รายนามสมาชิก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
1. บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จ�ำกัด
28. บริษัท ยูส ่ ูง จ�ำกัด
2. บริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด
29. บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด
3. บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด
30. บริษัท บางกอกแร้นซ์ จ�ำกัด (มหาชน)
4. บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด
31. บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด
5. บริษัท ซีพเี อฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)
32. บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จ�ำกัด
6. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน)
33. บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน)
7. บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน)
34. บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุป ๊ จ�ำกัด
8. บริษัท ลีพฒ ั นาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน)
35. บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จ�ำกัด
9. บริษัท คาร์กิลล์สยาม จ�ำกัด
36. บริษัท ไทยยูเนีย่ น ฟีดมิลล์ จ�ำกัด (มหาชน)
10. บริษัท ลีพฒ ั นาอาหารสัตว์ จ�ำกัด
37. บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด
11. บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จ�ำกัด
38. บริษัท บุญพิศาล จ�ำกัด
12. บริษัท เอเชีย่ น ฟีด จ�ำกัด
39. บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จ�ำกัด
13. บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
40. บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จ�ำกัด
14. บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุร)ี จ�ำกัด
41. บริษัท ไทย ฟูด ้ ส์ อาหารสัตว์ จ�ำกัด
15. บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน)
42. บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตส ้ี ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
16. บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด
43. บริษัท วีพเี อฟ กรุป ๊ (1973) จ�ำกัด
17. บริษัท คาร์กิลล์มท ี ส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
44. บริษัท อาร์ที อะกริเทค จ�ำกัด
18. บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จ�ำกัด
45. บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จ�ำกัด
19. บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จ�ำกัด
46. บริษัท เจบีเอฟ จ�ำกัด
20. บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จ�ำกัด
47. บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จ�ำกัด
21. บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด
48. บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด
22. บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด
49. บริษัท ไทสัน ฟีด (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
23. บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด
50. บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จ�ำกัด
24. บริษัท อีสเทิรน ์ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด
51. บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด
25. บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด
52. บริษัท เอพีเอ็ม อะโกร จ�ำกัด
26. บริษัท ยูนโี กร อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด
53. บริษัท แสงทองอาหารสัตว์ จ�ำกัด
27. บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จ�ำกัด
54. บริษัท เจริญภัณฑ์สามชุกฟีดมิลล์ จ�ำกัด
อภินันทนาการ
คณะกรรมการบริหาร
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจ�ำปี 2564 - 2565
1. นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
นายกสมาคม
บริษัท ซีพเี อฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)
2. นายชยานนท์ กฤตยาเชวง
อุปนายก
บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน)
3. นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์
อุปนายก
บริษัท ป. เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด
4. นายธีรศักดิ์ อุรุนานนท์
อุปนายก
บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน)
5. นางเบญจพร สังหิตกุล
เหรัญญิก
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน)
6. นายบุญธรรม อร่ามศิรวิ ัฒน์
เลขาธิการ
บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน)
7. น.ส. สุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์
รองเลขาธิการ
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จ�ำกัด
8. นายสมภพ เอื้อทรงธรรม
รองเลขาธิการ
บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด
9. นายโดม มีกุล
ประชาสัมพันธ์
บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุร)ี จ�ำกัด
10. นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์
ปฏิคม
บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด
11. นายเธียรเทพ ศิรช ิ ยาพร
นายทะเบียน
บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด
12. นายสุจิน ศิรม ิ งคลเกษม
กรรมการ
บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน)
13. น.ส. รติพันธ์ หิตะพันธ์
กรรมการ
บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด
14. นายรัตนชัย ศักดิช ์ ัยเจริญกุล
กรรมการ
บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด
15. นายจ�ำลอง เติมกลิ่นจันทน์
กรรมการ
บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด
16. นายพน สุเชาว์วณิช
กรรมการ
บริษัท บางกอกแร้นช์ จ�ำกัด (มหาชน)
17. นายวิชัย คณาธนะวนิชย์
กรรมการ
บริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด
18. นายนพพร อเนกบุณย์
กรรมการ
บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด
19. นายปรีชา เอกธรรมสุทธิ์
กรรมการ
บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด
บรรณาธิการแถลง หมู ไก่ ไข่
พร้อมใจกันแพงต้อนรับปีขาล ผลงานแรก ของรัฐบาล คือการออกมาตรึงราคาเนื้อหมู เนื้อไก่ และไข่ไก่ สั่งเข้ม ลงพื้นที่ตรวจสต็อกทุกจังหวัด เดือดร้อนมาถึงอาหารสัตว์ถูกตรึงราคา ไปด้วย เพราะเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ท�ำให้ราคาปศุสัตว์แพงขึ้น พอถามไปที่ คนเลี้ยง ก็ตอบพร้อมเพรียงกันว่าเพราะอาหารสัตว์แพง แต่ไม่เห็นมีใครมาถาม ค�ำถามอาหารสัตว์บ้างว่าท�ำไมอาหารสัตว์ถึงแพง นั่นก็เพราะค�ำตอบนั้นอยู่ที่ ปลายจมูก ทุกคนรูด้ แี ก่ใจว่าวัตถุดบิ ทีใ่ ช้ในการผลิตอาหารสัตว์ ไม่วา่ จะเป็นข้าวโพด กากถั่วเหลือง ข้าวสาลี มันส�ำปะหลัง ปลาป่น และอื่นๆ พร้อมใจกันขึ้นราคา เหมือนกับนัดกันไว้ ผู้ผลิตอาหารสัตว์ได้ส่งสัญญาณไปยังภาครัฐอย่างต่อเนื่อง เพราะวัตถุดิบไม่ได้เพิ่งมาแพงวันนี้ แต่แพงขึ้นมาปีกว่าแล้ว สุดท้ายก็ไม่เคยได้รับ การแก้ไข และเหลียวมองอย่างจริงจัง หากรัฐบาลตรึงราคาสินค้าปลายทาง แต่ ปล่อยให้ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ต้นทางสูงขึ้นโดยไม่มีมาตรการดูแล คงไม่แคล้ว ต้องหยุดผลิตกันเป็นแถบๆ พูดถึงปัญหาภายในประเทศมาก็เยอะแล้ว ขอพูดถึงปัญหาภายนอกประเทศ บ้าง “การเก็บภาษีคาร์บอนส�ำหรับสินค้าส่งออก” เริ่มจะเป็นค�ำที่คุ้นหูมากขึ้น และ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ไม่ได้อยู่นิ่ง รีบวิ่งจับมือกับสมาคมที่เกี่ยวข้องใน แวดวงปศุสัตว์ และรวมตัวก่อตั้งเป็น “ภาคีเครือข่ายปศุสัตว์และสัตว์น�้ำ” เตรียม รับมือกับนโยบายด้านสิง่ แวดล้อมของตลาดในต่างประเทศแล้ว และได้มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มาช่วยเหลือในด้านวิชาการเพือ่ ให้ภาคปศุสตั ว์บรรลุ เป้าหมายในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net-zero emissions) ในปี ค.ศ. 2040 ถึงเวลาแล้ว ที่ทุกภาคส่วนจะพูดถึงค�ำว่าสิ่งแวดล้อม ก่อนค�ำว่าเศรษฐกิจ และสังคม... บก.
วารสาร
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรูแ ้ ละเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์
ธุรกิจอาหารสัตว์
และการปศุสัตว์ ่ 2. เพื่อเป็ นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ทเกี ี่ ยวข้ องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์
ปีที่ 39 เล่มที่ 202 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Contents
Thailand Focus
อคส. เร่งระบายข้าวในสต็อก 2.2 แสน ดันให้หมดปีหน้า.............. 5 ซีพีเอฟ พร้อมซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ไม่รุกป่า - ปลอดเผา...............7
่ นประโยชน์ ของประเทศให้เจริญรุง่ เรืองในแนวทางทีเป็ ต่อเศรษฐกิจของชาติ
่ 4. ไม่เกียวข้ องกับการเมือง
ไข่ไก่แพง เพราะอะไร
นายกสมาคมการค้าผู้ค้าไข่ไทย มีค�ำตอบ..............................35
ผู้บริโภคหันซื้อเนื้อไก่แทนหมู สมาคมผู้เลี้ยง วอนรัฐ
ช่วยต้นทุนอาหารสัตว์พุ่ง 40%.................................................37
Market Leader
หวั่นโควิด “จีน” เข้ม อาหารแช่เยือกแข็ง - ผักผลไม้
้ พักขึนทะเบี ยนผู้นำ�เข้าผลิตภัณฑ์มันสำ�ปะหลัง 6 ราย
ชู ‘สุขภาพหนึ่งเดียว’ กรมปศุสัตว์ มุ่งลดใช้ยา
ตรวจ PCR 100% ไทยอ่วมต้นทุนพุ่ง......................................... 9 คุมคุณภาพ-ราคา............................................................................11
เอกชน ผวา คู่ค้าดัน “ภาษีคาร์บอน”
กีดกันสะเทือนเกษตร - ปศุสัตว์ไทย 1 ล้านล้าน.......................12
รมช.ประภัตร นั่งหัวโต๊ะ คลอด 6 ร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร โชว์ผลงาน มกอช. ปี 64 ออกใบอนุญาต ผู้ผลิต
ผู้ส่งออก ผู้น�ำเข้า 7 มาตรฐานบังคับ 332 ฉบับ.....................15 โรงงานน้�ำตาล ยื่นฟ้องศาลปกครอง
บังคับ กอน. เลิกเก็บค่าบ�ำรุงชาวไร่ออ ้ ย.................................. 18
กรมปศุสัตว์ประชุมผู้ประกอบการไก่ไข่
จัดโควตาพ่อแม่พันธุ.์ ....................................................................19
กรมประมงถก 3 สมาคมฯ ขับเคลื่อนแผน MMPA ไทย.............. 20 แก้ IUU คว้าน้�ำเหลว 7 ปี
ทุบเรือประมงสูญ 2 ล้านล้านบาท..............................................21
Food Feed Fuel
เปิดชื่อ 6 บริษัทอาหารสัตว์ รัฐเว้นมาตรการ 1 : 3
น�ำเข้าข้าวสาลี 2 แสนตัน............................................................23
เอกชนแห่ขอใบอนุญาตส่งออกข้าวพุ่ง
มั่นใจทั้งปีส่งออกข้าวได้ 6 ล้านตัน...........................................26
ราคาข้าว ‘ร่วง’ ต่�ำสุดในรอบ 4 ปี หลายปัจจัยรุมเร้า.................. 27 กรมการค้าภายในถกสมาคมผู้เลี้ยงฯ
ไล่บ้แ ี ก้ปัญหาราคาหมูแพง.........................................................28
ข่าวร้ายรับปีใหม่! หมูแพงพุ่งกิโลกรัมละ 200 บาท.....................29 จุรน ิ ทร์ แก้หมูแพง! ห้ามส่งออกหมูเป็น! ชั่วคราว 3 เดือน...........31 ชวนคนไทยกินไก่ช่วงหมูแพง สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ
ชี้เป็นโปรตีนทดแทน และช่วยเกษตรกรอีกทาง....................34
ด�ำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น • นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร • นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ • นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ • นายนิพนธ์ ลีละศิธร • นางเบญจพร สังหิตกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง • นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ • นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์
ต้านจุลชีพในสัตว์ รักษาแค่เท่าที่จ�ำเป็น................................ 39
ปศุสัตว์เตือน เฝ้าระวัง โรคในสัตว์ปีก
หลังจีนพบผู้เสียชีวิตเพิ่มจากไข้หวัดนก................................. 40
้ เวียดนามแซงไทย ขึนเเท่ นดาวรุง่ เอเชีย
ผลิตกุ้งป้ อนตลาดโลก..................................................................42
ได้ผลจริง เพิ่มผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ใช้นาโนแคลเซียมคาร์บอเนต.....................................................45
ภาคีคณบดีสัตวแพทย์ ร่อนหนังสือถึงปศุสัตว์
หาค�ำตอบ หลังพบ ASF ในหมูจริง. .........................................48
ประมง 1.5 แสนล้านระส่�ำ ผวาใบเหลืองไอยูยูคืนชีพ...................49 จีน ท�ำลายผูกขาดตลาด “ไก่เนื้อขนขาว” ส�ำเร็จ
ในรอบ กว่า 10 ปี...........................................................................52
“เบทาโกร” แถลง ปัดกักตุน “เนื้อหมู” 2 แสนกิโลกรัม.................55 เปิดเกณฑ์ พฤติกรรมอย่างไร
เข้าข่ายกักตุน - ปฏิเสธการจ�ำหน่าย.........................................57
Around the World
ส.กุ้งไทย เผยปี 2564 ไทยผลิตกุ้งได้ 2.8 แสนตัน เสนอ
แนวทาง 7-1-1 ให้อต ุ ฯ กุ้งไทยอยู่รอดอย่างยั่งยืน................ 59
ภาพรวมอุตสาหกรรมกุ้งโลกปี 64 และแนวโน้มปี 65................ 65 โรคกุ้ง : ภัยร้ายที่มากับหน้าหนาว.....................................................67 ราคาเมล็ดถั่วเหลือง ปริมาณการน�ำเข้าและส่งออก.................... 74 ราคากากถั่วเหลือง ปริมาณการน�ำเข้าและส่งออก......................76 ราคาปลาเป็ดและปลาป่น ปริมาณการน�ำเข้าและส่งออก..........78 ขอบคุณ................................................................................................... 80
บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง • นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวภาสินี วงษา • นางสาวกรดา พูลพิเศษ ส�ำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 ๏ Email: tfma44@yahoo.com ๏ Website: www.thaifeedmill.com
ระบบมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง
GMP / HACCP
ISO 9001 : 2015 / ISO 14001 : 2015
Thailand Focus
อคส. เร่งระบายข้าวในสต็อก 2.2 แสน ดันให้หมดปีหน้า อคส. เร่งระบายข้าว ในสต็อก 2.2 แสน ดันให้หมดปีหน้า ตั้งเป้า ข้าวในสต็อกรัฐบาล ต้องหมดไป ในเดือนกันยายน 65 เตรียมเสนอ นบข. อนุมัติ นายเกรียงศักดิ์ ประทีปวิศรุต ผูอ้ ำ� นวยการ องค์การคลังสินค้า (อคส.) เปิดเผยว่า แผนการ ท�ำงานในปีหน้าว่า อคส. มีงานที่ค้างอยู่หลายงาน โดยเฉพาะการเร่งระบายข้าวในสต็อกรัฐบาลจาก โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปี และข้าวเปลือก นาปรังที่ยังคงเหลือในส่วนที่ อคส. ดูแลประมาณ 220,000 ตั น ให้ ห มดโดยขณะนี้ อคส. อยู ่ ระหว่างการเสนอให้คณะกรรมการนโยบายและ บริหารจัดการข้าว (นบข.) ที่มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกลาโหม เป็นประธาน พิจารณาอนุมัติ ให้ อคส. ระบายข้าวสารในสต็อกรัฐบาลให้เร็ว ทีส่ ดุ ซึง่ อคส. มีเป้าหมายในเดือนกันยายน 2565
โดยส่วนใหญ่มที งั้ ข้าวเหนียว ข้าวหอมมะลิ และเป็นข้าวเสือ่ มสภาพทีค่ น และสัตว์ไม่สามารถ บริโภคได้แล้ว การระบายข้าวออกไป คาดว่า จะระบายเข้าสู่อุตสาหกรรมที่ไม่ใช่คน และสัตว์ เพื่อบริโภค จากประเมินน่าจะเข้าสู่อุตสาหกรรม เชื้ อ เพลิ ง โดยหาก นบข. พิ จ ารณาให้ อ นุ มั ติ แล้ว คาดว่าจะต้องใช้เวลาอีกกว่า 6 เดือน เพื่อ ด�ำเนินการประมูล และการส่งมอบข้าวให้ผู้ชนะ ประมูล และหากระบายได้หมดตามเป้าหมาย คาดว่าจะสามารถปิดบัญชีโครงการรับจ�ำน�ำได้ และจะท�ำให้รัฐบาลทราบว่ามีผลขาดทุนเท่าไร
ที่มา : ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล วันเสาร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
5
Thailand Focus “สาเหตุที่ยังระบายไม่หมดเพราะมีการยึด หน่วง คือ ติดปัญหาคดีจากปัญหา ค่าเช่า ชดเชย ส่วนต่าง บันทึกแนบท้าย เป็นต้น และหากเป็น สัญญาปกติ อคส. จะไม่เสียหาย ซึ่งตามสัญญา เงื่อนไขปกติ อคส. สามารถยกเลิกได้ทุกเวลา แต่การประมูลข้าวที่ผ่านมากลับมีบันทึกแนบท้าย อคส. ไม่มสี ทิ ธิย์ กเลิก ส่งผลให้ตอ้ งแบกรับค่าเช่า ดังนั้น อคส. จึงต้องการระบายข้าวในสต็อกให้ แล้วเสร็จสักที” โดยปริมาณข้าวที่ อคส. สามารถระบายได้ โดยไม่ต้องรอการอนุมัติจาก นบข. จะมีประมาณ กว่า 1 แสนตัน หรือประมาณ ครึง่ หนึง่ จากทัง้ หมด 220,000 ตัน โดยกระจายอยู่ทั่วประเทศ และ ยังมีประมาณข้าวบางส่วนด้วยที่ติดปัญหาของ การเคลมประกันข้าวซึ่งก็ตั้งเป้าภายใน 5 เดือน จะต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จ เบื้องต้นมีการฟ้องค่า เสี ย หายไปแล้ ว 500,000 ล้ า นบาท ซึ่ ง เกิ ด จากการเสียหายของโครงการจ�ำน�ำข้าว และค่า เสียหายก็ยังไม่จบ หากจะจบได้นั้นจ�ำเป็นต้อง ระบายข้าวให้หมดถึงจะรับรู้ค่าเสียหายได้ ซึ่งจะ รับรู้ก�ำไร ขาดทุนที่เกิดจากโครงการได้ ส�ำหรับคดีที่ อคส. รับผิดชอบ และต้อง ด�ำเนินการ คาดว่า คดีมนั ส�ำปะหลังซึง่ มีประมาณ 191 คดี จะสามารถด�ำเนินการให้แล้วเสร็จได้ ภายใน 2 ปีได้ แต่คดีที่กังวล คือคดีจากโครงการ รับจ�ำน�ำข้าวเนื่องจากมูลค่าความเสียหายเยอะ เพราะหากเกิดแพ้คดีผลกระทบต่อการด�ำเนินงาน ของ อคส. ทันทีที่ต้องแบกรับค่าเสียหายที่เกิดขึ้น แล้วจะแบกรับไหวไหม แต่บางคดีทชี่ นะคดีไปแล้ว
6
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ก็มี แต่อย่างไรก็ดี จากนี้ อคส. จะจ้างทีมทีป่ รึกษา ด้านกฎหมายพิเศษขึน้ มาเพิม่ เติมจากคณะท�ำงาน เดิม เพื่อมาดูส�ำนวนทุกคดีก่อนจะเข้าสู่ขั้นตอน ของกฎหมาย เป้าหมายดูคดีแพ่ง ปกครองก่อน จ�ำนวน 246 คดี ให้ชนะมากที่สุด “โครงการจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปี และนาปรัง ทีด่ ำ� เนินการในปีการผลิต 54 - 57 อคส. ฟ้องร้อง ด�ำเนินคดีไปแล้วในช่วงรัฐบาล คสช. (คณะรักษา ความสงบแห่งชาติ) รวม 1,143 คดี มูลค่าความ เสียหายราว 500,000 ล้านบาทแล้ว จากคดี ทัง้ หมด แยกเป็นคดีแพ่งจ�ำนวน 246 คดี คดีอาญา 897 คดี กลุ่มที่ด�ำเนินคดีอยู่ในกลุ่ม เช่น เซอร์แวเยอร์ เจ้าของคลัง เป็นต้น ส่วนด�ำเนินการจ่าย ค่าเช่าให้เจ้าของคลัง อคส. อยูร่ ะหว่างด�ำเนินการ ตามขั้นตอนอยู่”
Thailand Focus
ซีพีเอฟ พร้อมซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ไม่รุกป่า - ปลอดเผา ซีพีเอฟ ยืนยันพร้อมรับซื้อ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จากเกษตรกร ที่ลงทะเบียนในระบบตรวจสอบย้อนกลับ ตอกย�้ำรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกร ที่ไม่บุกรุกป่า ไม่เผา 100% ตามราคาที่กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด
นายเรวัติ หทัยสัตยพงศ์ รองกรรมการ ผู ้ จั ด การบริ ห าร ธุ ร กิ จ อาหารสั ต ว์ บ ก บริ ษั ท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า ในขณะนี้ โรงงานอาหารสัตว์ ซีพีเอฟ ยังสามารถรองรับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ใน ช่วงทีม่ ผี ลผลิตออกสูต่ ลาดเป็นจ�ำนวนมาก พร้อม เปิ ด รั บ ซื้ อ ผลผลิ ต ของเกษตรกรอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตอกย�้ำยึดมั่นนโยบายการจัดหาวัตถุดิบทางการ เกษตรอย่างรับผิดชอบ โดยผ่านระบบตรวจสอบย้อนกลับได้ถึง แหล่งปลูกข้าวโพดที่มีเอกสารสิทธิ์ถูกต้องตาม กฎหมาย ไม่บกุ รุกพืน้ ทีป่ า่ และสามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้ ตามแนวทาง “ไม่เขา ไม่เผา เราซือ้ ” โดยเกษตรกรยั ง ได้ ร าคารั บ ซื้ อ ที่ ป ระกาศหน้ า โรงงานซึ่งเป็นตามกระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด และ ขึ้นอยู่กับคุณภาพของผลผลิต “ขณะนี้ โรงงานอาหารสัตว์ซีพีเอฟ บริษัท ยินดีรับผลผลิตข้าวโพดของเกษตรกรอย่างต่อ เนือ่ ง และราคารับซือ้ ยังอยูใ่ นระดับทีด่ ี และรับซือ้
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
7
Thailand Focus
ผลผลิตที่ผ่านระบบตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งปลูก เพื่อสร้างความมั่นใจว่า เป็นข้าวโพดที่รับซื้อ 100% มาจากแหล่งผลิตที่ไม่ได้บุกรุกพื้นที่ป่าอย่างแน่นอน” นายเรวัติกล่าว ในช่วงการเก็บเกี่ยวผลผลิต ซีพีเอฟ ยังร่วมมือกับ บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) ผู้จัดหาวัตถุดิบทางการเกษตรให้บริษัท อ�ำนวยความสะดวก เกษตรกรในช่วงการเก็บเกี่ยว โดยเปิดจุดรับซื้อที่ใกล้กับแหล่งปลูกของเกษตรกร เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้เกษตรกรสามารถน�ำผลผลิตมาจ�ำหน่ายได้สะดวก ลดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง และได้รับราคาขายที่โปร่งใส และยุติธรรม ขณะเดียวกัน บริษัทฯ กับกรุงเทพโปรดิ๊วส ยังเดินหน้าส่งเสริมเกษตรกร ที่ปลูกบนพื้นที่ถูกต้องตามเอกสารสิทธิ์ มีความรู้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การน�ำเทคโนโลยี หรือเครื่องจักรทันสมัยมาใช้ มีการบริหารจัดการร่วมกัน เพื่อ ลดต้นทุนการผลิต ลดการใช้สารเคมี และมีเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ให้ค�ำแนะน�ำปลูก แบบปลอดการเผา ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผ่านการด�ำเนินโครงการ “เกษตรกรพึ่งตน ข้าวโพดยั่งยืน” ซึ่งด�ำเนินมา อย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 เพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการผลิตสินค้าทางการ เกษตรทีม่ คี ณ ุ ภาพได้มาตรฐาน เพิม่ มูลค่าผลผลิต ช่วยให้เกษตรกรมีอาชีพทีม่ นั่ คง และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
8
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Thailand Focus
หวั่นโควิด “จีน” เข้ม
อาหารแช่เยือกแข็ง - ผักผลไม้
ตรวจ PCR 100% ไทยอ่วมต้นทุนพุ่ง
ส.อ.ท. โอดจีน เพิ่มความเข้มงวดโควิด บี้ผู้ส่งออก อาหารทะเลแช่เย็นแช่แข็ง - ผักผลไม้ ตรวจสอบ PCR 100% พร้อมลุยออดิทโรงงานผัก - ผลไม้ กระทบต้นทุนพุ่ง เอกชนไทยดิ้นสู้หาตลาดใหม่ สะเทือนตลาดส่งออก 6 พันล้าน วันที่ 25 ธันวาคม 2564 นายวิศิษฐ์ ลิ้มลือชา ประธานกลุ่มอุตสาหกรรม อาหาร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และรองประธานกรรมการ หอการค้าไทย และประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์อาหารแปรรูปและอาหาร แห่งอนาคต เปิดเผยว่า ขณะนี้จีนมีความเข้มงวดเรื่องการตรวจสอบสินค้ามากขึ้น เรื่อยๆ จากโควิดรอบแรก กระทั่งราวเดือน พฤษภาคม - กรกฎาคม 2564 ได้ ก�ำหนดให้โรงงานอาหารแช่เย็น แช่แข็ง ต้องตรวจ PCR พนักงาน 100% ทุก 2 สัปดาห์ รวมถึงพนักงานใน cold chain ด้วย ซึ่งเอกชนหารือกับกรมประมงว่า ขอให้ฝ่ายจีนตรวจแค่ ATK และโรงงาน ที่ ป ฏิ บั ติ ต ามมาตรการเรื่ อ งโควิ ด (Covid Certified) ที่ ท างเอกชนเคยสรุ ป เป็นแนวทางร่วมกันเมื่อโควิดรอบแรกได้หรือไม่ แต่จีนไม่ยอมรับเงื่อนไขที่เสนอไป
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
9
Thailand Focus การส่งออกจีน สินค้า
2562
มูลค่า : ล้านบาท 2563 2564 2563 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.) 4,319.08 4.069.71 4,563.24 759.35 685.87 294.93 141.46 130.67 139.16 1.983,33 1,799.53 903.93 361.17 321.39 801.72
กุ้งสด แช่เย็น แช่แข็ง 5,703.50 ปลาหมึก มีชีวิต สด แช่เย็น แช่แข็ง 332.92 เนื้อปลาสด แช่เย็น แช่แข็ง 101.32 ปลาสด แช่เย็น แช่แข็ง 1,056.60 ปูสด แช่เย็น แช่แข็ง นึ่ง หรือต้ม 275.85 หอย มีชีวิต สด แช่เย็น แช่แข็ง แห้ง 26.09 280.82 ใส่เกลือ หรือแช่น�้ำเกลือ รมควัน รวม 7,496.28 7,845.21
% Growth 2564 2563 (ม.ค.-พ.ย.) -24% 12% 128% -57% 40% 6% 88% -50% 31% 149%
249.93
77.59
976%
-69%
7,257.10
6,780.57
4%
-7%
“เมือ่ เดือนทีผ่ า่ นมา ผูป้ ระกอบการได้หารือ ร่วมกันว่า รายที่ส่งไปแล้วคุ้มค่าก็ต้องปฏิบัติตาม แต่รายที่ไม่คุ้มค่าขอให้พิจารณาเองว่าหาตลาด ทดแทนได้หรือไม่” “ล่าสุดจีนเข้ามาตรวจ audit กรมวิชาการ ไปเมื่อกันยายน 2564 ในโรงงานผักผลไม้ที่ส่ง ไปจีน ซึ่งกรมฯ แจ้งว่า โรงงานใช้การตรวจสอบ ด้วยชุดตรวจ ATK ตรวจ ทางจีนก็ไม่ได้มปี ระเด็น อะไร และตอนนี้ผักผลไม้แช่เย็นแช่แข็งก็ส่งเข้า ได้โดยไม่ต้องมีเอกสารรับรองเรื่อง Covid หรือ ถูกเรียกให้ตรวจ PCR” ทั้งนี้ ปัจจุบันไทยส่งออกสินค้ากลุ่มอาหาร ทะเลแช่เยือกแข็งไปจีนช่วง 11 เดือนแรก (มกราคม พฤศจิกายน) 2564 มีมลู ค่า 6,780.57 ล้านบาท ลดลง 7% จากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีมูลค่า 7,257.10 ล้านบาท โดยประเภทสินค้าที่ส่งออก ประกอบด้วย กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง มูลค่า 4,563.24 ล้านบาท
10
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
photo : Tankerer_pixabay
เพิ่มขึ้น 12% กลุ่มปลาหมึกมีชีวิต สด แช่เย็น แช่แข็ง 294.93 ล้านบาท ลดลง 57% กลุ่ม เนื้อปลาสด แช่เย็นแช่แข็ง 139.16 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 6% กลุ่มปลาสด แช่เย็นแช่แข็ง 903.93 ลดลง 50% กลุ่มปูสด แช่เย็นแช่แข็ง นึ่ง หรือ ต้ม 801.72 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 149% และกลุ่ม หอยมีชีวิต สด แช่เย็น แช่แข็ง แห้ง ใส่เกลือ หรือแช่น�้ำเกลือ รมควัน 77.59 ล้านบาท ลดลง 59%
Thailand Focus
พักขึ้นทะเบียนผู้นำ�เข้า
ผลิตภัณฑ์มันสำ�ปะหลัง 6 ราย คุมคุณภาพ-ราคา กรมการค้าต่างประเทศ พักการขึ้น ทะเบียนผู้น�ำเข้าผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลัง 6 ราย หลังตรวจสอบพบไม่ผ่านเกณฑ์ ที่ก�ำหนด เป็นการป้องกันการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลังที่ไม่ได้มาตรฐาน และ ป้องกันผลกระทบต่อราคาในประเทศ วันที่ 28 ธันวาคม 2564 นายพิทักษ์ อุดมวิชัยวัฒน์ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ เปิดเผยว่า เดือนธันวาคม 2564 กรมฯ ได้พัก การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ มันส�ำปะหลังที่คุณภาพไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ที่ก�ำหนด 6 ราย หลังจากได้จัดชุดเคลื่อนที่เร็ว ตรวจสอบการน�ำเข้า ณ ด่านศุลกากรอย่างต่อ เนื่อง โดยก�ำหนดมันส�ำปะหลังความชื้นไม่เกิน ร้ อ ยละ 14 ปริ ม าณดิ น ทรายที่ ดิ น กั บ หั ว มั น ส�ำปะหลังไม่เกินร้อยละ 3 หากพบว่าการน�ำเข้า ไม่ได้คณ ุ ภาพตามทีก่ ำ� หนด จะด�ำเนินการพักการ ขึ้นทะเบียนเป็นผู้น�ำเข้าผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลัง ทันที ซึ่งผู้น�ำเข้าต้องไปปรับปรุงคุณภาพสินค้า ให้ได้มาตรฐานที่ก�ำหนดจึงจะสามารถน�ำเข้าต่อ ไปได้
“มาตรการดังกล่าวช่วยให้ได้ผลิตภัณฑ์ มันส�ำปะหลังที่มีคุณภาพป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรม มันส�ำปะหลังของไทย อีกทั้งไม่กระทบต่อราคา ผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลังในประเทศ และท�ำให้ ราคามีเสถียรภาพ เพราะขณะนีเ้ ป็นช่วงทีผ่ ลผลิต ก�ำลังออกสู่ตลาด ช่วงเดือนธันวาคม 2564 มีนาคม 2565 ซึ่งกรมฯ จะมีการติดตามสถานการณ์ ก ารน� ำ เข้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มั น ส� ำ ปะหลั ง จาก ประเทศเพื่อนบ้านอย่างใกล้ชิดต่อไป” ทั้งนี้ ราคาหัวมันสดปัจจุบันเฉลี่ย 2.55 บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 21.43 จาก ช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนการส่งออกผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลัง ในช่วง 10 เดือนของปี 2564 (มกราคม - ตุลาคม) มีปริมาณ 8.52 ล้านตัน มูลค่า 3,217.24 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 43.19 และ 46.57 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อนที่ส่งออกปริมาณรวม 5.95 ล้านตัน มูลค่า 2,194.97 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อย่างไรก็ตาม หากพบเบาะแสผู้กระท�ำผิด เกีย่ วกับการลักลอบน�ำเข้าผลิตภัณฑ์มนั ส�ำปะหลัง จากประเทศเพื่ อ นบ้ า น สามารถแจ้ ง สายด่ ว น กรมการค้าต่างประเทศ โทร. 1385
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันอังคารที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
11
Thailand Focus
เอกชน ผวา คู่ค้าดัน “ภาษีคาร์บอน”
กีดกันสะเทือนเกษตร - ปศุสัตว์ไทย 1 ล้านล้าน
เอกชน ผวา “ภาษีคาร์บอน” คู่ค้า เขย่าสินค้าปศุสัตว์-เกษตรไทย 1 ล้านล้านบาท สะเทือนกรมปศุสัตว์ ลุยจัดระเบียบโรงงานอาหารสัตว์ ใช้วัตถุดิบสีเขียวจาก 3 พืช “ข้าว-ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์-มันสำ�ปะหลัง” นำ�ร่อง รับมือ “สหรัฐฯ-อียู” ตั้งการ์ด กีดกันการค้า ชี้ไม่เร่งใน 2 ปี ไทยอ่วมแน่ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. ระบุที่มาของการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทย 4 อันดับแรก มาจากภาคพลังงาน (253 ล้านตันคาร์บอนฯ ต่อ ปี) คิดเป็นสัดส่วน 70% ของปริมาณก๊าซเรือน กระจกทั้งหมดของไทย ส่วนอีก 30% มาจาก ภาคเกษตรกรรม ที่มา : ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล วันอาทิตย์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2564
12
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
โดยเฉพาะ “นาข้าว” และการท�ำปศุสัตว์ (52 ล้านตันคาร์บอนฯ) ภาคอุตสาหกรรม โดย เฉพาะการผลิตซีเมนต์ (31 ล้านตันคาร์บอนฯ) และภาคของเสีย (17 ล้านตันคาร์บอนฯ) ดังนั้น หากไทยไม่ปรับตัว ในอนาคตอาจจะถูกกีดกัน การค้าผ่านการเก็บภาษีคาร์บอน นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย เผยว่ า ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ อาหารสั ต ว์ ของไทยเป็นไปตามกลไกตลาดโลก จากไทยไม่สามารถควบคุมต้นทุนได้ทุกพืช โดย วั ต ถุ ดิ บ หลั ก อาทิ กากถั่ ว เหลื อ ง และเมล็ ด ถั่วเหลืองมีการน�ำเข้าจ�ำนวนมาก เพราะผลผลิต ในประเทศมีไม่เพียงพอ รวมถึงต้นทุนราคาน�ำ้ มัน ในตลาดโลกที่ขึ้นลงตลอดเวลา ท�ำให้ไม่สามารถ ควบคุมต้นทุนให้มีเสถียรภาพได้
Thailand Focus อุปทาน และการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ของไทย ได้ (อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ตลอดห่วงโซ่ของ ไทย และการส่งออกสินค้าปศุสัตว์มีมูลค่ารวม ประมาณ 1.07 ล้านล้านบาทต่อปี) ขณะเดียวกันในอนาคตไทยจะมีการเก็บ ภาษีคาร์บอนจากสินค้าน�ำเข้าเช่นกัน ดังนั้น ต้อง เร่งเตรียมตัวได้แล้ว
“นอกจากนี้ ผู้ผลิตอาหารสัตว์ยังต้องช่วย ดูแลเกษตรกรในส่วนของราคาข้าวโพดอาหาร สั ต ว์ ที่ เ ป็ น อี ก วั ต ถุ ดิ บ หลั ก เพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ กษตรกร มีปัญหา เพราะฉะนั้น เรื่องต้นทุนมีทั้งเป็นไปตาม กลไกตลาด และเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล ที่ผ่านมาก็คุยเรื่องนี้มาตลอดจากข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ เป็นสินค้าการเมือง แต่สิ่งที่อยากเห็นคือ ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกตลาด เพราะอีก ด้านหนึ่งรัฐก็มีการอุดหนุน และช่วยเหลือทาง การเงินกับเกษตรกรในแต่ละพืชอยู่แล้ว”
“รัฐบาลยังไม่ได้ท�ำอะไรมากเพื่อเตรียม ความพร้ อ มในเรื่ อ งต่ า งๆ เหล่ า นี้ รั ฐ บาลจะ อุดหนุนต้นทุนก็อุดหนุนไป แต่ต้องเร่งพัฒนา ควบคู่ไปด้วย เพราะวันข้างหน้า อาจขายของ ไม่ ไ ด้ และจะถู ก เก็ บ ภาษี เ พิ่ ม ขึ้ น มองว่ า อี ก ไม่เกิน 2 ปี เราโดนแน่ ถ้าไม่ท�ำอะไรเลย ดังนั้น อยากให้รัฐบาลมีนโยบายปูพรมมาเลยว่าจะต้อง ลดคาร์ บ อนอย่ า งไรในการผลิ ต สิ น ค้ า เกษตร ภายใน 5 ปี”
ขณะที่สิ่งที่อยากให้รัฐบาลเร่งด�ำเนินการ นับจากนี้ คือ “เกษตรสีเขียว” (การผลิต และ บริโภคสินค้าอาหาร เส้นใย พืช และผลิตภัณฑ์ จากสัตว์ต่างๆ โดยใช้กระบวนการผลิตที่ปกป้อง และส่งเสริมสภาพแวดล้อม สุขภาพ ชุมชน และ สวัสดิการแรงงาน และสวัสดิการปศุสตั ว์) เพือ่ รักษา สิ่งแวดล้อม และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซมีเทน
อย่ า งไรก็ ดี ล่ า สุ ด ทางสมาคมฯ อยู ่ ระหว่างด�ำเนินการร่วมกับกรมปศุสัตว์ เรื่องการ พั ฒ นาการผลิ ต วั ต ถุ ดิ บ อาหารสั ต ว์ ใ นประเทศ ให้เข้าสู่ระบบ “สีเขียว” เพื่อรองรับความต้องการ ของตลาดในอนาคต โดยเริม่ ต้นใน 3 วัตถุดบิ หลัก ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้าว และมันส�ำปะหลัง มีเป้าหมายเข้าสู่ระบบสีเขียวใน 5 ปี (25652569) เนือ่ งจากสภาวการณ์การผลิต และการค้า โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ ธุรกิจปศุสัตว์ และสัตว์น�้ำต้องมีการปรับตัวอยู่ ตลอดเวลา
ปัจจุบัน ประเทศคู่ค้าในยุโรปเริ่มเก็บภาษี คาร์บอนจากสินค้าน�ำเข้าแล้ว และคาดในอนาคต ฉลาก และภาษีคาร์บอนจะถูกน�ำมาใช้เป็นมาตรการกีดกันการค้าเพิ่มขึ้น และอาจส่งผลกระทบ ต่ อ อุ ต สาหกรรมอาหารสั ต ว์ ต ลอดทั้ ง ห่ ว งโซ่
ปัจจุบันตลาดต่างประเทศได้มีนโยบายที่ มุ่งเน้นไปในด้านการผลิตสินค้าที่ยั่งยืน และเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นเงื่อนไขการแข่งขัน ทางการค้าที่นอกเหนือจากการแข่งขันทางด้าน ราคา และคุณภาพความปลอดภัย โดยสหภาพ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
13
Thailand Focus
ยุโรป (อีย)ู และสหรัฐอเมริกา ซึง่ เป็นตลาดส่งออกหลักสินค้าปศุสตั ว์ของไทยได้ออกมาตรการเกีย่ วกับ สินค้ายั่งยืน อาทิ EU Green deal และ ESG : Environmental Social and Governance เป็นต้น ที่ส�ำคัญภาคเอกชนในต่างประเทศ อาทิ Tesco และ Walmart ได้มีออกนโยบายเกี่ยวกับสินค้า ยั่งยืน โดยจะต้องตรวจสอบย้อนกลับแหล่งที่มาของสินค้าได้ เช่น พืชวัตถุดิบที่น�ำมาผลิตอาหารสัตว์ จะต้องไม่มาจากการท�ำลายป่า เป็นต้น ที่ผ่านมารัฐบาลไทยได้มีการด�ำเนินโครงการและมีเครื่องมือ ในการส่งเสริมอยู่บ้างแล้ว อาทิ คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและปลอดภัย (GAP) การส่งเสริมการปลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนา และลดการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ป่า แต่ต้องเร่งในอีกหลายเรื่อง ให้มากกว่าที่เป็นอยู่
14
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Thailand Focus
รมช.ประภัตร นั่งหัวโต๊ะ
คลอด 6 ร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร
โชว์ผลงาน มกอช. ปี 64 ออกใบอนุญาต ผู้ผลิต ผู้ส่งออก ผู้น�ำเข้า 7 มาตรฐานบังคับ 332 ฉบับ เมื่ อ วั น ที่ 1 ธั น วาคม 2564 นายประภั ต ร โพธสุ ธ น รั ฐ มนตรี ช ่ ว ย ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะกรรมการ มาตรฐานสินค้าเกษตร ครัง้ ที่ 5/2564 ผ่านระบบการประชุมทางไกล Zoom Cloud Meeting ณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ว่ า ที่ ป ระชุ ม ได้ รั บ ทราบผลการ ด�ำเนินงานออกใบอนุญาตเป็นผู้ผลิต ผู้ส่งออก ผู้น�ำเข้าสินค้าเกษตรตามมาตรฐาน บังคับ จ�ำนวนทัง้ หมด 7 มาตรฐาน ในปีงบประมาณ 2564 นับตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2563 - 31 กันยายน 2564 ได้แก่ 1. หลักปฏิบัติส�ำหรับกระบวนการรมผลไม้สด ด้วยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซต์ (มกษ.1004-2557) 2. หลักปฏิบัติส�ำหรับการผลิต เชื้อเห็ด (มกษ.2507-2559) 3. เมล็ดถั่วลิสง : ข้อก�ำหนดปริมาณอะฟลาทอกซิน (มกษ.4702-2557) 4. การปฏิบัติที่ดีส�ำหรับศูนย์รวบรวมน�้ำนมดิบ (มกษ.64012557) 5. การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำที่ดีส�ำหรับฟาร์มผลิตลูกกุ้งขาว แวนนาไมปลอดโรค (มกษ.7432-2558) 6. การปฏิบัติที่ดีส�ำหรับการผลิตทุเรียน ที่มา : ข่าวออนไลน์ อินโฟเควสท์ วันพฤหัสบดีที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
15
Thailand Focus แช่เยือกแข็ง (มกษ.9046-2560) และ 7. การ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�ำหรับฟาร์มไก่ (มกษ. 6909-2562) ซึ่งได้ด�ำเนินการออกเป็นจ�ำนวน ทั้งสิ้น 332 ฉบับ โดยแบ่งเป็นใบอนุญาตผู้ผลิต 236 ฉบับ ผู้ส่งออก 88 ฉบับ และผู้น�ำเข้า 8 ฉบับ นอกจากนี้ ที่ประชุมได้พิจารณาเห็นชอบ ร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร 6 เรื่อง ได้แก่ 1. ลูกเดือย 2. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�ำหรับ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภค 3. หลักปฏิบัติ ส�ำหรับการเฝ้าระวังและตรวจติดตาม เชื้อดื้อยา ต้านจุลชีพในปศุสัตว์ 4. หลักการด้านสวัสดิภาพ สัตว์ : ระบบการผลิตสุกร 5. การปฏิบัติทางการ เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำที่ดีส�ำหรับฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล และ 6. การแสดงฉลากสิ น ค้ า เกษตร ทั้ ง นี้ เพื่อด�ำเนินการประกาศเป็นมาตรฐานทั่วไปของ ประเทศต่อไป ด้านนายพิศาล พงศาพิชณ์ เลขาธิการ มกอช. กล่ า วว่ า ส� ำ หรั บ สาระส� ำ คั ญ ของร่ า ง มาตรฐาน 6 เรื่อง คือ 1. ลูกเดือย เป็นพืช เศรษฐกิจที่มีความส�ำคัญต่อการบริโภค อุตสาหกรรมอาหาร ตลาดต้องการลูกเดือยคุณภาพดี โดยปี 2563 มีการส่งออกลูกเดือยทั้งเปลือก มูลค่า 102.5 ล้านบาท ปริมาณ 2,035 เมตริกตัน ซึ่งการจัดท�ำร่างมาตรฐานสินค้าเกษตรลูกเดือย เพื่อเป็นประโยชน์ในการก�ำกับดูแลการน�ำเข้าลูก เดือย และคุณภาพของลูกเดือยภายในประเทศ 2. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�ำหรับฟาร์ม เลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภค ปัจจุบันเกษตรกร และ ผู ้ ป ระกอบการมี ก ารเลี้ ย งสั ต ว์ เ พื่ อ การบริ โ ภค หลากหลายชนิด เพื่อเป็นการเพิ่มทางเลือกให้ แก่เกษตรกร และผู้ประกอบการได้เข้าสู่ระบบ มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์ โดยมาตรฐานฯ นี้ การ
16
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�ำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์ เพื่ อ การบริ โ ภคครอบคลุ ม องค์ ป ระกอบฟาร์ ม การจัดการฟาร์ม บุคลากร สุขภาพสัตว์ สวัสดิภาพ สัตว์ การจับ และการจัดการตัวสัตว์ และผลิตผล สิ่งแวดล้อม และการบันทึกข้อมูล เพื่อให้สัตว์ มีสุขภาพแข็งแรง สามารถน�ำไปใช้เป็นอาหาร หรือเลี้ยงต่อเป็นอาหาร หรือเพื่อให้ได้ผลิตผลที่ ปลอดภัย มีความเหมาะสมในการน�ำไปบริโภค 3. หลักปฏิบัติส�ำหรับการเฝ้าระวังและ ตรวจติ ด ตามเชื้ อ ดื้ อ ยาต้ า นจุ ล ชี พ ในปศุ สั ต ว์ มาตรฐานฯ นี้ เป็นการให้แนวปฏิบัติส�ำหรับการ เฝ้าระวังและตรวจติดตามเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ เฉพาะแบคที เ รี ย ในปศุ สั ต ว์ ที่ เ ลี้ ย งไว้ เ พื่ อ เป็ น อาหารตลอดห่วงโซ่การผลิต ครอบคลุมการเฝ้า ระวั ง และตรวจติ ด ตามเชื้ อ ดื้ อ ยาต้ า นจุ ล ชี พ ใน อาหารสัตว์ ผลิตผลและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ และ ตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบระบบการเลี้ยง สัตว์ ตั้งแต่ขั้นตอนการวางแผนการเฝ้าระวังและ ตรวจติดตามเชื้อดื้อยา แนวทางการเก็บตัวอย่าง การเก็บ และน�ำส่งตัวอย่างไปยังห้องปฏิบัติการ การเก็บรักษาสภาพแบคทีเรีย การทดสอบความไว ต่อยาต้านจุลชีพ การบันทึก และเก็บข้อมูลจนถึง การวิเคราะห์และรายงานผล 4. หลักการด้าน สวัสดิภาพสัตว์ : ระบบการผลิตสุกร มาตรฐานฯ นี้ เป็นการก�ำหนดหลักการ ค�ำอธิบายตัวชี้วัดด้าน สวัสดิภาพสัตว์ส�ำหรับสุกร และข้อแนะน�ำด้าน สวัสดิภาพสัตว์ที่ดีในระบบการผลิตสุกร ครอบ คลุมการผสมพันธุ์ การเลีย้ ง และการจัดการฟาร์ม สุกร ตัง้ แต่การรับสุกรเข้าฟาร์ม จนถึงระยะจับขาย หรือส่งโรงฆ่า โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติตามหลัก สวั ส ดิ ภ าพสั ต ว์ และให้ แ นวทางการประเมิ น สวัสดิภาพสัตว์จากผลลัพธ์ของการจัดการเลี้ยง ที่เกิดกับสุกรโดยตรง
Thailand Focus 5. การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำที่ดี ส�ำหรับฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล มกอช. ได้ทบทวน ขั้นตอนการจัดท�ำมาตรฐาน ให้สอดคล้อง และ เป็นไปตามข้อก�ำหนดของ Global Sustainability Seafood Initiatives (GSSI) โดยการปรับปรุง องค์ประกอบของคณะกรรมการวิชาการพิจารณา ร่างมาตรฐานให้ครอบคลุมภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และมีความสมดุล รวมถึงการทบทวนมาตรฐาน การปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำที่ดีส�ำหรับ ฟาร์ ม เลี้ ย งกุ ้ ง ทะเล (มกษ.7401-2562) ซึ่ ง ครอบคลุ ม ข้ อ ก� ำ หนดการปฏิ บั ติ ท างการเพาะ เลี้ยงสัตว์น�้ำที่ดีส�ำหรับฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล เช่น กุ้งกุลาด�ำ กุ้งแชบ๊วย กุ้งขาวแวนนาไม ตั้งแต่ ขั้นตอนการเลี้ยง การจับ จนถึงหลังการจับก่อน การขนส่งออกจากฟาร์ม เพื่อให้ได้ผลิตผลกุ้งที่มี คุณภาพดี ปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยค�ำนึงถึง สุขภาพและสวัสดิภาพสัตว์ ความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม และ 6. การแสดงฉลาก
สินค้าเกษตร เนือ่ งจากความหลากหลายของสินค้า และกฎระเบียบด้านการแสดงฉลากสินค้าเกษตร ที่เกี่ยวข้อง อาจท�ำให้เกิดความไม่ชัดเจนในการ น�ำไปปฏิบัติ ดังนั้น เพื่อให้มีข้อมูลส�ำหรับอ้างอิง ในการก�ำหนดการแสดงฉลากของสินค้าเกษตร คณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร จึงเห็น สมควรให้จัดท�ำมาตรฐานฯ นี้ขึ้น ซึ่งครอบคลุม การแสดงฉลากของสินค้าเกษตร ทั้งที่เป็นอาหาร และทีไ่ ม่ใช่อาหาร ทีบ่ รรจุในหีบห่อส�ำหรับผูบ้ ริโภค หรืออยู่ในภาชนะบรรจุที่ไม่ได้จ�ำหน่ายโดยตรง ต่อผู้บริโภค แต่ไม่ครอบคลุมการแสดงฉลาก ของสินค้าเกษตรที่อยู่ในรูปแบบบัลก์ (Bulk) ซึ่ง เป็นสินค้าเกษตรที่ไม่ได้บรรจุหีบห่อ และสินค้า เกษตรนั้ น สั ม ผั ส โดยตรงกั บ พื้ น ผิ ว สั ม ผั ส ของ พาหนะที่ใช้ขนส่งสินค้าเกษตร และบรรยากาศ เช่น สินค้าเกษตรที่บรรทุกในท้ายรถบรรทุกแบบ เทกอง
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
17
Thailand Focus
โรงงานน�้ำตาล ยื่นฟ้องศาลปกครอง บังคับ กอน. เลิกเก็บค่าบ�ำรุงชาวไร่อ้อย 3 สมาคมโรงงานน�้ำตาลทราย ยื่นฟ้องศาลปกครองให้ กอน. ยกเลิกกฎระเบียบวิธีปฏิบัติ ที่ก�ำหนดให้โรงงานน�้ำตาล จัดเก็บเงินค่าบ�ำรุงสถาบัน ชาวไร่อ้อย เหตุกฎหมายไม่ได้ ให้อ�ำนาจไว้ หลังโรงงานหวั่น โดนชาวไร่อ้อยฟ้องร้อง นายสิ ริ วุ ท ธิ์ เสี ย มภั ก ดี รองประธาน กรรมการบริหารบริษทั ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จ�ำกัด (TSMC) เปิดเผยว่า 3 สมาคมโรงงานน�้ำตาล ทราย ซึ่งเป็นตัวแทนจากผู้ประกอบการโรงงาน น�้ ำ ตาลทรายทั้ ง 57 โรงงาน ยื่ น ฟ้ อ งต่ อ ศาล ปกครอง ให้ยกเลิกระเบียบปฏิบัติคณะกรรมการ อ้อยและน�้ำตาลทราย ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 ว่า ด้วยการก�ำหนดอัตราค่าบ�ำรุง และวิธีการช�ำระ ค่าบ�ำรุงสถาบันชาวไร่อ้อย ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2557 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2559 ที่เป็นระเบียบปฏิบัติให้ โรงงานน�้ำตาลจัดเก็บค่าบ�ำรุงสถาบันชาวไร่อ้อย ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ วันจันทร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564
18
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
โดยการด�ำเนินการฟ้องร้องครั้งนี้ มาจาก ค�ำพิพากษาของศาลปกครองกลาง ได้มคี ำ� วินจิ ฉัย ว่า กอน. มีหน้าที่ก�ำหนดอัตราค่าบ�ำรุงสถาบัน ชาวไร่อ้อยเท่านั้น แต่มิได้บัญญัติให้มีอ�ำนาจที่จะ ก�ำหนดวิธีการช�ำระค่าบ�ำรุงไว้ด้วย ดังนั้น หาก โรงงานยังคงปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าวโดยไม่มี กฎหมายรองรับ ท�ำให้มีความเสี่ยงที่จะถูกชาว ไร่อ้อยคู่สัญญาฟ้องร้องได้ ทั้งนี้ สมาคมฯ ได้ส่งหนังสือแจ้งแก่คณะ กรรมการอ้อยและน�้ำตาลทรายรับทราบแล้ว ว่า โรงงานน�้ำตาลทุกโรง จะยกเลิกการจัดเก็บเงิน ค่าบ�ำรุงดังกล่าวตั้งแต่ฤดูการผลิตปี 2564/65 เป็นต้นไป พร้อมกันนี้จะเร่งท�ำความเข้าใจกับ สมาชิกผู้ประกอบการโรงงานน�้ำตาล ถึงแนวทาง ด�ำเนินการไม่จัดเก็บค่าบ�ำรุงให้แก่สถาบันชาว ไร่อ้อย เพื่อให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน “ผู้ประกอบโรงงานน�้ำตาลทุกโรง ได้มอบ หมายให้ ท นายฟ้ อ งต่ อ ศาลปกครองให้ กอน. ยกเลิกระเบียบวิธีปฏิบัติดังกล่าว พร้อมก�ำชับ โรงงานน�้ำตาลทุกโรง ยกเลิกการหักเงินดังกล่าว ในรอบการหีบอ้อยปีนี้ทันที” นายสิริวุทธิ์ กล่าว
Thailand Focus
กรมปศุสัตว์ประชุม
ผู้ประกอบการไก่ไข่ จัดโควตาพ่อแม่พันธุ์ นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ มอบหมายให้ นายสัตวแพทย์โสภัชย์ ชวาลกุล รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นประธาน การประชุมผู้ประกอบการไก่ไข่พันธุ์ ผ่านระบบการประชุมทางไกล โดยมีนายกฤติพิพัฒน์ รัตนนาวินกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านส่งเสริมและพัฒนาสัตว์ปีก กองส่งเสริมและพัฒนาการ ปศุสัตว์ นายสัตวแพทย์อภินันท์ คงนุรัตน์ รักษาการราชการแทน ผอ.ส�ำนักพัฒนา และรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ ผู้แทน ผอ.ส�ำนักควบคุม ป้องกันและบ�ำบัดโรคสัตว์ รวมทั้งผู้ประกอบการไก่ไข่พันธุ์ เข้าร่วม การประชุมดังกล่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อหารือการจัดสรรโควตาแผนการน�ำเข้าเลี้ยง ไก่ไข่พันธุ์ ไก่ไข่ปู่ย่าพันธุ์ (GP) และไก่ไข่พ่อแม่พันธุ์ (PS) ปี 2565 โดยมีเรื่องพิจารณา 2 ประเด็น คือแนวทางจัดสรรโควตาให้กับผู้ประกอบการ 16 บริษัทรายเดิม 5 บริษัท รายใหม่ และแผนการจัดสรรโควตาการน�ำเข้าเลี้ยงไก่ไข่พันธุ์ ปี 2565 ส�ำหรับสถานการณ์ ไก่ไข่ในปี 2564 มีแผนการเลี้ยงปู่ย่าพันธุ์ไข่ไก่ (GP) 3,800 ตัว น�ำเข้าเลี้ยงแล้ว 1,900 ตัว แผนการเลีย้ งพ่อแม่พนั ธุไ์ ก่ไข่ (PS) ปี 2564 จ�ำนวน 440,000 ตัว น�ำเข้าเลีย้ งแล้ว 376,529 ตัว จ�ำนวนไก่ไข่ยืนกรงปัจจุบัน 50.24 ล้านตัว ประมาณการผลผลิต 41.69 ล้านฟองต่อวัน ส�ำหรับราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์ม ฟองละ 2.60 บาท ลูกไก่ไข่ตัวละ 28 บาท ไก่ไข่รุ่น ตัวละ 150 บาท และต้นทุนการผลิตไข่ไก่ (กรกฎาคม - กันยายน 2564) เฉลี่ยฟองละ 2.75 บาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 เฉลี่ยฟองละ 2.56 บาท จึงใช้มาตรการรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ ขอความร่วมมือผู้ประกอบการลดปริมาณไข่ไก่ในตลาดภายในประเทศ ระหว่างเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2564 เป้าหมาย 48.76 ล้านฟอง
ที่มา : แนวหน้า วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
19
Thailand Focus
กรมประมงถก 3 สมาคมฯ
ขับเคลื่อนแผน MMPA ไทย นายบัญชา สุขแก้ว รองอธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า จากกรณีทสี่ หรัฐอเมริกา ได้ประกาศข้อก�ำหนดว่าด้วยการน�ำเข้าสินค้าประมง ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการ น�ำเข้าสินค้าสัตว์น�้ำ เพื่อคุ้มครองสัตว์ทะเลเลี้ยงลูกด้วยนม (MMPA) เพื่อประเมิน กฎระเบียบข้อบังคับการท�ำประมง และการท�ำประมงเชิงพาณิชย์ของประเทศที่ส่ง สินค้าและผลิตภัณฑ์สตั ว์นำ�้ ไปยังสหรัฐฯ ว่ามีการลดผลกระทบทีท่ ำ� ให้เกิดการตาย หรือบาดเจ็บรุนแรงต่อสัตว์ทะเลเลี้ยงลูกด้วยนม เช่น โลมา วาฬ พะยูน ฯลฯ ซึ่ง สหรัฐฯ ได้ประกาศเริ่มใช้กฎหมาย MMPA เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2560 และ ก�ำหนดระยะเวลาผ่อนผัน 5 ปี เพื่อให้ประเทศคู่ค้าได้มีการเตรียมความพร้อม ในการปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎระเบียบ MMPA และจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2566 เป็นต้นไป โดยในช่วงระหว่างการผ่อนผันนี้ ประเทศไทยยังคงส่ง สินค้าประมงไปจ�ำหน่ายได้ อย่ า งไรก็ ดี เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจ และขั บ เคลื่ อ นตามแผนปฏิ บั ติ ก าร ระดับชาติเพือ่ การอนุรกั ษ์และบริหารจัดการสัตว์ทะเลเลีย้ งลูกด้วยนม 2566 - 2570 ร่วมกับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมประมงของประเทศไทย กรมประมง จึงได้ เชิญผู้ประกอบการจาก 3 สมาคม ได้แก่ สมาคมอุตสาหกรรมทูน่าไทย สมาคม อาหารแช่เยือกแข็งไทย และสมาคมผู้ผลิตอาหารส�ำเร็จรูป ร่วมหารือถึงแนวทาง การด�ำเนินการ และการเตรียมความพร้อมเพือ่ รองรับการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว ทั้งนี้ ภายหลังการประชุมหารือดังกล่าว ผู้ประกอบการมีความเข้าใจ และ พร้อมที่จะปฏิบัติตามกระบวนการของทางภาครัฐ โดยได้มีการไปเจรจาหารือกับ ประเทศคู่ค้าที่ไทยมีการน�ำเข้าผลผลิตมาแปรรูปเพื่อส่งออกให้ได้ทราบถึงแนวทาง ปฏิบัติ MMPA ด้วย
ที่มา : แนวหน้า วันพุธที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2565
20
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Thailand Focus
แก้ IUU คว้าน�้ำเหลว
7 ปีทุบเรือประมงสูญ 2 ล้านล้านบาท 7 ปีแก้ ไขประมงผิด IUU ทุบประมง พาณิชย์พัง 2 ล้านล้านบาท แถมเปิด ช่ อ งประมงเถื่ อ น โผล่ 8 หมื่ น ล� ำ ฉุ ด จ�ำนวนสัตว์น�้ำวูบต่อเนื่อง 4 ปี เร่งเสนอ พล.ต.ท.สุ ร เชษฐ์ หั ก พาล ไขก๊ อ ก 25 ประเด็น นายมงคล สุ ข เจริ ญ คณา ที่ ป รึ ก ษา กิตติมศักดิ์สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า 7 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลประสบความ ล้ ม เหลวในการแก้ ไ ขปั ญ หาการท� ำ ประมงผิ ด กฎหมาย ขาดการรายงานและไร้ ก ารควบคุ ม (IUU) นับจากการบังคับใช้ พ.ร.ก. การประมง 2558 แม้วา่ จะท�ำให้สหภาพยุโรป (EU) ประกาศ ปลดใบเหลืองประมงไทยในปี 2562 แต่ทว่า กฎหมายดังกล่าวมีความเข้มงวด รุนแรง ส่งผล กระทบต่ออาชีพชาวประมงมาโดยตลอด ส่วนความคืบหน้ าข้อเสนอให้รัฐบาลจัด งบประมาณ ปี 2565 อย่างน้อย 7,000 ล้านบาท เพื่อซื้อเรือประมงเพื่อคัดออกจากระบบจ�ำนวน 2,500 ล�ำ จากจ�ำนวนทั้งสิ้น 10,200 ล�ำ ซึ่ง สืบเนื่องมาจากการบังคับใช้ พ.ร.ก. การประมง 2558 นั้น ก็ไม่ได้รับการตอบรับ ทั้งยังใช้วิธี ปรับลดวันท�ำประมง เช่น สลับวันเว้นวัน ท�ำให้
เรือประมงแต่ละล�ำมีเวลาออกเรือเฉลี่ยประมาณ 8 เดือนต่อล�ำต่อปี และยังมีการปิดอ่าว เพื่อ ควบคุมปริมาณการจับสัตว์น�้ำในทะเล หรือ over fishing ซึ่งท�ำให้รายได้ชาวประมงลดลง จนใน ปัจจุบันคาดว่า ประมงพาณิชย์หยุดกิจการไปแล้ว 30 - 40% เหลือเรือเพียงแค่ 6,000 ล�ำ จากทีเ่ คย มีเรือหลักหมื่นล�ำ และอีกด้าน ภาครัฐเปิดเสรี น�ำเข้าสินค้าประมงเพือ่ มาแปรรูปแล้วส่งออกปีละ แสนล้ า น ยิ่ ง ซ�้ ำ เติ ม อาชี พ ชาวประมงของไทย ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 อีก ซึ่งประเมินว่า ความเสียหายภาคประมงตอนนี้มีมูลค่ากว่า 2 ล้านล้านบาท “แม้ จ ะบอกว่ า การปรั บ ลดวั น - ปิ ด อ่ า ว เป็นการเพิ่มจ�ำนวนสัตว์น้�ำ แต่กลับพบข้อมูลว่า ปริมาณสัตว์น�้ำปี 2564 ลดน้อยถอยลงมาน้อย กว่าปี 2559 โดยล่าสุดในการประชุมนโยบาย การประมงแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2565 ซึ่งมีพลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เป็น ประธาน ได้วิเคราะห์จุดอ้างอิง และการก�ำหนด ปริมาณสัตว์น�้ำที่อนุญาตให้ท�ำการประมงส�ำหรับ ปีการประมง 2565 - 2566 มีการดูตัวเลขย้อน หลังจ�ำนวนปริมาณทรัพยากรสัตว์น�้ำลดลงเรื่อยๆ ทุกปี โดยปี 2563 มี 1.6 แสนตัน ปี 2564 ลด ลงเหลือ 1.5 แสนตัน”
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2565 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
21
Thailand Focus “สมาคมขอตั้งข้อสังเกตการแก้กฎหมาย การประมงเอื้อประโยชน์ให้ใครหรือไม่ เพราะ มีจ�ำนวนเรือประมงพื้นบ้านที่ไม่ได้จดทะเบียน อย่างถูกต้อง หรือเรียกเรือเถื่อนกว่า 50,000 80,000 ล�ำ ซึ่งเรือประมงพื้นบ้านอยู่ในระบบจริง เพียงแค่ 27,000 ล�ำ และยังไม่ออกใบอนุญาต อีก 3,500 ล�ำ ดังนั้น การละเลยปล่อยให้เรือ เถื่อนเพิ่มขึ้น เป็นสาเหตุท�ำให้เรือประมงที่ท�ำการ ประมงตามแนวชายฝั่งเพิ่มสูงขึ้นจ�ำนวนมาก ส่ง ผลให้มีการจับพ่อแม่พันธุ์สัตว์น�้ำที่เข้าไปวางไข่ ตามแนวชายฝั่งและในพื้นที่ปิดอ่าว ถูกจับไปก่อน ที่จะวางไข่จนหมด จึงถือว่าเป็นการตัดวงจรชีวิต สัตว์น�้ำอย่างมีนัยส�ำคัญ” นายมงคลกล่าวว่า ล่าสุดในการหารือร่วม กั บ สมาชิ ก 22 จั ง หวั ด ในการประชุ ม วิ ส ามั ญ สมาคมการประมงแห่งประเทศไทยเมื่อสัปดาห์ ที่ผ่านมา ได้สรุปข้อเสนอ 25 ข้อ เพื่อยื่นต่อ พล.ต.ท.สุรเชษฐ์ หักพาล ผู้ช่วยผู้บัญชาการ ต�ำรวจแห่งชาติ ที่เพิ่งเข้ามารับต�ำแหน่งในฐานะ ประธานคณะท� ำ งานเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ ตรวจสอบ ติดตาม ตรวจสอบควบคุมเฝ้าระวัง การท�ำการประมงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ส� ำ หรั บ ข้ อ เสนอส� ำ คั ญ อาทิ 1. ขอวั น ท�ำการประมงเพิ่ม 2. ขอให้เร่งรัดด�ำเนินการ เกี่ ย วกั บ การน� ำ เรื อ ออกนอกระบบที่ พั ฒ นาได้ รับปากไปแล้ว โดยขอให้ใช้งบฯ กลางโยกงบฯ ท�ำ ปะการังเทียมของหน่วยงานมาซื้อเรือ 3. การ ยื่นขออนุญาตการท�ำประมงพาณิชย์รอบใหม่ ขอ กรมประมงอย่าเพิ่มเงื่อนไขนอกเหนือจากรอบ ปีก่อน เพราะไม่สามารถปฏิบัติได้ทัน 4. เขต ประมงชายฝั่งยังไม่มีการออกประกาศ
22
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
5. ปัญหาเรือประมงเวียดนามเข้ามาลักลอบ ท� ำ การประมงในเขตประเทศไทย โดยเฉพาะ ที่เกาะกะ 6. การแก้ไขปัญหาให้ดูที่เจตนา ที่ ส�ำคัญคือ การออกกฎหมายต่างๆ ของกรมประมง และภาครั ฐ มี ก ารใช้ ก ฎหมาย และโทษปรั บ ที่รุนเเรง โดยพบมีการให้ข้อมูลผิดๆ กับทางผู้มี อ�ำนาจ ท�ำให้ประเทศชาติเสียหายอย่างมาก และ ขอความคืบหน้าการขอใช้ ม.83 แห่งพระราชบัญญัติการประมง 2558 ปีละ 2 ครั้ง ครั้งละ 3 เดือน เพื่อแก้ไขปัญหาแรงงาน และ 7. ขอ ความจริงใจ และให้สว่ นราชการเห็นใจชาวประมง พาณิชย์บ้าง ซึ่งเบื้องต้น พล.อ.สุรเชษฐ์ รับปาก จะน�ำไปพิจารณา และดูที่เจตนาเป็นหลัก และ ร่วมหารือกันต่อไป อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลต้องการให้ลด ปัญหา ควรจัดงบประมาณซื้อเรือส่วนเกิน ต่อ ใบอนุญาต และรับฟังปัญหาที่แท้จริง ทั้งนี้ การ ซื้อเรือที่รัฐบาลสัญญาว่าจะซื้อเรือออกนอกระบบ ยังติดค้างอยู่ที่งบประมาณ ก็ไม่ได้มีการด�ำเนิน การ และรับงบประมาณมาตัง้ แต่ตน้ ภายในเดือน หน้า จะมีการเคลือ่ นไหวครัง้ ใหญ่ หลังจากประชุม ประมง 22 จังหวัดในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ เพื่อ แต่งตั้งประธานสมาคมการประมงคนใหม่แทน นายจ�ำกร มงคลตรีลักษณ์ ที่จะหมดวาระ
Raise the Limits Eppendorf Research® plus Eppendorf sets standards in ergonomics! This ultralight pipette meets the highest needs in precision and accuracy – combined with ultimate ergonomics and increased flexibility. A spring-loaded tip cone, a secondary adjustment option, an improved volume display – and all that in an ultra light, fully autoclavable pipette.
> Ideal ergonomics: Eppendorf PhysioCare Concept® > Ultra light with minimal attachment, pipetting and ejection forces > Spring-loaded tip cone > Available as single-channel pipette with fixed and variable volume as well as 8- and 12-channel pipette
www.eppendorf.com/researchplus Eppendorf®, the Eppendorf Brand Design, PhysioCare Concept® and Eppendorf Research® are registered trademarks of Eppendorf AG, Germany. U.S. Design Patents are listed on www.eppendorf.com/ip. All rights reserved, including graphics and images. Copyright © 2017 by Eppendorf AG. *The Research plus pipette is an in vitro diagnostic device according to Directive 98/79/EC of the European Parliament and the Council dated October 27, 1998.
Eppendorf (Thailand) Co., Ltd. 5 Soi.Krungthepkreetha 4, Huamark, Bangkapi, Bangkok, 10240 Phone: +66 2 379 4212-5 #119 Email: info@eppendorf.co.th
Food Feed Fuel
เปิดชื่อ 6 บริษัทอาหารสั ตว์
รัฐเว้นมาตรการ 1 : 3 น�ำเข้าข้าวสาลี 2 แสนตัน เปิดชื่อ 6 บริษัท นบขพ. ไฟเขียว ยกเว้นมาตรการ 1 : 3 ควบคุมน�ำเข้าข้าวสาลี ต่อการซื้อข้าวโพดในประเทศ ระบุน�ำเข้าปี 2564/65 กว่า 2.03 แสนตัน “ซีพีเอฟ - ไทยยูเนี่ยนฯ” น�ำเข้ามากสุด สภาเกษตรกรแห่งชาติเผยไม่ติดใจใช้ผลิตอาหารกุ้ง ขณะ ศก. โลกฟื้นความต้องการข้าวโพดโลกพุ่ง
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบ ก�ำหนดให้ข้าวสาลี ที่ใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ เป็นสินค้าที่ต้องขออนุญาต และ ต้องปฏิบตั ติ ามมาตรการจัดระเบียบในการน�ำเข้ามาในราชอาณาจักร รวมถึงก�ำหนด สัดส่วนการน�ำเข้าข้าวสาลีต่อการรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศ อัตราส่วน 1 ต่อ 3 (น�ำเข้าข้าวสาลี 100 ตัน รับซื้อข้าวโพดในประเทศ 300 ตัน) โดยก�ำหนด ให้ผู้น�ำเข้าข้าวสาลีน�ำเข้ามาเพื่อใช้ในการผลิตอาหารสัตว์นั้น แหล่ ง ข่ า วคณะกรรมการนโยบายและบริ ห ารจั ด การข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ (นบขพ.) เผยว่า ได้มกี ารยกเว้นการปฏิบตั ติ ามมาตรการควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลี โดยไม่ต้องใช้ระเบียบตามมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 ที่ก�ำหนดสัดส่วนการน�ำเข้าข้าวสาลีต่อการรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศ อัตราส่วน 1 ต่อ 3 สืบเนื่องจากทางสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ได้ส่งหนังสือผ่านกรมประมง เพื่อขอให้พิจารณายกเว้นมาตรการควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลีของผู้ผลิตอาหารกุ้ง เป็นรายปี ทั้งนี้ เพื่อให้ปริมาณสอดคล้องกับสถานการณ์ความต้องการจริง ที่มา : ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล วันเสาร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
23
Food Feed Fuel ส�ำหรับปีนี้ กรมประมง มีหนังสือลงวันที่ 20 ตุลาคม 2564 ขอให้นำ� เสนอคณะกรรมการฯ พิ จ ารณายกเว้ น มาตรการควบคุ ม การน� ำ เข้ า ข้ า วสาลี ข องบริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต อาหารกุ ้ ง ปี 2565 จ�ำนวน 6 บริษัท ปริมาณรวม 203,600 ตัน ประกอบด้วย บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) (บมจ.) หรือซีพีเอฟ, บริษัท ไทย ยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด (บจก.) บจก. อินเทคค์ ฟีด, บจก. ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์, บมจ. ลีพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และบมจ.กรุงไทยอาหาร (กราฟิก ประกอบ) ทั้งนี้เพื่อให้ภาคธุรกิจสามารถวางแผน
24
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
การน�ำเข้าข้าวสาลีส�ำหรับอาหารกุ้งได้อย่างต่อ เนื่อง ด้ า น นายเติ ม ศั ก ดิ์ บุ ญ ชื่ น ประธาน คณะกรรมการด้านพืชไร่ สภาเกษตรกรแห่งชาติ กล่าวว่า ไม่ตดิ ใจในกรณีขา้ งต้น เพราะการน�ำเข้า ข้าวสาลี ผู้ผลิตอาหารกุ้งต้องยื่นหนังสือรับรอง ปริมาณการใช้ข้าวสาลีในการผลิตอาหารกุ้งจาก กรมประมง เพื่อเป็นเอกสารประกอบการยื่นขอ อนุญาตน�ำเข้าข้าวสาลีกับกรมปศุสัตว์ ซึ่งกรม ประมงจะรับรองให้ตามปริมาณที่มีความจ�ำเป็น ต้องใช้ในการผลิตจริง
Food Feed Fuel โดยน� ำ เข้ า จากประเทศผู ้ ผ ลิ ต หลั ก คื อ ออสเตรเลีย “ข้าวโอ๊ต” น�ำเข้า 76 ตัน ลดลงจาก ช่วงเดียวกันที่มีปริมาณ 153 ตัน โดยน�ำเข้า จากแคนาดา และจีน “ข้าวไรย์” น�ำเข้า 16 ตัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่น�ำเข้า 1.50 ตัน โดยน�ำเข้าจากเยอรมนี และออสเตรเลีย
โดยให้ใช้ข้าวสาลีไม่มากกว่า 20% เป็น ส่วนผสมในอาหารกุ้ง เนื่องจากต้องใช้ข้าวสาลี เป็นแหล่งพลังงาน และใช้วีทกลูเตนจากข้าวสาลี เป็นสารเหนียว เพื่อให้อาหารกุ้งมีความคงทน ในน�ำ้ ได้นาน 2 ชัว่ โมง ตามมาตรฐานอาหารสัตว์นำ�้ ของกรมกรมประมง ด้านกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ รายงาน ปี 2564 (มกราคม - ตุลาคม) ไทยมีการ น�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปริมาณ 1.83 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ที่มีปริมาณ 1.58 ล้านตัน หรือเพิ่มขึ้น 15.51% โดยไทย น�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากเมียนมา กัมพูชา และ สปป.ลาว “ข้าวสาลี” น�ำเข้าปริมาณ 1.13 ล้านตัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ที่มีปริมาณ กว่า 1.5 ล้านตัน โดยไทยน�ำเข้าข้าวสาลีจาก ประเทศผู้ผลิตหลัก ได้แก่ ออสเตรเลีย ยูเครน และอาร์เจนตินา “ข้าวบาร์เลย์” น�ำเข้าปริมาณ 7.52 แสนตัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปี 2563 ที่น�ำเข้า 5.42 แสนตัน
ส่ ว นสถานการณ์ ข ้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ โ ลก ปี 2564/65 คาดการณ์จะมีผลผลิต 1,204.62 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 85.60 ล้านตัน จากปริมาณ 1,119.02 ล้านตันของปีก่อน คิดเป็น 7.25% ความต้องการใช้ประมาณ 1,192.07 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 58.45 ล้านตัน จาก 1,133.63 ล้านตัน ในปี 2563/64 คิดเป็น 5.16% เนื่ อ งจากหลายประเทศมี ค วามต้ อ งการ ใช้เพิ่มขึ้น อาทิ สหรัฐฯ จีน สหภาพยุโรป และ บราซิล ในอุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์ และ เอทานอล รวมทั้งเศรษฐกิจทั่วโลกเริ่มฟื้นตัวจาก สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ทั้งนี้ การน�ำเข้าและส่งออกข้าวโพดเลี้ยง สั ต ว์ โ ลก ปี 2564/65 มี ป ระมาณ 190.35 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 6.37 ล้านตัน จาก 183.62 ล้านตัน ในปี 2563/64 คิดเป็น 3.67% โดย ประเทศผู้น�ำเข้าส�ำคัญได้แก่ จีน เม็กซิโก ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป มีการน�ำเข้าคิดเป็น 39% และ ประเทศผู้ส่งออกส�ำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา ยูเครน และบราซิล มีการส่งออก รวมกัน คิดเป็น 86%
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
25
Food Feed Fuel
เอกชนแห่ขอใบอนุญาตส่งออกข้าวพุ่ง
มั่นใจทั้งปีส่งออกข้าวได้ 6 ล้านตัน
เอกชนแห่ขอใบอุนุญาตส่งออกข้าวพุ่ง พาณิชย์ มั่นใจการส่งออกข้าวไทย เป็นไปตามเป้าหมาย ที่ 6 ล้านตัน โดยตัวเลขการขอใบอนุญาตส่งออกข้าว เดือนพฤศจิกายน มีปริมาณมากที่สุดในปี 2564 นางมนัสนิตย์ จิรวัฒน์ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ เปิดเผยว่า ในเดือน พฤศจิกายนเป็นช่วงที่ผลผลิตข้าวนาปีออกสู่ตลาดปริมาณมาก และขณะนี้ ราคา ส่งออกข้าวของไทยอยู่ในระดับที่สามารถแข่งขันได้มากขึ้น จึงส่งผลให้มีค�ำสั่งซื้อ เข้ามาอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ยอดส่งออกข้าวไทยขยายตัว และมีแนวโน้มดีขนึ้ อย่างเห็นได้ชดั โดยในช่วงเดือนมกราคม ตุลาคม 2564 ไทยส่งออกข้าวปริมาณ 4.59 ล้านตัน คิดเป็นมูลค่า 81,740 ล้านบาท ปริมาณ ส่งออกข้าวเพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันของปี 2563 คิดเป็น1.3% มูลค่าลดลง12.8% ซึ่งตลาดส่งออก ข้าวไทยที่ส�ำคัญ ได้แก่ แอฟริกาใต้ (13.97%) สหรัฐอเมริกา (9.50%) จีน (9.36%) เบนิน (6.88%) และญี่ปุ่น (5.14%) ล่าสุดสถิติการขอใบอนุญาตส่งออกข้าวของกรมการค้าต่างประเทศเดือนพฤศจิกายน 2564 มีปริมาณมากถึง 825,754 ตัน ซึ่งเป็นปริมาณการขอใบอนุญาตส่งออกข้าวมากที่สุดในรอบปี แบ่งเป็นข้าวขาว 30.34% ข้าวหอมมะลิไทย 29.61% ข้าวนึ่ง 25.99% ข้าวหอมไทย 7.22% ข้าวเหนียว 6.71% และข้าวกล้อง 0.13% ท�ำให้ปริมาณส่งออกข้าวไทยตั้งแต่เดือนมกราคม พฤศจิกายน 2564 อยู่ที่ 5.41 ล้านตัน ซึ่งจะส่งผลให้ปริมาณการส่งออกข้าวไทยทั้งปี 2564 เป็นไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ 6 ล้านตัน
ที่มา : ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล วันศุกร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2564
26
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Food Feed Fuel
ราคาข้าว
‘ร่วง’ ต�่ำสุดในรอบ 4 ปี หลายปัจจัยรุมเร้า
ราคาข้าวปี 2565 คาดกระเตื้อง ขึ้นอยู่ที่ 8,900 - 9,400 บาทต่อตัน บนปัจจัยท้าทายที่รุมเร้า...นโยบาย ภาครัฐยังคงบทบาทส�ำคัญ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ราคาข้าวไทย ในปี 2565 น่าจะให้ภาพการเติบโตที่กระเตื้อง ขึ้ น เล็ ก น้ อ ยหลั ง จากผ่ า นจุ ด ต�่ ำ สุ ด มาแล้ ว ในปี 2564 แต่คงเป็นการเติบโตบนฐานที่ต�่ำ คาดว่า อาจอยู่ที่ราว 8,900 - 9,400 บาทต่อตัน หรือ หดตัวร้อยละ 1.6 ถึงขยายตัวร้อยละ 4.0 จาก ปัจจัยหนุนด้านอุปทานที่คาดว่าปัญหา Supply Disruption จากการขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ เพื่ อ ส่ ง ออกน่ า จะคลี่ ค ลายมากขึ้ น หลั ง กลางปี 2565 อย่างไรก็ดี คงต้องจับตาปัจจัยท้าทาย ทีย่ งั คงรุมเร้าต่อเนือ่ งจากปีกอ่ น อย่างการแข่งขัน ในตลาดโลกที่รุนแรง โดยเฉพาะอินเดีย และ เวียดนาม รวมถึงสถานการณ์โควิด-19 ที่ยังมี ความไม่แน่นอนสูงจากเชื้อกลายพันธุ์ จะท�ำให้ ราคาข้าวอาจเคลื่อนไหวได้ในกรอบแคบๆ
จากปั ญ หาเชิ ง โครงสร้ า งราคาที่ มี ค วาม ซับซ้อน และส่งผลกดดันราคาข้าวไทยมาอย่าง ยาวนาน กระทบต่อเนื่องมาถึงในปี 2565 ที่แม้ ราคาข้าวอาจกระเตื้องขึ้นได้บ้าง แต่ก็นับว่าราคา ยังอยู่ในระดับที่ต�่ำ ดังนั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า การใช้มาตรการดูแลราคาข้าวของภาครัฐ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในระยะสั้น / เฉพาะหน้า นับว่ายังมีความจ�ำเป็น และยังคงมีบทบาทส�ำคัญ ในการช่วยเหลือด้านรายได้แก่เกษตรกร ขณะ เดียวกัน การน�ำแนวทางการแก้ปัญหาราคาข้าว ระยะกลาง - ยาว มาปรับใช้ควบคู่ไปด้วย นับว่า เป็นเครื่องยนต์ที่มีความส�ำคัญในการขับเคลื่อน ข้าวไทยอย่างแท้จริง โดยเฉพาะการยกระดับ ในภาคการผลิต
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
27
Food Feed Fuel กรมการค้าภายในถกสมาคมผู้เลีย ้ งสุ กรแห่งชาติ ไล่บแ ี้ ก้ปัญหาราคาหมูแพง 180 บ./กก. หลังปริมาณผลผลิตลด เตรียมถกหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องต่อไป พร้อมจัดโครงการพาณิชย์… ลดราคา! ช่วยประชาชน Lot14 (หมูเนือ้ แดง) ขายราคา 130 บาท/กก. จ�ำนวน 667 จุด ทั่วประเทศ
กรมการค้าภายในถกสมาคมผู้เลี้ยงฯ
ไล่บี้แก้ปัญหาราคาหมูแพง วันที่ 29 ธันวาคม 2564 นายวัฒนศักย์ เสือเอีย่ ม อธิบดีกรมการค้าภายใน เปิดเผยว่า จากการติดตามสถานการณ์การจ�ำหน่ายหมูเนือ้ แดง พบว่า ขณะนีร้ าคา ปรับตัวสูงขึ้นจากช่วงสัปดาห์ก่อนหน้านี้ โดยราคาจ�ำหน่ายหมูเนื้อแดงไม่ตัดแต่ง ในตลาดสดทั่วๆ ไปอยู่ที่ 160 - 180 บาท/กก. และกรณีที่เป็นเขียง หรือตลาดสด เล็กๆ ที่รับมาเป็นทอดที่สอง หรือที่สามก็จะมีราคาปรับสูงขึ้นอีก 10 - 20 บาท/กก. ส�ำหรับห้างค้าปลีกค้าส่งราคาจ�ำหน่ายปลีกอยู่ที่ 139 - 145 บาท/กก. ล่าสุดจากการประชุมหารือร่วมกับสมาคมผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ (เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2564) พบว่า ขณะนี้ปริมาณหมูที่เข้าสู่ตลาดลดลง ท�ำให้มีพ่อค้าเสนอ แข่งราคารับซือ้ สูงขึน้ ในเบือ้ งต้นกรมการค้าภายในได้ขอความร่วมมือให้ผเู้ ลีย้ งสุกร จ�ำหน่ายให้กับผู้ค้ารายเดิมเป็นล�ำดับแรก ส�ำหรับในด้านปริมาณสุกรที่เข้าสู่ตลาดที่ลดลง กรมปศุสัตว์ จะประชุม ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาสถานการณ์ โดยกรมการค้าภายในจะได้ร่วม พิจารณา และก�ำหนดมาตรการ - แนวทางดูแลปริมาณ และราคาที่เหมาะสมต่อไป “ได้หารือกับสมาคมเบื้องต้นแล้ว แต่ว่าคงต้องหารือถึงเรื่องของปริมาณ หมูในระบบ กับกรมปศุสัตว์ และทุกภาคส่วนอีกครั้ง ซึ่งจะทราบตัวเลขปริมาณ ที่ชัดเจน” นายวัฒนศักย์กล่าว อย่างไรก็ตาม โครงการพาณิชย์…ลดราคา! ช่วยประชาชน Lot14 (หมู เนื้อแดง) จ�ำหน่ายในราคา 130 บาท/กก. จ�ำนวน 667 จุด ทั่วประเทศ ซึ่งจะ ด�ำเนินการไปจนถึง 31 ธันวาคม 2564 ทั้งนี้ หากพบเห็นการจ�ำหน่ายสินค้า ที่ไม่ปิดป้ายแสดงราคา หรือจ�ำหน่ายสินค้าแพงเกินสมควร สามารถแจ้งที่สายด่วน กรมการค้าภายใน 1569 หรือส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดทั่วประเทศ
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันพุธที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2564
28
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Food Feed Fuel
ข่าวร้ายรับปีใหม่!
หมูแพงพุ่งกิโลกรัมละ 200 บาท หมูแพงรับปีใหม่ ราคาขยับขึ้นสูงถึงกิโลกรัมละ 200 บาท แล้ว หลังหมูเป็นเข้าสูต่ ลาดลดลง และต้นทุนอาหารสัตว์พงุ่ คาด ราคาทรงตัวสูงต่อเนื่องอีก 2 สัปดาห์ จากนั้นจะลดลง แต่ก็ยัง สูงอยู่ “พาณิชย์” รับราคาเพิ่มขึ้นจริง ขอความร่วมมือให้พ่อค้า ขายผู้ซื้อรายเดิมก่อน เหตุเจอพ่อค้าหลายรายเข้ามาแย่งซื้อ ยันจะหามาตรการมาดูแลต่อไป นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า ขณะนี้ ราคาเนื้อหมูแพงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยราคาหมูเป็นหน้าฟาร์มขึ้นมาอยู่ที่กิโลกรัม (กก.) ละ 95 - 96 บาท และยังมีโอกาสขยับขึน้ ไปเกิน กก. ละ 100 บาท โดยเฉพาะ พื้นที่ภาคอีสาน ภาคเหนือ ที่มีราคาสูงกว่าภาคกลาง และกรุงเทพฯ ส่งผลให้ ราคาหมูหน้าเขียงเพิ่มเป็น กก. ละ 200 บาท โดยสาเหตุ ข องการปรั บ ขึ้ น ราคา มาจากปริ ม าณหมู เ ป็ น ในตลาดลดลง ประกอบกับต้นทุนการเลี้ยงหมูเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ทั้งจากราคาอาหารสัตว์ที่เพิ่มขึ้น 30% เช่น กากถั่วเหลืองเพิ่มขึ้นจาก กก. ละ 16 บาท เป็น 21.50 บาท ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ จาก กก. ละ 6.50 บาท เป็น 10.5 บาท และยังมีค่าใช้จ่ายดูแลป้องกัน โรคติดต่ออีกตัวละ 500 บาท ที่มา : ผู้จัดการออนไลน์ วันพุธที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
29
Food Feed Fuel “ราคาที่จ�ำหน่าย เป็นราคาที่ผู้เลี้ยงพอจะคุ้มทุนบ้าง แต่ไม่ได้มี ก�ำไรเหลือเยอะ เพราะต้นทุนการเลี้ยงเพิ่มขึ้นทั้งหมด ซึ่งที่ผ่านมา สมาคมฯ ได้ขอให้กระทรวงพาณิชย์ช่วยแก้ไขปัญหา อาหารสัตว์ราคาแพงไปแล้ว แต่ไม่ได้รับการช่วยเหลือ เลย จะมาขอคุมราคากับผู้เลี้ยงฝ่ายเดียวไม่ได้ เพราะ ผู้เลี้ยงขาดทุนมานานแล้ว” ส�ำหรับแนวโน้มราคาหมูในระยะต่อไป เชื่อว่า ใน 1 - 2 สัปดาห์ข้างหน้ามีโอกาสขึ้นได้อีก โดยเฉพาะ ภาคเหนือ และอีสาน เพราะมีคนเดินทางกลับภูมิล�ำเนา และนักท่องเที่ยวเยอะ ท�ำให้ความต้องการบริโภคเพิ่ม แต่หลัง จากนั้นราคาจะค่อยปรับลดลง แต่ก็ยังอยู่ในระดับสูง นายวัฒนศักย์ เสือเอีย่ ม อธิบดีกรมการค้าภายใน กล่าวว่า ราคาหมูเนือ้ แดง ปรับตัวสูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดยตามตลาดสดอยู่ที่ 160 - 180 บาทต่อกก. และ กรณีเป็นเขียง หรือตลาดสดเล็กๆ ที่รับมาเป็นทอดที่ 2 หรือ 3 ก็จะสูงขึ้นอีก 10 - 20 บาท ส่วนราคาในห้างค้าปลีกค้าส่งขายที่ กก. ละ 139 - 145 บาท ซึ่ง จากการประชุมหารือร่วมกับสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ พบว่า ขณะนี้ปริมาณหมู ที่เข้าสู่ตลาดลดลง ท�ำให้มีพ่อค้าเสนอแข่งราคารับซื้อสูงขึ้น ซึ่งในเบื้องต้นกรมฯ ได้ขอความร่วมมือให้ผู้เลี้ยงสุกรจ�ำหน่ายให้กับผู้ค้ารายเดิมเป็นล�ำดับแรก และ ทางกรมปศุสัตว์ จะได้ประชุมเพื่อดูแลปัญหาปริมาณสุกรที่เข้าสู่ตลาดลดลง และ กรมฯ ยังจะก�ำหนดมาตรการดูแลปริมาณ และราคาที่เหมาะสมต่อไป อย่างไรก็ตาม ระหว่างนี้ กระทรวงพาณิชย์ได้จดั โครงการพาณิชย์...ลดราคา! หมูเนื้อแดง 130 บาทต่อกก. จ�ำนวน 667 จุด ทั่วประเทศจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2564 ซึ่งผู้บริโภคสามารถที่จะหาซื้อหมูราคาถูกได้
30
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Food Feed Fuel
จุรินทร์ แก้หมูแพง! ห้ามส่งออกหมูเป็น! ชั่วคราว 3 เดือน จุรินทร์ แก้หมูแพง! ห้ามส่งออกหมูเป็น! เป็นการชั่วคราว ในเวลา 3 เดือน เริ่ม 6 ม.ค. 65 - 5 เม.ย. 65 พร้อมสั่งลุยเช็คสต็อก และแจ้งราคา นายจุ ริ น ทร์ ลั ก ษณวิ ศิ ษ ฏ์ รองนายก รัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการกลาง ว่า ด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) ครัง้ ที่ 1/2565 โดยได้พิจารณาประเด็นส�ำคัญเรื่องสุกร หารือ ร่วมกันกับกรมปศุสัตว์ที่เป็นหน่วยงานดูแลการ ผลิตสุกรป้อนเข้าสู่ตลาด โดยพิจารณา ห้ามส่งออกสุกรมีชีวิต เป็น เวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม 2565 ถึง
วันที่ 5 เมษายน 2565 เป็นการชั่วคราว และ จะพิจารณาตามสถานการณ์วา่ ควรให้มกี ารต่ออายุ หรือไม่ ซึ่งคาดว่าจะช่วยให้มีหมูเป็น กลับเข้าสู่ ระบบเพิ่มเติมประมาณ 1 ล้านตัว ส�ำหรับ ตัวเลขเบื้องต้นในปี 2564 มีการ เลี้ยงสุกรป้อนเข้าสู่ตลาด ประมาณ 19 ล้านตัว บริโภคในประเทศ 18 ล้านตัว ส่งออกไปต่าง ประเทศประมาณ 1 ล้านตัว และคาดการณ์ว่า ปี 2565 จะมีสกุ รหายไปจากระบบ เหลือประมาณ 13 ล้านตัว จาก 19 ล้านตัว ซึ่งเราบริโภคใน ประเทศประมาณ 18 ล้านตัว ท�ำให้ขาดสุกร ประมาณ 5 ล้านตัวส�ำหรับการบริโภค นอกจากนี้ ยังสั่งการให้ผู้เลี้ยงที่มีปริมาณ การเลี้ยงเกิน 500 ตัว ผู้ค้าส่งที่มีปริมาณเกิน 500 ตัว ห้องเย็นที่มีการเก็บสต็อกเกิน 5,000 กิโลกรัมขึ้นไป ให้ด�ำเนินการแจ้งสต็อกให้กรม
ที่มา : PPTV Online วันพฤหัสบดีที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2565 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
31
Food Feed Fuel การค้าภายในรับทราบ รวมทั้งแจ้งราคาในทุก 7 วัน เริ่มวันที่ 10 มกราคม 2565 เป็นต้นไป เพื่อให้ทราบปริมาณหมูเป็นทั้งหมดที่อยู่ในระบบ รวมทั้งหมูแช่แข็ง แช่เย็น รวมกันทั้งประเทศ ว่ามีจ�ำนวนเท่าไหร่ เพื่อพิจารณาแก้ไขปัญหาร่วม กันกับกรมปศุสตั ว์ และหน่วยงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ต่อไป กรมการค้ า ภายในจะท� ำ งานร่ ว มกั น กั บ กรมปศุสัตว์ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง ใกล้ชิด ให้ได้ตัวเลขที่ใกล้เคียงความจริงที่สุด ส่วนการจ�ำหน่ายเนือ้ หมูกำ� หนดให้มกี ารติด ป้ายราคาจ�ำหน่ายห้ามขายเกินราคาป้ายทีก่ ำ� หนด ไว้ รวมทั้งด�ำเนินการให้เจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจตาม กฎหมาย ทั้งผู้ว่าราชการจังหวัด หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง พาณิชย์จังหวัด และกรมการค้าภายใน รวมทั้งปศุสัตว์ ด�ำเนินการบังคับใช้กฎหมาย ทั้ง การขายเกินราคา การเข้าข่ายค้าก�ำไรเกินควร ก็ตาม และที่ ป ระชุ ม ยั ง มี ม ติ เ พิ่ ม เติ ม ให้ ก รม ปศุสัตว์ ในฐานะหน่วยงานเจ้าของเรื่องโดยตรง ผลิตสุกรเข้าสู่ระบบเร่งด�ำเนินการ ส่งเสริมการ เลี้ยงสุกรเพิ่มเติม เพื่อให้สุกรมีเพียงพอส�ำหรับ การบริโภคในประเทศโดยเร็วที่สุด ด้านนายประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หารือกับ หน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง สมาคม ผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ มีมาตรการเร่งรัดการส่งเสริม การเลี้ยง ซึ่งถ้ามีความจ�ำเป็นในเรื่องใดที่จะต้อง เข้าสู่ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี กระทรวงพาณิชย์ พร้อมที่จะให้การสนับสนุน โดยเฉพาะมาตรการ เร่งรัดส่งเสริมการเลี้ยงการช่วยให้เกษตรกรราย ย่อยสามารถเข้าถึงแหล่งทุนดอกเบีย้ ราคาถูก หรือ
32
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
เงื่อนไขผ่อนปรนเป็นพิเศษ และขอให้กระทรวง การคลั ง เข้ า มามี บ ทบาทช่ ว ยดู แ ลเรื่ อ งนี้ ต ่ อ ไป รวมทั้งส่งเสริมให้เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูเข้ามาเลี้ยง ในระบบ GFM (Good Farming Management) ที่มีมาตรฐาน และต้นทุนไม่สูงเกินไป เป็นระบบ ที่ป้องกันโรคได้ และมีความปลอดภัย สามารถ ตรวจสอบย้อนกลับได้ ส�ำหรับมาตรการต่อจากนี้ จะด�ำเนินการ ในมาตรการที่ 1 เมื่อทราบสต็อกจะเร่งน�ำหมู จากสต็อกมาป้อนเข้าสู่ระบบโดยเร็ว มาตรการที่ 2 ก�ำกับราคาไม่ให้เกิดการค้า ก�ำไรเกินควร ถ้าต้นทุนหมูสูงขึ้นจริงจ�ำเป็นต้อง ขายราคาหน้าฟาร์มสูงขึ้น ก็ให้ความยุติธรรมกับ ทุกฝ่าย แต่ถ้าขายเกินราคาสมควรจนเข้าข่าย ผิดกฎหมาย กระทรวงพาณิชย์จะเข้าไปด�ำเนิน คดีโดยเด็ดขาด ไม่มียกเว้น ขอความร่วมมือกับ พี่น้องประชาชนผู้บริโภคทั้งประเทศแจ้งเบาะแส มาที่สายด่วน 1569 ซึ่งนอกจากเข้าไปท�ำหน้าที่ เชิงรุกของเจ้าหน้าที่ของกระทรวงพาณิชย์ จะขอ ความร่วมมือผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะที่เป็น กลไกของกระทรวงพาณิชย์ในระดับจังหวัด ช่วย ด�ำเนินการเรื่องนี้
Food Feed Fuel ทดแทน โดยให้เกษตรกรใช้สุกรขุนตัวเมียมาใช้ ท�ำพันธุช์ วั่ คราว เร่งรัดเจรจาฟาร์มรายใหญ่ในการ กระจายพันธุ์ และลูกสุกรขุนให้กับรายย่อย และ เล็กที่ต้องการกลับเข้ามาสู่ระบบใหม่ ก�ำหนดโซน เลี้ยง และออกมาตรการบังคับใช้อย่างเหมาะสม เพื่อควบคุมโรค และเร่งรัดการวิจัยพัฒนาวัคซีน ป้องกันโรค 2. มาตรการระยะสั้น ส่งเสริมการผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อทดแทนการน�ำเข้าจากต่าง ประเทศ การขยายก�ำลังผลิตแม่สุกร สนับสนุน ศูนย์วจิ ยั และบ�ำรุงสัตว์ ในสังกัดกรมปศุสตั ว์ และ เครือข่ายคู่ขนานกับฟาร์มเกษตรกร และภาค เอกชน เร่งเดินหน้าการศึกษาวิจัยยา และสาร กระตุ้นภูมิคุ้มกัน เพื่อลดความสูญเสียจากโรค ระบาด นอกจาก มาตรการเร่งด่วน การห้ามส่งออก หมูมีชีวิตเป็นเวลา 3 เดือนแล้ว นางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ยังมีการช่วยเหลือด้านราคาอาหาร สัตว์ โดยเฉพาะส่วนที่น�ำเข้ามาจากต่างประเทศ เช่น การงดเว้นการเก็บค่าธรรมเนียม หรือภาษี การจัดสินเชื่อพิเศษของ ธ.ก.ส. เพื่อให้เกษตรกร ที่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขได้ กลับ มาเลี้ยงใหม่ในพื้นที่ความเสี่ยงต่อโรคระบาดต�่ำ การตรึงราคาจ�ำหน่ายที่เหมาะสม และสอดคล้อง กับต้นทุนที่เกิดขึ้น 1. การเร่งส�ำรวจภาพรวมสถานการณ์การ ผลิตสุกร เพือ่ ก�ำหนดพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย และมาตรการ ที่ เ หมาะสม พร้ อ มเพิ่ ม ก� ำ ลั ง การผลิ ต แม่ สุ ก ร
3. มาตรการระยะยาว กระทรวงเกษตรฯ จะผลั ก ดั น การยกระดั บ มาตรฐานฟาร์ ม ของ เกษตรกรเพื่ อ ป้ อ งกั น โรคระบาด ส่ ง เสริ ม ให้ ปรับปรุงเป็นฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรค และ การเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม (GFM) มีค่าใช้จ่าย ต�่ำกว่ามาตรฐานฟาร์ม GAP ซึ่งจะเป็นแรงจูงใจ ให้เกษตรกรกลับมาเลีย้ งสุกรใหม่ และเพิม่ ปริมาณ การผลิตหมูให้เพียงพอต่อความต้องการบริโภค ทั้งยังจะมีการสนับสนุนการเลี้ยง โดยจะมีสินเชื่อ ดอกเบี้ยต�่ำให้กู้ยืมจาก ธ.ก.ส. ในโครงการสาน ฝันสร้างอาชีพ ซึ่งนายกรัฐมนตรีได้สั่งการให้ กรมปศุสัตว์ เร่งขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร รายย่อยเพือ่ ช่วยเหลือให้เข้าถึงแหล่งสินเชือ่ ได้งา่ ย และสะดวกรวดเร็ว รวมทัง้ การรวมกลุม่ สนับสนุน และหาตลาดในราคาที่เกษตรกรอยู่ได้อย่างดี ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
33
Food Feed Fuel
ชวนคนไทยกินไก่ช่วงหมูแพง สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ ชี้เป็นโปรตีนทดแทน และช่วยเกษตรกรอีกทาง
นายสมบูรณ์ วัชรพงษ์พนั ธ์ นายกสมาคม ผู้เลี้ยงไก่เนื้อ เปิดเผยว่า จากสถานการณ์ราคา หมูแพงในขณะนี้ที่ภาครัฐมีมาตรการเร่งด่วน ออกมาแก้ปัญหาแล้วนั้น ในฐานะผู้บริโภคยัง สามารถร่วมแก้ปญ ั หานีไ้ ด้ดว้ ยการหันไปบริโภค เนื้อไก่ หรือโปรตีนชนิดอื่นทดแทน เพื่อลด ปริ ม าณความต้ อ งการเนื้ อ หมู ขณะเดี ย วกั น ก็เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อที่มี อยู่ในทุกภูมิภาคทั่วประเทศด้วย “ค�ำแนะน�ำทีใ่ ห้ผบู้ ริโภคเลือกโปรตีนหลาก หลายทดแทนกันนัน้ เป็นค�ำแนะน�ำทีถ่ กู ต้อง และ ให้ผลลัพธ์ที่ดีมาแล้วหลายครั้ง ครั้งนี้ก็เช่นกัน เมื่อปริมาณหมูน้อยลง การช่วยลดความต้องการ หมูลงแม้สักเล็กน้อยก็ถอื เป็นส่วนหนึ่งในการช่วย บรรเทาสถานการณ์ได้ ขณะที่เนื้อไก่เป็นโปรตีน เนื้อขาวที่มีประโยชน์ไม่แพ้เนื้อหมู ทั้งยังย่อยง่าย หาซื้อได้โดยทั่วไป การหันไปเพิ่มการบริโภคเนื้อ ไก่ ยังเท่ากับการได้ช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยง ไก่เนื้อทั่วประเทศที่มีจ�ำนวนหลายหมื่นรายด้วย” นายสมบูรณ์กล่าว ส� ำ หรั บ มาตรการที่ รั ฐ ประกาศช่ ว ยลด ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ โดยการยกเว้นภาษี น�ำเข้า และค่าธรรมเนียมต่างๆ นั้น นายสมบูรณ์ ที่มา : ข่าวสดออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2565
34
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ระบุวา่ เห็นด้วยอย่างยิง่ เพราะทีผ่ า่ นมา เกษตรกร ผู ้ เ ลี้ ย งสั ต ว์ ร ายย่ อ ยต้ อ งแบกรั บ ต้ น ทุ น อาหาร ที่สูงมาโดยตลอด ส่วนหนึ่งเป็นเพราะรัฐบาลมี มาตรการผลักดันให้พืชเกษตรมีราคาสูงเพื่อช่วย เหลือเกษตรกรชาวไร่ในประเทศ ขณะทีเ่ กษตรกร ผูเ้ ลีย้ งสัตว์ไม่ได้รบั การดูแลใดๆ ต้องแบกรับต้นทุน การเลี้ยงสัตว์ที่สูงขึ้นนี้ด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ขอให้รัฐทบทวนมาตรการ ด้านวัตถุดิบอาหารสัตว์ให้ครบถ้วนทุกประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งเป็น วัตถุดบิ หลักในการผลิตอาหารสัตว์ ให้เป็นวัตถุดบิ สีเขียว เพื่อให้ไก่เนื้อไทยเป็นไก่ไร้คาร์บอนที่ ไม่ได้มาจากการรุกป่า ตอบโจทย์ประเทศผู้น�ำเข้า ไก่เนื้ออย่างสหภาพยุโรปด้วย อนึง่ ในช่วงทีผ่ า่ นมา เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ ต้องเผชิญปัญหาราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์พุ่งสูง ขึน้ เป็นประวัตกิ ารณ์อย่างต่อเนือ่ ง โดยในปี 2564 ราคาเมล็ดถั่วเหลือง และกากถั่วเหลืองแพงขึ้น 30% จากกิโลกรัมละ 13 บาท เป็นกิโลกรัมละ 18 บาท ส่วนราคาข้าวโพดปี 2564 ขยับพุ่ง สูงสุดที่ 11.50 บาท/ก.ก. อาหารเสริม - วิตามิน เกลือแร่ที่น�ำเข้าจากต่างประเทศ ล้วนมีการปรับ ตัวสูงขึ้นกว่า 20 - 30%
Food Feed Fuel
ไข่ไก่แพง เพราะอะไร
นายกสมาคมการค้าผู้ค้าไข่ไทย มีคำ�ตอบ สถานการณ์ราคาไข่ไก่ปรับตัวสูงขึ้น เป็น ฟองละ 6 บาท หลังจากเปิดปีใหม่ 2565 ซึ่ง เป็นการปรับขึ้นครั้งแรก ในรอบ 6 เดือน นับ จากที่เคยปรับขึ้นเป็นฟองละ 3 บาทเมื่อเดือน มิถุนายน 2564 ไปแล้วครั้งหนึ่ง สัมภาษณ์พิเศษ “นายสุธาศิน อมฤก” นายกสมาคมการค้าผู้ค้าไข่ไทยถึงสถานการณ์ ราคาไข่ไก่ว่า
การปรับราคาไข่ไก่ ขณะนี้สมาคมผู้ผลิตผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ ซึ่งเป็นผู้ก�ำหนดราคาแนะน�ำไข่ไก่ในตลาดทั่วไป ได้ออกประกาศ เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2565 ว่า ปรับขึ้นราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์ม 0.20 บาท จาก ฟองละ 2.80 เป็น 3.00 บาท หรือคิดเป็นราคา ปรับขึ้น 6 บาทต่อแผง โดยการปรับครั้งนี้เท่ากัน ทุกไซซ์ทุกเบอร์
ซึ่งผลจากการปรับขึ้นราคาไข่ไก่หน้าฟาร์ม 6 บาท ท�ำให้สมาคมเราซึ่งเป็นผู้ค้าคนกลาง ที่ ประกอบไปด้วยกลุ่มผู้ค้าไข่ไก่และสมาคมการค้า ผู้ค้าไข่ไทย ก็จ�ำเป็นจะต้องปรับราคาขึ้นในระดับ เดียวกัน คือ แผงละ 6 บาท เช่นเดียวกัน ไม่ใช่ เราปรับรวม 12 บาท ทางต้นทางขึ้นมา 6 บาท เราก็ปรับ 6 บาท โดยเราจะน�ำไข่ไก่คละที่ซื้อได้มาคัดไซซ์ เช่นเดิม ไข่ไก่เบอร์ 2 ขายส่งแผงค้าที่ราคาแพ็ก ละ 87 บาท ก็จะ + ขึน้ ไปอีก 6 บาท เป็น 93 บาท ส่วนราคาขายปลีกขึ้นอยู่กับแผงค้าไข่ ว่า จะปรับขึ้นเท่าไร อาจจะปรับขึ้นน้อยกว่า หรือ มากกว่า 6 บาทก็ได้ เช่น ถ้ารับไข่ไก่เบอร์สองไป ในราคาต้นทุน 93 บาท แผงไข่ก็อาจจะขึ้นอีก แผงละ 7 บาท เพื่อให้เป็นราคา 100 บาท เพื่อ จะได้ไม่ต้องทอนก็เป็นไปได้
สาเหตุการปรับขึ้นราคา
ปรับราคา “คนกลาง” สาเหตุหลักของการปรับขึ้นราคามาจาก ทอดละ 6 บาท ไม่ใช่ 12 บาท ต้นทุนอาหารสัตว์ที่ใช้ในการเลี้ยงไก่ไข่ปรับสูงขึ้น ขณะนี้ไข่ไก่ไม่ได้เป็นสินค้าควบคุม แต่ ในการก�ำหนดราคาโดยอิงจากราคาของสมาคม ผู้ผลิตผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ดังกล่าว กรมการค้า ภายใน ขอความร่วมมือให้ขายไม่เกิน 3 บาท
ประกอบกับปริมาณไข่ขนาดเล็กเบอร์ 3 เบอร์ 4 เบอร์ 5 มีปริมาณลดลง เนื่องจากผู้ประกอบการ ไม่สามารถน�ำเข้าแม่ไก่ได้จากสถานการณ์โควิด ในช่วงที่ผ่านมา ท�ำให้ไทยไม่สามารถผลิตไก่สาว
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม 2565 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
35
Food Feed Fuel ที่จะเป็นแม่พันธุ์ไข่ขนาดเล็ก จึงเหลือเพียงแม่ไก่ แก่ที่มีจ�ำนวนมาก และผลิตไข่ขนาดใหญ่ เบอร์ 0 - เบอร์ 1
ไข่จะไม่ขาดตลาด โดยเฉลี่ยตลาดไข่ไก่จะมีการบริโภคอยู่ที่ 40 ล้านฟองต่อวัน ขณะนี้ปริมาณไข่ที่ลดลง จะ เป็นส่วนของไข่ไก่เล็ก แต่เรายังมีไข่ไก่เบอร์ใหญ่ ที่ประชาชนนิยมน้อยกว่า สถานการณ์ไม่รุนแรง ถึงเกิดปัญหาขาดตลาดแน่นอน ส่วนสถานการณ์ราคา จะปรับขึ้นอีกหรือ ไม่ยังไม่ทราบ และจะมีราคาสูงอย่างนี้ไปอีกนาน เท่าไหร่ ก็ขึ้นอยู่กับว่าจะสามารถน�ำเข้าปู่ย่าพันธุ์ (GP) ได้เมื่อไร ซึ่งล่าสุดคณะกรรมการนโยบาย พัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) ได้ขอ้ สรุป เรื่องการน�ำเข้าแล้ว แต่หลังจากน�ำเข้าปู่ย่าแล้ว ก็ต้องมาผลิตแม่ไก่พันธุ์ และแม่ไก่ยืนกรงก่อน ที่จะได้ไข่ไก่ล็อตใหม่ออกมาซึ่งก็คงต้องใช้เวลา ระยะหนึ่ง แต่ระดับราคาขายน่าจะอยู่ที่ไม่เกิน 3 บาท เพราะกรมการค้าภายในยังขอความร่วมมือ ให้จ�ำหน่ายในราคาดังกล่าว ทั้งนี้ การปรับขึ้นราคาไข่ไก่นี้ผมมองว่า ไม่ได้เกี่ยวกับการปรับขึ้นราคาหมู เพราะโดย ปกติคนที่บริโภคไข่ก็จะบริโภคไข่อยู่แล้ว เช่น สั่ง กระเพราก็จะมีไข่ดาว ปกติคนไทยบริโภคอยู่ที่ 220 ฟองต่อคนต่อปี อย่างไรก็ตาม แม้จะปรับราคา แต่หาก ค�ำนวณน�้ำหนักไข่ไก่ต่อกิโลกรัมออกมาแล้ว พบ ว่าราคาไข่ไก่ 1 กิโลกรัมยังอยู่ที่ 60 ถึง 70 บาท ซึ่งยังเป็นราคาโปรตีนชนิดที่ต�่ำที่สุดหากเทียบกับ หมูไก่ และเนื้อวัว
36
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ปริมาณการสต็อกไข่ไก่ ของพ่ อค้า โดยปกติแล้ว ผูค้ า้ ขายจะไม่มกี ารเก็บสต็อก ไข่ เพราะว่ามันต้องใช้ห้องเย็นในการเก็บควบคุม อุณหภูมิ ดังนั้น น�ำเข้ามาเท่าไหร่เราก็จะขายไป เท่านั้น อย่างเช่นพรุง่ นีจ้ ะปรับขึน้ ราคา ถึงเรารูแ้ ล้ว ก็ยังปล่อยของ ไม่ได้สต็อก แม่ค้าสั่งเพิ่มเข้ามา เท่าไรถ้ามี เราก็ยนิ ดีขาย ไม่ใช่อา้ งว่าของขาดตลาด แล้วไม่ขายเพื่อรอไปปรับราคาในวันพรุ่งนี้ แต่ถ้าถามว่าราคานี้จะอยู่ที่เท่าไหร่จนถึง เมื่อไหร่ ตอบได้ยากมาก เพราะราคาไข่ค่อนข้าง ผันผวน
ไข่ไก่ปรับราคาครั้งล่าสุด มิถุนายน 2564 ที่ ผ ่ า นมาราคาไข่ ไ ก่ มี ค วามผั น ผวนพอ สมควร โดยมีการปรับขึน้ ราคา เป็นฟองละ 3 บาท ไปเมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน 2564 หลังจากนั้น ระดับราคาก็ลดลงมาอยู่ที่ฟองละ 2.60 บาท 2.80 บาท โดยตลอด ท้ายที่สุดมองว่า ต่อไปหากสถานการณ์ ราคาไข่ไก่ยังสูงต่อเนื่อง และในอนาคตผู้เลี้ยง ได้มกี ารเลีย้ งเพิม่ ขึน้ ก็กงั วลว่าจะมีการดัมพ์ราคา ขาย หรือที่เรียกว่าราคาใต้โต๊ะ เช่น ฟาร์มเอ ขาย 3 บาท ฟาร์มบี ขาย 2.70 บาท ตัดราคากัน หรือที่เรียกว่ามีราคาใต้โต๊ะในอีก 30 ถึง 45 วัน นับจากนี้ถ้าเกิดไข่ล้นตลาด ก็จะเป็นปัญหาอีก แบบหนึ่ง
Food Feed Fuel
ผู้บริโภคหันซื้อเนื้อไก่แทนหมู สมาคมผู้เลี้ยง วอนรัฐ ช่วยต้นทุนอาหารสัตว์พุ่ง 40%
เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ทั่วประเทศ รับอานิสงส์หลังผู้บริโภคหันกินเนื้อไก่ ทดแทนเนื้อหมูเพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ฟื้นตัว หลังอุตสาหกรรมชะลอตัวยาว ช่วงโควิด-19 วอนรัฐ ช่วยแก้ปัญหาต้นทุน วัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่ม 30-40%
วันที่ 9 มกราคม 2565 นางฉวีวรรณ ค� ำ พา นายกสมาคมส่ ง เสริ ม การเลี้ ย งไก่ ใ น พระบรมราชูปถัมภ์ กล่าวว่า สถานการณ์ความ ต้องการบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง จากการที่ ผู้บริโภคปรับพฤติกรรมหันไปหาโปรตีนทางเลือก อื่นที่มีคุณค่าทางอาหาร และโภชนาการเทียบเท่า เนื้อหมูในราคาที่เหมาะสม ซึ่งเนื้อไก่เป็นโปรตีน คุณภาพดีย่อยง่าย ที่ส�ำคัญราคาถูกกว่าเนื้อหมู ในขณะนี้ถึง 3 เท่า ท�ำให้จูงใจผู้บริโภคในการ เปลี่ยนไปหาเนื้อสัตว์ทดแทน ซึ่งร้านอาหาร และ ร้านอาหารตามสั่ง มีการปรับวัตถุดิบจากเนื้อหมู มาเป็นเนื้อไก่มากขึ้นด้วย “สมาคมฯ ขอขอบคุ ณ คนไทยแทน เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ที่เข้าใจสถานการณ์ และเลือก กินเนื้อไก่ทดแทนเนื้อหมู ท�ำให้ผู้เลี้ยงมีตลาด รองรับเพิ่มขึ้น ซึ่งนอกจากจะเป็นการช่วยแก้ ปัญหาประเทศในยามวิกฤตขาดแคลนเนือ้ หมูแล้ว ยังช่วยให้เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งไก่มกี ำ� ลังใจด�ำเนินธุรกิจ ต่อไป หลังแบกภาระขาดทุนตลอดช่วงระยะเวลา โควิด-19 เกษตรกรพร้อมสนับสนุนการด�ำเนินงาน
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม 2565 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
37
Food Feed Fuel
ของรั ฐ บาล และสร้ า ง แหล่ ง อาหารมั่ น คง และยั่ ง ยื น ให้กับคนไทยในทุกสถานการณ์” นางฉวีวรรณ กล่าว นางฉวี ว รรณ กล่ า วว่ า ความต้ อ งการ เนื้อไก่ที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาปรับตัวเพิ่มขึ้นด้วย โดยราคาเฉลี่ยหน้าฟาร์มปรับมาอยู่ที่ 37 - 39 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่คนเลี้ยงมีต้นทุน 36 - 38 บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม แม้ จ ะปรั บ ไม่ ม าก และเป็ น ราคาทรงตัวตั้งแต่ปลายปี 2564 แต่ก็ดีขึ้นกว่า ช่ ว งการแพร่ ร ะบาดของโควิ ด -19 และดี ก ว่ า เมื่อช่วงเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้วที่ราคาเฉลี่ย ประมาณ 34 - 35 บาทต่อกิโลกรัม ปัจจุบัน ราคาไก่ทั้งตัวเฉลี่ยต่อกิโลกรัม อยู่ที่ 80 บาท อกไก่ 75 บาท น่องไก่ 65 บาท ซึ่ ง คาดว่ า ราคาน่ า จะทรงตั ว หรื อ เพิ่ ม ขึ้ น ตาม ปริ ม าณความต้ อ งการในตลาด ในระหว่ า งรอ ผลผลิตเนื้อ หมูจากการเลี้ย งรอบใหม่อีก ระยะ หนึ่ง
38
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
อย่างไรก็ตาม ภาคปศุสัตว์และอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ของไทย ยังประสบกับปัญหา ส�ำคัญคือ ต้นทุนวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นต้นทุน หลักประมาณ 60% ของต้นทุนการเลี้ยง ซึ่งยัง อยู่ในระดับสูง ส่งผลกระทบต่อความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศไทย โดยเฉพาะช่วง ปี 2 - 3 ปีที่ผ่านมา เกษตรกรต้องประสบกับ การขาดทุนสะสมจากราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ ทั้ ง ข้ า วโพด และกากถั่ ว เหลื อ งเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะในปี 2564 ราคาปรับสูงขึ้น เป็นประวัติการณ์ถึง 30 - 40% รวมถึงปัจจัย การผลิต และการป้องกันโรคระบาด ปรับราคา สู ง ขึ้ น ท� ำ ให้ ต ้ น ทุ น การผลิ ต สู ง ขึ้ น ตามไปด้ ว ย ส่ ง ผลให้ เ กษตรกรต้ อ งแบกรั บ ภาระต้ น ทุ น การบริหารจัดการดังกล่าวมานาน ซึ่งราคาเนื้อไก่ ที่ปรับขึ้นนี้จะเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยง ไก่ให้มีต้นทุนการผลิตที่เหมาะสม และสามารถ ด�ำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง ทั้ ง นี้ อุ ต สาหกรรมการเลี้ ย งไก่ เ นื้ อ ไทย ได้ ม าตรฐานสากลระดั บ โลก และปฏิ บั ติ ต าม แนวทางการผลิตทางการเกษตรทีด่ แี ละเหมาะสม (Good Agricultural Practice: GAP) ได้รับการ ตรวจสอบจากกรมปศุสัตว์อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อ ป้อนตลาดในประเทศ และต่างประเทศ สร้าง หลักประกันให้กับผู้บริโภคเนื้อไก่ให้ได้รับโปรตีน คุณภาพดี และปลอดภัยอย่างยั่งยืน
Market Leader
ชู ‘สุขภาพหนึ่งเดียว’
กรมปศุสัตว์ มุ่งลดใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์ รักษาแค่เท่าที่จำ�เป็น นายสัตวแพทย์โสภัชย์ ชวาลกุล รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ปัญหา เชื้อดื้อยาส่งผลให้เกิดการปนเปื้อน หรือตกค้างของยาต้านจุลชีพในสิ่งแวดล้อม สาเหตุมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่มากเกินความจ�ำเป็น จึงมี แนวทางพึงปฏิบัติในการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้อง ใช้เท่าที่จ�ำเป็น ในการ รักษาสุขภาพของสัตว์ที่เจ็บป่วย ตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ ภายใต้การควบคุมของ สัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม ทั้งนี้ กรมปศุสัตว์ ริเริ่ม และด�ำเนินโครงการที่ป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยา เพื่อสุขภาพที่ดีของผู้บริโภค โครงการ “การลดใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มปศุสัตว์” เพื่อลดการใช้ยาต้านจุลชีพในการท�ำปศุสัตว์ ซึ่งเป็นการต่อยอดโครงการการผลิต สินค้าปศุสัตว์ให้มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค เช่น โครงการเขียงสะอาด โครงการ เนื้ออนามัย โครงการปศุสัตว์ OK 2. โครงการ “การเลี้ยงสัตว์ปลอดการใช้ยา ปฏิชีวนะในระบบการผลิตสินค้าปศุสัตว์ (Raised Without Antibiotics; RWA)” จะไม่มีการใช้ยาปฏิชีวนะตลอดการเลี้ยงจนถึงแหล่งจ�ำหน่าย หากสัตว์มีการ เจ็บป่วยระหว่างการเลี้ยงจะมีการรักษาสัตว์ป่วยตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ (Animal welfare) โดยการรักษาจะอยู่ภายใต้ความดูแลของสัตวแพทย์ โดยใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มีระยะหยุดให้ยาตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้ ยังส่งเสริม และจัดท�ำ โครงการวิจัยที่เกี่ยวกับการใช้ทางเลือกอื่นๆ (Alternatives) เพื่อทดแทน และ ลดการใช้ยาต้านจุลชีพในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ที่ผ่านมา กรมปศุสัตว์ได้ให้การรับรอง ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะแล้วมากกว่า 200 แห่ง
ที่มา : แนวหน้า วันจันทร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
39
Market Leader ปศุสัตว์เตือน เฝ้าระวัง โรคในสัตว์ปีก หลังจีนพบ ผู้เสียชีวิตเพิ่มจากไข้หวัดนก เมื่ อ วั น ที่ 12 ธั น วาคม 2564 นาย สัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิด เผยว่า ล่าสุดกระทรวงสาธารณสุขของจีน ออก แถลงการณ์ว่า พบผู้หญิง อายุ 54 ปี มีภูมิล�ำเนา อยู่ที่เมืองจื้อกง ในมณฑลเสฉวน ทางตะวันตก เฉียงใต้ของประเทศจีน เสียชีวิตจากการติดเชื้อ ไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N6 โดยผู้ป่วยได้มี อาการในวันที่ 17 พฤศจิกายน โดยมีประวัติ สัมผัสสัตว์ปีกป่วยตายก่อนเข้ารับการรักษาตัว ในโรงพยาบาล เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ต่อมา ได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา ประกอบกับที่องค์การสุขภาพสัตว์โลก (OIE) รายงานพบการระบาดของโรคไข้ ห วั ด นกชนิ ด ความรุนแรงสูง (HPAI) ในต่างประเทศอย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่เดือนมกราคม 2564 ถึงปัจจุบัน พบว่ามีการระบาดมากถึง 4,578 จุด โดยเป็น ผู้ป่วยที่พบสายพันธุ์ H5N6 จ�ำนวน 61 ราย และในประเทศจีน ส่วนใหญ่อยู่ที่มณฑลเสฉวน นอกจากนั้น กระจายอยู่ในเทศบาลนครฉงชิ่ง เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง มณฑลกวางตุ้ง มณฑลอานฮุย และมณฑลหูหนาน ทั้งในส่วนประเทศไทย กรมปศุสัตว์ ยังคง มาตรการชะลอการน� ำ เข้ า น� ำ ออก หรื อ ผ่ า น ที่มา : แนวหน้า วันอาทิตย์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2564
40
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ราชอาณาจักร ส�ำหรับประเทศที่พบการรายงาน การเกิดไข้หวัดนกชนิดรุนแรง เพื่อป้องกันไม่ให้ มีการปนเปือ้ นเชือ้ มาสูป่ ระเทศไทย ส่วนในประเทศ ไทย ปั จ จุ บั น ไม่ พ บการติ ด เชื้ อ ไข้ ห วั ด นก ทั้ ง ในคน และสัตว์ โดยปัจจุบนั การเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็วของสภาพอากาศ ท�ำให้สัตว์ปีกปรับตัวได้ ยาก อาจส่งผลต่อสุขภาพสัตว์ปีก ท�ำให้สัตว์ปีก อ่อนแอ กรมปศุสตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงมีค�ำสั่งการให้ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัด และ ปศุสัตว์อ�ำเภอทั่วประเทศ เข้มงวดในการด�ำเนิน มาตรการ เฝ้าระวังและป้องกันโรคในพื้นที่ สั่งให้ เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์เข้าตรวจเยี่ยมเกษตรกรทุกราย และรายงานสถานการณ์สัตว์ปีกทุกวัน อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาในส่วนการป้องกัน ที่ ดี ถื อ เป็ น หั ว ใจของความส� ำ เร็ จ ที่ ท� ำ ให้ ไ ทย
Market Leader
ปลอดจากไข้หวัดนกมาตลอดระยะเวลากว่า 10 ปี ทั้งในคน และสัตว์ จากการที่ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ปีก ทัว่ ประเทศจัดการระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ อย่ า งเคร่ ง ครั ด การท� ำ ความสะอาด และฆ่ า เชื้อโรคในโรงเรือน และบริเวณโดยรอบ อย่าง น้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง สัตวแพทย์ควบคุมฟาร์ม เข้มงวด เรื่องระบบความปลอดภัยภายในฟาร์ม ควบคุมการเข้า - ออกฟาร์ม ให้ฉดี พ่นยานพาหนะ ทุกคัน เมื่อได้รับแจ้ง หรือพบสัตว์ปีกป่วยตาย ผิดปกติ หรือมีอาการต้องสงสัยเหมือนนิยาม โรคไข้หวัดนก เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ก็ลงพื้นที่ตรวจ สอบ และด�ำเนินมาตรการควบคุมโรคทันที รวม ถึ ง ประสานความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานภายใน ประเทศ อาทิ กระทรวงสาธารณสุข กรมอุทยาน
แห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ตลอดจนหน่วยงาน ระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการเฝ้าระวังโรค สัตว์ตามแนวชายแดนอย่างเข้มงวด และขอความ ร่วมมือเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสัตว์ปกี สังเกตอาการสัตว์ อย่างใกล้ชิด หากพบสัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติ อย่าน�ำ สัตว์ปีกไปจ�ำหน่ายจ่ายแจก หรือน�ำไปประกอบ อาหารโดยเด็ ด ขาด ให้ แ จ้ ง เจ้ า หน้ า ที่ ป ศุ สั ต ว์ อ�ำเภอ อาสาปศุสัตว์ อาสาสมัครสาธารณสุข ประจ�ำหมู่บ้าน เจ้าหน้าปศุสัตว์ในพื้นที่ทันที เพื่อ จะได้เร่งด�ำเนินการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน หาก มีข้อสงสัยสามารถติดต่อได้ที่ ส�ำนักงานปศุสัตว์ อ�ำเภอ หรือส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดใกล้บ้าน สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ ส�ำนักควบคุม ป้องกัน และบ�ำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสัตว์ หรือสายด่วน กรมปศุสัตว์ โทร. 063 - 225 - 6888
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
41
Market Leader
เวียดนามแซงไทย ขึน้ เเท่นดาวรุง่ เอเชีย
ผลิตกุ้งป้อนตลาดโลก
สมาคมกุ้งไทย วอนรัฐหนุนอุตสาหกรรมตลอดห่วงโซ่ เร่งเจรจาเอฟทีเอ กับอียู หลังคู่แข่ง เวียดนาม-อเมริกากลาง-ใต้ แซงหน้า เผยเวียดนามมาแรงสุด ขึ้นเเท่นดาวรุ่งของเอเชียด้านการผลิตกุ้ง ชี้การเลี้ยงปีนี้ไทยเผชิญโรค สภาพอากาศ ผลผลิตอยู่ที่ 2.8 แสนตัน แม้เพิ่ม 4% แต่ต�่ำกว่าเป้า อานิสงส์เงินบาทอ่อน ดันส่งออก 10 เดือน พุ่ง 9% วันที่ 13 ธันวาคม 2564 นายสมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย นายกสมาคมกุ้งไทย เปิดเผยว่า ขณะนี้เวียดนามเป็นประเทศดาวรุ่งของเอเชียด้านการผลิตกุ้ง ซึ่งเป็นผล จากการปรับวิธีการเลี้ยงจากบ่อดินเป็นบ่อถัง และรัฐบาลเองก็อุดหนุนสินเชื่อเพื่อ ผลักดันให้ผลผลิตกุ้งแตะ 1 ล้านตัน ตามนโยบายหลัก เช่นเดียวกับอินเดียมีผลผลิต 7.3 แสนตัน เพิ่มขึ้น 22% โดยทั้งหมด มุ่งส่งจีนเป็นหลัก เนื่องจากต้นทุนการขนส่งถูกกว่า ขณะที่ตลาดจีน และญี่ปุ่น แม้ไทยจะส่งออกได้มากขึ้น แต่ทั้ง 2 ประเทศ มีการแข่งขันด้านการตลาดที่สูงมาก รวมทั้งจีนที่มีก�ำลังการผลิตภายในประเทศ ถึง 8 แสนตัน เพิ่มขึ้น 45% และเวียดนามที่ผลผลิต 5.2 แสนตัน เพิ่มขึ้นสูง 12% ขณะที่ไทยผลิตได้ปีนี้ 2564 คาดว่าจะสามารถผลิตโดยรวม 2.8 แสนตัน เพิ่มขึ้น 4% เมื่อ เทียบกับปี 2563 แต่ต�่ำกว่าเป้าที่ก�ำหนดไว้ 2.9 แสนตัน การส่งออก 10 เดือน (มกราคม - ตุลาคม) ท�ำได้ 1.28 แสนตัน มูลค่า 3.9 หมื่นล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ปริมาณ เพิ่มขึ้น 4% และมูลค่าเพิ่มขึ้น 9% โดยทั้งปีคาดว่าจะเพิ่มขึ้น 10% ส่วนใหญ่ส่งออกในตลาดจีน 1.84 หมื่นตัน เพิ่มขึ้น 23% มูลค่า 5.6 พันล้านบาท และญี่ปุ่น 2.9 หมื่นตัน เพิ่มขึ้น 9.8% มูลค่า ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันจันทร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564
42
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Market Leader 9.8 พันล้านบาท ส่วนสหรัฐฯ ส่งออกได้ 3.5 หมืน่ ตัน ลดลง 3.51% มูลค่า 1.2 หมื่นล้านบาท โดยปีนี้ไทยเผชิญการผลิตยังมีปัญหา ซึ่ง มีทั้งการระบาดโรคตัวแดงดวงขาว ช่วงกลางปี เป็นต้นไป มีการระบาดของโรคหัวเหลือง ปัญหา ปัจจัยการผลิตอาหารสัตว์ปรับเพิม่ ขึน้ ราคาตกต�ำ่ จากการระบาดของโควิดในช่วงต้นปี ส่งผลให้ เกษตรกรไม่กล้าลงทุน ในขณะที่การส่งออก ยังดี ที่เงินบาทอ่อนค่าท�ำให้มูลค่าปรับเพิ่มขึ้น และยัง มีปัญหาตู้คอนเทนเนอร์ขาดแคลน ค่าขนส่งราคา สูงในเส้นทางการส่งไปตลาดสหรัฐอเมริกา ใน ขณะที่สหรัฐฯ หันไปสั่งซื้อจากอเมริกากลาง - ใต้ มากขึ้น อย่างไรก็ตาม แนวโน้มความต้องการกุ้ง ของตลาดโลก ยังปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ ไทยยั ง มี โ อกาสในการขยายตลาด โดยอาศั ย ภาพความเชื่อมั่นของกุ้งไทยที่ยังเป็นอันดับ 1 เรื่องคุณภาพ ความปลอดภัยอาหาร และปัจจัย สนับสนุนต่างๆ ทั้งเป็นแหล่งผลิตลูกพันธุ์กุ้งที่มี คุณภาพดีที่สุดในโลก อาหารกุ้งที่มีประสิทธิภาพ การมีเกษตรกรผู้เพาะฟัก และอนุบาลลูกกุ้ง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งที่มีทักษะประสบการณ์ มี ผูป้ ระกอบการห้องเย็นแปรรูปกุง้ ทีม่ คี วามสามารถ และอื่นๆ ดังนั้น รัฐบาลควรต้องมีนโยบายส่งเสริม อุตสาหกรรมกุ้งอย่างเต็มรูปแบบ ตลอดห่วงโซ่ การผลิต มีเป้าหมายที่ชัดเจน โดยการวางแนว ทางลด และต้นทุนการผลิตใช้เทคโนโลยีในการ เลี้ยง ตัดต้นทุนแฝงที่สร้างความเสียหายจากโรค กุ้งที่ยังรุนแรงอยู่ วางแผนและพัฒนาการผลิต กุ้ง ให้ได้ทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ ให้เพียงพอ กับการส่งออก และบริโภคภายในประเทศ เพื่อ ลดการน�ำเข้า
เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น กั บ ประเทศผูผ้ ลิตรายอืน่ และควรส่งเสริมพัฒนาการ ผลิตและแปรรูปกุ้งกุลาด�ำ การพัฒนาการเลี้ยง เพื่อลดความเสี่ยงจากโรค โดยรัฐสนับสนุนการ เข้าถึงแหล่งเงินทุน และเทคโนโลยี รวมทั้งมี ผูส้ นับสนุนการพัฒนาทีถ่ กู ต้อง และร่วมรับผิดชอบ ด้วย เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงจะได้น�ำไปลงทุน ด้านเทคโนโลยีการผลิตเพื่อความยั่งยืน “ผมคาดหวังว่าในปี 2565 จะผลักดันให้ ผลผลิตกุ้งของไทยจะเพิ่มขึ้นเป็น 3 แสนตัน และ การส่งออกปรับเพิ่มขึ้น 10% จากปีนี้ โดยอยาก ให้รัฐบาลเจรจาเปิดเขตการค้าเสรี หรือเอฟทีเอ กั บ สหภาพยุ โ รป หรื อ อี ยู โ ดยเร็ ว เพื่ อ ให้ ไ ทย ส่งออกกุ้งในตลาดนี้มากขึ้น จากปัจจุบันที่ไทย ถูกตัดสิทธิพิเศษ หรือจีเอสพี ท�ำให้การส่งออก ลดลงเหลือ 3.6 พันตันเท่านั้น เทียบกับก่อน หน้าที่ส่งออกได้มาก 6 - 7 หมื่นตัน โดยตลาดนี้ ยังมีความต้องการกุ้งสูงมาก” นายปกครอง เกิดสุข อุปนายกสมาคม กุ้งไทย และที่ปรึกษาชมรมผู้เลี้ยงกุ้งจังหวัดกระบี่ กล่าวถึงสถานการณ์การเลี้ยงกุ้งภาคใต้ตอนล่าง ว่ า ผลผลิ ต ปี 2564 คาดการณ์ ว ่ า มี ผ ลผลิ ต ประมาณ 92,000 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมา ประมาณร้อยละ 12 พบการเสียหายโรคตัวแดง ดวงขาว จ.นครศรีธรรมราช จ.สงขลา โดยเชื้อ อีเอชพี และโรคขี้ขาว เป็นปัญหาส�ำคัญต่อการ เลี้ยงของเกษตรกรตลอดปี โดยเฉพาะช่วงครึ่ง ปีหลัง พบการเสียหายจากโรคดังกล่าวเพิม่ มากขึน้ นายชัยภัทร ประเสริฐมรรค กรรมการ บริ ห ารสมาคม และประธานชมรมผู ้ เ ลี้ ย งกุ ้ ง สุราษฎร์ธานี กล่าวว่า ผลผลิตกุ้งปี 2564 ใน พืน้ ทีภ่ าคใต้ตอนบนประมาณ 90,000 ตัน เพิม่ ขึน้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
43
Market Leader จากปีที่ผ่านมาเล็กน้อย โดยช่วงต้นปีเกษตรกร ลงกุ้งอย่างต่อเนื่อง และพบความเสียหายจาก โรคตัวแดงดวงขาว อย่างไรก็ตาม การเลี้ยงครึ่ง ปีแรกให้ผลค่อนข้างดี สามารถท�ำผลผลิตได้ตาม เป้าหมาย และมีการลงกุ้งอย่างต่อเนื่อง ส่วน ครึ่งปีหลัง ด้วยสภาพอากาศที่แปรปรวน และ ปริ ม าณฝนที่ เ พิ่ ม ขึ้ น พบการเสี ย หายจากโรค อีเอชพี และขี้ขาวเพิ่มมากขึ้น ด้านนางสาวพัชรินทร์ จินดาพรรณ นายก สมาคมกุ้งตะวันออกไทย และกรรมการบริหาร สมาคมกุ้งไทย กล่าวว่า ผลผลิตกุ้งปี 2564 ใน พื้นที่ภาคตะวันออกประมาณ 66,000 ตัน เพิ่ม ขึน้ จากปีทผี่ า่ นมาร้อยละ 18 โดยจากสถานการณ์ โควิดส่งผลให้แรงงานขาดแคลน เกษตรกรชะลอ การเลี้ยงในช่วงต้นปี และพบความเสียหายของ โรคตัวแดงดวงขาว โดยเฉพาะ จ.ระยอง จ.จันทบุรี จ.ตราด และพบโรคหัวเหลืองในพืน้ ที่ จ.ฉะเชิงเทรา มากกว่าในปีที่ผ่านมา ส่วนโรคอีเอชพี และขีข้ าว เป็นปัญหาส�ำคัญ ส�ำหรับการเลี้ยงของเกษตรกรตลอดปี โดยพบ มาในช่วงครึ่งปีหลัง ราคาปัจจัยการผลิต ต้นทุน แฝงจากการเสียหายจากโรค ส่งผลกระทบต่อ ต้นทุนการผลิต เกษตรกรบางส่วนชะลอการลงกุง้ ส่วนผลผลิตภาคกลาง ประมาณ 32,000 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา เกษตรกรมีการลงกุ้งอย่างต่อเนื่อง แต่ในช่วง ต้นปี สภาพอากาศแปรปรวน พบความเสียหาย จากโรคหัวเหลือง และตัวแดงดวงขาว
44
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ส่วนทางด้าน นายบรรจง นิสภวาณิชย์ อุปนายกสมาคมกุ้งไทย ประธานสมาพันธ์การ เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำไทย และผู้ทรงคุณวุฒิ - ด้าน การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ คณะกรรมการนโยบาย ประมงแห่งชาติ กล่าวว่า การเลี้ยงกุ้งของไทย ในปี นี้ เกษตรกรทุ ก พื้ น ที่ ยั ง คงเผชิ ญ หน้ า กั บ ปัญหาโรคระบาด ทั้งอาการขี้ขาว ตัวแดงดวงขาว และโรคตายด่วน ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพการ เลี้ยง และเป็นต้นทุนแฝงกับเกษตรกร “ทุ ก วั น นี้ อุ ต สาหกรรมกุ ้ ง เปลี่ ย นไปมาก จากเดิมที่ไทยเป็นอันดับต้นๆ ในด้านการผลิตกุ้ง เพราะเรามีปัจจัยที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นสภาพ อากาศ เรื่องพันธุ์กุ้ง อาหาร และผู้แปรรูปส่งออก ที่ มี ฝ ี มื อ แต่ ป ั จ จุ บั น สถานการณ์ กุ ้ ง เปลี่ ย นไป มาก เราตกไปอยูอ่ นั ดับ 6 หรือ 7 ซึง่ เกิดจากการ ไม่มีการวางแผนในการน�ำสินค้ากุ้งไปสร้างตลาด ในต่างประเทศอย่างจริงจัง เราต้องหันมาร่วมมือ เป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ทั้งเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง บริษัทอาหาร ปัจจัยการผลิต ผู้ส่งออก และภาค รัฐ น�ำค�ำว่ากุง้ ไทยกลับมาสูก้ บั ตลาดโลก เพือ่ เป็น ผู้ผลิตอันดับต้นๆ ของโลกอีกครั้ง”
Market Leader
ได้ผลจริง เพิ่มผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ใช้ นาโนแคลเซียมคาร์บอเนต ไม่ได้โม้ “สภาเกษตรกร
แห่งชาติ” ยืนยัน เพิ่มผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสั ตว์ ใช้ นาโนแคลเซียมคาร์บอเนต ใช้ได้จริง รณรงค์ให้ชาวไร่ ใช้กันทั่วประเทศ สภาเกษตรกรจังหวัดนครราชสีมาได้ลง พื้นที่ส�ำรวจข้อมูลปัญหา ความต้องการ แนวทาง การพัฒนาพืชหลักของเกษตรกรในจังหวัด พบ ว่าเกษตรกรท�ำเกษตรกรรมโดยใช้ความรู้ดั้งเดิม ขาดการศึกษาถึงปัญหาทีแ่ ท้จริงทีส่ ง่ ผลต่อผลผลิต และเมื่อผลผลิตไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ก็จะ ปรับเปลีย่ นโดยการเพิม่ ปุย๋ หรือสารเคมีเพือ่ บ�ำรุง ท�ำให้ต้นทุนสูงขึ้น ขาดการศึกษาถึงสาเหตุ และ การแก้ไขปัญหาจากต้นเหตุ นัน่ คือ ดิน สภาพดิน ทีม่ คี วามเป็นกรดจากการทีใ่ ช้สารเคมีทมี่ ากเกินไป นายเติมศักดิ์ บุญชืน่ ประธานคณะท�ำงาน ด้านพืชไร่ สภาเกษตรกรแห่งชาติ และประธาน สภาเกษตรกรจังหวัดนครราชสีมา เปิดเผยว่า
สภาเกษตรกรแห่งชาติ จึงร่วมกับ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ โดยศู น ย์ วิ จั ย ข้ า วโพดข้ า วฟ่ า ง แห่งชาติ (ไร่สุวรรณ) และมูลนิธิอุษรินทร์ โดย นายศศิศ มนต์เสรีนุสรณ์ สนับสนุน ท�ำการ ศึ ก ษาวิ จั ย และทดลองพื้ น ที่ ก ารเกษตรด้ ว ย นาโนแคลเซียมคาร์บอเนต ชนิดแขวนลอย ใน แปลงเกษตรกร 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดลพบุรี สระบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และนครราชสีมา ผลทีไ่ ด้เปอร์เซ็นต์ในไร่ขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์เกษตรกร เพิ่มขึ้นตั้งแต่ 18 - 28% ภายใต้การท�ำเกษตรกรรมของเกษตรกร ปกติเหมือนเดิมทุกประการ แคลเซียมคาร์บอเนต ที่เป็นเทคโนโลยีนาโน ชนิดแขวนลอย เป็นสาร ที่ มี อ นุ ภ าคเป็ น บวก บดในส่ ว นที่ เ ป็ น โมเลกุ ล ไม่เกิน 0.5 ไมครอน โดยใช้วิธีการวัดค่าดิน เป็นหลัก วิธีการคือ ผสมน�้ำฉีดพ่นที่ดิน ซึ่งจาก การทดสอบแล้วเก็บข้อมูลจะตอบสนองเรื่องของ ผลผลิตต่อไร่ทสี่ งู ขึน้ กว่า โดยใช้ในปริมาณทีไ่ ม่มาก เช่น ถ้าวัดค่าดินมี PH5 จะใช้นาโนแคลเซียม
ที่มา : ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
45
Market Leader เติมศักดิ์ บุญชื่น
คาร์บอเนต ชนิดแขวนลอย ประมาณ 5 ลิตร/ ไร่ ต้นทุนการผลิตประมาณ 300 บาท/ไร่ แต่ สามารถเพิ่มผลผลิตต่อไร่ เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผลผลิตจะเพิ่มขึ้นตั้งแต่ 18 - 25% เป็นอย่างต�่ำ ในบางแปลงปลูก หรือบางสายพันธุ์ของ ข้าวโพดอาจจะสูงถึง 30% ลดการน�ำเข้าวัตถุดิบ จากต่างประเทศ ลดต้นทุนการใช้แรงงาน นอกจาก นี้ ยังส่งผลต่อภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ เช่น ไก่ไข่ ไข่จะเป็นสีแดงมากขึ้น สุกร เนื้อจะเป็น สีชมพู ซึ่งสารสีธรรมชาติจากข้าวโพด ไม่ส่งผล กระทบต่อเกษตรกร หรือผู้บริโภค ไม่ต้องพึ่งสาร เร่งเนื้อแดงซึ่งเป็นอันตราย ผสมน�้ำฉีดพ่นที่ใบ จากงานวิจัยของประเทศทางยุโรป และ ทางกลุ่มตะวันออกกลาง ในพืชปลูกใหม่ อาทิ อะโวคาโด ในแปลงปลูกทะเลทราย เช่น ประเทศ อิสราเอล เพื่อลดการคายน�้ำในสภาวะแล้ง ซึ่ง จะท�ำให้ทนทานต่อสภาพแล้งได้ยาวนานขึ้น โดย สภาเกษตรกรฯ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม อย่ า งมี นัยยะ เรื่องหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดด้วย
46
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
อย่างไรก็ตาม สภาเกษตรกรฯ ยังได้ร่วม วิจัยกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เรื่องการ เพิ่มผลผลิตมันส�ำปะหลังต่อไร่ให้สูงขึ้น ซึ่งใน จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่การปลูกประมาณ 1,600,000 ไร่ เกิดปัญหาไวรัสใบด่างประมาณ 500,000 ไร่ 4 อ�ำเภอหลัก ได้แก่ อ�ำเภอโชคชัย เสิงสาง ครบุรี หนองบุญมาก ก่อนเกิดปัญหา ผลิตมันส�ำปะหลังทั้งจังหวัดได้ปริมาณ 3.3 ตัน หลังเกิดปัญหาปริมาณ 2.7 - 2.8 ตัน จึงร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี น�ำนาโนแคลเซียม คาร์บอเนต ชนิดแขวนลอยไปทดสอบวิจัย ทั้ง ในแปลงเกษตรกร และแปลงในมหาวิทยาลัย
Market Leader ปรากฏว่า ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะ เกษตรกรเคยปลูกได้ผลผลิต ประมาณ 3 ตัน กลับเพิม่ ขึน้ เท่าตัว เป็น 6 ตัน/ไร่/รอบ/ปี รวมทัง้ ผลข้างเคียง (Side effect) ทีไ่ ปกระตุน้ ให้พชื เกิดสภาพต้านทาน(resistor) สร้างสารโปรตีนขึน้ 2 ชนิด ชนิดแรกจะเป็นตัวท�ำลายไวรัสใบด่างเก่งมากในเรื่องของเชื้อรา ส่วนชนิดที่ 2 จะ ส่งผลให้มนั ส�ำปะหลังสร้างฮอร์โมนขึน้ มา แล้วไปกระตุน้ กลิน่ ทีม่ อี ยูใ่ นมันส�ำปะหลัง ซึ่งแมลงไม่ชอบ ในแปลงที่ฉีดพ่นนาโนแคลเซียมคาร์บอเนต ชนิดแขวนลอย จะพบแมลงหวี่ขาวน้อยมาก การระบาดของโรคใบด่างก็จะลดลง “ตอนนี้ประเทศไทยผลิตข้าวโพดได้ 4.7 - 4.8 ล้านตัน แต่ความต้องการ อยู่ที่ 8 - 9 ล้านตัน ตลาดยังมีความต้องการอีกสูงมาก ขณะที่มันสําปะหลัง ผลิต ได้ 30 ล้านตัน แต่ความต้องการอยู่ที่ 40 ล้านตัน เพราะฉะนั้น โอกาสด้านการ ตลาดยังมีอีกเยอะมากที่จะขยาย ต้องฝากไปยังหน่วยงานของรัฐ ให้เร่งเรื่องของ การศึกษาวิจยั ต่อยอดในการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีตา่ งๆ แล้วเร่งรีบสูก่ ารถ่ายทอด ให้กบั พีน่ อ้ งเกษตรกร เพือ่ จะได้ลดต้นทุน เพิม่ ผลผลิต ซึง่ จะสร้างความมัน่ คงให้กบั พี่น้องเกษตรกรในอนาคตต่อไป ขณะที่นโยบายภาครัฐก็จะใช้เรื่องของงบประมาณ น้อยลงด้วย” นายเติมศักดิ์ กล่าวปิดท้าย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
47
Market Leader
ภาคีคณบดีสัตวแพทย์ ร่อนหนังสือถึงปศุสัตว์
หาค�ำตอบ หลังพบ ASF ในหมูจริง จากกรณี ที่ มี ก ระแสข่ า วโรคอหิ ว าห์ แอฟริกาในสุกร (ASF) เมื่อไม่นานมานี้ ทาง ภาครัฐได้ออกมายืนยันในเบื้องต้นว่า ยังไม่พบ เชื้อเอเอสเอฟในสุกร และไม่มีการปกปิดโรค แต่ล่าสุดภาคีคณบดีสัตวแพทยศาสตร์ ได้ออก มายืนยันแล้วว่า พบเชือ้ ASF ในสุกรจริง ขอให้ กรมปศุสัตว์พิจารณาด�ำเนินการตามขั้นตอน เพื่อการควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน เพื่อมิให้เกิด ความเสียหายที่รุนแรงมากยิ่งขึ้นแก่เกษตรกร และอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรในประเทศไทย และพร้อมสนับสนุนทางวิชาการร่วมหาทางแก้ไข ปัญหา วันที่ 9 มกราคม 2565 มีรายงานว่า ภาคีคณบดีสัตวแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ลงชื่อ ผู้ช่วยศาตราจารย์ น.สพ.ตร.คงศักดิ์ เทีย่ งธรรม ประธานภาคีคณบดี คณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย ได้ท�ำหนังสือถึง อธิบดี กรมปศุสัตว์ เรื่องข้อห่วงใยต่อสถานการณ์โรค ระบาดและการควบคุมโรคในสุกร โดยหนังสือ ระบุว่า ตามที่ปรากฏการตายเป็นจ�ำนวนมากของ สุกรในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทยมาระยะหนึ่ง ก่อให้เกิดความสูญเสียแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร เป็นวงกว้าง โดยเฉพาะเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสุกรขนาด กลาง และขนาดเล็ก ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม 2565
48
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ภาคี ค ณบดี ค ณะสั ต วแพทยศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วยคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ในประเทศไทยทั้ง 14 สถาบัน มี ความกั ง วลกั บ สถานการณ์ ค รั้ ง นี้ เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง ประกอบกั บ ได้ รั บ ค� ำ ถามเป็ น จ� ำ นวนมากจาก เกษตรกร และประชาชน ถึงสาเหตุ และแนวทาง ในการแก้ไข ทั้งนี้ จากการตรวจวินิจฉัยโรคโดยหน่วยงาน ของสถาบั น การศึ ก ษาสั ต วแพทยศาสตร์ ในประเทศไทย พบเชื้อไวรัสอหิวาต์แอฟริกาใน สุกร (Afican Swine Fever: ASF) ในซากสุกร ที่ส่งชันสูตรโรค และได้รายงานการตรวจพบโรค ต่อกรมปศุสตั ว์ตามข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัติ โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 แล้วนั้น ภาคี ค ณบดี ค ณะสั ต วแพทยศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทย จึงขอให้กรมปศุสตั ว์พจิ ารณาด�ำเนิน การตามขั้นตอน เพื่อการควบคุมโรคอย่างเร่ง ด่วน เพื่อมิให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงมากยิ่ง ขึ้นแก่เกษตรกร และอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร ในประเทศไทย และพร้อมสนับสนุนทางวิชาการ แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การแก้ไขปัญหา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน สร้าง ความน่าเชื่อถือ และภาพลักษณ์ที่ดีของวิชาชีพ สัตวแพทย์ของประเทศไทย
Market Leader
ประมง 1.5 แสนล้านระส�่ำ
ผวาใบเหลืองไอยูยูคืนชีพ ธุรกิจประมงไทย 1.5 แสนล้านระส�่ำ ผวาใบเหลื อ งไอยู ยู คื น ชี พ รั ฐ บาลสั่ ง ทุกหน่วยรับมือ อียูจ่อตรวจเข้มสัปดาห์ ที่ 2 กุมภาพันธ์นี้ วงในเผยสถานการณ์ ไม่ สู ้ ดี หลั ง สหรั ฐ ฯ ลดอั น ดั บ การค้ า มนุ ษ ย์ ไ ทยไปอยู ่ Tier 2 Watch List ประเทศต้องจับตา ไทม์ ไลน์ตามหลอน มีความสุ่มเสี่ยง ย้ อ นไปเมื่ อ วั น ที่ 2 กรกฎาคม 2564 กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ได้เผยแพร่ ประกาศผลการจัดระดับประเทศไทยในรายงาน สถานการณ์การค้ามนุษย์ (Trafficking in Persons Report - TIP Report) ประจ�ำปี ค.ศ. 2021 โดย ประเทศไทยถู ก จั ด ให้ อ ยู ่ ใ นกลุ ่ ม บั ญ ชี Tier 2 Watch List (กลุ่มประเทศเฝ้าระวัง) โดยลด ระดับจาก Tier 2 (กลุม่ ประเทศทีด่ ำ� เนินการยังไม่ สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต�่ำโดยสมบูรณ์ แต่มี ความพยายามปรับปรุงแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ อย่างมีนัยส�ำคัญ) ในปี 2563 นั้น
แหล่งข่าวจากส�ำนักนายกรัฐมนตรี เผยว่า แม้เรื่องการท�ำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการ รายงาน และไร้การควบคุม (Illegal, Unreported and Unregulated Fishing - IUU Fishing) กับ เรื่องค้ามนุษย์ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่แยกออกจาก กัน แต่ในความเป็นจริง ปฏิเสธไม่ได้ว่าทั้งสอง เรื่องมีความสัมพันธ์กัน เพราะการท�ำประมงเป็น พื้นที่หนึ่งซึ่งก่อให้เกิดการค้ามนุษย์ หรือแรงงาน บังคับ ซึ่งในช่วงปีงบประมาณ 2563 และ 2564 ประสิทธิภาพการท�ำงานของประเทศไทยดูลดน้อย ถอยลง สังเกตได้จากประเทศไทยถูกลดอันดับการ ค้ามนุษย์ของสหรัฐฯ หรือ TIP Report ลงมา โดยสหรัฐฯ ให้เหตุผลตอนหนึง่ ว่า ประเทศ ไทย ลดประสิทธิภาพในการตรวจของศูนย์ควบคุม การแจ้งเข้า - ออกเรือประมงลดน้อยลง และหาก รัฐบาลยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ลุล่วงภายใน 2 ปี จะถูกลดชั้นไปอยู่ระดับ Tier 3 ซึ่งเป็นระดับ ต�ำ่ สุด คือประเทศนัน้ ไม่ได้มาตรฐานตามกฎหมาย ขั้นต�่ำของสหรัฐฯ และไม่มีความพยายามในการ แก้ไขปัญหา
ที่มา : ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม.พ.ศ. 2565 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
49
Market Leader มีความเสี่ยงที่ประเทศในกลุ่มนี้จะถูกลด สิทธิ์ต่างๆ และเปิดทางให้สหรัฐฯ ใช้มาตรการ กีดกันทางการค้าในอนาคตจากไทม์ไลน์เหมือน ปี 2558 ดังนั้นการประชุมร่วมกับคณะท�ำงาน ประมงไอยู ยู ข องสหภาพยุ โ รป (อี ยู ) ในช่ ว ง ประมาณสัปดาห์ที่ 2 ของเดือนกุมภาพันธ์นี้ จึง เป็นที่จับตามองว่าประเทศไทยมีความเสี่ยงที่จะ กลับไปสู่สถานะใบเหลืองอีกครั้ง ด้าน รศ.ดร.ธนพร ศรียากูล กรรมการ นโยบายการประมงแห่งชาติ และรองประธาน คณะท�ำงานเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ควบคุม เฝ้าระวังการท�ำการประมงโดยไม่ชอบ ด้วยกฎหมาย กล่าวว่า นับแต่ไทยได้ถูกปลดจาก ใบเหลืองเมื่อเดือนมกราคม 2562 ไทย และ อียู ได้มีการจัดตั้งคณะท�ำงานไอยูยู ฟิชชิ่ง โดย มีการประชุมคณะท�ำงานเรือ่ ยมา ตัง้ แต่ปี 2562 2564 อย่างน้อยปีละ 1 - 2 ครั้ง ส�ำหรับการเดินทางมาของคณะท�ำงานอียู ในครั้งที่จะมาถึงนี้ คงได้มีการปรึกษาหารือกัน ในหลายเรือ่ งทีจ่ ะต้องร่วมมือกันอย่างเข้มข้น เช่น การก�ำกับดูแลเรือประมง การติดตาม ควบคุม และการเฝ้าระวัง และการบริหารจัดการทรัพยากร
ซึ่งเป็นความร่วมมือทางด้านวิทยาศาสตร์ และ การบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมาย เรื่ อ งพั ฒ นาขี ด ความ สามารถร่วมกัน เป็นต้น ขณะที่กรมประมง ประเมินผลผลิต และ มูลค่าสัตว์นำ�้ จากการท�ำการประมงทะเลปี 2564 2566 คาดการณ์วา่ จะมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจาก กรมประมงยังคงมาตรการในการฟืน้ ฟูและอนุรกั ษ์ สัตว์น�้ำอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสถานการณ์การ ระบาดของโรคโควิด-19 ที่เกิดขึ้นในปี 2563 ได้มีการประกาศปิดการท่องเที่ยวต่างๆ ส่งผลให้ ทรัพยากรธรรมชาติ และระบบนิเวศฟื้นตัว และ หลังจากประชาชนทั่วโลกได้รับการฉีดวัคซีนเพื่อ สร้างภูมคิ มุ้ กันโควิด จะทําให้การค้าขายทัง้ ภายใน ประเทศ และการส่งออกดีขึ้น ทั้ ง นี้ ค าดการณ์ ป ี 2564 - 2566 จะมี ผลผลิตเฉลี่ย 1.50 ล้านตันต่อปี และคิดเป็น มูลค่า 72,229 ล้านบาทต่อปี (กราฟิกประกอบ) ซึ่ ง ผลผลิ ต ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ จ ากการทําการประมง พาณิชย์เฉลี่ย 1.21 ล้านตันต่อปี คิดเป็นมูลค่า 47,374 ล้านบาทต่อปี โดยผลผลิตมีแนวโน้ม ลดลงในอัตราร้อยละ 0.51 ต่อปี ส่วนมูลค่า มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ4.02 ต่อปี และ ผลผลิตที่ได้จากการทําการประมงพื้นบ้านเฉลี่ย 2.89 แสนตันต่อปี คิดเป็นมูลค่า 24,724 ล้าน บาทต่ อ ปี โดยผลผลิ ต และมู ล ค่ า มี แ นวโน้ ม เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 6.24 และ 10.22 ต่อปี ตามล�ำดับ ผลผลิตสัตว์น�้ำที่จับได้ ประกอบด้วย กลุ่ม ปลา กลุ่มกุ้ง กลุ่มปู กลุ่มหมึก กลุ่มหอย และ กลุ่มสัตว์น�้ำอื่นๆ โดยคาดการณ์ว่ากลุ่มปลายังคง มีผลผลิตมากที่สุดเฉลี่ย 1.19 ล้านตันต่อปี คิด เป็นมูลค่า 35,289 ล้านบาทต่อปี รองลงมา ได้แก่
50
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Market Leader
กลุ่มหมึกเฉลี่ย 1.10 แสนตันต่อปี คิดเป็นมูลค่า 14,565 ล้านบาทต่อปี และ กลุ่มกุ้งเฉลี่ย 6.37 หมื่นตันต่อปี คิดเป็นมูลค่า 7,415 ล้านบาทต่อปี เป็นต้น อนึ่ง กลุ่มวิเคราะห์การค้าสินค้าประมง ระหว่างประเทศ กองประมงต่างประเทศ กรม
ประมง ประมวลผลข้อมูลจากกรมศุลกากร ข้อมูล ส่งออกสินค้าประมง สถิติย้อนหลัง 3 ปี (2562 2564) ปี 2564 ปริมาณ 1.27 ล้านตัน มูลค่า 158,353 ล้านบาท, ปี 2563 ปริมาณ 1.64 ล้านตัน มูลค่า 196,786 ล้านบาท และปี 2562 ปริมาณ 1.54 ล้านตัน มูลค่า 197,583 ล้านบาท ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
51
Market Leader
จีน ท�ำลายผูกขาดตลาด
“ไก่เนื้อขนขาว” ส�ำเร็จ ในรอบ กว่า 10 ปี
ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองชิงต่าว แจ้งข่าวร้าย จีนผสมพันธุ์ ไก่เนื้อขนขาวได้เองแล้ว นับว่าเป็นการท�ำลายการผูกขาด ตลาดต่างประเทศ ในรอบกว่า 10 ปี ไทยจะท�ำอย่างไร ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองชิงต่าว รายงาน ปัจจุบันสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ถือเป็นประเทศทีบ่ ริโภคเนือ้ สัตว์ปกี ในปริ ม าณที่ ม ากเป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของโลก โดย เฉพาะเนื้อไก่ที่มีการบริโภคภายในประเทศมาก เป็นอันดับสองรองจากเนื้อหมู ซึ่งไก่เนื้อขนขาว ที่ ว างจ� ำ หน่ า ยในตลาดจี น เป็ น สายพั น ธุ ์ ไ ก่ ที่ ถู ก ควบคุ ม โดยบริ ษั ท ต่ า งชาติ ใ นกลุ ่ ม ประเทศ ตะวันตกเพียงไม่กี่บริษัท จนกระทั่งเมื่อไม่นาน มานี้ จีนได้ผสมพันธุ์ไก่เนื้อขนขาวขึ้นมาเป็นครั้ง แรก จนท�ำให้ได้รับการอนุมัติจากรัฐบาลจีน ให้ สามารถเพาะพั น ธุ ์ ไ ก่ เ นื้ อ ขนขาวได้ ทั้ ง หมด 3 สายพั น ธุ ์ ทั้ ง นี้ ค วามส� ำ เร็ จ ในการผสมพั น ธุ ์ ไก่เนื้อขนขาวของจีน ถือเป็นท�ำลายการผูกขาด ของไก่เนื้อขนขาวของต่างประเทศที่ผูกขาดตลาด ที่มา : ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2565
52
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
จีนมาเป็นเวลานานหลายสิบปี ซึ่งนอกจากจะท�ำ ให้จนี ลดการพึง่ พาการน�ำเข้าจากต่างประเทศแล้ว ยังสามารถสร้างความปลอดภัย และความมั่นคง ด้านอาหารให้กับประชาชนชาวจีนได้เป็นอย่างดี เมือ่ พิจารณาปริมาณการบริโภคเนือ้ ไก่ของ จี น พบว่ า จี น บริ โ ภคไก่ 7,000 ล้ า นตั ว ต่ อ ปี โดยเนื้อไก่ขนขาวครองสัดส่วนในตลาดจีนเกือบ ครึ่งหนึ่ง ซึ่งต้นทุนของเนื้อไก่ขนขาวมาจากการที่ จีนน�ำเข้าไก่เข้ามาผสมพันธุ์ ในขั้นแรกเรียกว่า ไก่รุ่นปู่ย่าพันธุ์ และเลี้ยงเพื่อให้ก�ำเนิดเป็นไก่พ่อ พันธุ์แม่พันธุ์ จากนั้นจึงก�ำเนิดไก่ในรุ่นที่ 3 ที่ น�ำออกจ�ำหน่ายในท้องตลาด โดยในปี ค.ศ. 2020 จีนน�ำเข้าไก่รุ่นปู่ย่า พันธุ์ จ�ำนวน 1,002,800 ชุด (1 ชุด มีตัวเมีย 10
Market Leader ตัว ตัวผู้ 1 ตัว) ซึ่งจีนมีการน�ำเข้าไก่ปู่ย่าพันธุ์ ถึง 100,000 - 1,000,000 ชุดต่อปี ในราคา 37 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัว หรือประมาณ 1,258 บาท ต่อตัว คิดเป็นมูลค่าทั้งหมดกว่า 10 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ ต่อปี หรือประมาณ 340 ล้านบาทต่อปี จึงจะสามารถน�ำไก่ปู่ย่าพันธุ์มาผสมพันธุ์ และให้ ก�ำเนิดลูกไก่ได้ (1 เหรียญสหรัฐฯ เท่ากับ 34 บาท) แสดงให้เห็นถึงต้นทุนในการผลิตไก่เนื้อ ขนขาวของจีนที่สูงมาก และคาดว่าจะมีแนวโน้ม ที่ สู ง ขึ้ น เนื่ อ งจากความต้ อ งการในการบริ โ ภค ไก่เนื้อขนขาวของชาวจีนที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี การ ที่จีนริเริ่มแนวคิดในการผสมพันธุ์ไก่เนื้อขนขาว สายพันธุ์จีนเพื่อใช้ในการบริโภคภายในประเทศ ด้วยตนเองนั้น มีสาเหตุมาจากการตระหนักถึง ความเสี่ยงของปัญหาในการผูกขาดการน�ำเข้า พันธุ์ไก่ขนขาวจากต่างประเทศ โดยเริ่มต้นในปี ค.ศ. 2014 ซึ่งประเทศสหรัฐอเมริกาที่เป็นแหล่ง น�ำเข้าพันธุ์ “ไก่ ข นขาว” หลั ก ของจี น ได้ ป ระสบกั บ ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก ท�ำให้ จีนหันไปพึ่งพาการน�ำเข้าไก่ขนขาวปู่ย่าพันธุ์จาก ประเทศฝรั่งเศส แต่อย่างไรก็ดี ต่อมาประเทศ ฝรั่งเศสก็ประสบกับปัญหาการแพร่ระบาดของ โรคไข้หวัดนกเช่นเดียวกัน ท�ำให้ด่านศุลกากร ปิดรับการน�ำเข้าจากต่างประเทศ ส่งผลต่อปริมาณ การน�ำเข้าพันธุ์ไก่ขนขาวจากต่างประเทศที่ลดลง จ�ำนวนมาก ซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อปริมาณการ บริโภคที่ลดลงด้วยเช่นกัน ต่อมาในปี ค.ศ. 2015 - 2018 ปริมาณ ไก่ขนขาวปูย่ า่ พันธุใ์ นจีนมีจำ� นวนต�ำ่ กว่า 800,000 ชุ ด ซึ่ ง ไม่ เ พี ย งพอต่ อ การผลิ ต เนื้ อ ไก่ ข นขาว
ส� ำ หรั บ การบริ โ ภคภายในประเทศ ท� ำ ให้ จี น มี ความจ�ำเป็นต้องน�ำเข้าเนื้อไก่จากต่างประเทศ รวมทั้งน�ำเข้าไก่ปู่ย่าพันธุ์เข้ามามากขึ้น พร้อมกับ เผชิญต่อความเสี่ยงที่จะได้รับพันธุ์ไก่ที่มีปัญหา หรือไม่มีความปลอดภัยด้านสุขอนามัย ท้ายทีส่ ดุ แล้ว การน�ำเข้าไก่จากต่างประเทศ ก็น�ำมาซึ่งไก่ที่ติดโรค และแพร่ระบาดภายใน ประเทศ และส่งผลกระทบต่อการผลิตทีก่ อ่ ให้เกิด ความสูญเสียต่อระบบปศุสัตว์ของจีนเป็นอย่าง มาก ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ประกอบกับ ป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อความต้องการ บริโภคอาหารที่ปลอดภัย และความมั่นคงด้าน อาหารของจีน กระทรวงเกษตรจีนจึงได้ประกาศ แผนการปรับปรุงพันธุกรรมไก่เนื้อแห่งชาติ ปี ค.ศ. 2014 - 2025 เพื่อให้จีนสามารถมีสายพันธุ์ไก่เนื้อเป็น ของตนเอง และยั ง มี ต ้ น ทุ น ต�่ ำ กว่ า การน� ำ เข้ า สายพันธุ์ไก่ขนขาวจากต่างประเทศอีกด้วย โดย การผสมพันธุไ์ ก่ขนขาวของจีนก่อให้เกิดประโยชน์ ที่ส�ำคัญ 2 ประการ ได้แก่ (1) สามารถแก้ปัญหา ความไม่มั่นคง และไม่ปลอดภัยของอุปทานพันธุ์ ไก่ขนขาวจากต่างประเทศ และ (2) สามารถผลิต อาหารเพื่อตอบสนองความต้องการในการบริโภค ภายในประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลกระทบด้านเศรษฐกิจต่อประเทศไทย และแนวทางการปรับตัวของภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้ประกอบการไทย “เนื้อไก่” เป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก เมื่อ เทียบกับเนื้อวัว และเนื้อปลา ท�ำให้ในแต่ละปี ประชาชนทั่วโลกเลือกที่จะบริโภคเนื้อไก่ โดยมี ปริมาณมากถึง 5 หมื่นล้านตัว ในขณะที่ชาวจีน บริโภคไก่ 7,000 ล้านตัวต่อปีคิดเป็นร้อยละ 14 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
53
Market Leader ของการบริโภคไก่ทั่วโลก โดยเฉพาะ ไก่เนื้อขนขาว ซึ่งมีการคาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ. 2023 จีนจะมีปริมาณการ บริโภคไก่เนื้อขนขาวถึง 8,700,000 ตัน คิดเป็นมูลค่าถึง 129,300 ล้าน หยวน หรือประมาณ 685,290 ล้าน บาท (อัต ราแลกเปลี่ ยน 1 หยวน เท่ า กั บ 5.3 บาท) และช่ อ งทาง การบริโภคไก่เนื้อขนขาวในจีน ส่วน ใหญ่มาจากธุรกิจ Group Meal ร้อย ละ 35 ธุรกิจฟาสต์ฟูด ร้อยละ 33 ธุรกิจค้าปลีก ร้อยละ 18 และธุรกิจ แปรรูปอาหาร ร้อยละ 14 ตามล�ำดับ ซึ่งล้วนแต่ เป็นช่องทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคหลัก ของชาวจีน ดังนั้น ตลาดเนื้อไก่จึงเป็นตลาดที่น่า จับตามองส�ำหรับผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง เมื่อพิจารณาข้อมูลการน�ำเข้าของจีน ในช่วง 11 เดือนแรกของปีนี้พบว่า จีนน�ำเข้า ไก่แช่แข็งและชิ้นส่วน (HS Code: 020714) จากประเทศไทยมากเป็นอันดับที่ 3 รองจาก ประเทศบราซิล และสหรัฐอเมริกา แต่อย่างไรก็ดี การที่จีนสามารถผสมพันธุ์ ไก่เนื้อขนขาวได้เอง อาจจะส่งผลกระทบต่อการ น� ำ เข้ า ทั้ ง พั น ธุ ์ ไ ก่ ข นขาว และเนื้ อ ไก่ จ ากต่ า ง
54
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ประเทศที่ลดลงอย่างต่อเนื่องในอนาคต เพื่อเป็น การควบคุมต้นทุนการผลิตไก่เนื้อขนขาว และ ราคาเนือ้ ไก่ภายในประเทศ ซึง่ ผูป้ ระกอบการไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรติดตามสถานการณ์ ในอุ ต สาหกรรมการผลิ ต เนื้ อ ไก่ ข องจี น อย่ า ง ใกล้ ชิ ด เนื่ อ งจากอาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ความ ต้องการเนื้อไก่ของไทยในระยะยาว พร้ อ มกั น นี้ จะได้ พิ จ ารณาปรั บ กลยุ ท ธ์ ในการพัฒนาเนื้อไก่ของไทยให้มีคุณภาพสูง และ ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคชาวจีนให้มาก ขึ้น รวมทั้งแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารส�ำเร็จรูป หรือของทานเล่นต่างๆ ที่อาจจะมีโอกาสในการ เจาะตลาดอาหารของจีนมากขึ้นในอนาคต
Market Leader
“เบทาโกร” แถลง ปัดกักตุน
“เนื้อหมู” 2 แสนกิโลกรัม “เบทาโกร” แถลง ปฏิเสธกักตุน “เนื้อหมู” กว่า 2 แสน กิ โ ลกรั ม ยื น ยั น ยึ ด มติ กกร. และแจ้ ง ข้ อ มู ล ปริ ม าณ ต่อกระทรวงพาณิชย์แล้ว เป็นการสำ�รองสินค้ารองรับการ จัดส่ง 8 จังหวัด ในระยะ 5 - 7 วัน จากกรณีจังหวัดสงขลา ปศุสัตว์จังหวัดสงขลา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้าตรวจสอบห้องเย็นบริษัทใหญ่แห่งหนึ่งใน อ.จะนะ จ.สงขลา พบว่ามีเนื้อหมู คงคลังอยู่ถึง 201,650 กิโลกรัม ทางปศุสัตว์จังหวัดจึงสั่งอายัดไว้รอการตรวจสอบ ว่ามีการกักตุนเนื้อหมูหรือไม่ และมีข้อมูลว่าเนื้อหมูจ�ำนวนดังกล่าวเป็นของ บริษัท เบทาโกร เกษตรอุตสาหกรรม พัทลุง บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) ได้ออกเอกสารชี้แจงต่อกรณีดังกล่าว ระบุว่า จากกรณีที่ปรากฏรายงานข่าวการเข้าตรวจสอบบริษัทห้องเย็นแห่งหนึ่ง ในจังหวัดสงขลา และพบว่ามีการเก็บรักษาเนื้อสุกรจาก บริษัท เบทาโกร เกษตร อุตสาหกรรม พัทลุง จ�ำนวน 201,650 กิโลกรัม ในห้องเย็นดังกล่าวนั้น
ที่มา : คมชัดลึกออนไลน์ วันศุกร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2565 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
55
Market Leader บริษัทฯ ขอเรียนชี้แจงว่า การจัดเก็บรักษา เนือ้ สุกรของ บริษทั เบทาโกร เกษตรอุตสาหกรรม พัทลุง และสาขาในกลุ่ม ในบริษัทห้องเย็นตามที่ ระบุในรายงานข่าว เป็นการจัดการสินค้าคงคลัง ตามแนวทางการปฏิบตั โิ ดยปกติ ภายใต้มาตรฐาน การจัดส่งสินค้า เพื่อการส�ำรองสินค้ารองรับการ จัดส่ง 5 - 7 วัน อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ สิ น ค้ า มี ค วามสดใหม่ จ นถึ ง มื อ ผู ้ บ ริ โ ภค โดย ครอบคลุมพื้นที่จัดส่งในภาคใต้ตอนล่างมากกว่า 8 จังหวัด ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มีการแจ้งข้อมูลปริมาณ เนื้อสุกรทั้งหมดที่เก็บในห้องเย็นนั้นต่อกระทรวง พาณิชย์ให้รับทราบล่วงหน้า ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 17 มกราคม 2565 ที่ผ่านมา จ�ำนวน 211,361 กิ โ ลกรั ม ซึ่ ง เป็ น ไปตามมติ ข องที่ ป ระชุ ม คณะ กรรมการกลาง ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) ครั้งที่ 1/2565 ที่ระบุให้ “ผู้เลี้ยงที่มี ปริมาณการเลีย้ งเกิน 500 ตัว ผูค้ า้ ส่งทีม่ ปี ริมาณ เกิน 500 ตัว ห้องเย็นที่มีการเก็บสต็อกเกิน 5,000 กิโลกรัม ขึ้นไป ให้ด�ำเนินการแจ้งสต็อก ให้กรมการค้าภายในรับทราบ รวมทั้งแจ้งราคา ในทุก 7 วัน โดยเริ่มวันที่ 10 มกราคม 2565 เป็นต้นไป บริษัทฯ ขอยืนยันว่า การจัดการสต็อก ดั ง กล่ า ว เป็ น การจั ด การสิ น ค้ า คงคลั ง ตาม แนวทางปฏิบัติโดยปกติ มิใช่การกักเก็บสินค้า เป็นเวลานาน เพื่อเป้าหมายด้านราคาที่สูงขึ้น แต่ประการใด บริษัทฯ พร้อมให้ความร่วมมือใน
56
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
การก�ำหนดแนวทางการปฏิบัติงานให้สอดคล้อง กับนโยบายของภาครัฐ ครอบคลุมถึงการจัดการ สินค้าคงคลัง และการรายงานแจ้งจ�ำนวนสต็อก ตามข้อก�ำหนดโดยเคร่งครัด อย่ า งไรก็ ต าม ภายใต้ ส ถานการณ์ ก าร แพร่ระบาดของโรคไวรัสอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ในปัจจุบัน ซึ่งส่งผลต่อปริมาณสุกร และระดับ ราคาที่เพิ่มขึ้น บริษัทฯ ตระหนักถึงความกังวลใจ ของผู ้ บ ริ โ ภคต่ อ กรณี ดั ง กล่ า วเป็ น อย่ า งดี จึ ง ได้ยกระดับมาตรการด้านความปลอดภัยอย่าง เข้มงวด และต่อเนื่อง โดยได้รับการรับรองตาม มาตรฐานของกรมปศุสัตว์อย่างถูกต้องครบถ้วน รวมถึ ง ได้ ร ่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการช่ ว ยเหลื อ บรรเทาความเดือดร้อนของผู้บริโภค โดยการ ผสานความร่วมมือกับภาครัฐ และทุกภาคส่วน ในการสนับสนุนผลิตภัณฑ์หมูปลอดภัย ในราคา ที่เป็นธรรมให้กับประชาชน ในโครงการพาณิชย์ ลดราคาช่วยประชาชน โดยการจ�ำหน่ายหมูสด ในราคากิโลกรัมละ 150 บาท ณ จุดจ�ำหน่าย ในโครงการ 667 แห่งทั่วประเทศ เครือเบทาโกร ยึดมั่นในเจตนารมณ์ทาง ธุรกิจทีด่ ี มีบรรษัทภิบาล พร้อมให้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง และสื่อสารสร้างความเข้าใจร่วมกับหน่วยงาน ภาครัฐ ตลอดจนองค์กรต่างๆ ในฐานะบริษัท ชั้ น น� ำ ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารสดและแปรรู ป ที่ ปลอดภัย เพื่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตดีของ ผู้บริโภคอย่างยั่งยืน
สินค้ำ คุณภำพ สำหรับปศุสตั ว์ไทย
ผลิตจำกเมล็ดถัว่ เหลื องเกรดอำหำรสัตว์ 100% อุดมด้วยกรดไขมันไม่อ่ ิมตัวซึ่งจำเป็ นต่อกำรเจริ ญเติบโตของสัตว์ ควบคุมกำรผลิตด้วยเทคโนโลยี และเครื่ องจักรที่ทนั สมัย โปรตีน ไม่ต่ ำกว่ำ 36% ไขมัน ไม่ต่ ำกว่ำ 18% เมทไธโอนี น มำกกว่ำ 5,000 ppm ไลซีน มำกกว่ำ 6 กรัม/100 กรัมโปรตีน
สินค้ำ Premium Grade รับรองมำตรฐำน GMP & HACCP
บริษทั ยูนีโกร อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด 120 หมู ่ 4 ตำบลสำมควำยเผื อก อำเภอเมื อง จังหวัดนครปฐม 73000 โทร. 0-3430-5101-2, 0-3439-5209 แฟกซ์ 0-3430-5103
www.unigrointer.com,
e-mail : unigro_inter@hotmail.com
การวิเคราะห์อาหารสัตว์ ที่ล้ำสมัย สำหรับทุกคน ในข้ันตอนการผลิตอาหารสัตว์ ข้อมูลการวิเคราะห์คุณภาพอาหารสัตว์ มีส่วนทำให้เห็นความแตกต่าง ด้านผลกำไรและขาดทุนอย่างชัดเจน พลังของข้อมูลจากการวิเคราะห์ที่น่าเชื่อถือ เป็นส่วนสำคัญที่จะ ช่วยเพิ่มความมั่นใจในคุณภาพของสินค้า อีกทั้งยังช่วยในเรื่องของการผลิตแบบยั่งยืน ด้วยการใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า โดยลดปริมาณการเกิดของเสียให้น้อยที่สุด เครื่องวิเคราะห์ NIRS™ DS3 คือ นวัตกรรมล่าสุด เพื่อการวิเคราะห์โปรตีน ความชื้น ไขมัน เถ้า กากใย และแป้ง ภายใน 1 นาที สามารถใช้ทดสอบตัวอย่าง ทั้งแบบบด และไม่บด หรือของเหลว โดยไม่ต้องมีขั้นตอนการเตรียมตัวอย่างที่ซับซ้อน สนใจข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ info.fsea@foss.dk หรือโทร 02-018-1600 www.foss.in.th
Market Leader
เปิดเกณฑ์ พฤติกรรมอย่างไร
เข้าข่ายกักตุน - ปฏิเสธการจ�ำหน่าย เปิดเกณฑ์ตรวจสอบ พฤติกรรมอย่างไร เรียกกักตุน - ปฏิเสธการจ�ำหน่าย พาณิชย์เอาผิดจริงโทษ จ�ำคุก 7 ปี หรือปรับ 1.4 แสนบาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
วั น ที่ 20 มกราคม 2565 หลั ง จาก คณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ (กกร.) มีมติให้ผู้เลี้ยงหมูรายใหญ่ตั้งแต่ 500 ตัว ขึ้นไป และผู้ครอบครอง หรือห้องเย็นที่มีสต็อก หมูตั้งแต่ 5,000 กก. ขึ้นไป (5 ตัน) ต้องแจ้ง ปริมาณ และราคาต่อกรมการค้าภายในทุก 7 วัน ตามกฎหมาย พ.ร.บ. ว่าด้วยสินค้าและบริการ พ.ศ. 2542 นับตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2564 เป็นต้นมา นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร ปลัดกระทรวง พาณิชย์ เปิดเผยว่า ขณะนีจ้ นถึงวันที่ 17 มกราคม 2565 ได้รับรายงานว่า มีการสต็อกหมูช�ำแหละ ทั่วประเทศ 8,352 ตัน และล่าสุดตามที่มีข่าว ปรากฏว่ามีการเข้าตรวจสอบสต็อกหมูในห้องเย็น ของผู ้ ป ระกอบการ 2 รายในพื้ น ที่ จ.สงขลา โดยผู้ว่าราชการจังหวัดพร้อมคณะนั้น ได้มอบให้
กรมการค้าภายในตรวจสอบ และรายงานข้อมูล ว่า 2 บริษัทดังกล่าวได้มีการแจ้งปริมาณตามที่ กกร. ก�ำหนดไว้หรือไม่ โดยแบ่งเป็น 3 กรณี คือ ไม่แจ้ง และแจ้งด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง หรือ แจ้งด้วยข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งในกรณีที่ไม่แจ้งปริมาณสต็อก ถือว่า มีความผิด ซึ่งจะมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับ ไม่เกิน 20,000 บาท และปรับอีกวันละ 2,000 บาทตลอดระยะเวลาฝ่าฝืน ส่วนในกรณที่แจ้ง แล้ ว ต้ อ งตรวจสอบต่ อ ไปว่ า แจ้ ง ด้ ว ยข้ อ มู ล ที่ ถูกต้องหรือไม่ หากแจ้งด้วยข้อมูลที่เป็นเท็จ ก็ จะมีความผิดอีกเช่นกัน โดยหลักกฎหมาย หาก ตรวจสอบแล้ ว พบว่ า มี ก ารกั ก ตุ น ซึ่ ง หมายถึ ง การปฏิ เ สธการจ� ำ หน่ า ย ทั้ ง ที่ มี สิ น ค้ า และมี ผู้ขอซื้อสินค้าเข้ามาแต่ไม่จ�ำหน่าย ก็จะมีโทษ ตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ คือ
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันพฤหัสบดีที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2565 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
57
Market Leader จ�ำคุก 7 ปี ปรับ 140,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ “การจะสรุปว่า 2 บริษัท นัน้ มีการกักตุน หรือปฏิเสธการ จ�ำหน่ายหรือไม่ต้องเข้าไปตรวจ สอบพิสูจน์ให้ได้ว่ามีพฤติกรรม กั ก ตุ น การจ� ำ หน่ า ย เช่ น การ สต็อกสินค้า โดยต้องดูว่าเป็น สินค้าหมูแช่เย็น หรือหมูแช่แข็ง มี ก ารหมุ น เวี ย นสิ น ค้ า หรื อ ไม่ เก็บไว้นานเท่าไร 7 วัน 10 วัน หรือ 14 วัน เพราะหากเป็นหมู แช่แข็ง อาจจะแช่ไว้ได้ในระยะเวลานานกว่าหมู แช่เย็น ประเด็นนี้สามารถตรวจสอบข้อมูลย้อน หลังไปได้ แต่ต้องใช้ระยะเวลาการสอบสวนก่อน ที่ จ ะสรุ ป ว่ า มี พ ฤติ ก รรมเข้ า ข่ า ยความผิ ด เรื่ อ ง การกักตุนสินค้า อาจจะยังไม่สามารถสรุปได้ ในทั น ที อย่ า งไรก็ ต าม กระทรวงพาณิ ช ย์ จ ะ ด�ำเนินมาตรการอย่างเต็มที่เพื่อป้องกันการฉวย โอกาสเอาเปรียบผู้บริโภค” อนึ่ง ตามกฎหมาย พ.ร.บ. ว่าด้วยราคา สินค้าและบริการ พ.ศ. 2542 ก�ำหนดว่า มาตรา 29 ห้ามมิให้ผู้ประกอบธุรกิจด�ำเนินการใดๆ โดย จงใจที่จะท�ำให้ราคาต�่ำเกินสมควร หรือสูงเกิน สมควร หรือท�ำให้เกิดความปั่นป่วนซึ่งราคาของ สินค้า หรือบริการใด คณะกรรมการอาจก�ำหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ถือว่าเป็นการท�ำให้ราคาต�่ำเกินสมควร หรือสูงเกินสมควร หรือท�ำให้ปั่นป่วนซึ่งราคาของ สินค้า หรือบริการใดก็ได้ หลักเกณฑ์และวิธีการ ดังกล่าวให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
58
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
มาตรา 30 ห้ามมิให้บุคคลใดกักตุนสินค้า ควบคุม โดยมีสินค้าควบคุมไว้ในครอบครองเกิน ปริมาณทีก่ ำ� หนดไว้ในประกาศของคณะกรรมการ ตามมาตรา 25(12) หรือเก็บสินค้าควบคุมไว้ ณ สถานที่อื่นนอกจากสถานที่เก็บตามที่ได้แจ้ง ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 25(5) หรือ ไม่นำ� สินค้าควบคุมทีม่ ไี ว้เพือ่ จ�ำหน่ายออกจ�ำหน่าย หรือเสนอขายตามปกติ หรือปฏิเสธการจ�ำหน่าย หรือประวิงการจ�ำหน่าย หรือการส่งมอบสินค้า ควบคุม โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร มาตรา 31 ห้ า มมิ ใ ห้ ผู ้ ป ระกอบธุ ร กิ จ บริการควบคุมหยุดการให้บริการตามปกติ หรือ ปฏิเสธการให้บริการ หรือประวิงการให้บริการ โดยไม่มีเหตุอันสมควร ส�ำหรับบทลงโทษ ในมาตรา 41 ระบุว่า ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 29 มาตรา 30 หรือมาตรา 31 ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน7ปี หรือปรับไม่เกิน 140,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
Around the world
ส.กุ้งไทย เผยปี 2564
ไทยผลิตกุ้งได้ 2.8 แสนตัน
เสนอแนวทาง 7-1-1 ให้อุตฯ กุ้งไทยอยู่รอดอย่างยั่งยืน
ดร.สมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย นายกสมาคมกุ้งไทย
นายบรรจง นิสภวาณิชย์ นายชัยภัทร ประเสริฐมรรค น.ส.พัชรินทร์ จินดาพรรณ นายบรรจง นิสภวาณิชย์ อุปนายกสมาคมฯ กรรมการบริหารสมาคมฯ กรรมการบริหารสมาคมฯ อุปนายกสมาคมฯ
หากรั ฐ มี ธ ง/เป้ า แผนพั ฒ นาส่ ง เสริ ม สนับสนุนชัดเจน - เร่งแก้ปญ ั หาโรคได้เบ็ดเสร็จ พั ฒ นาใช้ เ ทคโนโลยี เ ลี้ ย ง - เกษตรกรเข้ า ถึ ง แหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต�่ำ - เพิ่มความสามารถ ในการแข่งขัน - สร้างแบรนด์กุ้งไทย The Best of the best Shrimp in the World - ผนึก ก�ำลังทั้งห่วงโซ่การผลิตฯ และอื่นๆ เพื่อความ อยู่รอดอย่างยั่งยืน เมื่ อ วั น ที่ 13 ธั น วาคม 2564 ดร.สม ศักดิ์ ปณีตัธยาศัย นายกสมาคมกุ้งไทย น�ำทีม คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ประกอบด้วย นายบรรจง นิสภวาณิชย์ อุปนายกสมาคมกุง้ ไทย ประธานสมาพันธ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำไทย และ ผู้ทรงคุณวุฒิ - ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ คณะ
นายสมชาย ฤกษ์โภคี เลขาธิการสมาคมฯ
นายเอกพจน์ ยอดพินิจ อุปนายกสมาคมกุ้งไทย
กรรมการนโยบายประมงแห่งชาติ นายปกครอง เกิดสุข อุปนายกสมาคมฯ และประธานที่ปรึกษา ชมรมผู ้ เ ลี้ ย งกุ ้ ง จั ง หวั ด กระบี่ นายเอกพจน์ ยอดพิ นิ จ อุ ป นายกสมาคมฯ นายสมชาย ฤกษ์โภคี เลขาธิการสมาคมกุ้งไทย และนายก สมาคมผู้เลี้ยงกุ้งทะเลไทย นางสาวพัชรินทร์ จินดาพรรณ กรรมการบริหารสมาคมกุง้ ไทย และ นายกสมาคมกุ้งตะวันออกไทย และนายชัยภัทร ประเสริฐมรรค กรรมการบริหารสมาคม และ ประธานชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี และคณะ กรรมการฯ สมาคมฯ เปิดเผยถึงสถานการณ์กุ้ง ของไทย ปี 2564 ผ่านทางการประชุมออนไลน์ (Zoom Meeting) ว่า ผลผลิตกุ้งเลี้ยงปี 2564 โดยรวมอยู่ที่ 2.8 แสนตัน เพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ปี
ที่มา : วารสารข่าวกุ้ง ปีที่ 33 ฉบับที่ 401 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
59
Around the world
2563 อยู่ที่ 2.7 แสนตัน) คาดปี 2565 ผลิตได้ 3 แสนตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4 “การผลิตกุง้ ของไทยปีนี้ (ปี 2564) คาดจะ ผลิตได้ 2.8 แสนตัน เพิม่ ขึน้ จากปีทแี่ ล้วเล็กน้อย เป็นผลผลิตกุง้ จากภาคใต้ตอนล่าง ร้อยละ 33 จาก ภาคใต้ตอนบน ร้อยละ 32 จากภาคตะวันออก ร้อยละ 24 และจากภาคกลาง ร้อยละ 11 ส่วน ผลผลิตกุ้งทั่วโลก คาดว่าจะอยู่ที่ประมาณ 4.24 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 16 ส่วนการส่งออกกุ้ง เดือนมกราคม - ตุลาคมปีนี้ ปริมาณ 128,758 ตัน มูลค่า 39.251 ล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วง เวลาเดี ย วกั น ของปี 2563 ที่ ส ่ ง ออกปริ ม าณ 123,297 ตัน มูลค่า 35,872 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ทั้งปริมาณ และมูลค่าที่ร้อยละ 4 และร้อยละ 9 ตามล�ำดับ (ดังตารางการส่งออกกุ้งไทย) แม้ ประสบปัญหาตูค้ อนเทนเนอร์ขาดแคลน ค่าขนส่ง ราคาสูง และอื่นๆ” นายกสมาคมกุ้งไทย กล่าว นายปกครอง เกิดสุข อุปนายกสมาคมกุ้ง ไทย และที่ปรึกษาชมรมผู้เลี้ยงกุ้งจังหวัดกระบี่
60
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
กล่าวถึงสถานการณ์การเลีย้ งกุง้ ภาคใต้ตอนล่างว่า ผลผลิตปี 64 คาดว่ามีประมาณ 9.2 หมื่นตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาประมาณร้อยละ 12 พบการ เสียหายจากโรคตัวแดงดวงขาว จ.นครศรีธรรมราช และสงขลา โดยเชื้ออีเอชพี และโรคขี้ขาว เป็น ปัญหาส�ำคัญต่อการเลี้ยงของเกษตรกรตลอดปี ช่วงครึ่งปีหลัง พบการเสียหายจากโรคดังกล่าว เพิ่มขึ้น สภาพอากาศที่แปรปรวน และปริมาณ ฝนที่เพิ่มขึ้น เกษตรกรจึงลดความหนาแน่นใน การเลี้ยง และทยอยการปล่อยกุ้ง เพื่อลดความ เสี่ยงฯ และดูสถานการณ์ โดยเกษตรกรที่อยู่ใน พื้นที่เสี่ยง มีการพักบ่อ ท�ำความสะอาดบ่อ และ จัดการเคลียร์ระบบการเลี้ยงภายในฟาร์ม เพื่อ เตรียมปล่อยกุ้งใหม่ในช่วงต้นปี 65 นายชัยภัทร ประเสริฐมรรค กรรมการ บริ ห ารสมาคม และประธานชมรมผู ้ เ ลี้ ย งกุ ้ ง สุราษฎร์ธานี กล่าวว่า ผลผลิตกุ้งปี 64 ในพื้นที่ ภาคใต้ตอนบนประมาณ 9 หมื่นตัน เพิ่มขึ้น จากปีที่ผ่านมาเล็กน้อย ช่วงต้นปีเกษตรกรลงกุ้ง
Around the world ส่งออกกุ้งไทย 10 เดือนแรก ปี 2564 ตารางการส่งออกกุ้งของไทย เดือนมกราคม-ตุลาคม 2564 ประเทศ / กลุ่มประเทศ เอเชีย - จีน - ญี่ปุ่น - อื่นๆ สหรัฐอเมริกา อียู ออสเตรเลีย อื่นๆ รวม
ม.ค.-ต.ค. 63 ปริมาณ มูลค่า 72,491 18,435 15,014 4.316 26,450 9.033 31,027 5,086 37,021 12,971 4,110 1,444 3,919 1,271 5,756 1,751 123,297 35,872
ม.ค.-ต.ค. 64 ปริมาณ มูลค่า 80,235 21,983 18,479 5,650 29,052 9,841 32.704 6,492 35,722 12,921 3,611 1,271 3,500 1,219 5,690 1,857 128,758 39.251
หน่วย : ปริมาณ-ตัน, มูลค่า-ล้านบาท
% แตกต่าง ปริมาณ มูลค่า 10.68 19.25 23.08 30.91 9.84 8.94 5.40 27.64 -3.51 -0.39 -12.14 -11.98 -10.69 -4.09 -1.15 6.05 4.43 9.42
ที่มา : กรมศุลกากร
อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และพบความเสี ย หายจากโรค ตัวแดงดวงขาว ช่วงครึ่งปีแรกให้ผลผลิตได้ตาม เป้าหมาย และมีการลงกุ้งอย่างต่อเนื่อง ส่วน ครึ่งปีหลัง ด้วยสภาพอากาศที่แปรปรวน และ ปริ ม าณฝนที่ เ พิ่ ม ขึ้ น พบการเสี ย หายจากโรค อีเอซพี และขี้ขาวเพิ่มมากขึ้น ท�ำให้เกษตรกร ลดความหนาแน่น และทยอยการปล่อยกุ้ง ส่วน ช่วงปลายปี เกษตรกรมีการพักบ่อ ท�ำความสะอาด บ่อ และจัดการเคลียร์ระบบการเลีย้ งภายในฟาร์ม เพื่อเตรียมปล่อยกุ้งใหม่ในช่วงต้นปี 65 เช่นกัน นางสาวพัชรินทร์ จินดาพรรณ กรรมการ บริหารสมาคมกุง้ ไทย และนายกสมาคมกุง้ ตะวันออกไทย กล่าวว่า ผลผลิตกุ้งปี 64 ในพื้นที่ภาค ตะวันออกประมาณ 6.6 หมื่นตัน เพิ่มขึ้นจากปี ที่ผ่านมาร้อยละ 18 สถานการณ์โควิดส่งผลให้ แรงงานขาดแคลน เกษตรกรชะลอการเลี้ยงใน ช่วงต้นปี พบความเสียหายของโรคตัวแดงดวงขาว โดยเฉพาะ จ.ระยอง จันทบุรี และตราด และพบ
โรคหัวเหลืองในพื้นที่ จ.ฉะเชิงเทรา มากกว่าปีที่ ผ่านมา ส่วนโรคอีเอชพี และขี้ขาวเป็นปัญหา ส�ำคัญการเลี้ยงกุ้งตลอดปีซึ่งพบมากในช่วงครึ่ง ปีหลัง ส่วนราคาปัจจัยการผลิต ต้นทุนแฝงจาก การเสียหายจากโรคส่งผลกระทบต่อต้นทุนการ ผลิต เกษตรกรบางส่วนชะลอการลงกุ้ง ส่วนผลผลิตภาคกลาง ประมาณ 3.2 หมืน่ ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 28 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา เกษตรกรมีการลงกุง้ อย่างต่อเนือ่ ง แต่ในช่วงต้นปี สภาพอากาศแปรปรวน พบความเสียหายจากโรค หัวเหลือง และตัวแดงดวงขาว นายบรรจง นิสภวาณิชย์ อุปนายกสมาคม กุ้งไทย ประธานสมาพันธ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ไทย และผูท้ รงคุณวุฒิ - ด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ�้ คณะกรรมการนโยบายประมงแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้ อุตสาหกรรมกุ้งเปลี่ยนไปมาก จากเดิม ที่ไทยเป็นอันดับต้นๆ ในด้านการผลิตกุ้ง เพราะ เรามีปัจจัยที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นสภาพอากาศ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
61
Around the world เรื่องพันธุ์กุ้ง อาหาร และผู้แปรรูปส่งออกที่มีฝีมือ แต่ปัจจุบันเรา ตกไปอยู่อันดับ 6 หรือ 7 ซึ่งเกิด จากการไม่มีการวางแผนในการน�ำสินค้ากุ้งไป สร้างตลาดในต่างประเทศอย่างจริงจัง เราต้อง หันมาร่วมมือเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกันทั้งเกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้ง บริษัทอาหาร ปัจจัยการผลิต ผู้ส่งออก และภาครัฐ น�ำค�ำว่ากุง้ ไทยกลับมาสูก้ บั ตลาดโลก เพื่อเป็นผู้ผลิตอันดับต้นๆ ของโลกอีกครั้ง นายสมชาย ฤกษ์โภคี เลขาธิการสมาคม กุง้ ไทย และนายกสมาคมกุง้ ทะเลไทย เปิดเผยถึง การพัฒนาอุตสาหกรรมกุ้งไทยว่า ถึงเวลาที่ทุก คนในซัพพลายเชน หรือห่วงโซ่การผลิตต้องช่วย กัน แบบเพื่อนช่วยเพื่อน เดินไปด้วยกัน เพื่อให้ ทุกคนอยู่ได้ อุตสาหกรรมอยู่รอดปลอดภัย และ เติบโตอย่างยั่งยืน ที่ส�ำคัญต้องท�ำหน้าที่ให้เต็มที่ และดีทสี่ ดุ ในบทบาทของตน เช่น ผูเ้ พาะฟักลูกกุง้ ต้องผลิตลูกกุ้งคุณภาพดีให้กับผู้เลี้ยง ผู้เลี้ยงต้อง ผลิตกุ้งให้ได้คุณภาพ ปริมาณที่เพียงพอ ผู้ผลิต อาหารต้องผลิตอาหารที่ดี มีต้นทุนที่เหมาะสม ห้องเย็นต้องผลิตแปรรูปผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่า ให้กบั สินค้ากุง้ ให้ได้มาตรฐานทีย่ อมรับ นอกจากนี้ ภาครั ฐ จะต้ อ งมี ส ่ ว นในการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น อุตสาหกรรม ท�ำงานเชิงรุกร่วมกันอย่างมีเอกภาพ และบูรณาการ เพื่อให้อุตสาหกรรมมีการพัฒนา ไปอย่างยั่งยืน “อุตสาหกรรมกุง้ ของประเทศไทย เราภูมใิ จ ในเรื่องภาพลักษณ์ เรื่องคุณภาพ ความปลอดภัย อาหาร และปัจจัยสนับสนุนต่างๆ ทั้งเป็นแหล่ง ผลิตลูกพันธุ์กุ้งที่มีคุณภาพดีที่สุดในโลก อาหาร กุ้งที่มีประสิทธิภาพ การมีเกษตรกรผู้เพาะฟัก และอนุบาลลูกกุ้ง - เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งที่มีทักษะ ประสบการณ์ มีผปู้ ระกอบการห้องเย็นแปรรูปกุง้
62
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ทีม่ คี วามสามารถ และอืน่ ๆ แต่ปจั จุบนั สถานภาพ การผลิตกุ้งของไทยไม่เหมือนเดิม โดยเฉพาะ เชิงปริมาณ แม้ไทยไม่ได้เป็นที่หนึ่ง แต่ในเชิง คุณภาพ เราไม่เป็นที่สองรองใครเพื่อให้อุตสาหกรรมกุ้งของไทยสามารถอยู่รอดได้ มีความยั่งยืน ได้ สมาคมกุ้งไทย ขอเสนอให้ทุกภาคส่วนในห่วง โซ่การผลิต จ�ำเป็นต้องผนึกก�ำลังร่วมด้วยช่วยกัน การส่งเสริมสนับสนุนอย่างเป็นรูปธรรมเต็มก�ำลัง จากภาครัฐ ที่ส�ำคัญ คือ (1) ท�ำอย่างไรให้ต้นทุนการผลิตกุ้งของ ไทย สามารถควบคุมได้ดี ได้ถกู - มีความสามารถ ในการแข่งขันฯ ซึ่งต้องใช้เทคโนโลยีในการเลี้ยง (จะเลี้ยงแบบตามมีตามเกิดไม่ได้แบบเดิมๆ ไม่ ได้แล้ว) ทีส่ ำ� คัญต้องหาทาง / วิธตี ดั ต้นทุนแฝงคือ ความเสียหายจากโรคกุ้งที่ยังรุนแรงอยู่ให้ได้ (2) รัฐต้องตั้งเป้าหมาย โดยต้องมีธงที่ ชัดเจนว่า ประเทศไทยจะเดินไปทางไหน อย่างไร เช่น สินค้าคุณภาพ และมูลค่าสูง มีอะไรทีแ่ ตกต่าง จากคู่แข่ง และเป้าหมายผลผลิตที่มั่นคง เช่น 4 แสนตัน เมือ่ ไร ส่งออกจะเท่าไร เป็นต้น ทีส่ ำ� คัญ รัฐต้องมีการส่งเสริมสนับสนุนแผนด�ำเนินการ ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม สามารถท�ำได้จริง เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายต่างๆ ดังกล่าว (3) วางแผนและพัฒนาการผลิตกุ้ง ให้ได้ ทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ ให้เพียงพอกับการ ส่งออก และบริโภคภายในประเทศ (เลีย่ ง ไม่จำ� เป็น ต้องน�ำเข้า) ที่ส�ำคัญให้มีความสามารถในการ แข่งขัน เบื้องต้นอาจไปศึกษา อินเดีย เอกวาดอร์ เวี ย ดนาม ว่ า ผลิ ต กุ ้ ง ส่ ง ออกไซซ์ ไ หน เราจะ หลีกเลี่ยงผลิตกุ้งไซซ์นั้นๆ ก่อน
Around the world (4) ต้องมาส่งเสริมพัฒนาการผลิต และ แปรรู ป กุ ้ ง กุ ล าด� ำ โดยจั ด กลุ ่ ม เกษตรกรที่ มี ความพร้อมส�ำหรับการเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำ และพื้นที่ ที่เหมาะสมกับกุ้งกุลาด�ำ ขณะเดียวกัน สิ่งส�ำคัญ ต้องมีการส่งเสริม สร้างตลาดเพิม่ ขึ้น เพือ่ รองรับ ผลผลิตกุ้งที่จะเพิ่มขึ้น ฯลฯ (5) การพัฒนาการเลี้ยง ต้องมีรูปแบบ การพัฒนาที่เหมาะสม ลดความเสี่ยงจากโรค โดยรัฐสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุน และ เทคโนโลยี รวมทั้ ง มี ผู ้ ส นั บ สนุ น การพั ฒ นาที่ ถูกต้อง และร่วมรับผิดชอบด้วย เพือ่ ให้เกษตรกร ผู้เลี้ยงจะได้น�ำไปลงทุนด้านเทคโนโลยีการผลิต เพื่อความยั่งยืนฯ (6) เรื่องต้นทุนวัตถุดิบผลิตอาหารที่เพิ่ม สูงขึ้น และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นอีก ภาครัฐจะมี แผนสนับสนุนอย่างไรให้เกิดประโยชน์ทงั้ เกษตรกร และวั ต ถุ ดิ บ อาหารสั ต ว์ ภ ายในประเทศ” ดร.สมศักดิ์ กล่าวทิ้งท้าย นายเอกพจน์ ยอดพินิจ อุปนายกสมาคม กุง้ ไทย ให้ความเห็น “อุตสาหกรรมกุง้ ไทย...ยัง่ ยืน ได้อย่างไร” (เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2564) โดย มี 7 แนวทาง 1 ความร่วมมือ 1 การปรับบทบาท ภาครัฐ ซึ่ง 7 แนวทาง มีดังนี้ 1. เป้าหมายการผลิตกุ้งในประเทศต้อง ชัดเจน : ส.กุ้งไทย ขอเสนอว่า ควรมีเป้าหมาย การผลิตกุ้งที่ 4 แสนตันในปี 2567 เชื่อว่า จะ เป็นตัวเลขทีเ่ หมาะสม ห้องเย็นจะมีวตั ถุดบิ เข้าไป แปรรูป และมีต้นทุนการผลิตต�่ำ ก�ำลังการผลิต (Productivity) รวมถึงมูลค่าการส่งออกจะดีขึ้น
2. รูปแบบการเลีย้ งทีเ่ หมาะสมกับเกษตรกรทุกกลุ่ม : การเลี้ยงกุ้งต้องมีประสิทธิภาพ สูงสุดในทุกพื้นที่ ทุกรูปแบบ ควบคู่กับการให้ ความส�ำคัญกับสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง 3. ปัญหาเรื่องโรคระบาด : ต้องร่วมมือ หาแนวทางจัดการ - ป้องกันโรคที่มีอยู่ และที่อาจ จะเกิดขึ้นใหม่ ถ้าเราหยุดเรื่องนี้ได้ ผลผลิตกุ้ง ของไทยจะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ 4. แหล่งเงินทุน : เพราะในวันนี้ / อนาคต ต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัยในการเลี้ยงกุ้ง การ เปลี่ยนแปลง / ปรับปรุงฟาร์ม รวมถึงการจัดท�ำ ฐานข้อมูลการเลี้ยงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ และจ�ำเป็น ต้องใช้เงินจ�ำนวนไม่น้อย 5. สร้างช่องทางการขาย และความได้ เปรี ย บทางการแข่ ง ขั น : ขอเสนอภาครั ฐ / กระทรวงทีเ่ กีย่ วข้อง ช่วยกันประชาสัมพันธ์เชิงรุก ให้ ห นั ก ขึ้ น ส่ ง เสริ ม การบริ โ ภคในประเทศให้ มากขึ้น เพราะถ้าคนไทยบริโภคกุ้งคนละ 1.5 กก. / ปี จะช่วยผลผลิตได้กว่า 1 แสนตัน อีก ส่วนที่ส�ำคัญคือ การสร้างช่องทางขายใหม่ๆ และ การสร้างจุดขาย รวมถึงการใช้นโยบายเขตการค้า เสรี (FTA) ให้เป็นประโยชน์ เพื่อสร้างความ ได้เปรียบของสินค้ากุ้ง / การเกษตรอื่นของไทย 6. สร้างระบบ และมาตรฐานยอมรับการ ผลิตห่วงโซ่อุตสาหกรรม : มาตรฐานควรท�ำให้ พอเหมาะพอดีตามที่คู่ค้า / ตลาดต้องการ หาก มากไปก็จะกลายเป็นต้นทุนแฝงให้กับเกษตรกร ส่วนระบบการตรวจสอบย้อนกลับ เป็นอีกหนึ่ง จุดแข็ง จุดขาย และความยั่งยืนของอุตฯ กุ้งไทย มาตลอด 30 ปี ที่ยังต้องรักษาไว้ให้ดี
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
63
Around the world 7. เทคโนโลยี และ IOT : เราจ� ำ เป็ น ต้ อ งน� ำ เทคโนโลยีมาเพิม่ ประสิทธิภาพการเลีย้ ง เพือ่ เพิม่ ผลผลิตต่อไร่ รวมถึงน�ำมาใช้ลดต้นทุนการผลิต แต่อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี ย่อมควบคู่กับเงินลงทุน ดังที่กล่าวในแนวทางที่ 4 1 ความร่วมมือ : ทุกภาคส่วนในอุตฯ กุ้งไทย รวมถึงรัฐฯ ต้องรวมกัน เป็นหนึง่ เพือ่ ขับเคลือ่ นอุตฯ ไปสูเ่ ป้าหมาย และแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารการเลีย้ ง สิ่งแวดล้อม เพื่อตอบประเด็น หรือข้อสงสัย และความไม่สบายใจของคู่ค้า 1 การปรับบทบาทภาครัฐ : ทุกวันนีเ้ กษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ เทหมดหน้าตัก และใช้ทุกความสามารถอย่างเต็มที่แล้ว ขอให้ภาครัฐปรับบทบาทมาร่วมกับ ภาคเอกชน - เกษตรกร ด�ำเนินการแก้ปัญหาเรื่องโรคระบาดที่เรื้อรัง ลงทุนวิจัย ด้านการเลี้ยง ระบบการผลิต สนับสนุนโครงการพัฒนาพ่อแม่พันธุ์กุ้ง และ นโยบายภาครัฐด้านการเงิน - การคลัง เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุน ด้วยอัตรา ดอกเบี้ยพิเศษ รวมถึงด้านการตลาดด้วย เราต้องไปกันทั้งคลัสเตอร์ เพราะวันนี้ ไม่ใช่แค่เกษตรกรที่รับผิดชอบ แต่คนไทย รัฐบาลไทยก็ต้องรับผิดชอบผลิตภัณฑ์ จากประเทศไทยด้วยเช่นกัน
64
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Around the world ภาพรวมอุตสาหกรรมกุ้งโลกปี 64 และแนวโน้ม ปี 65 ดร.สมศักดิ์ ปณีตธั ยาศัย นายกสมาคมกุง้ ไทย ได้อธิบาย และวิเคราะห์ “ภาพรวมอุตสาหกรรม กุ้งโลก และแนวโน้ม” ว่าปีนี้ผลผลิตกุ้งทั่วโลกน่าจะอยู่ที่ 4,235.000 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 16 เมื่อเทียบ กับปีที่แล้ว (ดังตารางที่ 1) ซึ่งหากวิเคราะห์รายประเทศผู้ผลิตกุ้งรายใหญ่ของโลก มีรายละเอียดดังนี้
จีน
โดยปกติจะน�ำเข้ากุ้งเพื่อแปรรูปแล้ว ส่งออก โรคกุ้งยังคงเป็นปัญหากวนใจ ที่ผลิตใน ประเทศส่ ว นใหญ่ จ ะบริ โ ภคภายใน เนื่ อ งจาก ปัจจุบันจีนมีนโยบายพึ่งพาตนเอง ส่วนปีหน้า ผลผลิตจะเพิ่มขึ้นกว่าปีนี้
เวียดนาม
นับว่าเป็นดาวรุ่งดวงใหม่ อุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งเปลี่ยนไปมาก ตอนนี้เลี้ยง กุง้ ในถังทีม่ กี ารรับรองมาตรฐานสากล เมือ่ คราวที่ เลีย้ งกุง้ ขาวมีปญ ั หา ก็ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เปลีย่ น มาเป็นกุ้งกุลาด�ำ แต่ที่ส�ำคัญคือ รัฐบาลให้การ สนับสนุนอย่างจริงจัง ให้ความส�ำคัญกับสินเชื่อ และการประกันการเลี้ยง นอกจากนี้ เมื่อเดือน มี น าคม 2564 นายกรั ฐ มนตรี เ วี ย ดนาม ได้ ประกาศยุทธศาสตร์การพัฒนาชาติ ครอบคลุม ถึงปี 2588 ตั้งเป้ามูลค่าที่ได้จากการเพาะเลี้ยง สัตว์น�้ำเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 - 4 ต่อปี ผลิตภัณฑ์ สัตว์น�้ำ 98 ล้านตัน ในจ�ำนวนนี้มาจากการเพาะ เลี้ยง 7 ล้านตัน ขณะที่รัฐบาลไทยยังคงนิ่งเฉย จนตอนนี้ เ วี ย ดนามแซงไทยไปแล้ ว เชื่ อ ว่ า กุ ้ ง เวียดนามจะแตะ 1 ล้านตันในไม่ช้า
อินโดนีเซีย
ปีนี้ผลผลิตลดลงจากสถานการณ์โควิด-19 ปัญหาโรคกุ้ง เช่น ขี้ขาว ตัวแดง ดวงขาวยังส่งผลให้ราคากุ้งผันแปร โรงเพาะฟัก
ตารางที่ 1 ผลผิลิตกุ้งเลี้ยงโลก ปี 2561 - 2564*
ประเทศ/ปี
2561 2562 2563 2564*
ไทย 290 290 270 จีน 525 625 550 เวียดนาม 410 443 469 อินโดนีเซีย 270 260 270 อินเดีย 560 580 600 มาเลเซีย 35 48 50 ฟิลิปปินส์ 56 54 55 อเมริกากลาง & ใต้ 872 1,073 1,242 - เม็กซิโก 162 165 170 - บราซิล 50 65 85 - อเมริกากลาง 100 110 80 - เปรู 30 33 25 - เอกวาดอร์ 500 670 850 -โคลัมเบีย - เวเนฯ 30 30 32 อื่นๆ 200 135 158 รวม 3,218 3,508 3,664
280 800 526 250 730 47 60 1,385 155 100 90 30 970 40 157 4,235
หน่วย : พันตัน % เปลี่ยนแปลง 63/64 +4% +45% +12% -7% +22% -6% +9% +12% -9% +18% +13% +20% +14% +25% -1% +16%
ที่มา : สมคมกุ้งไทย (TSA), *ประมาณการ
พ่อแม่พันธุ์มีน้อย ท�ำให้ขาดแคลน การส่งออก มีปัญหาตู้คอนเทนเนอร์ไม่เพียงพอ การขนส่ง ในประเทศยาก เพราะเป็นเกาะแก่งค่อนข้างเยอะ
อินเดีย
ปีนี้ผลผลิตกุ้งลดลงจากปัญหา โควิด โรคกุ้งรุมเร้า ทั้งอีเอชพี ตัวแดงดวงขาว ขี้ขาว เกษตรกรหันไปเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำมากขึ้น แต่ พ่อแม่พันธุ์ปลอดเชื้อ (SPF) ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
65
Around the world รวมถึงผลกระทบจากพายุไซโคลน 2 ลูกใหญ่ ส่วน เหตุผลส�ำคัญที่อุตฯ กุ้งอินเดียพัฒนาไปได้ไม่ไกล คือ ปัญหาด้านคมนาคมขนส่ง เกษตรกรรายย่อยไม่มีเงินทุน และมีการ ประท้วงกันบ่อย เป็นต้น
เอกวาดอร์
การเลี้ยงกุ้งยังเป็นแบบดั้งเดิม (พื้นที่เลี้ยง 1.5 ล้าน ไร่) ต้นทุนการผลิตค่อนข้างต�่ำ (~3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ กก.) ได้เปรียบด้าน การส่งออก ซึ่งสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ซื้อรายใหญ่ ท�ำให้ขนส่งจากเอกวาดอร์ หรือ กลุ่มประเทศอเมริกากลาง และใต้ สินค้าถึงเร็ว และราคาถูกกว่า จากเอเชีย เอกวาดอร์ยังเป็นผู้น�ำด้านผลผลิตกุ้งในกลุ่มประเทศนี้ ส่งผลให้กลุ่มประเทศนี้มีความโดดเด่น เชื่อว่าผลผลิตกุ้งเอกวาดอร์จะมีโอกาสถึง 1 ล้านตันในไม่ช้า และเป็นเหตุผลส�ำคัญที่ว่าอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงกุ้งของคนอเมริกาก�ำลังจะแซงหน้าทวีปเอเชีย
เม็กซิโก จัดอยู่ในกลุ่มประเทศอเมริกากลาง และใต้ ส่วนใหญ่จะผลิต และบริโภคเองเป็นหลัก
ราคากุ้งค่อนข้างดี แต่ปีนี้มีผลผลิตน้อยลง เนื่องจากต้องเผชิญกับสภาพอากาศแปรปรวน และโรค ตัวแดงดวงขาว ส่วนแนวโน้มปีหน้าเชื่อว่าฟื้นตัว หากไม่เจอพายุ และโรคกุ้ง
66
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Be curious. Be brave. Be genius.
ฮีโร....มิไดเปนมาโดยกำเนิด
นวัตกรรมสารเสริมอาหารสัตวจากประเทศเยอรมนี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สำหรับวีระบุรุษของคุณ ออกฤทธิใ์ น ระบบทางเดินอาหาร
ผลิตภัณฑ จากพืช
ไดรบั การรับรองมาตรฐาน จากยุโรป
บริษทั ไฟโตไบโอติกส (ประเทศไทย) จำกัด | www.phytobiotics.com 202 อาคารเลอ คองคอรด ถนนรัชดาภิเษก แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 asia.info@phytobiotics.com | 026942498
!
New ORGANIC MINERALS
ค ุณภาพ มาตรฐาน พร้อมบริการวิชาการ
M MOBILIZE เอ็ม-โมบิไลซ์
ผลิตภัณ ฑ์เป็ นโพรไบโอติก (Probiotic) คื อจุลิน ทรี ย์ที่มีชีวิต ซึ่ งสามารถผลิตเอนไซม์ และสาร Antimicrobial ได้ มีฤทธ์ ิ ยับยัง้ เชื้อก่อโรค เมื่อสัตว์กินเข้าไปในปริมาณที่ เหมาะสมจะ ช่ วยในด้านสุขภาพ ทาให้ แบคที เรียดี กลุ่ม Lactobacillus สามารถเพิ่มจานวนและเกาะคลุม ส่วนของพืน้ ผิวลาไส้ได้ดีและส่งเสริมความแข็งแรงของทางเดินอาหาร กระตุ้นระบบภูมิค้มุ กัน ลดการอักเสบเมือ่ มีการติดเชื้ออีกทัง้ ช่วยเพิ่มความสามารถในการจับสารพิษได้ Main active compound Bacillus subtilis
Product Ingradiant :
Hydrated Sodium Calcium Aluminosilicate (HSCAS)
เสริ มสุขภาพทางเดิ นอาหาร (Gut Health)
- ผลิตเอนไซม์ช่วยย่อยอาหาร แย่งพืน้ ทีจ่ บั เชือ้ ก่อโรค
ยับยัง้ เชื้อก่อโรค (Pathogen Binding) - ผลิตเอนไซม์ Antimicrobial ได้ทงั ้ ชนิดทีอ่ อกฤทธิ ์กว้างและเฉพาะ ช่วยจับสารพิ ษ (Mycotoxin Binding) - จับได้แน่นกับสารพิษจากเชือ้ รา Aflatoxin และ toxin มีขวั ้
นาไปใช้ในอาหารสัตว์ (Feed Utilization) - ช่วยปรังปรุง performance ในสุกร (%)
Function
Bacillus subtilis
1
ิ ทรียด์ ที ม่ี ชี วี ติ ) Probiotic (จุลน
Hydrated Sodium Calcium Aluminosilicate
74
Toxin binder (ตัวจับสารพิษ)
Calcium carbonate
6
carrier
Dried yeast
16
β-glucan & mannan source
Sodium aluminosilicate
1.5
anticaking
Dried fermentation product of Lactobacillus plantarum & Pediococcus acidilactici
1
(สื่อ)
Lactic acid source
(แหล่งกรดแลคติก)
อัตราการใช้ : 750 กรัมต่อตันอาหารสัตว์ ขนาดบรรจุ : 25 Kg ผูผ้ ลิต : United Animal Health, USA ผูน้ าเข้า : บริษทั แลบอินเตอร์ จากัด บริษทั แลบ อินเตอร์ จากัด 77/12 หมู่ 2 ถ.พระราม 2 ต.นาโคก อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์ 0 3488 6140-46 Ext.2311 แฟกซ์ 0 3488 6147 Website : www.inteqcgroup.com E-mail : techdep@inteqc.com
Around the world
โรคกุ้ง : ภัยร้ายทีม่ ากับหน้าหนาว ในช่วงปลายปีจนถึงต้นปีของทุกปี เกษตรกร ส่วนใหญ่มักเจอกับสภาพแวดล้อม และสภาพ อากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอย่างฉับพลัน โดยเฉพาะ สภาพอากาศที่หนาวเย็น เนื่องจากการเลี้ยงกุ้งใน ระบบเปิดกลางแจ้ง ไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิ ที่แปรผันไปในแต่ละช่วงวันได้ น�้ำเลี้ยงกุ้งที่อุณหภูมิต�่ำลง จะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของกุ้งเอง อุณหภูมิที่ลดลง จะท�ำให้กุ้งอยู่ในภาวะเครียด (Hyperthermic Stress) ส่งผลต่อการตอบสนอง ทางระบบภูมิคุ้มกันโรคกุ้งลดลงจากการท�ำงาน ที่ผิดปกติไปของระบบเม็ดเลือด และเอนไซม์ ป้องกันการติดเชื้อ ความต้านทานต่อการติดเชื้อ โรคต�่ำ และกิจกรรมต่างๆ ของกุ้งลดลง เช่น การ กินอาหาร อัตราการเจริญเติบโต การเคลื่อนไหว เพื่ อ จั บ อาหาร หรื อ การหลบหลี ก ภั ย อั น ตราย ในบ่อ อัตราการลอกคราบ เป็นต้น หากมีการ ปนเปื ้ อ นของเชื้ อ ก่ อ โรคเข้ า มาในฟาร์ ม ในช่ ว ง ฤดูกาลเปลี่ยนแปลง ยิ่งก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อ การแพร่ระบาด และส่งเสริมให้อบุ ตั กิ ารณ์การเกิด โรคติดเชือ้ ของกุง้ ในบ่อเลีย้ งสูงขึน้ ยกตัวอย่างกรณี ศึกษาการเกิดโรคไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) เชื้อไวรัสนี้จะเพิ่มจ�ำนวนได้ดีที่อุณหภูมิ 25 - 28 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดการปนเปื้อนของเชื้อเข้าสู่ ระบบ พร้อมกับการลดต�่ำลงของอุณหภูมิน�้ำเลี้ยง จาก 33 องศาเซลเซียส เป็น 27 องศาเซลเซียส
รูปที่ 1 เปรียบเทียบกุ้งขาวป่วยทีต ่ ิดเชือ้ โรคไวรัสตัวแดง ทีส ่ ีแดงผิดปกติ (บน) และกุ้งปกติ (ล่าง)
จะท�ำให้เชื้อไวรัสแบ่งตัวเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น ใน อวัยวะที่ส�ำคัญต่างๆ ประกอบกับระบบภูมิคุ้มกัน ในร่างกายกุ้งเกิดความเสียหาย จึงเป็นสาเหตุให้ กุ้งป่วย และติดเชื้อโรคไวรัส (ดังรูปที่ 1) เกิด การแพร่กระจายเชื้อโรคอย่างรวดเร็ว ทวีความ รุนแรง และมีอัตราตายสูงถึงร้อยละ 100 เมื่อ เทียบกับบ่อที่มีอุณหภูมิน�้ำคงที่ตลอดการเลี้ยง ที่ 33 องศาเซลเซียส และไม่เกิดการเปลีย่ นแปลง อุณหภูมิ อัตราตายจากเชื้อไวรัสจะต�่ำลงเหลือ เพียงร้อยละ 10 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า อุณหภูมิ มีผลอย่างมากต่อการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว เกษตรกรสามารถสั ง เกตอาการของกุ ้ ง ที่ ป ่ ว ย จากไวรัสนี้ได้ง่าย กุ้งป่วยจะแสดงรอยโรคจุดขาว หรือดวงขาวใต้เปลือก ซึ่งบางตัวอาจไม่พบ แต่ ล�ำตัวกุง้ ป่วยจะมีสชี มพูถงึ แดง ว่ายน�ำ้ ช้า เกาะอยู่
ที่มา : วารสารข่าวกุ้ง ปีที่ 33 ฉบับที่ 401 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
67
Around the world ตามขอบบ่อ ไม่กนิ อาหาร ทยอยตายอย่างต่อเนือ่ ง เมื่อสันนิษฐานว่ากุ้งที่เลี้ยงอยู่อาจเกิดการติดเชื้อ ให้เก็บตัวอย่างกุง้ ป่วยต้องสงสัยส่งห้องปฏิบตั กิ าร ที่น่าเชื่อถือ หรือแจ้งหน่วยงานประมงในพื้นที่ ที่รับผิดชอบ เข้ามาตรวจสอบหาสาเหตุ นอก จากความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคไวรัสตัวแดง ดวงขาวแล้ว ยังพบการระบาดของโรคติดเชือ้ อืน่ ๆ อีกในบางพื้นที่ เช่น โรคไวรัสหัวเหลือง (YHV) โรคแบคทีเรียสกุลวิบริโอ โดยเฉพาะที่เป็นสาเหตุ ของโรคตายด่วน (AHPND / EMS) รวมทั้งโรค เชื้อราที่สามารถพบได้บ่อยในโรงเพาะฟักที่การ จัดการไม่ได้มาตรฐาน อาทิเช่น โรคเชื้อราใน ลูกกุ้งวัยอ่อนที่เกิดจากเชื้อรา Lagenidium sp. ลูกกุ้งที่ติดเชื้อจะมีสีขาวขุ่น อ่อนแอตายอยู่ก้นถัง จ�ำนวนมาก เมื่อน�ำตัวอย่างกุ้งป่วยส่องภายใต้ กล้องจุลทรรศน์ด้วยเทคนิค wet mount จะพบ สปอร์ และสายราจ�ำนวนมาก (ดังรูปที่ 2) หรือโรค เชือ้ ราในกุง้ พ่อแม่พนั ธุท์ เี่ กิดจากเชือ้ รา Fusarium sp. กุ้งที่ติดเชื้อจะมีแผลเปื่อยยุ่ยสีด�ำปนส้มตาม ล�ำตัว โดยพบมากในส่วนของแพนหางที่สัมผัส กับพื้นบ่อ (ดังรูปที่ 3) หากติดเชื้อเข้าเหงือก จะ ท�ำให้เหงือกด�ำ และบวมพอง ติดเชื้อแบคทีเรีย แทรกซ้อน และตายในที่สุด
รูปที่ 2 ลูกกุ้งระยะ PL ทีพ ่ บการติดเชือ้ รา Lagenidium sp. (ลูกศร) ทั่วล�ำตัว
68
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
อุณหภูมิน�้ำที่ลดต�่ำลง ในช่วงอากาศหนาว ยังส่งผลต่อพฤติกรรมของกุง้ ถึงแม้กงุ้ จะเป็นสัตว์ เลือดเย็นที่สามารถปรับเปลี่ยนอุณหภูมิภายใน ตัวตามอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมรอบตัว แต่กุ้ง มักมีพฤติกรรมที่ชอบอยู่ในที่ที่อุ่น เพื่อง่ายต่อ การรักษาสมดุลในร่างกาย หรือช่วงลอกคราบ ใหม่ๆ ขณะที่เปลือกยังไม่แข็งตัวดี ระยะนี้กุ้งจะ มีความอ่อนแอมากกว่าปกติ ง่ายต่อการถูกพัด พาเข้าแนวเลน ซึ่งในเลนเป็นแหล่งสะสมของเชื้อ แบคทีเรียฉวยโอกาส ปะปนกับของเสียที่เกิดจาก กิจกรรมการเลี้ยง เช่น กุ้งอ่อนแอ ซากกุ้งตาย เศษอาหารที่เหลือ ขี้กุ้ง ซากแพลงก์ตอนตาย สิ่งเหล่านี้ ล้วนเป็นแหล่งอาหารของแบคทีเรีย ตั ว ร้ า ยที่ ส ่ ง ผลเสี ย ต่ อ สุ ข ภาพกุ ้ ง ทั้ ง ยั ง ท� ำ ให้ คุณภาพพื้นบ่อเสื่อมโทรม หากไม่มีการจัดการ เลนอย่างเหมาะสม อาจรุนแรง ท�ำให้กุ้งทยอย ตายต่อเนื่องจากภาวะไร้ออกซิเจน หรือการได้รับ ก๊าซไข่เน่า (ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟล์ -H2S) ที่เกิด โดยการสันดาปของแบคทีเรียตัวร้าย พร้อมกัน นี้ ของเสียที่หมักหมมยังท�ำให้พื้นที่แนวกลางเลน มีอุณหภูมิที่สูงกว่าแนวเลี้ยงทั่วไป จึงอาจพบกุ้ง อ่อนแอ หรือลอกคราบใหม่บริเวณขอบแนวเลน กุ้งอาจจะหาสิ่งหลบภัย โดยการเข้าหลบใต้กอง
รูปที่ 3 (ซ้าย) แสดงลักษณะแผลทีเ่ กิดการติดเชือ้ ราบริเวณแพนหางกุ้ง (ขวา) แสดงลักษณะของเชือ้ รา Fusarium sp.
Around the world
รูปที่ 4 แสดงอาการเหงือกด�ำในลูกกุ้งวัยอ่อน (ซ้าย) และในกุ้งระยะโตเต็มวัย (ขวา)
เลน เป็นผลให้กุ้งพวกนี้มีอาการเหงือกด�ำจาก ตะกอนที่เข้าเกาะในเหงือกเป็นจ�ำนวนมาก หรือ กุ ้ ง มี แ ผลด� ำ เป็ น สะเก็ ด ตามล� ำ ตั ว ที่ เ กิ ด จาก ภายหลัง หลังลอกคราบใหม่ๆ เปลือกยังไม่แข็ง ตัวดีพอ แต่มีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อนจาก แนวเลน จนเกิดมีอาการเหงือกสีชา เหงือกด�ำ หรือแผลด�ำตามล�ำตัวได้ง่ายยิ่งขึ้น (ดังรูปที่ 4) กุ้งเหล่านี้มักจะอ่อนแอมากกว่าปกติ สืบเนื่อง จากตะกอนที่ เ ข้ า อุ ด ตั น เหงื อ ก จะไปขั ด ขวาง ขบวนการแลกเปลี่ยนออกซิเจนเข้าสู่ตัวกุ้ง ท�ำให้ ออกชิเจนไม่เพียงพอต่อการสร้างพลังงานเพื่อ ด�ำรงชีวติ หรือแผลตามล�ำตัวจะท�ำให้เกิดอุปสรรค ต่อการลอกคราบครัง้ ถัดไป เช่น ลอกคราบไม่ออก หรือเกิดการตายหลังลอกคราบ ท�ำให้อัตรารอด ของกุ้งในบ่อลดลงตามมา ในแง่ของการบริหารจัดการอาหารที่ดี ที่ มีส่วนในการลดปัญหาการเจ็บป่วยของกุ้ง ใน ช่วงอากาศเปลี่ยนแปลง ก็มีความส�ำคัญอย่าง มาก เพราะเป็นที่ทราบกันว่า การที่เราต้องการ ให้กุ้งเจริญเติบโตได้ดี ต้องกินอาหารคุณภาพดี ที่มีโภชนะครบถ้วน มีกลิ่นที่ดึงดูดการกินของกุ้ง ได้มาก และมีความคงตัวในน�้ำดี และเหมาะสม มีความน่ากินสูง มีการจัดการจ�ำนวนมื้อ และ ปริมาณการให้อาหารอย่างเพียงพอ และเลี้ยงอยู่ ภายใต้ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี ซึ่ ง การที่ จ ะให้ กุ ้ ง เจริ ญ
เติบโตดี เป็นไปตามที่เกษตรกรต้องการ จ�ำเป็น ต้องวางแผนการเลี้ยงอย่างรัดกุม และเหมาะสม ตามสถานการณ์ และสภาวะการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศในช่ ว งเวลานั้ น ๆ อาทิ เ ช่ น เมื่ อ พิจารณาการกินอาหารของกุ้ง โดยปกติกุ้งจะกิน ได้ดีอยู่ในช่วงประมาณ 28 - 30 องศาเซลเซียส เมื่อฤดูกาล หรือสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง เช่น อากาศเย็นลง อุณหภูมทิ ลี่ ดลง จะส่งผลให้การกิน ของกุง้ ลดลงตามไปด้วย การบริหารจัดการอาหาร และการปรับอาหารให้เพียงพอแก่ความต้องการ ของกุ้งไม่มากเกินไป และไม่น้อยเกินไป มีความ ส�ำคัญอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน�้ำ และสุขภาพของกุ้ง นอกจากนั้น การเช็คยอเป็น ประจ�ำ ก็มีประโยชน์ในการบริหารจัดการอาหาร เกษตรกรควรมีเทอร์โมมิเตอร์ หรือเครื่องตรวจ วัดอุณหภูมิ เพือ่ ช่วยตัดสินใจในการปรับเพิม่ / ลด อาหารตามการกินได้จริง เพราะอาหารทีเ่ หลือ จะ ท�ำให้คณ ุ ภาพน�ำ้ เสือ่ มโทรมลง เกิดการสะสมของ แก๊สแอมโมเนีย ซึ่งเป็นพิษต่อกุ้งโดยตรง โดย เฉพาะเป็นพิษต่อปริมาณเม็ดเลือดโดยรวมลดลง การแสดงออกของยีนที่ส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกัน บกพร่องไป ความต้านทานต่อการติดเชือ้ โรคต่างๆ ลดลง ภาพรวมจะท�ำให้สุขภาพกุ้งในบ่ออ่อนแอ ยากต่อการเลี้ยงให้รอดจนได้ไซซ์ที่ต้องการ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
69
Around the world อย่างไรก็ดี การเลีย้ งกุง้ ในช่วงอากาศหนาว เย็นแม้จะไม่ราบรืน่ และมีอปุ สรรคอยูบ่ า้ ง แต่หาก เกษตรกรเข้าใจถึงปัญหาทีจ่ ะเกิด หรือปัจจัยเสีย่ ง ต่าง ๆ ที่จะส่งผลตามมา การเลี้ยงกุ้งในฤดูกาล นี้ก็เป็นเรื่องไม่ยากอย่างที่คิด เกษตรกรสามารถ เตรียมความพร้อม เพื่อรับมือกับสภาวะอากาศที่ เปลี่ยนแปลงได้ ทั้งนี้ ขอยกตัวอย่างการจัดการ เพื่อลดความเสี่ยง การควบคุม และการป้องกัน การเกิดโรค รวมถึงแนวทางการส่งเสริมสุขภาพ กุง้ ให้แข็งแรงในช่วงอากาศหนาวเย็น และอุณหภูมิ ลดต�่ำลง ดังต่อไปนี้ 1. การใช้สารฆ่าเชื้ออย่างมีประสิทธิภาพ เป็นสิ่งส�ำคัญที่สุดที่ท�ำให้เกษตรกรประสบความ ส�ำเร็จในการเลีย้ งกุง้ จนได้ไซซ์จบั ขายตามต้องการ การใช้สารฆ่าเชือ้ ทีด่ ี ต้องสามารถควบคุมเชือ้ โรค ทั้งไวรัส แบคทีเรีย รา ไมโครสปอริเดีย ได้ดี จนไม่เกิดโรคติดเชื้อที่ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อการเลี้ยงกุ้ง ควบคู่กับการไม่พบความเสียหาย ระหว่างการเลี้ยง การใช้สารฆ่าเชื้อ ส่วนใหญ่ สามารถบริหารจัดการได้ทั้งในช่วงการเตรียมน�้ำ
เตรียมบ่อ และบางครั้งใช้ระหว่างการเลี้ยงกุ้ง เพื่ อ ควบคุ ม เชื้ อ ขณะที่ มี กุ ้ ง อยู ่ ไ ด้ ด ้ ว ย ฉะนั้ น เกษตรกรควรท�ำการศึกษา ชนิด และประเภท ของสารฆ่ า เชื้ อ ให้ ดี ก ่ อ นใช้ เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เชื้อโรคต่างๆ เข้ามาในระบบการเลี้ยง หรือก�ำจัด เชื้อโรคเหล่านี้ที่ปนเปื้อนอยู่ในน�้ำ ระหว่างการ เลี้ยงกุ้งออกไปให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อป้องกันการ แพร่กระจายของเชื้อโรคระหว่างบ่อ โดยสามารถ ใช้พื้นฐานตามหลักการมาตรการความปลอดภัย ทางชีวภาพ หรือไบโอซีเคียว มาประยุกต์ใช้รว่ มกับ การใช้สารฆ่าเชื้อ เริ่มตั้งแต่ขบวนการเตรียมบ่อ เตรียมน�้ำ ระหว่างการเลี้ยง และควรเลือกใช้สาร เคมีจากบริษัทที่ผ่านการรับรองโดยหน่วยงานรัฐ ค�ำนึงถึงชนิดของสารฆ่าเชือ้ รูปแบบการใช้ เวลา ที่ ส ารเคมี อ อกฤทธิ์ และความเข้ ม ข้ น ของสาร ในการฆ่าเชือ้ ต่อเชือ้ ก่อโรค ซึง่ เชือ้ แต่ละชนิดจะมี วิธีการก�ำจัดแตกต่างกันไป (ยกตัวอย่างสารเคมี และสารฆ่าเชื้อที่ใช้ก�ำจัดเชื้อไวรัส WSSV แสดง ในตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 แสดงสารเคมีที่ใช้ก�ำจัดเชื้อไวรัส WSSV
สารเคมี คลอรีน* เวอร์คอน อะควาติก® VIRKON AQUATIC® ด่างทับทิม โพวิโดน ไอโอดีน ไบโอซอล 300® BIOSOL 300®
ความเข้มข้น เตรียมน�้ำ : 30 พีพีเอ็ม นาน ข้ามคืน ฆ่าเชื้อที่พื้นผิวของอุปกรณ์ : 50 พีพีเอ็ม นาน 30 วินาที เตรียมน�้ำ : 1 พีพีเอ็ม นาน 6 ชั่วโมง ฆ่าเชื้อที่พื้นผิวของอุปกรณ์ : 2 พีพีเอ็ม นาน 1 นาที ใช้ระหว่างการเลี้ยงกุ้ง 1 - 2 พีพีเอ็ม ในบ่อที่ยังไม่ติดเชื้อ เพื่อป้องกัน การแพร่กระจาย ฆ่าเชื้อที่พื้นผิวของอุปกรณ์ : 250 พีพีเอ็ม นาน 1 นาที ฆ่าเชื้อที่พื้นผิวของอุปกรณ์ : 500 พีพีเอ็ม นาน 1 นาที ฆ่าเชื้อที่พื้นผิวของอุปกรณ์ : ผสมน�้ำ 1 : 250 ส�ำหรับจุ่มรองเท้าบู้ท ฉีดฆ่าเชื้อในอุปกรณ์ พ่นรถ และล้างพื้นและผนังของบ่อ
*หมายเหตุ : ความเข้มข้นที่ใช้ต้องค�ำนวณจาก % active ของ lot การผลิต และลบด้วยความต้องการคลอรีนในน�้ำ (chlorine demand)
70
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Around the world 2. เลือกใช้ลูกกุ้งที่แข็งแรงปราศจากเชื้อ ก่อโรค บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) ได้ เ ล็ ง เห็ น ความส� ำ คั ญ ต่ อ คุ ณ ภาพ ลูกกุ้งที่ส่งมอบถึงมือเกษตรกรมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการคัดเลือกสายพันธุ์ที่โตเร็ว มีความทนทาน ต่อโรค อัตราการแลกเนื้อ (FCR) ต�่ำ พัฒนาจน ได้ลูกกุ้งสายพันธุ์ดี “สายพันธุ์ CPF Turbo®” ที่ ผ่านการเลีย้ งในโรงเพาะฟัก ทีผ่ า่ นการรับรองระบบ มาตรฐานจากกรมประมง เป็นระบบโรงเรือนปิด แบบสมบูรณ์ และมีระบบไบโอซีเคียวที่เข้มข้น มีการตรวจสอบในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องอย่าง สม�่ำเสมอ เช่น การตรวจสอบคุณภาพลูกกุ้ง ใน ด้านสุขภาพ การปนเปือ้ นเชือ้ ก่อโรคในทุกขัน้ ตอน การผลิต เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทยังให้ความ ส� ำ คั ญ และใช้ รู ป แบบการเลี้ ย งโดยค� ำ นึ ง ถึ ง สวัสดิภาพสัตว์ (Animal Welfare) ปราศจาก การใช้ยาต้านจุลชีพ เพือ่ ป้องกันการเกิดเชือ้ ดือ้ ยา (AMR - antimicrobial resistance) และเป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อม เกษตรกร และผูบ้ ริโภคจึงมัน่ ใจได้ ว่าได้รับลูกกุ้งคุณภาพดี แข็งแรง ไม่มีเชื้อก่อโรค ปนเปื้อนในทุกรอบการผลิต ไม่ว่าจะเป็นลูกกุ้ง วัยอ่อนระยะพีแอล ( PLs stage) หรือลูกกุ้งช�ำ หรือลูกกุ้งรุ่นซุปเปอร์พีแอล (Juvenile Stage) 3. การควบคุมคุณภาพน�้ำ และคุณภาพ พื้นบ่อ ระหว่างการเลี้ยงให้เหมาะสม ควบคู่กับ การจัดการอาหาร และการปรับอาหารตามการ กินได้จริงในช่วงอากาศเย็น และอุณหภูมิลดลง ถือว่าเป็นกุญแจแห่งความส�ำเร็จ เกษตรกรไม่ ควรชะล่าใจหากพบว่าอุณหภูมิน�้ำในบ่อเริ่มลดต�่ำ ลง ควรเพิ่มความถี่ในการตรวจเช็คการกินได้ เพื่อประเมินปรับเปลี่ยนการให้อาหาร หรืออาจ พิจารณาปรับลดปริมาณอาหารต่อมื้อ และ/หรือ
พิจารณาปรับเพิ่มจ�ำนวนมื้อ ซึ่งจะช่วยให้กุ้งกิน อาหารได้ต่อเนื่อง โดยไม่มีอาหารเหลือ และไม่ ท�ำให้คุณภาพน�้ำแย่ลง การใช้เครื่องให้ออกซิเจน อย่างมีประสิทธิภาพที่สามารถรวมตะกอนของ เสียที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วบ่อ มารวมไว้กลางบ่อ และใช้เครื่องดูดก�ำจัดเลนเหล่านั้นออกจากบ่อ อย่างต่อเนื่อง น�ำไปเก็บในบ่อเก็บเลน (Sludge Pond) ที่แยกสัดส่วนโดยเฉพาะรอการบ�ำบัด ไม่ ให้ปนเปื้อนภายในฟาร์ม และไม่ทิ้งสู่แหล่งน�้ำ ธรรมชาติ พร้อมกับเสริมจุลนิ ทรียบ์ ำ� บัดน�ำ้ (BioAugmentation) และจุลินทรีย์โปรไบโอติกที่มี ประสิทธิภาพ เลือกใช้ตามวัตถุประสงค์ หรือ ใช้เป็นโปรแกรม อาทิเช่น การบ�ำบัดแก๊สไข่เน่า และเลนด�ำ ใช้ซุปเปอร์ พีเอส® SUPER PS® 4 ลิตร/ไร่ การปรับสมดุลพีเอช และอัลคาไลน์ ใช้ ฟ ิ ก เซอร์ ® FixER ® 1 - 2 กิ โ ลกรั ม ไร่ การ ควบคุมเชื้อก่อโรคในน�้ำ และตัวกุ้งใช้ไบโอติก® BIOTIC® 1 - 2 กิโลกรัม/ไร่ และการย่อยสลาย ของเสี ย โดยรวมในน�้ ำ และพื้ น บ่ อ ไบโอทริ ม® BIOTRIM® 200 กรัม/ไร่ สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง การย่อยสลายของเสียโดยรวม และลดกลิน่ บ�ำบัด พื้น เลนด�ำ ใช้ไบโอรีดอกซ์® BIO REDOX® 1 - 2 กิโลกรัมไร่ เป็นต้น (ดังรูปที่ 5) หรือการ ใช้รูปแบบการบ�ำบัดน�้ำขั้นสูง โดยการปรับสมดุล สัดส่วนของคาร์บอน ไนโตรเจน และจุลินทรีย์ เฮคเทอโรโทรฟิค (Heterotrophic) และออโต้ โทรฟิค (Autotrophic) ในน�้ำ ด้วยเทคโนโลยี ไบโอฟลอค (Biofloc) ก็เป็นอีกตัวเลือกหนึ่งที่ ท�ำให้คุณภาพน�้ำนิ่งตลอดการเลี้ยง 4. การจัดการอุณหภูมิในน�้ำไม่ให้แกว่ง หรื อ เปลี่ ย นแปลงมากเกิ น ไปในรอบวั น จาก หลายๆ งานวิจัยพบว่า อากาศที่เย็นลง และ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
71
Around the world
รูปที่ 5 นวัตกรรมการคัดเลือก สายพันธุ์จุลินทรีย์ทใี่ ช้ในการบ�ำบัดน�ำ้ และพื้นบ่อของเครือเจริญโภคภัณฑ์ ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน และ การใช้เป็นโปรแกรม
มี ค วามแตกต่ า งในรอบวั น มากกว่ า 10 องศา เซลเซียส พบอุบัติการณ์การระบาดของโรคไวรัส ตั ว แดงสู ง กว่ า ในฤดู ก าลอื่ น ๆ หากเกษตรกร จ�ำเป็นต้องเลี้ยงกุ้งในฤดูหนาว การเลือกเลี้ยง ในโรงเรื อ นปิ ด หรื อ บ่ อ ที่ ค ลุ ม หลั ง คาปกคลุ ม ด้วยพลาสติกถือว่าเป็นทางเลือกที่ดี ที่สามารถ ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ใ ห้ ค งที่ ต ลอดการเลี้ ย งได้ รู ป แบบโรงเรือนจะแตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่ การเลีย้ ง หรือโครงสร้างบ่อ การคลุมหลังคา หาก ต้องการแสง แต่ประสิทธิภาพเก็บกักความร้อนดี แนะน�ำคลุมด้วยพลาสติกโปร่งแสง : ทึบแสง เท่ากับ 60 - 40 ของพืน้ ทีร่ บั แสงทัง้ หมด รูปแบบนี้ จะท�ำให้อุณหภูมิน�้ำในช่วงอากาศเย็นอยู่ที่ 30 องศาเซลเซียส ส่วนฤดูกาลอืน่ อุณหภูมเิ ท่ากับ 32 องศาเซลเซียส คงที่ตลอดการเลี้ยง 5. การเสริมสร้างภูมติ า้ นทาน และส่งเสริม สุขภาพด้วยสารเสริมสุขภาพ และวิตามิน มี ความส�ำคัญในช่วงวิกฤติของการเลี้ยงจากสภาวะ ความเครียดต่างๆ เช่น อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง อย่างกะทันหัน คุณภาพน�้ำในบ่อเสื่อมโทรม หรือ สภาวะการติดเชื้อ กุ้งที่แข็งแรงกว่าจะมีภูมิต้าน ทานโรคที่ดีกว่า และมักจะรอดปลอดภัย พ้น
72
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
รูปที่ 6 โรงเรือนปิดเพื่อใช้อนุบาลลูกกุ้งระบบไบโอฟลอค (Biofloc Tecnology)
สภาวะวิกฤติดังกล่าวได้ดีกว่า อัตราการสูญเสีย และความเสียหายของกุ้งจะต�่ำกว่า เมื่อเทียบกับ กุง้ ทีไ่ ม่ได้รบั สารเสริมสร้างระบบภูมคิ มุ้ กัน ฉะนัน้ การให้สารกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของกุ้งอย่าง ต่อเนื่องมาก่อนที่จะเข้าช่วงวิกฤติ จึงเป็นการ เตรียมความพร้อมสร้างความแข็งแรงให้กับลูกกุ้ง ได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่าง การใช้สารเสริมชีวนะ หรือจุลินทรีย์โปรไบโอติก ไชมิติน พลัส® ZYMETIN PLUS® หรือเนอร์สแบค® NURSE BAC® 10 กรัม/กิโลกรัมอาหาร วันละครั้งทุกวัน จะช่วย
Around the world
รูปที่ 7 กราฟแสดงอัตรารอด และปริมาณแบคทีเรียโดยรวมของกุ้งทีไ่ ด้รับเชือ้ วิบริโอทีท ่ �ำให้เกิดโรค AHPND/EMS
ตารางที่ 2 แสดงเปอร์เซนต์ อัตราการตาย และอัตรารอดเปรียบเทียบ RPS ของกุ้ง ที่มีการให้สารกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคแบบ เบต้ากลูแคน 1000 พีพีเอ็ม แบบต่อเนื่อง และค่าอัตรา การตาย และอัตรารอดเปรียบเทียบ RPS ในกุ้งที่ถูกเหนี่ยวน�ำด้วยเชื้อ AHPND/EMS และ WSSV
เสริมสร้างระบบทางเดินอาหาร ช่วยย่อย และน�ำสารอาหารเข้าสู่ตัวกุ้งได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้กุ้งเจริญเติบโตดี แข็งแรง นอกจากนี้ สารกระตุ้นภูมิ บางชนิด ยังสามารถเพิ่มอัตรารอดของกุ้งที่ติดเชื้อได้ด้วย เช่น กุ้งที่ได้รับวิตามิน ดี 3 ปริมาณไมโครกรัม/ตัว สามารถเพิ่มอัตรารอด และลดปริมาณเชื้อแบคทีเรีย ก่อโรค AHPND/EMS ในทางเดินอาหารได้ (Yang และคณะ, 2064) หรือการให้ สารเบต้า - กลูแคน ส�ำหรับกระตุ้นภูมิคุ้มกัน เช่น เบต้ามิน พลัส® BETAMIN PLUS® ผสมอาหารปริมาณ 3 - 5 กรัม/กิโลกรัมอาหาร ต่อเนื่องติดต่อกัน 90 วัน จะช่วยเสริมระบบภูมิต้านทาน ลดอัตราตายในกุ้งที่ติดเชื้อ AHPND/EMS และ/ หรือกุ้งที่ติดเชื้อไวรัสตัวแดง (Luan และคณะ, 2564)
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
73
Around the world ราคาเมล็ดถั่วเหลือง
หน่วย : บาท/กก. ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย 1. ราคาที่เกษตรกรขายได้ เมล็ดถั่วเหลืองชนิดคละ 2562 16.16 16.96 15.89 17.44 - 13.80 13.80 14.30 15.20 17.35 15.66 2563 17.11 15.80 16.34 16.95 17.90 - 16.83 - 17.00 17.00 17.63 16.95 2564 17.00 17.02 17.17 17.73 18.03 - 15.55 15.50 16.86 2565 2. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร ตลาด กทม. 2562 19.50 19.50 19.50 19.50 19.95 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.12 2563 20.50 - 20.50 2564 2565 3. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดผลิตอาหารสัตว์ ตลาด กทม. 2562 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 2563 18.50 - 18.50 2564 21.00 21.00 - 20.25 20.25 - 21.13 - 20.73 2565 4. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดสกัดน�้ำมัน ความชื้น 13.0% ตลาด กทม. 2562 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 2563 18.50 - 18.50 2564 19.75 19.75 - 19.63 19.63 - 19.88 - 19.73 2564 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2562 10.67 10.52 10.50 10.35 9.76 10.23 10.08 9.73 9.91 10.38 10.13 10.18 10.20 2563 10.31 10.25 10.30 10.17 9.98 9.99 10.40 10.42 11.56 12.18 12.86 13.42 10.99 2564 15.22 15.32 16.09 16.98 18.17 16.97 17.19 16.79 15.61 15.21 15.11 15.96 16.22 2565 17.19 17.19 6. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$ : ton , 1 ton = 36.743 Bushel) 2562 333.75 334.46 329.20 324.22 305.27 326.58 325.43 314.60 322.42 339.84 332.93 334.92 326.97 2563 337.05 325.40 319.30 309.96 309.30 318.61 328.90 332.10 366.79 387.54 419.55 443.62 349.84 2564 504.27 507.78 519.84 538.44 577.66 537.32 523.53 504.00 469.40 451.99 454.55 473.11 505.16 2565 514.41 514.41
ที่มา : 1. ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเฉลี่ยทั้งปีแบบถ่วงน�้ำหนักจ�ำนวนผลผลิต, 2-4 กรมการค้าภายใน, 5-6 www.cmegroup.com
74
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Around the world ปริมาณการน�ำเข้าและส่งออกเมล็ดถั่วเหลือง ปี ม.ค. ก.พ. ปริมาณน�ำเข้า 2561 145,133 254,338 2562 370,101 222,517 2563 365,979 225,202 2564 251,909 241,051 ปริมาณส่งออก 2561 269 279 2562 240 261 2563 247 4 2564 65 50
หน่วย : ตัน
มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค. พ.ย.
ธ.ค.
รวม
295,791 264,837 353,863 172,026
260,211 342,001 250,465 529,518
278,182 310,489 501,226 409,402
145,627 139,296 403,488 540,870
124,922 277,407 399,393 324,695
280,523 290,293 339,252 481,829
358,573 221,692 249,560 215,570
79,640 262,195 384,181 295,913
287,835 231,310 240,531 153,918
212,195 277,139 331,575 380,071
2,722,969 3,209,277 4,044,716 3,996,772
309 293 780 65
240 291 378 51
239 262 38 70
240 184 18 51
158 377 26 25
159 320 58 32
346 328 68 46
391 203 55 150
300 252 11 163
252 187 36 175
3,183 3,199 1,718 942
ที่มา : กรมศุลกากร ปี 2561-2564 พิกัด 12011009000 12019010001 และ 12019090090
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
75
Around the world ราคากากถั่วเหลือง
หน่วย : บาท/กก. ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย 1. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดในประเทศ โปรตีน 44-48% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2562 - 18.38 18.38 18.38 2563 2564 - 28.25 - 24.38 24.38 - 25.67 2565 2. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดน�ำเข้า โปรตีน 45-46% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมันตลาด กทม. 2562 13.31 13.17 13.47 13.43 13.30 13.34 13.31 13.20 13.10 13.05 12.97 12.95 13.22 2563 12.89 12.67 12.45 12.73 12.93 12.64 12.43 12.43 13.44 14.93 15.77 16.35 13.47 2564 17.34 17.65 17.28 17.19 17.73 17.86 17.07 16.95 17.25 18.00 17.80 17.27 17.45 2565 17.46 17.46 3. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองน�ำเข้าจากต่างประเทศ โปรตีน 47% ณ โกดังผู้น�ำเข้า ตลาด กทม. 2562 13.25 13.09 13.37 13.32 13.15 13.19 13.16 13.05 12.95 12.90 12.80 12.78 13.08 2563 12.71 12.38 12.04 12.29 12.80 12.56 12.31 12.30 13.31 14.73 15.53 16.00 13.25 2564 17.00 17.25 16.90 16.64 17.11 17.23 16.44 16.40 16.70 17.37 17.23 16.82 16.92 2565 17.02 17.02 4. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2562 11.02 10.64 10.77 10.77 10.52 10.97 10.47 10.00 9.90 10.24 10.09 9.97 10.45 2563 10.04 10.10 11.02 10.56 9.67 9.91 10.09 10.03 11.20 12.73 13.19 13.38 10.99 2564 14.73 14.26 13.94 14.30 14.41 13.02 13.05 13.02 12.39 11.96 12.91 14.30 13.52 2565 15.26 15.26 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$ : ton , 1 ton = 1.1023 shortton) 2562 344.73 338.04 337.61 337.09 328.86 350.18 337.74 323.35 322.16 335.33 331.59 327.99 334.56 2563 327.98 320.64 341.45 321.81 313.98 316.10 319.06 319.54 355.36 405.21 430.23 442.10 351.12 2564 488.24 472.64 450.35 453.41 458.06 412.26 397.66 390.97 372.66 355.37 388.30 423.73 421.97 2565 456.75 456.75
ที่มา : 1-3 กรมการค้าภายใน, 4-5 www.cmegroup.com
76
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Around the world ปริมาณการน�ำเข้าและส่งออกกากถั่วเหลือง ปี ม.ค. ก.พ. ปริมาณน�ำเข้า 2561 185,574 197,553 2562 395,449 144,791 2563 132,941 210,953 2564 103,110 245,765 ปริมาณส่งออก 2561 3,035 2,659 2562 5,665 4,312 2563 1,635 2,139 2564 4,468 4,057
หน่วย : ตัน
มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค. พ.ย.
ธ.ค.
รวม
307,289 91,097 210,212 84,116
325,268 300,051 228,618 102,728
393,978 304,221 262,485 340,532
299,988 458,158 231,900 320,415
104,998 126,835 294,936 262,802
366,062 293,002 183,416 332,482
236,151 294,035 282,187 472,817
267,297 145,467 181,094 197,362
152,064 419,899 143,516 107,532
2,952,274 3,207,802 2,645,236 2,751,268
5,049 3,854 6,283 6,108
4,254 4,753 3,780 8,899
4,688 5,316 3,929 10,847
5,213 5,188 4,666 4,605
4,935 4,356 4,787 5,847
116,051 234,798 282,978 181,607
4,262 3,157 2,619 1,217 3,732 4,537 2,497 4,248 3,489 5,497 4,282 5,173 6,030 32,753 12,067 4,923
3,510 44,596 3,200 51,658 5,184 50,843 2,487 103,091
ที่มา : กรมศุลกากร ตั้งแต่ ก.ค. 60 เป็นต้นไป พิกัด 23040090001
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
77
Around the world ราคาปลาเป็ดและปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 1. ปลาเป็ด (ดี/สด) (บาท/กก.) 2562 8.30 8.14 8.12 7.99 7.86 7.87 7.65 2563 6.75 6.73 6.75 6.80 6.85 6.97 6.97 2564 7.54 7.58 7.69 7.73 7.67 7.63 7.63 2565 7.77 2. ปลาเป็ด (รอง/ไม่สด) (บาท/กก.) 2562 6.55 6.56 6.51 6.44 6.42 6.39 6.27 2563 5.26 5.31 5.33 5.35 5.43 5.62 5.62 2564 5.88 5.87 5.92 6.02 6.09 6.09 6.10 2565 6.45 3. ปลาป่น เกรดกุ้ง (บาท/กก.) 2562 35.00 34.32 33.00 34.33 35.00 34.37 33.50 2563 31.64 32.50 32.50 32.83 33.50 33.50 34.79 2564 33.00 33.89 34.70 35.00 35.94 36.00 36.00 2565 36.00 4. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 1 (บาท/กก.) 2562 31.00 30.32 29.00 29.67 30.00 29.58 29.00 2563 27.14 28.00 28.00 28.33 29.00 29.00 29.86 2564 28.00 28.89 29.70 30.00 30.94 31.00 31.00 2565 31.00 5. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 2 (บาท/กก.) 2562 27.00 26.32 25.00 25.67 26.00 26.00 26.00 2563 24.14 25.00 25.00 25.33 26.00 26.00 26.86 2564 26.00 26.89 27.70 28.00 28.94 29.00 29.00 2565 29.00 6. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 1 (บาท/กก.) 2562 34.00 33.32 32.00 32.67 33.00 32.58 32.00 2563 30.14 31.00 31.00 31.33 32.00 32.00 32.86 2564 31.00 31.89 32.70 33.00 33.94 34.00 34.00 2565 34.00
78
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
7.31 6.97 7.63
7.38 6.99 7.63
7.50 7.59 7.68
7.30 7.64 7.98
6.89 7.55 7.80
7.69 7.05 7.68 7.77
6.09 5.62 6.12
6.09 5.64 6.16
5.90 5.83 6.22
5.65 5.90 6.57
5.33 5.88 6.48
6.18 5.57 6.13 6.45
33.50 33.50 33.50 33.50 32.39 33.83 35.00 35.00 35.00 34.79 33.95 33.75 36.67 37.00 37.83 37.77 36.40 35.85 36.00 29.00 29.00 29.00 29.00 27.89 29.37 30.00 30.00 30.00 29.79 28.95 29.01 31.67 32.00 32.83 32.77 31.40 30.85 31.00 26.00 26.00 26.00 26.00 24.89 25.91 27.00 27.00 27.00 27.00 26.95 26.11 29.67 30.00 30.83 30.77 29.40 28.85 29.00 32.00 32.00 32.00 32.00 30.89 32.37 33.00 33.00 33.00 32.79 31.95 32.01 34.67 35.00 35.83 35.77 34.40 33.85 34.00
Around the world เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 7. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 2 (บาท/กก.) 2562 31.00 30.32 29.00 29.67 30.00 29.58 29.00 29.00 29.00 29.00 2563 27.14 28.00 28.00 28.33 29.00 29.00 29.86 30.00 30.00 30.00 2564 29.00 29.89 30.70 31.00 31.94 32.00 32.00 32.67 33.00 33.83 2565 32.00 8. ปลาป่น โปรตีน 65% F.O.B. ตลาดเปรู (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 2562 1,230 1,223 1,200 1,295 1,307 1,290 1,275 1,142 1,060 1,060 2563 1,242 1,360 1,437 1,460 1,460 1,415 1,148 1,111 1,130 1,209 2564 1,305 1,364 1,375 1,343 1,419 1,415 1,382 1,390 1,407 1,460 2565 1,555 9. ปลาป่น โปรตีน 60% F.O.B. ตลาดเปรู (บาท/กก.) (ค�ำนวณเป็นเงินบาท) 2562 36.31 35.52 35.32 38.27 38.58 35.40 34.86 32.61 30.08 29.88 2563 35.11 39.54 39.23 44.21 43.42 40.95 33.52 32.18 32.88 29.22 2564 36.35 37.98 39.28 39.04 41.21 41.27 41.81 42.72 43.14 45.35 2565 47.95
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
29.00 27.89 29.37 30.00 29.95 29.11 33.77 32.40 31.85 32.00 1,077 1,112 1,189 1,248 1,278 1,292 1,504 1,554 1,410 1,555 30.30 31.22 34.03 35.31 30.20 36.31 46.16 48.39 41.89 47.95
ที่มา : 1/ สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 2-7/ กรมการค้าภายใน 8-9/ http://hammersmithltd.blogspot.com
ปริมาณการน�ำเข้าและส่งออกปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ปริมาณน�ำเข้า (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) 2561 8,652 7,258 5,962 5,032 5,617 2,757 2562 5,208 4,076 5,419 4,792 5,349 4,855 2563 4,565 4,833 6,410 5,960 4,505 3,988 2564 4,641 6,358 9,569 8,024 5,346 6,076 ปริมาณส่งออก (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) 2561 16,891 11,638 13,526 9,109 7,774 7,781 2562 5,447 9,861 13,493 10,851 11,665 11,986 2563 7,732 14,980 19,326 18,535 21,057 15,896 2564 4,322 12,658 13,810 10,740 11,427 12,342
ก.ค.
ส.ค.
4,038 4,299 3,274 1,571 3,546 2,404 3,732 7,781 7,749 12,079 10,172 12,217
9,130 9,688 11,550 9,165
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
รวม
4,713 5,532 1,294 4,701 3,894 3,429 4,552 5,264
4,831 3,850 4,016 8,109
4,221 6,232 5,431 4,490
62,912 50,620 52,979 73,942
6,442 6,043 7,793 6,748
2,970 4,993 6,292 10,821
7,780 5,451 9,800 9,930
105,922 107,680 152,147 122,773
5,131 6,121 9,013 8,594
หมายเหตุ : พิกัดอัตราศุลกากร 2301 2010 000, 2301 2020 000, 2301 2090 001 และ 2301 2090 090
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 39 เล่มที่ 202
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
79
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำ�วารสารธุรกิจอาหารสัตว์
1 บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน)
โทร. 0-2833-8000
2 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ
โทร. 0-2680-4580
3 บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน)
โทร. 0-2473-8000
4 บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด
โทร. 0-2814-3480
5 บริษัท ลีพฒ ั นาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน)
โทร. 0-2632-7232
6 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สระบุรี
โทร. 0-2680-4500
7 บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด
โทร. 0-2194-5678-96
8 บริษัท แลบอินเตอร์ จ�ำกัด
โทร. 0-3488-6140-48
9 บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จ�ำกัด
โทร. 0-2937-4355
10 บริษัท ยูนโี กรอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด
โทร. 0-3430-5101-3
11 บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด
โทร. 0-2681-1329
12 บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
โทร. 0-2694-2498
13 บริษัท ฟอสส์ เซาธ์ อีสต์ เอเซีย จำ�กัด
โทร. 0-2018-1600
14 บริษัท แอนิมัล ซัพพลีเมนท์ แอนด์ ฟาร์มาซูติคอล จำ�กัด
โทร. 0-2937-4888
15 บริษัท ไทยยูเนียน ฟี ดมิลล์ จำ�กัด (มหาชน)
โทร. 0-3441-7222
16 FAMSUN COMPANY LIMITED
โทร. 0-9392-64166
17 บริษัท เอพเพนดอร์ฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด
โทร. 0-2379-4212-5 # 119