รายนามสมาชิก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จ�ำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จ�ำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จ�ำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จ�ำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด
28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53.
บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ยู่สูง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จ�ำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท บุญพิศาล จ�ำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จ�ำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท วีพีเอฟ กรุ๊ป (1973) จ�ำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จ�ำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จ�ำกัด บริษัท เจบีเอฟ จ�ำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท บีอาร์เอฟ ฟีด (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท เอพีเอ็ม อะโกร จ�ำกัด
ท
ร า ก นา
อ
ัน ภนิ
คณะกรรมการบริ ห าร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจำ�ปี 2560-2561
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.
นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายไพศาล เครือวงศ์วานิช นางเบญจพร สังหิตกุล นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นางสาวสุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์ นายสมภพ เอื้อทรงธรรม นายโดม มีกุล นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์ นายเธียรเทพ ศิริชยาพร นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายจ�ำลอง เติมกลิ่นจันทน์
นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด
บรรณาธิการ
แถลง
วัตถุดิบอาหารสัตว์ มีหลากหลายชนิดมากมาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับหลักโภชนาการอาหารสัตว์ ทีน่ กั ก�ำหนดสูตรจะเลือกหยิบวัตถุดบิ ตัวไหนมาผสมในสูตรอาหารสัตว์เพือ่ ให้ได้หลักต้นทุนทีถ่ กู ทีส่ ดุ และคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์การผลิตที่จะแข่งขันกันระหว่างคู่แข่ง ซึ่งปัจจุบันไม่ใช่แข่งขันกัน ในประเทศอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องแข่งขันระหว่างประเทศคู่แข่งที่จะขายผลิตภัณฑ์สัตว์ไป ทั่วโลกที่ต้องการอาหารประเภทเนื้อสัตว์ไว้บริโภค และประเทศไทยก็อยู่ระดับ ประเทศผู้น�ำในการ ผลิตเนื้อไก่ส่งออกและผลิตภัณฑ์สัตว์อื่นๆ ก็จะตามมา และทุกฝ่ายต่างทุ่มเทก�ำลังความสามารถ ที่จะให้ได้มาซึ่งตลาดการส่งออกเนื้อสัตว์น�ำเงินตราเข้าประเทศ และต้องรักษาไว้ให้ได้ แต่กลับจะต้องมาถูกผู้ฉวยโอกาสใช้อ�ำนาจของรัฐ มาก�ำหนดวิธีการอะไรต่างๆ นานา ที่จะเป็น อุปสรรคในการเลือกใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ทั่วโลก และเป็นที่ยอมรับโดยนักโชนาการอาหารสัตว์ทั่วโลกที่จะ หยิบจับเลือกหามาใช้เพื่อการลดต้นทุนการแข่งขัน เพียงเพื่อให้ตัวเองฝ่ายเดียวได้รับประโยชน์ ทั้งๆ ที่ มีผู้เกี่ยวข้อง คือ ผู้เลี้ยงสัตว์ ต้องแบกรับเงื่อนไขต่างๆ ที่ออกมาก่อนหน้านี้มากมายที่เป็นภาระหนัก อยู่แล้ว ทั้งเรื่องการประกันราคาพืชผลทางการเกษตร การเสียภาษีน�ำเข้าวัตถุดิบที่จะต้องคุ้มครอง เกษตรกรภายในประเทศ การจะมองว่า วัตถุดบิ ขาดแคลนหรือไม่ ราคาเป็นตัวฟ้องอยูแ่ ล้ว และเมือ่ ราคาเกินความสามารถ ที่จะรับได้ในสูตร นักก�ำหนดสูตรก็จะต้องดึงวัตถุดิบนั้นออกจากสูตรแน่นอน ดังนั้น เพื่อประโยชน์ของ ประเทศ และเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ที่ภาครัฐก็จะต้องดูแลด้วย การก�ำหนดมาตรการอะไรก็จะต้องดูแล ให้ทั่วถึง ทั้งต้นทาง และปลายทางของห่วงโซ่การผลิตด้วย มิใช่จะถูกใครมาก�ำหนด ให้ต้องยอมท�ำตาม เพียงเพือ่ อะไรก็ไม่รู้ ต้องรีบแก้ไขก่อนทีจ่ ะสายเกินไป หากประเทศต้องสูญเสียตลาดการส่งออกเนือ้ สัตว์ ที่ทุกฝ่ายท�ำกันมาอย่างยากล�ำบาก และประเทศคู่แข่งที่ก�ำลังจะแซงหน้าเรา ก็พยายามจะฉวยโอกาสนี้ หากนโยบายที่ออกมาเป็นการบั่นทอนกันเองในประเทศ บก.
ธุรกิจอาหารสัตว์
วารสาร
ปีที่ 35 เล่มที่ 180 ประจำ�เดือน พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Thailand Focus
Mr. ไก่เนื้อและไก่ไข่ ย�้ำไก่เนื้อปลอดภัย ไร้สารเร่งโต ชูไข่ไก่สุดยอดโปรตีน .................................................................... 5 ระวัง ‘สารเร่งเนื้อแดง’ อันตรายแฝงในเนื้อหมูสหรัฐฯ ................................................................................................ 8 ก.เกษตรฯ ท�ำระบบคอมพาร์ทเมนต์ ปลอดโรคปาก และเท้าเปื่อยในสุกร .................................................................... 11 เร่งดันส่งออกไข่ไก่เพิ่ม ปศุสัตว์หารือ 16 บริษัทผู้ผลิตไก่ ลดน�ำเข้าแม่พันธุ์แก้ล้นตลาด ................................................. 12 ไทยส่งสัตว์ปีกเที่ยวปฐมฤกษ์ไปจีน คาดสร้างรายได้ 7 พันล้านบาทต่อปี .................................................................... 14 สัญญาณบวก...ไก่ไทยปีนข้ามก�ำแพงเมืองจีน ......................................................................................................... 15 3 ประสานจับมือหารือร่วมแนวทาง พัฒนาปาล์มน�้ำมันทั้งระบบ ............................................................................... 17
Food Feed Fuel
สถานการณ์ ถั่วเหลือง ....................................................................................................................................... 19 สถานการณ์ กากถั่วเหลือง .................................................................................................................................. 22 สถานการณ์ ปลาป่น .......................................................................................................................................... 25 สถานการณ์ ไก่เนื้อ ............................................................................................................................................ 28 สถานการณ์ ไข่ไก่................................................................................................................................................ 30 สถานการณ์ สุกร .............................................................................................................................................. 32 สถานการณ์ กุ้ง ................................................................................................................................................. 35 เลิกคุม “ปู่ยา่ ” พันธุ์ไก่ไข่ หลังราคาไข่ในประเทศขยับ .............................................................................................. 41 อสค. เร่งส่งเสริมคนไทยบริโภคนม ....................................................................................................................... 43 ชง กนป. แก้ปาล์มราคาตก ................................................................................................................................. 45
Market Leader
‘เลี้ยงหมู’ อาชีพเกษตรที่ต้องร่วมปกป้อง .............................................................................................................. 47 'กฤษฎา' ตีกลับข้อเสนอจ�ำน�ำกุ้ง .......................................................................................................................... 49 ไฟเขียวเงินกู้ 1.6 พันล้าน ตั้ง 'ยุ้งฉาง' ดันราคาข้าว รัฐชดเชยดอกเบี้ย 3% วงเงิน 250 ล้าน ...................................... 50 ไก่ไทยส่งออกเนื้อหอม อียู - ญี่ปุ่น ออเดอร์ต่อเนื่อง ................................................................................................. 52 กรมส่งเสริมการเกษตรขอความร่วมมือโรงงานอาหารสัตว์ ไม่ให้รับซื้อข้าวโพดในพื้นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ ............................. 53 “ญี่ปุ่น” สต็อกล้น! กดราคารับซื้อไก่ไทย 500 ดอลลาร์ต่อตัน ................................................................................... 55 เปิดตัว ระบบตรวจสอบย้อนกลับดิจิตัล!! ปี 2563 ติดตั้งครบทุกผลิตภัณฑ์ ................................................................ 56 “ส.อาหารสัตว์” เผย ไม่ปรับราคาขนส่ง หลังราคาน�้ำมันขึ้น 5% ............................................................................... 58 กรมประมงจับมือ ส.อาหารแช่เยือกแข็งไทย ยันราคาซื้อกุ้งตามราคาที่ตกลง ............................................................... 59 อย่าละเลยการป้องกันโรคตัวแดงดวงขาว และโรคหัวเหลือง ..................................................................................... 60
Around the World
Contents
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
ค้าชายแดน ‘ด่านเชียงแสน’ บูม! ส่งไก่แช่แข็งไปจีน 1.3 หมื่นล้าน ........................................................................... 64 “กรมปศุสัตว์” ประกาศ! ชะลอน�ำเข้าสัตว์ปีก “จีน” หลังพบระบาดไข้หวัดนก .............................................................. 67 กรมประมงแจงมาตรการสกัดกั้นประมงผิดกฎหมายอย่างเข้มงวด .............................................................................. 68 อคส. โละสต็อก ข้าวโพด - มันเส้น จ�ำน�ำไว้เมื่อ 10 ปีที่แล้ว เร่งประมูลด่วน! ............................................................... 70 เจาะประเด็น “กุ้งโลก” : อินเดีย - เวียดนาม ........................................................................................................... 72 ขอบคุณ ........................................................................................................................................................... 80
ด�ำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิต ิ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง นางสาวกรดา พูลพิเศษ นายธีรพงษ์ ศิริวิทย์ภักดีกุล
ประธานกรรมการที่ ป รึ ก ษา
ส�ำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 Email: tfma44@yahoo.com Website: www.thaifeedmill.com
ระบบมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง
GMP / HACCP
ISO 9001 : 2015 / ISO 14001 : 2015
Thailand Focus
Mr. ไก่เนื้อและไก่ไข่
ย�้ำไก่เนื้อปลอดภัย ไร้สารเร่งโต
ชูไข่ ไก่สุดยอดโปรตีน
Mr. ไกเ่ นื้อและไกไ่ ข่ เดินหนา้ ตามนโยบาย “การแกป้ ั ญหาสินคา้ เกษตรเชิงรุก” ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เร่งแกป้ มราคาไขไ่ กใ่ ห้มีเสถียรภาพอยา่ งยัง่ ยืน และยกระดับมาตรฐานสินคา้ ไก ่ ต่อเนื่อง คลายสงสัยอุตสาหกรรมไก่เนื้อปลอดสารเร่งการเจริญเติบโต ไม่มียาปฏิชีวนะตกค้าง แนะกินไขไ่ ดท้ ุกวันเหมาะกับคนทุกวัย นายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิบดีกรมปศุสตั ว์ และโฆษกกรมปศุสตั ว์ ในฐานะ “Mr. ไก่เนื้อและไก่ไข่” ให้สัมภาษณ์ว่า หลังจากได้รับมอบหมายจากกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ให้เป็น 1 ใน 15 Mr. รายสินค้า เพือ่ รับผิดชอบการแก้ปญ ั หาเชิงรุกในสินค้าเกษตร 15 รายการ ที่เกษตรกรมีส่วนเกี่ยวข้อง และมีผลผลิตมาก ขณะนี้ได้ต้ังคณะท�ำงานขึ้นมาด�ำเนินการเก็บรวบรวม ข้อมูลน�ำมาวิเคราะห์สถานการณ์ไก่เนื้อและไก่ไข่ เพื่อเป็นเครื่องมือวางแผนการผลิต และเตือนภัยแก่ เกษตรกร โดยได้กำ� หนดกรอบแนวทางการท�ำงานไว้เรียบร้อยแล้ว ล�ำดับต่อไปจะเร่งประสานกับหน่วยงาน ราชการทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ สมาคมผูเ้ ลีย้ ง เกษตรกรผูเ้ ลีย้ ง ภาคเอกชน เพือ่ ร่วมกันก�ำหนดกรอบแนวทาง การผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดต่อไป นอกจากการแก้ปัญหาในแง่ของการผลิตและการตลาดเพื่อความยั่งยืนแล้ว Mr. ไก่เนื้อและไก่ไข่ ยังมุง่ เน้นการยกระดับมาตรฐานการผลิตสินค้าทัง้ 2 ชนิด ควบคูไ่ ปด้วย เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ในสินค้า ปศุสัตว์ของไทยที่มีความปลอดภัยได้มาตรฐานสากล โดยเฉพาะเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ในภาค อุตสาหกรรมการเลีย้ งไก่ทปี่ ลอดภัย ปลอดสาร ไม่มกี ารใช้ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต ไม่มยี าปฏิชวี นะ ตกค้าง ท�ำให้เนื้อไก่ของไทยเป็นที่ต้องการของโลก ปัจจุบันไทยเป็นผู้ส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ เป็น อันดับ 4 ของโลก รองจากบราซิล สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ตามล�ำดับ โดยมีประเทศผู้น�ำเข้า ที่ส�ำคัญคือ ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป
ที่มา : สาส์นไก่ & สุกร ปีที่ 16 ฉบับที่ 179 เดือนเมษายน พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
5
Thailand Focus
“ที่ผ่านมายังมีความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับการ รับประทานเนื้อไก่ ถูกกล่าวหาว่า มีฮอร์โมนเร่งโต ท�ำให้ผู้บริโภคเสียโอกาสที่จะได้รับอาหารโปรตีน คุณภาพดี และมีมาตรฐานระดับโลก ขอย�้ำว่า ใน กระบวนการผลิตไก่เนือ้ ในอุตสาหกรรม ไม่มกี ารใช้ สารเร่งการเติบโตอย่างเด็ดขาด เพราะผิดกฎหมาย และผิดข้อก�ำหนดของประเทศคู่ค้า ที่ส�ำคัญ การ เลีย้ งไก่ยงั มีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ สายพันธุไ์ ก่ จากการปรับปรุงพันธุต์ ามธรรมชาติ อาหารสัตว์มกี ารค้นคว้าวิจยั จนได้สตู รอาหารทีเ่ หมาะสม การเลีย้ ง ที่มีมาตรฐาน และการป้องกันโรคที่เข้มงวด” นายสัตวแพทย์สมชวน กล่าวและว่า กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ความส�ำคัญกับเรื่องความปลอดภัยในอาหารของ ผู้บริโภคมาโดยตลอด ด้วยการมอบหมายให้สัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มท�ำหน้าที่ดูแลการใช้ยาของ เกษตรกรและผู้ประกอบการอย่างใกล้ชิด เน้นการเฝ้าระวังและสุ่มตรวจฮอร์โมน และสารตกค้างใน เนื้อสัตว์ปีกเป็นประจ�ำ โดยเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ท้องที่ต้องขออนุญาตก่อนที่จะมีการน�ำไก่เข้ากระบวนการ แปรรูป และจากรายงานของส�ำนักตรวจสอบคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ในช่วงปี 2553-2560 ที่มีการ สุ่มตัวอย่างสัตว์ปีก 2,543 ตัวอย่าง ไม่เคยพบฮอร์โมนตกค้างแม้แต่ตัวเดียว ที่ส�ำคัญไทยยังได้รับ
6
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Thailand Focus ข่าวดีจากสาธารณรัฐประชาชนจีน หลังจากหน่วยงาน CNCA ได้ประกาศรับรองโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ ผลพลอยได้ แ ช่ แ ข็ ง สั ต ว์ ป ี ก ของไทยเป็ น ครั้ ง แรก จ�ำนวน 7 โรงงาน ช่วยตอกย�้ำความเชื่อมั่น ในผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ของไทย นายสัตวแพทย์สมชวน กล่าวถึงการ เร่งแก้ปัญหาไก่ไข่ว่า ที่ผ่านมาคณะกรรมการ นโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ หรือเอ้กบอร์ด (Egg Board) มีมติให้ทุกบริษัทลดการน�ำเข้าปู่ย่าและพ่อแม่ พันธุ์ไก่ไข่ในปี 2561 ตามสัดส่วนให้เหลือปู่ย่าพันธุ์ (GP) ปีละ 5,500 ตัว พ่อแม่ พันธุ์ (PS) ปีละ 550,000 ตัว พร้อมกับให้เกษตรกร และสมาคมฯ เร่งปลด แม่ไก่ไข่ยืนกรงเพื่อลดจ�ำนวนแม่ไก่ยืนกรง ซึ่งขณะนี้ทุกฝ่ายได้เร่งด�ำเนินการอย่าง ต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังด�ำเนินการสนับสนุนกิจกรรมของคณะกรรมการโครงการ รณรงค์บริโภคไข่ไก่ 300 ฟอง เพื่อให้พี่น้องชาวไทยมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภค ไข่ไก่ที่เป็นสุดยอดแหล่งโปรตีนส�ำคัญที่สามารถรับประทานได้ทุกวัน เหมาะสมกับ คนทุกช่วงวัย และมีราคาไม่แพง “การแก้ปัญหาเชิงรุกที่ทีมงานก�ำลังเร่งด�ำเนินการนี้ นอกจากการแก้ปัญหา ในระยะสั้นเพื่อลดผลกระทบจากราคาสินค้าเกษตรที่ตกต�่ำแล้ว ยังบูรณาการการ ท�ำงานทั้งระบบ ด้วยการจัดระบบฐานข้อมูลทุกขั้นตอนตลอดสายการผลิตจนถึง การตลาด พร้อมทัง้ น�ำกฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องมาควบคุมก�ำกับดูแล เพือ่ ให้ เกิดการแก้ปัญหาที่รวดเร็ว เป็นรูปธรรม และยั่งยืนอย่างแท้จริง” นายสัตวแพทย์ สมชวน กล่าวทิ้งท้าย
ข้อมูล : จากการสัมภาษณ์โฆษกกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
7
Thailand Focus
ระวัง ‘สารเร่งเนื้อแดง’
อันตรายแฝงในเนื้อหมูสหรัฐฯ
“สารเร่ ง เนื้ อ แดง” กลายเป็ น ประเด็ น ร้ อ นขึ้ น มาอี ก ครั้ ง เมื่ อ สหรัฐอเมริกาพยายามผลักดันเนือ้ หมูเข้ามายังกลุม่ ประเทศในแถบเอเชีย ซึง่ แน่นอนว่า ไทยก็เป็นหนึง่ ในเป้าหมายของสหรัฐฯ ทัง้ ๆ ทีป่ ระเทศไทยประกาศ ให้สารเร่งเนื้อแดงกลุ่มเบต้า - อะโกนิสต์ (Beta - agonist)เป็นสารเคมีภัณฑ์ ต้องห้ามทีก่ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไม่ให้ใช้เป็นส่วนผสมในการผลิต และ น�ำเข้าซึ่งอาหารสัตว์ตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2525 และพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 รวมทัง้ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 269) พ.ศ. 2546 เรือ่ ง มาตรฐานอาหารทีม่ กี ารปนเปือ้ นสารเคมีกลุม่ เบต้า - อะโกนิสต์ ซึง่ ก�ำหนดให้ ต้องตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีกลุ่มนี้ในอาหาร ทัง้ นี้ ก็เพือ่ ป้องกันอันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ แก่ผบู้ ริโภค หากได้รบั สารนี้ ที่ตกค้างอยู่ในเนื้อสัตว์ ซึ่งสอดคล้องกับในหลายประเทศที่ไม่อนุญาตให้ใช้ สารเร่งเนื้อแดงในการเลี้ยงหมูอย่างเด็ดขาด อาทิ กลุ่มสหภาพยุโรป (EU) สาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน และสหพันธรัฐรัสเซีย โดยปัจจุบันมีเพียง 25 ประเทศเท่านั้น ที่ยอมรับเนื้อหมูจากสหรัฐฯ แต่การยอมรับก็เป็นแบบ มีเงื่อนไข หรือโดนบังคับให้น�ำเข้า ไม่ใช่การเปิดรับด้วยความสมัครใจ นายประหยัด ทิราวงศ์ อาจารย์ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสนได้วเิ คราะห์เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ ว่าที่ผ่านมาภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐโดยกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตร ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
8
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Thailand Focus
และสหกรณ์และส�ำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยา กระทรวงสาธารณสุข รวมถึงภาคเอกชน ในอุตสาหกรรมการเลีย้ งหมู และเกษตรกรผูเ้ ลีย้ ง ต่างร่วมกันเดินหน้ารณรงค์ให้เห็นผลกระทบของ สารนี้ที่มีต่อสุขภาพร่างกายของสัตว์เลี้ยงและคน ทีร่ บั ประทานเนือ้ สัตว์ทมี่ สี ารเร่งเนือ้ แดง ควบคูไ่ ป กับการปราบปรามการลักลอบใช้สารเร่งเนื้อแดง อย่างต่อเนือ่ งมายาวนานกว่า 20 ปี เพือ่ ไม่ให้สารนี้ ก่อโทษภัยต่อคนไทย และเป็นการสร้างความ ปลอดภัยในอาหารตลอดห่วงโซ่การผลิต หากแต่วันนี้สหรัฐฯ ก�ำลังกดดันประเทศ ไทยในทุกทาง เพือ่ ให้ยนิ ยอมเปิดรับเนือ้ หมูสหรัฐฯ ที่มีการใช้สารเร่งเนื้อแดง - แร็กโตพามีน (Ractopamine) ในการเลี้ยงสัตว์ได้อย่างถูกกฎหมาย โดยกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา ก�ำหนดค่า สารตกค้างสูงสุด หรือค่า Maximum residue limit (MRL) ในประเทศไว้ที่ 30 ppb (part per billion: หน่วยส่วนในพันล้านส่วน) ส�ำหรับเนื้อวัว ส่วน เนือ้ หมูกำ� หนดไว้ที่ 50 ppb โดยการยกเอามติของ
คณะกรรมการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ หรือโคเด็กซ์ (Codex) ในการประชุมประจ�ำปี เมือ่ ปี 2555 ทีเ่ ห็นชอบให้มกี ารใช้ Ractopamine ในการเลี้ยงสัตว์ได้ โดยให้ก�ำหนดค่า MRLs ของ สารเร่งเนื้อแดงในกลุ่มเบต้า - อะโกนิสต์ ไว้ที่ 10 ppb แม้ว่าประเทศสมาชิกที่สนับสนุนชนะแบบ ไม่เป็นเอกฉันท์ที่ 69 ต่อ 67 แต่กเ็ ท่ากับว่าโคเด็กซ์ ยอมรับให้มีการใช้สารนี้ได้ภายใต้เงื่อนไข การ ตกค้างไม่เกินค่าสูงสุด ล่าสุด ในการประชุมครัง้ ที่ 2 ของปี 2558 Codex ได้กำ� หนดค่า MRL ของ Ractopamine ใน ชิ้นส่วนของหมูดังนี้เนื้อ หนังและไขมัน 10 ppb, ตับ 40 ppb และในไต 90 ppb มติของ Codex จึงกลายเป็นดาบอาญาสิทธิ์ให้สหรัฐฯ น�ำไปอ้าง กับทุกประเทศ ให้ยอมรับเนือ้ หมูของตนเองเข้าไป ท�ำตลาดในประเทศต่างๆ รวมถึงไทยที่สหรัฐฯ พยายามผลักดันเนือ้ หมูเข้ามาให้ได้ตงั้ แต่ปี 2556 เป็นต้นมา
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
9
Thailand Focus
การรุกคืบของสหรัฐฯ นี้ เพียงเพราะต้องการระบาย เศษเหลือที่คนสหรัฐฯ ไม่กิน ทั้งหัว ขา และเครื่องใน ไปยัง ประเทศอื่น การผลักชิ้นส่วน เหลื อ ใช้ ม าให้ ค นเอเชี ย ที่ นิ ย ม บริโภคชิ้นส่วนเหล่านี้อยู่แล้ว ซึ่งก็ไม่ต่าง กับการโยนระเบิดเวลาลูกใหญ่ให้กับประเทศอื่น เพราะสารเร่งเนื้อแดงสามารถตกค้างในอวัยวะ ส่วนต่างๆ ของหมู ทั้งในเครื่องใน ตับ ไต เนื้อ และไขมัน และแน่นอนว่า เครื่องในที่เป็นอวัยวะ สุดท้ายทีจ่ ะก�ำจัดสารตกค้างในร่างกายนัน้ จะต้อง มีปริมาณสารนี้ตกค้างมากกว่าในเนื้อและสูงกว่าค่า MRL ที่ก�ำหนดไว้ ส่วนโทษภัยของสารเร่งเนื้อแดงที่มีต่อสัตว์และมนุษย์ โดยเฉพาะในกรณี ที่ใช้เกินขนาด จะท�ำให้สัตว์อยู่ในสภาพถูกทรมาน ผิดหลักการเลี้ยงสัตว์อย่างมี มนุษยธรรม เพราะสารเร่งเนื้อแดงมีฤทธิ์กระตุ้นทั้งสมองและระบบไหลเวียนโลหิต เมือ่ สารเหล่านีต้ กค้างในเนือ้ สัตว์และมนุษย์บริโภคเข้าไป จะได้รบั สารทีเ่ ป็นอันตราย เป็นอย่างมากต่อผู้ที่เป็นโรคหัวใจ โรคลมชัก โรคเบาหวาน และเด็ก เนื่องจาก มีฤทธิต์ อ่ ระบบประสาทส่วนกลาง ท�ำให้ใจสัน่ และนอนไม่หลับ และอาจเป็นอันตราย ร้ายแรง ประเทศไทยตรากฎหมายควบคุมห้ามใช้สารเร่งเนื้อแดง มีมาตรการ ตรวจสอบควบคุมอย่างจริงจังและเข้มงวด แม้ฝรัง่ จะบอกว่าให้ใช้ได้ แต่ไทยเราเอง ทีป่ ระกาศจุดยืนเรือ่ งความปลอดภัยทางอาหาร (food safety) ก�ำหนดเป็นนโยบาย มาตั้งแต่ปี 2547 ต้องยืนหยัดปกป้องคนไทยจากโทษภัยของสารนี้ อย่าให้การ ผลิตเนือ้ สัตว์ทมี่ คี ณ ุ ภาพและมาตรฐานในระดับสากลทีด่ ำ� เนินการมาตลอด ต้อง สูญเปล่า และอย่าเอาสิ่งที่ฝรั่ง (บางพวก) คิดและก�ำหนดเกณฑ์สากลมาบังคับ จนละเลยมองข้ามมาตรฐานของตัวเอง
10 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Thailand Focus
ก.เกษตรฯ ทำ�ระบบคอมพาร์ทเมนต์ ปลอดโรคปาก และเท้าเปื่อยในสุกร กระทรวงเกษตรฯ มุ่งด�ำเนินการจัดท�ำ ระบบคอมพาร์ทเมนต์ ปลอดโรคปากและเท้า เปื่อยในสุกร เพื่อการส่งออกไปยังสาธารณรัฐ ประชาชนจีน นายลักษณ์ วจนานวัช รัฐมนตรีชว่ ยว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลัง ลงพื้นที่ตรวจราชการงานตามนโยบายกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ณ จังหวัดล�ำพูน และจังหวัด ล�ำปาง ว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรม ปศุสตั ว์ ได้ดำ� เนินการจัดท�ำระบบคอมพาร์ทเมนต์ ปลอดโรคปากและเท้าเปือ่ ยในสุกร เพือ่ การส่งออก ไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึง่ ขัน้ ตอนการจัดท�ำ ระบบคอมพาร์เมนต์ปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย ในสุกร ประกอบด้วย การประเมินความเสีย่ งระบบ ความปลอดภัยทางชีวภาพ การเฝ้าระวังในระบบ คอมพาร์ทเมนต์และพื้นที่กันชน การจัดท�ำระบบ ตรวจสอบย้อนกลับ แผนการรับมือฉุกเฉินกรณี
เกิดโรคระบาด ระบบการควบคุมเคลือ่ นย้าย และ ระบบเอกสารและการจดบันทึก เป็นต้น ซึ่งเมื่อ กรมปศุสัตว์ร่างหลักเกณฑ์ขั้นตอนการด�ำเนิน การดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว จะจัดให้มีการประชาพิจารณ์ เพือ่ ให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียเข้ามามีสว่ นร่วม ในการก�ำหนดหลักเกณฑ์ด้วย ทัง้ นี้ ในพืน้ ทีป่ ศุสตั ว์เขต 5 ครอบคลุมพืน้ ที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย แพร่ น่าน พะเยา ล�ำปาง ล�ำพูน และแม่ฮ่องสอน มีฟาร์มสุกรที่มีมาตรฐาน GAP และฟาร์มสุกร ปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยที่ได้ผ่านการรับรอง จากกรมปศุสัตว์ รวมทั้งมีท่ีตั้งของฟาร์มห่างจาก ปัจจัยเสี่ยง เช่น ตลาดนัดค้าสัตว์และโรงฆ่าสัตว์ อย่างน้อย 5 กิโลเมตร ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดล�ำปาง และ ล�ำพูน จ�ำนวน 16 ฟาร์ม ซึ่งเป็นฟาร์มสุกรที่มี ศักยภาพในการพัฒนาให้เป็นระบบคอมพาร์ทเมนต์ ปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยได้ในอนาคต
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
11
Thailand Focus
เร่งดันส่งออกไข่ไก่เพิ่ม ปศุสัตว์หารือ 16 บริษัทผู้ผลิตไก่ ลดน�ำเข้าแม่พันธุ์แก้ล้นตลาด
กรมปศุสัตว์เผยผลหารือแก้ปัญหาไข่ไก่ ล้นตลาด ได้ 3 ข้อยุติ คาดส่งผลผลิตไม่เกิน 40 ล้านฟอง ดึงราคาเป็นธรรมทุกฝ่าย นายอภัย สุทธิสังข์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิ ด เผยว่ า ให้ น.สพ.สมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิบดีกรม ปศุสัตว์ ในฐานะมิสเตอร์ไก่ไข่ของกระทรวง เชิญ 16 บริษทั เอกชนผูผ้ ลิตไก่ไข่รายใหญ่ มาเจรจาเพือ่ ขอความร่วมมือในการลดปริมาณน�ำเข้าปู่ย่าพันธุ์ ไก่ไข่ (GP) และพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ (PS) เพื่อลด ปริมาณผลผลิตแม่ไก่ยืนกรง ส่งผลให้ผลผลิต ไข่ไก่ในแต่ละวันจะไม่เกิน 40 ล้านฟอง สร้าง สมดุลราคาไข่ไก่ในประเทศทัง้ ผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภค น.สพ.สมชวน กล่าวว่า 16 บริษทั ได้หารือ และได้ข้อยุติ 3 ข้อ เพื่อช่วยกันสร้างสมดุลของ ราคาไข่ไก่ในประเทศไม่ให้ตกต�่ำ ประการแรก บริษัททั้ง 16 ราย จะลดการน�ำเข้าไก่จีพีเหลือ 4,500 ตัว จากโควตาปี 2561 ที่คณะกรรมการ นโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) ได้อนุมัติไว้ 5,500 ตัว ในขณะที่ปริมาณน�ำเข้า ไก่พีเอสจะน�ำเข้าตามโควตา 5.5 แสนตัน และ 2. ผลักดันการส่งออกไข่ไก่ไปต่างประเทศ เป็น จ�ำนวน 50 ตู้คอนเทนเนอร์/เดือน หรือ 16 ล้าน ที่มา : โพสต์ทูเดย์ ฉบับวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2561
12 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
ฟอง/เดือน ต่อเนื่องเป็นเวลา 3 เดือน (เม.ย. - มิ.ย. 2561) โดยจะตรวจสอบและประเมินผล ทุกเดือน ทั้งนี้คาดว่าราคาไข่น่าจะปรับสูงขึ้นช่วง กลางเดือน เม.ย. 2561 นี้ และ 3. กรณีหากมี การขยายฟาร์มไก่ไข่แห่งใหม่ทมี่ ปี ริมาณการเลีย้ ง ตัง้ แต่ 3 แสนตัวขึน้ ไป จะต้องมีแผนการตลาดและ แผนธุรกิจที่ชัดเจนรองรับให้เอ้กบอร์ดพิจารณา “จากความร่วมมือดังกล่าว คาดว่าจะท�ำให้ ปริมาณไข่ที่ออกมาจะสมดุลกับความต้องการ บริโภควันละ 40 ล้านฟอง ช่วยดึงราคาไข่ไก่ ที่เกษตรกรขายได้ขยับเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งในเรื่องนี้ ทั้งผู้ผลิตรายย่อยและรายใหญ่เห็นตรงกันว่า ถ้า ไม่ชว่ ยกันก็อยูล่ ำ� บาก เดีย๋ วจะล้มกันหมด หากยังมี การน�ำเข้าปู่ย่าพันธุ์และแม่พันธุ์เข้ามามากเกินไป ซึ่งในการส่งออกอาจจะก�ำไรน้อย หรือขาดทุนนิด หน่อย แต่เมือ่ ราคาในประเทศปรับเพิม่ ขึน้ ก็จะมา ชดเชยรายได้ที่หายไป และก็จะช่วยให้เกษตรกร ในประเทศขายได้ในราคาที่ดีขึ้น แต่จะไม่แพงไป จนกระทั่งกระทบกับประชาชน เพราะเป็นโปรตีน ที่ดีและราคาถูก เรื่องไข่ไก่เป็นสินค้าที่อ่อนไหว ถูกไปก็กระทบคนเลีย้ ง แพงก็กระทบคนกิน” น.สพ. สมชวน กล่าว
Thailand Focus
Photo: Meaw & Pony
ทั้งนี้ กรมปศุสัตว์จะมีการจัดชุดเฉพาะกิจให้เข้าไปตรวจสอบปริมาณพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ และการ น�ำเข้า การปลดไก่ยืนกรงให้เป็นไปตามมติของเอ้กบอร์ด ซึ่งจะด�ำเนินการจริงจังเพื่อสร้างความเชื่อมั่น ให้ทกุ ฝ่าย ว่าข้อตกลงระหว่างผูเ้ ลีย้ งรายใหญ่ และรายย่อยทีม่ เี อ้กบอร์ดเป็นตัวกลางจะมีการปฏิบตั จิ ริง อย่างไรก็ตาม ทีผ่ า่ นมากลุม่ เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งไก่ไข่รายย่อยทัว่ ประเทศ ได้เรียกร้องให้รฐั บาลแก้ไข ปัญหาราคาไข่ไก่ตกต�่ำต่อเนื่องเพราะปริมาณไข่ไก่ล้นตลาด โดยให้เร่งตรวจสอบลดจ�ำนวนการน�ำเข้า ปู่ย่าพันธุ์ไก่ ปลดแม่ไก่ยืนกรงของบริษัทรายใหญ่ และลดการน�ำเข้าจาก 6 แสนตัว/ปี ให้เหลือ 3 - 4 แสนตัว/ปี ซึ่งที่ผ่านมาเอ้กบอร์ดได้เคยมีมติระยะสั้นก�ำหนดให้บริษัทและฟาร์มรายใหญ่ปลดแม่ไก่ไข่ ยืนกรงอายุไม่เกิน 72 สัปดาห์ ไปแล้วจ�ำนวน 8.1 แสนตัว เพื่อลดปริมาณผลผลิตไข่ไก่ลง ส�ำหรับ ไก่จพี แี ต่ละตัว จะให้ลกู ทีเ่ ป็นไก่พเี อสประมาณ 60 ตัว/ปี และไก่พเี อสจะให้ลกู ประมาณ 90 - 100 ตัว/ปี ก่อนหน้าปี 2559 มีการขอน�ำเข้าไก่ PS จ�ำนวน 6.2 แสนตัว ปี 2560 จ�ำนวน 6.1 แสนตัว และ ปี 2561 จ�ำนวน 5.5 แสนตัว
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
13
Thailand Focus
ไทยส่งสัตว์ปีกเที่ยวปฐมฤกษ์ไปจีน chick
name YOUR R
NUMBE 123 4567 000
คาดสร้างรายได้ 7 พันล้านบาทต่อปี
นายลักษณ์ วจนานวัช รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า เดิม ประเทศไทยเคยส่งออกสินค้าเนื้อสัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ปีกปรุงสุกไปยังประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีนอย่างต่อเนื่อง แต่ได้หยุดส่งออกเนื่องจากการเกิดโรคไข้หวัดนกระบาด ในช่วงต้นปี 2547 และตามทีก่ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์มนี โยบายส่งเสริมการส่งออก ในปี 2560 กรมปศุสตั ว์จงึ ได้เชิญ คณะผู้เชี่ยวชาญจากจีน มาตรวจสอบระบบการก�ำกับดูแลการผลิตเนื้อสัตว์ปีก และตรวจสอบโรงงาน เชือดสัตว์ปีกในประเทศไทย จ�ำนวน 19 แห่ง หลังการตรวจสอบเสร็จสิ้น ฝ่ายจีนมีความพึงพอใจ เป็นอย่างมาก จนน�ำไปสู่การร่วมจัดท�ำพิธีสาส์นว่าด้วยเงื่อนไขหลักเกณฑ์การตรวจสอบการกักกันและ สุขอนามัยในการน�ำเข้าไก่แช่แข็งและชิ้นส่วนจากราชอาณาจักรไทย ไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างส�ำนักงานก�ำกับควบคุมคุณภาพตรวจสอบและกักกันแห่งชาติ (AQSIQ) สาธารณรัฐและ ประชาชนจีน และกรมปศุสัตว์ ด้านนายสัตวแพทย์อภัย สุทธิสังข์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวเพิ่มเติมว่า เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ทีผ่ า่ นมา ส�ำนักงานการขึน้ ทะเบียนรับรองและหน่วยรับรองระบบงานแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน หรือ CNCA ได้ประกาศขึ้นทะเบียนรายชื่อบริษัทผู้ผลิตเนื้อไก่สดของไทยจ�ำนวน 7 ราย ท�ำให้ประเทศไทย สามารถส่งออกเนือ้ ไก่สดได้อกี ครัง้ ตัง้ แต่วนั ที่ 7 มีนาคม 2561 เป็นต้นไป โดยจีนก�ำหนดให้ขนส่งสินค้า ผ่านเฉพาะทางท่าเรือกวนเล่ย เมืองเชียงรุง้ หรือจิง่ หง เขตปกครองตนเองสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ซึง่ เป็นเมืองท่าหน้าด่านของจีนติดชายแดนลาว และอยูใ่ กล้กบั เขต อ.เชียงแสน จ.เชียงราย โดยประเมิน ว่าการส่งออกของทั้ง 7 โรงงาน จะสร้างรายได้ประมาณ 7,000 ล้านบาท ต่อปี แต่ถ้าได้รับรองโรงงาน ครบทั้ง 19 แห่ง จะสร้างรายได้ให้แก่ประเทศไทยประมาณ 20,000 ล้านบาทต่อปี
ที่มา : สยามธุรกิจ ฉบับวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2561
14 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Thailand Focus
สัญญาณบวก...ไก่ไทยปีนข้ามกำ�แพงเมืองจีน ๏ เพ็ญภัสสร์ วิจารณ์ทัศน์ ๏ เมื่อเดือนก่อนมีเหตุถึงไข้หวัดนก ภาครัฐ ผูร้ บั ผิดชอบในเรือ่ งนีอ้ ย่าง กรมปศุสตั ว์ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ และกรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข จึงจับมือกันอธิบายว่าไม่ใช่ความจริง ขอประชาชนอย่าตืน่ ตระหนก พร้อมยันยันว่า ไทย ไม่พบผู้ป่วยไข้หวัดนกมากว่า 10 ปีแล้ว ที่น่าสนใจคือ ในสัปดาห์เดียวกันจีนสั่งซื้อ และอนุญาตให้ไก่ไทยข้ามก�ำแพงเมืองจีนไปขาย ผู้บริโภคชาวจีนในเขตจีนตอนใต้ เป็นการตอกย�้ำ ว่าจีนเชือ่ มัน่ ในคุณภาพความปลอดภัยทางอาหาร ของไก่ไทย ซึง่ ช่วยยืนยันว่า ไทยมีระบบการป้องกัน ไข้หวัดนกอย่างรัดกุมเข้มแข็งมาตลอดกว่า 10 ปี แม้ปจั จุบนั ไทยยังคงสถานะประเทศปลอด โรคไข้หวัดนก ตามรายงานขององค์การโรคระบาด สัตว์ระหว่างประเทศ โอไออี ขณะทีห่ ลายประเทศ ยังคงตรวจพบการแพร่ระบาดของเชื้ออยู่ นัน่ เป็นเพราะบ้านเรา มีการยกระดับมาตรฐานการเลี้ ย ง พั ฒ นาระบบการควบคุ ม ความ ปลอดภัยทางชีวภาพ หรือระบบสุขาภิบาลป้องกัน โรค (biosecurity) มีการก�ำหนดเกณฑ์ และตรวจ รับรองฟาร์มมาตรฐานของกรมปศุสัตว์ ควบคู่กับ การจัดให้มีระบบการเฝ้าระวังเชิงรุกและเชิงรับ (active and passive surveillance) การตรวจ ประเมินสุขภาพสัตว์ รวมทั้งมีการตรวจติดตาม ข้อมูลข่าวสารเรื่องโรคอย่างต่อเนื่อง
ระบบคอมพาร์ทเม้นต์หมายรวมถึง การที่ สถานประกอบการ หรือกลุม่ สถานประกอบการ ซึ่งทราบสถานภาพของโรคไข้หวัดนกภายใต้ ระบบการจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพร่วม กัน ตามหลักการวิเคราะห์ อันตรายและจุดวิกฤติ ที่ต้องควบคุมส�ำหรับโรคไข้หวัดนก โดยจะให้ ความส�ำคัญ การจัดการด้านความปลอดภัยทาง ชี ว ภาพที่ เ ชื่ อ มโยงภายในหน่ ว ยงานและสถาน ประกอบการอื่นที่เกี่ยวข้อง พร้อมด้วยมาตรการ เฝ้าระวังและควบคุมโรค เพือ่ ให้ฝงู สัตว์ปกี มีสถานะ ปลอดจากโรคไข้หวัดนก องค์ประกอบส�ำคัญด้านการจัดการใน 4 หมวดหลัก ได้แก่ 1. มาตรฐานการจัดการความ ปลอดภัยทางชีวภาพส�ำหรับสถานประกอบการ ตามหลักการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ ต้องควบคุม หรือ HACCP ส�ำหรับโรคไข้หวัดนก 2. การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในฟาร์ม และพื้นที่ กันชนรัศมี 1 กิโลเมตรรอบฟาร์ม ตามข้อก�ำหนด ของกรมปศุสัตว์ 3. การควบคุมโรคไข้หวัดนกใน ฟาร์ม และพืน้ ทีก่ นั ชนรัศมี 1 กิโลเมตรรอบฟาร์ม ตามข้อก�ำหนดของกรมปศุสตั ว์ และ 4. การตรวจ สอบย้อนกลับ ขอยกตัวอย่าง ฝ่ายวิชาการของซีพีเอฟ ที่ น�ำระบบคอมพาร์ทเม้นต์มาใช้ในอุตสาหกรรม อาหารแปรรูปครบวงจร โดยด�ำเนินการทั้ง 4
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
15
Thailand Focus หมวดหลัก ตั้งแต่โรงงานอาหารสัตว์ ที่คัดสรร วัตถุดบิ อย่างดี ขณะทีโ่ รงฟักไข่สตั ว์ปกี ใช้ระบบการ ผลิตตามหลักการอาหารปลอดภัยเช่นเดียวกับ โรงงานอาหารแปรรูป จากนั้นลูกไก่จะถูกส่งเข้า เลีย้ งในฟาร์มมาตรฐานในโรงเรือนปิดระบบปรับ อากาศด้วยการระเหยของน�้ำ (EVAP) มีระบบ คอมพิวเตอร์ควบคุมการเลี้ยงจากภายนอก โดย ผู้เลี้ยงไม่ต้องเข้าไปภายในโรงเรือน ระบบจะ จัดการสภาพแวดล้อมภายในโรงเรือนให้สตั ว์ปกี อยู่อย่างสบาย และรายงานข้อมูลการเลี้ยงตาม เวลาจริง พร้อมทัง้ สามารถตรวจสอบข้อมูลย้อน กลับได้ตลอดเวลา เมื่อต้องเข้าปฏิบัติงานภายในโรงเรือน ผู้ ปฏิบัติงานต้องท�ำความสะอาด ฆ่าเชื้อมือ และ รองเท้าก่อนสัมผัสสัตว์ปีก รวมถึงรถขนส่งและ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ต้องผ่านน�้ำยาฆ่าเชื้อทั้งหมด ทีส่ ำ� คัญต้องมีโปรแกรมการควบคุมและก�ำจัดสัตว์ พาหะ เพือ่ ป้องกันไม่ให้โรคเข้าไปปนเปือ้ นสัตว์ปกี ภายในโรงเรือนได้ ตลอดจนมีโปรแกรมการเฝ้า ระวังโรค ทัง้ ทีฟ่ าร์มและพืน้ ทีก่ นั ชนรัศมี 1 กิโลเมตร รอบฟาร์มตามข้อก�ำหนดของกรมปศุสัตว์
16 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
อี ก ทั้ ง มี ม าตรการตรวจสอบก่ อ นการจั บ ไก่เนื้อ หรือเป็ดเนื้อส่งมอบโรงงาน เพื่อให้มั่นใจ ว่าสัตว์ปีกปราศจากเชื้อก่อโรค และปลอดจาก สารตกค้างทีเ่ ป็นอันตราย สุดท้ายไก่เนือ้ ทีถ่ กู เลีย้ ง จากฟาร์มในระบบคอมพาร์ทเม้นต์เท่านั้น ที่จะ ถูกส่งเข้าโรงงานแปรรูปที่มีมาตรฐานการจัดการ ความปลอดภัยทางชีวภาพ ช่วยสร้างหลักประกัน คุณภาพความปลอดภัยของอาหาร เมือ่ เข้าสูฤ่ ดูรอ้ น ซึง่ ไม่ใช่ชว่ งทีม่ นี กอพยพ ลักษณะอากาศร้อน ไม่เอือ้ ต่อการแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัส จึงสบายใจได้ในแง่ของปัญหาไข้หวัดนก แต่อย่างไรก็ตาม เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ปีก ควร ต้องยกระดับฟาร์มให้เป็นฟาร์มมาตรฐาน ใช้ มาตรการการป้องกันโรคตั้งแต่ต้นทาง และใช้ กระบวนการเลี้ยงสัตว์ด้วยวิธีที่ถูกต้องตามค�ำ แนะน�ำของกรมปศุสัตว์ และสัตวแพทย์ควบคุม ฟาร์ม ก็จะมัน่ ใจได้วา่ สามารถป้องกันโรคไข้หวัดนก ได้อย่างแน่นอน บ้านเรารักษามาตรฐานกันมาได้แล้วกว่า 10 ปี ขอแค่อย่าละเลย และโปรดเข้มงวดต่อ ระบบมาตรฐานที่วางไว้ ประเทศไทยก็จะรอด ปลอดภัยจากโรคระบาดสัตว์ เห็นต่างชาติเชือ่ มัน่ ไทยเราเพียงใด คนไทยด้วยกันควรต้องมั่นใจ ใน ประเทศของเรายิ่งกว่า... ไม่งั้นไก่ไทยคงไม่มีแรง บินไปยุโรป ญี่ปุ่น ตะวันออกลาง และล่าสุดคง ไม่มีแรงปีนข้ามก�ำแพงเมืองจีนไปได้อย่างที่เห็น
Thailand Focus
3 ประสานจับมือหารือร่วมแนวทาง
พัฒนาปาล์มน�้ำมันทั้งระบบ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่ ว มกั บ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพาณิชย์ จับมือบูรณาการหาแนวทางพัฒนาอุตสาหกรรม ปาล์มน�้ำมันทั้งระบบให้มีเสถียรภาพ ตามยุทธศาสตร์การปฏิรูปปาล์มน�้ำมันและน�้ำมันปาล์มทั้ง ระบบ ปี 2560 - 2579 เน้นการเพิ่มอัตราการ สกัดน�้ำมันปาล์มดิบให้ได้ไม่น้อยกว่า 18% และ ราคาจ�ำหน่าย พร้อมก�ำหนดมาตรการให้ชาวสวน ตัดปาล์มให้ได้คณ ุ ภาพเป็นไปตามมาตรฐานสินค้า เกษตร มกษ. นายส�ำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรม ส่งเสริมการเกษตร เปิดเผยว่า เมือ่ เร็วๆ นีก้ ระทรวง เกษตรและสหกรณ์ มอบหมายให้กรมส่งเสริม การเกษตรเข้าร่วมประชุมเพื่อบูรณาการแนวทาง การพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์มน�้ำมันทั้งระบบ ให้ มีเสถียรภาพ ร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรม และ กระทรวงพาณิชย์ ณ ศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยกระทรวงพาณิชย์ ได้ให้ข้อมูลสถานการณ์ปาล์มน�้ำมันขณะนี้ว่า ยังมีปริมาณสต็อก น�ำ้ มันปาล์มดิบอยูใ่ นโรงงานเป็นจ�ำนวนมาก ส่งผล ให้ ร าคาผลผลิ ต ปาล์ ม ดิ บ ของเกษตรกรลดลง ประกอบกับเกษตรกรตัดทะลายปาล์มที่ยังไม่สุก ไปจ�ำหน่าย ท�ำให้อตั ราการสกัดปาล์มน�ำ้ มันดิบต�ำ่
จึ ง ได้ เ ร่ ง หาแนวทางการด� ำ เนิ น การตามยุ ท ธศาสตร์ ก ารปฏิ รู ป ปาล์ ม น�้ ำ มั น ทั้ ง ระบบ โดย กระทรวงอุตสาหกรรมเน้นเรื่องการก�ำหนดอัตรา การสกัดขัน้ ต�ำ่ ของโรงงานสกัดน�ำ้ มันปาล์มให้อยูท่ ี่ 18% และราคาทีโ่ รงงานรับซือ้ เป็นไปตามประกาศ คณะกรรมการกลาง ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ ของกระทรวงพาณิชย์ ขณะที่กระทรวงพาณิชย์ โดยกรมการค้าภายในได้พิจารณาแนวทางการ ก�ำหนดราคาวัตถุดิบ การก�ำกับควบคุมลานเท และการบริหารสต็อกน�้ำมันปาล์มเพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรและให้ราคาเป็นไปตามกลไกของตลาด โดยมี นายวิชวุทย์ จินโต ผู้ว่าราชการจังหวัด สุราษฎร์ธานี ได้น�ำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการขอความร่วมมือ โรงงานสกัดน�้ำมันปาล์มในการส่งออกเพื่อระบาย สต็อกออกไป และจัดท�ำแผนการขับเคลือ่ นพัฒนา ปาล์มน�้ำมันคุณภาพจังหวัดสุราษฎร์ธานีอย่าง ยั่งยืน โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ในจังหวัด ในส่วนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ก�ำหนดมาตรการให้ชาวสวนตัดทะลายปาล์ม คุ ณ ภาพให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานสิ น ค้ า เกษตร ทะลายปาล์มน�้ำมัน (มกษ. 5702 - 2552) ซึ่ง
ที่มา : มติชน ฉบับวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
17
Thailand Focus ก�ำหนดคุณภาพทั่วไปของทะลายปาล์มตามที่เก็บ เกี่ยวเพื่อจ�ำหน่าย ดังนี้ 1. ทะลายปาล์มต้องมี ลักษณะตรงตามพันธุ์ 2. เป็นทะลายปาล์มสุก ซึง่ ผลปาล์มน�้ำมันที่ส่วนใหญ่ผิวเปลือกสีส้ม หรือสี แดง และเนื้อปาล์มมีสีส้ม มีจ�ำนวนผลร่วงอย่าง น้อย 10 ผลต่อทะลาย หรือทะลายปาล์มกึ่งสุก เป็นผลปาล์มน�้ำมันที่ส่วนใหญ่ผิวเปลือกสีส้มแดง หรือสีแดงม่วง มีผลร่วงน้อยกว่า 10 ผลต่อทะลาย 3. มีความสด โดยไม่ผ่านการรดน�้ำ หรือมีการ กระท�ำใดๆ ที่เป็นการเร่งให้ดูเหมือนผลสุก หรือ ผลร่วง เช่น บ่มแก๊ส (ทะลายปาล์มน�้ำมันจะคง ความสดเมื่อขนส่งถึงโรงงานภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากเก็บเกี่ยว) 4. สะอาดและปราศจากสิ่ง แปลกปลอมที่มองเห็นได้ 5. ไม่มีความเสียหาย อันเนื่องมาจากศัตรูพืชที่มีผลกระทบต่อคุณภาพ ผลิตผล และ 6. ความยาวของก้านทะลาย ไม่เกิน 5 เซนติเมตร รวมทั้งการแบ่งชั้นคุณภาพทะลาย ปาล์มสุกออกเป็นชั้นพิเศษ ชั้นหนึ่ง และชั้นสอง รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวอีก ว่า สาเหตุที่ชาวสวนไม่เก็บเกี่ยวปาล์มสุก (ปาล์ม ไม่ได้คุณภาพ) เป็นเพราะเกษตรกรเจ้าของสวน ไม่ได้ตดั ปาล์มน�ำ้ มันเอง หรือไม่ได้ควบคุมคุณภาพ ในการตัดของผูร้ บั เหมา รวมทัง้ ความเข้าใจในการ เก็บเกีย่ วปาล์มสุกของแต่ละคนไม่ตรงกัน แนวทาง แก้ไขคือ การส่งเสริมให้ชาวสวนปาล์มน�ำ้ มัน รวม กลุ่มเกษตรกรในระบบส่งเสริมการเกษตรแบบ
18 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
แปลงใหญ่ ซึ่งก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินงาน ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ยกระดับคุณภาพ ผลผลิตสู่มาตรฐาน สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาด และเพิ่ ม ศั ก ยภาพการบริ ห ารการ จัดการ โดยในกลุ่มสินค้าปาล์มน�้ำมัน ได้น�ำระบบ ควบคุมภายใน (Internal Control System: ICS) มาปรับใช้ในการบริหารจัดการกลุ่ม เพื่อ ควบคุมคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐาน และให้กลุม่ เกษตรกรแปลงใหญ่ปาล์มน�้ำมันเลือกใช้ทีมตัด ปาล์มน�้ำมันของสมาชิกที่มีการด�ำเนินการอยู่แล้ว โดยจัดทีมตัดและให้จัดคิวให้กับสมาชิกในกลุ่ม ก่อน รวมทั้งจัดอบรมให้ความรู้กับเกษตรกร/ทีม ตัดปาล์มน�้ำมันของบริษัท/ลานเท/ทีมตัดปาล์ม น�้ำมันอิสระ พร้อมทั้งแจ้งให้เกษตรกรชาวสวน ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน�้ำมัน (ทบก.) กับกรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อจะได้ทราบข้อมูล จ�ำนวนพื้นที่ปลูกและปริมาณผลผลิต รวมถึงให้ การส่งเสริมในด้านต่างๆ ส�ำหรับวิธีจัดการปาล์ม ทะลายที่ไม่ได้คุณภาพ ให้จัดท�ำข้อตกลงภายใน กลุ่ม หากเกษตรกรรายใดไม่ปฏิบัติตาม ก็จะมี บทลงโทษตามข้อตกลงของแต่ละกลุม่ การด�ำเนิน การดังกล่าวจะได้รบั ความร่วมมือจากการเชือ่ มโยง เครือข่ายระหว่างกลุ่มเกษตรกร ลานเท/โรงงาน สกั ด ในการคั ด ผลผลิ ต ที่ ไ ม่ ไ ด้ คุ ณ ภาพส่ ง คื น เกษตรกร
Food Feed Fuel
สถานการณ์ »
ถั่วเหลือง
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน)
ปี 58
ปี 59
ปี 60
1.1 ผลผลิตพืชน�้ำมันโลก 1.2 ผลผลิตถั่วเหลือง 1.2.1 โลก 1.2.2 ไทย - ถั่วฤดูแล้ง - ถั่วฤดูฝน 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) 1.5 น�ำเข้า 1.6 ส่งออก ไทยน�ำเข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 เกษตรกรขายได้ (ชนิดคละ) 2.2 ขายส่ง ตลาด กทม. - เกรดแปรรูปอาหาร - เกรดผลิตอาหารสัตว์ - เกรดสกัดน�้ำมัน 2.3 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน
538.860
521.410
576.110
319.910 0.042 0.024 0.018
313.580 0.038 0.021 0.017
350.340 0.038 0.021 0.017
ปี 61
(ประมาณการ)
572.790
336.700 0.038 0.021 0.017
302.610 313.930 329.120 342.290 2.605 2.657 2.705 2.933* 16.145 15.789 15.553 2.557 2.957 2.746 2.900* 0.009 0.005 0.004 0.008* บราซิล 62% สหรัฐอเมริกา 35% แคนาดา 2% ลาว 70% กัมพูชา 18% เวียดนาม 11% ปี 59 ปี 60 เม.ย. 61 พ.ค. 61 14.47 15.73 17.06 17.23 19.02 18.02 16.64
20.55 18.64 18.32
21.50 19.50 18.50
21.21 19.21 18.50
12.86 362.84
12.24 358.66
11.98 381.23
12.02 374.81
ที่มา : 1.1. 1.2.1, 131.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ 1.2.2, 13.2, 1.4 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1.5, 1.6 กรมศุลกากร 2.1 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2.2 กรมการค้าภายใน 2.3 www.cmegroup.com *ประมาณการโดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
1. สถานการณ์ ปี 2561 1.1 เดือนพฤษภาคม ราคาขายส่งตลาด กทม. เกรดแปรรูปอาหารและเกรดผลิตอาหารสัตว์ ลดลง ส่วนเกรดสกัดน�้ำมันทรงตัว ในช่วง ม.ค. - เม.ย. 61 น�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง 955,472 ตัน สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อนร้อยละ 2 แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา แคนาดา
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
19
Food Feed Fuel ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกลดลงจากเดือนก่อนตันละ 6.42 US$ โดยผู้ส่งออก และนักลงทุนต่างชะลอการซื้อขายและรอดูสถานการณ์ เนื่องจากปัญหาข้อพิพาททางการค้าระหว่าง สหรัฐอเมริกา และจีนยังคงด�ำเนินต่อไปและไม่มีความชัดเจน ขณะที่กระทรวงเกษตรจีนคาดการณ์ ใน ปี 2560/61 พื้นที่เพาะปลูกถั่วเหลืองในจีนเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 8 และใน ปี 2561/62 จะ น�ำเข้าถั่วเหลืองจากสหรัฐอเมริกาลดลง 1.2 แนวโน้ม คาดว่าความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพื่อการอุปโภคบริโภคยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจีนซึ่งเป็นผู้ใช้รายใหญ่ของโลก กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน มิถุนายน 2561
ราคาเมล็ดถั่วเหลือง ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. ราคาที่เกษตรกรขายได้ เมล็ดถั่วเหลืองชนิดคละ 2557 19.36 - 18.16 19.27 20.00 - 17.35 17.35 2558 - 15.52 15.62 15.25 - 15.41 2559 - 15.00 14.50 14.02 14.22 - 14.17 2560 - 16.45 16.78 16.95 - 12.90 13.45 13.17 2561 16.39 16.75 15.94 17.06 17.23 2. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลติภัณฑ์อาหาร ตลาด กทม. 2557 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.09 2558 20.50 20.50 19.79 19.89 20.50 18.77 18.50 19.15 19.50 2559 19.50 18.90 18.50 18.50 18.50 19.27 19.50 19.50 19.50 2560 18.50 20.39 20.50 20.50 20.50 20.59 21.50 21.50 21.12 2561 21.26 21.50 21.50 21.50 21.21 3. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดผลติอาหารสัตว์ ตลาด กทม. 2557 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.09 2558 18.50 18.50 17.79 17.89 18.50 17.64 17.50 18.15 18.50 2559 18.50 17.90 17.50 17.50 17.50 18.27 18.50 18.50 18.50 2560 17.50 18.45 18.50 18.50 18.50 18.59 19.50 19.50 19.12 2561 19.26 19.50 19.50 19.50 19.21 4. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดสกัดน�้ำมัน ความชื้น 13.0% ตลาด กทม. 2557 19.65 19.65 19.65 19.72 20.95 20.95 20.85 20.65 18.67 2558 16.53 16.49 16.36 16.49 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 2559 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.99 17.25 16.80 16.60 2560 16.50 18.39 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 2561 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50
20 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
หน่วย : บาท/กก. ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
14.93 13.20 13.16
15.26 15.35 14.00 15.75
13.85 18.08 -15.46 -14.47 16.24 15.73 16.48
23.00 19.50 19.50 20.50
21.60 19.50 18.55 20.50
21.00 19.50 18.50 20.50
21.50 18.50 18.50 18.50
19.60 18.50 17.55 18.50
19.00 22.60 18.50 18.21 17.50 18.02 18.50 18.64 19.39
17.51 16.50 16.50 18.50
16.66 16.50 16.50 18.50
16.63 16.50 16.50 18.50
23.81 19.63 19.02 20.55 21.39
19.30 16.49 16.64 18.32 18.50
»»
Food Feed Fuel ««
ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชคิาโก 2557 15.75 16.29 16.98 17.77 17.81 17.24 14.93 13.93 11.92 11.55 12.49 2558 12.09 11.93 11.78 11.66 11.79 12.02 12.83 12.34 11.69 11.74 11.47 2559 11.74 11.44 11.57 12.54 13.81 14.94 13.76 12.92 12.43 12.62 13.09 2560 13.52 13.41 12.85 12.04 12.15 11.48 12.39 11.58 11.78 11.97 11.96 2561 11.46 11.75 12.01 11.98 12.02 6. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$ : ton, 1 ton = 36.743 Bushel) 2557 476.07 496.76 521.96 547.15 545.91 527.96 463.19 432.94 368.81 354.41 379.32 2558 367.46 364.70 359.58 356.89 351.92 354.79 372.29 346.99 323.51 327.39 318.84 2559 323.17 319.90 326.91 355.65 388.47 421.20 390.37 370.28 355.64 358.35 368.87 2560 379.56 381.13 366.07 347.82 350.15 336.35 365.41 345.50 353.68 358.24 361.39 2561 356.84 371.20 381.85 381.23 374.81
ธ.ค.
เฉลี่ย
12.52 14.93 11.78 11.93 13.49 12.86 11.77 12.24 11.84 378.75 325.78 375.25 358.44
457.77 347.51 362.84 358.65 373.19
ที่มา : 1. ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเฉลี่ยทั้งปีแบบถ่วงน�้ำหนักจ�ำนวนผลผลิต, 2-4 กรมการค้าภายใน, 5-6 www.cmegroup.com
ปริมาณการน�ำเข้าและส่งออกเมล็ดถั่วเหลือง ปี ม.ค. ก.พ. ปริมาณน�ำเข้า 2557 120,990 112,297 2558 128,352 148,493 2559 308,363 104,921 2560 123,980 332,007 2561 145,133 254,338 ปริมาณส่งออก 2557 187 49 2558 3,344 144 2559 599 218 2560 486 271 2561 269 279
หน่วย : ตัน
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
รวม
187,768 154,784 254,770 214,215 295,790
173,079 289,615 250,275 266,820 260,211
235,295 247,945 222,404 291,089
104,481 144,371 299,465 270,122
135,400 344,892 187,572 354,438
105,794 229,067 300,477 195,851
203,060 244,003 278,178 110,752
161,897 173,423 224,440 176,699
175,784 158,263 162,008 192,104
182,448 294,175 364,856 217,611
1,898,295 2,557,384 2,957,729 2,745,687 955,472
158 139 640 317 309
218 254 744 269 240
124 488 390 516
856 781 222 529
1,691 1,416 287 458
2,229 778 600 117
142 200 608 219
119 908 157 305
4,567 418 523 278
1,252 447 488 195
11,595 9,317 5,477 3,960 1,097
ที่มา : กรมศุลกากร ปี 2555-2561 พิกัด 12011009000 12019010001 และ 12019090090
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
21
Food Feed Fuel
สถานการณ์ »
กากถั่วเหลือง
1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน)
ปี 58
1.1 ผลผลิตโลก 1.1.1 วัตถุดิบอาหารสัตว์หมวดโปรตีน 1.2.2 กากถั่วเหลือง 1.2 ผลผลิต-ไทย 1.2.1 จากเมล็ดถั่วเหลืองในประเทศ 1.2.2 จากเมล็ดถั่วเหลืองน�ำเข้า 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 น�ำเข้า
ปี 59
ปี 60
ปี 61
(ประมาณการ)
300.960 208.608 1.241 0.014 1.227
306.090 215.961 1.434 0.011 1.423
321.490 225.810 1.413 0.008 1.405
334.690 235.121 1.445 0.009 1.437
201.737 4.351 2.695
213.075 4.506 2.578
222.344 4.674 2.958
232.187 4.789 3.352
(ม.ค.-เม.ย. 61)
1.5 ส่งออก (ตัน) 15,900 14,996 ไทยน�ำเข้าจาก บราซิล 66% อาร์เจนตินา 20% สหรัฐอเมริกา 12% ปารากวัย 2% ไทยส่งออกไป ลาว 68% กัมพูชา 29% เวียดนาม 3% 2. ราคา (บาท/กก.) ปี 59 ปี 60 เม.ย. 61 พ.ค. 61 2.1 ขายส่ง ตลาด กทม. - กากถั่วเหลืองในประเทศ - เมล็ดฯ ในประเทศ โปรตีน 44-48% 19.54 20.50 - เมล็ดฯ น�ำเข้า โปรตีน 44-46% 15.74 14.08 14.73 14.91 - กากถั่วเหลืองน�ำเข้า - โปรตีน 46-48% 15.30 13.87 14.40 14.59 2.2 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. 12.42 11.86 13.19 13.60 - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 350.48 347.50 419.73 423.84 ที่มา : 1.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA), 1.2 โรงงานสกัดน�้ำมันรายงานตามบันทึกข้อตกลงการรับซื้อกากถั่วเหลือง 1.3.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA), 1.3.2 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1.4, 1.5 กรมศุลกากร, 2.1 กรมการค้าภายใน, 2.2 www.cmegroup.com
22 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Food Feed Fuel
1. สถานการณ์ ปี 2561 1.1 เดือนพฤษภาคม ราคาขายส่งตลาด กทม. กากถัว่ เหลืองผลิตจากเมล็ดถัว่ เหลืองน�ำเข้า และ กากถั่วเหลืองน�ำเข้าสูงขึ้นจากเดือนก่อน สอดคล้องกับราคาตลาดโลก ในช่วง ม.ค. - เม.ย. 61 น�ำเข้ากากถั่วเหลือง 1,015,684 ตัน สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อนร้อยละ 15 แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ บราซิล อาร์เจนตินา สหรัฐอเมริกา ปารากวัย อินเดีย ราคาซือ้ ขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกสูงขึน้ จากเดือนก่อนตันละ 4.11 US$ โดยนักลงทุนยังกังวล ปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองและกากถั่วเหลืองในตลาดโลก สืบเนื่องจากปัญหาสภาพอากาศที่แปรปรวน และไม่เอื้ออ�ำนวยต่อการเพาะปลูกในหลายประเทศแถบอเมริกาใต้ โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกถั่วเหลือง ในอาร์เจนตินาเผชิญกับสภาพอากาศแห้งแล้งรุนแรงในปีนี้ ซึ่งอาร์เจนตินาเป็นผู้ส่งออกกากถั่วเหลือง อันดับ 1 ของโลก 1.2 แนวโน้ม คาดว่าความต้องการกากถั่วเหลืองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ตามการขยายตัวของ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และภาคปศุสัตว์ กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน มิถุนายน 2561
ราคากากถั่วเหลือง
หน่วย : บาท/กก.
ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย 1. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดในประเทศ โปรตีน 44-48% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2557 19.33 19.18 19.85 20.45 20.45 20.45 20.45 20.45 19.33 - 19.99 2558 18.63 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.37 2559 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 19.78 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 19.54 2560 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 2561 20.50 20.50 20.50 2. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดน�ำเข้า โปรตีน 44-46% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2557 19.40 18.93 19.53 20.13 19.97 19.73 19.48 19.23 18.66 18.16 18.08 17.40 19.06 2558 17.20 17.47 16.38 15.88 15.05 14.86 14.39 15.48 15.75 15.75 15.75 15.75 15.81 2559 15.67 15.55 15.33 15.05 15.58 17.18 17.75 16.30 15.19 14.45 15.40 15.40 15.74 2560 15.19 15.03 14.59 14.30 14.18 13.49 13.57 13.52 13.51 13.64 13.53 14.35 14.08 2561 15.11 14.88 14.73 14.73 14.91 14.87
»»
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
23
Food Feed Fuel ««
ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 3. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองน�ำเข้าจากต่างประเทศ โปรตีน 46-48% ณ โกดังผู้น�ำเข้า ตลาด กทม. 2557 19.53 19.04 19.50 20.05 19.90 19.65 19.41 19.15 18.45 17.65 2558 17.29 17.17 16.45 16.10 14.54 14.43 13.94 15.49 15.78 15.35 2559 15.26 15.05 14.83 14.55 14.75 16.41 16.75 15.89 15.19 14.45 2560 14.93 14.81 14.51 14.16 14.03 13.30 13.46 13.32 13.31 13.39 2561 14.65 14.49 14.40 14.40 14.59 4. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2557 15.66 16.37 16.48 17.33 17.72 16.96 14.54 14.40 13.22 12.34 2558 12.47 12.24 11.95 11.42 11.41 11.99 13.61 13.17 12.39 12.11 2559 10.79 10.42 10.48 11.65 14.52 15.73 14.21 12.72 11.97 11.87 2560 12.99 13.07 12.53 11.86 11.36 11.08 12.11 11.21 11.21 11.64 2561 11.54 12.58 13.00 13.19 13.60 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$ : ton, 1 ton = 1.1023 shortton) 2557 473.37 499.18 506.69 533.63 543.20 519.27 451.02 447.82 409.10 378.82 2558 379.04 374.25 364.86 349.71 340.47 353.90 394.90 370.40 342.95 337.64 2559 297.17 291.33 296.07 330.53 408.26 443.41 403.28 364.48 342.40 337.13 2560 364.70 371.52 356.88 342.63 327.30 324.52 357.23 334.55 336.64 348.42 2561 359.30 397.39 413.49 419.73 423.84 ที่มา : 1-3 กรมการค้าภายใน, 4-5 www.cmegroup.com
ปริมาณการน�ำเข้ากากถั่วเหลือง ปี 2557 2558 2559 2560 2561
ม.ค. 300,017 334,956 156,369 326,955 185,574
ก.พ. 192,330 155,171 183,446 124,199 197,553
มี.ค. 264,309 134,282 230,664 230,786 307,289
เม.ย. 171,348 288,818 333,744 201,149 325,268
พ.ค. 309,139 316,874 267,025 387,340
มิ.ย. 126,354 253,597 239,435 257,665
พ.ย.
เฉลี่ย
17.56 17.55 18.95 15.25 15.39 15.60 15.31 15.13 15.30 13.15 14.06 13.87 14.51 13.94 13.82 15.23 11.52 11.19 12.12 12.27 12.44 12.42 11.58 11.68 11.86 12.78 423.25 320.34 345.84 349.90
418.08 309.54 345.83 355.76
466.95 353.17 350.48 347.50 402.75
หน่วย : ตัน ก.ค. 240,352 289,297 254,968 166,003
ส.ค. 232,571 241,220 84,030 256,745
ก.ย. 385,673 107,049 243,874 292,628
ต.ค. 237,304 114,604 97,205 168,728
พ.ย. 259,811 240,591 263,869 359,410
ที่มา :กรมศุลกากร ปี 2555-มิ.ย. 60 พิกัด 23040090000 ตั้งแต่ มิ.ย. 60 เป็นต้นไป พิกัด 23040090001
24 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
ธ.ค.
ธ.ค. 168,802 218,290 223,371 186,331
รวม 2,888,009 2,694,748 2,578,000 2,957,938 1,015,684
Food Feed Fuel
สถานการณ์ »
ปลาป่น
1. ผลผลิตและการใช้ 1.1 ผลผลิต (ล้านตัน) - โลก (USDA) - ไทย (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 1.2 ความต้องการใช้ (ล้านตัน) - โลก (USDA) - ไทย (กรมปศุสัตว์) 1.3 น�ำเข้า (ตัน) (กรมศุลกากร) 1.4 ส่งออก (ตัน) (กรมศุลกากร)
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
ปี 2561*
∆ %
(มี.ค.)
4.69 0.38
4.51 0.31
4.87 0.57 31,106 155,914
4.76 0.51 72,654 154,572
5.06 0.32
4.60 0.35
5.45 4.86 0.53 0.55 62,601 15,909** 78,829 28,529**
9.09 9.37
10.83 4.28 -
* = ประมาณการ, ** = ข้อมูลเดือน ม.ค.-ก.พ.61
2. ราคาปลาเป็ดและปลาป่น 2.1 ปลาเป็ด (บาท/กก.) (1) ดี (สด) (2) รอง (ไม่สด) 2.2 ปลาป่น_ขายส่ง (บาท/กก.) (1) โปรตีน ต�่ำกว่า 60% - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 (2) โปรตีน 60% ขึ้นไป - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 2.3 ปลาป่นตลาดเปรู โปรตีน 65% ขึ้นไป - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน (คิดเป็น โปรตีน 60% : บาท/กก.)
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560
ปี 2561 ก.พ. มี.ค.
∆ %
8.97 6.51
8.87 6.64
8.65 6.87
8.98 7.05
9.31 7.13
39.18 36.94
36.19 31.13
34.33 31.64
37.00 34.00
37.00 34.00
-
41.10 39.31
38.49 33.78
37.33 33.96
40.00 36.00
40.00 36.00
-
1,622 1,432 1,207 1,545 1,472 (51.31) (46.87) (37.97) (45.12) (42.71)
3.67 1.34
4.72 -
ที่มา : 2.1, 2.2 สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย, 2.3 http://hammersmithltd.blogspot.com
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
25
Food Feed Fuel
1. สถานการณ์ปลาป่น ปี 2561 1.1 สถานการณ์ปลาป่น เดือนมีนาคม 2561 ปริมาณปลาเป็ดเข้าสู่โรงงานน้อยในช่วงปิดอ่าว แต่มีการน�ำเข้าปลาป่นคุณภาพดีเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ขณะที่ ผลผลิตส่วนหนึ่งยังส่งออกไปตลาดปลายทางได้ ราคาปลาป่นทรงตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อน 2.2 น�ำเข้า-ส่งออก ปี 2561 เดือนกุมภาพันธ์ 2561 มีการน�ำเข้าปลาป่น ปริมาณ 7,257 ตัน ลดลงจากเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 16 ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 90 โดย น�ำเข้าแล้ว (ม.ค. - ก.พ. 61) ปริมาณ 15,909 ตันส่วนการส่งออกมีปริมาณ 11,638 ตัน ลดลงจาก เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 31 ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 77 โดยส่งออกแล้ว (ม.ค. - ก.พ. 61) ปริมาณ 28,529 ตัน 2.3 แนวโน้ม วัตถุดบิ ในการผลิตลดลง โดยผูป้ ระกอบการน�ำเข้าปลาป่นตามมาตรฐานทีต่ อ้ งการ เพือ่ ใช้ในอุตสาหกรรมอย่างต่อเนือ่ ง ขณะทีผ่ ลผลิตในประเทศส่วนหนึง่ ยังส่งออกได้ คาดว่าราคาปลาป่น จะปรับตัวลดลง แต่ยังอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน เมษายน 2561
ราคารับซื้อปลาเป็ดและปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1. ปลาเป็ด (ดี/สด) (บาท/กก.) (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 2559 8.38 8.34 8.41 8.44 8.51 8.77 9.09 9.38 2560 9.18 9.24 9.24 8.93 8.49 8.20 8.20 8.28 2561 8.95 8.98 9.31 2. ปลาเป็ด (รอง/ไม่สด) (บาท/กก.) (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 2559 6.53 6.24 6.20 6.22 6.34 6.58 6.81 7.07 2560 6.83 6.91 6.95 6.90 6.80 6.76 6.74 6.78 2561 6.99 7.05 7.13 3. ปลาป่น เกรดกุ้ง (บาท/กก.) (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 2559 40.30 40.00 40.00 40.71 41.72 43.09 44.00 44.64 2560 39.00 40.00 39.87 37.84 36.50 36.50 36.92 38.32 2561 42.00 42.00 42.00 4. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 1 (บาท/กก.) (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 2559 35.30 35.00 35.00 35.71 36.72 38.09 39.00 39.64 2560 33.25 35.00 34.87 33.81 33.00 33.00 33.42 34.55 2561 37.00 37.00 37.00
26 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
9.34 8.37
9.27 8.37
9.33 8.37
9.14 8.87
8.87 8.65 9.08
7.01 6.87
6.92 6.95
6.89 6.94
6.89 6.95
6.64 6.87 7.06
43.55 40.10 40.64 39.15 41.49 39.00 39.00 39.00 40.53 38.54 42.00 37.95 34.10 34.64 33.15 36.19 35.00 35.00 35.00 36.11 34.33 37.00
»»
Food Feed Fuel ««
เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 5. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 2 (บาท/กก.) (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 2559 31.45 31.00 31.00 31.00 31.28 32.00 31.44 31.64 31.95 30.00 2560 30.25 32.00 31.87 31.00 31.00 31.00 31.42 32.00 32.00 32.00 2561 34.00 34.00 34.00 6. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 1 (บาท/กก.) (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 2559 37.30 37.00 37.00 37.71 38.72 40.09 41.00 41.64 40.55 37.10 2560 36.25 38.00 37.87 36.81 36.00 36.00 36.42 37.55 38.00 38.00 2561 40.00 40.00 40.00 7. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 2 (บาท/กก.) (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 2559 33.45 33.00 33.00 33.00 33.28 34.00 34.00 34.64 35.09 34.00 2560 33.25 35.00 34.87 33.81 33.00 33.00 33.42 34.00 34.00 34.00 2561 36.00 36.00 36.00 8. ปลาป่น โปรตีน 65% F.O.B. ตลาดเปรู (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) (http://hammersmithltd.blogspot.com) 2559 1,550 1,333 1,366 1,363 1,350 1,655 1,605 1,550 1,340 1,365 2560 1,277 1,272 1,217 1,180 1,118 1,060 1,122 1,160 1,160 1,191 2561 1,569 1,545 1,472 9. ปลาป่น โปรตีน 60% F.O.B. ตลาดเปรู (บาท/กก.) (ค�ำนวณเป็นเงินบาท) 2559 51.99 44.00 44.66 44.35 44.37 54.19 52.21 49.92 43.16 44.37 2560 41.99 41.30 39.38 37.71 35.74 33.42 35.11 35.79 35.67 36.74 2561 46.43 45.12 42.71
พ.ย.
ธ.ค.
เฉลี่ย
30.77 30.00 31.13 32.00 33.11 31.64 34.00 37.64 36.15 38.49 38.00 39.11 37.33 40.00 34.77 33.15 33.78 34.00 35.11 33.96 36.00 1,373 1,333 1,432 1,260 1,463 1,207 1,529 44.99 44.22 46.87 38.50 44.28 37.97 44.75
ปริมาณน�ำเข้าและส่งออกปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ปริมาณน�ำเข้า (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) (กรมศุลกากร) 2559 8,557 5,941 5,857 6,570 5,615 6,475 2560 7,493 3,829 6,933 5,306 7,181 7,401 2561 8,652 7,258 ปริมาณส่งออก (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) (กรมศุลกากร) 2559 7,041 15,215 18,941 13,158 18,436 19,991 2560 8,710 9,184 9,317 7,340 8,861 7,862 2561 16,891 11,638
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
6,890 5,702 5,546 7,753 4,641 2,846 3,269 3,923 3,169 5,867 4,175 4,055
รวม 72,394 62,601 15,909
16,713 12,005 7,953 8,517 9,139 6,785 153,894 7,963 6,187 4,133 3,337 3,024 2,912 78,829 28,529
หมายเหตุ : ปี 2558-2561 พิกัดอัตราศุลกากร 2301 2010 000, 2301 2020 000, 2301 2090 001, 2301 2090 090 และ 2301 1000 000
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
27
Food Feed Fuel
สถานการณ์ »
ไก่เนื้อ 2557
1. ผลผลิต ไก่มีชีวิต (ล้านตัว) ซากบริโภค (ล้านตัน) 2. ใช้ในประเทศ (ล้านตัน) 3. ส่งออก - ปริมาณ (ล้านตัน) - มูลค่า (ล้านบาท) 4. ต้นทุนการผลิต : (บาท/กก.) 5. ราคาไก่มีชีวิต หน้าโรงฆ่า กทม. (บาท/กก.)
2558
2559
2560
1,321 2.09 1.11 0.55 73,963
1,445 2.31 1.15 0.62 81,177
1,550 2.48 1.18 0.69 89,063
1,608 2.58 1.20 0.76 96,019
34.97 41.37
33.14 35.84
31.82 36.09
32.13 36.46
2561
(ประมาณการ)
1,659 2.58 1.23 0.26 30,265
(ม.ค.-เม.ย. 61)
31.50
(พ.ค. 61)
ที่มา : ผลผลิต, การใช้ : กรมปศุสัตว์/ต้นทุน : สศก./ส่งออก : กรมศุลกากร/ราคา : คน.
1. สรุปสถานการณ์ เดือนพฤษภาคม 2561 การผลิต ภาวะการผลิตปกติ ไก่เนื้อที่โตได้ขนาดจ�ำหน่ายออกสู่ตลาด สอดคล้องกับความ ต้องการใช้และบริโภคในประเทศ การค้า ภาวะการค้าโดยรวมทรงตัว และชะลอตัวลงเล็กน้อยในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม เนื่องจากภาวะฝนตกชุก มีอาหารจากธรรมชาติให้เลือกบริโภคเพิ่มขึ้น เช่น ปลา กุ้ง หอย ด้านราคา ไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า และราคาขายปลีกเนื้อไก่สดช�ำแหละ ส่วนใหญ่ยังทรงตัว ยกเว้นชิ้นส่วนเนื้อสันใน ราคาปรับลดลง กก. ละ 5 บาท การส่งออกเนื้อไก่ ปี 2561 (ม.ค. - เม.ย. 61) มีการส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อไก่ แปรรูป รวม 260,999 ตัน มูลค่า 30,265 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นทีม่ กี ารส่งออกจ�ำนวน 228,961 ตัน มูลค่า 29,036 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 13.99% และ 4.23% ตามล�ำดับ โดยประเทศคู่ค้าส�ำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (49.48%) อังกฤษ (19.08%) สหภาพยุโรป (11.77%) อื่นๆ (19.67%)
2. แนวโน้มสถานการณ์ เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2561 ภาวะการผลิตปกติ ผลผลิตที่ออกสู่ตลาดมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการใช้และบริโภค ในประเทศ ภาวะการค้ามีแนวโน้มชะลอตัวลง เนือ่ งจากสภาพอากาศทีม่ ฝี นตกชุก มีแหล่งอาหารธรรมชาติ ให้เลือกบริโภคเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม การค้ามีแนวโน้มคล่องตัวขึ้นในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม ซึ่งมี วันหยุดต่อเนือ่ งของเทศกาลวันอาสาฬหบูชา และเข้าพรรษา ด้านราคามีแนวโน้มทรงตัว หรือปรับสูงขึน้ ในช่วงดังกล่าว กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน มิถุนายน 2561
28 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Food Feed Fuel
สถิติราคาขายส่ง ขายปลีก สินค้าไก่เนื้อ ปี 2555 - 2561 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. ราคาขายส่งไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า กทม. 2555 39.25 35.38 26.29 31.47 2556 42.18 36.13 38.71 45.33 2557 44.00 44.00 39.95 39.89 2558 38.80 35.50 35.00 35.33 2559 36.50 36.50 36.50 36.50 2560 35.70 37.84 36.22 38.75 2561 31.50 31.50 31.50 31.50 ราคาขายส่ง ไก่สดทั้งตัว (รวมเครื่องใน) 2555 54.30 51.33 43.29 47.35 2556 53.84 48.26 51.62 58.61 2557 56.68 59.00 55.67 51.00 2558 53.45 47.50 47.00 47.67 2559 53.00 53.00 53.00 51.59 2560 49.35 51.00 51.00 52.31 2561 44.00 44.00 44.00 42.85 ราคาขายปลีก ไก่สดทั้งตัว (รวมเครื่องใน) 2555 65.20 62.26 53.88 57.68 2556 63.50 62.71 62.50 66.86 2557 69.41 72.50 68.69 62.50 2558 69.25 63.75 62.50 62.50 2559 67.50 67.50 67.50 67.50 2560 64.50 67.50 67.50 69.69 2561 62.50 62.50 62.50 62.50
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
หน่วย : บาท/กก. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย
39.50 46.10 41.00 36.00 36.00 40.00 31.50
39.10 45.25 41.00 36.00 35.18 39.09
35.50 46.00 41.00 36.00 35.78 37.55
35.00 46.86 42.95 36.45 41.32 37.59
34.00 40.02 43.68 37.23 37.91 37.88
31.27 37.00 40.91 34.17 33.32 33.13
38.73 37.00 39.00 34.26 33.55 32.23
42.28 41.50 39.00 35.30 34.00 31.50
35.65 41.84 41.37 35.84 36.09 36.46 31.50
53.50 60.50 51.47 49.00 50.22 53.50 42.50
53.10 59.50 54.00 49.00 48.05 51.23
49.98 61.00 56.86 49.00 48.69 49.26
46.00 61.00 58.53 49.60 55.09 48.59
46.00 58.52 59.00 49.61 54.73 49.50
46.41 51.68 57.27 46.50 47.00 47.18
52.86 51.00 57.00 48.86 47.55 45.00
55.11 53.50 57.00 51.80 48.00 44.47
49.94 55.75 56.12 49.08 50.83 49.37 43.47
63.50 69.00 63.29 62.50 67.50 72.50 62.50
63.30 69.88 67.50 62.50 67.50 67.95
61.39 72.50 71.07 62.50 68.89 67.50
59.00 72.50 72.50 64.00 72.50 67.50
59.00 68.74 72.50 66.82 68.18 67.50
59.27 64.95 72.50 62.50 62.50 64.87
62.70 67.50 72.50 65.12 62.50 62.50
63.50 67.67 72.50 67.50 62.50 62.50
60.89 67.36 69.79 64.29 66.84 66.83 62.50
กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
29
Food Feed Fuel
สถานการณ์ »
ไข่ไก่ 2557
2558
2559
2560
1. ผลผลิต (ล้านฟอง) 2. ใช้ในประเทศ (ล้านฟอง) 3. ส่งออก - ปริมาณ (ล้านฟอง) - มูลค่า (ล้านบาท)
14,265 13,210 144 446
15,103 13,667 189 588
15,560 14,367 90 309
16,470 14,884 127 381
4. ต้นทุนการผลิต : (บาท/ฟอง)
2.99
2.83
2.89
2.87
5. ราคา ไข่ไก่สดคละ (บาท/ฟอง)
2.89
2.57
2.89
2.45
2561
(ประมาณการ)
16,600 15,818 78 254
(ม.ค. - เม.ย.)
2.83
(f พ.ค.61)
2.79
(พ.ค. 61)
ที่มา : ผลผลิต การใช้ : กรมปศุสัตว์/ส่งออก : กรมศุลกากร/ต้นทุน : สศก./ราคา : คน
1. สรุปสถานการณ์เดือนพฤษภาคม 2561 การผลิต ภาวะการผลิตปกติ ปริมาณไข่ไก่ส่วนเกินลดลงจากมาตรการขอความร่วมมือด้านการ ปรับลดปริมาณการผลิต แต่โดยรวมยังคงมีปริมาณมาก การค้า ภาวะการค้าคล่องตัวขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อน เนื่องจากโรงเรียนเปิดภาคเรียน ความ ต้องการใช้มมี าก ราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มปรับสูงขึน้ จากเดือนก่อนทีเ่ ฉลีย่ ฟองละ 2.57 บาท เป็นเฉลีย่ ฟองละ 2.79 บาท ตามภาวะอุปสงค์อุปทาน การส่งออกไข่ไก่ ปี 2561 (ม.ค. - เม.ย. 61) มีการส่งออกไข่ไก่ 78.20 ล้านฟอง มูลค่า 254.09 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นทีม่ กี ารส่งออกจ�ำนวน 23.15 ล้านฟอง มูลค่า 75.69 ล้านบาท โดยประเทศ คู่ค้าส�ำคัญ ได้แก่ ฮ่องกง (93.10%) สิงคโปร์ (6.24%) อื่นๆ (0.66%) มาตรการด้านการตลาด ด�ำเนินมาตรการเพิ่มช่องทาง และเชื่อมโยงการจ�ำหน่ายไข่ไก่ผ่าน ส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดแหล่งผลิตไข่ไก่ส�ำคัญ 18 จังหวัด ระหว่างเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2561 โดยมีปริมาณการเชื่อมโยงผ่านช่องทางดังกล่าวจ�ำนวน 389,530 ฟอง
2. แนวโน้มสถานการณ์เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2561 ผลผลิตทีอ่ อกสูต่ ลาดมีปริมาณมากและเพียงพอต่อความต้องการของตลาด ภาวะการค้ามีแนวโน้ม ทรงตัวต่อเนื่อง ด้านราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์มมีแนวโน้มทรงตัว หรือปรับสูงขึ้นเล็กน้อย กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน มิถุนายน 2561
30 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Food Feed Fuel
สถิติราคาขายส่ง-ขายปลีก ไข่ไก่ ปี 2555-2561 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ราคาขายส่ง ไข่ไก่สด คละ ณ แหล่งผลิต (บาท/ฟอง) 2555 2.14 2.58 2.51 2.18 2.54 2.67 2556 2.69 2.80 2.70 2.76 3.14 3.20 2557 3.10 3.09 2.85 2.71 3.18 3.04 2558 2.44 2.31 2.06 2.36 2.50 2.50 2559 2.62 2.78 2.88 2.67 2.89 3.16 2560 2.52 2.36 2.24 2.24 2.57 2.60 2561 2.21 2.40 2.27 2.54 2.79 ราคาขายส่ง ไข่ไก่ เบอร์ 3 ณ ตลาด กทม. (บาท/ฟอง) 2555 2.33 2.73 2.66 2.33 2.69 2.82 2556 2.79 2.90 2.80 2.83 3.24 3.30 2557 3.25 3.24 3.00 2.86 3.33 3.19 2558 2.59 2.46 2.21 2.51 2.65 2.65 2559 2.77 2.93 3.03 2.82 2.84 3.31 2560 2.67 2.51 2.39 2.39 2.72 2.75 2561 2.36 2.55 2.42 2.69 2.94 ราคาขายปลีก ไข่ไก่ เบอร์ 3 ณ ตลาด กทม. (บาท/ฟอง) 2555 2.63 3.03 2.96 2.63 2.99 3.12 2556 3.09 3.20 3.10 3.13 3.54 3.60 2557 3.55 3.54 3.30 3.16 3.63 3.49 2558 2.89 2.76 2.51 2.81 2.95 2.95 2559 3.07 3.23 3.33 3.12 3.34 3.61 2560 2.97 2.81 2.69 2.69 3.02 3.05 2561 2.66 2.85 2.72 2.99 3.24
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค. พ.ย.
ธ.ค. เฉลี่ย
2.29 2.92 2.97 2.68 3.20 2.58
2.46 3.23 3.28 2.93 3.28 2.73
2.31 3.49 2.86 3.00 3.23 2.71
2.15 3.22 2.50 2.80 2.86 2.35
2.41 3.07 2.75 2.70 2.67 2.33
2.40 3.10 2.31 2.53 2.42 2.20
2.39 3.03 2.89 2.57 2.89 2.45 2.44
2.44 3.02 3.12 2.83 3.35 2.73
2.61 3.33 3.43 3.08 3.43 2.88
2.41 3.63 3.01 3.15 3.38 2.86
2.25 3.37 2.65 2.95 3.01 2.50
2.51 3.22 2.90 2.85 2.82 2.48
2.50 3.25 2.46 2.68 2.57 2.35
2.52 3.14 3.04 2.72 3.02 2.60 2.59
2.74 3.32 3.42 3.13 3.65 3.03
2.91 3.63 3.73 3.38 3.73 3.18
2.71 3.93 3.31 3.45 3.68 3.16
2.55 3.67 2.95 3.25 3.31 2.80
2.81 3.52 3.20 3.15 3.12 2.78
2.80 3.55 2.76 2.98 2.87 2.65
2.82 3.44 3.34 3.02 3.34 2.90 2.89
กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
31
Food Feed Fuel
สถานการณ์ »
สุกร
1. ผลผลิต (ล้านตัว) 2. ใช้ในประเทศ (ล้านตัว) : ประมาณการ 3. ส่งออกเนื้อสุกร - ปริมาณ (ตัน) - มูลค่า (ล้านบาท) ส่งออกสุกรมีชีวิต - ปริมาณ (ตัว) - มูลค่า (ล้านบาท) 4. ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) 5. ราคาสุกรมีชีวิตแหล่งผลิต (บาท/กก.)
2557
2558
2559
2560
15.89 13.94 17,227 2,810 410,195 1,765 69.72
16.95 14.22 17,077 2,746 560,350 2,539 67.54
18.66 15.38 13,679 2,357 920,481 4,603 69.49
20.18 15.62 10,883 2,098 328,562 1,651 62.87
75.17
67.68
68.82
58.52
2561
(ประมาณการ)
24.75 16.07 3,483 669 108,534 456 58.18
(f พ.ค. 61)
59.31
(เม.ย. 61)
ที่มา : ผลผลิต การใช้ : กรมปศุสัตว์/ต้นทุน : สศก./ส่งออก : กรมศุลกากร/ราคา : คน
1. สรุปสถานการณ์ เดือนพฤษภาคม 2561 ปริมาณสุกรในระบบยังมีมากกว่าความต้องการของตลาด ภาวะการค้าปลีกค่อนข้างชะลอตัว เนื่องจากผู้บริโภคมีอาหารอื่นให้เลือกบริโภคทดแทน เช่น เนื้อไก่ ที่มีราคาขายปลีกต�่ำกว่า ผลไม้ตาม ฤดูกาล และสินค้าสัตว์น�้ำ ส่งผลให้ราคาสุกรมีชีวิตหน้าฟาร์มปรับลดลงจากเฉลี่ย กก. ละ 62.56 บาท (เม.ย. 61) เป็น กก. ละ 59.31 บาท และราคาขายปลีกเนือ้ สุกร (ตัดแต่ง) ปรับลดลงในทิศทางเดียวกัน การส่งออก ปี 2561 (ม.ค. - เม.ย.) มีการส่งออกสุกรมีชีวิตและเนื้อสุกร ดังนี้
1) สุกรมีชวี ติ จ�ำนวน 108,534 ตัว ลดลง 41.18% เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ประเทศ คู่ค้าส�ำคัญ ได้แก่ ลาว (58%) กัมพูชา (24%) พม่า (18%)
2) เนือ้ สุกร รวม 3,483 ตัน แบ่งเป็นเนือ้ สุกรสด จ�ำนวน 844 ตัน และเนือ้ สุกรแปรรูป จ�ำนวน 2,639 ตัน ลดลง 8% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ประเทศคู่ค้าส�ำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (58%) ลาว (12%) ฮ่องกง (10%) พม่า (9%)
2. แนวโน้มสถานการณ์ เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2561 คาดว่า สภาพอากาศในช่วงฤดูฝนจะเอือ้ อ�ำนวยต่อการเจริญเติบโตของสุกร ด้านภาวะการค้ายังมี แนวโน้มชะลอตัวต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ความต้องการใช้เนื้อสุกรอาจเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในช่วงสั้นๆ ของ เทศกาลส�ำคัญ เช่น เข้าพรรษา ด้านราคาสุกรยังมีแนวโน้มทรงตัว
กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน มิถุนายน 2561
32 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Food Feed Fuel
สถิติราคาขายส่ง-ขายปลีกสุกร ปี 2554-2561 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ราคาขายส่งสุกรมีชีวิต (ฟาร์ม) ณ แหล่งผลิต (บาท/กก.) 2554 53.25 60.18 62.07 68.09 69.50 69.50 73.61 2555 55.05 51.07 50.69 62.15 61.79 57.50 56.41 2556 62.09 66.03 60.93 67.94 65.60 67.50 69.12 2557 74.41 74.92 75.74 80.50 81.24 82.40 80.69 2558 63.10 62.50 63.45 68.17 69.83 71.50 68.07 2559 67.00 67.10 67.59 74.21 77.50 76.50 70.61 2560 60.80 58.66 57.85 63.75 68.83 62.95 58.03 2561 45.79 48.30 48.26 62.56 59.31 ราคาขายส่ง สุกรช�ำแหละ (ซีก) ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2554 62.60 70.03 71.85 78.91 81.50 81.50 84.39 2555 67.30 64.07 63.60 74.09 72.40 69.40 68.41 2556 73.91 78.13 73.12 79.50 76.79 78.50 80.12 2557 85.41 85.92 86.74 91.50 92.61 94.40 92.69 2558 75.10 74.50 75.45 80.17 81.83 83.50 80.07 2559 79.00 79.10 79.59 86.21 89.50 88.50 82.61 2560 72.80 70.66 69.85 75.75 80.83 74.95 70.03 2561 57.79 60.30 60.26 74.56 71.31 ราคาขายปลีกเนื้อแดง (ตัดแต่ง) ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2554 105.75 116.32 116.63 131.91 134.86 130.00 137.63 2555 119.75 112.98 106.43 122.79 123.45 117.50 115.45 2556 129.09 134.87 124.17 131.67 130.60 132.50 134.88 2557 145.45 148.55 150.60 162.50 162.50 162.26 157.98 2558 129.00 127.50 127.98 136.67 140.28 142.50 138.93 2559 132.50 132.50 132.72 146.32 152.50 151.82 144.72 2560 125.75 123.29 123.37 132.81 140.83 130.68 123.82 2561 115.12 119.50 115.83 136.31 133.69 ราคาขายปลีกเนื้อแดง (ไม่ตัดแต่ง) ตลาด กทม. (บาท/กก.) 2555 111.00 108.55 2556 116.41 120.74 112.76 122.33 120.38 122.00 124.76 2557 137.32 137.84 140.60 152.50 152.50 152.26 147.98 2558 117.90 117.00 117.43 125.25 129.61 132.50 128.93 2559 122.50 122.50 122.72 136.32 142.50 141.82 134.72 2560 115.75 113.29 113.37 122.81 130.83 120.68 113.82 2561 105.12 109.50 105.83 126.32 123.69
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค. พ.ย.
ธ.ค. เฉลี่ย
79.86 58.40 73.40 79.55 72.20 69.50 62.14
70.32 54.50 68.64 73.77 74.50 68.14 61.60
59.30 49.55 67.50 66.23 67.88 63.50 50.24
55.82 56.14 67.50 66.10 65.50 63.50 52.68
61.80 53.83 67.72 66.50 65.50 60.70 44.66
65.28 55.59 67.00 75.17 67.68 68.82 58.52 52.84
90.23 70.80 84.40 91.55 84.20 81.50 74.14
83.36 67.50 79.64 85.77 86.50 80.14 73.60
70.80 62.55 78.50 78.23 79.88 75.50 62.24
68.27 67.68 78.50 78.10 77.50 75.50 64.68
74.05 66.28 78.72 78.50 77.50 72.70 56.66
76.46 67.84 78.32 86.78 79.68 80.82 70.52 64.84
150.86 119.75 142.50 155.13 141.50 142.50 131.36
137.39 112.50 135.36 145.45 146.82 140.23 129.40
120.25 106.14 132.50 134.09 136.55 132.50 115.92
118.18 117.05 132.50 132.50 132.50 132.50 122.27
125.75 113.89 133.06 132.50 132.50 125.50 111.45
127.13 115.64 132.81 149.13 136.06 138.86 125.91 124.09
110.88 132.50 145.13 131.50 132.50 121.36
104.63 125.36 134.46 136.82 130.23 119.40
95.86 122.50 122.89 126.55 122.50 105.92
107.05 122.50 123.20 122.50 122.50 112.27
104.36 123.06 124.00 122.50 115.50 101.45
106.05 122.11 139.22 125.71 128.86 115.91 114.09
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
33
Food Feed Fuel
กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน
ภาพประกอบ : https://hdanimalspot.com/article/top-86-pig
34 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Food Feed Fuel
สถานการณ์ »
กุ้ง
1. ผลผลิต (ตัน) - กุ้งขาวแวนนาไม - กุ้งกุลาด�ำ 2. ใช้ในประเทศ (ตัน) 3. น�ำเข้า - ปริมาณ (ตัน) - มูลค่า (ล้านบาท) 4. ส่งออก - ปริมาณ (ตัน) - มูลค่า (ล้านบาท) 5. ราคากุ้งขาว (บาท/กก.) (ขนาด 70 ตัว/กก.)
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
ปี 2560
217,438 204,385 13,053 46,237 22,424 3,442 164,604 64,172 211
263,123 254,181 8,942 32,785 21,031 3,242 169,810 57,036 160
310,979 300,404 10,575 50,297 22,332 3,634 207,222 68,227 171
297,111 286,140 10,971 41,982 31,634 4,199 208,322 69,242 177
ปี 2561
(ม.ค. - เม.ย. 61)
73,724 70,310 3,414 11,096 9,980 1,473 52,284 16,375 118
(พ.ค. 61)
ที่มา : 1. ผลผลิตไทย : กรมประมง 2. น�ำเข้า-ส่งออก : กรมศุลกากร 3. ราคากุ้งขาว : ตลาดทะเลไทย
1. สรุปสถานการณ์ เดือนพฤษภาคม 2561 ปริมาณผลผลิตกุง้ ทีเ่ ข้าสูต่ ลาดทะเลไทย เพิม่ ขึน้ จาก เม.ย. 61 คิดเป็น 30.08% (พ.ค. 1,786 ตู้ เม.ย. 1,373 ตู)้ เนือ่ งจากช่วงเดือน เม.ย. 61 มีวนั หยุดต่อเนือ่ งช่วงเทศกาลสงกรานต์ ห้องเย็นปิดท�ำการ ภาวะการค้าในประเทศทรงตัว ด้านการส่งออกห้องเย็น สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทยสรุปข้อมูล ค�ำสั่งซื้อของห้องเย็นลดลง เนื่องจากราคากุ้งสูงกว่าประเทศคู่แข่ง เช่น อินเดียซึ่งมีปัญหาผลผลิต ล้นตลาด และราคาตกต�ำ่ ปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้ราคากุง้ ขาวทุกขนาด ปรับลดลงจากเดือนก่อน กก. ละ 3 - 34 บาท การส่งออกกุ้ง (ม.ค. - เม.ย. 61) มีปริมาณรวม 52,284 ตัน มูลค่า 16,375 ล้านบาท ปริมาณ และมูลค่าเพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น 1,644 ตัน (ร้อยละ 3.05) มูลค่า 2,075 ล้านบาท (ร้อยละ 11.25) (ม.ค. - เม.ย. 60 ปริมาณ 53,928 ตัน มูลค่า 18,450 ล้านบาท) โดยประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา (27%) ญี่ปุ่น (22%) จีน (13%) มาเลเซีย (6%) อื่นๆ (32%)
2. มาตรการแก้ไขปัญหา 2.1 ด้านราคา สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทยรับซื้อกุ้งขาวในราคาที่สูงกว่าราคาตลาดทะเลไทย จ�ำนวน 10,000 ตัน ระยะเวลา 2 เดือน (มิ.ย. - ก.ค. 61)
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
35
Food Feed Fuel 2.2 ด้านต้นทุนการผลิต ภาคเอกชนปรับลดราคาสินค้าให้ 2 เดือน (พ.ค.-มิ.ย. 61) ดังนี้ 1) สมาชิกผู้ค้าปัจจัยการผลิตสัตว์น�้ำไทยปรับลดราคาปัจจัยการผลิต 10% 2) บมจ.ซีพีเอฟ ลดราคาลูกพันธุ์กุ้งจาก 0.19 บาทต่อตัว เหลือ 0.16 บาทต่อตัว 3) สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย ปรับลดราคาอาหารกุ้ง ถุงละ 20 - 25 บาท
3. มาตรการด้านตลาด 3.1 คนเชื่อมโยงการจ�ำหน่ายกุ้งผ่านห้างค้าปลีก ค้าส่ง (แมคโคร เทสโก้ โลตัส บิ๊กซี และ ท็อปซุปเปอร์มาร์เก็ต) และจุดจ�ำหน่ายของส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัดแหล่งผลิต 3.2 ณ วันที่ 5 มิ.ย. 61 มี สพจ. แจ้งด�ำเนินการมาตรการเชือ่ มโยงจ�ำหน่ายกุง้ จ�ำนวน 11 จังหวัด ได้แก่ สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร นครปฐม ชุมพร นครศรีธรรมราช ตรัง ระนอง พังงา กระบี่ และสตูล
4. แนวโน้มสถานการณ์ เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2561 สภาพอากาศที่แปรปรวน และพื้นที่แหล่งเลี้ยงกุ้งบางส่วนเริ่มเข้าสู่ฤดูฝน ซึ่งเป็นปัจจัยลบที่อาจ ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงกุ้ง เช่น ปัญหาโรคระบาด คาดว่าผลผลิตที่ออกสู่ตลาดส่วนใหญ่ยังคงเป็น กุ้งขนาดกลาง และเล็ก ภาวะการค้ามีแนวโน้มทรงตัว ราคากุ้งขาวมีแนวโน้มทรงตัว หรือปรับสูงขึ้น ในระดับหนึ่ง กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน มิถุนายน 2561
36 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Food Feed Fuel
สถิติราคาเกษตรกรขายได้ และราคา ณ ตลาดทะเลไทย กุ้งขาวแวนนาไม ปี 2556-2561 ณ เดือนพฤษภาคม 2561 ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ราคาที่เกษตรกรขายได้ (ขนาด 70 ตัว/กก.) ที่มา : ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2556 146.00 150.00 167.00 178.00 180.00 189.00 193.00 200.00 215.00 2557 267.00 266.00 256.00 263.00 207.00 192.00 204.00 217.00 215.00 2558 195.00 206.00 197.00 178.00 174.00 176.00 185.00 177.00 173.00 2559 173.00 188.00 185.00 178.00 173.00 182.00 186.00 181.00 181.00 2560 202.00 215.00 218.00 188.00 169.00 173.00 175.00 178.00 174.00 2561 177.00 184.00 183.00 145.00 125.00 ราคา ณ ตลาดทะเลไทย (ขนาด 70 ตัว/กก.) ที่มา : ชมรมผู้ค้ากุ้งสมุทรสาคร 2556 158.00 153.00 175.00 188.00 191.32 197.00 204.52 211.00 237.38 2557 262.50 263.42 253.50 230.33 195.00 184.75 193.82 209.06 203.00 2558 182.00 196.88 173.33 145.59 149.71 156.90 157.14 157.37 149.77 2559 177.00 187.65 174.78 155.33 151.39 173.18 179.11 171.67 169.32 2560 203.75 211.58 206.74 164.69 158.33 167.18 170.79 170.23 164.76 2561 176.43 180.25 174.76 134.12 118.33
หน่วย : บาท/กก.
ต.ค. พ.ย.
ธ.ค. เฉลี่ย
241.00 210.00 164.00 168.00 170.00
249.00 204.00 162.00 175.00 181.00
255.00 197.00 165.00 188.00 178.00
196.92 224.83 179.33 179.83 185.08 162.80
264.00 183.13 137.25 155.79 162.63
259.29 186.00 150.48 169.09 172.27
263.82 170.00 166.47 187.50 171.58
208.53 211.21 160.24 170.98 177.04 156.78
กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
37
ได้รับข้อมูลวัตถุดิบและสินค้าคงคลังในไซโลขนาดใหญ่ครบถ้วนอย่างแม่นย�าตลอดเวลา โดยใช้ระบบ 3D Scanners
เป็นการวัดพื้นผิวแบบสามมิติ xyz มากกว่า 300 จุด ใช้คลื่นเสียงความถี่ต�่า ทะลุทะลวงฝุ่นได้ดี ชนิดของวัสดุไม่มีผลกระทบต่อความแม่นย�า เป็นการวัดแบบไม่สัมผัสกับวัสดุโดยตรง สามารถท�า การเซ็ทระบบผ่าน WiFi สามารถวัดในทุกขนาดของไซโล
3D Scanner ได้เปลี่ยนวิธีในการบริหารจัดการวัตถุดิบและสินค้า คงคลังในไซโลขนาดใหญ่ของอุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ อาหารสัตว์ ส่งออกข้าว ฯลฯ จากการเปลี่ยนวิธีการวัดระดับจากจุดเดียว เป็น การสร้างจุด xyz ทั่วพื้นผิวของวัสดุในไซโล และการค�านวณที่ แม่นย�าทางคณิตศาสตร์แคลคูลสั ท�าให้ได้ผลการวัดปริมาตรของวัสดุ แบบตลอดเวลาและแม่นย�ามาก ด้วยอุปกรณ์พิเศษที่ไม่ต้องการ การซ่อมบ�ารุง และช่วยให้ทา่ นประหยัดค่าใช้จา่ ย เพิม่ ความปลอดภัย ประสิทธิภาพและศักยภาพสูงสุดของการบริหารจัดการไซโลทุกขนาด
การควบคุม และบริหารจัดการสินค้าคงคลัง และวัตถุดิบในไซโล ขนาดใหญ่และมีจา� นวนมาก จะต้องมีการวัดทีแ่ ม่นย�าและให้ขอ้ มูล ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา ๏ ๏ ๏ ๏ ๏ ๏ ๏
เพิ่มประสิทธิภาพของการใช้งานของระบบไซโล เพิ่มขีดความสามารถของการบริหารจัดการวัสดุทั้งระบบ ลดการสูญเสีย สามารถจัดเก็บวัสดุเต็มขอบไซโล ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต ลืมความผิดพลาดในการเติมวัสดุจนล้นไปได้เลย ให้ข้อมูลที่แม่นย�า ท�าไห้พร้อมเสมอเมื่อต้องตัดสินใจ ได้รับการพิสูจน์มาแล้วทั่วโลกว่าคุ้มค่าในการลงทุนกับการติดตั้ง ใช้งานมาแล้วนานกว่าสิบปี
3D Scanner เหมาะส�าหรับการวัดวัสดุทเี่ ป็นผงเช่นปูนซีเมนต์ หรือ เม็ด เช่น ข้าว ข้าวโพด เมล็ดพืชทุกชนิด อาหารสัตว์ที่เป็นของแข็ง ทุกขนาด เลิกวัดทีละจุดได้แล้ว มาใช้ 3D Scanner กันเถอะ
AEC Innovatec Co.,ltd.
บริษัท เออีซี อินโนเวเทค จ�ำกัด
158/11 ซอย 1 ถนนพิชัยณรงค์สงคราม ต.ปากเพรียว อ.เมือง จ.สระบุรี 18000
คุณอลงกฎ จอมหงษ์ โทร. 061-619-7471 ››› alonggot@aecinnovatec.com ‹‹‹ ››› www.aecinnovatec.co ‹‹‹
หลักการท�างานของระบบ
3D Level Scanners
ติดตั้งหัววัด 3D Scanner ในต�ำแหน่งที่คลื่นเสียงควำมถี่ต�่ำ สำมำรถครอบคลุมพื้นผิวของวัสดุที่จะวัดให้มำกที่สุด เครื่องจะ ส่งคลื่นเสียงเป็นค่ำออกไป และวัดกำรสะท้อนกลับมำ R = Vel x (time/2) โดย Vel คือควำมเร็วเสียง 343 m/sec กำรใช้หัววัด สำมหัว ท�ำให้สำมำรถค�ำนวณหำทิศทำง และระยะทำงในรูปแบบ สำมมิติ x y z
เนื่องจากหัววัดสแกนเนอร์ติดตั้งอยู่ที่ต�าแหน่ง x0 y0 z0 ค่า ของ ระยะการวัดจะเป็น
เมือ่ รูม้ ติ ขิ องไซโลทีจ่ ะวัดน�ำมำบันทึกในระบบ เครือ่ งมีระบบซอฟแวร์ทสี่ ำมำรถกรองเอำสัญญำณคลืน่ สะท้อนทีไ่ ม่ใช่คำ่ วัดทีถ่ กู ต้อง ออกไปได้ เมื่อได้ค่ำ xyz ของพื้นผิวเป็นแผ่นภำพสำมมิติของพื้นผิววัสดุทั้งหมดแล้ว กำรหำค่ำปริมำตรของวัสดุสำมำรถท�ำได้ โดยกำรอินทิกรัลสมกำรดังกล่ำวด้วยวิธที ำงคณิตศำสตร์ จะได้ปริมำตรของอำกำศทีอ่ ยูเ่ หนือวัสดุ ระบบซอฟแวร์ของ 3D Scanner จะท�ำกำรค�ำนวณลบปริมำตรที่อยู่เหนือพื้นผิวออกจำกปริมำตรไซโลทั้งหมด เรำก็จะได้ปริมำตรของวัสดุในไซโลเป็นลูกบำศก์เมตร หรือตำมหน่วยที่เรำต้องกำร ถ้ำเรำรู้ควำมหนำแน่น เรำก็สำมำรถคูณ และจะได้ค่ำวัดออกมำเป็นน�้ำหนัก นอกจำกนี้ ระบบยังมี กำรจ�ำแนกเสียงสะท้อนที่ไม่ต้องกำร โดยกำรใช้กลุ่มสัญญำณทำงดิจิทัลส่งเป็นค่ำออกไป สัญญำณที่สะท้อนกลับมำจะอยู่ใน รูปแบบที่เหมือนกับสัญญำณที่ส่งออกไป จึงจะถือว่ำเป็นสัญญำณที่ถูกต้อง ประโยชน์ของกำรใช้คลื่นเสียงควำมถี่ต�่ำคือ ควำม สำมำรถในกำรทะลุทะลวงฝุ่นได้ดีกว่ำคลื่นควำมถี่สูง และล�ำของคลื่นสำมำรถแผ่ออกไปกว้ำงถึง 90 องศำส�ำหรับควำมถี่ต�่ำสุด (ประมำณ 2,000 Hz) และแคบสุดประมำณ 60 องศำ ที่ 6,000 Hz ระบบจะท�ำกำรส่งสัญญำณสลับกันทีละหัวจำกคลื่นต�่ำ กลำง สูง และสลับหัวกันไปเรื่อยๆ เพื่อวัดทั้งระยะทำงและทิศทำง เพื่อให้ได้ค่ำ xi yi zi ในแต่ละจุดสูงสุดและต�่ำสุดตลอดทั่ว พื้นผิวของวัสดุ วัสดุโดยทั่วไปไม่ว่ำจะเป็นผงละเอียดแบบผงปูนซีเมนต์ หรือเป็นเม็ดแบบข้ำว ส�ำหรับไซโลขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง ประมำณ 20 เมตร เครื่องจะวัดจุดสูงสุดต�่ำสุดบนพื้นผิวมำกกว่ำ 300 จุด จึงได้ค่ำที่ผิดพลำดต�่ำกว่ำ 3% จำกเทคโนโลยีทำงคอมพิวเตอร์และกำรต่อสัญญำณ ระบบของ 3D Scanner สำมำรถเชื่อมข้อมูลเข้ำกับระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ผ่ำน RS 485 และซอฟแวร์ 3D Multivision ให้ขอ้ มูลทีค่ รบถ้วนส�ำหรับกำรบริหำรกำรรับจ่ำยวัสดุคงคลังในไซโล ตลอด 24 ชัว่ โมง และยังสำมำรถดูวัสดุเหลือตกค้ำงในไซโลจำกภำพสำมมิติ เพื่อช่วยในกำรลดควำมถี่ในกำรปิดเพื่อท�ำควำมสะอำดไซโลอีกด้วย
ไดเจสตารอม ดีซี
เพิ่มประสิทธิภาพการไดรับประโยชนจากสารอาหาร
Digestarom DC ®
The Feed Converter.
ไดเจสตารอม ดีซี Digestarom® DC
ใหประโยชนอยางชัดเจนตอสัตวเลี้ยงและตอผูประกอบการ • นวัตกรรมใหมลาสุดของผลิตภัณฑไฟโตเจนนิกเพื่อเพิ่มการกินไดของสัตว • ดวยสูตรการทํางาน 3 ขั้นตอน เพื่อประสิทธิภาพการเลี้ยงที่ดีขึ้น • ดวยเทคโนโลยี ไบโอมิน ดูเพล็กซ แคปซูล Biomin® Duplex Capsule ที่มีคุณลักษณะเฉพาะ เพื่อชวยปรับปรุงประสิทธิภาพการแลกเนื้อ บริ ษัท เออร์ เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จํากัด 1/913 ถ.พหลโยธิน 60 ต.คูคต อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท: (02) 993 7500, แฟกซ: (02) 993 8499
www.thefeedconverter.com
Naturally ahead
Food Feed Fuel
เลิกคุม “ปู่ย่า” พันธุ์ไก่ไข่
หลังราคาไข่ในประเทศขยับ เอ้กบอร์ดพับแผนออกประกาศคุมน�ำเข้า ปูย่ า่ พันธุไ์ ก่ไข่ หลังยือ้ มา 1 เดือน ชีป้ ฏิบตั ทิ ำ� ได้ยาก ซับซ้อน ราคาไข่ไก่ขยับขึ้นฟองละ 50 สตางค์ เป็น 3.00 บาทแล้ว รายงานข่าวระบุวา่ เมือ่ เดือนเมษายน 2561 สถานการณ์ราคาไข่ไก่ในตลาดปรับลดลงไปเหลือ ฟองละ 2.50 - 2.60 บาท ต�่ำกว่าต้นทุนการผลิต ส่ ง ผลกระทบต่ อ เกษตรกร เป็ น เหตุ ใ ห้ นาย กฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เรียกประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือให้ช่วยด�ำเนินมาตรการรักษา เสถียรภาพราคาไข่ไก่ ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ การขอ ความร่วมมือกระทรวงพาณิชย์ ประกาศควบคุม การน�ำเข้าปูย่ า่ พันธุไ์ ก่ไข่ ตาม พ.ร.บ. การส่งออก ไปนอก และการน�ำเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2522 เพื่อสร้างสมดุลในการผลิตไข่ไก่ แต่อย่างไรก็ตาม ผ่านมา 1 เดือน หลัง จากดึงเวลานับตั้งแต่เดือนเมษายน จนถึงขณะนี้ ยังไม่มกี ารออกประกาศใด ภาวะราคาตลาดขณะนี้ ก็ปรับตัวกลับสู่ภาวะปกติ โดยราคาไข่ไก่เบอร์ 3 เฉลี่ยปรับสูงขึ้นฟองละ 50 - 60 สตางค์ เป็น ฟองละ 2.90 - 3.00 บาทแล้ว
นายกี ร ติ รั ช โน รองอธิ บ ดี ก รมการค้ า ต่างประเทศ กล่าวว่า ขณะนีช้ ะลอการออกประกาศ ควบคุมการน�ำเข้าปู่ย่าพันธุ์ไก่ไข่ และพ่อแม่พันธุ์ ไก่ไข่ออกไปก่อน เนื่องจากทางคณะกรรมการ นโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) ที่ขอให้ชะลอประกาศออกไป ส่วนเงื่อนไขการ ส่งออก - น�ำเข้า ก็ด�ำเนินการตามมติเอ้กบอร์ด เห็นชอบต่อไป ล่าสุด นายกฤติพิพัฒน์ รัตนนาวินกุล นักวิชาการสัตวบาลช�ำนาญการพิเศษ กองส่งเสริม และพัฒนาปศุสัตว์ ฐานะเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) เปิดเผยว่า ทีป่ ระชุมโดยมีผแู้ ทนกฤษฎีกา ศุลกากร กระทรวงพาณิชย์ ได้มีมติเห็นชอบให้ ชะลอประกาศออกไปก่อน เนื่องจากหากอาศัย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะท�ำให้เกิดขั้นตอนซับซ้อน ยุ่งยากในทางปฏิบัติ ดังนั้น ที่ประชุมจึงเห็นควร อาศัยการขอความร่วมมือผู้ประกอบการทุกราย ไปก่อน ซึ่งก็เป็นไปในทิศทางที่ดี
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
41
Food Feed Fuel
ทั้งนี้ที่ผ่านมา กรมปศุสัตว์ได้หารือกับกระทรวงพาณิชย์ เพื่อให้กระทรวง พาณิชย์ ออกประกาศควบคุมการน�ำเข้าปูย่ า่ พันธุไ์ ก่ไข่ และพ่อแม่พนั ธุไ์ ก่ไข่ โดยใช้ พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การส่งออกไปนอก และการน�ำเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2522 ควบคุมปริมาณน�ำเข้าและปริมาณเลี้ยงไก่ไข่ในประเทศแทน ปัจจุบันคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) เป็นผู้ควบคุมปริมาณน�ำเข้าและปริมาณเลี้ยงไก่ไข่ในประเทศ ซึ่งเป็นการขอความ ร่วมมือระหว่างผูเ้ ลีย้ งไก่ไข่ทงั้ รายใหญ่ และรายย่อยอยูแ่ ล้ว ประกอบกับกรมปศุสตั ว์ ได้ด�ำเนินการตามโครงการรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ปี 2561 โดยจัดประชุม ผู้ประกอบการบริษัทรายใหญ่ 16 บริษัท (น�ำเข้า และเลี้ยงปู่ย่าพันธุ์ไก่ไข่จ�ำนวน 1 ราย น�ำเข้า และเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่จำ� นวน 16 ราย) เป็นระยะเพื่อแก้ปัญหา ราคาไข่ไก่ตกต�่ำต่อเนื่อง โดยระยะสั้นก�ำหนดให้บริษัท และฟาร์มรายใหญ่ปลด แม่ไก่ไข่ยืนกรงอายุไม่เกิน 72 สัปดาห์ ไปแล้วจ�ำนวน 8.1 แสนตัว เพื่อลดปริมาณ ผลผลิตไข่ไก่ลง ทัง้ นี้ ทุกปีจะมีการก�ำหนดการน�ำเข้าปูย่ า่ พันธุไ์ ก่ไข่ (GP) ปีละ 4,500 - 5,000 ตัว และพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ (PS) ปีละ 500,000 ตัว และจะเพิ่มปริมาณการส่งออก ไข่ไก่ไปต่างประเทศ จาก 50 ตู้ต่อเดือน เป็น 100 ตู้ต่อเดือน ตั้งแต่เดือนเมษายน ถึงเดือนมิถนุ ายน เพือ่ ช่วยดึงราคาไข่ไก่ ซึง่ จะท�ำให้มปี ริมาณไข่ไก่เพียงพอและสมดุล กับการบริโภคในประเทศ ที่ปัจจุบันมีความต้องการบริโภคอยู่ 15,000 ล้านฟอง ต่อปี หรือ 41 ล้านฟองต่อวัน
42 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Food Feed Fuel
อสค. เร่งส่งเสริมคนไทยบริโภคนม จัดกิจกรรมเข้มข้นรับเปิดเทอม ตั้งเป้าเพิ่มจาก
18 เป็น 25 ลิตรต่อปี ดร.ณรงค์ฤทธิ์ วงศ์สวุ รรณ ผูอ้ ำ� นวยการ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) กล่าวว่า ส�ำหรับในช่วงใกล้เปิดเทอม ของปีการศึกษา 2561 ทีจ่ ะถึงนี้ อ.ส.ค. ยั ง คงเดิ น หน้ า สนองนโยบายรั ฐ บาล ในการจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการบริโภคนม อย่างต่อเนื่อง อาทิ การสนับสนุนนมให้กับการแข่งขันกีฬาชนิด ต่างๆ การส่งเสริมเปิดร้านจ�ำหน่ายนม Thai Denmark Milk Shop ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา เพื่อ สร้างความต่อเนือ่ งในการบริโภคนมให้กบั เด็กทีไ่ ด้รบั นมโรงเรียน มาตั้งแต่ระดับก่อนการศึกษาจนถึงระดับประถมศึกษา และ ต่อเนื่องมาในระดับมัธยมศึกษาจนถึงระดับปริญญาตรี โดยร้าน ดังกล่าว จะเน้นวางจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์นมนมพาสเจอร์ไรส์ โยเกิรต์ ไอศกรีม เป็นต้น
โดยโครงการดังกล่าวได้ดำ� เนินมาแล้วตัง้ แต่ปี 2559 ขณะนี้ มี Thai Denmark Milk Shop ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา และระดับ อุดมศึกษาแล้วทัง้ หมด 4 แห่ง ได้แก่ 1. โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ 3. โรงเรียน พิษณุโลกพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก 4. โรงเรียนสารสาสน์วิเทศ บางบอน และ มีแผนสร้างผูป้ ระกอบการ SMEs ใหม่ เข้าร่วมสร้างร้านไทย - เดนมาร์ค มิลค์ ช็อป ในโรงเรียนเพิ่มอีกอย่างน้อย 5 ร้าน มีทั้งโรงเรียนรัฐบาล และโรงเรียนเอกชน ในพื้นที่กรุงเทพฯ ภาคกลาง และภาคเหนือ เป็นต้น ที่มา : แนวหน้า ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
43
Food Feed Fuel
ทั้งนี้ในช่วงเวลาใกล้เปิดภาคเรียน ปีการศึกษา 2561 นี้ อ.ส.ค. ก็ได้เตรียม แผนการส่งเสริมการบริโภคนมผ่านกิจกรรมต่างๆ อย่างเข้มข้นและต่อเนือ่ งไปจนถึง วันที่ 1 มิถุนายน 2561 ซึ่งเป็นวันดื่มนมโลก โดยในวันนั้นก็จะมีกิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริมการดืม่ นมทีจ่ ดั ขึน้ ทัง้ จากภาครัฐ และเอกชน ซึง่ เป็นการตอกย�ำ้ การด�ำเนินงาน ส่งเสริมการบริโภคนมให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาล ตามโรดแมปของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ที่ตั้งเป้าในการเพิ่มปริมาณการดื่มนมให้มากขึ้นจาก 18 ลิตร/ คน/ปี เป็น 25 ลิตร/คน/ปี ในเบือ้ งต้นตัวเลขปริมาณการบริโภคนมต่อปีเพิม่ ขึน้ และ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นผลต่อการขยายตัวของกลุ่มผลิตภัณฑ์นม ทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศ โดยในประเทศนัน้ ผลิตภัณฑ์นมมีความหลากหลาย สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคได้หลากหลายกลุ่ม ประกอบกับ มีผลิตภัณฑ์นมจากต่างประเทศเข้ามาเปิดตลาดในประเทศไทย ท�ำให้ทิศทางการ บริโภคนมมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นได้อย่างชัดเจน “อย่างไรก็ตาม นอกจากการส่งเสริมการบริโภคนมให้มีปริมาณเพิ่มขึ้นแล้ว ในด้านของการผลิต อ.ส.ค. เองยังคงเดินหน้าพัฒนาคุณภาพผลผลิตน�้ำนมให้มี คุณภาพมากยิ่งขึ้นไปอีก ควบคู่กับการคิดค้นผลิตภัณฑ์คุณภาพใหม่ๆ ออกมาตอบ สนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่องต่อไป” ดร.ณรงค์ฤทธิ์ กล่าว
44 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Food Feed Fuel
ชง กนป. แก้ปาล์มราคาตก นายสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รมว.พาณิชย์ เปิดเผยว่า ใน เร็วๆ นี้ กระทรวงพาณิชย์จะเสนอมาตรการแก้ไขปัญหาราคา ผลปาล์มตกต�่ำให้คณะกรรมการนโยบายปาล์มน�้ำมันแห่งชาติ (กนป.) ทีม่ ี พล.อ.ประวิตร วงษ์สวุ รรณ รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.กลาโหม เป็นประธานพิจารณา ซึ่งมีทั้งมาตรการแก้ปัญหา ในระยะสัน้ และระยะยาว หาก กนป. เห็นชอบ จะเสนอให้ ครม. พิจารณาเห็นชอบต่อไป นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร อธิบดีกรมการค้าภายใน กล่าวว่า จะประชุม คณะอนุกรรมการเพื่อบริหารจัดการปาล์มน�้ำมัน และน�้ำมันปาล์มด้านการตลาด โดยเร็ว เพื่อหามาตรการแก้ปัญหาราคาผลปาล์มตกต�่ำ ซึ่งมีทั้งมาตรการระยะสั้น และระยะยาว อย่างมาตรการระยะสัน้ เพือ่ แก้ปญ ั หาเฉพาะหน้า เช่น อาจช่วยชดเชย รายได้ให้เกษตรกรและช่วยลดต้นทุนการผลิต ส่วนมาตรการระยะยาว เช่น การโค่น ต้นปาล์มแก่ อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป เพราะไม่สามารถให้ผลผลิตที่มี คุณภาพดีแล้ว “การโค่นต้นปาล์มแก่ จะต้องมีมาตรการจูงใจ เช่น ให้เงิน ช่ ว ยเหลื อ ในการโค่ น ต้ น ปาล์ ม แก่ ทิ้ ง และปลูกต้นปาล์มใหม่ ซึง่ ต้นปาล์ม ใหม่ไม่สามารถให้ผลผลิตได้ 3 ปี ในระหว่างนี้ ก็ต้องช่วยเหลือ เกษตรกร และส่ ง เสริ ม ให้ ประกอบอาชีพเสริม เพื่อให้มี รายได้เพิ่มมากขึ้นด้วย”
ที่มา : เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
ภาพประกอบ : https://www.yangpalm.com/2016/09/blog-post_28.html
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
45
Food Feed Fuel
ภาพประกอบ : https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_44151
ภาพประกอบ : https://www.yangpalm.com/2017/04/blog-post_19.html
ส่วนมาตรการช่วยเหลือในด้านการส่งออก รัฐอาจจัดหาสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ในการส่งออกให้มากขึน้ เช่น รถบรรทุก จากปัจจุบนั ทีม่ ไี ม่เพียงพอ ส่งผลให้สง่ ออก ได้น้อยมาก และอาจมีมาตรการช่วยเหลืออื่นๆ อีก อย่างไรก็ตาม มาตรการแก้ไข ปัญหาเหล่านี้ จะน�ำมาใช้ได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของ กนป. ส�ำหรับปัญหาราคาผลปาล์มสดตกต�ำ่ ในขณะนี้ เป็นเพราะผลผลิตปาล์มน�ำ้ มัน ปี 61 เพิ่มขึ้น โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คาดการณ์ว่าจะมีประมาณ 15.18 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 6.60% จากปี 60 ที่มีเพียง 14.24 ล้านตัน ขณะที่ความต้องการ ใช้ทรงตัว ประกอบกับสต็อกน�้ำมันปาล์มปลายปี 60 อยู่ในระดับสูง จึงท�ำให้ปีนี้ มีปริมาณน�้ำมันปาล์มส่วนเกิน ซึ่งภาครัฐได้เร่งการแก้ปัญหามาอย่างต่อเนื่อง โดย ให้เอกชนเร่งรัดการส่งออก และเพิ่มการใช้ผลิตไบโอดีเซลให้มากขึ้น แต่ราคายังไม่ ปรับตัวสูงขึ้นตามที่เกษตรกรต้องการ มีรายงานว่า จากข้อมูลของเว็บไวต์ kasetprice.com ณ วันที่ 25 เม.ย. 61 ราคาผลปาล์มน�้ำมันทั้งทะลายเฉลี่ยอยู่ที่ กก. ละ 3.10 บาท แต่เมื่อวันที่ 5 เม.ย. 61 คณะท�ำงานก�ำหนดราคาแนะน�ำผลปาล์มน�ำ้ มันและน�ำ้ มันปาล์ม ได้กำ� หนดราคา แนะน�ำส�ำหรับการรับซือ้ ผลปาล์มสดไม่ตำ�่ กว่า กก. ละ 3.40 บาท เปอร์เซ็นต์นำ�้ มัน 18% สอดคล้องกับราคาน�้ำมันปาล์มดิบที่ กก. ละ 19 บาท.
46 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Market Leader
‘เลี้ยงหมู’ อาชีพเกษตรที่ต้องร่วมปกป้อง ความเคลื่ อ นไหวของเกษตรกรผู ้ เ ลี้ ย งหมู ทัว่ ประเทศทีจ่ ดั ไหว้หวั หมูกว่า 4,247 หัว พร้อมกัน 6 จังหวัด คือ ราชบุรี ชลบุรี สงขลา นครราชสีมา เชียงใหม่ และสระบุรี นอกจากจะเป็นการสร้างขวัญ และก�ำลังใจให้กับกลุ่มผู้เลี้ยงหมูด้วยกันแล้ว งานนี้ ทางผู้เลี้ยงได้ร่วมกันยื่นหนังสือถึงพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ขอคัดค้านการน�ำเข้าหมูสหรัฐฯ เพราะแค่ปญ ั หาทีก่ ลุม่ ผูเ้ ลีย้ งหมูตอ้ งเผชิญในเวลานีก้ ห็ นักหนาสาหัสกันไม่นอ้ ยแล้ว เนือ่ งจากเกษตรกร ผู้เลี้ยงหมูต้องประสบกับภาวะขาดทุนมาอย่างต่อเนื่องยาวนานตั้งแต่กลางปี 2560 เรื่องนี้ นายสัตวแพทย์วิวัฒน์ พงษ์วิวัฒนชัย ประธานสหกรณ์การเกษตรปศุสัตว์ราชบุรี จ�ำกัด บอกว่า ผู้เลี้ยงหมูแบกภาระขาดทุนมากเป็นประวัติการณ์มาเกือบปีแล้ว ท�ำให้ทั้งระบบเสียหายไปกว่า 10,000 ล้านบาท จึงเป็นทีม่ าของการร่วมใจกันจัดกิจกรรมเพือ่ เป็นก�ำลังใจให้กบั ผูเ้ ลีย้ งหมูดว้ ยกันครัง้ นี้ ส่วนสาเหตุหลักเกิดจากหมูล้นตลาดเพราะปริมาณหมูมีมากกว่าการบริโภค ประการที่สองคือ ต้นทุน การผลิตที่สูงขึ้นจากราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปลายปีที่ผ่านมาถึงปัจจุบัน โดยล่าสุดมีราคาทีก่ โิ ลกรัมละ 10.30 บาท จึงไม่นา่ แปลกใจทีจ่ ะมีเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งโบกมือลาจากอาชีพนี้ แล้ว 20% เพราะนอกจากผู้เลี้ยงหมูจะไม่ได้ก�ำไรและต้องดึงเงินสะสมมาใช้แล้ว เกษตรกรบางราย ยังต้องกู้หนี้ยืมสินมาต่อลมหายใจจนไม่สามารถแบกรับภาระนี้ได้ ส�ำหรับมาตรการของคณะกรรมการนโยบายพัฒนาสุกรและผลิตภัณฑ์ หรือพิกบอร์ด ที่มีมติ เห็นชอบตามทีส่ มาคมผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ เสนอให้เกษตรกรน�ำลูกหมูไปผลิตเป็นหมูหัน 100,000 ตัว, เพิม่ การปลดระวางแม่พนั ธุ์ 100,000 ตัว, และน�ำหมูขนุ มาช�ำแหละเก็บเข้าห้องเย็น 100,000 ตัว พร้อม กับให้ผเู้ ลีย้ งหมูรายใหญ่ลดการผลิตลูกหมู 10% ด้วยการชะลอการผสมแม่พนั ธุเ์ ป็นเวลา 6 เดือน หรือ 1 รอบการผลิต นับจากเดือนมกราคม เป็นต้นมา คาดว่าจะช่วยลดปริมาณลูกหมูลงได้ 400,000 ตัว การแก้ปญ ั หาทีผ่ า่ นมา เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งหมูได้ชว่ ยกันแก้ปญ ั หามาตลอด ทัง้ การขายเนือ้ หมูราคา ถูกพิเศษมาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2560 รวมถึงการตัดวงจรลูกหมูท�ำเป็นหมูหันที่เริ่มมาตั้งแต่กลาง เดือนกุมภาพันธ์ทผี่ า่ นมา โดยหวังลดปริมาณผลผลิตหมู และกระตุน้ การบริโภคเพือ่ ช่วยเหลือเกษตรกร ได้อีกทางหนึ่ง เนื่องจากการบริโภคเนื้อหมูของคนไทยยังถือว่าต�่ำอยู่มาก เพียง 14 กิโลกรัมต่อคน ที่มา : แนวหน้า ฉบับวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
47
Market Leader
ต่อปี เมื่อเทียบกับการบริโภคของประเทศอื่นๆ อาทิ โปแลนด์ 40 กิโลกรัมต่อคนต่อปี จีน 35 กิโลกรัมต่อคนต่อปี เวียดนาม 29 กิโลกรัมต่อ คนต่อปี และรัสเซีย 22 กิโลกรัมต่อคนต่อปี จึง เป็นช่วงจังหวะทีด่ ที จี่ ะรณรงค์ให้คนไทยได้บริโภค เนื้อหมูกันมากขึ้น สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ต่างๆ เหล่านี้ ล้วนบ่งบอกอย่าง ชัดแจ้งว่า การเลี้ยงหมูของไทยทุกวันนี้มีปริมาณ เพียงพอกับการบริโภคในประเทศอยู่แล้ว ไม่มี ความจ�ำเป็นที่จะต้องน�ำเข้าจากสหรัฐฯ ที่สำ� คัญ หมูของไทยมีคุณภาพปราศจากการใช้สารเร่งเนื้อ แดงซึง่ เป็นสารทีเ่ ป็นอันตรายต่อผูบ้ ริโภค เช่นเดียว กับยุโรป จีน และรัสเซีย โดยไทยประกาศให้สาร เร่งเนือ้ แดง กลุม่ เบต้า - อะโกนิสต์ (Beta - agonist) เป็นสารเคมีภัณฑ์ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ห้ามไม่ให้ใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตและน�ำเข้า ซึง่ อาหารสัตว์ ตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมคุณภาพ อาหารสัตว์มาตั้งแต่ พ.ศ.2525 และพระราชบัญญัตคิ วบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 เท่ากับไทย “ห้ามใช้สารเร่งเนือ้ แดง” มาเป็น เวลานานกว่า 36 ปี เพื่อปกป้องความปลอดภัย แก่ผู้บริโภค
48 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
ขณะที่สหรัฐอเมริกา มีการใช้สารเร่งเนื้อ แดงกันเป็นเรื่องปกติ แถมมีต้นทุนการเลี้ยงที่ตำ�่ กว่าไทยถึง 50 - 60% และยังได้รับการสนับสนุน จากทั้งรัฐบาลสหรัฐฯ และองค์กรกลุ่มผู้เลี้ยงสุกร ของสหรัฐฯ สหรัฐฯ จึงกลายเป็นผู้ส่งออกเนื้อหมู อันดับ 1 ของโลก โดยนับจากที่เริ่มส่งออกเมื่อปี 2532 มีปริมาณการส่งออกที่ 0.15 ล้านตัน ผ่าน ไปเกือบ 30 ปี คาดว่า ปี 2561 นี้ การส่งออกหมูจะมี มากถึง 2.7 ล้านตัน เนือ้ หมูจงึ เป็นเรือธงและกลาย เป็นความหวังของสหรัฐฯ ทีจ่ ะแก้ปญ ั หาการขาดดุล ของประเทศ จึงพยายามกดดันให้รัฐบาลไทยเปิด รับเครือ่ งใน หัว ขา ทีเ่ ป็นหมูเศษเหลือทีช่ าวมะกัน ไม่บริโภค ถือเป็นการน�ำพาเศรษฐกิจต่อเนือ่ งของ สหรัฐฯ ผ่านการค้าโลก ผ่านรัฐต่อรัฐ ส่วนรัฐบาลไทยไม่เคยให้ค�ำตอบสหรัฐฯ ตรงๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นเอกสิทธิท์ ไี่ ทยสามารถแสดงจุดยืน ว่า “ประเทศไทยผลิตสุกรเกินความต้องการบริโภค ภายในประเทศอยูแ่ ล้ว” “ประเทศไทยสามารถผลิต เนื้อหมูที่มีคุณภาพดีภายใต้มาตรฐานการเลี้ยงที่ สูงกว่าสหรัฐฯ” และ “ประเทศไทยไม่รบั หมูทมี่ สี าร เร่งเนื้อแดงที่ถือว่าผิดกฎหมายไทย” ความเคลื่อนไหวครั้งใหญ่ของกลุ่มผู้เลี้ยง สุ ก รในครั้ ง นี้ ต่ า งมี ค วามมุ ่ ง หวั ง ให้ ภ าครั ฐ ได้ ตระหนักถึงความส�ำคัญของภาคปศุสัตว์ และ วิชาชีพเกษตรกรที่เป็นสัมมาชีพของคนไทยกว่า 25% ที่ทุกภาคส่วนของไทยต้องร่วมกันปกป้อง เพือ่ ให้เป็นเสาหลักเศรษฐกิจคูก่ บั ไทย ส่งต่ออาชีพ สูร่ นุ่ ลูก รุน่ หลาน นาทีนตี้ อ้ งขอส่งแรงใจให้รฐั บาล ไทย ในการปกป้องอาชีพการเลีย้ งหมู และยืนหยัด ปกป้องสุขภาพของคนไทยอย่างถึงที่สุด
Market Leader
'กฤษฎา' ตีกลับข้อเสนอจ�ำน�ำกุ้ง กระทรวงเกษตรฯ ไม่รับข้อเสนอเอกชน เปิดรับจ�ำน�ำแก้ปัญหาราคากุ้งตกต�่ำ อ้างไม่มีงบ พร้อมดึงผูป้ ระกอบการแช่เยือกแข็งรับซือ้ กิโลกรัม ละ 130 บาท แลกขอน�ำเข้ากุ้งป้อนโรงงาน
นอกจากนี้ ได้ สั่ ง การให้ ก รมประมงขึ้ น ทะเบียนผูเ้ ลีย้ งกุง้ พร้อมหารือผูผ้ ลิตอาหารกุง้ ว่า จะลดราคาได้เพียงใด และด�ำเนินการให้เสร็จ ภายในวันที่ 10 พ.ค. นี้
นายกฤษฎา บุ ญ ราช รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลัง การหารือร่วมกับสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย กระทรวงมหาดไทย และกรมการค้าภายใน ว่า ตามที่ผู้เลี้ยงกุ้ง จ.นครศรีธรรมราช และสงขลา ขอให้แก้ปัญหาราคากุ้งขาวแวนนาไมตกต�่ำ โดย จ�ำน�ำกุง้ ขาวเพือ่ ชดเชยส่วนต่างราคา จากปัจจุบนั กุ้ง 100 ตัวต่อกิโลกรัม มีราคา 105 บาท แต่ ต้องการขายที่กิโลกรัมละ 130 - 140 บาท
ส่วนสาเหตุราคากุ้งตกต�่ำมาจาก ปีนี้มีกุ้ง อินเดียออกตลาดมาก โดยมีก�ำลังการผลิต 6 - 7 แสนตันต่อปี ท�ำให้ขายได้ในราคาต�่ำที่ 80 - 90 บาทต่อกิโลกรัม และมีตลาดหลักคือ สหรัฐ และ จีน ส่วนไทยมีกำ� ลังการผลิตเพียง 2 แสนตัน และ ถูกผูน้ ำ� เข้าอ้างว่าไม่มคี ณ ุ ภาพ หรือพบการปนเปือ้ น สารไบโอติก
ทัง้ นี้ รัฐบาลไม่มนี โยบายรับจ�ำน�ำกุง้ เพราะ ไม่มีงบมากพอที่จะชดเชยส่วนต่างราคา จึงเสนอ ให้สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งช่วย โดยรับซื้อกุ้ง ในราคากิโลกรัมละ 130 - 140 บาท ซึ่งสูงกว่า ต้นทุนเฉลี่ยที่อยู่กิโลกรัมละ 110 - 120 บาท แต่ สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทยต้องการให้รฐั หากุง้ ป้อนโรงงานที่มีก�ำลังการผลิตมากถึง 6 แสนตัน ต่อปี แต่ไทยผลิตกุ้งได้ 2 แสนตันต่อปี ส่งผลให้ โรงงานชะลอการแปรรูปเพราะขาดวัตถุดิบ แต่ยงั มีต้นทุนแรงงานต่อเนื่อง
นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่า ก่อนหน้านี้สมาคมอาหารแช่เยือกแข็ง ไทย ขอน�ำเข้ากุ้งจากอินเดียเพื่อป้อนโรงงานที่มี ก�ำลังการผลิตเหลืออยู่ 4 แสนตัน เพือ่ ให้แรงงาน มีงานท�ำ โดยจะควบคุมไม่ให้กระทบกับราคากุ้ง ในประเทศ ซึ่งกุ้งขณะนั้นยังแพงอยู่ แต่เกษตรกร บางกลุม่ ไม่ยนิ ยอมเพราะกังวลว่าจะเกิดปัญหากด ราคารับซือ้ กุง้ ในประเทศ และมีโรคระบาดตามมา แต่ต้องการให้ราคากุ้งเป็นไปตามกลไกตลาด ส�ำหรับเงือ่ นไของค์การการค้าโลก (ดับเบิล ยูทีโอ) ก�ำหนดให้ไทยเปิดตลาดน�ำเข้ากุ้ง แต่ต้อง ผลิตในพืน้ ทีไ่ ม่มโี รคระบาด ส่วนกุง้ อินเดียปัจจุบนั ยังไม่เปิดให้นำ� เข้า เพราะตรวจพบโรคในบางพืน้ ที่ จึงต้องตรวจสอบอย่างละเอียด
ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
49
Market Leader
ไฟเขียวเงินกู้ 1.6 พันล้าน ตั้ง 'ยุ้งฉาง' ดันราคาข้าว รัฐชดเชยดอกเบีย้ 3% วงเงิน 250 ลา้ น
สินเชื่อสร้างยุ้งฉาง : พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการนโยบายและ บริหารจัดการข้าว (นบข.) เห็นชอบให้สินเชื่อกับเกษตรกร และสถาบันเกษตรเพื่อสร้างยุ้งฉาง พร้อมติดตามสถานการณ์ ราคาข้าวทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างน่าพอใจ หลังดูดซับข้าวออกจากระบบ ได้กว่า 6 ล้านตัน
“นบข.” ไฟเขียวสินเชือ่ ให้เกษตรกรกูส้ ร้าง ยุ้งฉาง วงเงิน 1.6 พันล้าน เป้าหมายกว่า 1 หมื่น ราย หวังช่วยชะลอการขายข้าวเพิ่มขึ้น แจงผล การด�ำเนินงานฤดูกาลก่อนดันราคาข้าวเพิ่มขึ้น อย่างน่าพอใจ เชือ่ ราคาข้าวทรงตัวในระดับสูงทัง้ ปี คงเป้าส่งออก 9.5 ล้านตัน ลุ้นประมูลโควตา ฟิลิปปินส์ 2.5 แสนตัน เพิ่มยอดส่งออกทะลุเป้า นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร อธิบดีกรม การค้าภายใน เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะ กรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
50 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
ที่มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ว่าที่ประชุมมีมติเห็นชอบโครงการ สินเชื่อเพื่อสร้างยุ้งฉางให้เกษตรกร และสถาบัน เกษตร โดยให้สินเชื่อแก่เกษตรกร และสถาบัน เกษตรทีเ่ ป็นลูกค้า ธ.ก.ส. ทัว่ ประเทศ 1 หมืน่ ราย วงเงิ น กู ้ ที่ ธ นาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ จัดสรรวงเงินสินเชื่อ 1,671 ล้านบาท โดยจะจัดสรรเงินกูใ้ ห้กบั เกษตรกรรายย่อย และสถาบันเกษตรกร โดยกรณีเกษตรกรรายย่อย ได้รับสินเชื่อรายละไม่เกิน 1.5 แสนบาท กรณี สถาบันเกษตรกรไม่เกินแห่งละ 3 ล้านบาท โดย รัฐบาลชดเชยดอกเบี้ย 3% ต่อปี คิดเป็นวงเงิน 250 ล้านบาท และผูเ้ ข้าร่วมโครงการรับภาระเอง 1% ต่อปี โดยก�ำหนดเงื่อนไขให้เกษตรกร หรือ สถาบันเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการจะต้องเข้าร่วม โครงการสินเชือ่ เพือ่ ชะลอขายข้าวเปลือกนาปีทกุ ปี จนกว่าจะช�ำระหนีเ้ สร็จสิน้ เพือ่ ช่วยชะลอปริมาณ ข้าวที่จะออกสู่ตลาด นอกจากนี้ ทีป่ ระชุม นบข. ได้รบั ทราบการ ด�ำเนินงานมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ปลูก ข้าว ปีการผลิต 2560/61 ด้านการตลาด ในการ ดึงอุปทานข้าวเปลือกออกจากตลาดเป้าหมาย 12.5
Market Leader ล้านตัน โดยสามารถด�ำเนินการได้ในปีการผลิต ที่ผ่านมาได้ 6.21 ล้านตัน คิดเป็น 49.7% ของ เป้าหมาย ส่งผลให้ราคาข้าวเปลือกทุกชนิดปรับ ตัวสูงขึ้น ทัง้ นี้ โครงการต่างๆ ทีส่ ามารถดูดซับปริมาณ ข้าวออกจากตลาด ได้แก่ โครงการสินเชื่อชะลอ การขายข้าวเปลือก และการช่วยเหลือค่าเก็บเกีย่ ว ค่าปรับปรุงคุณภาพข้าวให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว สามารถดูดซับปริมาณข้าวได้ 1.4 ล้านตัน โครงการ สินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่ม โดย สถาบันเกษตรกรดูดซับปริมาณข้าวได้ 1.38 ล้าน ตัน และโครงการชดเชยดอกเบีย้ ให้ผปู้ ระกอบการ ค้าข้าวในการเก็บสต็อก ซึ่งสามารถดึงอุปทาน ออกจากตลาดได้กว่า 3.4 ล้านตัน
ขึ้นในวันที่ 11 พ.ค. 2561 โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นสักขีพยาน
นายบุณยฤทธิ์ กล่าวด้วยว่า ในปีนรี้ าคาข้าว ส่วนการด�ำเนินงานตามมติของ นบข. ได้ อยู่ในระดับที่น่าพอใจ เนื่องจากตลาดโลกมีความ ส่งผลให้ราคาข้าวเปลือกทุกชนิดปรับตัวสูงขึน้ โดย ต้องการและมีค�ำสั่งซื้ออย่างต่อเนื่อง ประกอบ ราคาข้าวในวันที่ 23 เม.ย. ที่ผ่านมา ราคาข้าว กับ ข้าวนาปรังได้ออกสูต่ ลาดหมดแล้ว การส่งมอบ หอมมะลิอยู่ที่ตันละ 15,300 - 17,400 บาท เพิ่ม ข้าวแบบจีทูจีให้รัฐบาลจีนในงวดที่ 5 ปริมาณ 1 ขึ้น 25.52% จากราคาเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2560 แสนตัน ส่งมอบแล้ว 61,400 ตัน คาดว่าจะส่งมอบ อยู่ที่ 11,550 - 14,500 บาท ข้าวเจ้า 5% ราคา เสร็จภายในเดือน พ.ค. นี้ และรัฐบาลฟิลิปปินส์ ตันละ 7,800 - 8,400 บาท เพิ่มขึ้น 7.28% จะเปิดประมูลน�ำเข้าข้าวแบบจีทจู ี ปริมาณรวม 2.5 ข้าวปทุมธานี ราคาตันละ 11,000 - 12,100 บาท แสนตัน ในวันที่ 4 พ.ค. 2561 ซึ่งเป็นโอกาสดี เพิม่ ขึน้ 32% ข้าวเหนียวคละ ราคาตันละ 8,500 - ที่ไทยจะเข้าร่วมการประมูลเพื่อให้ตลาดรองรับ 9,000 บาท เพิ่มขึ้น 16.28% ผลผลิตข้าว นับว่าเป็นสัญญาณเชิงบวกต่อราคา นอกจากนี้ นบข. ยังรับทราบผลการด�ำเนิน ข้าวเปลือกที่เกษตรกรจะได้รับ และเป็นผลดีต่อ การเชือ่ มโยงตลาดข้าว กข43 โดยเป็นการร่วมกัน สถานการณ์ตลาดข้าวไทยทั้งระบบ ระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวง “เป้ า หมายการส่ ง ออกข้ า วในปี นี้ ยั ง คง พาณิชย์ เชื่อมโยงตลาดตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ เป้าหมายไว้ที่ 9.5 ล้านตัน โดยยังไม่รวมกับ จ�ำนวน 1,121 ตัน และ จะเริ่มวางจ�ำหน่ายใน โควตาที่ฟิลิปปินส์มีการเปิดให้ส่งออกข้าว ซึ่ง โมเดิร์นเทรด ตั้งแต่วันที่ 15 พ.ค. นี้เป็นต้นไป หากมีการประมูลได้ก็จะท�ำให้ประเทศไทยมีการ ราคากิโลกรัมละ 60 บาท ซึ่งได้ก�ำหนดให้มีพิธี ส่งออกข้าวได้มากขึ้นกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้” นาย ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (เอ็มโอยู) บุณยฤทธิ์ กล่าว ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
51
Market Leader
ไก่ ไทยส่งออกเนื้อหอม อียู - ญี่ปุ่น ออเดอร์ต่อเนื่อง
เพิง่ ส่งออกเนือ้ ไก่ไปจีนได้เป็นครัง้ แรกเมือ่ ปลาย มี.ค. ทีผ่ า่ นมา หากทางการจีนรับรองโรงงานช�ำแหละไก่ไทยอีก 12 แห่ง จนครบ 19 แห่ง จะท�ำรายได้เข้าประเทศได้ถึงปีละ 20,000 ล้าน ล่าสุดอุตสาหกรรมไก่ไทยมีข่าวดีอีกแล้ว เมื่อสหภาพยุโรป และญี่ปุ่นมีความต้องการไก่ไทยเพิ่มขึ้น ทั้งนี้จากการเปิดเผยของ น.สพ.สมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ “มิสเตอร์ ไก่เนื้อ” กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ว่า จากการเดินทางไปญี่ปุ่น เพื่อร่วมหารือกับหน่วยงานสุขอนามัยการน�ำเข้าไก่เนื้อของญี่ปุ่น (MAFF) ได้ข้อมูลขณะนี้ ผลิตภัณฑ์เนื้อไก่แปรรูปของไทยขึ้นแท่น ผูน้ ำ� ในตลาดญีป่ นุ่ แซงหน้าบราซิลได้เป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว เนือ่ งจาก ได้รบั เสียงตอบรับจากชาวญีป่ นุ่ เป็นอย่างมาก ทัง้ คุณภาพ มาตรฐาน โดยเฉพาะรสชาติของไก่ปรุงสุก ส่วนไก่ดิบที่เพิ่งเปิดตลาดญี่ปุ่น ได้ 3 ปี ท�ำให้ญี่ปุ่นหันมาออเดอร์ไก่ดิบจากไทยเพิ่มขึ้น เพราะเรา ได้เปรียบกว่าคูแ่ ข่งส�ำคัญอย่างสหรัฐอเมริกา และบราซิล เนือ่ งจาก ระยะทางขนส่งใกล้กว่า ท�ำให้มีโอกาสเติบโตได้อีกมาก “ส่วนอียูอีกตลาดใหญ่ แม้ปริมาณส่งออกจะถูกล็อกด้วย โควตาก็ตาม แต่ด้วยไก่เนื้อไทยยังคงคุณภาพมาตรฐาน ก�ำลังจะมี ข่าวดีเช่นกันทีค่ แู่ ข่งลดลง เพราะอียไู ด้สงั่ ห้ามโรงงานไก่บางแห่งของ บราซิลส่งไก่เข้าอียู เนื่องจากมีปัญหามาตรฐานสินค้า” นายคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ ผู้จัดการสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อการ ส่งออกไทย บอกว่ากลางปีนี้ราคาเนื้อไก่ส่งออกน่าจะเริ่มกลับมาดีขึ้น เนื่องจากตลาดอียูเร่งการ น�ำเข้าเนื้อไก่ให้ครบตามโควตา ขณะเดียวกันตลาดญี่ปุ่นสั่งซื้อมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีตลาดรอง อย่างเกาหลีใต้ และสิงคโปร์ มีความต้องการอย่างต่อเนื่อง “ถือว่าเป็นโอกาสของไทยในการต่อรองราคากับสองตลาดใหญ่ ท�ำให้สามารถปรับราคาขึน้ ได้ เมื่อเทียบกับช่วงต้นปีที่ต้องลดราคาลง โดยเฉพาะญี่ปุ่นที่ความต้องการเพิ่มขึ้นอย่างมากปีละ 12 13% ด้านอียทู กี่ ำ� หนดโควตาส่งออกปีละ 2.7 แสนตัน จะจบอีก 2 เดือนข้างหน้า ท�ำให้ผปู้ ระกอบการ เร่งส่งออกตามออเดอร์ให้เสร็จไม่เกินพฤษภาคม” ที่มา : ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
52 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Market Leader
กรมส่งเสริมการเกษตรขอความร่วมมือ
โรงงานอาหารสัตว์ ไม่ให้รับซื้อข้าวโพด ในพื้นที่ ไม่มีเอกสารสิทธิ์
p ho t o
by AJFamily
กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรฯ ได้เชิญสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย และผู้ที่เกี่ยวข้อง ร่วมประชุมหารือแผนการด�ำเนินการและมาตรการต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการควบคุมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่บุกรุกป่า หลังราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบันขยับตัวสูงขึ้นถึง 10.70 บาท/กก. และมีแนวโน้มพุ่ง ทะยานแตะ 11 บาท/กก. ซึง่ จูงใจให้เกษตรกรกลับไปปลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในพืน้ ที่ ป่าในฤดูกาลนี้ นายส�ำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริม การเกษตร เปิดเผยว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตระหนักดีถึงปัญหาการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ บุกรุกป่า ซึ่งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของประเทศ จึง ได้ร่วมกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อด�ำเนินการหา มาตรการแก้ปญ ั หาในประเด็นนี้ ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว ขณะเดียวกันพบว่า ขั้นตอนของการรับซื้อข้าวโพด นับ เป็นอีกขั้นตอนส�ำคัญในการแก้ปัญหาดังกล่าว จึงขอความร่วมมือไปยังโรงงาน อาหารสัตว์ทั้งหมด ให้รับซื้อผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากเกษตรกรที่ปลูกในพื้นที่ ปลูกข้าวโพดทีถ่ กู ต้องตามกฎหมาย หรือเป็นพืน้ ทีป่ ลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ทมี่ เี อกสาร สิทธิท์ ี่ถูกต้อง โดยกรมส่งเสริมการเกษตรได้ออกหนังสือเลขที่ กษ. 1011/ว582 ถึง สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ให้ชี้แจงท�ำความเข้าใจกับสมาชิกสมาคมโดยทั่วกัน ทั้งนี้ ในช่วงปี 2560 ที่ผ่านมา รัฐบาลมีมาตรการในเรื่องของการลดพื้นที่ ท�ำการเกษตรที่ไม่ถูกต้องอย่างเข้มงวด โดยผ่านกลไกอย่างคณะกรรมการนโยบาย ที่ดินแห่งชาติ และคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด จากมาตรการดังกล่าว พบว่าตัวเลขพื้นที่บุกรุกป่าปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลดลงกว่า 5 แสนไร่ จากพื้นที่ ทั้งหมด 3.67 ล้านไร่ ซึ่งถือเป็นสัญญาณที่ดี แต่สิ่งที่น่ากังวลคือ ในปี 2561 นี้ มีแนวโน้มทีเ่ กษตรกรจะกลับมาปลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์เพิม่ เติม เพราะช่วงทีผ่ า่ นมา ที่มา : สำ�นักข่าว กรมประชาสัมพันธ์ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
53
Market Leader ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีราคาสูง จูงใจให้กระบวนการปล่อยเกี๊ยว (การปล่อยสินเชื่อ เป็นปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ดพันธุ์ หรือปุ๋ย โดยช�ำระหนี้เป็นผลผลิตข้าวโพด) แต่ เกษตรกรมีเพิม่ มากขึน้ จึงจะขอความร่วมมือสมาคมการค้าเมล็ดพันธุไ์ ทย ควบคุม การจ�ำหน่ายเมล็ดพันธุใ์ ห้กบั เกษตรกรทีม่ พี นื้ ทีเ่ พาะปลูกถูกต้อง และ ธ.ก.ส. ปล่อย สินเชื่อแก่เกษตรกรที่มีพื้นที่ปลูกที่ถูกต้องเท่านั้น นอกจากนี้จะด�ำเนินการจัดตั้ง “คณะกรรมการพัฒนาการผลิตข้าวโพดเลี้ยง สัตว์อย่างยัง่ ยืน” ให้แล้วเสร็จภายในเดือนพฤษภาคม 2561 โดยมีเป้าหมายหลักคือ
1. เร่งพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต 2. น�ำ GAP หรือ Good Agriculture Practice มาใช้ เพือ่ ให้เกษตรกรเพาะปลูก อย่างถูกต้อง 3. ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น�้ำในหน้าแล้ง 4. การเพิ่มผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกที่ถูกต้อง อาทิ โครงการข้าวโพดหลังนา เพื่อลดปัญหาปริมาณข้าวโพดขาดแคลน 5. ลดพื้นที่ปลูกที่ไม่ถูกต้องจนเหลือศูนย์ เพื่อรักษาพื้นที่ป่าแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม และ 6. พัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับ เพื่อให้สามารถตอบโจทย์ผู้บริโภค ปลายทางในต่างประเทศได้ เป็นการป้องกันปัญหาการกีดกันสินค้าเกษตร ของไทยได้อีกทางหนึ่ง
ด้านนายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย กล่าวว่า สมาคมฯ ยินดีที่จะสนับสนุนไม่ให้ปลูกข้าวโพดในพื้นที่รุกป่า และเป็น นโยบายมานานมากแล้ว แต่ในทางปฏิบตั ยิ งั ไม่สามารถท�ำได้เต็มที่ เนือ่ งจากผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไม่เพียงพอต่อการใช้ผลิตอาหารสัตว์ การน�ำเข้าวัตถุดิบทดแทน อย่างข้าวสาลีกถ็ กู จ�ำกัด หากหยุดรับซือ้ ในทันทีจะกระทบต่อความมัน่ คงทางอาหาร แต่ยืนยันว่าจะต้องหยุดรับซื้อข้าวโพดที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ให้ได้ภายใน 2 ปี ซึ่ง ขึ้นอยู่กับแผนการเร่งพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และเพิ่มพื้นที่ เพาะปลูกข้าวโพดหลังนา เพือ่ มาทดแทนข้าวโพดในพืน้ ทีร่ กุ ป่าทีจ่ ะต้องลดลง ว่าจะ สามารถท�ำได้มากน้อยแค่ไหน โดยทุกคนที่เกี่ยวข้องจะต้องมาร่วมมือกัน “การสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรเกี่ยวกับผลกระทบจากการ เพาะปลูกในพื้นที่รุกป่าเป็นเรื่องส�ำคัญมาก เป็นเงื่อนไขที่จะเกิดขึ้นจากผู้บริโภค ในต่างประเทศ ไม่ใช่เป็นเงื่อนไขที่กลุ่มอาหารสัตว์สร้างขึ้นมาเอง” นายกสมาคม ผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย กล่าว
54 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Market Leader
“ญี่ปุ่น” สต็อกล้น!
กดราคารับซื้อไก่ไทย 500 ดอลลาร์ต่อตัน นายคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ ผู้จัดการสมาคม ผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย เปิดเผยถึงการส่งออก สิ น ค้ า ไก่ ข องไทยช่ ว ง 2 เดื อ นแรกของปี นี้ ว ่ า สามารถส่งออกได้ 1.29 แสนตัน (คิดมูลค่า 1.56 หมื่นล้านบาท) ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ของปีกอ่ น 16% ถือว่ายังขยายตัวได้ตอ่ เนือ่ ง โดย ตัวเลขการส่งออกไปตลาดญี่ปุ่นสัดส่วน 51% สหภาพยุโรป (อียู) 38% ที่เหลือเป็นตลาดอื่นๆ เช่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ ฮ่องกง มาเลเซีย อย่างไรก็ดี ภาพรวมการส่งออกสินค้าไก่ ของไทยช่วงไตรมาสแรกปีนี้ แม้จะยังส่งออกได้ดี แต่ขายได้ราคาลดลง เฉพาะอย่างยิ่งตลาดญี่ปุ่น ที่ไตรมาสแรกได้ขอต่อราคาไก่สดแช่แข็งลงเหลือ 2,500 - 2,600 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน จากราคา เฉลี่ยปีที่ผ่านมาอยู่ที่ 3,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อ ตัน หรือลดลง 400 - 500 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตัน เมื่อบวกกับเงินบาทที่แข็งค่ามาก ท�ำให้ผู้ส่งออก มีรายได้ และก�ำไรที่ลดลง “ทางผู้น�ำเข้าญี่ปุ่นอ้างเหตุผลขอลดราคา ไก่สดว่า เนื่องจากสต็อกที่เขามีอยู่ในเวลานี้ยังมี มาก อย่างไรก็ตาม ในไตรมาสที่ 2 ของปีนี้ มีผู้ ส่งออกไก่ไปญี่ปุ่นหลายรายได้ช่วยกันเจรจาผลัก
ดันขอปรับราคาขึ้นอีกประมาณ 200 ดอลลาร์ต่อ ตัน จากความต้องการของตลาดญี่ปุ่นมีมากขึ้น ขณะที่ต้นทุนการผลิตของไทยเพิ่มขึ้นจากราคา วัตถุดิบอาหารสัตว์ เช่น ข้าวโพดปรับตัวสูงขึ้น” ส�ำหรับภาพรวมการส่งออกสินค้าไก่ของ ไทยในปี 2561 ล่าสุด ทางสมาคมฯ ตั้งไว้ที่ 8.2 แสนตัน มูลค่า 1.05 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปี 2560 ที่ส่งออกได้ 8.01 แสนตัน มูลค่า 1.02 แสนล้านบาท โดยปัจจัยบวกคือ ตลาดหลัก คือ ญี่ปุ่น และอียู ยังมีความต้องการน�ำเข้าต่อเนื่อง ล่าสุด จีนได้อนุญาตการน�ำเข้าสินค้าไก่สด 7 โรงงาน จาก 6 บริษัทของไทย ที่ผ่านการตรวจ รับรองไปตลาดจีนแล้ว (หลังหยุดไปตัง้ แต่ปี 2547 ที่ไทยมีปัญหาไข้หวัดนกระบาด) ซึ่งจะช่วยเพิ่ม ยอดการส่งออกไก่ไทยได้เพิ่มขึ้น (เบื้องต้น กรม ปศุสัตว์คาดจะช่วยเพิ่มยอดส่งออกสินค้าไก่ของ ไทยไปจีนประมาณ 7,000 ล้านบาทต่อปี) ขณะที่ ปัจจัยลบที่ส่งผลกระทบต่อการ ส่งออกมากทีส่ ดุ ในเวลานีค้ อื เงินบาททีแ่ ข็งค่ามาก ท�ำให้รายได้ของผู้ส่งออกเมื่อทอนกลับมาเป็น เงินบาทลดลง ขอให้ภาครัฐช่วยดูแลค่าเงินอย่าให้ แข็งค่าไปมากกว่านี้
ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 (https://www.thaipoultrybiz.com) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
55
Market Leader
เปิดตัว
ระบบตรวจสอบย้อนกลับดิจิตัล!! ปี 2563 ติดตั้งครบทุกผลิตภัณฑ์ ซีพีเอฟ เปิดตัวระบบตรวจสอบย้อนกลับแบบดิจิทัล ตลอดห่วงโซ่การ ผลิตอาหาร ทยอยติดตั้งครอบคลุมทุกผลิตภัณฑ์ของซีพีเอฟคาดติดตั้งครบทุก ผลิตภัณฑ์ปี 2563 นายวีรชัย รัตนบานชื่น ประธานผู้บริหารฝ่ายปฏิบัติการ สายธุรกิจไก่เนื้อ ซีพีเอฟ เป็นประธานเปิดงานสัมมนา CPF Digital Traceability; Food Supply Chain ส�ำหรับผู้บริหารของซีพีเอฟทั้งในประเทศและต่างประเทศ กล่าวว่า ระบบ ตรวจสอบย้อนกลับแบบดิจติ ลั ตลอดทัง้ ห่วงโซ่การผลิตอาหาร เป็นระบบตรวจสอบ ทีแ่ ม่นย�ำ รวดเร็ว และโปร่งใส สร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูบ้ ริโภค เป็นประโยชน์ในการ สร้างศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจ และสนับสนุนให้บริษทั เป็นผูน้ ำ� ด้านคุณภาพ และอาหารปลอดภัยของโลก “ระบบตรวจสอบย้อนกลับแบบดิจิตัล จะช่วยควบคุมการผลิตตลอดห่วงโซ่ อาหาร และลดความเสีย่ งด้านคุณภาพความปลอดภัยทางอาหาร ช่วยควบคุมปัญหา ลดการสูญเสีย และผลกระทบทางธุรกิจ สู่การจัดการอย่างยั่งยืน ที่ส�ำคัญผู้บริโภค สามารถตรวจสอบทีม่ าของวัตถุดบิ ได้ ซึง่ เป็นหนึง่ ในยุทธศาสตร์สำ� คัญของบริษทั ฯ” นายวีรชัย กล่าว ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 (https://www.thaipoultrybiz.com)
56 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Market Leader ระบบการตรวจสอบย้อนกลับแบบดิจิตัล ของซี พี เ อฟ เป็ น ซอฟแวร์ ที่ ถู ก พั ฒ นาขึ้ น โดย หน่วยงานเทคโนโลยีและสารสนเทศของบริษัท โดยเน้นการเชื่อมโยงข้อมูลทั้งหมดในห่วงโซ่การ ผลิตแบบ Big Data เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต ขณะเดียวกันยังช่วยเพิม่ ความแข็งแกร่งให้กบั ธุรกิจแบบครบวงจรของซีพเี อฟ ซึง่ น�ำไปใช้ทดแทน ระบบการตรวจสอบย้อนกลับแบบดั้งเดิมที่ต้อง มีการจดบันทึกข้อมูลและเก็บหลักฐาน นายวีรชัย กล่าวว่า ซีพีเอฟ ได้เร่งจัดท�ำ ระบบตรวจสอบย้อนกลับแบบดิจติ ลั ให้ครอบคลุม ทุกผลิตภัณฑ์ของซีพีเอฟในประเทศไทยให้แล้ว เสร็จภายในปี 2561 และเป็นต้นแบบขยายไปต่าง ประเทศให้แล้วเสร็จภายในปี 2563 โดยปฏิบัติ ตาม “นโยบายการตรวจสอบย้อนกลับในเรื่อง อาหารของซีพีเอฟ” รวมทั้งติดตั้งซอฟแวร์ระบบ การตรวจสอบย้อนกลับสินค้าที่เหมาะสม เพื่อ สร้างระบบตรวจสอบย้อนกลับแบบดิจติ ลั (Digital Traceability) ที่รวดเร็ว แม่นย�ำ และโปร่งใส
นางสาวกุ ห ลาบ กิ ม ศรี รองกรรมการ ผู้จัดการ ส�ำนักระบบมาตรฐานสากล ซีพีเอฟ กล่าวเพิม่ เติมว่า CPF Digital Traceability; Food Supply Chain คือ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ สินค้าในรูปแบบดิจติ ลั ทีส่ ามารถสอบกลับสินค้าได้ ตลอดห่วงโซ่การผลิต จุดแข็งของระบบฯ ของ ซีพีเอฟ คือ ความแม่นย�ำ รวดเร็ว และโปร่งใส เนื่องจากมีการจัดการระบบข้อมูลด้วยการเชื่อม ต่อข้อมูลการผลิตของแต่ละหน่วยธุรกิจ ตั้งแต่ อาหารสัตว์ ฟาร์มเลีย้ งสัตว์ โรงงานแปรรูปเบือ้ งต้น โรงงานอาหารแปรรูป และการส่งมอบสินค้าด้วย โปรแกรม “F2F” ภายใต้คอนเซ็ป Feed to Food ที่ออกแบบและพัฒนาโดยทีมงาน CPFIT Center ซีพีเอฟ ทยอยติดตั้งระบบการตรวจสอบ ย้อนกลับให้ใช้ได้ทกุ หน่วยงาน และน�ำไปประยุกต์ ใช้ได้กบั ทุกกลุม่ ผลิตภัณฑ์ โดยสามารถสอบกลับ ประวัติการผลิตสินค้าแต่ละรุ่น (Lot no./Sub Lot no.) กลับไปยังฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ลูกพันธุ์สัตว์ อาหารสัตว์ รวมถึงวัตถุดบิ ทีใ่ ช้ เพือ่ สนับสนุนการ ผลิตแบบครบวงจร และคุณภาพอาหารปลอดภัย ของซีพีเอฟ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
57
Market Leader
“ส.อาหารสัตว์” เผย
ไม่ปรับราคาขนส่ง หลังราคาน�้ำมันขึ้น 5% นายกสมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย เผยยังไม่ปรับขึน้ ราคา รับค่าขนส่งขึน้ 5% มีผลต่อต้นทุน รอดูท่าที พณ. ช่วยผู้ประกอบการ กรณีที่สหพันธ์ฯ ขนส่งประกาศปรับขึ้นราคาขนส่งทุกประเภทร้อยละ 5 โดยให้เหตุผลว่า ราคาน�ำ้ มันดีเซลปรับขึน้ ลิตรละ 3 บาท ค่าแรงงานขนส่งกรุงเทพฯ และปริมณฑลปรับเป็น 330 บาท การจราจรติดขัดท�ำให้รถบรรทุกท�ำรอบ ได้เพียง 1 รอบต่อวันนั้น ด้าน นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ ไทย เปิดเผยว่า เหตุผลเรื่องการปรับขึ้นค่าขนส่งอีกร้อยละ 5 ตาม ราคาน�้ำมันดีเซล หากพิจารณาแล้วมีความสมเหตุสมผล แต่หากเป็น เรื่องค่าแรงและการจราจร ส่วนตัวมองว่าไม่ใช่ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และ หลังจากที่ค่าขนส่งปรับขึ้น คาดส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้าอุปโภค บริโภค สินค้าเกษตร และอาหารสัตว์ ดังนั้นจึงอยากให้กระทรวงพาณิชย์เข้ามา แก้ไขปัญหา พร้อมให้ความช่วยเหลือด้านผู้ประกอบการบ้าง นอกจากการดูแล ในส่วนของเกษตรกร ทั้งนี้ ในปัจจุบันก�ำลังซื้อในประเทศถือว่าอยู่ในระดับต�่ำมาก และหากราคา สินค้าปรับขึ้นอีก จะส่งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภาพรวม ขณะที่ ในส่วนของสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย จะยังไม่มีการประกาศ ปรับขึ้นราคาอาหารสัตว์ เนื่องจากปัจจุบันอยู่ในการควบคุมของกระทรวงพาณิชย์ แต่เบือ้ งต้นอาจมีการหารือร่วมกับสมาชิกถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ พร้อมจับตาท่าที ของหน่วยงานรัฐว่าจะออกมาแก้ไขปัญหาเรื่องดังกล่าวอย่างไร
ที่มา : INN (https://www.thaipoultrybiz.com)
58 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Market Leader
กรมประมงจับมือ ส.อาหารแช่เยือกแข็งไทย
ยันราคาซื้อกุ้งตามราคาที่ตกลง ขนาดกุ้งขาวแวนนาไม (ตัว/กิโลกรัม) 40 50 60 70 80 90 100
ราคารับซื้อหน้าฟาร์ม (บาท/กิโลกรัม) 170 160 145 135 130 125 125
นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า จากสถานการณ์ผลผลิตกุ้งขาวแวนนาไม ทัว่ โลกทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ในช่วงเดือนเมษายน 2561 ทีผ่ า่ นมา ส่งผลให้ราคากุง้ ขาวแวนนาไมในตลาดโลก และ ประเทศไทยตกต�่ำ ท�ำให้เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งของไทยได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก และขอให้ภาครัฐ ตลอดจนภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องช่วยแก้ไขปัญหา กรมประมงได้ตระหนักและเข้าใจถึงปัญหาความ เดือดร้อนของเกษตรกรเป็นอย่างมาก จึงได้ร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่การผลิตด�ำเนินการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนและช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งในระยะเร่งด่วน ไปแล้วหลายด้านและหนึ่งในนั้น กรมประมง ได้ร่วมกับสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย ด�ำเนินการโครงการประชารัฐรักษา เสถียรภาพกุ้งขาวแวนนาไม ปี 2561 เพื่อช่วยพยุงราคากุ้งไม่ให้ตกต�่ำอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มด�ำเนิน โครงการฯ ตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม 2561 เป็นต้นมา ซึ่งห้องเย็นจะรับซื้อกุ้งขาวแวนนาไมจาก เกษตรกรในราคาน�ำตลาด เป็นเวลา 60 วัน เริ่มตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม - 23 กรกฎาคม 2561 ตั้งเป้าการรับซื้อปริมาณรวม 1 หมื่นตัน และก�ำหนดให้เกษตรกรขายกุ้งได้รายละไม่เกิน 6 ตัน ตาม ราคาขนาดของกุ้ง (ดูตารางประกอบ)
ที่มา : ฐานเศรษฐกิจออนไลน์ วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
59
Market Leader
อย่าละเลยการป้องกัน
โรคตัวแดงดวงขาว และโรคหัวเหลือง โรคตัวแดงดวงขาว และโรคหัวเหลือง เป็น โรคทีเ่ กิดจากเชือ้ ไวรัสทีย่ งั คงสร้างความเสียหาย ให้เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ เป็นเวลานานหลายปี ปัจจัย ทีส่ ำ� คัญปัจจัยหนึง่ ทีท่ ำ� ให้กงุ้ มีความเสีย่ งต่อการ เกิดโรคคือ สภาวะอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น รอยต่อของฤดูกาล ฝนทีต่ กต่อเนือ่ งเป็นเวลา นานๆ หลายวัน เป็นต้น ท�ำให้มกี ารเปลีย่ นแปลง ของอุณหภูมเิ พิม่ ขึน้ หรือลดลงอย่างรวดเร็ว เมือ่ สภาพแวดล้อมของกุ้งมีการเปลี่ยนแปลง กุ้งจะ ต้องใช้พลังงานที่ได้จากอาหารส่วนใหญ่ไปใช้ใน กระบวนการหายใจเพื่อรักษาสมดุลของร่างกาย มากกว่าสภาวะปกติ ประกอบกับการกินอาหาร ของกุ้งที่ลดลงในสภาวะดังกล่าว ท�ำให้พลังงาน ที่จะใช้ในการเจริญเติบโต หรือสร้างภูมิคุ้มกัน ลดลง กุ้งก็จะเครียด อ่อนแอ และสามารถติด เชื้อได้ง่ายขึ้น ซึ่งการป้องกันโรคเหล่านี้สามารถ ท�ำได้โดยการใช้ลูกกุ้งที่ปลอดเชื้อ และมีระบบ ไบโอซีเคียวที่ดี รวมทั้งมีการจัดการระหว่างการ เลีย้ งทีด่ เี พือ่ ให้กงุ้ อยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีด่ ี ท�ำให้ กุง้ อยูส่ บาย ไม่เครียด มีการเจริญเติบโตทีด่ ี และ มีโอกาสเกิดโรคได้น้อยลง ช่วงหลายปีที่ผ่านมา โรคอีเอ็มเอส และ โรคติดเชื้ออีเอชพี ได้สร้างความเสียหายให้กับ ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 30 ฉบับที่ 357 เดือนเมษายน 2561
60 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งเกือบทุกพื้นที่ของการเลี้ยง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจึงให้ความส�ำคัญ และมุ่งมั่น ที่จะป้องกันและควบคุมทั้ง 2 โรคนี้อย่างเต็มที่ ท�ำให้อาจจะละเลย หรือให้ความใส่ใจกับระบบ ไบโอซีเคียวในการป้องกันโรคตัวแดงดวงขาว และ โรคหัวเหลืองน้อยลง ประกอบกับในช่วงที่ผ่านมา สภาพภูมิอากาศของไทยมีการเปลี่ยนแปลง และ แปรปรวนค่อนข้างมาก ท�ำให้บางพื้นที่เริ่มพบ ปัญหาการตายของกุง้ จากโรคตัวแดงดวงขาว และ โรคหัวเหลือง ดังนั้นจึงขอน�ำเสนอแนวทางการ ป้องกันและควบคุมโรค เพื่อเน้นย�้ำให้เกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งค�ำนึงถึงปัญหานี้ โดยมีแนวทางดังนี้
เน้นการป้องกันโรคด้วยระบบ ไบโอซีเคียวอย่างเคร่งครัด ระบบไบโอซี เ คี ย ว เป็ น ระบบส� ำ คั ญ ที่ สามารถป้ อ งกั น และควบคุ ม โรคที่ เ กิ ด จากเชื้ อ ไวรัสได้ โดยมีเป้าหมายที่จะท�ำให้ระบบการเลี้ยง ปลอดจากเชื้อก่อโรค ซึ่งต้องป้องกันไม่ให้เชื้อ ไวรัสจากภายนอกเข้าสูร่ ะบบการเลีย้ ง ไม่วา่ จะเป็น ทางน�้ำ ทางบก และทางอากาศ รวมทั้งควบคุม ไม่ให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อที่เกิดจากการ ระบาดของโรคภายในฟาร์ม ดังนั้น เกษตรกร
Market Leader
รั้วกันปู และตาข่ายกันนกของบ่อเลี้ยงกุ้ง
ผู้เลี้ยงกุ้งต้องท�ำการตรวจสอบความสมบูรณ์ของ ระบบไบโอซีเคียวในส่วนที่เป็นโครงสร้าง ว่ามี ความพร้อมมากน้อยเพียงใด จุดไหนที่ยังมีข้อ บกพร่องก็ต้องท�ำการเสริม หรือซ่อมแซมปรับปรุง เพือ่ ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากในส่ ว นที่ เ ป็ น โครงสร้ า งแล้ ว ยั ง ต้ อ ง ทบทวนและปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติงานให้มี ความเหมาะสม ถูกต้อง และรัดกุมทีเ่ พียงพอ เพือ่ ให้ระบบไบโอซีเคียวสามารถป้องกันโรคได้อย่าง มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีหลักปฏิบัติพื้นฐาน ประกอบไปด้วย การใช้ลูกกุ้งปลอดเชื้อ (SPF) การก�ำจัดเชื้อ และสัตว์พาหะที่พื้นบ่อและน�้ำที่น�ำ มาใช้เลี้ยงกุ้ง การป้องกันสัตว์พาหะจากภายนอก เข้าสูบ่ อ่ เลีย้ ง โดยมีรวั้ รอบพืน้ ทีเ่ ลีย้ ง รัว้ กัน้ ปู และ เชือก หรือตาข่ายกันนก การป้องกันการปนเปือ้ น จากผู้ปฏิบัติงานและอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ โดย มีจดุ ฆ่าเชือ้ ก่อนเข้าพืน้ ทีเ่ ลีย้ งและบ่อเลีย้ ง รวมทัง้ มีการแยกผูป้ ฏิบตั งิ านและอุปกรณ์ระหว่างบ่อ หรือ โซนเลี้ยงที่ชัดเจน ในกรณี ฟ าร์ ม เลี้ ย งที่ มั ก ประสบปั ญ หานี้ เป็นประจ�ำทุกๆ ปี เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ ต้องท�ำการ วิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงจุดที่เป็นความเสี่ยงหลัก ของฟาร์มที่เป็นช่องทางท�ำให้เชื้อจากภายนอก มีโอกาสปนเปือ้ นเข้าสูบ่ อ่ เลีย้ งมากทีส่ ดุ แล้วสร้าง มาตรการเสริมเพิม่ เติมในจุดนัน้ ๆ ให้มคี วามรัดกุม
มากยิ่งขึ้น เช่น ฟาร์มที่อยู่ในพื้นที่ที่มีนกบินผ่าน บ่อเลี้ยงเป็นประจ�ำทุกวัน อาจต้องคลุมบ่อด้วยมุ้ง ขาวซึ่งสามารถป้องกันปัญหานี้ได้อย่างสมบูรณ์ ส่วนฟาร์มที่มีบ่อเลี้ยงอยู่ติดกับทะเล ลมมรสุม อาจพัดพาละอองน�ำ้ จากทะเลทีม่ กี ารปนเปือ้ นของ เชือ้ เข้ามาสูบ่ อ่ เลีย้ งได้ ควรท�ำแนวก�ำบังละอองน�ำ้ หรือเว้นการลงกุง้ ในบ่อทีม่ กั ได้รบั ผลกระทบในช่วง ที่มีปัญหา นอกจากนี้ เสา หรือโครงสร้างส�ำหรับ กางเชือกกันนก หรือมุง้ ต้องมีความแข็งแรงมากพอ ที่ไม่ให้เชือกกันนก หรือมุ้งล้ม และฉีกขาดจาก แรงลมได้ ส่วนพื้นที่ไหนที่มีปูเป็นจ�ำนวนมาก ก็ ต้องให้ความส�ำคัญกับการป้องกันปูเป็นพิเศษ โดย หมั่นตรวจสอบรั้วกั้นปูให้อยู่ในสภาพดี ไม่ขาด ไม่ล้ม ในช่วงการเตรียมบ่อ ต้องก�ำจัดปูในบ่อให้ หมด รวมทั้งก่อนลงกุ้งต้องก�ำจัดปูในบริเวณพื้นที่ เลี้ยงให้หมดด้วย นอกจากนี้ ในระหว่างการเลี้ยงถ้ามีการจับ กุง้ ออกบางส่วน (Partial Harvest) โดยคนงานจาก ภายนอกนัน้ อุปกรณ์ตา่ งๆ ทีใ่ ช้ในการจับกุง้ ต้อง มีการฆ่าเชือ้ รวมทัง้ คนงานจะต้องอาบน�ำ้ ด้วยสาร ฆ่าเชื้อและเปลี่ยนชุดใหม่ที่ฟาร์มจัดให้ก่อนลง บ่อเลีย้ งทุกครัง้ เพือ่ ป้องกันเชือ้ จากภายนอกเข้าสู่ บ่อ และสร้างความเสียหายกับกุ้งที่เหลืออยู่ใน บ่อเลี้ยงได้
ต้องใส่ใจและให้ความสำ�คัญ กับการบำ�บัดน้ำ� ก่อนนำ�ไป เลี้ยงกุ้งอย่างจริงจัง การบ�ำบัดน�้ำก่อนน�ำไปใช้ในการเลี้ยงนั้น จะต้องก�ำจัดสัตว์พาหะ และเชื้อไวรัสอิสระในน�้ำ ให้หมด เนือ่ งจากระบบการเลีย้ งกุง้ ในปัจจุบนั ต้อง ใช้น�้ำในการเปลี่ยนถ่ายระหว่างการเลี้ยงมากขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดโรคอีเอ็มเอส และ โรคติดเชือ้ อีเอชพี จึงท�ำให้เกษตรกรอาจต้องเตรียม ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
61
Market Leader น�้ำอย่างเร่งรีบ เพื่อให้น�้ำมีเพียงพอส�ำหรับใช้งาน โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในกรณี ข องฟาร์ ม ที่ มี พื้ น ที่ ส�ำหรับบ�ำบัดน�ำ้ อย่างจ�ำกัด หรือกุง้ เริม่ มีอายุมาก ขึ้น ซึ่งต้องใช้น�้ำส�ำหรับการเปลี่ยนถ่ายเพิ่มมาก ขึน้ จึงท�ำให้มโี อกาสทีจ่ ะเกิดความผิดพลาดสูงขึน้ ดังนั้น น�้ำที่พร้อมใช้จะต้องมีการตรวจสอบจน มัน่ ใจว่าไม่มสี ตั ว์พาหะต่างๆ หลงเหลืออยูใ่ นน�ำ้ ซึง่ สามารถก�ำจัดด้วยสารฆ่าพาหะ ส่วนเชือ้ ไวรัสอิสระ ในน�ำ้ นัน้ อาจท�ำการก�ำจัดโดยการฆ่าเชือ้ ด้วยสาร เคมี หรือพักน�ำ้ เพือ่ ให้เชือ้ ไวรัสอิสระตาย ซึง่ ในช่วง หน้าฝนบางพืน้ ทีม่ กั จะประสบปัญหาความขุน่ ของ น�ำ้ จากตะกอนต่างๆ ทีแ่ ขวนลอยอยูใ่ นน�ำ้ โดยจะมี ผลต่อประสิทธิภาพของสารเคมีหลายๆ ชนิดที่ใช้ ในการฆ่าเชื้อ จึงอาจต้องเพิ่มปริมาณสารเคมีใน การบ�ำบัด หรือท�ำให้เกิดการตกตะกอนก่อน แล้ว จึงท�ำการบ�ำบัด ทั้งนี้ ระยะเวลาของการใช้น�้ำหลัง เตรียมเสร็จก็ไม่ควรทิง้ ระยะห่างนานเกินไป เพราะ เชือ้ จากภายนอกมีโอกาสทีจ่ ะเข้ามาในน�ำ้ ทีเ่ ตรียม พร้อมใช้นี้ด้วยเช่นกัน
ลดโอกาสที่ทำ�ให้กุ้งในบ่อ เกิดความเครียด การสร้างสภาพแวดล้อมในบ่อให้เหมาะสม กับการเลี้ยงกุ้งตลอดระยะเวลาการเลี้ยงนั้น จะ ช่วยให้กงุ้ อยูส่ บาย ไม่เครียด มีความแข็งแรง และ ความต้านโรคสูงขึ้น ท�ำให้โอกาสของการเกิดโรค น้อยลง ดังนั้น การควบคุมสภาพแวดล้อมในบ่อ เลี้ยงให้อยู่ในสภาพที่ดีจึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มี ความส�ำคัญต่อการลดความเสี่ยงของการเกิดโรค โดยแนวทางหลักๆ ของการจัดการบ่อเลี้ยงที่ดี ประกอบด้วย ๏ เลีย้ งกุง้ ทีม่ คี วามหนาแน่นเหมาะสม ซึง่ ความหนาแน่นของการลงกุ้งนี้จะขึ้นอยู่กับความ
62 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
พร้อมของฟาร์มและขนาดของกุ้งที่ต้องการจับ รวมทัง้ การให้อาหารต้องระมัดระวัง อย่าให้อาหาร เกินความต้องการของกุ้ง การเพิ่มอาหารจึงควร ค่อยๆ เพิ่ม ไม่ควรเพิ่มเร็วเกินไป ซึ่งอาจท�ำให้ อาหารเหลือได้ ๏ รักษาคุณภาพน�้ำทางเคมีให้เหมาะสม ต่อการเลีย้ งกุง้ โดยค่าคุณภาพน�ำ้ ทางเคมีทสี่ ำ� คัญ ได้แก่ ปริมาณออกซิเจนละลายน�้ำ (DO) ต้อง ไม่ต�่ำกว่า 5 พีพีเอ็ม พีเอช (pH) ควรอยู่ในช่วง 7.5 - 8.3 และมีคา่ ความแตกต่างในรอบวันไม่ควร เกิน 0.5 ค่าอัลคาไลนิตี้ (Alkalinity) ไม่ควรต�ำ่ กว่า 120 พีพีเอ็ม และมีปริมาณแร่ธาตุที่เพียงพอต่อ ความต้องการของกุ้ง โดยแคลเซียมควรมากกว่า 250 พี พี เ อ็ ม แมกนี เ ซี ย มควรมากกว่ า 400 พีพเี อ็ม และโพแทสเซียมควรมากกว่า 150 พีพเี อ็ม เป็นต้น ๏ สภาพพืน้ บ่อต้องสะอาด ในระหว่างการ เลีย้ งจะมีการสะสมของตะกอนซึง่ เป็นสารอินทรีย์ โดยเฉพาะที่พื้นบ่อ ถ้าไม่มีการก�ำจัดที่ดีพอ จะ ท�ำให้เกิดการหมักหมม และเน่าเสียของตะกอน ก่อให้เกิดสารพิษต่างๆ ในน�้ำ ซึ่งจะส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพกุ้งโดยตรง การก�ำจัดตะกอนที่เกิดขึ้น และสะสมที่พื้นบ่อในระหว่างการเลี้ยงโดยการดูด ตะกอนตั้งแต่ช่วงต้นของการเลี้ยงต่อเนื่องไปจน กระทัง่ วันทีจ่ บั กุง้ รวมทัง้ ควบคุมการให้อาหารอย่าง เหมาะสมร่วมกับการใช้โปรไบโอติกเป็นโปรแกรม อย่างต่อเนื่องก็จะสามารถลดปัญหานี้ได้ อย่างไรก็ตาม ถ้าในฟาร์มพบว่ามีกุ้งบ่อใด บ่อหนึ่งเกิดโรคตัวแดงดวงขาว หรือโรคหัวเหลือง ขึน้ สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือการป้องกันการแพร่กระจาย ของเชื้อจากบ่อที่ป่วย ไม่ให้ติดต่อไปยังบ่ออื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ บ่อทีใ่ ช้คนเลีย้ งชุดเดียวกัน หรือ อยู่ใกล้เคียงกับบ่ออื่นๆ ให้รีบเก็บตัวอย่างกุ้งป่วย
Market Leader ส่งห้องปฏิบตั กิ ารเพือ่ ตรวจวินจิ ฉัยโรค และท�ำการ แยกกั้นบ่อนั้นทันที โดยล้อมบ่อด้วยพีอี หรือ สแลนสูง 1.5 เมตร พร้อมทั้งแยกผู้ปฏิบัติงาน และอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากบ่ออื่นทันที เมื่อทราบ ผลตรวจว่ากุง้ ป่วยเป็นโรคตัวแดงดวงขาว หรือโรค หัวเหลือง ให้ฆา่ กุง้ ทิง้ ทันที และต้องทิง้ น�ำ้ ในบ่อไว้ ไม่น้อยกว่า 14 วัน เพื่อให้ไวรัสที่หลงเหลือในน�้ำ ตายหมดก่อนสูบทิ้ง ส่วนซากกุ้งตายก็รวบรวม แล้วน�ำไปท�ำลายทิง้ ในกรณีทตี่ อ้ งการจับกุง้ ติดเชือ้ และคลอรีนไม่มีผลกระทบต่อการขายกุ้ง ต้อง ป้องกันไม่ให้เชื้อไวรัสแพร่กระจายไปยังบ่ออื่นๆ ในระหว่างการจับกุ้ง โดยพื้นที่ท�ำงานต่างๆ เช่น จุดน�ำกุ้งขึ้น จุดจอดรถขนส่ง และเส้นทางการ ขนกุ้งจากบ่อไปยังลานคัด ต้องก�ำหนดให้อยู่ใน พื้นที่ท�ำงานที่มีความเสี่ยงการแพร่ของเชื้อไปยัง บ่อเลี้ยงอื่นน้อยที่สุด เครื่องสูบน�้ำ และท่อสูบน�้ำ ส�ำหรับใช้สูบน�้ำเลี้ยงออกนั้นต้องไม่รั่ว หรือซึม ออกมาขณะสูบน�้ำเลี้ยงออกจากบ่อ รวมทั้งต้อง ลดความแรงของน�้ ำ ตรงปลายท่ อ ที่ จ ะกระเซ็ น ออกนอกคลองน�้ำทิ้ง พร้อมทั้งใส่สารฆ่าเชื้อในน�้ำ ตรงบริเวณปลายท่อในขณะที่สูบออกตลอดเวลา ส�ำหรับการขนส่งกุ้งนั้นต้องจุ่มกุ้งลงในคลอรีน ความเข้มข้น 100 พีพีเอ็ม ก่อนใส่ลงในถังขนส่ง ที่วางอยู่ในกระบะเพื่อป้องกันไม่ให้น�้ำเลี้ยงกุ้ง ไหลลงบนถนน และถังขนส่งนี้ต้องมีฝาปิดเพื่อ ป้องกันกุ้งกระเด็นหล่นระหว่างการขนย้าย ใน ขณะที่ก�ำลังขนย้ายกุ้งจากบ่อไปยังลานคัด ควร สเปรย์สารฆ่าเชื้อบนถนนตามหลังรถขนย้ายทุก ครั้ง เมื่อจับกุ้งเสร็จแล้ว อุปกรณ์ต่างๆ ส�ำหรับ จับกุง้ คัดแยกกุง้ รวมทัง้ ลานคัดและรถขนส่ง ต้อง ฆ่าเชือ้ ก่อนท�ำความสะอาด ส�ำหรับคนงานทีจ่ บั และ คัดแยกกุ้งนั้นก็ต้องอาบน�้ำด้วยสารฆ่าเชื้อโบร-
ตรวจสอบระบบไบโอซีเคียวที่ใช้งานอยู่ เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
โมเซฟ 200 พีพีเอ็ม เพื่อก�ำจัดเชื้อที่ปนเปื้อน ตามร่างกาย ทั้งนี้การจับกุ้ง หรือท�ำลายทิ้งต้อง ตัดสินใจทันที เนื่องจากกุ้งที่ป่วยจะมีการเพิ่ม จ�ำนวน และแพร่กระจายเชื้อไวรัสในบ่อได้อย่าง รวดเร็ว ถ้าปล่อยให้เชือ้ ไวรัสในบ่อมีปริมาณมาก จะ ท�ำให้การป้องกันการแพร่กระจายของเชือ้ ในฟาร์ม เมื่อมีการจับกุ้งท�ำได้ยากกว่าเมื่อเทียบกับการท�ำ ในขณะที่กุ้งเริ่มป่วย ซึ่งมีปริมาณเชื้อในน�้ำน้อย จะเห็นได้ว่าการป้องกันโรคตัวแดงดวงขาว และโรคหัวเหลืองนัน้ อยูใ่ นวิสยั ทีเ่ กษตรกรผูเ้ ลีย้ ง กุง้ สามารถควบคุมความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ ได้เกือบ ทั้งหมด แต่สิ่งที่ส�ำคัญคือ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจะ ต้องให้ความส�ำคัญ และใส่ใจกับระบบไบโอซีเคียว อย่างเต็มที่ มีการวางแผนและเตรียมความพร้อม ในการเลี้ยงที่ดี มีการบ�ำบัดน�้ำก่อนน�ำไปเลี้ยงกุ้ง อย่างจริงจัง รวมทั้งลดโอกาสที่ท�ำให้กุ้งในบ่อ เกิดความเครียดโดยการสร้างสภาพแวดล้อมใน บ่อให้เหมาะสมกับการเลีย้ งกุง้ ตลอระยะเวลาการ เลีย้ ง ถ้าสามารถปฏิบตั ไิ ด้ตามนีแ้ ล้ว เชือ่ มัน่ ได้วา่ จะสามารถลดความเสี่ยงของการเกิดโรคตัวแดง ดวงขาว และโรคหัวเหลือง และประสบความส�ำเร็จ ในการเลี้ยงกุ้งได้อย่างแน่นอน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
63
Around The World
ค้าชายแดน ‘ด่านเชียงแสน’ บูม!
ส่งไก่แช่แข็งไปจีน 1.3 หมื่นล้าน รายงานจาก จ.เชียงราย ว่า เมือ่ เร็วๆ นี้ ทีท่ า่ เรือพาณิชย์เชียงแสน จ.เชียงราย นายนิวัติ สุธีมีชัยกุล ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เป็น ประธานในพิธีปล่อยตู้คอนเทนเนอร์บรรจุผลิตภัณฑ์สัตว์ปีกเที่ยวปฐมฤกษ์ไปยัง สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีผู้บริหารระดับสูงของกรมปศุสัตว์ ผู้บริหารระดับสูง ของ จ.เชียงราย ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งองค์กรภาคเอกชน และ ผู้ประกอบการน�ำเข้า - ส่งออกสินค้าร่วมในพิธีเป็นจ�ำนวนมาก
5 ปี ส่งออกเฉียด 2 หมื่นล้าน สถิตกิ ารส่งออกชิน้ ส่วนไก่แช่แข็งผ่านด่านศุลกากรเชียงแสนย้อนหลังไป 5 ปี (ปีงบประมาณ 2556 - 2560) พบว่า มีการส่งออกสินค้าชิ้นส่วนไก่แช่แข็งไปแล้ว ทั้งสิ้นจ�ำนวน 203,669 ตัน มูลค่าการส่งออกทั้งสิ้น 13,695.75 ล้านบาท คิดเป็น 19.19% ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด ที่มีมูลค่าทั้งสิ้น 71,334.20 ล้านบาท
ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 (https://www.thaipoultrybiz.com)
64 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Around The World
ปั้นท่าเรือกวนเหล่ย ช่วงปี 2559 - 2560 ที่ผ่านมา ทางการ จีน ได้ทุ่มงบประมาณราว 200 ล้านหยวน หรือ ประมาณ 1,000 ล้านบาท ปรับปรุงท่าเรือกวนเหล่ย ท่าเรือเมืองท่าหน้าด่านแม่น�้ำโขงของจีน เพื่อให้ สามารถรองรับการขนส่งสินค้าด้วยตู้คอนเทนเนอร์ปรับอากาศได้ โดยได้สร้างโกดังขนาดใหญ่ มีพนื้ ทีก่ ว่า 2 หมืน่ ตารางเมตร ทีส่ ามารถควบคุม อุณหภูมิไว้ต�่ำกว่า -18 องศาเซลเซียส พัฒนาตู้ คอนเทนเนอร์เพือ่ รองรับการขนส่งสินค้าอาหารสด และอาหารแช่แข็ง พัฒนาท่าจอดเรือเพื่อรองรับ การขนส่งสินค้าด้วยตู้คอนเทนเนอร์ ตลอดจน ปรับปรุงถนน และสะพานจากท่าเรือกวนเหล่ย ไป ทีเ่ มืองจิง่ หง หรือเชียงรุง้ ทัง้ นี้ การปรับปรุงดังกล่าว ได้แล้วเสร็จ และได้เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ ไปแล้วเมื่อเร็วๆ นี้
ที่มาภาพ: ฐานเศรษฐกิจ
คิดภาษีแค่ 4%
ปศุสัตว์ตั้งเป้า 2 หมื่นล้าน/ปี
นโยบาย One Belt One Road ของนายสี จิ้นผิง ประธานาธิบดีจีน ส่งเสริมการขนส่งสินค้า โดยกองเรือพาณิชยนาวีแม่น�้ำโขง จึงก�ำหนดภาษี ขาเข้าสินค้าผัก ผลไม้สด และสินค้าแช่แข็ง ทีข่ นส่ง โดยตู้คอนเทนเนอร์ห้องเย็นผ่านท่าเรือกวนเหล่ย ไว้เพียง 4% ลดลงจากเดิมหลายเท่าตัว และทีส่ ำ� คัญ ยังทลายกรอบที่เคยก�ำหนดไว้ว่า สินค้าที่ผ่าน ท่าเรือกวนเหล่ยอนุญาตให้ขายได้เฉพาะในเขต ปกครองตนเองแคว้นสิบสองปันนาเท่านั้น เพราะ จากนีเ้ ป็นต้นไป สินค้าไทยทีข่ นส่งโดยตูค้ อนเทนเนอร์ห้องเย็นผ่านท่าเรือกวนเหล่ย สามารถส่งไป จ�ำหน่ายได้ทุกเมืองในมณฑลยูนนาน และหาก จะส่งไปขายยังมณฑลอื่นๆ ก็สามารถท�ำได้อย่าง ถูกต้องอีกด้วย
นายนิ วั ติ สุ ธี มี ชั ย กุ ล ผู ้ ช ่ ว ยรั ฐ มนตรี ประจ�ำกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ผู้เชี่ยวชาญจากจีนมาตรวจสอบระบบก�ำกับดูแล การผลิตเนื้อสัตว์ปีก และตรวจสอบโรงงานเชือด สัตว์ปกี จ�ำนวน 19 แห่ง ในประเทศไทย หลังการ ตรวจสอบ ฝ่ายจีนมีความพึงพอใจมาก จนน�ำมาสู่ การร่วมจัดท�ำพิธีสาส์นว่าด้วยเงื่อนไขหลักเกณฑ์ การตรวจสอบ การกักกัน และสุขอนามัย ในการ น�ำเข้าไก่แช่แข็งและชิน้ ส่วนจากไทยไปจีน ระหว่าง ส�ำนักงานก�ำกับควบคุมคุณภาพ ตรวจสอบ และ กักกันแห่งชาติ (AQSIQ) สาธารณรัฐประชาชน จีน และกรมปศุสัตว์
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
65
Around The World
ด้ า น น.สพ.สมชวน รั ต นมั ค ลานนท์ รองอธิ บ ดี กรมปศุสัตว์ เปิดเผยว่า การส่งออกสินค้าชิ้นส่วนไก่แช่แข็ง ล็อตแรก มีจ�ำนวน 14 ตู้คอนเทนเนอร์ มูลค่าราว 35 ล้ า นบาท และจะทยอยส่ ง ออกอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดย ประเมินว่า การส่งออกสินค้าชิ้นส่วนไก่แช่แข็งจะสร้าง รายได้ให้กับประเทศไทยไม่ต�่ำกว่า 2 หมื่นล้านบาท ต่อปี
คาดค้าชายแดนทะลุแสนล้าน ขณะที่ นายพัฒนา สิทธิสมบัติ ประธานกิตติมศักดิ์ หอการค้าจังหวัด เชียงราย เปิดเผยว่า การขนส่งสินค้าด้วยตู้คอนเทนเนอร์ปรับอากาศ หรือที่เรียก กันง่ายๆ ว่า ตู้คอนเทนเนอร์ห้องเย็น เป็นมิติใหม่ของการค้าชายแดนไทย - จีน และยังเป็นมิติใหม่ของการขนส่งสินค้าทางเรือในแม่น�้ำโขง กรณีนี้ภาคเอกชนของ เชียงรายเชือ่ ว่า น่าจะเป็นปัจจัยบวกทีส่ ำ� คัญทีจ่ ะท�ำให้การค้าชายแดนเชียงรายมีการ ขยายตัวมากขึน้ มูลค่าการส่งออกสินค้าจากไทยไปจีนน่าจะเติบโตแบบก้าวกระโดด เลยทีเดียว แม้อาจจะต้องใช้เวลาบ้าง แต่เชือ่ ว่าเร็วๆ นี้ จะได้เห็นตัวเลขมูลค่าการค้า ชายแดนเชียงรายมีโอกาสทะลุ 1 แสนล้านบาท เพราะเชือ่ มัน่ ว่า ประชากรในมณฑล ยูนนานที่มีอยู่ราว 50 ล้านคน มีความต้องการสินค้าไทย และนิยมบริโภคสินค้า จากประเทศไทย โดยเฉพาะผลไม้เมืองร้อนทุกชนิดของไทย เป็นทีน่ ยิ มของผูบ้ ริโภค ชาวจีนมาก และนอกจากชิ้นส่วนไก่แช่แข็งแล้ว ผลิตภัณฑ์สัตว์อื่นๆ รวมทั้งอาหาร ทะเลแช่แข็ง ก็ยังเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคชาวจีนด้วย มูลค่าการค้าขายชายแดนของ จ.เชียงราย ผ่านด่านศุลกากรแม่สาย, เชียงแสน และเชียงของ ในปีงบประมาณ 2560 (ต.ค. 2559 - ก.ย. 2560) พบว่ามีมลู ค่าการค้า รวมทั้งสิ้น 51,015.78 ล้านบาท แยกเป็นการน�ำเข้า 7,463.94 ล้านบาท การ ส่งออก 43,551.84 ล้านบาท
66 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
1.R&D µ¦ª· ´¥Â¨³¡´ µ 2.Consultation µ¦Ä®o µÎ ¦¹ ¬µ 3.Design µ¦°°  4.Manufacture µ¦ ¨· 5.Logistics µ¦ ¦·®µ¦ o µ µ¦ ´ Á È Â¨³ n 6.Installation µ¦ · ´ Ê 7.Commissioning µ¦ ° 8.Training µ¦ ¹ ° ¦¤ 9.Service µ¦Ä®o ¦· µ¦®¨´ µ¦ µ¥
Pellet mill Dryer
Extruder
Pulverizer
Mixer
Hammer mill
Around The World
“กรมปศุสัตว์” ประกาศ!
ชะลอน�ำเข้าสัตว์ปีก “จีน” หลังพบระบาดไข้หวัดนก ด้วยองค์การสุขภาพสัตว์โลก (OIE) รายงานการระบาดของโรคไข้หวัดนกสายพันธุร์ นุ แรง (HPAI) ในหลายพืน้ ทีข่ องประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เช่น ในฟาร์มสัตว์ปกี ณ เขตปกครองตนเอง Guangxi (ซีโรไทป์ H5N6) ในฟาร์มสัตว์ปีก ณ เขตปกครองตนเอง Ningxia (ซีโรไทป์ H7N9) และในสัตว์ปีก เลี้ยงหลังบ้าน ณ มณฑล Shanxi (ซีโรไทป์ H7N9) เป็นต้น ซึ่งโรคระบาดสัตว์ชนิดดังกล่าว สามารถ แพร่กระจายไปอย่างกว้างขวางได้ โดยมีสาเหตุส�ำคัญมาจากการเคลื่อนย้ายสัตว์ป่วย หรือสัตว์ที่เป็น พาหะน�ำโรค หรือซากของสัตว์ซงึ่ ป่วย หรือตายโดยโรคระบาดดังกล่าวไปยังท้องทีต่ า่ งๆ และเพือ่ เป็นการ ป้องกันไม่ให้โรคระบาดสัตว์ชนิดดังกล่าวมีโอกาสแพร่กระจายเข้ามาในประเทศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ การเลี้ยงสัตว์ปีกรวมถึงสุขภาพของประชาชนในประเทศ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 6 ประกอบมาตรา 33 แห่งพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ.2558 อธิบดีกรมปศุสัตว์จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ชะลอการน�ำเข้าหรือน�ำผ่านราชอาณาจักรซึง่ สัตว์ปกี จ�ำพวกนก ไก่ เป็ด ห่าน น�ำ้ เชือ้ ส�ำหรับ ผสมพันธุ์ ไข่ส�ำหรับท�ำพันธุ์รวมถึงซากของสัตว์ปีกดังกล่าว ที่มีแหล่งก�ำเนิดจากประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ข้อ 2 ประกาศฉบับนี้ให้มีผลใช้บังคับได้เป็นเวลาเก้าสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2561
นายสรวิศ ธานีโต รักษาการแทนอธิบดีกรมปศุสัตว์
ที่มา : https://www.thaipoultrybiz.com ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
67
Around The World
กรมประมงแจงมาตรการ
สกัดกั้นประมงผิดกฎหมายอย่างเข้มงวด จากที่ได้มีการน�ำเสนอข่าวกรณีเครือข่าย ประมงพื้นบ้าน ร่วมกับองค์กรภาคประชาสังคม ด้านแรงงาน เปิดเผยผลการวิจยั เกีย่ วกับสิทธิของ แรงงานประมง และการท�ำประมงแบบไม่ยั่งยืน ซึ่งเนื้อหาของงานวิจัยทั้ง 2 เรื่อง สะท้อนถึง ปัญหาด้านสิทธิของแรงงานภาคการประมง และ ผลกระทบต่อทรัพยากรประมงจากอุตสาหกรรม การประมงของไทย พร้อมเสนอให้รฐั บาล และภาค เอกชนร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ นั้น นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง กล่าวว่าคงต้องขอขอบคุณ ภาคประชาสังคมต่างๆ ที่มีความห่วงใย และตระหนักในความรับผิดชอบ ร่วมกันในการทีจ่ ะให้ “การประมงของไทยมีความ ยัง่ ยืน” โดยเฉพาะการท�ำศึกษาวิจยั ทีต่ อ้ งใช้ความ มุ่งมั่น ตั้งใจของนักวิจัยที่จะต้องด�ำเนินการศึกษา วิจัย อย่างครบถ้วน ครอบคลุม และถูกต้อง ตาม หลักวิชาการ และน�ำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา ของประเทศได้อย่างถูกต้องและชัดเจน แต่อย่างไร ก็ตาม ยังคงมีข้อมูลการด�ำเนินการของภาครัฐ ที่มา : ฐานเศรษฐกิจออนไลน์ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
68 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
บางส่วนเพื่อแก้ไขปัญหาได้ขาดหายไปจากการ ศึกษาวิจัย เพื่อให้เกิดความครอบคลุม จึงขอเพิ่ม เติมข้อมูลบางส่วนดังนี้ ประเด็นกรณีเวลาพักของแรงงาน หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องตระหนักดีในปัญหาดังกล่าว จึงได้ มีการก�ำหนดให้ไต๋เรือ (ผูค้ วบคุมเรือ) มีการจัดท�ำ หลักฐานเวลาพักของแรงงาน เพื่อให้พนักงาน ตรวจแรงงานตรวจสอบ และได้มกี ารสุม่ ตรวจสอบ การด�ำเนินการดังกล่าวเมื่อมีการเข้ามาหลังจาก การท�ำการประมง นอกจากนี้ ยังมีการตรวจเรือ กลางทะเล โดยหน่วยตรวจกลางทะเลของกรม ประมง เรือลาดตระเวนของ ศรชล. ต�ำรวจน�้ำ เรือของกรมทรัพยากรธรรมชาติและชายฝั่งอีก ด้วย และอยากให้ช่วยประชาสัมพันธ์ให้แรงงาน หรือผู้ที่พบเห็นว่า แรงงานได้รับการปฏิบัติไม่ถูก ต้องขอให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยงานได้โดยตรง และในประเด็นการท�ำประมงอวนลาก และ อวนล้อมปัน่ ไฟกลางคืน กรมประมงตระหนักดีวา่ เครื่องมือประมงทั้ง 2 ประเภท เป็นเครื่องมือที่มี ประสิทธิภาพสูง จึงได้มีการควบคุมทั้ง “จ�ำนวน
Around The World
ใบอนุญาตพาณิชย์” และ “วิธที ำ� การประมง” โดยมี การก�ำหนดขนาดช่องตาอวนก้นถุงของอวนลาก ซึ่งต้องมากกว่า 4 เซนติเมตร ขึ้นไป หรือกรณี อวนล้อมปั่นไฟต้องมีขนาดตาอวน ช่องตาอวน ไม่น้อยกว่า 2.5 เซนติเมตรขึ้นไป มีการก�ำหนด พื้นที่ประมงชายฝั่ง ซึ่งห้ามเรือประมงพาณิชย์ ซึ่งรวมถึงเครื่องมืออวนลาก และอวนล้อมปั่นไฟ เข้ามาท�ำการประมง และในการออกใบอนุญาต ประมงพาณิชย์ปกี ารประมง 2561 - 2562 ได้มกี าร ก�ำหนดมาตรฐานเครื่องมือประมง เพื่อป้องกัน การดัดแปลง หรือปรับปรุงเครื่องมือประมงให้ผิด ไปจากที่ก�ำหนดด้วย เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรสัตว์นำ�้ และในประเด็นการแก้ไขปัญหา ประมงผิดกฎหมาย หรือ IUU กรมประมงขอ ชี้แจงว่า ภายใต้พระราชก�ำหนดการประมง พ.ศ. 2558 มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ การบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรทะเลให้เกิดความยั่งยืน และป้องกัน การท�ำประมงที่ผิดกฎหมาย ดังนั้น มาตรการ ต่างๆ ทีภ่ าครัฐได้กำ� หนดขึน้ มานัน้ อาทิ มาตรการ ปิดอ่าวฯ มาตรการควบคุมการลงแรงประมง การ
ควบคุมเครื่องมือที่ใช้ท�ำการประมง การก�ำหนด ค่า MSY มาตรการให้เรือที่มีขนาดตั้งแต่ 30 ตัน กรอสขึ้นไป ติดตั้ง VMS การควบคุมการแจ้ง เข้าออกเรือประมง ฯลฯ เป็นการบริหารจัดการ ทรัพยากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและยั่งยืน และนอกจากนี้ ได้มกี ารออกพระราชกาํ หนดแก้ไข เพิม่ เติมพระราชบัญญัตเิ รือไทย พุทธศักราช 2481 พ.ศ. 2561 เพื่อให้การควบคุม “เรือประมง” ทั้ง ในเรื่องการจดทะเบียนเรือเพิ่ม การเปลี่ยนแปลง ประเภทเรือ การท�ำลายเรือให้มปี ระสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น อธิ บ ดี ก รมประมง กล่ า วต่ อ ว่ า เหตุ ผ ล ทั้งหมดที่กล่าวมานั้น อยากแสดงให้เห็นถึงความ ตั้งใจของภาครัฐ และความร่วมมือกันระหว่าง หลายหน่วยงาน ในการทีจ่ ะเร่งแก้ไขปัญหาการท�ำ ประมงผิดกฎหมาย และปัญหาแรงงานภาคการ ประมง ไม่ให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบทั้งแรงงาน ประมงไทย และแรงงานประมงต่างด้าว ดังนั้น จึงขอความร่วมมือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มาช่วย ขับเคลื่อนการประมงของไทยให้เกิดความยั่งยืน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
69
Around The World
อคส. โละสต็อก ข้าวโพด - มันเส้น จ�ำน�ำไว้เมื่อ 10 ปีที่แล้ว เร่งประมูลด่วน!
อคส. เร่งโละสต็อกข้าวโพด - มันส�ำปะหลัง ค้างจาก โครงการรับจ�ำน�ำครบ 10 ปี ภายใน พ.ค.นี้ หวังลดภาระค่า จัดเก็บของรัฐบาล 144 ล้านบาทต่อปี นางอินทิรา โภคปุณยารักษ์ ผู้อ�ำนวยการองค์การคลัง สินค้า (อคส.) กล่าวว่า อคส. มีแผนจะเร่งระบายสินค้าข้าวโพด เลีย้ งสัตว์ และมันส�ำปะหลัง จากโครงการรับจ�ำน�ำทีย่ งั คงค้างอยู่ ในคลัง อคส. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐบาล เนื่องจากสินค้า เกษตรทีอ่ ยูใ่ นคลัง อคส. นัน้ เป็นสินค้าเกษตรทีอ่ ยูใ่ นโครงการรับฝากจ�ำน�ำมาตัง้ แต่ ปี 2551/2552 จนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลา 10 ปี โดยในส่วนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในสต็อกของ อคส. ที่จะน�ำออกมาประมูล มีปริมาณ 94,000 ตัน ซึง่ เป็นข้าวโพดเลีย้ งสัตว์จากโครงการจ�ำน�ำข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ปี 2551/2552 ที่ยังคงเหลือ จ�ำเป็นต้องน�ำออกมาประมูลให้หมด เนื่องจากมีภาระ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาต่อเดือนประมาณ 7 ล้านบาท หรือ 84 ล้านบาทต่อปี ขณะมันเส้นทั้งหมดที่อยู่ในคลัง อคส. ปริมาณ 190,000 ตัน ซึ่งเป็นมันส�ำปะหลังทีม่ าจากโครงการตัง้ แต่ปกี ารผลิต 2551/2552, 2554/2555, 2555/2556 มีภาระค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บประมาณ 5 ล้านบาทต่อเดือน หรือคิดเป็น 60 ล้านบาทต่อปี ซึ่งหากรวมค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาของสินค้าทั้งสองชนิดรวมกัน คิดเป็นมูลค่า 144 ล้านบาทต่อปี
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
70 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Around The World ส�ำหรับแนวทางในการระบายสินค้าทั้งสอง ชนิด นางอินทิรา กล่าวว่า เบื้องต้น อคส. น�ำมา เปิดประมูล โดยขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดท�ำรายละเอียด หลักเกณฑ์ และขั้นตอนการเปิดประมูล (ทีโออาร์) ส�ำหรับข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ เมือ่ ได้ขอ้ สรุป แล้ว จะเร่งเสนอให้กบั คณะกรรมการนโยบายและ บริหารจัดการข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (นบขพ.) ซึ่ง มีนายสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ เป็นประธาน ให้พิจารณาเห็น ชอบการเปิดประมูล ส่วนมันส�ำปะหลังก็จะจัดท�ำ หลักเกณฑ์ทีโออาร์เสนอให้กับคณะกรรมการ นโยบายและบริหารจัดการมันส�ำปะหลัง (นบมส.) ซึง่ มีนายสนธิรตั น์ สนธิจริ วงศ์ รัฐมนตรีกระทรวง พาณิชย์พิจารณาเช่นกัน โดยเบื้องต้นคาดว่า จะ สรุปหลักเกณฑ์ทโี ออาร์ได้ภายในเดือนพฤษภาคม 2561 หลังจากนัน้ จะเปิดหลักเกณฑ์ทโี ออาร์ในการ ประมูลต่อไป “อคส. ต้องการจะเร่งระบายสินค้าเกษตร ที่ยังคงเหลือออกจากคลัง ขณะนี้ก็พยายามเดิน หน้าท�ำตามขั้นตอนของกฎหมายให้ดีที่สุด เพื่อ ป้องกันปัญหาและข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดผล กระทบขึ้ น และส่ ง ผลกระทบต่ อ อคส. หรื อ เจ้าหน้าที่ที่ด�ำเนินการด้วย” ด้านนายทรงศักดิ์ ส่งเสริมอุดมชัย นายก สมาคมการค้าพืชไร่ เปิดเผยว่า การประมูลข้าวโพด ค้างในสต็อกรัฐบาลครั้งนี้ จะไม่ส่งผลกระทบต่อ ราคาข้าวโพดในตลาด เพราะขณะนี้เกษตรกร ทยอยเก็บเกี่ยวข้าวโพดไปเกือบหมดแล้ว โดย เฉพาะข้าวโพดหลังนา ซึง่ มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกประมาณ 700,000 ไร่ ส่งผลให้ราคา ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในตลาดปรับตัวสูงขึน้ เป็น กก. ละ
10.30 - 10.50 บาท ซึ่งถือเป็นระดับราคาที่ดีมาก จากปีทผี่ า่ นมาทีร่ ฐั บาลก�ำหนดราคารับซือ้ ข้าวโพด กก. ละ 8.00 บาท “ไม่กงั วลว่าข้าวโพดเก่าจะไหลเวียนกลับมา สู่ตลาด เพราะตอนนี้ปริมาณข้าวโพดในตลาดมี น้อยมาก ข้าวโพดหลังนาก็เก็บเกี่ยวเกือบหมด แล้ว” ส่ ว นการพิ จ ารณาทบทวนการก� ำ หนด สัดส่วนการรับซื้อข้าวโพดในประเทศ เพื่อการน�ำ เข้าข้าวสาลี ซึง่ ทางกลุม่ อาหารสัตว์เรียกร้องให้ลด ลงจากเดิมก�ำหนดให้รับซื้อข้าวโพด 3 ส่วน เพื่อ น�ำเข้าข้าวสาลี 1 ส่วน ให้เหลือ 2 ส่วน เพือ่ น�ำเข้า ข้าวสาลี 1 นั้น ขณะนี้นายสนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ มอบให้คณะ อนุ ก รรมการพิ จ ารณาและก� ำ หนดสั ด ส่ ว นการ น�ำเข้าข้าวสาลีต่อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งมีนาย บุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร อธิบดีกรมการค้าภายใน เป็นประธาน ให้ศึกษาถึงแนวทางการด�ำเนินการ คาดว่าจะได้ข้อสรุปเร็วๆ นี้
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
71
Around The World
เจาะประเด็น “กุ้งโลก” :
อินเดีย - เวียดนาม
ในงานสัมมนาวิชาการ “งานวันกุ้งไทย ครั้งที่ 28” เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2561 ที่ผ่านมา ณ โรงแรมวังใต้ จ.สุราษฎร์ธานี นายสัตวแพทย์ปราการ เจียร ะคงมั่น จากบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ ได้เข้า ร่วมบรรยายในหัวข้อ “เจาะประเด็น “กุ้งโลก” : อินเดีย - เวียดนาม” จึงขอน�ำ เสนอเนื้อหาที่ได้บรรยายและเพิ่มเติมรายละเอียด ดังนี้
วิเคราะห์สาเหตุที่ทำ�ให้ผลผลิตกุ้ง อินเดีย - เวียดนาม เพิ่มสูงขึ้น
» อินเดีย « ประการที่ 1 ศักยภาพของพืน้ ทีใ่ นประเทศอินเดีย ทีม่ พี นื้ ทีค่ อ่ นข้างกว้างใหญ่ ไพศาลมาก พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเล 2 ข้างของประเทศ มีพื้นที่ประมาณ 7,500 ตารางกิโลเมตร อินเดียมีพื้นที่จากเหนือจรดใต้ประมาณ 3,200 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่จากตะวันออกจรดตะวันตก ประมาณ 3,000 ตารางกิโลเมตร สามารถ เลีย้ งกุง้ ได้ทงั้ บริเวณทีต่ ดิ ชายฝัง่ ทะเล (Coastal area) และบริเวณนอกชายฝัง่ ทะเล (Inland shrimp farming) โดยเฉพาะทางตอนกลางของประเทศ ในรัฐอันดรา ประเทศ (Andhra Pradesh) มีพนื้ ทีเ่ ลีย้ งกุง้ ประมาณร้อยละ 65 ส่วนใหญ่เป็นพืน้ ที่ นอกชายฝั่งทะเล (อินแลนด์) และเป็นเขตพื้นที่ความเค็มต�่ำ โดยเฉลี่ยมีความเค็ม ประมาณ 2.0 - 5.0 พีพีที เป็นการเลี้ยงโดยใช้น�้ำบาดาลใต้ดินมาผสมผสานกับ แหล่งน�้ำจากคลองธรรมชาติ ในพื้นที่เป็นพื้นที่เก่าที่มีความหนาแน่นฟาร์มสูง มี ปัญหาโรค ทั้งโรคตัวแดงดวงขาว โรคติดเชื้อแบคทีเรีย โรคอีเอชพี และโรคขี้ขาว เป็นต้น ได้ผลผลิตกุง้ ไซส์เล็ก นอกจากนี ้ ปัจจุบนั อินเดียมีพนื้ ทีใ่ หม่ทข่ี ยายตัวไปทาง ตอนเหนือของประเทศ ติดประเทศเนปาล และประเทศบังคลาเทศ ซึง่ เป็นเขตพืน้ ที่ ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 30 ฉบับที่ 356 เดือนมีนาคม 2561
72 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Around The World ความเค็มค่อนข้างสูง โดยเฉพาะในเขตตอนเหนือ ฝั่งตะวันตก ในพื้นที่เขตรัฐคุชราต (Gujarat) มี พืน้ ทีท่ งั้ หมดทีใ่ ช้เลีย้ งกุง้ ในปัจจุบนั คิดเป็นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 10 และในเขตตอนเหนือฝั่ง ตะวันออก ในพื้นที่เขตรัฐเวสต์ เบงกอล (West Bengal) คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 12 รวม ทั้งในเขตรัฐโอดิสา (Odisha) คิดเป็นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 13 ส่วนใหญ่ทางตอนเหนือเป็น พื้นที่ที่มีความเค็มสูงมากกว่า 35 - 40 พีพีที เป็น พื้นที่ใหม่ มีปัญหาโรคน้อยกว่า ได้ผลผลิตกุ้งไซส์ ใหญ่ ปัจจุบันอินเดียมีพื้นที่ที่ใช้ในการเลี้ยงกุ้ง อยู่แล้วทั้งสิ้นประมาณ 470,000 ไร่ และคาดว่า พืน้ ทีท่ สี่ ามารถจะขยายการเลีย้ งกุง้ ไปได้เพิม่ สูงขึน้ ถึงประมาณ 1 ล้านไร่ ประการที่ 2 รัฐบาลของประเทศอินเดีย มีข้อก�ำหนด กฎระเบียบ และกฎหมายในการ เลีย้ งกุง้ ทีช่ ดั เจน ท�ำให้ควบคุมได้งา่ ย ก็คอื ห้ามลง กุ้งเกิน 60 ตัว/ตรม. นี่คือจุดเด่นที่รัฐบาลอินเดีย พยายามจะควบคุมความหนาแน่น และสภาพ การเลีย้ ง รวมถึงสภาพสิง่ แวดล้อมให้สามารถทีจ่ ะ ควบคุมให้ได้มากที่สุด และพยายามให้เกิดปัญหา น้อยที่สุด นอกจากนี้ อินเดียยังมีข้อก�ำหนดกฎ ระเบียบในเขตทางตอนเหนือของประเทศ ห้าม เลี้ยงกุ้งในช่วงหน้าหนาว (winter break) ก็คือ ในช่วงฤดูหนาวของอินเดียทางตอนเหนือ อากาศ และลมจะเย็นมากเพราะติดกับประเทศเนปาล และ บังคลาเทศ โดยมีอณ ุ หภูมเิ ฉลีย่ ในบางเดือนในช่วง ฤดูหนาวต�่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส เพราะฉะนั้น จึงไม่สามารถเลี้ยงกุ้งได้ตลอดทั้งปี ในช่วงหน้า หนาว เกษตรกรทางตอนเหนือสามารถเตรียมบ่อ และตากบ่อได้อย่างยาวนานมากกว่า 3 - 4 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์
ท�ำให้มเี วลาในการพักบ่อ ท�ำความสะอาดบ่อ ตาก บ่อจนแห้งแตกระแหง รวมทั้งไถพรวนบ่อ ลงปูน ได้อย่างดี และทัว่ ถึง การเตรียมบ่อทีย่ าวนาน ท�ำให้ อัตราความส�ำเร็จของการเพาะเลีย้ งกุง้ ในรอบแรก ของปีในเขตทางตอนเหนือของประเทศ มีคา่ เฉลีย่ สูงมากถึงร้อยละ 95 - 98 นี่คือศักยภาพของการ พักบ่อ และตากบ่อที่ยาวนาน ที่ส่งผลอย่างมาก ในเขตทางตอนเหนือ ประการที่ 3 รัฐบาลของประเทศอินเดีย สนับสนุนธุรกิจการเลี้ยงกุ้ง และทุ่มงบประมาณ สนับสนุนธุรกิจการเพาะเลีย้ งกุง้ อย่างชัดเจน โดย ประกาศจะเพิ่มงบประมาณอีกประมาณ 50,000 ล้านบาท (ประมาณ 1 แสนล้านรูปี) ในการขยาย และปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานใน พื้นที่ที่มีการผลิตกุ้งอย่างหนาแน่น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเรื่องการสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านถนน และการเชื่อมต่อ ระบบการจราจร ระบบห้องเย็น อุปกรณ์ท�ำความเย็นและการผลิตน�้ำแข็ง เนื่อง จากประเทศอินเดียมีการขยายตัวอย่างมากในด้าน พื้นที่การเลี้ยง และจ�ำนวนฟาร์ม และเกษตรกรที่ เพิ่มขึ้นอย่างมากและรวดเร็ว รัฐบาลจึงให้การ สนับสนุนการขยายตัวด้านโครงสร้างพื้นฐานและ เทคโนโลยี (Infrastructure and technology) อย่างมาก ประการที่ 4 เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งใน ประเทศอินเดียมีการเรียนรู้ที่รวดเร็วมาก ตาม สถานการณ์การเลี้ยงกุ้งที่เปลี่ยนแปลงไปของโลก และมีการปรับตัว ใฝ่หาความรู้ และเทคโนโลยี การเลี้ยงใหม่ๆ ตลอดเวลา สังเกตได้ว่า เวลา มีงานสัมมนาวิชาการด้านการเพาะเลี้ยงกุ้ง จะมี เกษตรกรอินเดียผูส้ นใจเข้าร่วมฟังมากกว่า 500 1,000 คน นอกจากนี้ เกษตรกรอินเดียมีการปรับ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
73
Around The World ตัว และปรับเปลีย่ นระบบการเลีย้ ง และโครงสร้าง ฟาร์มใหม่ ตามแนวทางการเลีย้ งใหม่ๆ ทีน่ กั วิชาการ หลายๆ ประเทศเข้าไปแนะน�ำ โดยมีการปูพีอี 100% มีหลุมดูดตะกอนของเสียกลางบ่อ มีระบบ การจัดการน�้ำรูปแบบใหม่ แบบหมุนเวียนน�้ำกลับ มาใช้ มีสดั ส่วนบ่อพักน�ำ้ และบ่อเลีย้ งมากขึน้ มีบอ่ ตกตะกอน บ่อทรีตน�้ำ และบ่อน�้ำพร้อมใช้ ระบบ การเตรียมน�้ำที่มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากต้อง ต่อสู้กับโรคติดเชื้อแบคทีเรีย โรคขี้ขาว และโรค อีเอชพี มีการเตรียมน�ำ้ ให้มคี วามโปร่งขึน้ โดยการ ลดสารอินทรีย์ และตกตะกอนสารแขวนลอยต่างๆ บางฟาร์มสามารถลดตะกอนในน�้ำได้ต�่ำถึงขนาด เอ็นทียู (NTU) น้อยกว่า 1.5 - 2.0 ระบบการให้ อากาศทั้งแบบระบบการให้อากาศใต้น�้ำ แบบแอร์ ดิฟฟิวเซอร์เพิ่มมากขึ้น ผสมผสานกับระบบการ ให้อากาศแบบแขนยาวเพื่อรวมเลน ระบบการ กรองน�ำ้ ระบบการถ่ายน�ำ้ มากขึน้ ร่วมกับการดูด ตะกอนและของเสียออกจากบ่ออย่างสม�่ำเสมอ หรือระบบการบ�ำบัดน�้ำในรูปแบบต่างๆ ทั้งทาง กายภาพแบบการดูดออก และทางชีวภาพแบบการ ใช้จุลินทรีย์ นอกจากนี้ เนื่องจากประเทศอินเดีย ไม่ อนุญาตให้นำ� เข้าพ่อแม่พนั ธุก์ งุ้ จากประเทศทีม่ กี าร ประกาศโรคอีเอ็มเอส และประเทศไทยไม่ได้รับ อนุญาตให้สง่ พ่อแม่พนั ธุเ์ ข้าประเทศอินเดีย อินเดีย จึงน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้งมาจากกลุ่มประเทศแถบ อเมริกาเป็นส่วนใหญ่ โดยผ่านการควบคุมของ องค์การพัฒนาการส่งออกผลิตภัณฑ์ประมงของ อินเดีย (MPEDA) ซึง่ รับผิดชอบด้านการกักกันโรค และกระจายพ่อแม่พันธุ์ไปยังโรงเพาะฟักลูกกุ้ง จ�ำนวนมากมาย ท�ำให้คณ ุ ภาพพ่อแม่พนั ธุก์ งุ้ และ คุณภาพลูกกุ้งที่ผลิตจากหลากหลายโรงเพาะฟัก
74 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
และจากพ่อแม่พนั ธุจ์ ากหลากหลายแหล่ง มีความ หลากหลายและแตกต่างในด้านคุณภาพเป็นอย่าง มาก เพราะการควบคุมมาตรฐานคุณภาพลูกกุ้ง ที่ดี ท�ำได้ไม่ทั่วถึงทุกๆ โรงเพาะฟัก การอนุบาล ลูกกุ้งในระบบการอนุบาลที่ฟาร์มเกษตรกรก่อน ปล่อยลงบ่อ ก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่เกษตรกรอินเดีย ให้ความสนใจ และมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไป ในช่วง 1 - 2 ปีทผี่ า่ นมาเพือ่ คัดกรอง และเพิม่ ความ แข็งแรงให้ลกู กุง้ ก่อนปล่อย หลายๆ ฟาร์มจะท�ำการ อนุบาลลูกกุง้ ก่อนประมาณ 10 - 30 วัน และเนือ่ ง จากทางตอนเหนือไม่สามารถเลีย้ งกุง้ ได้ตลอดทัง้ ปี เหมือนตอนกลาง และตอนใต้ของประเทศ เพราะ มีช่วงพักบ่อตอนหน้าหนาว (Winter Break) การ อนุบาลลูกกุ้งก่อนปล่อย นอกจากช่วยคัดกรอง คุณภาพลูกกุง้ แล้ว ยังสามารถเพิม่ ปริมาณผลผลิต และปริมาณครอปต่อปีได้อีกด้วย โดยบางฟาร์ม สามารถเพิ่มครอปต่อปีได้สูงขึ้นถึงประมาณ 1.8 2.0 ครอบ/ปี ประการที่ 5 รัฐบาลอินเดียมีมาตรการ สนับสนุนธุรกิจการเลี้ยงกุ้งอย่างมากมาย โดย เฉพาะมาตรการให้ดอกเบี้ยเงินกู้ต�่ำแก่เกษตรกร ผูเ้ ลีย้ งกุง้ ทีจ่ ะลงทุน โดยมีการจัดสรรงบประมาณ ให้กับเกษตรกรที่จะเลี้ยงกุ้งให้สามารถกู้เงินจาก ธนาคารให้ได้รบั ความสะดวก และได้รบั สิทธิพเิ ศษ ด้านดอกเบี้ย นอกจากนี้ รัฐบาลอินเดียยังให้การ สนับสนุนอุตสาหกรรมการเลี้ยงกุ้งเกือบทั้งระบบ ด้วย นอกจากมาตรการดอกเบี้ยเงินกู้ต�่ำที่ให้ไป ยังตัวเกษตรกรโดยตรงแล้ว รัฐบาลยังให้การ สนับสนุนผูป้ ระกอบการต่างๆ เช่น ผูป้ ระกอบการ ห้องเย็น ผู้ประกอบการโรงเพาะฟักลูกกุ้ง และ ผู้ประกอบการโรงงานอาหารสัตว์ ยังได้รับการ พิจารณายกเว้นภาษีด้วย โดยรัฐบาลสนับสนุนใน
Around The World เรื่องนี้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ ประเทศอินเดียมีจ�ำนวนห้องเย็นค่อนข้างมาก และ กระจายอยู่ในหลายพื้นที่ เพราะฉะนั้น ไม่ว่าจะเป็นกุ้งไซส์ใหญ่ ไซส์กลาง และ ไซส์เล็ก อินเดียสามารถรองรับ และหาตลาดส่งออกกุง้ ทุกๆ ไซส์ได้หมด ยกตัวอย่าง กุ้งไซส์ใหญ่ที่ผลิตได้มากทางตอนเหนือของประเทศ หรือกุ้งไซส์เล็ก ไซส์กลาง ที่ผลิตได้มากจากตอนกลาง และตอนใต้ของประเทศ ก็สามารถขายได้ราคาดี และ มีความต้องการสูง
» เวียดนาม « ประการที่ 1 ศักยภาพของพื้นที่ และการสนับสนุนของภาครัฐประเทศ เวียดนาม ในปัจจุบันเราพบว่า เวียดนามมีพื้นที่การเลี้ยงกุ้งทางตอนเหนืออยู่ ประมาณ 275,000 ไร่ ทางตอนกลางของประเทศ ประมาณ 360,000 ไร่ และ ทางตอนใต้ของประเทศอีกประมาณมากกว่า 3 ล้านไร่ พื้นที่ทางตอนใต้ของ ประเทศมีแนวโน้มจะเปลี่ยนแปลงมาท�ำธุรกิจเพาะเลี้ยงกุ้งมากขึ้น โดยเฉพาะ กลุ่มจังหวัดทางตอนใต้ของประเทศที่เราเรียกว่า แม่โขงเดลต้า (Mekong delta provinces) มีการขยายตัวของฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้งแบบพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างมาก เนือ่ งจากรัฐบาลเวียดนามสนับสนุนธุรกิจการเลีย้ งกุง้ อย่างเต็มที่ โดยรัฐบาลเวียดนาม ตัง้ เป้าหมายทีจ่ ะพัฒนาพืน้ ทีท่ างตอนใต้ทมี่ กี ารประมาณการว่ามีพนื้ ทีม่ ากกว่า 3 - 4 ล้านกว่าไร่ ที่เคยเป็นการเลี้ยงกุ้งแบบพึ่งพาธรรมชาติ อาศัยน�้ำขึ้นน�้ำลง รวมทั้ง เป็นพื้นที่นาข้าวที่มีน�้ำทะเลขึ้นถึง ซึ่งบางพื้นที่พบว่า มีน�้ำทะเลแทรกเข้าไปผ่าน ในดินลึกถึง 60 กิโลเมตร ท�ำให้ไม่ประสบผลส�ำเร็จในการท�ำนาข้าวมาเป็นเวลา ยาวนาน รัฐบาลในยุคปัจจุบันของเวียดนาม โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร มีนโยบายที่จะเปลี่ยนจากสภาพการท�ำนาในตอนใต้ ให้กลายเป็นนากุ้งอย่างเต็ม รูปแบบ (Turn rice fields to shrimp farming) เพื่อส่งเสริมการผลิตกุ้ง และ ส่งเสริมการส่งออกกุ้ง เพิ่มความมั่งคั่งของเกษตรกรที่เคยท�ำนาข้าวสู่ธุรกิจท�ำ นากุ้ง ตามสโลแกนที่รัฐบาลเวียดนามตั้งไว้คือ Rice to Riches และจะเป็นผู้น�ำ ในภาคพื้นเอเซียแปซิฟิกอย่างจริงจังในด้านการส่งออกกุ้ง โดยรัฐบาลเวียดนาม ออกแถลงการณ์ และประกาศชัดเจนว่าจะเพิ่มยอดส่งออกผลผลิตกุ้งเป็น 3 เท่า คือเพิ่มจาก 3 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ เป็น 1 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 3 แสนล้านบาท) ในอีก 2 - 3 ปีข้างหน้า โดยรัฐบาลเวียดนามมีนโยบายเปลี่ยน นาข้าวให้เป็นนากุ้ง ซึ่งจะเริ่มในบริเวณกลุ่มจังหวัดทางตอนใต้ของประเทศบริเวณ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
75
Around The World แม่โขงเดลต้าก่อน ท�ำให้เกษตรกรมีการขยาย ตัว และปรับเปลี่ยนมาเลี้ยงกุ้งอย่างมากมายตาม นโยบายรัฐบาล ประการที่ 2 การปรับเปลี่ยนรูปแบบการ เลีย้ งกุง้ อย่างรวดเร็ว ทัง้ รูปแบบโครงสร้างบ่อเลีย้ ง และจัดสรรผังฟาร์มใหม่ การเลี้ยงกุ้งในเวียดนาม หลังจากประสบปัญหาโรคอีเอ็มเอส (EMS) หรือ AHPND ในราวปี 2555 - 2556 เกษตรกรต้อง มีการปรับตัวอย่างมาก เพื่อต่อสู้กับปัญหาโรค ปัจจุบนั เกษตรกรเวียดนามมีการปรับเปลีย่ นระบบ การเลี้ ย งไปอย่ า งมาก โดยเฉพาะเวี ย ดนามมี เกษตรกรรายย่อยค่อนข้างมาก ประมาณร้อยละ 95 และเกษตรกรรายใหญ่ประมาณร้อยละ 5 ระบบการเลีย้ งเดิมของเกษตรกรรายย่อย ส่วนใหญ่ เป็นการเลี้ยงแบบพึ่งพาธรรมชาติ หรือกึ่งพัฒนา อาศัยน�้ำขึ้นน�้ำลง ในพื้นที่ทางตอนใต้ แต่ปัจจุบัน เมื่อมีการสนับสนุนจากภาครัฐ ก็มีการเปลี่ยน แปลงระบบการเลี้ยงรูปแบบใหม่ที่ดีขึ้น เช่น บ่อ ส่วนใหญ่ปพู อี เี กือบ 100% ฟาร์มมีการจัดสัดส่วน บ่อพักน�้ำ และบ่อเลี้ยงที่เหมาะสมขึ้น เช่น มีบ่อ เก็บน�ำ้ บ่อตกตะกอนน�ำ้ บ่อทรีตน�ำ้ บ่อน�ำ้ พร้อมใช้ อย่างชัดเจน เป็นสัดส่วน บ่อถูกท�ำให้มขี นาดเล็กลง เป็นสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขนาดประมาณ 1,000 - 1,500 ตารางเมตร ด้วยเหตุผลต้องการให้น�้ำหมุนวนใน บ่อเพียงไม่กี่รอบ ก็สามารถลงหลุมกลางบ่อ และ ดูดออกได้อย่างรวดเร็วและตลอดเวลา บ่อมีความ ตื้นขึ้น โดยช่วงลงกุ้งใหม่ๆ น�้ำจะลึกไม่เกิน 80 เซนติเมตร เพื่อให้สามารถบริหารอาหารกุ้งได้ดี กุง้ ไม่กนิ ตะกอนเลนก้นบ่อ สามารถมองเห็น และ ก� ำ จั ด คราบตะกอน ไบโอฟิ ล ์ ม ได้ บ ่ อ ยๆ และ บ่อที่ความลึกน้อยลง ก็เพื่อสามารถมองเห็นพื้น ก้นบ่อเวลาท�ำความสะอาดได้ดีขึ้น นอกจากนี้ ยัง
76 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
สามารถปรับต�ำแหน่งเครื่องให้อากาศแบบแขน ยาวได้ง่าย เพื่อให้สามารถรวมเลนได้ตลอดเวลา ไม่ให้มีเลนตกค้างก้นบ่อ มีหลุมดูดตะกอนเลน กลางบ่อ มีแสลนมุ้งพลาสติกคลุมบ่อ มีระบบ เครื่องให้อากาศที่สมบูรณ์แบบมากขึ้น ทั้งแบบ เครื่องให้อากาศที่ผิวน�้ำ (Horizontal aerator) แบบแขนยาว และเครือ่ งให้อากาศใต้นำ�้ (Vertical aerator) แบบระบบแอร์ดฟิ ฟิวเซอร์ มีการหมุนเวียน น�ำ้ กลับมาใช้ใหม่ (Recycled system) มีบอ่ เก็บเลน แยกเป็นสัดส่วน ประการที่ 3 การปรับเปลี่ยนระบบการ เตรียมน�ำ้ รูปแบบใหม่ และการบ�ำบัดของเสียแบบ ควบคุมสมดุลน�้ำ ร่วมกับการอนุบาลลูกกุ้ง ก่อน ปล่อยลงบ่อ โดยเกษตรกรเวียดนามมีกระบวนการ เตรียมน�้ำให้โปร่งขึ้น เพื่อลดตะกอน และลดสาร อินทรีย์ที่เป็นแหล่งอาหาร และที่เกาะยึดของ สปอร์ของเชื้อโรคต่างๆ เช่น โรคอีเอชพี และเชื้อ แบคทีเรีย ให้มีปริมาณน้อยที่สุด ก็เป็นแนวทางที่ เกษตรกรเวียดนามส่วนใหญ่ปรับเปลี่ยนแนวทาง ไปแล้ว นอกจากนี้ ฟาร์มที่ประสบความส�ำเร็จใน การเลี้ยงส่วนใหญ่ จะมีการอนุบาลลูกกุ้งในบ่อ ขนาดเล็ก หรือในแทงค์ก่อนปล่อยลงบ่อเลี้ยง ประมาณ 20 - 30 วัน เพื่อการคัดกรอง และ เพิ่มความแข็งแรง และเพิ่มรอบการเลี้ยงต่อปี ซึ่ง ปัจจุบนั เกษตรกรเวียดนามทีม่ คี วามส�ำเร็จสูง มีการ อนุบาลลูกกุ้งในบ่อขนาดเล็ก ก่อนลงบ่อใหญ่แล้ว ประมาณร้อยละ 80 - 90 ระบบการบ�ำบัดของเสีย (Nitrogen and carbon waste removal) ในประเทศเวียดนาม จะใช้รูปแบบการก�ำจัดของเสียโดยการรวมเลน และดูดออกจากหลุมกลาง (Mechanical waste removal system) ร่วมกับการก�ำจัดของเสียทาง
Around The World ชีวภาพ โดยการใช้จุลินทรีย์บ�ำบัดย่อยสลายของ เสีย (Biological waste removal system) ใน ฟาร์มที่ประสบความส�ำเร็จส่วนใหญ่มีการบ�ำบัด ของเสียแบบควบคุมสมดุลน�้ำ ผสมผสานทั้งสอง ระบบอย่างต่อเนื่อง มีการใช้จุลินทรีย์โปรไบติก ในการบ�ำบัดน�ำ้ ช่วยควบคุมของเสียในน�ำ้ ทุกๆ วัน ร่วมกับการดูดของเสียออก ท�ำให้เกิดความสมดุล ของน�้ำ และความหลากหลายของจุลินทรีย์ในน�้ำ ขณะที่เมื่อสารอินทรีย์ในน�้ำลดลงจากการดูดออก และการย่อยสลาย ร่วมกับการมีแสลนมุง้ พลาสติก คุมบ่อ ช่วยควบคุมแสงแดด ท�ำให้แพลงก์ตอน เจริญเติบโตน้อยลง เป็นการช่วยควบคุมพีเอช ในน�้ำไม่ให้สูงเกิน 8.0 ในช่วงบ่ายได้ดีอีกด้วย นี่ ก็เป็นอีกจุดเด่นของเกษตรกรเวียดนามทีส่ ามารถ ผสมผสานการควบคุมสมดุลน�ำ้ ทัง้ คาร์บอน และ ไนโตรเจน รวมทั้งพีเอช และดีโอ ให้ไม่แกว่งมาก เกินไปในรอบวัน ซึ่งจะท�ำให้กุ้งไม่เครียด มีความ แข็งแรง และควบคุมปัญหาต่างๆ ระหว่างการเลีย้ ง ได้ดีขึ้น โดยการผสมผสานหลักการทางกายภาพ ทั้งการดูดออก มีแสลนมุ้งพลาสติกคลุมบ่อ และ หลักการทางชีวภาพด้วยจุลินทรีย์บ�ำบัดของเสีย เข้ามาใช้ร่วมกันอย่างลงตัว ประการที่ 4 สหภาพยุโรป หรืออียู (EU) ให้การสนับสนุนประเทศเวียดนามในการส่งออก ผลผลิต และผลิตภัณฑ์กุ้ง และรับซื้อผลผลิต กุ้งจากประเทศเวียดนามเข้าสหภาพยุโรปอย่าง มาก โดยมีมาตรการด้านสิทธิทางภาษีเป็นพิเศษ ส�ำหรับประเทศเวียดนาม โดยในรอบปีที่ผ่านมา
ให้การสนับสนุนน�ำผลผลิตกุ้งจากเวียดนามเข้า EU เพิ่มสูงขึ้นประมาณร้อยละ 30 - 50 ซึ่งก็เป็น หนึ่งแรงกระตุ้นด้านราคา และด้านตลาด ที่ท�ำให้ เกษตรกรตื่นตัว และหันมาเลี้ยงกุ้งมากขึ้น โดย เฉพาะในพื้นที่ที่มีการขยายตัวมาก ท�ำให้ผลผลิต กุ้งในประเทศเวียดนามเพิ่มสูงขึ้นมาก ประการที่ 5 ประเทศเวี ย ดนามมี ก าร เปิดรับสายพันธุ์กุ้งจากประเทศที่มีความส�ำเร็จสูง เข้าไปในประเทศ และเปิดรับเทคโนโลยีด้านการ เพาะฟักลูกกุ้ง และการควบคุมคุณภาพลูกกุ้งที่ดี โดยประเทศเวียดนามน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้งจาก ประเทศในแถบอเมริกา และประเทศไทยก็มีการ น�ำสายพันธุ์ที่มีการคัดเลือกพันธุ์ที่ดีเข้าไปที่นั่น รวมทั้งเทคโนโลยีด้านโรงเพาะฟัก และมาตรฐาน การควบคุมคุณภาพลูกกุ้งที่ดี ก็ถูกน�ำเข้าไปให้ใน ประเทศเวียดนามด้วย ท�ำให้คุณภาพลูกกุ้งใน เวียดนามมีคุณภาพดีเป็นส่วนใหญ่ ร่วมกับการ อนุบาลลูกกุง้ ก่อนปล่อยลงบ่อ และการปรับเปลีย่ น รูปแบบการเลีย้ ง ยิง่ ท�ำให้ประสบความส�ำเร็จมาก และเกษตรกรเวียดนามมีความขยัน อดทน เป็น เจ้าของเอง และปฏิบัติงานเองในบ่อเป็นส่วนใหญ่ มีการเรียนรู้และปรับตัว ยอมรับเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างมากและรวดเร็ว เกษตรกรของเขาใฝ่เรียนรู้ ค่อนข้างมาก โดยพยายามจะศึกษาหาความรูจ้ าก ประเทศทีป่ ระสบความส�ำเร็จ และมีพฒ ั นาปรับปรุง ตัวเองไปตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปตลอด เวลา
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
77
Around The World ทีก่ ล่าวมาข้างต้น เราจะเห็นว่าโอกาส หรือ Opportunity ของทั้งสองประเทศมีค่อนข้างมาก คราวนี้เรามาดูเรื่องปัญหาอุปสรรค (Challenges and Threat) ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในทัง้ สองประเทศ ทีจ่ ะ พบมากอันดับหนึ่งก็คือ ปัญหาและอุปสรรคด้าน การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน และระบบสาธารณูปโภค (Infrasturcture) เพือ่ รองรับอุตสาหกรรมกุง้ ที่จะขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทั้งสองประเทศอาจจะ ต้องใช้เวลา และเงินทุนมากขึ้นในการลงทุนด้าน ระบบไฟฟ้า ระบบถนนหนทาง ระบบน�้ำประปา ระบบขนส่ง ระบบเทคโนโลยี และระบบรองรับ ต่างๆ ซึ่งรัฐบาลทั้งสองประเทศก็ก�ำลังด�ำเนินการ อยู่ เรื่ อ งที่ ส องที่ เ ป็ น ปั ญ หาอุ ป สรรคทั้ ง สอง ประเทศอย่างมากก็คอื เรือ่ งสารตกค้าง โดยเฉพาะ ยาปฏิชีวนะตกค้างในผลผลิตกุ้ง โดยมาตรการที่ เรียกว่า Zero tolerance on antibiotic residue ของทั้งสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ที่ออกมา ขู่ การห้ามพบสารตกค้างเหล่านี้ในผลผลิตกุ้ง อีก มิฉะนั้นจะท�ำการตรวจผลผลิตกุ้งของทั้งสอง ประเทศทั้งหมด (ตรวจ 100% เต็ม) ไม่ใช่แค่ สุ่มตรวจร้อยละ 5 - 10 เหมือนที่ผ่านมา และอาจ จะท�ำการแบน หรืองดซื้อกุ้ง หากตรวจพบสาร ตกค้างอีกในอนาคต ถ้าดูจากรายงานของทั้งสอง ประเทศนี้ จะเห็นได้วา่ มีรายงานการห้ามน�ำเข้ากุง้ หรือถูกแบนการขายกุง้ ค่อนข้างมาก เมือ่ เทียบกับ ประเทศอื่นๆ ในโลก เพราะทั้งสองประเทศยังมี รายงานการใช้ยาปฏิชีวนะ และสารเคมีต้องห้าม สูงมากในการเลี้ยงกุ้ง ซึ่งเป็นปัญหาที่เกษตรกร และรัฐบาลก�ำลังด�ำเนินการแก้ไขอยู่ ประเทศไทย เรายังโชคดีที่ยังไม่เคยพบรายงานการน�ำเข้ากุ้ง ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา
78 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง คื อ เรื่ อ งสงครามราคากั บ ต้นทุนการผลิต เพราะเมื่อราคากุ้งเย้ายวนใจ และได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ เกษตรกรใน แต่ละประเทศก็จะหันมาเลีย้ งกุง้ กันอย่างมาก และ ขยายพื้นที่ ซึ่งแน่นอนว่าทุกประเทศจะต้องแข่ง กันเรือ่ งต้นทุนการผลิต ประเทศไหนทีส่ ามารถท�ำ ต้นทุนการเลีย้ งได้ตำ�่ ทีส่ ดุ ประเทศนัน้ ก็จะสามารถ อยู่รอดในสงครามราคา และสามารถขายกุ้งได้ อย่ า งมั่ น คง ซึ่ ง ในอนาคตจะไม่ ใ ช้ ก ารแข่ ง ขั น เรื่องปริมาณผลผลิตกุ้งที่มากขึ้นอีกต่อไป แต่จะ เป็นการแข่งกันที่คุณภาพของผลผลิต ต้นทุนการ ผลิต และก�ำไร ปั ญ หาและอุ ป สรรคข้ อ สุ ด ท้ า ย คื อ การ รุกล�้ำพื้นที่เข้าไปในการขยายตัวของธุรกิจการ เลี้ ย งกุ ้ ง อย่ า งเช่ น นโยบายการเปลี่ ย นนาข้ า ว ให้เป็นนากุง้ ในเขตทางตอนใต้ของเวียดนาม ซึง่ ยัง ไม่ทราบว่าในอนาคตปัญหาการกีดกันทางการค้า ปัญหาจากการประท้วงจากหน่วยงานเอ็นจีโอ และ นักอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม หรือผูซ้ อื้ กุง้ ในต่างประเทศ จะเกิดการต่อต้านการผลิตกุ้งที่เข้าไปรุกล�้ำต่อ สิ่งแวดล้อมมากน้อยแค่ไหน ซึ่งถ้าเกิดขึ้นก็อาจ ส่งผลกระทบได้ในอนาคต และเป็นปัญหาอุปสรรค ด้านการผลิต และการส่งออกด้วย เราจะเห็นว่าในอนาคต ถ้าระบบการเลี้ยง กุ้งไม่ว่าจะขยายตัวมากอย่างไรก็ตาม ถ้าเราไม่ ค�ำนึงถึงสิง่ แวดล้อมรอบตัวเรา ทีอ่ าจถูกผลกระทบ จากการขยายตัวทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ส่งผลให้เกิดโรคอุบตั ิ ใหม่ต่างๆ ในการเลี้ยงกุ้ง คุณภาพ และผลผลิต ที่ตกต�่ำลง ก็จะเป็นปัญหาอุปสรรคที่ท�ำให้เราไม่ สามารถอยู่รอดในธุรกิจการเลี้ยงกุ้งได้ ดังนั้น ใน ธุรกิจการเลี้ยงกุ้งที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น และเปลี่ยน แปลงไปอย่างรวดเร็ว ระบบการเลีย้ งกุง้ จะต้องเน้น
Around The World
เข้าสู่ระบบปิด และค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เช่น การจัดสรรให้มีสัดส่วนของ ระบบบ่อพักน�้ำ และระบบบ่อเลี้ยงที่เหมาะสม มีระบบบ่อทรีตน�้ำ ระบบตกตะกอน บ�ำบัดน�้ำที่ดี มีระบบน�้ำพร้อมใช้งานที่มีปริมาณเหมาะสมเพียงพอ และที่ส�ำคัญ ทุกๆ ฟาร์มต้องมีบ่อเก็บเลนตะกอนเป็นสัดส่วนในปริมาณที่เหมาะสม ไม่ทิ้งเลน และของเสียสู่แหล่งน�้ำธรรมชาติ เพื่อสามารถท�ำการบ�ำบัดของเสียก่อนน�ำไปแปร สภาพเป็นปุ๋ย แก๊สธรรมชาติ หรือใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ ส่วนน�้ำทิ้งที่ผ่านการ ตกตะกอนไปแล้ว ก็ต้องมาผ่านระบบการบ�ำบัดโดยการกรองทั้งกายภาพ และ ทางชีวภาพ เช่น อาจมีการใช้จลุ นิ ทรียบ์ ำ� บัด การใช้ไบโอฟิลเตอร์ (Bio - filter) เช่น มีการเลี้ยงปลาเพื่อบ�ำบัดก่อนน�ำกลับไปใช้ มีการเลี้ยงสาหร่าย หรือพืชน�้ำ เพื่อ ดักจับกรองสารอินทรีย์ในน�้ำที่หลงเหลืออยู่ เป็นต้น จากนั้นก็อาจมีการหมุนเวียน น�ำ้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วกลับมาใช้ใหม่แบบรีไซเคิล นีค่ อื อนาคตทีส่ ำ� คัญอย่างแท้จริง ของการเลี้ยงกุ้งเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม และอยู่กับธุรกิจการเลี้ยงกุ้งได้อย่างยั่งยืน และยาวนานที่สุด ที่เราทุกคนควรตระหนัก เพราะหากเกษตรกรทุกคนไม่ใส่ใจใน สิ่งเหล่านี้แล้ว พยายามที่จะเลี้ยงกุ้งเพิ่มผลผลิตแข่งกัน โดยไม่ค�ำนึงสิ่งแวดล้อม คิดว่าในที่สุดปัญหาก็จะย้อนกลับมาที่ตัวของเราเอง และการเลี้ยงกุ้งก็จะประสบ ผลส�ำเร็จได้ยากขึ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 180 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
79
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำ�วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ 1 บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ 3 บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) 4 บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด 5 บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) 6 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สระบุรี 7 บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด 8 บริษัท แลบอินเตอร์ จ�ำกัด 9 บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จ�ำกัด 10 บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จ�ำกัด 11 บริษัท เออร์เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด 12 บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จ�ำกัด 13 บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 14 บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด 15 บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 16 บริษัท พรีเมียร์ เทค โครโนส จ�ำกัด 17 บริษัท วี เอ็น ยู เอ็กซิบิชั่น เอเซีย แปซิฟิค จ�ำกัด 18 ลา เมคคานิค่า เอส อาร์ แอล ดิเรฟโฟ 19 บริษัท เออีซี อินโนเวเทค จ�ำกัด
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2993-7500 โทร. 0-2817-6410 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2694-2498 โทร. 0-2740-5001 โทร. 0-2670-0900 ต่อ 122 โทร. 098-248-9771 โทร. 061-619-7471