่ตองการความละเอียดสูง เชน การกลึง หรือแตงโลหะ การซอมแซมเครื่องจักร ตองมีความเขมของแสงสวางไมนอยกวา 300 ลักซ ฯลฯ เสียง ขอ 13 ภายในสถานที่ประกอบการที่ใหลูกจางคนใดคนหนึ่งทํางานดังตอไปนี้ (1) ไมเกินวันละเจ็ดชั่วโมง ตองมีระดับเสียงที่ลูกจางไดรับติดตอกันไมเกินเกาสิบเอ็ดเดซิ เบล (เอ) (2) เกินกวาวันละเจ็ดชั่วโมง แตไมเกินแปดชั่วโมง จะตองมีระดับเสียงที่ลูกจางไดรับ ติดตอกันไมเกินเกาสิบเดซิเบล (เอ) (3) เกินวันละแปดชั่วโมง จะตองมีระดับเสียงที่ลูกจางไดรับติดตอกันไมเกินแปดสิบเดซิ เบล (เอ) ขอ 14 นายจางจะตองใหลูกจางทํางานในที่ที่มีระดับเสียงเกินกวาหนึ่งรอยสี่สิบเดซิเบล (เอ) มิได ขอ 15 ภายในสถานที่ประกอบการที่มีระดับเสียงที่ลูกจางไดรับติดตอกันเกินกวาที่กําหนดไวใน ขอ 13 ใหนายจางแกไขหรือปรับปรุงสิ่งที่เปนตนกําเนิดของเสียงหรือทางผานของเสียง มิใหมีเสียงดังเกินกวาที่ กําหนดไวในขอ 13


26 ขอ 16 ในกรณีที่ไมอาจปรับปรุงหรือแกไขตามความในขอ 15 ไดใหนายจางจัดใหลูกจางสวมใส ปลั๊กลดเสียง หรือครอบหูลดเสียงตามมาตรฐานที่กําหนด ฯลฯ

เรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม (สารเคมี) ฯลฯ

หมวด 1 สารเคมี ขอ 2 ตลอดระยะเวลาทํางานปกติภายในสถานที่ประกอบการที่ใหลูกจางทํางาน จะมีปริมาณความ เขมขนของสารเคมีในบรรยากาศของการทํางานโดยเฉลี่ยเกินกวาที่กําหนดไวมิได ขอ 3 ไมวาระยะเวลาใดของการทํางานปกติ หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานในที่ที่มีปริมาณ ความเขมขนของสารเคมีในบรรยากาศของการทํางานเกินกวาที่กําหนดไว ขอ 4 หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานในที่ที่มีปริมาณความเขมขนของสารเคมีเกินกวาที่ก่ําหนด ไว ขอ 5 หามมิใหนายจางใหลูกจางทํางานในที่ที่มีปริมาณฝุนแรในบรรยากาศของการทํางาน ตลอดเวลาทํางานปกติโดยเฉลี่ยเกินกวาที่กําหนดไว ขอ 6 ภายในสถานที่ประกอบการที่มีการใชสารเคมีที่กําหนดไว ซึ่งสภาพของการใชนั้นอาจจะเปน อันตรายตอผูใชหรือผูอยูใกลเคียง ใหนายจางจัดหองหรืออาคารสําหรับการใชสารเคมีไวโดยเฉพาะ ขอ 7 ในกรณีที่ภายในสถานที่ประกอบการที่มีสารเคมีหรือฝุนแรฟุงกระจายสูบรรยากาศของการ ทํางานเกินกวาที่กําหนดไว ใหนายจางดําเนินการแกไขหรือปรับปรุงเพื่อลดความเขมขนของสารเคมีหรือ ปริมาณฝุนแรมิใหเกินกวาที่กําหนดไว หากแกไขหรือปรับปรุงมิได นายจางจะตองจัดใหลูกจางสวมใส อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล ตามมาตรฐานที่กําหนดไว ตลอดเวลาที่ลูกจางทํางานเกี่ยวกับ สารเคมีที่มีลักษณะ หรือปริมาณที่อาจจะเปนอันตรายตอสุขภาพรางกายของลูกจางดังนี้ (1) ฝุนละออง ฟูม แกส หรือไอเคมี ตองสวมใสที่กรองอากาศหรือเครื่องชวยหายใจที่ เหมาะสม (2) สารเคมีในรูปของเหลวที่เปนพิษ ตองสวมใสถุงมือยางยาว รองเทาพื้นยางหุมแข็ง กระบังหนาชนิดใส และที่กันสารเคมีกระเด็นถูกรางกาย (3) สารเคมีในรูปของของแข็งที่เปนพิษ ตองสวมใสถุงมือยางและรองเทาพื้นยางหุมสน ฯลฯ

ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา


27 ขอ 3 นายจางจะตองจัดใหมีการตรวจสอบสภาพของสายไฟฟาและสภาพของอุปกรณไฟฟา ถาหาก พบวาชํารุดหรือมีกระแสไฟฟารั่ว ใหซอมแซมหรือเปลี่ยนใหมทันที ขอ 4 ใหนายจางจัดใหมีปายเตือนอันตราย ติดตั้งไวในบริเวณที่จะเกิดอันตรายจากไฟฟาใหเห็นได อยางชัดเจน ขอ 5 หามมิใหนายจางใหลูกจางเขาใกล หรือนําสิ่งที่เปนตัวนํา ซึ่งไมมีที่ถือเปนฉนวนอยางดีหุม อยูเขาใกลสิ่งที่มีไฟฟานอยกวาระยะหางที่กําหนดไว ยกเวน (1) ลูกจางผูนั้นสวมใสเครื่องปองกันอันตรายจากไฟฟา ซึ่งเปนฉนวนที่ใชตานทานแรงดัน สูงพอกับสวนที่เปนไฟฟานั้น หรือ (2) ไดปดหรือนําฉนวนมาหุมสิ่งที่เปนไฟฟา โดยฉนวนที่หุมนั้นปองกันแรงดันไฟฟานั้น ๆ ได หรือ (3) ลูกจางที่ปฏิบัติงานกับสิ่งที่มีไฟฟาดวยเทคนิคการปฏิบัติงานดวยมือเปลา และอยู ภายใตการควบคุมจากผูที่ไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (แขนงไฟฟากําลัง) ขอ 6 ในกรณีที่มีการปฏิบัติงานตรวจสอบ ซอมแซม ติดตั้งไฟฟา นายจางตองผูกปายหามสับ สวิทซ พื้นสีแดงไวที่สวิทซ หรือใชกุญแจปองกันการสับสวิทซไว ขอ 7 ในกรณีที่ใชลมกําลังดันสูงทําความสะอาดอุปกรณที่มีไฟฟาอยู ตองใชทอและหัวฉีดที่เปน ฉนวน ขอ 8 ไฟฉายที่นายจางจัดใหลูกจางที่ทํางานเกี่ยวกับไฟฟา ตองเปนไฟฉายชนิดที่เปนกระบอกไฟ ฉายมีฉนวนหุมตลอด ขอ 9 หามมิใหลูกจางสวมใสเครื่องนุงหมที่เปยกน้ําหรือเปนสื่อไฟฟาปฏิบัติงานขณะมีไฟฟา (Hot Line) ยกเวนเมื่อมีแรงดันไฟฟาตอกวา 50 โวลท หรือสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล หรือใชเครื่องมือที่เปนฉนวน ขอ 10 เทปสําหรับวัดที่นายจางจัดใหลูกจางใชปฏิบัติงานใกลกับสิ่งที่มีไฟฟาตองเปนเทปชนิดที่ไม เปนโลหะ ฯลฯ การใชอุปกรณปองกันอันตรายจากไฟฟา ขอ 77 นายจางตองจัดหาอุปกรณปองกันอันตรายจากไฟฟา เชน ถุงมือยาง แขนเสื้อยาง ถุงมือ หนัง ถุงมือทํางาน แผนยาง ผาหมยาง ฉนวนครอบลูกถวย ฉนวนหุมสาย หมวกแข็งกันไฟฟา ใหแก ลูกจางที่จะปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาตามความเหมาะสมของงาน ในเมื่ออุปกรณไฟฟาเหลานั้นมีแรงดันไฟฟา มากกวา 50 โวลทหรือในกรณีที่อุปกรณไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟาต่ํากวา 50 โวลท แตมีโอกาสที่จะเกิดแรงดัน สูงขึ้นในกรณที่ผิดปกติ ขอ 78 ลูกจางที่ตองขึ้นปฏิบัติงานสูงกวาพื้นดินตั้งแต 4 เมตรขึ้นไป นายจางจะตองจัดหาเข็มขัด นิรภัย (Safety Belt) หมวกแข็งชนิด ค. ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องมาตรฐานของอุปกรณ


28 คุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล วาดวยหมวกแข็งและอุปกรณอื่น ๆ ที่เหมาะสมกับงานนั้น ๆ ใหลูกจาง สวมใสตลอดเวลาที่ปฏิบัติงานอยู เวนแตอุปกรณนั้นจะทําใหลูกจางเสี่ยงอันตรายมากกวาเดิมในกรณีนี้ใหใช อุปกรณเพื่อความปลอดภัยอยางอื่นแทน ขอ 79 นายจางตองจัดหารองเทาพื้นยางหุมขอชนิดมีสน ใหกับลูกจางสวมใสตลอดเวลาของการ ทํางาน เบ็ดเตล็ด ขอ 83 นายจางตองจัดใหมีการฝกอบรมใหกับลูกจางที่ทํางานเกี่ยวของกับไฟฟา มีความรูและ ความสามารถในเรื่องตอไปนี้ (1) วิธีปฏิบัติเมื่อมีลูกจางประสบอันตรายจากไฟฟา (2) การปฐมพยาบาลและการชวยชีวิตโดยวิธีใชปากเปาอากาศเขาทางปากหรือจมูกของผู ประสบอันตราย และวิธีนวดหัวใจจากภายนอก ขอ 84 ถาปฏิบัติงานในเวลากลางคืน นายจางตองจัดใหมีแสงสวางในบริเวณที่ปฏิบัติงานอยาง เพียงพอ โดยใหเปนไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องภาวะแวดลอมเกี่ยวกับเสียงแสง ฯลฯ อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล พธ.ทร. ไดกําหนดอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลเพื่อใหขาราชการและลูกจางของ ทร. ใช ปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกล, ไฟฟา และสารเคมี เพื่อเปนการปองกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน โดย จัดแบงออกเปนอุปกรณหลัก 10 รายการ คือ 1. อุปกรณปองกันดวงตา มีแวนปองกัน, แวนครอบปองกันสารเคมี, แวนครอบสําหรับงานหลอม โลหะ และแวนครอบสําหรับงานเชื่อม 2. อุปกรณปองกันใบหนา มีโลพลาสติกปองกันใบหนา, หมวกครอบทําดวยโลหะ, โลบังหนา ชนิดมือถือ, หมวกครอบสําหรับงานเชื่อม และหมวกครอบถึงคอปองกันกรด 3. อุปกรณปองกันเทา มีรองเทาไรโลหะ, รองเทานิรภัยพรอมครอบโลหะหลังเทา และรองเทาหุม ขอ 4. อุปกรณปองกันขา มีกระบังหุมขา 5. อุปกรณปองกันศีรษะ มีหมวกนิรภัย (หมวกพลาสติกแข็งสีตามที่กําหนด คือ สีขาว, สีฟา, สีน้ําเงิน, สีสม, สีแดง และสีเหลือง 6. อุปกรณปองกันหู มีปลั๊กอุดหูและครอบหูลดเสียง 7. อุปกรณปองกันนิ้วและฝามือ มีถุงมือใยหิน, ถุงมือตาขายโลหะ, ถุงมือยางใชเกี่ยวกับไฟฟา, ถุงมือยางนิโอพลินและไวนิล, ถุงมือหนังตานประกายไฟ และถุงมือผาหรือฝาย 8. อุปกรณปองกันลําตัว มีเสื้อกันความรอน, ชดพนทราย และปลอกแขนหนัง 9. อุปกรณชวยหายใจ มีแบบใชแผนกรองอากาศและแบบใชแผนกรองฝุน


29 10. เข็มขัดนิรภัย มีเข็มขัดนิรภัยครึ่งเทียมลากและเข็มขัดนิรภัยชวยชีวิตคนหมดสติ กําหนดมาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล อุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล จะตองมีคุณสมบัติไดมาตรฐานขั้นต่ํา ดังตอไปนี้ 1. หมวกแข็ง จะตองมีน้ําหนักไมเกินสี่รอยยี่สิบสี่กรัม ตองทําดวยวัตถุที่ไมใชโลหะ และตองมี ความตานทานสามารถทนแรงกระแทกได ไมนอยกวาสามรอยแปดสิบหากิโลกรัม ภายในหมวกจะตองมี รองหมวกทําด ว ย หนั ง พลาสติ ก ผ า หรือ วัตถุ อื่น ที่ คลา ยกัน และอยูหางผนั ง หมวกไมนอ ยกว า หนึ่ ง เซ็นติเมตร ซึ่งสามารถปรับระยะไดตามขนาดศีรษะของผูใช เพื่อปองกันศีรษะกระทบกับผนังหมวก 2. ที่สวมรัดผมหรือตาขายคลุมผม ตองทําดวยพลาสติกผา หรือวัตถุที่คลายกัน หรือใชสวมหรือ คลุมผมแลวสั้นเสมอคอ 3. แวนตาหรือหนากากใส ตองมีตัวแวนหรือหนากากทําดวยพลาสติกใสมองเห็นไดชัด สามารถ ปองกันแรงกระแทกได กรอบของแวนตาตองมีน้ําหนักเบา 4. แวนตาลดแสง ตัวแวนตองทําดวยกระจกสี ซึ่งสามารถลดความจาของแสงลงใหอยูในระดับที่ไม เปนอันตรายตอสายตา 5. กระบังหนา ตัวกระบังตองทําดวยกระจกสีซึ่งสามารถลดความจาาของแสงลงใหอยูในระดับที่ไม เปนอันตรายตอสายตา ตัวกรอบตองมีน้ําหนักเบา และตองไมติดไฟงาย 6. ปลั๊กลดเสียง (EAR PLUG) ตองทําดวยพลาสติก หรือยาง หรือวัตถุอื่น ใชใสชองหูทั้งสองขาง ตองสามารถลดระดับเสียงไดไมนอยกวา 15 เดซิเบล 7. ครอบหูลดเสียง (EAR MUFF) ตองทําดวยพลาสติกหรือยาง หรือวัตถุอื่น ใชครอบหูทั้งสองขาง ตองสามารถลดระดับเสียงลงไดไมนอยกวา 25 เดซิเบล 8. ถุงมือยาง ตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมกับนิ้วมือไดทุกนิ้ว 9. ถุงมือผา หรือวัตถุอื่นที่มีใยโลหะปน ตองมีความยาวหุมถึงขอมือ มีลักษณะใชสวมกับนิ้วมือได ทุกนิ้ว 10. รองเทาหนังหัวโลหะ ปลายรองเทาจะตองมีโลหะแข็งหุม สามารถทนแรงกดไดไมนอยกวาสี่ รอยสี่สิบหกกิโลกรัม 11. ถุงมือยางที่ใชกับงานเคมี ตองทําดวยยางหรือวัตถุอื่นที่คลายกัน มีความยาวหุมถึงขอมือมี ลักษณะใชสวมกับนิ้วมือไดทุกนิ้ว มีความเหนียวไมฉีกขาดงาย สามารถกันน้ําและสารเคมีได 12. รองเทายางหุมแข็ง ตองทําดวยยางหรือยางผสมวัตถุอื่น เมื่อสวมแลวมีความสูงไมนอยกวาครึ่ง แขง ไมฉีกขาดงาย สามารถกันน้ําและสารเคมีได 13. กระบังหนาชนิดใส ตัวกระบังตองทําดวยพลาสติกใสหรือวัตถุอื่นที่มีลักษณะคลายกันมองเห็น ไดชัด สามารถปองกันอันตรายจากสารเคมีกระเด็นหรือหกรด และทนแรงกระแทกได ตัวกรอบตองมีน้ําหนักเบา และตองไมติดไฟงาย


30 14. ที่กรองอากาศสําหรับใชครอบจมูกและปากกันสารเคมี ตองสามารถลดปริมาณความเขมขนของ สารเคมีมิใหเกินกวาที่กําหนดได 15. ที่กรองอากาศสําหรับใชครอบจมูกและปากกันฝุนแร ตองสามารถลดปริมาณฝุนแรไมใหเกิน กวาที่กําหนดได 16. เครื่องชวยหายใจที่ใชกับ ฟูม แกส หรือไอเคมี ตองเปนแบบหนากากครอบเต็มหนาประเภทที่ มีถังอากาศสําหรับหายใจอยูในตัว หรือประเภทที่มีทออากาศตอมาจากที่อื่น 17. ที่กันอันตรายจากสารเคมีกระเด็น ตองทําดวยพลาสติก หนัง หนังเทียม หรือวัตถุอื่นที่สามารถ กันอันตรายจากสารเคมีได

กฎหมายเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายจากเครื่องจักร ในสวนของกฎหมายที่เกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตราย ฯ นั้นมีหนวยงานที่รับผิดชอบ โดยตรงก็คือ กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย และกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ดังนี้ 1. กฎหมายของกรมแรงงานที่เกี่ยวของกับอุปกรณปองกันอันตราย ฯ สําหรับกรมแรงงาน ฯ นั้น ไดมีประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง ความปลอดภัยในการทํางาน เกี่ยวกับเครื่องจักร โดยอาศัยอํานาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉ บั บ ที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2515 ซึ่งไดกําหนดใหมีการจัดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามียและความปลอดภัย สําหรับลูกจางไวในความทั่วไป หมวดที่ 1 การใชเครื่องจักรทั่วไป โดยเฉพาะขอ 5 โดยใหนายจางจัดใหมี เครื่องปองกันอันตรายจากเครื่องจักร (อุปกรณปองกันอันตราย ฯ) สรุปสาระสําคัญมีดังนี้ 1) เครื่องจักรที่ใชพลังงานไฟฟา ตองมีสายดินเพื่อปองกันกระแสไฟฟารั่วและใชทอรอย สายไฟฟาใหเรียบรอย เวนแตใชสายไฟฟาชนิดที่มีฉนวนหุมเปนพิเศษ 2) เครื่องจักรสําหรับปมวัตถุซึ่งใชน้ําหนักเหวี่ยงใหติดตัวน้ําหนักเหวี่ยงไวสูงกวาศีรษะ ผูปฏิบัติงานพอสมควร เพื่อไมใหเกิดอันตรายแกผูปฏิบัติงานหรือใหจัดทําเครื่องปองกันอยางหนึ่งอยางใดให มีความปลอดภัยตอลูกจาง และจะตองไมมีสายไฟฟาอยูในรัศมีของน้ําหนักเหวี่ยง สําหรับเครื่องจักรสําหรับ ปมวัตถุโดยใชเทาเหยียบตองมีที่พักเทา และมีที่ครอบปองกันมิใหเหยียบโดยไมตั้งใจ และเครื่องจักรสําหรับ ป ม วั ต ถุ โ ดยใช มื อ ป อ น ต อ งมี เ ครื่ อ งป อ งกั น มื อ ให พ น จากแม ป ม หรื อ จั ด หาเครื่ อ งป อ นวั ต ถุ แ ทนมื อ เครื่องจักรที่ใชพลังงานไฟฟาปมหรือตัดวัตถุที่ใชมือปอนตองมีสวิทซสองแหงหางกันเพื่อใหผูปฏิบัติงานตอง เปดสวิทซพรอมกันทั้งสองมือ 3) เครื่องจักรที่มีการถายทอดพลังงานโดยใชเพลา สายพาน ปุลเล ไฟลวีล ตองมีตะแกรงเหล็ก เหนียวครอบสวนที่หมุนไดและสวนสงถายกําลังใหมิดชิด ถาสวนที่หมุนไดหรือสวนสงถายกําลังสูงกวาสอง เมตร ตองมีตะแกรงหรือรั้วเหล็กเหนียวสูงไมต่ํากวาสองบเมตรกั้นลอมใหมิดชิด


31 สําหรับสายพานแขวนลอยที่มีความเร็วไมนอยกวา 540 เมตรตอนาทีหรือสายพานที่มีชวงยาวเกิน กวา 3 เมตร หรือสายพานที่กวางกวา 20 เซนติเมตรหรือสายพานโซตองมีที่ครอบรองรับซึ่งเปดซอมแซมได 4) ใบเลื่อยวงเดือนที่ใชกับเครื่องจักรซึ่งอาจเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานไดตองมีที่ครอบใบเลื่อย สวนที่สูงเกินกวาพื้นโตะหรือแทน เครื่องจักรที่ใชเปนเครื่องลับ ฝน หรือแตงผิวโลหะ ตองมีเครื่องปดบัง ประกายไฟหรือเศษวัตถุ ในขณะใชงาน บทลงโทษสํ า หรั บ นายจ า งและลู ก จ า งที่ ฝ า ฝ น หรื อ ไม ป ฏิ บั ติ ต ามข อ กํ า หนดของ กระทรวงมหาดไทย ซึ่งออกตามความในขอ 2 ดังกลาวขางตน ตองระวางจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับ ไมเกิน สองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 2. กฎหมายของกรมโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับอุปกรณปองกันอันตราย ฯ ในสวนของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดระบุกฎหมายเกี่ยวกับเครื่อง ปองกันอันตรายจากเครื่องจักรอุปกรณปองกันอันตรายในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2512 มาตรา 39 วา ผู ไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน มีหนาที่กระทําการเกี่ยวกับเครื่องปองกันอันตราย ฯ คือ จะตอง รักษาโรงงานใหมั่นคงแข็งแรงมีสภาพอันปลอดภัยอยูเสมอตลอดจนดูแลรักษาเครื่องจักรใหมีสภาพมั่นคง แข็งแรงปลอดภัยเหมาะแกการใชและจัดใหมีการปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายที่อาจเกิดจากเครื่องจักร ฯ โดยจัดใหมีรั้วเครื่องกั้นหรือเครื่องปองกันอยางอื่นเพื่อความปลอดภัย นอกจากนี้ยังไดระบุไวโดยเฉพาะใน หมวด 12 เรื่องการปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายจากเครื่องจักรสรุปสาระที่สําคัญมีดังนี้ 1) เครื่องจักรใดที่ไดติดเครื่องปองกันอันตรายจากเครื่องจักรไวจะตองดูแลรักษาใหอยูในสภาพ เชนนั้นเสมอ และชิ้นสวนของเครื่องจักรที่มีการเคลื่อนไหว อันอาจเปนอันตรายก็จะตองมีเครื่องปองกัน อันตราย ฯ 2) ไฟลวีลตองมีฝาครอบ หรือตาขายเหล็กครอบชองกวางไมมากกวา 5 เซนติเมตรไฟลวีลที่ใช ในงานปกติหมุนไมเร็วกวา 500 รอบตอนาที จะตองจัดใหมีรั้วที่มั่นคงแข็งแรง กั้นสูงจากพื้นไมนอยกวา 100 เซนติเมตร นอกจากนั้น ถาไฟลวีลที่สูงจากพื้นที่ปฏิบัติงานหรือทางเดินตั้งแต 250 เซนติเมตรขึ้นไป อาจมี หรือไมมีเครื่องปองกันอันตราย ฯ ก็ได ขึ้นอยูกับพนักงานเจาหนาที่จะออกคําสั่ง 3) ตองจัดใหมีวิธีหยุดเดินเครื่องจักรไดในกรณีฉุกเฉิน จากที่ซึ่งอยูหางจากสวนที่เคลื่อนไหวของ เครื่องจักรในระยะที่ปลอดภัยแกการปฏิบัติและถาจําเปนตองมีทางเดินขามเพลาหรือที่ยึดเพลา ทางเดินนั้น ตองมีพื้นที่มั่นคงและมีราวกั้นอยางแข็งแรง สําหรับเพลา สายพาน ปุลเล และอุปกรณสงถายกําลังอื่นจะไมมี เครื่องปองกันอันตรายตามขอขางตนก็ได แตตองจัดใหอยูในบริเวณที่เหมาะสมกลาวคือ เปนบริเวณที่ปด ไมใหผูที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของเขาไปตลอดเวลาที่กําลังเดินเครื่องอยู ความสูงจากพื้นถึงเพดาน หรือวัสดุอนื่ ใด เหนือทางเดินไมนอยกวา 170 เซนติเมตร หองนั้นมีแสงสวางเพียงพอ พื้นแหง ราบเรียบ ไมลื่น มั่นคง แข็งแรง และมีเครื่องปองกันอันตรายตามทางเดินดวย


32 4) เพลาที่สูงจากพื้นที่ปฏิบัติงานหรือทางเดินไมมากกวา 250 เซนติเมตร ตองมีเครื่องปองกัน อันตรายที่มั่นคงแข็งแรงอยางใดอยางหนึ่ง กลาวคือเปนครอบปดยาวตลอดตัวเพลาโดยรอบหรืออยางนอย ที่สุดดานขางและดานบนหรือดานลางที่คนทํางานหรือสิ่งของอาจกระทบเพลาได หรือมีรั้วกั้นสูงจากพื้นไม นอยกวา 100 เซนติเมตร สําหรับขอตอเพลา คลัช ปุลเล และสายพานหรือโซสงถายกําลังที่อยูสูงจากพื้น หรือพื้นที่ปฏิบัติงานไมมากกวา 2.5 เมตร ตองมีเครื่องปองกันอันตรายอยางมั่นคงแข็งแรง 5) เกียรที่อยูในบริเวณที่อาจจะกอใหเกิดอันตรายได ตองมีเครื่องปองกันอันตรายอยางมั่นคง แข็งแรง กลา วคื อมี ครอบปดคลุมหมด หรือถา เปน เกีย ร ข นาดใหญ ตองทําคอกกั้น อย างมั่ น คงแข็ งแรง สําหรับปุลเลที่ใชกับสายพานแบนตองมีหนานูน เพื่อปองกันไมใหสายพานหลุด หรือปุลเลที่ติดอยูที่ปลาย เพลาลอย จะตองมีเครื่องปองกันไมใหสายพานหลุดออกมานอกเพลาได นอกจากนี้สายพานหรือโซสงถาย กําลังที่ใชงานจะตองมีครอบปดคลุมหมด หรือมีเครื่องปองกันอันตรายที่เหมาะสม ผูที่ฝาฝนไมปฏิบัติตามมาตรา 39 ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เจาหนาที่มีอํานาจตามมาตรา 36 คือออกคําสั่งเปนหนังสือใหเจาของสถานประกอบกิจการ 1) เปลี่ยนแปลงซอมแซม เกี่ยวกับโรงงานหรือเครื่องจักร 2) หยุดประกอบกิจการโรงงานทั้งหมดหรือบางสวนจนกวาจะไดปรับปรุงแกไขใหเปนที่ ปลอดภัย 3) ผูกมัดประทับตราเครื่องจักรมิใหทํางานตอไปในกรณีไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงาน เจาหนาที่ บทกําหนดโทษผูฝาฝนมาตรา 36 คือที่ระบุไวในมาตรา 48, 49 และ 50 คือ 1) ถาไมเปลี่ยนแปลง ซอมแซมเครื่องจักรหรือโรงงาน หรือสั่งใหหยุดประกอบกิจการ ฯ แลวยัง ดําเนินการอยูตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 2) กระทําการอยางใดอยางหนึ่งที่ทําใหเครื่องจักรที่ผูกพัดประทับตราไวแลวกลับทํางานไดอีก ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป ปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และถาขัดขวางหรือไมให ความสะดวกแกเจาหนาที่ก็จะไดรับโทษเชนเดียวกัน 3) ไมจัดใหมีการปองกันอุบัติเหตุ หรืออันตรายที่อาจเกิดจากเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่อง เคลื่อนยายหยิบยก หรือลําเลียงวัสดุ สายไฟฟา ทอไอน้ํา หรือวัตถุอันเปนสื่อสงกําลังในโรงงาน โดยไมจัด ใหมีรั้วกั้นหรือเครื่องปองกันอยางอื่นเพื่อความปลอดภัย จะตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรฐานหมอไอน้ํา ขณะที่ประเทศของเรายังไมมีมาตรฐานหมอไอน้ําสําหรับใชในการสรางหมอไอน้ํา ฉะนั้นหมอ ไอน้ําที่ใชขในประเทศจึงมีทั้งที่ไดมาตรฐานตางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา (ASME) ญี่ปุน (JIS) เยอรมัน (DIN) และ อังกฤษ (BS) ซึ่งเปนการสั่งเขามาจากตางประเทศโดยตรงหรือผลิตในประเทศตามมาตรฐานหมอ


33 ไอน้ําที่ไดลิขสิทธิ์จากบริษัทตางประเทศ หมอไอน้ําที่ผบิตไดมาตรฐานเหลานี้ไมนาเปนหวงในเรื่องอันตาาย เพราะมีการออกแบบที่ดี วัสดุที่ใชเหมาะสม กรรมวิธีการผลิตถูกตอง อุปกรณที่ใชเปนที่ยอมรับและมีการ ควบคุมการผลิตอยางใกลชิด สวนหมอไอน้ําที่ผลิตในประเทศสวนใหญไมไดมาตรฐานทั้งดานการออกแบบ วัสดุที่ใชสราง กรรมวิธีการผลิต สวนประกอบและอุปกรณความปลอดภัยสวนใหญจะมีใหพอใชงานได การ ควบคุมการผลิตไมมี และจากสถิติหมอไอน้ําระเบิดก็เกิดจากหมอไอน้ําที่สรางไมไดมาตรฐานเหลานี้นั่นเอง มาตรฐานหมอไอน้ําของแตละประเทศ ตางก็กําหนดขึคนมาบนพื้นฐานของความปลอดภัยในการ ใช ง านเป น หลั ก จะมี ค วามแตกต า งในรายละเอี ย ดบ า งแล ว แต ว า ประเทศใดจะเห็ น เหมาะสม ในที่ นี้ จ ะ ยกตัวอยางมาตรฐานหมอไอน้ําของ ASME และ JIS ซึ่งเปนที่ยอมรับทั่วไปวามีความปลอดภัยสูง และ นิยมใชในประเทศของเรา มาตรฐานหมอไอน้ําของ ASME มาตรฐานหมอไอน้ําของ ASME เปนมาตรฐานที่ใชอยางแพรหลายทั้งในสหรัฐอเมริกาและ ประเทศตาง ๆ ทั่วโลก สวนที่เกี่ยวของกับหมอไอน้ําอยูใน Section I Rules for construction of power boiler ซึ่งพอสรุปไดวามาตรฐานนี้ใหใชกับหมอไอน้ําที่มีความดันสูงกวา 15 ปอนดตอ ตารางนิ้ว (Psi) หรือหมอไอน้ําที่ผลิตน้ํารอนอุณหภูมิสูงกวา 250 องศาฟาเรนไฮท แตไมครอบคลุมถึงหมอ ไอน้ําชนิดที่บรรจุน้ําไมเกิน 6 แกลลอน หรือมีอุณหภูมิไมเกิน 350 องศาฟาเรนไฮท หรือไมเกิดไอน้ําใน ขด นอกจากนั้นกลาวถึง การออกแบบโครงสรางตาง ๆ ของหมอไอน้ําโดยเฉพาะบริเวณที่ตองรับความดัน สูง การติดตั้งสเตย (Stay) ยึดเพื่อเพิ่มความแข็งแรง การตอแผนเหล็กดวยวิธีการเชื่อมและใชหมุดย้ํา การ ตรวจและทดสอบความแข็งแรงของรอยตอตาง ๆ โดยเฉพาะบริเวณที่ใชการเชื่อมกําหนดคุณสมบัติของวัสดุที่ จะนํามาสรางหมอไอน้ําแตละจุดซึ่งจะมีความแตกตางกัน ขอแนะนําการเลือกใชลิ้นนิรภัย เครื่องดูระดับน้ํา เกจวัดความดันและปมน้ํา วิธีการติดตั้งวาลวจายไอ ทอน้ํา ทอจายไอ และทอถายน้ํา วิธีการตรวจสอบความ ปลอดภัยหมอไอน้ําดวยการอัดน้ํา (Hydrostatic test) เพื่อหาการรั่วหรือการแตกราวของโครงสรางหมอไอน้ํา มาตรฐานหมอไอน้ํา JIS สวนที่เกี่ยวของกับหมอไอน้ํา ไดแก JIS B8201 – 1967 Construction of steel boilers for land use โดยมีเนื้อหาของมาตรฐานที่สําคัญ ๆ เชน การออกแบบ การสราง การติดตั้ง การเลือกใชวัสดุและอุปกรณ เหมือนกับของ ASME แตจะมีความแตกตางกันในรายละเอียด กลาวคือมาตรฐานหมอไอน้ําของ JIS กับ ASME มีสวนที่แตกตางกัน 4 ประการสําคัญ คือ 1. มาตรฐานหมอไอน้ําของ JIS จะไมครอบคลุมถึงหมอไอน้ําที่เคลื่อนที่ได หมอไอน้ําไฟฟา หมอ ไอน้ําที่มีพื้นที่รับความรอนนอยกวา 3.5 ตารางเมตร และมีรูระบายไอน้ําไมเล็กกวา 25 มิลลิเมตร หมอไอน้ําที่ ผลิตน้ํารอนที่มีความดันไมเกิน 10 เมตร - น้ํา และมีพื้นที่รับความรอนไมเกิน 8 ตารางเมตร 2. ลิ้นนิรภัย JIS กําหนดวาหมอไอน้ําที่มีพื้นที่รับความรอนเกิน 50 ตารางเมตร จะตองมีลิ้นนิรภัย 2 ชุด สวน ASME ระบุวาตองมีลิ้นนิรภัย 2 ชุด เมื่อหมอไอน้ํามีพื้นที่รับความรอน 500 ตารางฟุต (47


34 ตารางเมตร) หรืออัตราการผลิตไอ 4,000 ปอนดตอชั่วโมง หรือหมอไอน้ําไฟฟาที่มชกําลังเกิน 1.100 กิโลวัตต 3. ปมน้ํา JIS กําหนดวาควรมีปมน้ํา 2 ชุด หรือมากกวา สวน ASME กําหนดใหมีปมน้ําไมนอยกวา 2 ชุด เมื่อหมอไอน้ํามีพื้นที่รับความรอนเกิน 500 ตารางฟุต 4. การตรวจทดสอบอัดน้ํา JIS กําหนดไวอยางละเอียดคือ หมอไอน้ําที่ความดันใชงานสูงสุดไมเกิน 4.3 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร (Kg/cm2 ) ใหอัดน้ําที่ความดัน 2 เทา ถาความดันใชงานสูงสุดอยูระหวาง 4.3 – 15 กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร สําหรับหมอไอน้ําที่มีความดันใชงานสูงกวา 15 กิโลกรัมตอตาราง เซนติเมตร ใหอัดน้ําที่ความดัน 1.5 เทา สวน ASME กําหนดไวใหอัดน้ําที่ความดัน 1.5 เทาของความดันใช งานสูงสุดที่ออกแบบไว ปจจุบัน (พ.ศ.2533) สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวง อุตสาหกรรมไดออกมาตรฐานหมอไอน้ํา (มอก. 855 – 2532) เปนมาตรฐานไมบังคับ อยางไรก็ดีควรมีการ กําหนดและประกาศใชใหไดกอนถึงแมวาจะไมเปนมาตรฐานบังคับก็ตาม เพื่อเปนหลักปฏิบัติสําหรับบริษัท ที่ประสงคจะไดเครื่องหมายมาตรฐาน และผูใชจะไดมีสิทธิเลือกใชของที่ผลิตในประเทศที่ไดมาตรฐาน สวนบริษัทใดที่ผลิตไมไดมาตรฐานก็จะเสื่อมความนิยมไปเองโดยอัตโนมัติ ถึงจุดหนึ่งทุกบริษัทก็สามารถ ผลิตหมอไอน้ําที่ไดมาตรฐานเหมือนกัน เมื่อถึงเวลานั้นการประกาศใหหมอไอน้ําเปนเครื่องจักรที่ตองสราง ตามมาตรฐานก็สามารถปฏิบัติได การออกมาตรฐานหมอไอน้ําถาไมสามารถดําเนินการใหครอบคลุมหมอไอ น้ําทุกแบบทุกชนิด ก็ควรเรงออกมาตรฐานหมอไอน้ําเฉพาะแบบทอไฟกอนเพราะมีอันตรายสูง จากสถิติการ ระเบิดสูงกวาหมอไอน้ําแบบทอน้ํากวา 20 เทา และการระเบิดก็รุนแรงกวาดวย

มาตรฐานภาชนะบรรจุกาซ ป จ จุ บั น ประเทศของเรามี ก ารนํ า ก า ซชนิ ด ต า ง ๆ มาใช อ ย า งแพร ห ลายทั้ ง ในบ า น โรงงาน อุตสาหกรรม โรงพยาบาล และในรถยนต ปรากฏวา ภาชนะบรรจุกาซหลายชนิดสรางขึ้นมาอยางไมได มาตรฐาน จึ งก อ ให เ กิ ด อั น ตรายตอ ผู ใ ช ด ว ยเหตุ นี้ สํา นั ก งานมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑอุ ต สาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสหากรรม จึงไดกําหนดมาตรฐานสําหรับภาชนะบรรจุกาซขึ้นมา สําหรับภาชนะบรรจุกาซที่มี อันตรายหรือไวไฟ เชน กาซปโตรเลียม กําหนดใหเปนมาตรฐานบังคับ เพราะฉะนั้นโรงงานใดจะสราง ตองดําเนินการตามมาตรฐานกําหนด แตยังมีภาชนะบรรจุกาซบางชนิด เชน ทอออกซิเจน ทอไนตรัส ออกไซด และทอไนโตรเจน กําหนดเปนมาตรฐานไมบังคับ นั่นคือโรงงานใดจะสรางตามมาตรฐานหรือไม ก็ได สําหรับภาชนะบรรจุกาซมีมาตรฐานที่สําคัญมีดังนี้ มาตรฐานถังกาซปโตรเลียมเหลว (มอก. 27 – 2528) มาตรฐานถังกาซปโตรเลียมเหลว (มอก. 27 – 2528) เปนมาตรฐานบังคับใชสําหรับถังที่มีความจุ ตั้งแต 1 – 500 ลิตร แตไมครอบคลุมถึงกาซปโตรเลียมเหลว สําหรับรถยนต ถังแบงออกเปน 2 แบบ คือ ถัง


35 สองสวนและถังสามสวน แตมีความจุ 14 ขนาด วัสดุที่สรางเปนเหล็กกลาเนื้อแนน (Killed steel) มี สวนประกอบทางเคมีตรงตามที่กําหนด ถังทุกใบเมื่อขึ้นรูปและเชื่อมสวนตาง ๆ แลว ตองมาผานกรรมวิธีทาง ความรอน (Heat treatment) เพื่อลดความเคนในเนื้อเหล็ก มีลิ้นหรือวาลวขนาดเดียวกับคอถังและมีกล อุปกรณนิรภัยดวย เพื่อความปลอดภัยและสะดวกในการขนสงถังตองมีโกรงกําบังลิ้น ฝาครอบลิ้นหรือจุกอุด ลิ้นอยางใดอยางหนึ่ง ถังเมื่อใชงานครบ 5 ป ตองนํามาตรวจสอบความปลอดภัย ตามมาตรฐานการใชและ การซอมถังกาซปโตรเลียมเหลว (มอก. 151 – 2528) ซึ่งมีการตรวจสอบ 5 วิธี คือ ตรวจพินิจภายนอก ตรวจ พินิจภายใน ชั่งน้ําหนัก ตรวจการรั่วซึม และตรวจทดสอบโดยการอัดน้ํา ถาไมผานตามเกณฑที่กําหนดหาม นํากลับมาใช การตรวจสอบเปนหนาที่ของโรงงานบรรจุกาซและเมื่อตรวจผานแลวจะทําเครื่องหมายไวที่ถัง มาตรฐานถังกาซปโตรเลียมเหลวสําหรับเครื่องยนตสันดาปภายใน (มอก. 370 – 2524) มาตรฐานถังกาซปโตรเลียมเหลวสําหรับเครื่องยนตสันดาปภายใน (มอก. 370 – 2524) เปนมาตรฐาน บังคับ ครอบคลุมถังที่มีความจุไมเกิน 500 ลิตร (ลูกบาศกเดซิเมตร) และมีความดันใชงาน 2.55 เมกาปาส กาล วัสดุที่ใชสรางเปนเหล็กกลามีเนื้อเหล็กคุณภาพดีมีสวนประกอบทางเคมีตามที่กําหนด มีสวนประกอบ และอุปกรณที่สําคัญ ๆ ดังนี้ ติดตั้ง ลิ้นบรรจุ ลิ้นจายกาซ เครื่องวัดปริมาณ เครื่องวัดระดับของเหลวคงที่ (ชองกระจก)ลิ้นนิรภัย ลิ้นควบคุมการบรรจุเกิน และโกรงกําบังลิ้นหรือฝาครอบลิ้น ถังตองไดรับการ ตรวจสอบทุก ๆ 5 ป ตาม มอก. 151 – 2528 วิธีการตรวจเชนเดียวกับการตรวจถังกาซปโตรเลียมเหลว จะมี ความแตกตางกันตรงความดันที่ใชทดสอบดวยการอัดน้ํา ของถังกาซปโตรเลียมเหลวกําหนดไว 2 เทาของ ความดันใชงานสูงสุด แตถังกาซปโตรเลียมสําหรับเครื่องยนตสันดาปภายในกําหนดไว 3.30 เมกาปาสกาล มาตรฐานภาชนะบรรจุกาซทนความดันแบบไมมีตะเข็บ (มอก. 359 – 5230) มาตรฐานภาชนะบรรจุกาซทนความดันแบบไมมีตะเข็บ (มอก. 359 – 5230) เปนมาตรฐานที่ไม บังคับแตใชเปนแนวทางสําหรับโรงงานที่สรางหรือใชปฏิบัติอยางถูกตองโดยมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานนี้ ครอบคลุมทอที่มีขนาดบรรจุ 3.4 – 68 ลูกบาศกเดซิเมตร (ลิตร) และความดันกาซที่ใชบรรจุไมเกิน 25 เมกา ปาสกาล วัสดุที่ใชสรางเปนเหล็กกลาคุณภาพดีและมีสวนประกอบทางเคมีตรงตามที่กําหนด การทําทอใหใช วิธีการอัดเหล็กกลาผานแมพิมพ (Steel pipe extruded) หรือทําจากทอเหล็กเกลาไมมีตะเข็บ ที่กนทอปดดวย การทุบ (Forging) หรือการเชื่อมปดสวนภายในหรือภายนอก แลวนํามาผานกรรมวิธีทางความรอน ทอตองมี ลิ้นพรอมกลอุปกรณนิรภัย (Safety device) ฝาครอบลิ้นและฐานทอ เปนตน มาตรฐานนี้ใชไดกับภาชนะ บรรจุกาซถาวร เชน ออกซิเจน หรือภาชนะบรรจุกาซเหลว เชน คลอรีน แอมโมเนีย และเอทีลีน เปนตน ทอจะตองไดรับการตรวจสอบทุก ๆ 3 ป ตามมาตรฐานการใชและการซอมบํารุงภาชนะบรรจุกาซทนความดัน (มอก. 358 – 2531) ซึ่งมีการตรวจ 4 วิธี คือ ตรวจพินิจภายนอก ตรวจพินิจภายใน ชั่งน้ําหนักทอ และตรวจ ทดสอบอัดน้ํา ทอที่พบขอบกพรองและไมสามารถนํามาซอมแซมได ใหทําลายทอโดยการตัดทอออกเปน อยางนอย 2 สวน


36

กฎหมายที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยของหมอไอน้ํา และภาชนะบรรจุกาซ มีหนวยงานราชการ 2 กระทรวง ที่ควบคุมดูแลความปลอดภัยหมอไอน้ําและภาชนะบรรจุกาซ ไดแก กระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงมหาดไทย ตางก็คือกฎหมายคนละฉบับ หนวยงานทั้ง 2 ตางก็ ควบคุมความปลอดภัยหมอไอน้ําและภาชนะบรรจุกาซตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายกําหนดไว ถากฎหมาย เขียนมาสอดคลองกันหรือใกลเคียงกันก็ไมกอใหเกิดปญหาตอโรงงานอุตสหกรรม สถานประกอบการ หรือ ผูใช แตก็มีกฎหมายบางขอมีความแตกตางกันทําใหเกิดความสับสน ในทางปฏิบัติจึงจําเปนตองอาศัยการ ประสานงานจากหนวยงานทั้งสองรายละเอียดของกฎหมายที่ทั้ง 2 หนวยงานดูแลมีดังนี้ 1. กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยหมอไอน้ํา กระทรวงอุตสาหกรรม มีกฎหมายเกี่ยวกับหมอไอน้ํา 2 ฉบับ คือ กฎกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2512) และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 18 (พ.ศ.2528) ซึ่งดูแลโดยกรมโรงงาน อุตสาหกรรมควบคุมตั้งแตการสรางหมอไอน้ํา การใชหมอไอน้ํา และการตรวจสอบหมอไอน้ํา โดยมี สาระสําคัญวาการสรางหรือซอมหมอไอน้ําจะตองไดรับการออกแบบและควบคุมการสรางหรือซอมจาก วิศวกร หมอไอน้ําที่ใชจะตองมีอุปกรณปองกันอันตรายตาง ๆ รวม 13 รายการ เชน ลิ้นนิรภัย ปมน้ํา หลอดแกวและสัญญาณเตือนภัยอัตโนมัติ เปนตน พรอมทั้งตองมีคนควบคุมหมอไอน้ําที่มีคุณวุฒิผานการา อบรมหลักสูตรผูควบคุมหมอไอน้ําหรือจบประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาชางยนตหรือชางกลโรงงาน และหมอไอน้ําจะตองไดรับการตรวจทดสอบความปลอดภัยการใชงานประจําปจากวิศวกร นอกจากนั้น กฎหมายยังระบุดวยวาวิศวกรที่ทํางานเกี่ยวกับหมอไอน้ําและคนที่คุมหมอไอน้ําจะตองไดรับการขึ้นทะเบียน จากกรมโรงงานอุตสาหกรรมกอนจึงจะปฏิบัติงานได 1.2 กระทรวงมหาดไทย กฎหมายที่เกี่ยวของกับหมอไอน้ํามี 2 หนวยงานดูแล คือ 2.1.1 กองงานคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปตยกรรม (กว กส) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ดูแลตามพระราชาบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ซึ่งเปนการควบคุม การทํางานด า นวิ ศวกรรม ในส วนที่ เ กี่ย วของกับ หมอไอน้ํ า ระบุวาผูที่จ ะทํ า งานไดตองเรียนมาในสาขา วิศวกรรมเครื่องกลหรือเทียบเทา และไดรับอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม หมอไอน้ําทุก ขนาดจะต องไดรับการออกแบบคํา นวณ และควบคุมการสรา งจากวิศ วกร สํ า หรับการตรวจสอบความ ปลอดภัยหมอไอน้ําตองเปนสามัญวิศวกรขึ้นไป ผูใดดําเนินงานวิศวกรรมโดยไมไดรับอนุญาต มีโทษจําคุก ไมเกิน 1 ป หรือปรับ ไมเกิน 10,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 1.2.2 กรมแรงงาน ดูแลหมอไอน้ําตามประกาศกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ.2519) ซึ่งมีเนื้อหา ครอบคลุมตั้งแตการออกแบบหมอไอน้ํา การใชอุปกรณที่สําคัญ คุณวุฒิของคนคุมหมอไอน้ําและวิศวกร ตรวจทดสอบหมอไอน้ํา หลักการทั่วไปสอดคลองกับกฎหมายของกระทรวงอุตสาหกรรม แตมีรายละเอียด


37 บางประการที่แตกตางกัน เชน การกําหนดใหหมอไอน้ําที่มีการใชงานเกิน 10 ป หรือมีการเคลื่อนยายตองลด ความดันใชงานหมอไอน้ําลง สวนของกระทรวงอุตสาหกรรมใหอยูในดุลพินิจของวิศวกร 2. กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยภาชนะบรรจุกาซ 2.1 กระทรวงอุตสาหกรรม กฎหมายที่เกี่ยวของกับภาชนะบรรจุกาซมี 2 หนวยงานดูแล คือ 2.1.1 สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ดูแลในสวนภาชนะบรรจุกาซที่ได ประกาศเปนมาตรฐานบังคับ และไมบังคับ เชน ภาชนะบรรจุกาซปโตรเลียมเหลวที่ใชหุงตมและใชใน รถยนตเปนมาตรฐานบังคับ โรงงานสรางตองทําตามมาตรฐานกําหนด ภาชนะบรรจุกาซออกซิเจนและไน ตรัสออกไซดเปนมาตรฐานไมบังคับ โรงงานใดจะผลิตตามก็ไดและถาทําตามไดครบตามที่กําหนด สามารถ ประทับตราเครื่องหมายมาตรฐานได แตตองไดรับอนุญาตจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กอน 2.1.2 กรมโรงงานอุตสาหกรรม ดูแลภาชนะบรรจุกาซตามประกาศกระทรวง อุตสาหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) และ ฉบับที่ 24 (พ.ศ.2530) ดานการใชและการเก็บภาชนะบรรจุกาซ เชน ควรเก็บภาชนะบรรจุกาซในอาคารที่แยกตางหาก หางจากแหลงความรอนหรือประกายไฟ มีเครื่องหมาย บอก และพนักงานที่ทํางานเกี่ยวของตองไดรับการอบรม เปนตน 2.2 กระทรวงมหาดไทย กฎหมายที่เกี่ยวของกับภาชนะบรรจุกาซมี 2 หนวยงานดูแล คือ 2.2.1 กรมโยธาธิการ ดูแลภาชนะบรรจุกาซปโตรเลียมเหลวตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 28 และกฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2529) ครอบคลุมถึงสถานที่บรรจุและสถานที่เก็บ โดยเนนภาชนะกาซ ปโตรเลียมขนาดใหญ กําหนดใหผูใชตองมาขออนุญาตและดําเนินการตามหลักเกณฑที่กําหนดเกี่ยวกับ สถานที่ วิธีการบรรจุ การเก็บและการติดตั้ง รวมถึงการทดสอบ การปองกันและระงับอัคคีภัย เปนตน 2.2.2 กองงานคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและสถาปตยกรรม (กว กส) สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ดูแลตามพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 รายละเอียด เชนเกี่ยวกับหัวขอ 1.2.1 เพียงแตเปลี่ยนจากหมอไอน้ํามาเปนภาชนะบรรจุกาซ

มาตรฐานและกฎหมายเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เนื่องจากอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลเปนสิ่งที่ชวยปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นตอรางกาย ขณะปฏิบัติงาน ซึ่งอาจทําใหไดรับบาดเจ็บ พิการหรือตายไดหรือทําใหเกิดโรคเนื่องจากการทํางาน ไดมี หนวยงาน สถาบันหรือองคการทั้งประเทศและตางประเทศไดกําหนดมาตรฐานของอุปกรณปองกันอันตราย สวนบุคคลบางประเภทขึ้นเพื่อใชเปนบรรทัดฐานสําหรับการผลิต การเลือก การนํามาใชงาน การบํารุงรักษา ตลอดจนการทดสอบตาง ๆ ทําใหการนําไปใชปองกันอันตรายนั้นมีประสิทธิภาพที่ดี สามารถใหการคุมครอง ผูใชใหเกิดความปลอดภัยได อีกทั้งยังมีการกําหนดเปนกฎหมายเพื่อใชบังคับใหสถานประกอบการไดมีการ


38 จัดการเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอีกดวย ซึ่งจะไดแยกอธิบายมาตรฐานและกฎหมายที่ เกี่ยวของ ดังมีรายละเอียดตอไปนี้ 1. มาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล มาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก มาตรฐานที่กําหนดโดยหนวยงานทั้ง ในและตางประเทศ ดังนี้ 1.1 หนวยงานในประเทศมีกําหนดมาตรฐานของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ที่สําคัญ ไดแก สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (สมอ.) ไดกําหนดเปนมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) ซึ่งมีที่กําหนดและประกาศใชแลวดังตัวอยาง เชน - มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หมวกนิรภัยสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมและงานสนาม (Standard for Industrial Protective Helments) มอก.368-2534 มีขอบเขตที่กําหนดถึง ประเภทชั้นคุณภาพ ขนาดสวนประกอบ การทําและความเรียบรอย คุณลักษณะที่ตองการ การทําเครื่องหมาย การชักตัวอยางและ เกณฑตัดสินและการทดสอบ หมวกนิรภัยสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมและงานสนาม มาตรฐานนี้ครอบคลุม เฉพาะหมวกนิรภัยที่ใชปองกันศีรษะาจากอุบัติเหตุตาง ๆ ในขณะกําลังปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม หรืองานสนามตลอดจนปองกันอันตรายจากกระแสไฟฟาและความรอน - มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม รองเทาหนังนิรภัย (Standard for Leather Safety Footwear) มอก. 523-2528 (เปน อมก. ที่ออกประกาศแกไขเพิ่มเติมมาตรฐานเลขที่ มอก. 523-2527) มี ขอบเขตที่กําหนดถึง รูปราง ประเภท แบบและชนิด ขนาดและเกณฑ ความคลาดเคลื่อน สวนประกอบ คุณลักษณะที่ตองการ การบรรจุ เครื่องหมายและฉลาก การซักตัวอยางและเกณฑตัดสิน และการทดสอบ รองเทาหนังนิรภัย ที่สวนบนทําดวยหนังแท พื้นและสนทําดวยยางหรือวัสดุสังเคราะห 1.2 หนวยงานหรือสถาบันในตางประเทศที่กําหนดมาตรฐานของอุปกรณปองกันอันตรายสวน บุคคล ที่สําคัญไดแก สถาบันมาตรฐานแหงชาติอเมริกัน (American National Standard Institute : ANSI) สมาคมทดสอบและวัสดุแหงชาติอเมริกัน (American Society for Testing and Material : ASTM) สถาบัน มาตรฐานแหงชาติอังกฤษ (British Stadard Institute : BSI) องคการมาตรฐานระหวางประเทศ (International Organization for Standardizatior : ISO) ตัวอยางมาตรฐานของอุปกรณปองกันอันตาายสวนบุคคลที่กําหนดโดยสถาบันมาตรฐานแหงชาติ อเมริกัน (ANSI) เชน - มาตรฐานแหงชาติอเมริกันสําหรับอุปกรณปองกันศีรษะในงานอุตสาหกรรม - มาตรฐานแหงชาติอเมริกันสําหรับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เกี่ยวกับการปองกันเทา - มาตรฐานแหงชาติอเมริกันสําหรับอุปกรณปองกันระบบหายใจ - มาตรฐานแหงชาติอเมริกันสําหรับการแบงชนิดของอุปกรณปองกันระบบหายใจชนิดตลับกรอง อากาศ และกลองบรรจุสารกรองอากาศ


39 2. กฎหมายเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล กฎหมายเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลในประเทศไทย มีหนวยงานหลักที่ เกี่ยวของอยู 2 แหง คือ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ไดมีการกําหนดเปนกฎหมายให สถานประกอบการถือปฏิบัติดังมีสาระสําคัญโดยสรุปสวนที่เกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลของ แตละหนวยงานไดดังนี้ 2.1 กระทรวงมหาดไทย กฎหมายเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลจะมีระบุอยูใน กฎหมายความปลอดภัยในการทํางานซึ่งเปนประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับตาง ๆ ที่ประกาศโดยอาศัย อํานาจตามความในขอ 2 (7) และขอ 14 แหงประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2515 กําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสําหรับลูกจาง ดังมีประกาศกระทรวงมหาดไทย ฉบับตาง ๆ ในเรื่องตอไปนี้ - ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร - ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม หมวดความรอน หมวดแสงสวาง และ หมวดเสียง - ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม (สารเคมี) - ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา - ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม (ประดาน้ํา) - ความปลอดภัยในการทํางานกอสรางวาดวยลิฟตขนสงวัสดุชั่วคราว - ความปลอดภัยในการทํางานกอสราง ในแตละฉบับไดกําหนดใหนายจางจัดหาอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลแตละประเภท ใหลูกจางสวมใสขณะปฏิบัติงาน และในบางฉบับจะกําหนดเปนหมวดมาตรฐานเกี่ยวกับอุปกรณคุมครอบ ความปลอดภัยสวนบุคคล 2.2 กระทรวงอุตสาหกรรม มีหนวยงานที่เกี่ยวของกับการออกกฎหมายเกี่ยวกับอุปกรณปองกัน อันตรายสวนบุคคลอยู 2 หนวยงาน คือ กรมโรงงานและกรมทรัพยากรธรณี ซึ่งมีกฎหมายที่เกี่ยวของดังนี้ 2.2.1 กรมโรงงาน กฎหมายเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลจะมีระบุอยูในประกาศ กระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2512 เรื่องหนาที่ ของผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน มีเนื้อหาอยูในหมวด 12 การปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายจาก เครื่องจักรเครื่องมือ เครื่องเคลื่อนยาย หยิบยกหรือลําเลียงวัสดุ สายไฟฟา ทอไอน้ํา หรือวัตถุอันเปนสื่อสง กําลังในโรงงาน โดยอาศัยอํานาจตามความใน (12) แหงมาตรา 39 เนื้อหาจะกําหนดใหผูรับใบอนุญาต ฯ จัดหาอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ เชน รองเทา หมวก ที่อุดหู ครอบหู ถุงมือ อุปกรณหองกัน ระบบหายใจ เปนตน ใหคนงานสวมใสบริเวณที่อาจเปนอันตรายนั้น ๆ และมีเนื้อหาอยูในหมวด 13 การเก็บ และการใชวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด และวัตถุอื่นที่อาจเปนอันตรายหรือที่อาจทําใหเกิดฝุน ละออง ความรอน แสงหรือเสียง ซึ่งเปนอันตรายในการปฏิบัติงานกับวิธีการปองกันและเครื่องปองกันมิให


40 เกิดอันตรายแกคนงาน เนื้อหาจะกําหนดใหผูรับใบอนุญาต ฯ ตองจัดใหคนงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิดหรือวัตถุอื่นที่อาจเปนอันตราย หรือที่อาจทําใหเกิดฝุนละอองความรอน แสงหรือเสียง ซึ่งอาจเปนอันตรายตอการปฏิบัติงานในหนาที่สวมเครื่องปองกันอันตาายตามคตวามเหมาะสมตอการปฏิบัติ นั้น ๆ 2.2.2 กรมทรัพยากรธรณี กฎหมายเกี่ยวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลจะมีระบุอยูใน กฎกระทรวง ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2513) ออกตามความในพระราชบัญญัติแร พ.ศ.2510 มีเนื้อหาอยูในหมวด 3 ขอกําหนดเกี่ยวกับการใชเครื่องจักร หมวด 8 ขอกําหนดเกี่ยวกับรถขุดและหมวด 9 ขอกําหนดเกี่ยวกับทํา เหมืองใตดิน ในเนื้อหาจะกําหนดใหผูถือประทานบัตร ผูรับอนุญาตทําเหมืองชั่วคราว ผูรับใบอนุญาตเหมือง แร หรือผูรับใบอนุญาตประกอบโลหะกรรม ตองจัดหาอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลใหกับคนงานใช ปองกันอันตรายในแตละลักษณะงาน


บรรณานุกรม กองชีวอนามัย, กรมอนามัย. การปฐมพยาบาลเบื้องตน. กรุงเทพ ฯ : กระทรวงสาธารณสุข. กรมพัฒนาการชาง, กรมอูทหารเรือ. คูมือนิรภัยการชาง. กรุงเทพ ฯ. เทวินทร ศิริโชคชัยกลุ. ISO 14001 ระบบการจัดสิ่งแวดลอม. กรุงเทพ ฯ : หางหุน สวนจํากัด เอ็มเพาเวอรเมนท, 2542 หนา 250 – 251, หนา 260 – 261. สุเทพ นีรศาสตร. ISO 14000 มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอม. กรุงเทพ ฯ : สมาคมสงเสริม เทคโนโลยี (ไทย - ญี่ปุน), 2542 หนา (1- 1) - ( 2 – 6) ,หนา (6- 1) - (6 – 17). “ ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร” , ประกาศกระทรวงมหาดไทย. 23 กรกฎาคม 2519. “ ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดลอม” , ประกาศกระทรวงมหาดไทย. 12 พฤศจิกายน 2519. แผนกนิรภัยการชาง, กองจัดการ, กรมอูทหารเรือ. รวมบทความปลอดภัยในงานประจําป 2541. แผนกนิรภัยการชาง, กองจัดการ, กรมอูทหารเรือ. ความปลอดภัยในการทํางาน, 2547.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.