momay

Page 1

ตามทีผ่ นู้ ำอาเซียนได้ตกลงกันไว้ทงั ้ นี้ผนู้ ำอาเซียนได้ลงน ามรับรองกฎบัตรอาเซียน ในการประชุมสุดยอดยอดเซียน ครัง้ ที่ 13เมือ่ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ของการก่อตัง้ อาเซียน แสดงให้เห็นว่ าอาเซียนกำลังแสดงให้ประชาคมโลกได้เห็นถึงความก้าวหน้ าของอาเซียนทีก่ ำลังจะก้าวเดินไปด้วยกันอย่างมันใจระหว่ ่ า งประเทศสมาชิกต่าง ๆ ทัง้ 10 ประเทศ และถือเป็ นเอกสาร ประวัตศิ าสตร์ชน้ิ สำคัญทีจ่ ะปรับเปลีย่ นอาเซียนให้เป็ นองค์ก รทีม่ สี ถานะเป็ นนิตบิ ุคคลในฐานะทีเ่ ป็ นองค์กรระหว่างรัฐบา ล ประเทศสมาชิกได้ให้สตั ยาบันกฎบัตรอาเซียน ครบทัง้ 10 ประเทศแล้วเมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน2551 กฎบัตรอาเซียนจึ งมีผลใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 15 ธ.ค. 2551 เป็ นต้นไป

วัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน

วัตถุประสงค์อของกฎบัตรอาเซียน คือ ทำให้อาเซียนเ ป็ นองค์กรทีม่ ปี ระสิทธิกาพ มีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง และเค ารพกฎกติกาในการทำงานมากขึน้ นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซีย นจะให้สถานะนิตบิ ุคคลแก่อาเซียนเป็ นองค์กรระหว่างรัฐบาล (intergovernmental organization)

กฎบัตรอาเซี ยนจะเสริ มสร้ างกลไกการ ติ ดตามความตกลงต่ างๆ ให้ มี ผลเป็ นรูปธรรม ได้ อย่ างไร กฎบัตรอาเซียนสร้างกลไกตรวจ สอบและติดตามการดำเนินการตามความตกลงต่างๆ ของประเทศสมาชิกในหลากหลายรูปแบบ เช่น 1. ให้อำนาจเลขาธิการอาเซียนดูแลการปฏิบตั ติ ามพัน ธกรณีและคำตัดสินขององค์กรระงับข้อพิพาท 2. หากการปฏิบตั หิ รือไม่ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงต่างๆ ทำ ให้เกิดข้อพิพาทระหว่างรัฐสมาชิกสามารถใช้กลไกและขัน้ ตอน ระงับข้อพิพาททัง้ ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว และทีจ่ ะตัง้ ขึน้ ใหม่เพือ่ แก้ไขข้อพิ พาททีเ่ กิดขึน้ โดยสันติวธิ ี

3. หากมีการละเมิดพันธกรณีในกฎบัตรฯ อย่างร้ายแรง ผูน้ ำอาเซียนสามารถกำหนดมาตรการใดๆ ทีเ่ หมาะสมว่าจะดำเ นินการอย่างไรต่อรัฐผูล้ ะเมิดพันธกรณีกฎบัตรอาเซียนช่วยให้อ าเซียนเป็ นประชาคมเพือ่ ประชาชนได้อย่างไรข้อบทต่างๆ ความสำคัญ ของกฎบัต รอาเซี ย นต่ อ ประเทศไทย กฎบัตรอาเซียน ให้ความสำคัญกับการปฏิบตั ติ ามพัน ธกรณีต่างๆ ของประเทศสมาชิก ซึง่ จะช่วยสร้างเสริมหลักป ระกันให้กบั ไทยว่า จะสามารถได้รบั ผลประโยชน์ตามทีต่ กลง กันไว้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย นอกจากนี้ การปรับปรุงการด ำเนินงานและโครงสร้างองค์กรของอาเซียนให้มปี ระสิทธิภาพ มากขึน้ และการเสริมสร้างความร่วมมือในทัง้ 3 เสาหลักของ ประชาคมอาเซียนจะเป็ นฐานสำคัญทีจ่ ะทำให้อาเซียนสามาร ถตอบสนองต่อความต้องการและผลประโยชน์ของรัฐสมาชิก รวมทัง้ ยกสถานะและอำนาจต่อรอง และภาพลักษณ์ของประเท ศสมาชิกในเวทีระหว่างประเทศได้ดยี งิ่ ขึน้ ซึง่ จะเอือ้ ให้ไทยสาม ารถผลักดันและได้รบั ผลประโยชน์ดา้ นต่างๆ เพิม่ มากขึน้ ด้วย ตัวอย่างเช่น - อาเซียนขยายตลาดให้กบั สินค้าไทยจากประชาชนไท ย 60 ล้านคน เป็ นประชาชนอาเซียนกว่า 550 ล้านคน ประกอ บกับการขยายความร่วมมือเพือ่ เชือ่ มโยงโครงสร้างพืน้ ฐาน เช่น เส้นทางคมนาคม ระบบไฟฟ้า โครงข่ายอินเตอร์เน็ต ฯลฯ จะช่ว ยเพิม่ โอกาสทางการค้าและการลงทุนให้กบั ไทย

ที ่ มา: ประชาคมอาเซี ยน.net

AEC

ASEAN Economic

Community


AEC BLUEPRINT

ประวัติ AEC เป็ นการพัฒนามาจากการเป็ น สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Association of South East Asian Nations : ASEAN) ก่อตัง้ ขึน้ ตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เมือ่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศผูก้ ่อตัง้ แรกเริม่ 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรูไน ก็ได้เข้าเป็ นสมาชิก ตามด้วย 2538 เวียดนาม ก็เข้าร่วมเป็ นสมาชิก ต่อมา 2540 ลาวและพม่า เข้าร่วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้เข้าร่วมเป็ นสมาชิกลำดับที่ 10 ท ำให้ปจั จุบนั อาเซียนเป็ นกลุม่ เศรษฐกิจภูมภิ าคขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้านคน จากนัน้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครัง้ ที่ 9 ทีอ่ นิ โดนีเซีย เมือ่ 7 ต.ค. 2546 ผูน้ ำประเทศสมาชิกอาเซียนได้ตกล งกันทีจ่ ะจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึง่ ประกอบด้วย3 เสาหลัก คือ 1.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community:AEC) 2.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (SocioCultural Pillar) 3.ประชาคมความมันคงอาเซี ่ ยน (Political and Security Pillar)

คำขวัญของอาเซียน คือ “ One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่ งวิ สยั ทัศน์ หนึ่ งอัตลักษณ์ หนึ่ งประชาคม

สำหรั บ เสาหลั ก การจั ด ตั ้ง ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน (ASEAN Economic Community หรื อ AEC ) ภายในปี 2558 เพือ่ ให้อาเซียนมีการเคลือ่ น ย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมอื อย่างเสรี และเงินทุนทีเ่ สรีขน้ึ ต่อมาในปี 2550 อาเซียนได้จดั ทำพิมพ์เขี ยวเพือ่ จัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เ ป็ นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่ งไปสู่ AEC ซึง่ ประกอบด้วยแผนงานเศรษฐกิจในด้าน ต่าง ๆ พร้อมกรอบระยะเวลาทีช่ ดั เจนในการดำเนินมาตรการต่าง ๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558 รวมทัง้ การให้ความยืดหยุน่ ตาม ทีป่ ระเทศสมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้า ในอนาคต AEC จะเป็ นอาเซียน+3 โดยจะเพิม่ ประเทศ จีน เกาหลีใต้ และญีป่ นุ่ เข้ามาอยูด่ ว้ ย และต่อไปก็จะมีการเจรจา อาเซียน+6 จะมีประเทศ จีน เกาหลีใต้ ญีป่ นุ่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ อินเดียต่อไป

เดิมกำหนดเป้าหมายทีจ่ ะตัง้ ขึน้ ในปี 2563 แต่ต่อมาได้ ตกลงกันเลือ่ นกำหนดให้เร็วขึน้ เป็ นปี 2558 และก้าวสำคัญต่อ มาคือการจัดทำปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Charter) ซึง่ มีผลใ ช้บงั คับแล้วตัง้ แต่เดือนธันวาคม ปี 2552 นับเป็ นการยกระดับ ความร่วมมือของอาเซียนเข้าสูม่ ติ ใิ หม่ในการสร้างประชาคม โ ดยมีพน้ื ฐานทีแ่ ข็งแกร่งทางกฎหมายและมีองค์กรรองรับการด ำเนินการเข้าสูเ่ ป้าหมายดังกล่าวภายในปี 2558 ปจั จุบนั ประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศได้แก่ ไทย พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรูไน

ASEAN Economic Community

สำหรับเสาหลักการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซีย น (ASEAN Economic Community หรือ AEC )ภายในปี 2558 เพือ่ ให้อาเซียนมีการเคลือ่ นย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมอื อย่างเสรี และเงินทุนทีเ่ สรีขน้ึ ต่อมาในปี 2550 อา เซียนได้จดั ทำพิมพ์เขียวเพือ่ จัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) เป็ นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็น ภาพรวมในการมุง่ ไปสู่ AEC ซึง่ ประกอบด้วยแผนงานเศรษฐกิ จในด้าน ต่าง ๆ พร้อมกรอบระยะเวลาทีช่ ดั เจนในการดำเนินม าตรการต่าง ๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558 รวมทัง้ การให้ควา มยืดหยุน่ ตามทีป่ ระเทศสมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้าเพือ่ สร้างพั นธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกอา เซียน อาเซียนได้กำหนดยุทธศาสตร์การก้ าวไปสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทีส่ าคัญดังนี้ 1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเ ดียวกัน 2.การเป็ นภูมภิ าคทีม่ ขี ดี ความสามา รถในการแข่งขันสูง 3. การเป็ นภูมภิ าคทีม่ กี ารพัฒนาทางเศรษฐกิจทีเ่ ท่าเทียมกัน 4. การเป็ นภูมภิ าคทีม่ กี ารบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก กฎบัตรอาเซี ยน (ASEAN CHARTER) หรื อธรรมนู ญอาเซี ยน กฎบัตรอาเซี ยนเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซีย นทีจ่ ะทำให้อาเซียนมีสถานะเป็ นนิตบิ ุคคล เป็ นการวางกรอบท างกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กบั อาเซียน โดยนอกจากจ ะประมวลสิง่ ทีถ่ อื เป็ นค่านิยม หลักการ และแนวปฏิบตั ใิ นอดีต ของอาเซียนมาประกอบกันเป็ นข้อปฏิบตั อิ ย่างเป็ นทางการของ ประเทศสมาชิกแล้ว ยังมีการปรับปรุงแก้ไขและสร้างกลไกใหม่ ขึน้ พร้อมกำหนดขอบเขตหน้าทีค่ วามรับผิดชอบขององค์กรที่ สำคัญในอาเชียนตลอดจนความสัมพันธ์ในการดำเนินงานของ องค์กรเหล่านี้ ให้สอดคล้องกับความเปลีย่ นแปลงในโลกปจั จุบ ั น เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของอาเซียนให้สามารถดำเนินการบรร ลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายโดยเฉพาะอย่างยิง่ การขับเคลื่ อนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน ให้ได้ภายในปี พ.ศ.2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.