ธุรกิจอาหารสัตว์เล่มที่179(แก้แอด)

Page 1



รายนามสมาชิก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.

บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จ�ำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จ�ำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จ�ำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จ�ำกัด บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จ�ำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53.

บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ยู่สูง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จ�ำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท บุญพิศาล จ�ำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จ�ำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท วีพีเอฟ กรุ๊ป (1973) จ�ำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จ�ำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จ�ำกัด บริษัท เจบีเอฟ จ�ำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท บีอาร์เอฟ ฟีด (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท เอพีเอ็ม อะโกร จ�ำกัด

ร า ก นา

ัน ภนิ


คณะกรรมการบริ ห าร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจำ�ปี 2560-2561

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.

นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายไพศาล เครือวงศ์วานิช นางเบญจพร สังหิตกุล นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นางสาวสุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์ นายสมภพ เอื้อทรงธรรม นายโดม มีกุล นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์ นายเธียรเทพ ศิริชยาพร นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ นายสุจิน ศิริมงคลเกษม นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายจ�ำลอง เติมกลิ่นจันทน์

นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด


บรรณาธิการ

แถลง

วัตถุดิบอาหารสัตว์ขาดแคลน เพราะการขยายปริมาณการเลี้ยงสัตว์เพิ่มมากขึ้นเพื่อแข่งขัน กับประเทศคู่แข่ง และต้องมีเป้าหมายที่จะรักษาคุณภาพและต้นทุนที่จะต้องให้มีความทัดเทียมกัน ของแหล่งวัตถุดิบที่มีอยู่ทั่วโลก ที่จะหยิบเอามาใช้ตามสูตรที่นักโภชนาการอาหารสัตว์จะได้ออกสูตร ขึน้ มา กรณีขา้ วโพด ก็เป็นหนึง่ ในวัตถุดบิ ส�ำคัญทีน่ กั โภชนาการต้องการมากทีส่ ดุ และประเทศไทยก็เป็น ประเทศที่ปลูกได้ผลผลิตดี แต่เมื่อความต้องการใช้มีมากกว่าผลผลิตที่ผลิตได้ ราคาย่อมจะต้องปรับ สูงขึน้ ตามราคาตลาดทีค่ วรจะเป็น แต่ไม่ใช่จะมาให้กลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ มาใช้ประโยชน์จากมาตรการของรัฐ ที่จะออกมาเพื่อสร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่มนั้นๆ แล้วไม่เบียดบังสร้างความเดือดร้อนแก่อีกหลายกลุ่ม ที่มีความต้องการ เช่น ท�ำให้คนเลี้ยงสัตว์เดือดร้อน ต้นทุนการเลี้ยงสูง สวนทางกับปริมาณการเลี้ยง ทีข่ ยายตัว แต่กำ� ลังซือ้ ของผูบ้ ริโภคลดลงเพราะภาวะเศรษฐกิจไม่ดี ทัง้ ทีท่ กุ ฝ่ายพยายามรณรงค์ให้มกี าร บริโภคเนื้อสัตว์ ผลิตภัณฑ์ไข่ เพิ่มมากขึ้นเพื่อสุขภาพที่ดี แต่ก็ยังไม่เป็นผลส�ำเร็จ ก็คงต้องพยายามกัน ต่อไป การที่นักโภชนาการอาหารสัตว์ทั่วโลกต่างก็ต้องดิ้นรนหาวัตถุดิบจากแหล่งผลิตทั่วโลกที่มี ความได้เปรียบในสูตรอาหารสัตว์ในการที่จะลดต้นทุนเพื่อการแข่งขันด้านราคาและคุณภาพผลผลิตที่ดี รวมทัง้ ประเทศไทยก็ตอ้ งร่วมรักษาสภาวะแวดล้อมโลก โดยทีจ่ ะต้องไม่สง่ เสริมการปลูกพืชโดยไปท�ำลาย สิ่งแวดล้อม เพื่อไม่ให้เป็นเป้าหมายโจมตีจากนักอนุรักษ์ต่างๆ ดังนั้น ทางหนึ่งที่จะช่วยกันได้ในการ เปิดตลาดให้มีวัตถุดิบจากทั่วทุกมุมโลกที่มีความเหมาะสมเข้ามาใช้ โดยมีการดูแลเกษตรกรในระดับที่ เหมาะสมและพึ่งพากันได้ ไม่เป็นการกดดันให้กลุ่มใดต้องแบกภาระของอีกกลุ่มจนมากเกินไป และ ประเทศนี้จะอยู่กันอย่างยากล�ำบาก ประเทศเพื่อนบ้านที่ก�ำลังพยายามขยายภาคปศุสัตว์ให้มาแข่งขัน และมีโอกาสแซงหน้าเราได้ ท�ำให้นักลงทุนหันไปลงทุนด้วยนโยบายที่ได้รับการเกื้อหนุนมากกว่า เมื่อ ถึงเวลาทีเ่ ราเสียตลาดไปก็ยากทีจ่ ะดึงกลับมา และภาคปศุสตั ว์ของไทย ทีต่ อ้ งใช้วตั ถุดบิ ในประเทศลดลง เกษตรกรชาวไร่ ชาวนา ก็ตอ้ งได้รบั ความเดือดร้อนกระทบเป็นลูกโซ่อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ทุกคน ไม่อยาก เห็นภาพแบบนั้น คงต้องเห็นใจกันและกัน และเปิดทางให้แก่กันบ้าง บก.


ธุรกิจอาหารสัตว์

วารสาร

ปีที่ 35  เล่มที่ 179  ประจำ�เดือน มีนาคม - เมษายน 2561

Thailand Focus

จีดีพีเกษตรไตรมาสแรกขยับ 3.8 สศก. ชี้ปัจจัยเกื้อหนุนเพียบ - ภาวะเศรษฐกิจโลกดีขึ้น ........................................................................................... 5 แนะเกษตรกรผลิตอาหารสัตว์ ใช้เปลือกข้าวโพดช่วยลดต้นทุน .............................................................................................................................................................. 6 เร่งตรวจแปลงข้าวโพดก่อนจ่าย 2 พัน ขู่ตัดสิทธิเกษตรกรแจ้งข้อมูลเท็จ ..................................................................................................................................... 8 เมืองอุบลปลูกข้าวโพดฯ หลังนา เกษตรกรเตรียมรับทรัพย์ เม.ย. นี้ ................................................................................................................................................10 มกอช. จ่อคิวประกาศมาตรฐานสินค้าเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์ .............................................................................................................................................................11 กรมปศุสัตว์ยันหนักแน่นไม่มีหวัดนก ระบุมาตรการดูแลเข้มงวด/ประชาชนควรรับฟังข่าวจากการทางเป็นหลัก ...................................12 กรมปศุสัตว์เร่งเคาะมาตรการ ช่วยผู้เลี้ยงสุกรรายย่อย ................................................................................................................................................................................ 15

Food Feed Fuel

ผลผลิต ‘ไทย-เวียดนาม’ ทะลักส่งออกข้าว Q2 แข่งเดือด ........................................................................................................................................................................ 16 สถานการณ์ถั่วเหลือง ...................................................................................................................................................................................................................................................................... 18 สถานการณ์กากถั่วเหลือง ............................................................................................................................................................................................................................................................21 สถานการณ์ปลาป่น ......................................................................................................................................................................................................................................................................... 24 ผวาราคาไข่ไก่รูดเหลือแค่ 2 บาท รายย่อยกระอัก - เกษตรเชิญ 4 ยักษ์ใหญ่หารือ ........................................................................................................ 27 ‘กุ้งอินเดีย’ เจอภาษีทรัมป์ ไทยขอน�ำเข้ากุ้งอินเดียมาแปรรูปส่งออก ชดเชยผลผลิตกุ้งไทยไม่เพียงพอ ...................................................... 29

Market Leader

ขอรื้อมาตรการแก้ปัญหาข้าวโพด .........................................................................................................................................................................................................................................31 คุมน�ำเข้าข้าวสาลี...ใครได้? .......................................................................................................................................................................................................................................................32 ปริศนาข้าวโพด 3:1 ข้าวสาลี ..................................................................................................................................................................................................................................................33 จับตาแก้ปมข้าวโพด ........................................................................................................................................................................................................................................................................ 34 หลงใหลได้ปลื้มราคา ระวังระบบจะล่มสลาย .......................................................................................................................................................................................................... 39 ส. อาหารสัตว์ เร่งรัฐเดินหน้า มาตรการตรวจสอบย้อนกลับข้าวโพด ............................................................................................................................................. 42 จับตาพรุ่งนี้! เจอศึกหนัก 3 ม็อป "กุ้ง ปาล์ม ประมง" เขย่ารัฐบาล คสช. สั่งถอนข้อตกลงเอ็มโอยูพื้นบ้าน ........................................ 44 “สนธิรัตน์” นั่ง ปธ.ประชุม นบขพ. เห็นชอบตั้งคณะอนุกรรมการฯ แก้ปมร้อน “โรงงานอาหารสัตว์” ....................................................... 46 ผู้เลี้ยงหมู - ไก่ เข้าพบนายกฯ วอนช่วยราคาข้าวโพดแพงต้นทุนเลี้ยงสัตว์พุ่ง ..........................................................................................................................47 พาณิชย์ปลื้มราคาพืชไร่ปรับตัวสูงขึ้น ............................................................................................................................................................................................................................. 49

Around the World

Contents

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

โคนมไทย พร้อมรับเปิดเสรี เตรียมยกทัพโกอินเตอร์ .................................................................................................................................................................................... 50 ยินดี นายบัญชา สุขแก้ว “มิสเตอร์กุ้ง” คนใหม่ (ผู้อ�ำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่ง) ............................. 54 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย (TFMA) และสมาคมส่วนผสมอาหารสัตว์แห่งประเทศเกาหลีใต้ (KFIA) ลงนามความร่วมมือพร้อมเปิดประตูการค้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ผ่านสองงานปศุสัตว์ระดับนานาชาติ VIV Asia และ งาน VICTAM ASIA ................................................................................................................................................................................................................57 สรุปข่าวจากสำ�นักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 5���������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������� 59 การเปรียบเทียบการเสริมซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว และเสริมร่วมกับยาปฏิชีวนะ ในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโตที่มีต่อประสิทธิภาพการผลิตของไก่เนื้อ ........................................................................................................................... 61 ข้อมูลนำ�เข้ากุ้ง 2 ตลาดหลัก 7�������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������74 ระเบียบกระทรวงพาณิชย์ ...........................................................................................................................................................................................................................................................75 ประกาศกระทรวงการคลัง ..........................................................................................................................................................................................................................................................78 ขอบคุณ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................80

  ด�ำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย   : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร    รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น  นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล     กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร  นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์  นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม  นายอดิเรก ศรีประทักษ์  นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล  นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง  นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์  นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์     บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ     กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง  นายอรรถพล ชินภูวดล  นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง  นางสาวกรดา พูลพิเศษ  นายธีรพงษ์ ศิริวิทย์ภักดีกุล  

  ประธานกรรมการที่ ป รึ ก ษา

ส�ำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4   โทรสาร 0-2675-6265   Email: tfma44@yahoo.com   Website: www.thaifeedmill.com



ระบบมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง

GMP / HACCP

ISO 9001 : 2015 / ISO 14001 : 2015


Thailand Focus

จีดีพีเกษตรไตรมาสแรกขยับ 3.8 สศก. ชี้ปัจจัยเกื้อหนุนเพียบ - ภาวะเศรษฐกิจโลกดีขึ้น

นายวิณะโรจน์ ทรัพย์ส่งสุข เลขาธิการ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผย ว่า จากการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ไตรมาส 1 ปี 2561 พบว่า ขยายตัว 3.8% เมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2560 โดยทุกสาขา การผลิตขยายตัวเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากมีปจั จัยเกือ้ หนุน หลายด้าน เช่น ปริมาณน�้ำ ภูมิอากาศ และการ ด� ำ เนิ น นโยบายพั ฒ นาภาคการเกษตรของรั ฐ ตลอดจนภาวะเศรษฐกิจโลกที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถแยกภาวะเศรษฐกิจการเกษตรเป็น รายสาขาดังนี้ สาขาพืช ขยายตัว 4.7% โดยผลผลิต พืชส�ำคัญที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงาน สับปะรดโรงงาน ยางพารา ปาล์มน�้ำมัน และล�ำไย ขณะที่ในด้าน ราคาช่วงเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2561 สินค้า พืชทีม่ รี าคาทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลีย่ เพิม่ ขึน้ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันส�ำปะหลัง และล�ำไย สาขาปศุสัตว์ ขยายตัว 1.4% จากการ เพิ่มปริมาณการผลิตตามความต้องการบริโภค ของตลาดทั้งในและต่างประเทศ ประกอบกับการ เฝ้าระวังควบคุมโรคระบาด และจัดการฟาร์มได้ มาตรฐาน ท�ำให้สินค้าปศุสัตว์หลัก ได้แก่ ไก่เนื้อ

สุกร ไข่ไก่ และน�้ำนมดิบ มีผลผลิตเพิ่มขึ้น แต่ ด้านราคาสินค้าปศุสตั ว์สว่ นใหญ่มรี าคาลดลง โดย ราคาสุกร ไข่ไก่ ลดลง เนือ่ งจากปริมาณผลผลิตที่ ออกสูต่ ลาดเพิม่ ขึน้ ขณะทีร่ าคาน�ำ้ นมดิบค่อนข้าง ทรงตัว สาขาประมง ขยายตัว 1.5% จากปริมาณ กุ้งทะเลเพาะเลี้ยงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เกษตรกร มีการบริหารจัดการฟาร์มที่ดี รวมทัง้ มีการพัฒนา ระบบการเลี้ยงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ส่วนราคา ทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลีย่ ลดลงตามปริมาณผลผลิต ที่ออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น สาขาบริการทางการเกษตร ขยายตัว 3.6% โดยเกษตรกรมีการจ้างบริการเตรียมดิน ไถพรวน ดิน และเกี่ยวนวดข้าวตามพื้นที่เพาะปลูกข้าว ที่เพิ่มขึ้น เป็นผลจากปริมาณน�้ำต้นทุนเพียงพอ ขณะที่ในส่วนของอ้อยโรงงานก็มีการใช้บริการ เก็บเกีย่ วอ้อยเพิม่ ขึน้ เพราะมีการขยายพืน้ ทีเ่ พาะ ปลูก สาขาป่าไม้มีการขยายตัว 2.2% เนื่องจาก ผลผลิตไม้ยคู าลิปตัส ไม้ยางพารา ถ่านไม้ และครัง่ เพิ่มขึ้น โดยความต้องการไม้ยูคาลิปตัสภายใน ประเทศสูงขึ้นเพื่อน�ำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต กระดาษ และแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงชีวมวล ขณะที่ ไม้ยางพารายังคงเป็นที่ต้องการของตลาด ทั้ง ภายใน และต่างประเทศ

ที่มา : แนวหน้า ฉบับวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

5


Thailand Focus

แนะเกษตรกรผลิตอาหารสัตว์

ใช้เปลือกข้าวโพดช่วยลดต้นทุน

สวทช. ภาคเหนือ ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ ม.เชียงใหม่ ร่วมผลิตอาหารสัตว์จากเปลือก ข้าวโพด ช่วยแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม กระตุ้นให้ เกษตรกรน�ำเศษวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตรมาใช้ ประโยชน์ ลดต้นทุนและภาวะหมอกควันมลพิษ ทางอากาศด้วย ที่บริเวณโรงเรือนโคเนื้อ สถานีวิจัยและ ฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ จังหวัดเชียงใหม่ ผศ.ดร.ดรุณี นาพรหม รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พร้อม ด้วยนางปิยะฉัตร ใคร้วานิช เบอร์ทนั ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ชาติ (สวทช.) ภาคเหนือ เปิดกิจกรรมจิตอาสา “ร่วมใจลดหมอกควัน ร่วมกันผลิตอาหารสัตว์จาก เปลือกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ : อาหารสัตว์รักษ์โลก” โดยภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น�้ำ คณะ เกษตรศาสตร์ ม.เชียงใหม่ ร่วมกับ สวทช. ภาค เหนือ จัดขึ้นเพื่อเป็นต้นแบบในการจัดการเศษ วัสดุทางการเกษตร โดยใช้เปลือกข้าวโพดเลี้ยง สัตว์น�ำมาผลิตเป็นอาหารสัตว์รักษ์โลก เพื่อลด การเผา และแก้ปัญหาหมอกควันที่ต้นเหตุส�ำคัญ เวลานี้ โดย ผศ.ดร.วรรณพร ทะพิงค์แก กล่าว รายงานถึงโครงการดังกล่าวที่เป็นส่วนหนึ่งในงาน วิจัยที่ต่อยอดสู่การน�ำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีนักศึกษาและประชาชนร่วมเป็นจิตอาสา ที่มา : ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2561

6

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

เข้ารับการอบรม ฝึกปฏิบัติเพื่อน�ำไปเผยแพร่ องค์ความรู้ในการผลิตอาหารสัตว์ต้นทุนต�่ำให้กับ เกษตรกรที่สนใจต่อไป ในส่วนของภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น�้ำ จะด�ำเนินการผลิตอาหารสัตว์ จากเศษวัสดุอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ ศึกษาดูงานให้กับผู้ที่สนใจ ตลอดจนจะวิเคราะห์ ติดตาม ทดสอบคุณภาพของอาหารสัตว์เพื่อให้มี คุณภาพดีสม�่ำเสมอต่อไป ทีผ่ า่ นมา สวทช. ได้มกี ารเน้นการฝึกอบรม เชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ แนะน�ำให้กลุม่ เกษตรกรมีความ รู้ในการผลิตอาหารสัตว์จากเศษวัสดุเหลือทิ้งทาง การเกษตร โดยเฉพาะเปลือกข้าวโพด มาท�ำเป็น อาหารหยาบส�ำหรับสัตว์เคีย้ วเอือ้ ง เช่น โค กระบือ แพะ แกะ เป็นต้น ทั้งนี้ ภาควิชาสัตวศาสตร์ และสัตว์น�้ำ คณะเกษตรศาสตร์ ม.เชียงใหม่ ได้ ท�ำกิจกรรมผลิตอาหารสัตว์จากเศษวัสดุเหลือทิ้ง ทางการเกษตรอย่างต่อเนื่อง โดยน�ำอาหารสัตว์ ทีผ่ ลิตได้มาเลีย้ งสัตว์ในฟาร์มทดลองของภาควิชา ตลอดจนวิเคราะห์ทดสอบคุณภาพของอาหารสัตว์ ให้มีคุณภาพดีสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ ยังเปิดเป็น ศูนย์เรียนรู้ ศึกษาและดูงานให้แก่ผทู้ สี่ นใจ ตลอด จนรับผลิตอาหารสัตว์ให้แก่เกษตรกรเพื่อตอบ สนองความต้องการของเกษตรกรอีกด้วย ผอ.สวทช. ภาคเหนือกล่าวว่า โครงการ ดังกล่าว ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ สวทช. คาดหวังว่า


Thailand Focus งานวิจัยดังกล่าวมาจากความต้องการลดปัญหา หมอกควัน ซึ่งเริ่มด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2557 ที่ ขณะนัน้ มีปญ ั หาเรือ่ งหมอกควันในพืน้ ทีภ่ าคเหนือ ตอนบน ที่ปัญหาหลักๆ มาจากการเผาวัสดุเศษ เหลือทางการเกษตร โดยเฉพาะเปลือกข้าวโพด ที่มีการปลูกกันอย่างแพร่หลายในพื้นที่ภาคเหนือ ขณะเดียวกันปริมาณของเปลือกข้าวโพดแต่ละปีจงึ มีอยูห่ ลายหมืน่ ตัน หลายภาคส่วนก็พยายามแก้ไข และหาทางออก โดยน�ำไปท�ำปุ๋ย พืชชีวมวล แต่ก็ ยังพบว่ามีปริมาณที่เหลืออยู่จ�ำนวนมาก สุดท้าย ทางเกษตรกรก็ต้องน�ำมาเผาทิ้ง

จะมีการต่อยอดและน�ำไปขยายผลถึงเกษตรกร หรือผู้ประกอบการ ซึ่งต่อไปจะท�ำให้เศษเปลือก ข้าวโพดในไร่มีมูลค่าขึ้นมาแทนการเผาทิ้ง เพราะ แต่ละปีมีปริมาณมากหลายหมื่นตัน ต่อไปนี้ก็จะ เป็นมูลค่าให้เกษตรกร “สวทช. มุ่งมั่นเรื่องการสนับสนุนด้านการ ใช้นวัตกรรมและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีมาสร้าง ประโยชน์ในชีวิตได้จริง และยังแก้ไขปัญหาใน ภาพรวมด้านสิ่งแวดล้อมด้วย ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่า ปัญหาหมอกควันไฟป่าเวลานี้ เป็นอุปสรรคส�ำคัญ และท�ำให้มผี ลกระทบกับเชียงใหม่ และภาคเหนือ หรือภูมิภาคนี้อย่างมาก” นางปิยะฉัตรกล่าว กิ จ กรรมครั้ ง นี้ ดร.มนตรี ปั ญ ญาทอง อาจารย์ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น�้ำ คณะ เกษตรศาสตร์ ม.เชียงใหม่ กล่าวว่า จุดเริม่ ต้นของ

ดังนัน้ จึงต้องหาวิธกี ารทีจ่ ะช่วยลดปัญหานี้ โดยน�ำเปลือกข้าวโพดเหล่านี้มาท�ำเป็นอาหาร ส�ำหรับสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์เคี้ยวเอื้อง เช่น วัว ควาย แพะ แกะ โดยมีการใช้ในลักษณะที่เป็น เปลือกแห้ง และน�ำมาปรับสภาพเป็นอาหารหมัก เพือ่ เพิม่ คุณค่า ซึง่ เป็นอีกทางเลือกในการใช้เปลือก ข้าวโพดให้เป็นประโยชน์แทนการเผา ซึ่งก็ท�ำให้ ลดต้นทุนและได้อาหารสัตว์ที่มีคุณภาพอีกด้วย ส�ำหรับกระบวนการผลิตจะมีการน�ำเปลือก ข้าวโพดแห้งหมักกากน�้ำตาล ร�ำข้าว และหัวเชื้อ จุลนิ ทรีย์ โดยสัดส่วนน�ำ้ หนักเปลือกข้าวโพด 100 กก. จะใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์อยู่ที่ 100 กรัม กาก น�ำ้ ตาล 1 กก. และร�ำละเอียด 1 กก. และมีตน้ ทุน ไม่เกิน 20 สตางค์ต่อ กก. ขณะเดียวกัน เปลือก ข้าวโพดแห้งจะมีโปรตีนอยู่ประมาณ 1 - 2% แต่ หากผ่านกระบวนการหมักแล้วจะมีโปรตีนเพิม่ ขึน้ เป็น 4 - 5% ซึ่งกระบวนการนี้จะช่วยเพิ่มในเรื่อง ของคุณค่าทางโภชนาการและความน่ากินให้สัตว์ มากขึ้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

7


Thailand Focus

เร่งตรวจแปลงข้าวโพดก่อนจ่าย 2 พัน ขู่ตัดสิทธิเกษตรกร แจ้งข้อมูลเท็จ

เกษตรฯ ร่วมปลูกข้าวโพดหลังนา 5 แสนไร่ ยังต�ำ่ กว่าเป้า สัง่ เร่งตรวจสอบแปลงปลูกจริงก่อน จ่ายเงินอุดหนุน ไร่ละ 2,000 บาท ดึงสมาคม การค้าพืชไร่ รับซือ้ ผลผลิต แจงเอาผิดรายฉ้อโกง แจ้งหลักฐานเท็จ ตัดสิทธิ์ - เรียกเงินคืน นายสมชาย ชาญณรงค์กุล อธิบดีกรม ส่งเสริมการเกษตร เปิดเผยว่า ขณะนี้ คณะท�ำงาน ตรวจสอบพื้นที่ระดับต�ำบล อยู่ระหว่างเร่งตรวจ สอบแปลงปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรที่ สมัครเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ฤดูแล้งหลังนา ปี 2560/61 และแจ้ง ยืนยันการเพาะปลูก รวมพื้นที่ 521,412.50 ไร่ 74,243 ราย จากเป้าหมายที่ตั้งไว้ 700,000 ไร่ วงเงิน 14,000 ล้านบาท ใน 31 จังหวัด โดยมีเกษตรกรที่ผ่านการตรวจสอบแล้ว จ�ำนวน 54,507 ราย พื้นที่ 373,251.75 ไร่ หรือ 71.58% จากพื้นที่ยืนยันการเพาะปลูก ผ่านการ เห็นชอบของคณะกรรมการฯ ระดับอ�ำเภอแล้ว 17,504 ราย พื้นที่กว่า 127,023.75 ไร่ เบื้องต้น ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561

8

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

ได้สั่งให้คณะท�ำงานฯ เร่งตรวจสอบแปลงให้แล้ว เสร็จโดยเร็ว ก่อนจ่ายเงินอุดหนุน 2,000 บาทต่อไร่ ให้กับแปลงที่แจ้งยืนยันการเพาะปลูกจริงเท่านั้น ผ่านทางธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การ เกษตร (ธ.ก.ส.) หากเกษตรกรได้รบั เงินช่วยเหลือ แล้ว แต่ไม่ปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ จะถูกด�ำเนินคดี ในข้อหาแจ้งเข้าร่วมโครงการฯ เป็นเท็จฐานฉ้อโกง ทั้งยังจะถูกตัดสิทธิ์การเข้าร่วมโครงการฯ และ เกษตรกรต้องส่งเงินคืนทั้งหมดอย่างไม่มีเงื่อนไข ด้วย ทั้ ง นี้ เพื่ อ เตรี ย มพร้ อ มรองรั บ ผลผลิ ต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในโครงการฯ ที่จะเริ่มทยอย เก็บเกี่ยวป้อนตลาดในช่วงเดือน มี.ค. - เม.ย. นี้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้เร่งประสาน และหารือ ร่วมกับหน่วยงานภาคีภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง และภาค เอกชน เช่น สมาคมการค้าพืชไร่ ให้เข้ามารับซื้อ ผลผลิตข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ เพือ่ ลดความกังวลให้กบั เกษตรกรรายย่อยเรื่องตลาดรองรับและราคารับ ซื้อ ซึ่งเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มั่นใจได้ว่า


Thailand Focus จะได้รับเงินช่วยเหลือตามเงื่อนไข ไร่ละ 2,000 บาท รายละไม่เกิน 15 ไร่ และมีตลาดรับซื้อ แน่นอน หากผลผลิตมีคุณภาพและได้มาตรฐาน โดยราคารับซือ้ อาจลดทอนตามเกณฑ์ชนั้ คุณภาพ ซึ่งจะด�ำเนินการอย่างโปร่งใส และเป็นธรรมแก่ เกษตรกรทุกราย “เบือ้ งต้นคาดว่า จะมีผลผลิตข้าวโพดเลีย้ ง สัตว์ในโครงการฯ ออกสู่ตลาดรวมกว่า 500,000 ตัน สามารถช่วยเพิ่มปริมาณผลผลิตให้เพียงพอ กับความต้องการใช้ภายในประเทศ และลดการพึง่ พาการน�ำเข้าได้ ขณะเดียวกัน ยังช่วยลดปริมาณ การผลิตข้าว ซึง่ มีปญ ั หาผลผลิตเกินความต้องการ ตามมาตรการลดรอบการปลูกข้าวเพื่อปลูกพืช หมุนเวียน ปีการผลิต 2560/61 รวมทั้ง ยังท�ำให้ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ทดแทนการปลูกข้าวที่ให้ผลตอบแทน ต�ำ่ กว่า ซึง่ จะช่วยสร้างรายได้ทมี่ นั่ คง และเกิดความ ยั่ ง ยื น จากปลู ก ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ห มุ น เวี ย นใน ระบบปลูกข้าวตามนโยบายรัฐบาล และกระทรวง เกษตรและสหกรณ์” นายสมชาย กล่าว ส�ำหรับปี 2560/61 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มี เนื้อที่เพาะปลูก รวมทั้งประเทศ 6.461 ล้านไร่ เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้ว 16,454 ไร่ หรือเพิ่มขึ้น 0.26% ส่วนเนือ้ ทีเ่ ก็บเกีย่ วรวมทัง้ ประเทศ 6.369 ล้านไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 23,662ไร่ หรือ เพิ่มขึ้น 0.37% โดยมีผลผลิตรวมทั้งประเทศ 4.60 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 260,006 ตัน หรือเพิ่มขึ้น 5.99% ส่วนผลผลิตต่อเนื้อที่ปลูก ทัง้ ประเทศ 712 กก. ต่อไร่ เพิม่ ขึน้ จากปีทแี่ ล้ว 38 กก. ต่อไร่ หรือเพิ่มขึ้น 5.64% ผลผลิตต่อเนื้อที่ เก็บเกีย่ วทัง้ ประเทศมี 722 กก. ต่อไร่ เพิม่ ขึน้ จาก ปีที่แล้ว 38 กก. ต่อไร่ หรือเพิ่มขึ้น 5.56%

ด้านผลผลิตและความต้องการ สมาคม ผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ได้ประมาณความต้องการ ใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ประมาณ 8.10 ล้านตัน มากกว่าที่ผลิตได้ใน ประเทศ ดังนั้น ผู้ประกอบการจึงต้องน�ำเข้าบาง ส่วน แต่ทั้งนี้ภาครัฐได้ขอความร่วมมือให้ผู้ผลิต อาหารสัตว์เพื่อการส่งออก ช่วยรับซื้อข้าวโพด เลี้ยงสัตว์จากเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกรม ส่งเสริมการเกษตรและการเพาะปลูกในพื้นที่ที่มี เอกสารสิทธิก์ อ่ น ในราคาไม่ตำ�่ กว่า กก. ละ 8 บาท ที่ความชื้น 14.5% โดยได้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบการ และ ผูร้ วบรวมทีร่ บั ซือ้ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในท้องถิน่ เพือ่ ก�ำกับดูแลและจัดระเบียบผู้ค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส�ำหรับราคา เมื่อวานนี้ (19 มี.ค.) อยู่ที่กิโลกรัม ละ 10.32 บาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีที่ผ่านที่มีราคา กก. ละ 8.30 บาท

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

9


Thailand Focus

เมืองอุบลปลูกข้าวโพดฯ หลังนา เกษตรกรเตรียมรับทรัพย์ เม.ย. นี้ ดร.วิณะโรจน์ ทรัพย์สง่ สุข เลขาธิการส�ำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร (สศก.) เปิดเผยถึงการด�ำเนินโครงการส่งเสริม การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ฤดูแล้ง ปีการผลิต 2560/61 รุ่นที่ 2 ของจังหวัดอุบลราชธานี ซึง่ กรมส่งเสริมการเกษตรเป็นหน่วยงาน หลักในการดูแล ระยะเวลาด�ำเนินการ ตุลาคม 2560 - เมษายน 2561 ว่า จังหวัดอุบลราชธานีดำ� เนินโครงการฯ ในพืน้ ที่ 16 อ�ำเภอ มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ กว่า 3,500 ราย พื้นที่ 22,000 ไร่ โดยปีนี้พบว่า พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มจากปีที่แล้ว ร้อยละ 83 ซึ่งจังหวัดอุบลราชธานีได้มีการประชาสัมพันธ์ให้ เกษตรกรเข้าใจในโครงการปลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์หลังนา รวมทัง้ แสดงผลส�ำเร็จของการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่เพื่อเป็น ข้อมูลให้เกษตรกรตัดสินใจปรับเปลีย่ นพืน้ ทีก่ ารปลูกข้าวนาปรัง ด้าน นายไพฑูรย์ สีลาพัฒน์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตรที่ 11 (สศท.11) กล่าวว่า จากการลงพื้นที่ ภาพประกอบ : AJFAM ติดตามสถานการณ์การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รุ่น 2 ในจังหวัด อุบลราชธานี ขณะนี้อยู่ในช่วงออกผลและฝักเริ่มแก่ โดยผลผลิตจะออกสู่ตลาดปลายเดือนเมษายนนี้ คาดว่าผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 759 กก./ไร่ (ณ ความชื้น 14.5%) ทั้งนี้ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ จะสามารถได้รับผลตอบแทนจากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไม่น้อยกว่าไร่ละ 1,000 บาท หรือได้ก�ำไร มากกว่าการปลูกข้าวรอบ 2 ไม่น้อยกว่าไร่ละ 500 บาท ส่วนของช่องทางการตลาด เกษตรกรยังมี การท�ำบันทึกข้อตกลง (MOU) ร่วมกับบริษัทก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จ�ำกัด ในราคาประกัน เริ่มต้น 8 บาท/กก. แต่ก็ต้องขึ้นอยู่กับราคาตลาดในปัจจุบันด้วยเช่นกัน ซึ่ง สศท.11 จะด�ำเนินการ ติดตามสถานการณ์การผลิตอีกครั้งภายหลังการด�ำเนินโครงการเสร็จสิ้น และรายงานให้ทราบในระยะ ต่อไป ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2561

10 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Thailand Focus

มกอช. จ่อคิวประกาศมาตรฐาน

สินค้าเมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์ นางสาวเสริมสุข สลักเพ็ชร์ เลขาธิการส�ำนักงานมาตรฐานสินค้า เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันการขยายตัวของการ ผลิตโคเนือ้ โคนม กระบือ แพะ แกะ และม้า มีแนวโน้มเพิม่ มากขึน้ ในขณะที่ ทุ่งหญ้าสาธารณะลดน้อยลงมาก และเกิดปัญหาพืชอาหารสัตว์ชนิดหยาบ โดยเฉพาะหญ้าคุณภาพขาดแคลนในช่วงฤดูแล้ง ท�ำให้ธรุ กิจจ�ำหน่ายพืชอาหาร สัตว์ชนิดหยาบมีแนวโน้มเติบโตมากขึ้น ท�ำให้เกษตรกรต้องมีการเพาะปลูก พืชเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ ซึ่งปัจจุบันมีพื้นที่ปลูกหญ้า/พืชอาหารสัตว์ รวมกว่า 6.24 แสนไร่เกษตรกร ประมาณ 21,000 ครัวเรือน ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยปลูกหญ้าอาหารสัตว์เพื่อใช้เองภายในฟาร์ม และผลิตเพือ่ จ�ำหน่ายดังนัน้ เพือ่ ให้มเี กณฑ์กำ� หนดและชัน้ คุณภาพทีเ่ หมาะสม ในการซือ้ ขายเมล็ดพันธุพ์ ชื อาหารสัตว์ชนิดอาหารหยาบทีไ่ ด้มาตรฐาน และเป็น การปกป้องเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสัตว์ทซี่ อื้ เมล็ดพันธุพ์ ชื อาหารสัตว์ไปใช้ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ได้มอบหมายให้ มกอช. ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดท�ำร่างมาตรฐานสินค้าเกษตรเรื่อง เมล็ดพันธุ์พืชอาหารสัตว์ ขึ้น เพื่อเป็น แนวทางยกระดั บ การผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ ์ ห ญ้ า /พื ช อาหารสั ต ว์ ใ ห้ ไ ด้ คุ ณ ภาพ มาตรฐาน และตรงตามความต้องการของผู้ใช้เพิ่มขึ้น นางสาวเสริมสุข กล่าวว่าร่างมาตรฐานฯ มีเนื้อหาครอบคลุมพันธุ์พืช อาหารสัตว์ที่ผลิตเป็นการค้าทั้งพืชตระกูลหญ้า และพืชตระกูลถั่ว อาทิ หญ้าอะทราทัม หญ้ารูซี่ ถั่วฮามาตา ถั่วสไตโล และกระถิน โดยมีสาระส�ำคัญ เช่น ข้อก�ำหนดคุณภาพขั้นต�่ำ การแบ่งชั้นเมล็ดพันธุ์ ข้อก�ำหนดการแสดง ฉลากและเครือ่ งหมาย รวมถึงแสดงเครือ่ งรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร ขณะนี้ อยู่ระหว่างเปิดรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อน�ำข้อมูลมาปรับปรุงร่างมาตรฐานฯ ดังกล่าวให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ ก่อนเสนอให้คณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตรพิจารณาเห็นชอบและ ประกาศใช้ต่อไป ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

11


Thailand Focus

กรมปศุสัตว์ยันหนักแน่นไม่มีหวัดนก ระบุมาตรการดูแลเข้มงวด/ประชาชนควรรับฟังข่าวจากการทางเป็นหลัก

รองอธิบดีกรมปศุสตั ว์ ยันไม่มกี ารระบาด ของไข้หวัดนกในปี 2560 แน่นอน ชีม้ มี าตรการ ดูแลเข้มงวด วอนประชาชนรับฟังข่าวจากกรม ปศุสตั ว์เป็นหลัก เผยไทยเตรียมส่งไก่ไปจีนล็อต แรก 28 มี.ค. นี้ 14 ตู้คอนเทนเนอร์ มูลค่า 35 ล้านบาท ส่วนผูห้ วังดีทเี่ ตือนสถานการณ์ พร้อม ชี้แจงให้เข้าใจ ด้าน “หมอธีระวัฒน์” ยันได้ ข้อมูลระบาดจริงแถวโคราช มีสัตว์ชนิดอื่นตาย ด้วย เป็นสัญญาณแสดงถึงการปรับเปลี่ยนรหัส พันธุกรรมให้สามารถติดสัตว์ตระกูลใหม่ได้ ยก จีนพบเชื้อ H7N4 จุดน่ากลัวคือติดเชื้อจากคน สู่คน วันที่ 25 มี.ค. น.สพ.สมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิบดีและโฆษกกรมปศุสัตว์ กล่าวถึง กรณีที่มีกระแสข่าวออกมาว่ามีการระบาดของ ไข้หวัดนกในปี 2560 แต่ไม่มีการเปิดเผยต่อ สาธารณชนให้รบั ทราบว่า ขอยืนยันว่าไม่มกี ารปิด ข้อมูลการระบาด และในปี 2560 ไม่มกี ารรายงาน การระบาดของไข้หวัดนกแน่นอน ประเทศไทย ไม่มีรายงานการระบาดมาตั้งแต่ปี 2552 ซึ่งการ ที่ควบคุมโรคได้ เราก็ต้องมีการท�ำงานร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข ทัง้ กรมอนามัย กรมควบคุม โรค อย. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งสวนสัตว์ มหาวิทยาลัย ตามหลักการการจัดการระบบแบบ สุขภาพหนึ่งเดียว หรือที่เรียกว่า One Health อีกทั้งประเทศไทยยังเป็นประเทศส่งออกสัตว์ปีก ที่มา : ไทยโพสต์ ฉบับวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2561

12 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

อันดับ 4 ของโลก ดังนั้นส�ำคัญที่สุดคือเป็นโรค จากสัตว์ที่กระทบชีวิตมนุษย์ซึ่งเป็นเรื่องที่ส�ำคัญ ทีส่ ดุ และหากเกิดการระบาดก็จะกระทบกับระบบ เศรษฐกิจทัง้ การท่องเทีย่ ว การส่งออกสัตว์ปกี จึง ต้องควบคุมเพื่อไม่ให้เกิด น.สพ.สมชวน กล่าวว่า การด�ำเนินงานนั้น มีหลายมาตรการ และมีกฎหมายหลายฉบับก�ำกับ ชัดเจน ตลอดห่วงโซ่การผลิต เช่น พ.ร.บ. โรค ระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 ทัง้ การเลีย้ งทีม่ มี าตรฐาน ฟาร์ม การตรวจเชื้อโรคจุลินทรีย์ และสารตกค้าง มี โ ครงการเฝ้ า ระวั ง แบบบู ร ณาการเชิ ง รุ ก ทั้ ง ทางด้านอาการ โดยส่งเจ้าหน้าทีแ่ ละอาสาปศุสตั ว์ เคาะประตูบ้านสอบถามอาการสัตว์ปีกป่วยตาย และเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการปีละ 2 ครั้ง โดย การเก็บตัวอย่างปีละเกือบแสนตัวอย่าง และหาก พบว่ามีอาการเข้าข่ายตามนิยาม จะมีการท�ำลาย สัตว์ปีกนั้นทันที เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการเก็บ ตัวอย่างจากโรงฆ่าสัตว์ การตรวจสอบตลาดขาย สัตว์ปีกมีชีวิต ตลาดขายสัตว์ปีกสวยงามทั้งหลาย เพื่อน�ำไปเลี้ยง และการตรวจสอบสัตว์ปีกตาม สวนสัตว์ การควบคุมตรวจสอบสัตว์ปีกอพยพ ตามร่วมกับกรมอุทยานด้วย “กรมปศุสตั ว์มคี วาม รู้ความช�ำนาญและประสบการณ์ รวมทั้งมีการ พั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ เ พื่ อ การป้ อ งกั น ควบคุ ม โรค หวัดนกมาเยอะมาก เพราะเราทราบดี ว่าช่วงที่ เจอวิกฤติโรคระบาดนั้นกระทบกับทั้งชีวิตมนุษย์


Thailand Focus อุตสาหกรรมการส่งออกที่มีมูลค่าเป็นแสนล้าน บาทในแต่ละปี และการท่องเที่ยว ดังนั้น จึงขอให้ ประชาชนมัน่ ใจว่าประเทศไทยมีระบบการป้องกัน ที่เข้มงวด ไม่มีการระบาดของโรคไข้หวัดนก และ หากเป็นเรื่องระบาดในสัตว์ ขอให้รับฟังข่าวสาร จากกรมปศุสัตว์เป็นหลัก เพราะมีหน้าที่หลักใน การดูแลสัตว์ มีขั้นตอนการปฏิบัติและประสบการณ์ในการป้องกันควบคุมโรคระบาดสัตว์ผ่าน คณะท�ำงาน ทั้งปศุสัตว์อ�ำเภอ ปศุสัตว์จังหวัด ภาคีเครือข่าย” รองอธิบดีฯ กล่าว น.สพ.สมชวน กล่าวอีกว่า ส่วนที่มีผู้หวังดี กั ง วลว่ า มี ก ารปิ ด ข้ อ มู ล ซึ่ ง จะกระทบต่ อ การ ด�ำเนินการเตรียมความพร้อมป้องกันโรคระบาด ในคนนั้น ทางกรมปศุสัตว์ก็ต้องขอบคุณ และขอ ให้ติดต่อประสานงานโดยตรงกับกรมปศุสัตว์ ซึ่ง พร้อมจะเข้าไปชีแ้ จงให้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง เพราะเห็น ว่าเป็นความหวังดีเพื่อประโยชน์ของประชาชน เช่นเดียวกับกรมปศุสตั ว์ แต่หากมีขา่ วการระบาด แบบนี้อาจท�ำให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน ส่ง ผลกระทบกับการส่งออกสัตว์ปีกที่ไทยเป็นอันดับ 4 ของโลก และต่อเนื่องถึงเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วของไทยด้ ว ย และ ในวันที่ 28 มี.ค. นี้ ก็จะมีรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงเกษตรฯ นายลักษณ์ วจนานวัช เป็น ประธานพิธีปล่อยตู้คอนเทนเนอร์บรรจุเนื้อไก่ เที่ยวปฐมฤกษ์ ไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่ด่านเชียงแสน จ.เชียงราย ซึ่งเป็นด่านที่จะใช้ ส่งออกสัตว์ปีกไปยังประเทศจีน เที่ยวปฐมฤกษ์ จ�ำนวน 14 ตู้ มูลค่า 35 ล้านบาท นับได้ว่าทุก ประเทศทั่วโลกให้การยอมรับในการปลอดโรค ระบาดหวัดนก และคุณภาพมาตรฐานการผลิต เนื้อสัตว์ปีกของไทย

ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์ วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ได้ให้ข้อมูลและ ความเห็ น เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งไข้ ห วั ด นกใน สัตว์ปีก ซึ่งเป็นเรื่องส�ำคัญมากว่า หากไม่ได้แจ้ง ให้ประชาชนในพืน้ ทีร่ บั ทราบเมือ่ สัตว์ปว่ ยและตาย อาจเอาไปช�ำแหละและกินต่อ และอาจจะคิดว่า ไม่จ�ำเป็นต้องแจ้งทางการ นอกจากนี้ คนโคราช ที่ท�ำงานสวนให้ที่บ้านสัปดาห์ละครั้งเล่าให้ฟังว่า ไก่หลังบ้านตาย และไก่ของเพื่อนบ้านตายเป็นฝูง โดยไม่ทราบสาเหตุ จึงได้แจ้งให้สำ� นักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค เข้าไปตรวจสอบ ซึ่งในพื้นที่ไม่มี หน่วยงานราชการใด รวมทั้งกรมปศุสัตว์ใดทราบ มาก่อน และเมื่อเข้าไปส�ำรวจก็พบว่าเป็นไข้หวัด นก ซึ่งลักษณะสายพันธุ์น่าจะมีความรุนแรงแน่ ศ.นพ.ธีระวัฒน์ กล่าวว่า ในขณะเดียวกัน ทีส่ วนสัตว์โคราช นอกจากสัตว์ปกี แล้ว ยังมีสตั ว์อนื่ ล้มตาย เช่น เสือ ปลา และอื่นๆ แสดงให้เห็นถึง การปรับเปลีย่ นรหัสพันธุกรรมให้สามารถติดสัตว์ ตระกูลใหม่ได้ และเป็นการเตือนที่ส�ำคัญของการ เข้าสู่มนุษย์ โดยเกิดขึ้นประมาณเดือนสิงหาคม -  ตุลาคมของปี 2560 และเท่าที่ทราบจากการ ประชุ ม ร่ ว มกั น ของกรมควบคุ ม โรค และกรม ปศุสตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก็พบข้อมูล ว่ามีการติดเชือ้ ในหลายจังหวัด แต่สามารถควบคุม ได้ทันท่วงที อย่างไรก็ตาม การปรับเปลี่ยนรหัส พันธุกรรมเหล่านี้เห็นชัดจากการที่มีรายงานใน ประเทศจีนถึงไข้หวัดนก H7N4 ในคน ซึ่งแม้มี อาการไม่มากมาย ทางการจีนได้ประกาศทั่วไป และฮ่องกงได้ออกมาตรการเข้มงวด ซึง่ ในขณะนัน้ เป็นเทศกาลตรุษจีนในเดือนกุมภาพันธ์ 2561

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

13


Thailand Focus ศ.นพ.ธีระวัฒน์ กล่าวอีกว่า การแจ้งข้อมูลดังกล่าวเพื่อให้ ประชาชนในพื้นทีต่ ระหนัก และในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ระวังเชื้อทีอ่ าจลุกลาม เป็นเรื่องที่ส�ำคัญ ซึ่งประชาชนก็หวังพึ่งข้อมูลจากทางการ เพราะ ไม่มีทางทราบจากที่อื่น และข้อมูลเหล่านี้ต้องมีการแจ้งกับหน่วยงาน สาธารณสุขในคน เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวแม้จวบจนกระทั่งปัจจุบัน ไม่มีใครทราบถึงเรื่องไข้หวัดนกในสัตว์ปีกจากประกาศกระทรวง สาธารณสุขถึงโรงพยาบาลในสังกัด ซึ่งหากมีการแจ้งคนที่มีอาการ ไข้หวัดใหญ่ ก็ให้ระวังไปถึงไข้หวัดนกด้วย และควรระวังโดยการ แยกผู้ป่วยด้วย เนื่องจากระดับของโรคจะมีความเข้มข้นต่างกัน อย่างชัดเจน “เพราะค�ำเตือนเหล่านี้มีมาตลอด ไม่ว่าจะเป็นโรคซิกา โรค เมอร์ส MERS และในสมัย 2 - 3 ปีที่แล้ว คือ อีโบลา แต่ถ้าปรากฏข้อมูล ว่าเป็นไข้หวัดนกจริง บุคลากรทางสาธารณสุขจะไหวตัวทันทีเรื่องของการ แพร่เข้าสู่คน และการควบคุมไม่ให้เกิดโรคในคน แม้แต่มีอาการน้อยนิด ก็ตาม เพราะจะลามจากจุดเดียวไปทัว่ โลกคือการติดต่อจากคนสูค่ น และ คิดว่าการประเมินความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเปิดเผยข้อมูลเพราะกลัว จะส่งไก่ดิบออกนอกประเทศไม่ได้ โดยประเมินเป็นมูลค่าแสนล้าน ซึ่ง อาจท�ำความเสียหายให้บริษัทเอกชนเทียบกันไม่ได้เลยกับโรคระบาดที่เกิดขึ้นทั่ว ประเทศไทยและลามไปทั่วโลก และถูกจารึกว่าเป็นไข้หวัดไทยเหมือนกับไข้หวัด สเปนในอดีต ที่คร่าชีวิตคนไป 30 ล้านคน” ศ.นพ.ธีระวัฒน์ กล่าว

14 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561




Thailand Focus

กรมปศุสัตว์เร่งเคาะมาตรการ

ช่วยผู้เลี้ยงสุกรรายย่อย น.สพ.อภัย สุทธิสังข์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ เผยว่า จากปัญหาราคาสุกรตกต�ำ่ ส่งผลให้เกิดความ เดือดร้อนแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดยทั่วไป โดย เฉพาะเกษตรกรรายเล็ก และรายย่อย กรมปศุสตั ว์ ในฐานะเป็นผู้รับผิดชอบหลักด้านการปศุสัตว์ของ ประเทศไทย ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้ดำ� เนินการขอความร่วมมือกับบริษทั ผู้ผลิตสุกรรายใหญ่ของประเทศ เช่น ซีพีเอฟ เป็นต้น “บริษัทค้าปลีกชั้นน�ำในการน�ำสินค้าประเภทสุกรและผลิตภัณฑ์เข้ามา จ�ำหน่ายในร้านค้าของตน ทั้งในรูปแบบห้างสรรพสินค้า ร้านจ�ำหน่าย และตู้แช่ ในระดับชุมชน โดยสินค้าที่จะน�ำเข้ามาจ�ำหน่ายนั้น ต้องเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ สามารถตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งทีม่ าและข้อก�ำหนดอืน่ ๆ ทีผ่ ปู้ ระกอบการก�ำหนด เงือ่ นไขแก่เกษตรกรทีจ่ ะเข้าร่วมโครงการฯ ทัง้ นี้ จะก�ำหนดเงือ่ นไขโดยใช้หลักเกณฑ์ ขั้นต�่ำที่เกษตรกรสามารถปฏิบัติได้ และมีความปลอดภัยส�ำหรับผู้บริโภค” ส�ำหรับมาตรการอืน่ ๆ ทีจ่ ะช่วยเหลือเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสุกรรายย่อยให้สามารถ ประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน อาทิเช่น การสนับสนุนให้เกษตรกร มีการรวมกลุ่มการพัฒนาโรงฆ่าสัตว์ประจ�ำกลุ่มเกษตรกร การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ ผลิตภัณฑ์จากสุกร การจัดหาช่องทางการจัดจ�ำหน่ายในหลากหลายรูปแบบ เป็นต้น ทัง้ นี้ หากเกษตรกรท่านใดมีความสนใจทีจ่ ะเข้าร่วมโครงการต่างๆ ของกรมปศุสตั ว์ ในการพั ฒ นาการประกอบอาชี พ สามารถติ ด ต่ อ สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ หน่วยงานของกรมปศุสัตว์ใกล้บ้าน ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ มัลติมีเดีย  วันที่ 20 มีนาคม 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

15


Food Feed Fuel

ผลผลิต ‘ไทย-เวียดนาม’ ทะลัก

ส่งออกข้าว Q2 แข่งเดือด

ชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกกิตติมศักดิ์ สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย

การส่งออกข้าวไทยในปี 2560 ที่สูงสุดเป็นประวัติการณ์ที่ 11.6 ล้านตัน (เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากอินเดียที่ส่งออกได้ 12.04 ล้านตัน) โดยผู้ส่งออก ได้อานิสงส์จากหลายปัจจัย เช่น ข้าวในสต็อกรัฐบาลทีถ่ กู ระบายออกมาจ�ำนวนมาก ผู้ส่งออกมีข้าวส่งมอบเฉพาะอย่างยิ่งตลาดใหญ่ คือ แอฟริกา ที่นิยมรับประทาน ข้าวเก่า ไทยเหลือข้าวในสต็อกไม่มาก ไม่มผี ลกดทับราคาตลาด ผลจากสัญญาซือ้ ขาย ข้าวแบบรัฐต่อรัฐ (จีทูจี) ไทย - จีนที่ยังคงสั่งซื้อต่อเนื่อง ผลจากตลาดบังกลาเทศ ที่ประสบภัยธรรมชาติ ต้องน�ำเข้าข้าว และจากเศรษฐกิจคู่ค้าปรับตัวดีขึ้น และราคา น�ำ้ มันทีม่ ที ศิ ทางปรับตัวสูงขึน้ ท�ำให้กำ� ลังซือ้ ของกลุม่ ประเทศทีพ่ งึ่ พาการส่งออกน�ำ้ มัน เพิ่มขึ้น

ส่งออกแล้ว 2.7 ล้านตัน “ชูเกียรติ โอภาสวงศ์” นายกกิตติมศักดิ์ สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย ให้ สัมภาษณ์ว่า โดยสรุปภาพรวมการส่งออกข้าวไทยในไตรมาสที่ 1/2561 เทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อนว่า ภาพรวมการส่งออกข้าวไทยไตรมาสที่ 1/2560 ส่งออกข้าว ได้ 2.7 ล้านตัน หรือเฉลี่ยเดือนละ 9 แสนตัน ส�ำหรับในปี 2561 ในเดือนมกราคม ไทยส่งออกข้าวได้ 9.6 แสนตัน เดือนกุมภาพันธ์คาดจะส่งออกประมาณ 9 แสนตัน และเดือนมีนาคม คาดจะส่งออกลดลงเหลือประมาณ 8 แสนตัน ดังนั้น ในไตรมาส แรกของปีนี้ คาดไทยจะส่งออกข้าวได้ประมาณ 2.7 ล้านตัน ใกล้เคียงกับช่วงเดียวกัน ของปีก่อน หรืออาจจะลดลงเล็กน้อย ขณะที่มูลค่าส่งออกคาดจะเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากราคาข้าวส่งออกเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ส�ำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการส่งออกด้านบวก เช่น 1. ประเทศผู้น�ำเข้าที่เป็นคู่ค้า ของไทยมีความต้องการน�ำเข้าข้าวเพิ่มขึ้น เพื่อชดเชยอุปทานข้าวในประเทศที่ลดลง เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย บังกลาเทศ และประเทศในแถบแอฟริกา บางประเทศ 2. รัฐบาลยังมีสัญญาขายข้าวแบบ รัฐต่อรัฐ (จีทูจี) กับประเทศจีน ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2561

16 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Food Feed Fuel

ส่งออก Q2 แข่งเดือดราคา

ที่ จ ะต้ อ งมี ก ารเจรจาเพื่ อ ส่ ง มอบให้ ค รบตามที่ ตกลงไว้ ซึ่งได้มีการตกลงส่งมอบจ�ำนวน 1 แสน ตัน ในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายนนี้ 3. รัฐบาล ไทย ได้ระบายสต็อกข้าวออกมาเกือบหมดแล้ว ท�ำให้ผู้ซื้อตื่นตัวที่จะน�ำเข้าข้าวเพื่อเก็บส�ำรอง ในประเทศของตนมากขึ้น ส่วนปัจจัยลบที่ส�ำคัญได้แก่ 1. การแข็งค่า ขึ้นอย่างต่อเนื่องของเงินบาท ซึ่งเป็นการแข็งค่า มากกว่าประเทศคูแ่ ข่ง ท�ำให้ราคาข้าวไทยแพงกว่า ประเทศคู่แข่ง 2. ขาดแคลนชนิดข้าวที่เป็นที่นิยม ของประเทศผู้ซื้อ เช่น ข้าวพื้นนิ่ม ขณะที่ประเทศ คู่แข่ง เช่น เวียดนาม มีการพัฒนาพันธุ์ข้าวที่ตรง ตามความต้องการของตลาด และมีราคาทีป่ ระเทศ ผู้ซื้อยอมรับได้ 3. จากแคลนข้าวเก่าส�ำหรับป้อน ตลาดที่นิยมบริโภคข้าวเก่า เช่นประเทศในแถบ แอฟริกา

ส�ำหรับในไตรมาสที่ 2 ของปีนี้ ส�ำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) คาดการณ์ผลผลิต ข้าวนาปรังปี 2561 จะออกสู่ตลาดประมาณ 8 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 23% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปี 2560 ที่มีประมาณ 6 ล้านตัน ท�ำให้ อุปทานข้าวในตลาดมีมากขึ้น อาจท�ำให้ราคาข้าว ไทยอ่อนตัวลงบ้าง ขณะเดียวกันคาดว่าเวียดนาม ที่ก�ำลังเก็บเกี่ยวข้าว Winter Spring Crop จะมี ผลผลิตมากขึ้นเช่นกัน ดังนั้นคาดว่าในไตรมาสที่ 2 จะมีการแข่งขันด้านราคากับคู่แข่งมากขึ้น “คาดว่ า ผู ้ ซื้ อ ที่ ช ะลอการซื้ อ ข้ า วในช่ ว ง ไตรมาสแรก จะเข้ามาซือ้ ข้าวไทยมากขึน้ ในช่วงที่ ราคาข้าวอ่อนตัวลง ประกอบกับในช่วงไตรมาสที่ 2 จะมีการส่งมอบข้าวที่ผู้ส่งออกประมูลได้ในช่วง ไตรมาสแรก เช่น ญี่ปุ่น และจะมีการส่งมอบข้าว ให้แก่ฟิลิปปินส์ (โควตาเอกชน) ในช่วงกลางปีนี้ ด้วย และคงต้องจับตาปัจจัยด้านค่าเงินบาทว่า จะไปในทิศทางใดเพราะเป็นหนึง่ ในปัจจัยส�ำคัญที่ ส่งผลต่อราคาข้าวไทย” อย่างไรก็ตาม ในช่วงครึ่งหลังของปีนี้คาด การส่งออกข้าวของไทยอาจจะเผชิญอุปสรรคทั้ง จากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งเป็นสิ่งท้าทาย ความสามารถของผู้ส่งออกไทยในการรักษาความ เป็นผู้น�ำในตลาดข้าวโลก ทั้งนี้ในปี 2561 ทางสมาคมได้คาดการณ์ ส่งออกข้าวของไทยไว้ท่ี 9.5 ล้านตัน ซึ่งหาก พิ จ ารณาจากปั จ จั ย ทั้ ง ด้ า นบวกและด้ า นลบใน ขณะนี้ ถือว่าเป็นระดับที่มีความเป็นไปได้ โดยใน ช่วงกลางปีนที้ างสมาคมจะมีการประเมินเป้าหมาย การส่งออกข้าวอีกครัง้ ซึง่ จะพิจารณาจากปัจจัยทัง้ ทางด้านราคา ผลผลิตข้าว และภาวะการแข่งขัน ในตลาดประกอบกัน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

17


Food Feed Fuel

สถานการณ์ ๏ ถั่วเหลือง 1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตพืชน�้ำมันโลก 1.2 ผลผลิตถั่วเหลือง 1.2.1 โลก 1.2.2 ไทย - ถั่วฤดูแล้ง - ถั่วฤดูฝน 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) 1.5 น�ำเข้า 1.6 ส่งออก ไทยน�ำเข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 เกษตรกรขายได้ (คละ) 2.2 ขายส่ง กทม. - เกรดแปรรูปอาหาร - เกรดผลิตอาหารสัตว์ - เกรดสกัดน�้ำมัน 2.3 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน

ปี 58

๏ ปี 59

ปี 60

ปี 61

(ประมาณการ)

537.580

521.500

574.970

578.620

320.020 0.042 0.024 0.018

313.770 0.042 0.024 0.022

351.320 0.041 0.024 0.017

346.920 0.041

302.840 314.250 329.810 2.605 2.657 2.705 13.52 15.75 2.557 2.957 2.746 0.009 0.005 0.004 บราซิล 62% สหรัฐอเมริกา 35% แคนาดา 2% ลาว 70% กัมพูชา 18% เวียดนาม 11% ปี 59 ปี 60 ม.ค.61 14.47 15.73 16.39

344.470 2.933* 2.900* 0.008* ก.พ. 61 16.75

19.02 18.02 16.64

20.55 18.64 18.32

21.26 19.26 18.50

21.50 19.50 18.50

12.86 362.84

12.24 358.66

11.46 356.84

11.75 371.20

ที่มา : 1.1., 1.2.1, 131.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ 1.2.2, 13.2, 1.4 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1.5, 1.6 กรมศุลกากร 2.1 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2.2 กรมการค้าภายใน 2.3 www.cmegroup.com  *ประมาณการโดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1. สถานการณ์ ปี 2561 1.1 เดือนกุมภาพันธ์ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรรายงานราคาเกษตรกรขายได้ชนิดคละสูงขึน้ ราคาขายส่งตลาด กทม. เกรดแปรรูปอาหารและเกรดผลิตอาหารสัตว์สงู ขึน้ ส่วนเกรดสกัดน�ำ้ มันทรงตัว ในเดือน ม.ค. 61 น�ำเข้าเมล็ดถัว่ เหลือง 145,133 ตัน สูงขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ นร้อยละ 17 แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา แคนาดา

18 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Food Feed Fuel ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกสูงขึ้นจากเดือนก่อนตันละ 14.36 US$ เนื่องจากปัญหา ภัยแล้งในอาร์เจนตินายังคงมีความรุนแรงและส่งผลกระทบต่อการเพาะปลูก ซึง่ ท�ำให้นกั ลงทุนต่างกังวล ว่าผลผลิตถั่วเหลืองในตลาดโลกอาจลดลง 1.2 แนวโน้ม คาดว่าความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพื่อการอุปโภคบริโภคยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจีนซึ่งเป็นผู้ใช้รายใหญ่ของโลก

กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1  กรมการค้าภายใน  มีนาคม 2561

ราคาเมล็ดถั่วเหลือง

หน่วย : บาท/กก.

ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 1. ราคาที่เกษตรกรขายได้ เมล็ดถั่วเหลืองชนิดคละ 2557 19.36 - 18.16 19.27 20.00 - 17.35 2558 - 15.52 15.62 15.25 2559 - 15.00 14.50 14.02 14.22 2560 - 16.45 16.78 16.95 - 12.90 13.45 2561 16.39 16.75 2. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดแปรรูปผลติภัณฑ์อาหาร ตลาด กทม. 2557 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 24.50 2558 20.50 20.50 19.79 19.89 20.50 18.77 18.50 19.15 2559 19.50 18.90 18.50 18.50 18.50 19.27 19.50 19.50 2560 18.50 20.39 20.50 20.50 20.50 20.59 21.50 21.50 2561 21.26 21.50 3. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดผลติอาหารสัตว์ ตลาด กทม. 2557 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 23.50 2558 18.50 18.50 17.79 17.89 18.50 17.64 17.50 18.15 2559 18.50 17.90 17.50 17.50 17.50 18.27 18.50 18.50 2560 17.50 18.45 18.50 18.50 18.50 18.59 19.50 19.50 2561 19.26 19.50

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

เฉลี่ย

17.35 - 15.26 13.85 15.41 14.93 15.35 14.17 13.20 14.00 13.17 13.16 15.75 16.24

18.08 15.46 14.47 15.73 16.73

24.09 19.50 19.50 21.12

23.00 19.50 19.50 20.50

21.60 19.50 18.55 20.50

21.00 19.50 18.50 20.50

23.81 19.63 19.02 20.55 21.38

23.09 18.50 18.50 19.12

21.50 18.50 18.50 18.50

19.60 18.50 17.55 18.50

19.00 18.50 17.50 18.50

22.60 18.21 18.02 18.64 19.38

»»

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

19


Food Feed Fuel

««

ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 4. ราคาขายส่ง เมล็ดถั่วเหลืองเกรดสกัดน�้ำมัน ความชื้น 13.0% ตลาด กทม. 2557 19.65 19.65 19.65 19.72 20.95 20.95 20.85 20.65 18.67 17.51 16.66 2558 16.53 16.49 16.36 16.49 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 2559 16.50 16.50 16.50 16.50 16.50 16.99 17.25 16.80 16.60 16.50 16.50 2560 16.50 18.39 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 18.50 2561 18.50 18.50 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2557 15.75 16.29 16.98 17.77 17.81 17.24 14.93 13.93 11.92 11.55 12.49 2558 12.09 11.93 11.78 11.66 11.79 12.02 12.83 12.34 11.69 11.74 11.47 2559 11.74 11.44 11.57 12.54 13.81 14.94 13.76 12.92 12.43 12.62 13.09 2560 13.52 13.41 12.85 12.04 12.15 11.48 12.39 11.58 11.78 11.97 11.96 2561 11.46 11.75 6. ราคาซื้อขายล่วงหน้าเมล็ดถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$ : ton, 1 ton = 36.743 Bushel) 2557 476.07 496.76 521.96 547.15 545.91 527.96 463.19 432.94 368.81 354.41 379.32 2558 367.46 364.70 359.58 356.89 351.92 354.79 372.29 346.99 323.51 327.39 318.84 2559 323.17 319.90 326.91 355.65 388.47 421.20 390.37 370.28 355.64 358.35 368.87 2560 379.56 381.13 366.07 347.82 350.15 336.35 365.41 345.50 353.68 358.24 361.39 2561 356.84 371.20

ธ.ค.

เฉลี่ย

16.63 16.50 16.50 18.50

19.30 16.49 16.64 18.32 18.50

12.52 11.78 13.49 11.77

14.93 11.93 12.86 12.24 11.61

378.75 325.78 375.25 358.44

457.77 347.51 362.84 358.65 364.02

ที่มา : 1. ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเฉลี่ยทั้งปีแบบถ่วงน้​้าหนักจ�ำนวนผลผลิต, 2-4 กรมการค้าภายใน, 5-6 www.cmegroup.com

ปริมาณการนำ�เข้าและส่งออกเมล็ดถั่วเหลือง ปี ม.ค. ก.พ. ปริมาณน�ำเข้า 2557 120,990 112,297 2558 128,352 148,493 2559 308,363 104,921 2560 123,980 332,007 2561 145,133 ปริมาณส่งออก 2557 187 49 2558 3,344 144 2559 599 218 2560 486 271 2561 269

หน่วย : ตัน

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

รวม

187,768 154,784 254,770 214,215

173,079 289,615 250,275 266,820

235,295 247,945 222,404 291,089

104,481 144,371 299,465 270,122

135,400 344,892 187,572 354,438

105,794 229,067 300,477 195,851

203,060 244,003 278,178 110,752

161,897 173,423 224,440 176,699

175,784 158,263 162,008 192,104

182,448 294,175 364,856 217,611

1,898,295 2,557,384 2,957,729 2,745,687 145,133

158 139 640 317

218 254 744 269

124 488 390 516

856 781 222 529

1,691 1,416 287 458

2,229 778 600 117

142 200 608 219

119 908 157 305

4,567 418 523 278

1,252 447 488 195

11,595 9,317 5,477 3,960 269

ที่มา : กรมศุลกากร ปี 2540-49 พิกัด 1201009001 1201001000 และ 1201009001 ปี 2550-54 พิกัด 12010090001 12010010000 และ 12010090090 ปี 2555-61 พิกัด 12011009000 12019010001 และ 12019090090

20 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Food Feed Fuel

สถานการณ์ ๏ กากถั่วเหลือง 1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตโลก 1.2 ผลผลิตในประเทศ - เมล็ดในประเทศ - เมล็ดน�ำเข้า 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก 1.3.2 ไทย 1.4 น�ำเข้า

ปี 58

ปี 59

๏ ปี 60

ปี 61

(ประมาณการ)

208.561 1.241 0.014 1.227

216.095 1.434 0.011 1.423

226.450 1.413 0.008 1.405

236.733 1.445 0.009 1.437

201.931 4.351 2.695

213.383 4.506 2.578

221.987 4.674 2.958

233.065 4.789 3.352 (ม.ค. 61)

1.5 ส่งออก (ตัน) ไทยน�ำเข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) 2.1 ขายส่ง กทม. - กากถั่วเหลืองในประเทศ - เมล็ดในประเทศโปรตีน 44-48% - เมล็ดน�ำเข้าโปรตีน 44-46% - กากถั่วเหลืองน�ำเข้า - โปรตีน 46-48% 2.2 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก - บาท/กก. - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน

15,900 3,035 บราซิล 66% อาร์เจนตินา 20% สหรัฐอเมริกา 12% ปารากวัย 2% ลาว 68% กัมพูชา 29% เวียดนาม 3% ปี 59 ปี 60 ม.ค. 61 ก.พ. 61 19.54 15.74

20.50 14.08

20.50 15.11

20.50 14.88

15.30

13.87

14.65

14.49

12.42 350.48

11.86 347.50

11.54 359.30

12.58 397.39

ที่มา : 1.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA), 1.2 โรงงานสกัดน�ำ้ มันรายงานตามบันทึกข้อตกลงการรับซื้อกากถั่วเหลือง 1.3.1 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA), 1.3.2 สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1.4, 1.5 กรมศุลกากร, 2.1 กรมการค้าภายใน, 2.2 www.cmegroup.com

1. สถานการณ์ ปี 2561 1.1 เดือนกุมภาพันธ์ ราคาขายส่งตลาด กทม. กากถัว่ เหลือง ผลิตจากเมล็ดถัว่ เหลืองในประเทศ ทรงตัว ส่วนกากถัว่ เหลืองจากเมล็ดถัว่ เหลืองน�ำเข้า และกากถัว่ เหลืองน�ำเข้าลดลง สอดคล้องกับต้นทุน น�ำเข้าช่วงก่อนหน้า

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

21


Food Feed Fuel ในเดือน ม.ค. 61 น�ำเข้ากากถั่วเหลือง 185,574 ตัน แหล่งน�ำเข้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ บราซิล อาร์เจนตินา สหรัฐอเมริกา ปารากวัย อินเดีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกสูงขึ้นจากเดือนก่อนตันละ 38.09 US$ เนื่องจาก ปรากฏการณ์ลานีญา ท�ำให้อาร์เจนตินาต้องเผชิญกับสภาพอากาศที่ร้อนและแห้งแล้ง ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อพืน้ ทีเ่ พาะปลูกถัว่ เหลือง และมีรายงานว่าสภาพอากาศยังคงร้อนและแห้งแล้งต่อเนือ่ งไปอีก และคาดว่า จะมีความรุนแรงมากขึ้น 1.2 แนวโน้ ม คาดว่ า ความต้ อ งการกากถั่ ว เหลื อ งมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ตามการขยายตั ว ของ อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และภาคปศุสัตว์

กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1  กรมการค้าภายใน  มีนาคม 2561

ราคากากถั่วเหลือง

หน่วย : บาท/กก.

ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย 1. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดในประเทศ โปรตีน 44-48% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2557 19.33 19.18 19.85 20.45 20.45 20.45 20.45 20.45 19.33 - 19.99 2558 18.63 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 18.37 2559 18.35 18.35 18.35 18.35 18.35 19.78 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 19.54 2560 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 20.50 2561 20.50 20.50 20.50 2. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองผลิตในประเทศจากเมล็ดน�ำเข้า โปรตีน 44-46% ณ หน้าโรงงานสกัดน�้ำมัน ตลาด กทม. 2557 19.40 18.93 19.53 20.13 19.97 19.73 19.48 19.23 18.66 18.16 18.08 17.40 19.06 2558 17.20 17.47 16.38 15.88 15.05 14.86 14.39 15.48 15.75 15.75 15.75 15.75 15.81 2559 15.67 15.55 15.33 15.05 15.58 17.18 17.75 16.30 15.19 14.45 15.40 15.40 15.74 2560 15.19 15.03 14.59 14.30 14.18 13.49 13.57 13.52 13.51 13.64 13.53 14.35 14.08 2561 15.11 14.88 15.00 3. ราคาขายส่ง กากถั่วเหลืองน�ำเข้าจากต่างประเทศ โปรตีน 46-48% ณ โกดังผู้น�ำเข้า ตลาด กทม. 2557 19.53 19.04 19.50 20.05 19.90 19.65 19.41 19.15 18.45 17.65 17.56 17.55 18.95 2558 17.29 17.17 16.45 16.10 14.54 14.43 13.94 15.49 15.78 15.35 15.25 15.39 15.60 2559 15.26 15.05 14.83 14.55 14.75 16.41 16.75 15.89 15.19 14.45 15.31 15.13 15.30 2560 14.93 14.81 14.51 14.16 14.03 13.30 13.46 13.32 13.31 13.39 13.15 14.06 13.87 2561 14.65 14.49 14.57

»»

22 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Food Feed Fuel

««

ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. 4. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก 2557 15.66 16.37 16.48 17.33 17.72 16.96 14.54 14.40 13.22 12.34 13.94 2558 12.47 12.24 11.95 11.42 11.41 11.99 13.61 13.17 12.39 12.11 11.52 2559 10.79 10.42 10.48 11.65 14.52 15.73 14.21 12.72 11.97 11.87 12.27 2560 12.99 13.07 12.53 11.86 11.36 11.08 12.11 11.21 11.21 11.64 11.58 2561 11.54 12.58 5. ราคาซื้อขายล่วงหน้ากากถั่วเหลือง ตลาดชิคาโก (US$: ton , 1 ton = 1.1023 shortton) 2557 473.37 499.18 506.69 533.63 543.20 519.27 451.02 447.82 409.10 378.82 423.25 2558 379.04 374.25 364.86 349.71 340.47 353.90 394.90 370.40 342.95 337.64 320.34 2559 297.17 291.33 296.07 330.53 408.26 443.41 403.28 364.48 342.40 337.13 345.84 2560 364.70 371.52 356.88 342.63 327.30 324.52 357.23 334.55 336.64 348.42 349.90 2561 359.30 397.39

ธ.ค.

เฉลี่ย

13.82 11.19 12.44 11.68

15.23 12.12 12.42 11.86 12.06

418.08 309.54 345.83 355.76

466.95 353.17 350.48 347.50 378.35

ที่มา : 1-3 กรมการค้าภายใน 4-5 www.cmegroup.com

ปริมาณการนำ�เข้ากากถั่วเหลือง ปี 2557 2558 2559 2560 2561

ม.ค. 300,017 พิกัด 230 156,369 326,955 185,574

ก.พ. 192,330 155,171 183,446 124,199

มี.ค. 264,309 134,282 230,664 230,786

เม.ย. 171,348 288,818 333,744 201,149

พ.ค. 309,139 316,874 267,025 387,340

มิ.ย. 126,354 253,597 239,435 257,665

หน่วย : ตัน

ก.ค. 240,352 289,297 254,968 166,003

ส.ค. 232,571 241,220 84,030 256,745

ก.ย. 385,673 107,049 243,874 292,628

ต.ค. 237,304 114,604 97,205 168,728

พ.ย. 259,811 240,591 263,869 359,410

ธ.ค. 168,802 218,290 223,371 186,331

รวม 2,888,009 2,359,792 2,578,000 2,957,938 185,574

ที่มา : กรมศุลกากร ปี 2538-2549 พิกัด 2304000008 ปี 2555-2561 พิกัด 23040090000 (ใช้ถึง มิ.ย. 60) ปี 2550-2554 พิกัด 23040000000 พิกัด 23040090001 (เริ่ม มิ.ย. 60)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

23


Food Feed Fuel

สถานการณ์ ๏ ปลาป่น

1. ผลผลิตและการใช้ 1.1 ผลผลิต (ล้านตัน) - โลก (USDA) - ไทย (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 1.2 ความต้องการใช้ (ล้านตัน) - โลก (USDA) - ไทย (กรมปศุสัตว์) 1.3 น�ำเข้า (ตัน) (กรมศุลกากร) 1.4 ส่งออก (ตัน) (กรมศุลกากร)

ปี 2559

ปี 2558

ปี 2560

4.69 0.38

4.51 0.31

5.06 0.32

ปี 2561* (ก.พ.) 4.60 0.35

4.87 0.57 31,106 155,914

4.76 0.51 72,654 154,572

5.45 0.53 62,601 78,829

4.86 0.55 8,652** 16,891**

∆% 9.09  9.37 

10.83  4.28 -

* = ประมาณการ, ** = ข้อมูลเดือน ม.ค. 61

2. ราคาปลาเป็ดและปลาป่น 2.1 ปลาเป็ด (บาท/กก.) (1) ดี (สด) (2) รอง (ไม่สด) 2.2 ปลาป่น_ขายส่ง (บาท/กก.) (1) เกรดกุ้ง (2) โปรตีน ต�ำ่ กว่า 60% - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 (3) โปรตีน 60% ขึ้นไป - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 2.3 ปลาป่นตลาดเปรู โปรตีน 65% ขึ้นไป - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน (คิดเป็น โปรตีน 60% : บาท/กก.)

ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560

∆%

8.97 6.51

8.87 6.64

8.64 6.87

8.87 6.95

8.87 6.95

-

43.19

41.49

38.54

42.00

42.00

-

39.18 36.94

36.19 31.13

34.33 31.64

37.00 34.00

37.00 34.00

-

41.10 39.31

38.49 33.78

37.33 33.96

40.00 36.00

40.00 36.00

-

1,622 1,432 1,207 1,569 1,545 (51.31) (46.87) (37.97) (46.43) (45.12)

1.53 -

ที่มา : 2.1, 2.2 สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 2.3 http://hammersmithltd.blogspot.com

24 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

ปี 2561 ม.ค. ก.พ.


Food Feed Fuel

1. สถานการณ์ปลาป่น ปี 2561 1.1 สถานการณ์ปลาป่น เดือนกุมภาพันธ์ 2561 ภาวะการค้ายังคล่องตัว แม้ว่าจะมีการน�ำเข้า ปลาป่นเพิ่มขึ้น แต่การส่งออกขยายตัว ราคาปลาป่นโดยเฉลี่ยทรงตัวเท่ากับเดือนที่ผ่านมา 1.2 น�ำเข้า-ส่งออก ปี 2561 เดือนมกราคม 2561 มีการน�ำเข้าปลาป่น ปริมาณ 8,652 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมา ร้อยละ 113 และเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.47 ส่วนการส่งออกมีปริมาณ 16,891 ตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมา ร้อยละ 480 และเมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 94 3.3 แนวโน้มวัตถุดิบในการผลิตน้อย ขณะที่ความต้องใช้ ในประเทศ และการส่งออกมีต่อเนื่อง ราคาอยู่ในเกณฑ์ดี

กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1  กรมการค้าภายใน  มีนาคม 2561

ราคารับซื้อปลาเป็ดและปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1. ปลาเป็ด (ดี/สด) (บาท/กก.) 2559 8.38 8.34 8.41 8.44 8.51 8.77 2560 9.22 9.31 9.20 8.81 8.33 8.20 2561 8.87 8.87 2. ปลาเป็ด (รอง/ไม่สด) (บาท/กก.) 2559 6.53 6.24 6.20 6.22 6.34 6.58 2560 6.83 6.91 6.95 6.90 6.80 6.76 2561 6.95 6.95 3. ปลาป่น เกรดกุ้ง (บาท/กก.) 2559 40.30 40.00 40.00 40.71 41.72 43.09 2560 39.00 40.00 39.87 37.84 36.50 36.50 2561 42.00 42.00 4. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 1 (บาท/กก.) 2559 35.30 35.00 35.00 35.71 36.72 38.09 2560 33.25 35.00 34.87 33.81 33.00 33.00 2561 37.00 37.00

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

9.09 8.20

9.38 8.34

9.34 8.37

9.27 8.37

6.81 6.74

7.07 6.78

7.01 6.87

6.92 6.95

44.00 44.64 43.55 40.10 36.92 38.32 39.00 39.00

39.00 39.64 37.95 34.10 33.42 34.55 35.00 35.00

พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 9.33 9.14 8.87 8.42 8.86 8.64 8.87 (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 6.89 6.89 6.64 6.94 6.95 6.87 6.95 (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 40.64 39.15 41.49 39.00 40.53 38.54 42.00 (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 34.64 33.15 36.19 35.00 36.11 34.33 37.00

»»

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

25


Food Feed Fuel

««

เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 5. ปลาป่น โปรตีน ต�่ำกว่า 60% เบอร์ 2 (บาท/กก.) 2559 31.45 31.00 31.00 31.00 31.28 32.00 31.44 2560 30.25 32.00 31.87 31.00 31.00 31.00 31.42 2561 34.00 34.00 6. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 1 (บาท/กก.) 2559 37.30 37.00 37.00 37.71 38.72 40.09 41.00 2560 36.25 38.00 37.87 36.81 36.00 36.00 36.42 2561 40.00 40.00 7. ปลาป่น โปรตีน 60% ขึ้นไป เบอร์ 2 (บาท/กก.) 2559 33.45 33.00 33.00 33.00 33.28 34.00 34.00 2560 33.25 35.00 34.87 33.81 33.00 33.00 33.42 2561 36.00 36.00 8. ปลาป่น โปรตีน 65% F.O.B. ตลาดเปรู (เหรียญสหรัฐฯ/ตัน) 2559 1,550 1,333 1,366 1,363 1,350 1,655 1,605 2560 1,277 1,272 1,217 1,180 1,118 1,060 1,122 2561 1,569 1,545 9. ปลาป่น โปรตีน 60% F.O.B. ตลาดเปรู (บาท/กก.) 2559 51.99 44.00 44.66 44.35 44.37 54.19 52.21 2560 41.99 41.30 39.38 37.71 35.74 33.42 35.11 2561 46.43 45.12

ส.ค. 31.64 32.00

41.64 37.55

34.64 34.00

1,550 1,160

49.92 35.79

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย. ธ.ค. เฉลี่ย (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 31.95 30.00 30.77 30.00 31.13 32.00 32.00 32.00 33.11 31.64 34.00 (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 40.55 37.10 37.64 36.15 38.49 38.00 38.00 38.00 39.11 37.33 40.00 (สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 35.09 34.00 34.77 33.15 33.78 34.00 34.00 34.00 35.11 33.96 36.00 (http://hammersmithltd.blogspot.com) 1,340 1,365 1,373 1,333 1,432 1,160 1,191 1,260 1,463 1,207 1,557 (ค�ำนวณเป็นเงินบาท) 43.16 44.37 44.99 44.22 46.87 35.67 36.74 38.50 44.28 37.97 45.78

ปริมาณนำ�เข้าและส่งออกปลาป่น เดือน/ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ปริมาณน�ำเข้า (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) 2559 8,557 5,941 5,857 6,570 5,615 2560 7,493 3,829 6,933 5,306 7,181 2561 8,652 ปริมาณส่งออก (ตัน) (รวมพิกัดอัตราศุลกากร) 2559 7,041 15,215 18,941 13,158 18,436 2560 8,710 9,184 9,317 7,340 8,861 2561 16,891

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

6,475 6,890 5,702 5,546 7,753 4,641 7,401 3,269 3,923 3,169 5,867 4,175

19,991 16,713 12,005 7,953 8,517 9,139 7,862 7,963 6,187 4,133 3,337 3,024

ธ.ค. รวม (กรมศุลกากร) 2,846 72,394 4,055 62,601 8,652 (กรมศุลกากร) 6,785 153,894 2,912 78,829 16,891

หมายเหตุ : ปี 2558-2561  พิกัดอัตราศุลกากร 2301 2010 000, 2301 2020 000, 2301 2090 001, 2301 2090 090 และ 2301 1000 000

26 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561




Food Feed Fuel

ผวาราคาไข่ ไก่รูดเหลือแค่ 2 บาท รายย่อยกระอัก - เกษตรเชิญ 4 ยักษ์ ใหญ่หารือ รมว.เกษตรฯ เตรียมเรียก 4 บริษัทยักษ์ใหญ่ผู้ผลิตไข่ไก่เข้าพบหารือ แก้ปญ ั หาราคาตกต�ำ่ เหลือ 2 บาทเศษ/ฟอง ถูกกว่าต้นทุนการผลิต หวัน่ ปิดเทอม รูดเหลือแค่ 2 บาท/ฟอง สมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่วอนเร่งช่วยรายย่อย นายกฤษฎา บุญราช รมว.เกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า จะเชิญ 4 บริษัท ผู้ผลิตไข่ไก่รายใหญ่ของไทย ได้แก่ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ, บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน), บริษัทแสงทอง และบริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด หารือเพื่อขอความร่วมมือลดจ�ำนวนพ่อแม่พันธุ์ให้เหลือ 5.5 แสนตัว จากขณะนี้พ่อแม่พันธุ์มีสูง 6.2 แสนตัว ส่งผลให้ไข่ออกสู่ตลาด ประมาณ 45 ล้านฟอง/วัน ขณะทีค่ วามต้องการบริโภคมีประมาณ 40 ล้านฟอง/วัน “ขณะนีไ้ ข่ออกสูต่ ลาดมาก และเป็นช่วงปิดเทอม ประชากรไทยหันไปบริโภค ไข่อย่างอืน่ อาทิ ไข่นกกระทา ไข่เป็ด หรือโปรตีนชนิดอืน่ ท�ำให้ปริมาณทีเ่ กินความ ต้องการสูงกว่า 5 ล้านฟองต่อวัน ส่งผลให้ราคาไข่ตกต�่ำเหลือ 2.50 - 2.60 บาท ต่อฟอง ขณะทีต่ น้ ทุนอยูท่ ี่ 2.90 บาทต่อฟอง ดังนัน้ เกษตรกรรายย่อย จึงอยู่ไม่ได้ จึงขอให้กระทรวงเกษตรฯ หารือกับเอกชน ลด ปริมาณน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์เพื่อช่วยรายย่อยบ้าง” นายกฤษฎา กล่าวอีกว่า แนวทางที่กระทรวง เกษตรฯ รับพิจารณาและก�ำหนดแนวทางแก้ไข ปัญหาคือ 1. ก�ำหนดให้มีการประชุมคณะ กรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (เอ้กบอร์ด) ภายในสัปดาห์นี้ เพื่อก�ำหนด มาตรการจ�ำกัดการน�ำเข้าพ่อแม่พนั ธุไ์ ม่ให้เกิน 5.5 แสนตัว/ปี ส่งผลให้ปริมาณไข่ไก่เกินความ ต้องการประมาณ 2,000 ล้านฟอง/ปี

ที่มา : ข่าวสด ฉบับวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

27


Food Feed Fuel

ภาพประกอบ : MEAW&PONY

2. มอบหมายกรมปศุสตั ว์พจิ ารณาก�ำหนดมาตรการตรวจนับปูย่ า่ พันธุ์ (GS) ให้ชดั เจน ซึง่ เป็น ปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อปริมาณพ่อแม่พันธุ์ที่จะผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาด โดยเฉพาะบริษัทผู้เลี้ยงไก่ไข่ รายใหญ่ 3. กระทรวงเกษตรฯ จะหารือร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ พิจารณาแนวทางการออกประกาศ กระทรวง เรื่องการน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ตามกฎหมายที่กระทรวงพาณิชย์ก�ำกับดูแล ซึ่งจะมีผลให้ ผู้น�ำเข้าต้องแจ้งข้อมูลการน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ที่ชัดเจน แหล่งข่าวจากกระทรวงเกษตรฯ กล่าวว่า นายมาโนช ชูทับทิม ประธานที่ปรึกษาสมาคมผู้เลี้ยง ไก่ไข่ น�ำตัวแทนเกษตรกรผู้เลี้ยงไข่ไก่จากทั่วประเทศ เข้าพบนายกฤษฎา เพื่อขอความช่วยเหลือ หลังราคาไข่ไก่ปรับตัวลดลงอย่างมาก โดยราคา ณ วันที่ 20 มี.ค. อยู่ที่ 2.10 บาท/ฟอง และคาดว่า เดือนเม.ย. 2560 เป็นช่วงที่นักเรียนปิดเทอมจะร่วงแตะ 2 บาท/ฟอง โดยขอความช่วยเหลือ อาทิ ยกเลิกการน�ำเข้าปู่ย่าพันธุ์ไก่ไข่ และน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่แทน เมื่อปริมาณไข่เกิดล้นตลาด ขอให้กรมการค้าภายในดูแลอย่าให้มีการทุ่มตลาด ขอให้น�ำเงิน คชก. ช่วยปลดแม่ไก่แก่ออกจากระบบเพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ 200,000 - 300,000 ตัว เป็นระยะเวลา 3 เดือน เป็นต้น

28 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Food Feed Fuel

‘กุ้งอินเดีย’

เจอภาษีทรัมป์

ไทยขอน�ำเข้ากุ้งอินเดียมาแปรรูปส่งออก ชดเชยผลผลิตกุ้งไทยไม่เพียงพอ ผูเ้ ลีย้ งกุง้ เสนอกรมประมงน�ำเข้ากุง้ ล็อตแรก 5 หมืน่ ตัน แต่ตอ้ งคุมไม่ให้เกิด ปัญหาโรคระบาด ไม่กระทบราคาในประเทศ พร้อมก�ำหนดกรอบช่วงเวลาให้ชัด หลังผู้ประกอบการยื่นขอน�ำเข้ากุ้งตัดหัวจากอินเดียหลังผลผลิตของไทยลดลง นายพจน์ อร่ามวัฒนานนท์ นายกสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย เปิดเผย ว่า ได้ท�ำหนังสือและหารือกับกรมประมง เพื่อขอน�ำเข้ากุ้งจากอินเดียเป็นกุ้งตัดหัว ปีละ 5 หมื่นตัน หรือกุ้งทั้งตัว 8 หมื่นตัน เพื่อน�ำมาป้อนโรงงานแปรรูปในช่วงที่ ผลผลิตกุ้งในประเทศมีน้อย หลังจากที่ไทยผลิตกุ้งได้ลดลงจาก 5 แสนตัน เหลือ ปัจจุบัน 2.5 แสนตันต่อปีเท่านั้น เนื่องจากปัญหาโรคกุ้งตายด่วน หรืออีเอ็มเอส ทั้งนี้ อินเดียเป็นผู้ผลิตกุ้งรายใหญ่ของโลก ปีที่ผ่านมามีผลผลิตถึง 6.5 แสนตัน และในปี 2563 จะเพิ่มเป็น 1 ล้านตัน ราคาจึงต�่ำกว่าไทยมาก การน�ำเข้า ดังกล่าว จะเพื่อแปรรูปส่งออกเท่านั้น และเบื้องต้น กรมประมงมีท่าทีเห็นด้วย แต่ต้องหารือกับเกษตรกรก่อน ในขณะที่ปัจจุบัน กรมประมงไม่มีประกาศห้าม น�ำเข้ากุ้งจากอินเดีย แม้จะเคยเกิดขึ้นในปีที่ผ่านมาเนื่องจากมีการระบาดของโรค บางรัฐ แต่อินเดียได้แก้ไขจนคลี่คลายแล้ว อย่างไรก็ตาม การน�ำเข้ากุ้งจากอินเดีย จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไข คือต้องมี เจ้าหน้าทีข่ องไทยไปตรวจรับรองการผลิต และกุง้ ต้องมีมาตรฐาน ไม่ผลิตจากแหล่ง ที่เกิดโรค หากผู้เลี้ยงกุ้งเห็นชอบ กรมประมงจะด�ำเนินการตามขั้นตอนทันที นายไพบูลย์ พลสุวรรณา ประธานกรรมการ บริษัท ธารสมุทรฟู้ด จ�ำกัด กล่าวว่า อย่างน้อยการน�ำเข้ากุ้งควรจะมีป้อนโรงงานแปรรูปประมาณ ปีละ 3 หมืน่ ตัน จึงจะเพียงพอกับความต้องการ ซึ่งกุ้งอินเดีย มีราคาและคุณภาพที่เหมาะสม ในขณะที่อินเดียถูกเรียกเก็บภาษีจากสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากนโยบายของนายโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ที่อ้างว่าอินเดียส่งออกกุ้งไปสหรัฐฯ มากเกินไป จึง เป็นจังหวะที่ไทยจะน�ำเข้ากุ้งดังกล่าวในราคาไม่สูงเกินไป

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

29


Food Feed Fuel “โรงงานแปรรูปกุ้งของไทยตอนนี้ ต้องเปิดทุกวัน ต้นทุนแรงงานสูงมาก ถ้ า ประกาศหยุ ด หรื อ ลดก� ำ ลั ง การผลิต แรงงานเหล่านีจ้ ะหนีไป ที่อื่น ซึ่งเป็นแรงงานฝีมือ จึง ต้องจ่ายชดเชยเพื่อไม่ให้เกิด การสูญเปล่า” นายสมศักดิ์ ปณีตธั ยาศัย นายกสมาคมกุ้งไทย กล่าวว่า ตาม ข้อตกลงการค้าเสรี (เอฟทีเอ) ไทย -  อินเดีย ได้จ�ำกัดการน�ำเข้ากุ้งจากอินเดียไว้ 5 สปีชีส์ ซึ่งมีกุ้งขาวแวนนาไม ที่สมาคมอาหาร แช่เยือกแข็งต้องการให้นำ� เข้า จึงต้องให้กรมประมงพิจารณา น�ำเข้าครั้งนี้เพื่อป้อนโรงงานแปรรูปในช่วงที่กุ้งไทยมีน้อย และเพื่อสร้างความ มั่นใจให้กับผู้น�ำเข้า จึงต้องการน�ำเข้ากุ้งในช่วงนี้ก่อน 5 หมื่นตัน ทั้งนี้ สมาพันธ์ผู้เลี้ยงกุ้งไทย เข้าใจปัญหา และเห็นว่าน�ำเข้าได้ แต่กรมประมงต้อง ดูแลควบคุมไม่ให้นำ� โรคระบาดติดเข้ามา แต่ยงั มีผเู้ ลีย้ งกุง้ ในภาคใต้ตอนล่าง ทีไ่ ม่เห็นด้วย กับการน�ำเข้านี้ ดังนั้น กรมประมงจึงนัดหารือเมื่อวันที่ 21 มี.ค. และผู้เลี้ยงกุ้ง ระบุว่า การตัดสินใจน�ำเข้ากุ้งเป็นอ�ำนาจของ นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง แต่ต้องใช้ อ�ำนาจหน้าที่ดูแลควบคุมให้ดี อย่าให้มีปัญหาโรคระบาดมากระทบกุ้งในประเทศ รวมทั้ง ควรก�ำหนดระยะเวลาการน�ำเข้าด้วย เพื่อไม่ให้ตรงกับช่วงการออกสู่ตลาดของผลผลิตกุ้ง ภายในประเทศ นายฉันทานนท์ วรรณเขจร รองเลขาธิการส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กล่าวว่า ในปีนี้กุ้งไทยมีเนื้อที่เลี้ยง 208,960 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 1.37% คาดว่า จะมีผลผลิตออกสู่ตลาดรวม 330,094 ตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 3.18% โดยมีผลผลิต ต่อไร่ 1,580 กิโลกรัมต่อไร่ เพิม่ ขึน้ 1.80% เนือ่ งจากเกษตรกรดูแลเอาใจใส่บอ่ กุง้ ได้ดขี นึ้ ในขณะที่ลดปริมาณลงลูกกุ้งให้อยู่ในอัตราที่เหมาะสม ไม่หนาแน่นเกินไป ท�ำให้อัตรา รอดของกุ้งมีสูง เป็นแนวโน้มที่ดีต่อการบริหารจัดการกุ้งเพื่อเลี่ยงปัญหาการระบาดของ โรคอีเอ็มเอส

30 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Market Leader

ขอรื้อมาตรการแก้ปัญหาข้าวโพด สินค้าเกษตรล้นตลาดแก้ไม่ได้ สินค้า เกษตรขาดตลาดแก้ไม่ตก...ไม่รวู้ า่ ปัญหาแบบนี้ เป็นกรณีซ�้ำซากครั้งที่เท่าไร ที่หน่วยราชการ ไทยยังแก้ไม่ได้ ขอย�ำ้ ว่า หน่วยราชการ...ไม่อยากจะโทษ ฝ่ายการเมือง ไม่ใช่เพราะศักยภาพความรู้มีไม่พอ แต่ด้วยกลไกการแก้ปัญหาทุกอย่างในประเทศนี้ ล้วนอยู่ในมือข้าราชการ ดูไปดูมาปัญหาทั้งมวลที่แก้กันไม่จบ ล้วนมาจากใช้วิธีคิดไม่ครบวงจร หรือพูดให้เข้าใจยาก "ขาดการบูรณาการ" ...รูปแบบแก้ปัญหาเลยออกมาเหมือนปัญหาน�้ำท่วม สักแต่แก้ไม่ให้น�้ำท่วม หัวบันไดบ้านตัวเอง ส่วนที่กั้นกระสอบทราย สูบน�้ำออกไปท่วมบ้านคนอื่นช่างหัวมัน สมควรแล้วที่สมาคมปศุสัตว์ไทย, สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ, สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย, สมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่เนือ้ , สมาคมผูเ้ ลีย้ งไก่พนั ธุ,์ สมาคมผูผ้ ลิตผูค้ า้ และส่งออกไข่ไก่ และสมาคมผูเ้ ลีย้ งเป็ด เพื่อการค้าและการส่งออก พร้อมเกษตรกรภาคปศุสัตว์เดินขบวนยื่นหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี เมื่อ วันศุกร์ที่ผ่านมา ขอให้ทบทวนมาตรการกระทรวงพาณิชย์ ที่ควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลีในสัดส่วน 3:1 โรงงาน อาหารสัตว์จะน�ำเข้าข้าวสาลี 1 ตัน ต้องซื้อข้าวโพดในประเทศ 3 ตัน ราคา กก. ละ 8 บาท เป็นมาตรการทีม่ เี ป้าหมายเพือ่ มาแก้ปญ ั หาราคาข้าวโพดตกต�ำ่ ...แต่ทำ� มาร่วมปีครึง่ ไม่ได้ชว่ ยให้ คนปลูกข้าวโพดขายได้ในราคาดีขึ้นแต่ประการใด สถิติที่เกษตรกรขายได้ที่ไร่นาของส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เห็นชัดมาตรการนี้ ท�ำให้คนปลูกขายได้ราคาต�่ำกว่าไม่มีมาตรการซะอีก ปี 2559 (ม.ค.-ก.ย.) ก่อนมีมาตรการ เกษตรกรขายได้เฉลี่ย กก. ละ 7.33 บาท...มาปี 2560 ใช้มาตรการนี้มาทั้งปี เกษตรกรขายได้แค่ 6.10 บาท ไม่ใช่แค่นั้น ยังท�ำให้ภาคปศุสัตว์เดือดร้อนหนัก เพราะมาตรการนี้ท�ำให้เกิดการกักตุนปั่นราคา ข้าวโพดให้แพงหนักขึน้ ไปถึง กก. ละ 10.15 บาท...อุม้ สมให้พอ่ ค้าคนกลางตุนข้าวโพดรวยอยูฝ่ า่ ยเดียว คนปลูกไม่ได้ประโยชน์คนเลี้ยงสัตว์ต้นทุนแพงขึ้น...สาเหตุเป็นเพราะอะไรมาว่ากันต่อ ที่มา : ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

31


Market Leader

คุมน�ำเข้าข้าวสาลี...ใครได้? (ต่อจากขอรื้อมาตรการข้าวโพด) ...เกษตรกร

ภาคปศุสัตว์ 7 - 8 สมาคม ออกมาเรียกร้อง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และ หน.คสช. ให้ทบทวนมาตรการควบคุมการน�ำเข้า ข้าวสาลี 3:1 ของกระทรวงพาณิชย์ ที่รังสรรค์มา ด้วยข้ออ้าง เพื่อให้เกษตรกรขายข้าวโพดได้ราคา ท�ำไปท�ำมา...คนปลูกขายได้ราคาต�ำ่ กว่าเดิม แถมคนเลีย้ งสัตว์เดือดร้อน เพราะข้าวโพดในมือ พ่อค้าคนกลางถูกปั่นราคาจนสูงลิ่ว ท�ำต้นทุนการผลิตสูงค้าขายแข่งต่างประเทศไม่ได้ จะเข้าใจในความซับซ้อนตรงนี้ ต้องกลับไปดูที่มา...เป็นที่รู้กันดีบ้านเราผลิตข้าวโพดได้ไม่พอ ป้อนโรงงานผลิตอาหารสัตว์ แต่เป็นเรื่องแปลก คนปลูกกลับขายไม่ได้ราคา ประกอบกับระยะหลัง บ้านเรามีการบุกรุกป่าปลูกข้าวโพดกันมากจนผู้ประกอบการเกรงว่า หากซื้อข้าวโพดรุกป่ามาท�ำเป็น อาหารสัตว์ ต่อไปมีสิทธิถูกต่างชาติกีดกันสินค้าได้เหมือนกรณีไอยูยู...ผู้ประกอบการรายใหญ่ มีโครงการไม่รับซื้อข้าวโพดปลูกในพื้นที่ไม่ถูกต้อง ผลที่ตามมา ข้าวโพดของพ่อค้าคนกลางที่ลงทุนท�ำธุรกิจปล่อยกู้ "เกี๊ยว" ให้ลูกไร่ปลูกข้าวโพด รุกป่า ไม่รู้จะเอาข้าวโพดไปขายที่ไหน...เลยเกิดขบวนการอ้างเกษตรกรเรียกร้องขายไม่ได้ราคาเพราะ มีการน�ำเข้าข้าวสาลีมาท�ำอาหารสัตว์ ข้าวโพดเลยราคาตก ปลายปี 2559 พาณิชย์ออกมาตรการควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลี...ผู้ประกอบการจะน�ำเข้า ข้าวสาลีได้ 1 ตัน ต้องซื้อข้าวโพดในประเทศ 3 ตัน ในราคา กก. ละ 8 บาท ที่บอกว่าช่วยให้เกษตรกรขายได้ราคากลับล้มเหลว...เมื่อน�ำสถิติส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) มาวิเคราะห์ ว่ากันเฉพาะราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ ณ ไร่นา ช่วง ก.ย. - พ.ย. ทีม่ ผี ลผลิตออกมา มากที่สุด สถิติ 5 ปียอ้ นหลัง (2554 - 58) เกษตรกรขายได้เฉลีย่  กก. ละ 7.69 บาท แต่หลังมีมาตรการ ขายได้แค่ 6.18 บาท...ไม่เคยได้ 8 บาท มีแต่พ่อค้าคนกลางเท่านั้นที่ได้ราคานี้ และได้คืบจะเอาศอก ปั่นขึ้นไปเป็น 10.15 บาท สาเหตุ มาจากวิธีคิดแก้ปัญหาไม่ครบวงจร มองไม่รอบด้าน...ชอบแก้ปัญหาแบบน�ำ้ ท่วม สักแต่ป้องกันไม่ให้ น�้ำท่วมบ้านตัวเอง ส่วนที่กั้นกระสอบทราย สูบน�้ำออกไปท่วมบ้านคนอื่นช่างหัวมัน ที่มา : ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2561

32 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Market Leader

ปริศนาข้าวโพด 3:1 ข้าวสาลี ท�ำไมมาตรการควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลี ในอัตรา 3:1 น�ำเข้าข้าวสาลี 1 ส่วนต้องซือ้ ข้าวโพด ในประเทศ 3 ส่วน ราคา กก. ละ 8 บาท เพือ่ ช่วย เกษตรกรขายข้าวโพดได้ราคา...ถึงไม่ได้ผล ซ�ำ้ ร้ายเกษตรกรภาคปศุสตั ว์ตอ้ งเดือดร้อน จากต้นทุนแพงขึ้น ด้วยข้าวโพดถูกปั่นราคาให้สูง ขึน้ มาตลอดเกินกว่าราคาก�ำหนด กก. ละ 8 บาท... สัปดาห์ก่อนอยู่ที่ กก. ละ 10.15 บาท สัปดาห์นี้ 10.50 บาท และมีแนวโน้มจะขึ้นไปอีก แต่ ร าคาที่ ถี บ ตั ว สู ง ขึ้ น ไม่ ไ ด้ ต กถึ ง มื อ เกษตรกรปลูกข้าวโพด นั บ เป็ น เรื่ อ งแปลก มี ป ระเด็ น ให้ ข บคิ ด หลายประการ...หนึ่งนั้น บ้านเราปลูกข้าวโพด ไม่พอต่อการใช้ในประเทศ สินค้าไม่ได้ล้นตลาด เหมือนพืชตัวอื่น แต่ท�ำไมเกษตรกรถึงขายไม่ได้ ราคา อีกหนึง่ นับแต่กระทรวงพาณิชย์มมี าตรการ ควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลีมาใช้ทดแทนข้าวโพด บางส่วน ท�ำมา 2 ฤดูกาลผลิต (2559 - 60) สถิติ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) ราคาที่ เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา ตกต�่ำกว่าเดิม ก่อนมีมาตรการเกษตรกรขายได้เฉลีย่  กก. ละ 7.69 บาท...พอมีมาตรการได้แค่ 6.18 บาท

ที่แปลกยิ่งกว่าเกษตรกรได้ราคาแย่กว่า เดิม แต่ท�ำไมถึงไร้ม็อบ...รึผู้บัญชาการม็อบ สมประโยชน์ ถึงเงียบเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น ปรากฏการณ์นี้ พิสูจน์ให้เห็นต้นตอของ ปัญหาหรือไม่...ข้าวโพดรุกป่าเกิดจากอะไร ใคร เอาเมล็ดพันธุ์ ปุย๋ ยา ไปปล่อยเกีย๊ ว ปลูกไปก่อน แล้วค่อยน�ำผลผลิตมาผ่อนหักจ่ายหนี้ทีหลัง ข้าวโพดที่ปลูกจริงๆ แล้วเป็นของใคร... เกษตรกรที่ถูกเขาเอามาอ้างว่าเดือดร้อนจาก ราคาตกต�ำ่ เป็นเพียงแค่ผรู้ บั จ้างปลูกใช้หนีเ้ กีย๊ ว ในราคาตามกลไกตลาดหรือเปล่า ด้วยการผลิตผูกขาดแบบนีใ้ ช่ไหม ข้าวโพด ขาดตลาด ราคาขาย ณ ไร่ ถึงได้ตกต�่ำสวนกลไก ตลาด และแค่รัฐออกนโยบายควบคุมการน�ำเข้า วัตถุอย่างอืน่ มาทดแทน...การผูกขาดเลยสมบูรณ์ ครบวงจร ช่วยให้ขา้ วโพดทีม่ คี นตุนไว้ 1 ล้านตัน ถูก ปั่นจาก กก. ละ 8 บาท ขึ้นไปเป็น 10.50 บาท รวยทันใด 2,500 ล้านบาท...ม็อบเลยเงียบ

ที่มา : ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

33


Market Leader

จับตา...

แก้ปมข้าวโพด 2 ปีหลังรัฐบาลมีมติให้ผู้ผลิตอาหารสัตว์ ต้องซือ้ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในประเทศ 3 ส่วน เพือ่ ขอ สิทธิ์น�ำเข้าข้าวสาลี 1 ส่วน เพื่อปกป้องเกษตรกร ในประเทศ เนือ่ งจากผลผลิตข้าวโพดมีเพียง 4 - 5 ล้านตัน/ปี ไม่พอต่อการผลิตอาหารสัตว์ ซึง่ ต้องการ ถึง 8 ล้านตัน ท�ำให้โรงงานอาหารสัตว์น�ำเข้าข้าว สาลีราคาถูก ปลอดภาษีมาใช้ถึง 4.5 ล้านตัน ส่งผลให้ราคาข้าวโพด ลดลงเหลือ 4 - 5 บาท/กก. จึงน�ำไปสู่การก�ำหนดสูตร 3 ต่อ 1 พร้อมก�ำหนด ราคาแนะน�ำรับซื้อ กก. ละ 8 บาท มาปีนผี้ ผู้ ลิตอาหารสัตว์ได้สง่ สัญญาณไปถึง ภาครัฐ ขอให้ปรับลดสูตร 3 ต่อ 1 ลงเหลือ 1 ต่อ 1 หรือ 2 ต่อ 1 ด้วยกังวลว่าปีนี้ผลผลิตข้าวโพดปี 2561/2562 เมือ่ ค�ำนวณทอนกลับมาตามสัดส่วน 3 ต่อ 1 แล้ว จะน�ำเข้าข้าวสาลีได้น้อย ไม่พอใช้ ในโรงงานอาหารสัตว์ที่มีทิศทางเติบโตขึ้น ผลจากปริมาณซัพพลายข้าวโพดที่ลดลง ท�ำให้ราคาในตลาดปรับสูงกว่า 10.50 บาท/กก. สูงมากจากราคาทีก่ ำ� หนดให้ซอื้ 8 บาท/กก. ส่งผล ให้เกิดส่วนต่างราคา กก. ละ 2.50 บาท สร้าง ก�ำไรให้พอ่ ค้าข้าวโพดทีถ่ อื ครองสต็อกไว้ ส่งผลให้ ต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์ และเนือ้ สัตว์ปลายทาง เพิ่มขึ้น

ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2561

34 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

ขณะที่ฝั่งเกษตรกร และพ่อค้าข้าวโพด แย้งว่า ระดับราคาที่สูงขึ้นเป็นกลไกการปั่นราคา เพื่อให้รัฐยกเลิกมาตรการ 3 ต่อ 1 ไม่มีผู้ได้ ประโยชน์ เพราะเป็นช่วงปลายฤดูไม่มสี ต็อก และ หากราคาข้าวโพดสูงเกินไป ผู้ผลิตอาหารสัตว์ก็ หันไปใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ชนิดอื่นที่ผลิตได้ใน ประเทศ เช่น มันส�ำปะหลัง หรือบายโปรดักต์จาก ข้าวทดแทน ข้อโต้แย้งในประเด็นนีย้ งั ฝุน่ ตลบ กระทัง่ เมือ่ วันที่ 14 มีนาคม 2561 ที่ประชุมคณะกรรมการ นโยบายและบริหารจัดการข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ (นบ ขพ.) ซึง่ มี นายสนธิรตั น์ สนธิจริ วงศ์ รมว.พาณิชย์ เป็นประธาน นัดแรก “สนธิรตั น์” ทุบโต๊ะเสนอให้ตงั้ คณะอนุกรรมการขึน้ 2 ชุด คือ คณะอนุกรรมการ เพื่อศึกษาวิเคราะห์การก�ำหนดสัดส่วนวัตถุดิบ น�ำเข้าเพือ่ ทดแทนข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในประเทศ มี อธิบดีกรมการค้าภายในเป็นประธาน พร้อมด้วย กรรมการ ซึง่ ประกอบด้วย กรมปศุสตั ว์ กรมประมง กรมส่งเสริมการเกษตร กรมศุลกากร กรมการค้า ต่างประเทศ สภาเกษตรกรแห่งชาติ ส�ำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมการค้าพืชไร่ สมาพันธ์ปศุสัตว์และเพาะ เลี้ยงสัตว์น�้ำ มีหน้าที่ 1) ศึกษาวิเคราะห์ปริมาณ


Market Leader ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สัดส่วนและการใช้สินค้าทดแทน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในการผลิตอาหารสัตว์ ปริมาณอาหารสัตว์ที่ใช้ในประชากรสัตว์แต่ละชนิด และ 2) ก�ำหนดสัดส่วนการใช้สนิ ค้าทดแทน ต่อข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในวัตถุดบิ อาหารสัตว์ทเี่ หมาะสม และให้รายงานผลให้ นบขพ. ทราบภายใน 30 วัน ส่วนคณะอนุกรรมการอีกชุดมีอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศเป็นประธาน เพื่อ ศึกษาแนวทางขยายเวลาการน�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากประเทศกัมพูชาเพิ่มอีก 2 เดือน จากเดิมก�ำหนดช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - สิงหาคม เป็นเดือนกุมภาพันธ์ -  ตุลาคม ของทุกปี ตามที่กัมพูชาเรียกร้อง โดยปกติไทยจะน�ำเข้าวัตถุดิบ จากกัมพูชาเพียงปีละ 20,000 - 30,000 ตัน ซึ่งไม่มาก ไม่ส่งผลกระทบต่อ ราคาในประเทศ นอกจากนี้เห็นชอบให้ “ยกเว้น” การใช้มาตรการก�ำหนด สัดส่วน 3 ต่อ 1 ให้กับกลุ่มผู้ผลิตอาหารกุ้ง ซึ่งใช้ข้าวสาลีในการผลิต สัดส่วน 10% ของก�ำลังการผลิต ส่วนประเด็นที่เกษตรกรและพ่อค้าข้าวโพดขอให้ทบทวนขึ้น “ภาษีนำ� เข้าข้าวสาลี” ตามกรอบความตกลงองค์การการค้าโลก (WTO) จาก 0% เป็น 27% ตามกรอบเดิม เพราะหลักๆ ไทยน�ำเข้าจาก ประเทศยูเครน และอาร์เจนตินา ซึ่งเป็นสมาชิกในกรอบ WTO ไม่ค่อยได้น�ำเข้าจากแหล่งที่เป็นคู่ค้า FTA อย่างออสเตรเลีย ข้อดี จะท�ำให้เกษตรกรสามารถขายผลผลิตข้าวโพดได้มากขึ้น และ ภาครัฐจะมีรายได้จากการเก็บภาษีน�ำเข้า แต่ข้อเสียท�ำให้ต้นทุน การผลิตอาหารสัตว์ และส่งออกสินค้าปศุสัตว์สูงขึ้น ทั้ ง หมดนี้ ก ระทรวงพาณิ ช ย์ ต ้ อ งชั่ ง น�้ ำ หนั ก ให้ ร อบคอบว่ า ผล ทางตรง -ทางอ้อมที่เกิดขึ้นต่อกลุ่มต่างๆ เป็นอย่างไร เพื่อให้ได้สูตรที่สร้าง ความสมดุลกับทุกฝ่าย ภาพประกอบ : AJFAM

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

35


ได้รับข้อมูลวัตถุดิบและสินค้าคงคลังในไซโลขนาดใหญ่ครบถ้วนอย่างแม่นย�าตลอดเวลา โดยใช้ระบบ 3D Scanners

 เป็นการวัดพื้นผิวแบบสามมิติ xyz มากกว่า 300 จุด  ใช้คลื่นเสียงความถี่ต�่า ทะลุทะลวงฝุ่นได้ดี  ชนิดของวัสดุไม่มีผลกระทบต่อความแม่นย�า  เป็นการวัดแบบไม่สัมผัสกับวัสดุโดยตรง  สามารถท�า การเซ็ทระบบผ่าน WiFi  สามารถวัดในทุกขนาดของไซโล

3D Scanner ได้เปลี่ยนวิธีในการบริหารจัดการวัตถุดิบและสินค้า คงคลังในไซโลขนาดใหญ่ของอุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ อาหารสัตว์ ส่งออกข้าว ฯลฯ จากการเปลี่ยนวิธีการวัดระดับจากจุดเดียว เป็น การสร้างจุด xyz ทั่วพื้นผิวของวัสดุในไซโล และการค�านวณที่ แม่นย�าทางคณิตศาสตร์แคลคูลสั ท�าให้ได้ผลการวัดปริมาตรของวัสดุ แบบตลอดเวลาและแม่นย�ามาก ด้วยอุปกรณ์พิเศษที่ไม่ต้องการ การซ่อมบ�ารุง และช่วยให้ทา่ นประหยัดค่าใช้จา่ ย เพิม่ ความปลอดภัย ประสิทธิภาพและศักยภาพสูงสุดของการบริหารจัดการไซโลทุกขนาด

การควบคุม และบริหารจัดการสินค้าคงคลัง และวัตถุดิบในไซโล ขนาดใหญ่และมีจา� นวนมาก จะต้องมีการวัดทีแ่ ม่นย�าและให้ขอ้ มูล ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา ๏ ๏ ๏ ๏ ๏ ๏ ๏

เพิ่มประสิทธิภาพของการใช้งานของระบบไซโล เพิ่มขีดความสามารถของการบริหารจัดการวัสดุทั้งระบบ ลดการสูญเสีย สามารถจัดเก็บวัสดุเต็มขอบไซโล ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต ลืมความผิดพลาดในการเติมวัสดุจนล้นไปได้เลย ให้ข้อมูลที่แม่นย�า ท�าไห้พร้อมเสมอเมื่อต้องตัดสินใจ ได้รับการพิสูจน์มาแล้วทั่วโลกว่าคุ้มค่าในการลงทุนกับการติดตั้ง ใช้งานมาแล้วนานกว่าสิบปี

3D Scanner เหมาะส�าหรับการวัดวัสดุทเี่ ป็นผงเช่นปูนซีเมนต์ หรือ เม็ด เช่น ข้าว ข้าวโพด เมล็ดพืชทุกชนิด อาหารสัตว์ที่เป็นของแข็ง ทุกขนาด เลิกวัดทีละจุดได้แล้ว มาใช้ 3D Scanner กันเถอะ AEC Innovatec Co.,ltd.

บริษัท เออีซี อินโนเวเทค จ�ำกัด

17/95 ถนนเทศบาล 5 ต.ปากเพรียว อ.เมือง จ.สระบุรี 18000

คุณอลงกฎ จอมหงษ์ โทร. 061-619-7471 Jomhong1989@gmail.com

DNR process solution www.dnrps.com alonggot@dnrps.com jomhong1989@gmail.com


หลักการท�างานของระบบ

3D Level Scanners

ติดตั้งหัววัด 3D Scanner ในต�ำแหน่งที่คลื่นเสียงควำมถี่ต�่ำ สำมำรถครอบคลุมพื้นผิวของวัสดุที่จะวัดให้มำกที่สุด เครื่องจะ ส่งคลื่นเสียงเป็นค่ำออกไป และวัดกำรสะท้อนกลับมำ R = Vel x (time/2) โดย Vel คือควำมเร็วเสียง 343 m/sec กำรใช้หัววัด สำมหัว ท�ำให้สำมำรถค�ำนวณหำทิศทำง และระยะทำงในรูปแบบ สำมมิติ x y z

เนื่องจากหัววัดสแกนเนอร์ติดตั้งอยู่ที่ต�าแหน่ง x0 y0 z0 ค่า ของ ระยะการวัดจะเป็น

เมือ่ รูม้ ติ ขิ องไซโลทีจ่ ะวัดน�ำมำบันทึกในระบบ เครือ่ งมีระบบซอฟแวร์ทสี่ ำมำรถกรองเอำสัญญำณคลืน่ สะท้อนทีไ่ ม่ใช่คำ่ วัดทีถ่ กู ต้อง ออกไปได้ เมื่อได้ค่ำ xyz ของพื้นผิวเป็นแผ่นภำพสำมมิติของพื้นผิววัสดุทั้งหมดแล้ว กำรหำค่ำปริมำตรของวัสดุสำมำรถท�ำได้ โดยกำรอินทิกรัลสมกำรดังกล่ำวด้วยวิธที ำงคณิตศำสตร์ จะได้ปริมำตรของอำกำศทีอ่ ยูเ่ หนือวัสดุ ระบบซอฟแวร์ของ 3D Scanner จะท�ำกำรค�ำนวณลบปริมำตรที่อยู่เหนือพื้นผิวออกจำกปริมำตรไซโลทั้งหมด เรำก็จะได้ปริมำตรของวัสดุในไซโลเป็นลูกบำศก์เมตร หรือตำมหน่วยที่เรำต้องกำร ถ้ำเรำรู้ควำมหนำแน่น เรำก็สำมำรถคูณ และจะได้ค่ำวัดออกมำเป็นน�้ำหนัก นอกจำกนี้ ระบบยังมี กำรจ�ำแนกเสียงสะท้อนที่ไม่ต้องกำร โดยกำรใช้กลุ่มสัญญำณทำงดิจิทัลส่งเป็นค่ำออกไป สัญญำณที่สะท้อนกลับมำจะอยู่ใน รูปแบบที่เหมือนกับสัญญำณที่ส่งออกไป จึงจะถือว่ำเป็นสัญญำณที่ถูกต้อง ประโยชน์ของกำรใช้คลื่นเสียงควำมถี่ต�่ำคือ ควำม สำมำรถในกำรทะลุทะลวงฝุ่นได้ดีกว่ำคลื่นควำมถี่สูง และล�ำของคลื่นสำมำรถแผ่ออกไปกว้ำงถึง 90 องศำส�ำหรับควำมถี่ต�่ำสุด (ประมำณ 2,000 Hz) และแคบสุดประมำณ 60 องศำ ที่ 6,000 Hz ระบบจะท�ำกำรส่งสัญญำณสลับกันทีละหัวจำกคลื่นต�่ำ กลำง สูง และสลับหัวกันไปเรื่อยๆ เพื่อวัดทั้งระยะทำงและทิศทำง เพื่อให้ได้ค่ำ xi yi zi ในแต่ละจุดสูงสุดและต�่ำสุดตลอดทั่ว พื้นผิวของวัสดุ วัสดุโดยทั่วไปไม่ว่ำจะเป็นผงละเอียดแบบผงปูนซีเมนต์ หรือเป็นเม็ดแบบข้ำว ส�ำหรับไซโลขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำง ประมำณ 20 เมตร เครื่องจะวัดจุดสูงสุดต�่ำสุดบนพื้นผิวมำกกว่ำ 300 จุด จึงได้ค่ำที่ผิดพลำดต�่ำกว่ำ 3% จำกเทคโนโลยีทำงคอมพิวเตอร์และกำรต่อสัญญำณ ระบบของ 3D Scanner สำมำรถเชื่อมข้อมูลเข้ำกับระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ผ่ำน RS 485 และซอฟแวร์ 3D Multivision ให้ขอ้ มูลทีค่ รบถ้วนส�ำหรับกำรบริหำรกำรรับจ่ำยวัสดุคงคลังในไซโล ตลอด 24 ชัว่ โมง และยังสำมำรถดูวัสดุเหลือตกค้ำงในไซโลจำกภำพสำมมิติ เพื่อช่วยในกำรลดควำมถี่ในกำรปิดเพื่อท�ำควำมสะอำดไซโลอีกด้วย


ไดเจสตารอม ดีซี

เพิ่มประสิทธิภาพการไดรับประโยชนจากสารอาหาร

Digestarom DC ®

The Feed Converter.

ไดเจสตารอม ดีซี Digestarom® DC

ใหประโยชนอยางชัดเจนตอสัตวเลี้ยงและตอผูประกอบการ • นวัตกรรมใหมลาสุดของผลิตภัณฑไฟโตเจนนิกเพื่อเพิ่มการกินไดของสัตว • ดวยสูตรการทํางาน 3 ขั้นตอน เพื่อประสิทธิภาพการเลี้ยงที่ดีขึ้น • ดวยเทคโนโลยี ไบโอมิน ดูเพล็กซ แคปซูล Biomin® Duplex Capsule ที่มีคุณลักษณะเฉพาะ เพื่อชวยปรับปรุงประสิทธิภาพการแลกเนื้อ บริ ษัท เออร์ เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จํากัด 1/913 ถ.พหลโยธิน 60 ต.คูคต อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท: (02) 993 7500, แฟกซ: (02) 993 8499

www.thefeedconverter.com

Naturally ahead


Market Leader

หลงใหลได้ปลื้มราคา ระวังระบบจะล่มสลาย เมือ่ วันมอบนโยบายของนายสนธิรตั น์ สนธิจริ วงศ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง พาณิชย์ ประกาศชัดในการขับเคลื่อนเศรษกิจฐานราก โดยในส่วนของการดูแลราคาสินค้าเกษตรนัน้ จะจัดท�ำแผนรับมือสินค้าเกษตร เป็นรายตัว และวางแผนช่วยเหลือเป็นการล่วงหน้า โดยเฉพาะการช่วยเหลือด้าน การตลาดที่จะต้องด�ำเนินการก่อนที่ผลผลิตจะออกสู่ตลาด ทว่าในรายการของสินค้าเกษตรในล�ำดับแรกๆ ไม่มีสินค้าภาคปศุสัตว์อย่าง เนือ้ หมู เนือ้ ไก่ หรือไข่ไก่ รวมอยูด่ ว้ ย ทัง้ ๆ ทีเ่ ป็นส่วนทีม่ คี วามเกีย่ วพันกับเกษตรกร จ�ำนวนมาก เวลาล่วงเลยเกินกว่า 3 เดือนแล้ว สิ่งที่เกิดอย่างเป็นมรรคเป็นผลกับสินค้า ปศุสัตว์คือ ราคาตกต�่ำอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเนื้อหมู ที่มีราคาตกต�่ำมาตั้งแต่ กลางปี 2560 เรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบนั สวนทางกับต้นทุนทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ซึง่ เป็นผลมาจาก สินค้าต้นน�ำ้ อย่างข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ พืชเศรษฐกิจทีเ่ ป็นวัตถุดบิ หลักในอาหารสัตว์ทมี่ ี ราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากเริ่มแรกที่โรงงานอาหารสัตว์ให้ความ “ร่วมมือ” กัน รับซือ้ ผลผลิตข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในราคาขัน้ ต�ำ่ ทีก่ โิ ลกรัมละ 8 บาท แต่ปลายปี 2558 รัฐบาลยังได้เพิ่มมาตรการก�ำหนดให้ผู้น�ำเข้าข้าวสาลีต้องรับซื้อผลผลิตข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ในประเทศ 3 ส่วน จึงจะน�ำเข้าข้าวสาลีได้ 1 ส่วน เวลาผ่านไปเพียง 2 ปี ภาครัฐที่เกี่ยวข้องดูเหมือนว่าจะสรุปไปแล้วว่าการ “ร่วมมือ” นี้ กลายเป็น “หน้าที่” ของโรงงานผู้ผลิตอาหารสัตว์และเกษตรกร ภาคปศุสัตว์ไปแล้ว ที่ส�ำคัญการที่ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ ได้กลายเป็นช่องทางให้พ่อค้าคนกลางเริ่มพฤติกรรมกักตุน เพราะประเมินได้ว่า มาตรการ 3 : 1 จะท�ำให้ราคาให้สูงขึ้น และก็ได้ผล โดยราคาล่าสุดในเดือน มี.ค. ทีผ่ า่ นมา ราคาข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ได้ขนึ้ ไปถึงกิโลกรัมละ 10.40 บาทแล้ว โดยค�ำนวณ

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์  วันที่ 21 มีนาคม 2561  โดย สมเจตน์ ศรีมาตร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

39


Market Leader ง่ายๆ ได้วา่ จ�ำนวนขาดหายไป 1 ล้านตัน พวกเขา จะได้ก�ำไรเพิ่ม 2,400 ล้านบาท (จากจ�ำนวนที่ ขาดหายไป 2 ล้านตัน และเป็นที่ชัดเจนว่า เงิน จ�ำนวนนี้ไม่ได้ตกถึงเกษตรกร เพราะผ่านฤดูไป เรียบร้อยแล้ว) และยังมีแนวโน้มทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อ เนื่อง น�ำมาซึ่งความชื่นมื่นของภาครัฐที่สามารถ ช่วยท�ำให้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีราคาสูงขึ้น ทั้งๆ ที่ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ในตลาดโลกมีราคาเพียงกิโลกรัม ละ 7 บาท ภาครัฐสามารถก�ำหนดราคาขั้นต�่ำในการ รับซื้อผลผลิตได้ แต่กลับไม่ก�ำหนดเพดานขั้นสูง ไว้ จึงเป็นผลให้เกิดแรงจูงใจอย่างสูงในการท�ำ ก�ำไรเกินควร การที่ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์สูงขึ้น อย่างไม่เป็นเหตุเป็นผล ได้กลายเป็นภาระของ เกษตรกรภาคปศุสัตว์ไปโดยปริยาย เพราะนั่น หมายความว่า ต้นทุนของเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ จะต้องสูงขึน้ ตามไปด้วย ทีส่ ำ� คัญ เป็นการสวนทาง กับราคาจ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ในประเทศ

การเลี้ยงหมูของประเทศไทย 97% เป็น การผลิตเพื่อการบริโภคในประเทศ แต่ราคาที่ เกษตรกรสามารถขายได้ไม่เพียงไม่กระเตื้องขึ้น กลับมีราคาที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยราคาหมูขุน หน้าฟาร์ม ตามราคาประกาศของสมาคมผู้เลี้ยง สุกรแห่งชาติ อยูท่ กี่ โิ ลกรัมละ 45 - 52 บาท ขณะที่ ต้นทุนอยู่ที่กิโลกรัมละ 58 - 60 บาท จากปัญหาข้างต้น ท�ำให้เกษตรกรที่สาย ป่านไม่ยาวพอ ต้องประสบกับการขาดสภาพคล่อง หลายรายต้องยอมขายขาดทุน ตามราคาที่พ่อค้า คนกลางก�ำหนด ซึง่ ราคาทีม่ กี ารขายจริงตกต�ำ่ มาก เหลือเพียงกิโลกรัมละ 38 - 44 บาท เงินทีส่ ามารถ น�ำมาใช้หมุนเวียนในฟาร์ม จึงลดลงไปโดยปริยาย และต้องลดจ�ำนวนการน�ำหมูเข้าเลี้ยง ส่วนสินค้าส่งออกอย่างเนื้อไก่ ที่สามารถ ท�ำรายได้เข้าประเทศปีละ 100,000 ล้านบาท ก็เริม่ มีปญ ั หาไม่แพ้กนั โดยสมาคมผูผ้ ลิตไก่เพือ่ ส่งออก ไทย ระบุว่า ต้นทุนการผลิตไก่ อยู่ที่ประมาณ กิโลกรัมละ 34 บาท แต่ราคาขายหน้าฟาร์ม อยูท่ ี่ กิโลกรัมละ 28 - 30 บาท และยังต้องประสบกับ การแข็งค่าของเงินบาท ประมาณ 10% เมือ่ เทียบ กับช่วงเดียวกันของปี 2560 ที่ผ่านมา ท�ำให้ ต้นทุนการส่งออกสูงขึ้นไปด้วย ยิ่งในปี 2561 การแข่งขันค่อนข้างสูง ทั้ง จากประเทศบราซิล และจากประเทศในอาเซียน ไม่ว่าจะเป็นเวียดนาม ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย ที่พยายามผลักดันการส่งออก หลังจากที่ได้รับ อนุญาตให้ส่งเข้าญี่ปุ่นได้ ท�ำให้การส่งออกไก่ของ ไทยมีแนวโน้มการแข่งขันที่สูงขึ้น เรียกว่าต้อง เผชิญกับปัญหาทั้งในประเทศและนอกประเทศ

40 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Market Leader ด้วยต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นสวนทางกับตลาดโลก คงไม่ต้องคิดหวังที่จะก้าว เป็นครัวของโลก เพราะแค่ฝันคงเป็นไปได้ยาก ภาครัฐที่เกี่ยวข้องต้องให้ความส�ำคัญกับการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมด้วย ก่อนที่กลายเป็นปัญหาเหมือนกรณี IUU ประมง เพราะหากไม่เร่งปรับเปลีย่ น อาจส่งผลให้การส่งออกติดหล่ม และล่มสลายภายใน 2 ปีจากนี้ ส�ำหรับภาคเอกชนนั้น สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ระบุว่า ปัจจุบัน ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มีจ�ำนวนไม่กี่ไร่ที่ได้พัฒนาให้เข้าสู่ระบบคุณภาพและ มาตรฐานสินค้าเกษตร GAP (Good Agricultural Practices) เทียบเท่าสากล สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย ได้พยายามประสานกระทรวงเกษตร พ่อค้าคนกลาง ให้เพิ่มจ�ำนวนอย่างน้อย 2 ล้านไร่ใน 5 ปี แต่ไม่ได้รับการตอบสนอง หากเป็นเช่นนี้ต่อไป การรับซื้อจากภาคเอกชนจะต้องเปลี่ยนแปลงแน่นอน เช่น จะรับซื้อเฉพาะผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่สามารถยืนยันแหล่งที่มาได้ เพื่อ เป็นการป้องกันการรุกพื้นที่ป่า เผาป่าในการเริ่มปกป้องสิ่งแวดล้อมทางหนึ่ง 2 ปีที่ผ่านมา สมาคมฯ ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรฯ และกระทรวง วิทยาศาสตร์ฯ จัดท�ำมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เสร็จแล้ว และพร้อมที่จะใช้ได้ทันที จึงเรียกร้องให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องร่วมมือกันพัฒนา วิธีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไทยให้เป็นวัตถุดิบที่มีมาตรฐานขั้นสูงขึ้นไป แทนที่ จะมัวแต่ปกป้องรักษาเฉพาะราคาอย่างเดียว หากเราไม่สามารถพัฒนาห่วงโซ่นแี้ ล้ว ทัง้ กลุม่ ปศุสตั ว์จะล่มสลายในทีส่ ดุ เมือ่ ถึงวันนัน้ เกษตรกรผูป้ ลูกข้าวโพดก็จะกระทบ ไปด้วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ความปลืม้ ปีตขิ องท่านรัฐมนตรีพาณิชย์ในราคาข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ทสี่ ามารถ สูงขึ้นกว่าราคาที่ก�ำหนดไว้ ได้ท�ำลายความสามารถในการแข่งขันของปศุสัตว์ ควบคู่ไปกับการท�ำลายอาชีพของเกษตรกรภาคปศุสัตว์ไปแล้ว งานนี้คงต้องฝากถึงท่านนายกรัฐมนตรีเร่งทบทวนนโยบาย และสั่งให้ เกิดการบูรณาการเพื่อให้เกิดความสมดุล เพื่อน�ำไปสู่ความมั่นคงในรายได้ และ ความยั่งยืนในอาชีพของเกษตรกรอย่างถ้วนทั่ว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

41


Market Leader

ส. อาหารสัตว์ เร่งรัฐเดินหน้า

มาตรการตรวจสอบย้อนกลับข้าวโพด ตอบโจทย์ลูกค้า EU ก่อนใช้จริง...หวั่นไทยเจอประวัติศาสตร์ ซ�้ำรอยประมง นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย เปิดเผย ว่า องค์กรระหว่างประเทศให้ความส�ำคัญกับห่วงโซ่การผลิตอาหารที่ต้องค�ำนึงถึง สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การตรวจสอบย้อนกลับที่มาของอาหาร ดังเช่นที่ ปรากฏในอุตสาหกรรมประมงของประเทศไทย ในกลุ่มปศุสัตว์ก็เช่นกัน การ ตรวจสอบย้อนกลับถึงที่มาของวัตถุดิบข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จะถูกน�ำมาเป็น เงื่อนไขในการสั่งซื้อสินค้าของคู่ค้าในสหภาพยุโรป ซึ่งประเทศไทยจ�ำเป็น ต้องมียุทธศาตร์การจัดการข้าวโพด เพื่อสร้างความยั่งยืนให้ทั้งห่วงโซ่ การผลิตอาหาร หากภาครัฐยังไม่เร่งด�ำเนินการให้แล้วเสร็จโดยด่วน คาดว่าจะเกิดความเสียหายกับอุตสาหกรรมอาหารทั้งระบบภายใน 1 - 2 ปีข้างหน้า “สมาคมฯ มุ่งพัฒนากระบวนการผลิตข้าวโพดบนพื้นที่ที่ถูกต้อง ไม่ บุกรุกป่า ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม โดยในช่วง 3 - 4 ปีที่ผ่านมา มีความพยายาม สื่อสารให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่การผลิตอาหารได้ทราบถึงกระแสการค้า โลก ที่มุ่งเน้นในเรื่องการผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมาโดยตลอด ตลอดจน ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดท�ำคู่มือมาตรฐานการเพาะปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์อย่างยั่งยืนขึ้น ภายใต้การสนับสนุนทุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจยั (สกว.) รวมถึงพยายามผลักดันให้มกี ารบังคับใช้มาตรฐาน GAP ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ โดยมีการหารือกับกระทรวงเกษตรฯ หลายครั้ง แต่ยังไม่เห็นผลเป็น รูปธรรม ขณะที่สมาคมฯ มีแผนจะรับซื้อผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีเอกสาร ถูกต้องเพิ่มมากขึ้นในต้นปีหน้า” นายพรศิลป์กล่าว

ที่มา : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์  วันที่ 21 มีนาคม 2561

42 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Market Leader

ที่ผ่านมา สมาคมฯ ได้แสดงเจตจ�ำนงค์ อย่างชัดเจนที่จะไม่รับซื้อข้าวโพดในพื้นที่รุกป่า เพื่ อ สร้ า งความยั่ ง ยื น ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม และยั ง พยายามช่วยรัฐหาทางออก โดยร่วมเสนอยุทธศาตร์การจัดการข้าวโพดกับภาครัฐ และมีภาครัฐ อาทิ คู่มือโดยกรมส่งเสริมการเกษตรเป็นแม่งาน ที่ ด� ำ เนิ น การจั ด ท� ำ ทะเบี ย นเกษตรกรผู ้ ป ลู ก ข้าวโพดในฤดูกาลผลิต ปี 2560/61 ทัง้ นี้ กรมส่งเสริมการเกษตร จะเป็นหน่วย งานหลักที่ต้องพัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับ ที่มาของวัตถุดิบ เพื่อตรวจสอบที่มาของข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ ทั้งพื้นที่เพาะปลูก รวมถึงสถานะการ ซื้อ - ขายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่นั้น เพื่อใช้เป็น ข้อมูลกลางให้ภาคธุรกิจท�ำไปใช้ประโยชน์ แต่จนถึง ขณะนี้ระบบดังกล่าวก็ยังไม่สามารถใช้ได้ ซึ่งก่อ ให้เกิดผลกระทบในลักษณะทีพ่ อ่ ค้าพืชไร่สามารถ ใช้เอกสารสิทธิท์ ดี่ นิ ท�ำกินฉบับเดียวไปใช้ซำ�้ หลาย รอบ ประกอบการขายข้าวโพดให้ผผู้ ลิตอาหารสัตว์ ในปริมาณเกินจริง หมายความว่า ข้าวโพดรุกป่า จะถู ก สวมสิ ท ธิ์ ว ่ า เป็ น ข้ า วโพดที่ ป ลู ก บนพื้ น ที่ ถูกต้อง ก่อให้เกิดข้อเสียตามมามากมาย โดยเฉพาะ ประเด็นการท�ำลายสิ่งแวดล้อมที่จะยังคงไม่ได้รับ การแก้ไข และยิง่ ทวีความรุนแรงมากขึน้ เมือ่ ราคา ข้าวโพดสูงเป็นประวัตศิ าสตร์ดงั เช่นทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ ในขณะนี้ ส่งผลกระทบต่อเนือ่ งไปถึงปัญหามลพิษ ด้านหมอกควัน

ภาครัฐ จ�ำเป็นต้องเป็นตัวกลางในการดูแล ระบบตรวจสอบย้อนกลับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่ง นับเป็นฟันเฟืองส�ำคัญที่จะช่วยให้การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ข้าวโพดยั่งยืนเดินหน้าต่อไปได้ ก่อน ที่จะสายเกินแก้ และต้องเสียรู้ให้ต่างชาติใช้เป็น ข้ออ้างในการกีดกันการค้าของประเทศไทยในอีก ไม่กี่ปีข้างหน้า “เรามีความกังวลว่า หากการพัฒนาระบบ ดังกล่าวล่าช้า จะก่อให้เกิดเป็นปัญหาเช่นเดียวกับ IUU ที่อุตสาหกรรมประมงของไทยต้องประสบ ซึ่งท�ำให้ภาคธุรกิจประมงต้องปรับตัวกันยกใหญ่ และเกิดความเสียหายไปมิใช่นอ้ ย สมาคมฯ จึงขอ เสนอให้กรมส่งเสริมการเกษตร เร่งเดินหน้าจัดท�ำ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ รวมถึงการออกใบรับรอง การเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เช่นเดียวกับที่ กรมประมงออกใบรับรองการจับสัตว์นำ�้ ไทยอย่าง เร่งด่วนที่สุด” นายพรศิลป์กล่าวทิ้งท้าย อนึ่ง ข้อมูลกรมพัฒนาที่ดิน ปี 2556 ระบุ ว่าพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 7.84 ล้านไร่ เป็นพืน้ ทีป่ า่ 3.72 ล้านไร่ และไม่เหมาะสมในการ เพาะปลูก 0.89 ล้านไร่ เหมาะสมน้อยอีก 1.32 ล้านไร่ แสดงให้เห็นว่าพื้นที่กว่าครึ่งหนึ่ง ต้องเลิก ปลูกข้าวโพด เพราะผิดกฎหมาย และปลูกไปก็ไม่ ได้ผลผลิตทีด่ ี การใช้พนื้ ทีเ่ พาะปลูกทีไ่ ม่เหมาะสม นีค้ อื ต้นตอของปัญหาการด้อยประสิทธิภาพในการ ผลิตข้าวโพดไทย ท�ำให้ไม่สามารถพัฒนาผลผลิต เฉลีย่ ของทัง้ ประเทศได้ทดั เทียมประเทศเพือ่ นบ้าน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

43


Market Leader

จับตาพรุ่งนี้! เจอศึกหนัก 3 ม็อป

"กุ้ง ปาล์ม ประมง"

เขย่ารัฐบาล คสช. สั่งถอนข้อตกลงเอ็มโอยูพื้นบ้าน

กฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์

มีรายงานว่าในวันที่ 21 มีนาคม 2561 สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย จะน�ำทีมโดย นายมงคล สุขเจริญคณา ประธานสมาคมการประมงแห่งประเทศไทย จะน�ำ 22 จังหวัด กดดันให้ นายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ถอนบันทึกข้อตกลง (เอ็มโอยู) จากสมาคมสมาพันธ์ชาวประมง พื้นบ้านแห่งประเทศไทย เนื่องจากการไปท�ำข้อตกลงนั้นส่งผลให้ประมงพาณิชย์ เสียหายรุนแรงและไม่เป็นธรรม และท�ำให้เกิดสร้างความขัดแย้งกันในหมูช่ าวประมง ทั้งประเทศ จะกดดันที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

> ผู้เลี้ยงกุ้งผวาโรคระบาด สกัดระงับนำ�เข้า ส่วนอีกด้านหนึง่ ในเวลาเดียวกัน นายยุทธนา รัตโน ทีป่ รึกษาสหกรณ์ผเู้ ลีย้ งกุง้ ลุ่มน�้ำท่าทอง จ�ำกัด จะน�ำเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง บุกกรมประมง ย่านบางเขน ขอ คัดค้านการน�ำเข้ากุง้ ขาวแวนาไมจากประเทศอินเดียมาแปรรูปในประเทศไทย เพราะ กลัวการแพร่โรคระบาดจาก IMNV (Infectious Myonecrosis Virus) และเชื้อ ซัลโมเนลล่า ถ้าเชื้อโรคทั้ง 2 ชนิด น�ำเข้ามาแล้วระบาดในเมืองไทยได้ไม่คุ้มเสีย ขนาดองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกาห้ามน�ำเข้า แต่ไทยยังกล้าน�ำเข้าหรือ แต่ถา้ อยากจะน�ำเข้าให้นำ� เข้าประเทศอืน่ แทน ในวันที่ 21 ทางกลุม่ ผูเ้ ลีย้ งกุง้ จะไปแสดง พลังเพื่อส่งสัญญาณถึงรัฐมนตรีว่าการฯ ให้สั่งระงับการน�ำกุ้งเข้าประเทศอินเดีย

> โวยโรงงานเอาเปรียบ จี้รับซื้ออย่างเป็นธรรม เช่นเดียวกับปาล์มน�ำ้ มันตกต�ำ่ น�ำโดย นายสุมาตร อินทรมณี นายกสมาคม ชาวสวนปาล์มน�้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ฯ จะเดินทางไปยื่นหนังสือผ่านผู้ว่าราชการ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพือ่ ด�ำเนินการ

ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ มัลติมีเดีย  วันที่ 20 มีนาคม 2561

44 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Market Leader

ภาพประกอบ : https://pixabay.com/en/palm-oil-fruit-background-ripe-3001220/

แก้ไขปัญหาราคาผลผลิตปาล์มน�้ำมันที่ตกต�่ำ 3 ข้อ ได้แก่ 1. ให้พาณิชย์ทุกจังหวัด ที่มีพื้นที่ปลูกปาล์มน�้ำมัน กวดขันดูแลให้มีการรับซื้อผลปาล์มน�้ำมันตามระดับ เปอร์เซนต์น�้ำมันปาล์ม 18% ในราคา 3.80 บาทต่อกิโลกรัมเป็นอย่างต�่ำ ตาม ประกาศก�ำหนดราคาแนะน�ำของกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ 2. เพือ่ ปริมาณ การใช้น�้ำมันปาล์มดิบผลิตไบโอดีเซลจากบี 7 บี 10 อย่างเร่งด่วน และ 3. ให้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ใช้นำ้� มันปาล์มแทนน�ำ้ มันเตาตามความ เหมาะสม สอดคล้องกับนายสิทธิพร จริยพงศ์ รองประธานสภาเกษตรกรแห่งชาติ คนที่ 2 เผยว่า ราคาผลปาล์มวันนี้เกษตรกรขายผลปาล์มได้อยู่ 2.8 - 3 บาทต่อ กิโลกรัมนั้นไม่เป็นธรรม เพราะจากราคาน�้ำมันซีพีโอ เปอร์เซนต์น�้ำมัน 18% วันนี้ (วันที่ 20 มี.ค. 61) ราคา 19.50 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ราคาน�้ำมันดิบซีพีโอ ในตลาดโลกราคา 20.50 บาทต่อกิโลกรัมนั้น เสนอให้รับซื้อตามเปอร์เซนต์น�้ำมัน ปาล์ม ถ้าเกษตรกรขายเปอร์เซนต์น�้ำมันสูงก็ให้ปรับกิโลกรัมละ 20 สตางค์ แต่ถ้า เกษตรกรขายผลผลิตต�่ำกว่า 18% เพื่อจูงใจให้เกษตรกรผลิตน�้ำมันคุณภาพ แต่ โรงงานกลับกดราคาเอาเปรียบเกษตรกร ทางสภาเกษตรกรแห่งชาติ จึงเรียกร้อง ราคาที่เป็นธรรม ยกตัวอย่างการค�ำนวณราคาน�้ำมันซีพีโอ ราคาอยู่ที่ 19.50 บาท ต่อกิโลกรัมนั้น ก็คิดค�ำนวณราคาผลปาล์มง่ายๆ ก็คือ น�ำ 19.50 x 18 หาร 100 จะได้ราคาผลปาล์ม 3.42 บาทต่อกิโลกรัม อย่างนี้เกษตรกรรับได้ แต่กลายเป็นว่า ถูกโรงงานกดราคารับซื้อที่ 2.8 - 3 บาท เกษตรกรยอมรับไม่ได้

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

45


Market Leader

“สนธิรัตน์” นั่ง ปธ.ประชุม นบขพ. เห็นชอบตั้งคณะอนุกรรมการฯ แก้ปมร้อน “โรงงานอาหารสัตว์” ‘สนธิรตั น์’ นัง่ ปธ.ประชุม นบขพ. เห็นชอบ ตัง้ คณะอนุกรรมการฯ หาทางออกปมร้อน ‘โรงงาน อาหารสัตว์’ ขอลดมาตรการซื้อข้าวโพด 3 ส่วน แลกสิทธิ์น�ำเข้าข้าวสาลี 1 ส่วน ขีดเส้น 30 วัน สรุป นายสนธิรตั น์ สนธิจริ วงศ์ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงพาณิ ช ย์ กล่ า วภายหลั ง การประชุ ม คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ (นบขพ.) เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2561 ว่า ทีป่ ระชุมเห็นชอบในการจัดตัง้ คณะอนุกรรมการ ท�ำงานซึ่งมีอธิบดีกรมการค้าภายในเป็นประธาน เพื่อศึกษาและพิจารณาความเป็นไปได้ ในการหา มาตรการที่เหมาะสมเข้ามาดูแลมาตรการน�ำเข้า ข้าวสาลี เพื่อใช้ในการผลิตอาหารสัตว์ รวมถึง มาตารการทางภาษี ให้ระยะเวลาในการศึกษา 30 วัน ก่อนทีจ่ ะน�ำมาเสนอทีป่ ระชุม นบขพ. พิจารณา อีกครั้งหนึ่ง ส�ำหรับคณะอนุกรรมการที่จัดตั้งขึ้นมานั้น จะต้องไปศึกษารายละเอียดและความเป็นไปได้ใน การใช้มาตรการทีเ่ หมาะสม จากเดิมทีม่ มี าตรการ ซื้อข้าวโพดจากเกษตรกร 3 ส่วนเพื่อแลกสิทธิ์ น�ำเข้าข้าวสาลี 1 ส่วน (มาตรการ 3:1) ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์  วันที่ 14 มีนาคม 2561

46 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

พร้อมกันนี้ ยังได้มกี ารตัง้ คณะอนุกรรมการ อีก 1 ชุด ซึ่งมีอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศเป็น ประธานในการพิ จ ารณาการขยายการน� ำ เข้ า ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย ทั้ ง หมดนี้ จ ะต้ อ งไม่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ เกษตรกร ภายในประเทศ รวมไปถึ ง วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต อาหารสัตว์ดว้ ย “จะขึน้ ภาษีเท่าไร จะใช้มาตรการ อย่างไร ยังไม่สามารถบอกได้ชัดเจน ต้องรอให้ คณะอนุกรรมการ ได้ทำ� งานและศึกษามาก่อน และ มาตรการที่จะออกมาจะมีระยะเวลาการใช้เท่าไร ก็ต้องรอให้มีการศึกษาอย่างรอบคอบด้วยเช่นกัน ต้องขอเวลาในการท�ำงานก่อน” ส�ำหรับราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ขณะนี้อยู่ที่ ราคา 10 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ผลผลิตที่คาด ออกมาอยู่ที่ 4.7 ล้านตัน ดังนั้น กรมการค้า ภายในจึงต้องการดูแลข้าวโพดให้เกิดเสถียรภาพ ทั้งระบบและก็ต้องติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด




Market Leader

ผู้เลี้ยงหมู - ไก่ เข้าพบนายกฯ วอนช่วยราคาข้าวโพดแพงต้นทุนเลี้ยงสัตว์พุ่ง

นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยภายหลัง ยื่นหนังสือที่ศูนย์รับเรื่องร้องทุกข์ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่า กลุ่ม เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสัตว์พยายามขอเข้าพบ รมว.พาณิชย์ หลายครัง้ เพือ่ อธิบายถึงความ เดือดร้อนของเกษตรกร แต่ได้รับการบ่ายเบี่ยงมาโดยตลอด จนทนไม่ไหว จ�ำเป็น ต้องยกขบวนมาขอความช่วยเหลือจากนายกรัฐมนตรี โดยสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่ง ชาติ สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อ สมาคมผู้เลี้ยงไก่พันธุ์ สมาคมผู้ผลิตผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ สมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและการส่งออก สมาคมปศุสัตว์ไทย พร้อมเกษตรกรภาคปศุสัตว์ร่วม 100 คน เดินขบวนเข้ายื่น หนังสือถึงนายกฯ วอนยกเลิกมาตรการต้องรับซื้อข้าวโพด 3 ส่วน ต่อการน�ำเข้า ข้าวสาลี 1 ส่วน เหตุเป็นมาตรการเอื้อประโยชน์คนบางกลุ่มซึ่งไม่ใช่เกษตรกร จนส่งผลกระทบถึงต้นทุนการเลีย้ งสัตว์ ท�ำให้เกษตรกรประสบภาวะขาดทุน จ�ำต้อง ลดจ�ำนวนการเลี้ยงสัตว์ไปแล้วเป็นจ�ำนวนมาก ที่มา : ข่าวสด  วันที่ 2 มีนาคม 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

47


Market Leader “เกษตรกรคนเลีย้ งสัตว์ ต้องเดือดร้อนจาก ราคาข้าวโพดทีส่ งู มากจนน�ำไปสูภ่ าวะขาดทุน และ ต้องลดจ�ำนวนการเลีย้ งลงเป็นจ�ำนวนมาก ขณะที่ วันก่อน รมว.พาณิชย์ ออกข่าวแถลงผลงานด้วย ความปลาบปลื้มที่ท�ำราคาข้าวโพดสูงถึง กก. ละ เกือบ 10 บาท แล้วคนที่ต้องซื้อข้าวโพดอย่าง พวกผมล่ะครับ ท่านคิดจะช่วยเหลือบ้างหรือไม่ การบ่ายเบี่ยงไม่ให้ผมเข้าพบ แต่กับกลุ่มนายทุน พืชไร่ได้พบปะเจรจากันถึง 3 ครั้งนั้นหมายความ ว่าอย่างไร ท่านล�ำเอียงใช่หรือไม่ แก้ปญ ั หาจุดหนึง่ แต่ปญ ั หาไปโผล่อกี จุดหนึง่ ใช่หรือไม่ แต่ยงั กล้าน�ำ มาแถลงเป็นผลงานเช่นนี้ พวกผมคงพึ่งพาท่าน ไม่ได้แล้ว จึงจ�ำเป็นต้องมาหาท่านนายกประยุทธ์ กันในวันนี้” นายสุรชัย กล่าวว่า ราคาข้าวโพดตามที่ กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนดที่ กก. ละ 8 บาท ขยับ สูงขึน้ เป็นกว่า 10 บาท คิดเป็นสูงขึน้ ถึง 25% หาก น�ำมาใช้ในอาหารสัตว์ 50% จะท�ำให้ต้นทุนสูง ขึ้น 12.5% เปรียบเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะส่งผลให้

48 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

คนเลีย้ งสัตว์ขาดทุนหรือได้กำ� ไร ทีผ่ า่ นมากระทรวง พาณิชย์มีมาตรการช่วยเหลือกลุ่มพืชไร่มาโดย ตลอด แต่แทนทีจ่ ะบริหารจัดการเหมือนพืชเกษตร ชนิดอืน่ เช่น การประกันรายได้ให้เกษตรกร กลับ บังคับให้คนเลี้ยงสัตว์ต้องซื้อข้าวโพดในราคาที่ กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนดที่ กก. ละ 8 บาท ซึ่ง สูงกว่าราคาข้าวโพดตลาดโลกที่ขายกันเพียง กก. ละ 5 - 6 บาท อยู่แล้ว เมื่อราคาข้าวโพดไทยแพง กว่าตลาดโลก 100% เช่นนี้ เท่ากับประเทศไทย มีต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ที่สูงกว่าตลาดโลกถึง 50% นอกจากนี้ กระทรวงพาณิ ช ย์ ยั ง ออก มาตรการมัดตราสังคนเลี้ยงสัตว์ให้ซื้อข้าวโพด ราคาแพงนี้ 3 ส่วนก่อน จึงจะน�ำเข้าข้าวสาลีมา ทดแทนข้าวโพดได้ 1 ส่วน ดังนัน้ ราคาข้าวโพดจะ แพงเพียงใด คนเลี้ยงสัตว์ก็ต้องซื้อตามมาตรการ รัฐทีเ่ อือ้ ประโยชน์ให้กลุม่ พืชไร่อย่างชัดเจน ดังเช่น ที่ปัจจุบันพ่อค้าพืชไร่ โก่งราคาข้าวโพดไปถึง กก. ละ 10.15 บาทแล้ว และยังมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง


Market Leader

พาณิชย์ปลื้มราคาพืชไร่ปรับตัวสูงขึ้น

รัฐมนตรีพาณิชย์ยนั เกษตรกรผูป้ ลูกมัน -  ทัง้ นี้ แนวนโยบายการน�ำเข้าข้าวสาลี 3 ต่อ ข้าวโพดจะดูแลราคาให้ดี แต่เกษตรกรต้องปรับ 1 เพื่ อ น� ำ มาใช้ ใ นประเทศนั้ น หากในอนาคต คุณภาพและดูปริมาณด้วย สถานการณ์สินค้าเกษตรในประเทศมีปริมาณ นายสนธิ รั ต น์ สนธิ จิ ร วงศ์ รั ฐ มนตรี เพียงพอกับความต้องการ รัฐบาลก็พร้อมทีจ่ ะปรับ ว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยภายหลังให้การ เปลี่ยนนโยบายการน�ำเข้า ในสัดส่วนที่น้อยลง ต้อนรับกลุ่มเกษตรกรปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และ ตามสถานการณ์ เพื่อไม่ให้กระทบราคาข้าวโพด มันส�ำปะหลัง ว่า สถานการณ์สินค้าเกษตรทั่วไป หรือมันส�ำปะหลังของเกษตรกรในประเทศ ราคาอยู่ในระดับดี โดยมันส�ำปะหลังราคาเฉลี่ย อยู่ที่กิโลกรัมละ 2.40 - 2.50 บาท ขณะที่ราคา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ถือว่าราคาเป็นที่น่าพอใจเฉลี่ย อยู่ที่กิโลกรัมละ 9.40 - 9.50 บาท โดยกระทรวง พาณิชย์ได้เน้นย�ำ้ ให้กบั เกษตรกรเข้าใจว่า รัฐบาล มี น โยบายด� ำ เนิ น โครงการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เกษตรกร เพื่อท�ำให้ผลผลิตดีขึ้นระยะยาวอย่าง ต่อเนื่อง แต่อยากจะขอความร่วมมือให้เกษตรกร รักษาคุณภาพการผลิตสินค้าให้ได้ตามมาตรฐาน เพิ่มปริมาณการผลิตให้เพียงพอกับความต้องการ ใช้ในประเทศ และบริหารจัดการเรือ่ งต้นทุนให้ลด ลง เพื่อที่จะให้ตนเองได้ก�ำไรมากขึ้นและสามารถ แข่งขันกับในตลาดต่างประเทศได้

นอกจากนี้ ตัวแทนสภาเกษตกรและสมาคม การค้าพืชไร่ ระบุว่า ขณะนี้สถานการณ์ผลผลิต ของเกษตรกรถือว่าอยู่ในเกณฑ์ดีเป็นที่น่าพอใจ และต้ อ งการให้ รั ฐ บาลด� ำ เนิ น นโยบายในเรื่ อ ง ของการให้ความช่วยเหลือราคาสินค้าเกษตรอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อท�ำให้สถานการณ์ราคาสินค้าของ เกษตรกรอยู่ในระดับดี และสามารถเลี้ยงตัวเอง ได้ โดยนโยบายทีผ่ า่ นมามองว่ารัฐบาลด�ำเนินการ มาถูกทางแล้ว และปีนี้ยังเชื่อว่าจะไม่ขาดแคลน น�้ำจนเกิดปัญหาภัยแล้ง ซึ่งจะส่งผลให้พืชไร่ปีนี้ มีราคาดี และยังกังวลใจเกรงว่าจะเกิดปัญหาพืชไร่ ล้นตลาด แต่กระทรวงพาณิชย์จะดูแลและติดตาม อย่างใกล้ชิดกันต่อไป

ที่มา : สำ�นักข่าวไทย  วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2561 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

49


Around The World

โคนมไทย พร้อมรับเปิดเสรี เตรียมยกทัพโกอินเตอร์

กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ มีบทบาทหน้าทีเ่ ตรียมความพร้อมของทุกภาคส่วน ตัง้ แต่ศกึ ษาผลกระทบรอบด้านทีอ่ าจมีขนึ้ จากการ จัดท�ำความตกลงการค้าเสรี รวมถึงหาแนวทางปรับตัวและมาตรการรองรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ยังคงเป็นทีก่ งั วลมาตลอดกับกรณีผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้านมและผลิตภัณฑ์นมของไทย ทีเ่ ริม่ ทยอยเปิดตลาดน�ำเข้าสินค้านมและผลิตภัณฑ์นม ตัง้ แต่ปี 2548 ให้กบั ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ภายใต้ FTA ไทย - ออสเตรเลีย และไทย - นิวซีแลนด์ โดยทยอยลดภาษีน�ำเข้า พร้อมเพิ่มปริมาณ เพดาน และโควตาน�ำเข้า ซึ่งในปี 2568 ต้องเปิดเสรีน�ำเข้าสินค้านมทุกประเภท ด้วยการยกเลิกภาษี น�ำเข้าเหลือร้อยละ 0 ยกเลิกมาตรการก�ำหนดเพดาน และโควตาน�ำเข้าทั้งหมด หากนับเวลาถอยหลัง ก็เหลือแค่อีก 8 ปีเท่านั้น

ปรับแผนเชิงรุก ดันนมไทยโกอินเตอร์ สู่การเป็น Hub ในภูมิภาค ในเดือนธันวาคม 2560 นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ น�ำคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กรมปศุสัตว์ และ ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่พบปะหารือกับกลุ่มเกษตรกรโคนม และผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นม ภาคเหนือ ณ จังหวัดเชียงใหม่ และล�ำพูน พร้อมน�ำโครงการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้าโคนม สูก่ ารค้าเสรี คัดเลือกกลุม่ เกษตรกร หรือผูป้ ระกอบการทีม่ ศี กั ยภาพเพือ่ พัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ ทัง้ การ แปรรูปผลิตภัณฑ์นม เช่น นมยูเอชที โยเกิร์ต ไอศกรีม เตรียมสร้างแบรนด์ พัฒนาหีบห่อบรรจุภัณฑ์ และน�ำไปโรดโชว์ในงานแสดงสินค้าที่กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ จัดขึ้น ในประเทศเป้าหมาย โดยใช้ประโยชน์จากความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน ทีส่ มาชิกอาเซียนทุกประเทศ ต้องลดภาษีน�ำเข้าสินค้านมและผลิตภัณฑ์นม ให้เหลือร้อยละ 0 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 ขณะที่ ภายใต้ FTA อาเซียน - จีน จีนได้ลดภาษีน�ำเข้าสินค้านมและผลิตภัณฑ์นม เป็นร้อยละ 0 แล้ว ปี 2559 การส่งออกสินค้านมและผลิตภัณฑ์นมของไทย คิดเป็นมูลค่า 1,263.5 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ ผลิตภัณฑ์หลักได้แก่ นมปรุงแต่งยูเอชที โยเกิร์ต บัตเตอร์มิลค์ และนมข้นหวาน ตลาดส่งออก ส�ำคัญคือ เวียดนาม กัมพูชา เมียนมา ลาว ฟิลปิ ปินส์ และจีน ซึง่ ล้วนต้องการผลิตภัณฑ์นมคุณภาพสูง ที่มา : วารสารการค้าระหว่างประเทศ ปีที่ 5 ฉบับที่ 18 (1/2561)

50 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World และเป็นตลาดศักยภาพที่ยังสามารถขยายตัวเพิ่ม ขึ้นได้อีกมาก การลงพื้นที่ครั้งนี้จึงเป็นการพลิก วิกฤตจากการตั้งรับให้เป็นโอกาส ผลักดันไทย เป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกสินค้านมและ ผลิตภัณฑ์นมในภูมิภาคอาเซียน และจีน เพราะ ไทยสามารถน�ำเข้าวัตถุดิบถูกลงจากออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ นอกจากนี้ การขยายการส่งออก นมและผลิ ต ภั ณ ฑ์ น มของไทยออกสู ่ ต ลาดต่ า ง ประเทศมากขึน้ จะช่วยเพิม่ ปริมาณความต้องการ น�้ำนมโคดิบในประเทศเพิ่มมากขึ้น ซึ่งช่วยเพิ่ม รายได้ให้เกษตรกร

ยกทัพนมไทยเดินสายโรดโชว์ ตลอดปี 61 การจัดสัมมนาในการลงพื้นที่ครั้งนี้ กรม เจรจาการค้าระหว่างประเทศได้ให้ขอ้ มูลพันธกรณี การเปิดตลาดสินค้านมภายใต้ FTA ไทย - ออสเตรเลีย และไทย - นิวซีแลนด์ รวมถึงข้อมูลเกีย่ วกับ พั น ธกรณี ก ารเปิ ด ตลาดสิ น ค้ า นมของประเทศ เพื่อนบ้าน ที่ไทยมีความตกลงการค้าเสรี FTA ด้วย โดยเฉพาะ เวียดนาม กัมพูชา เมียนมา และ จีน ซึ่งเป็นตลาดใหญ่ที่มีศักยภาพ เนื่องจากมี ผูบ้ ริโภคจ�ำนวนมาก โดยเสนอว่าควรมีการทดลอง ตลาด หาช่องทางการขายสินค้าผ่านออนไลน์ และ เข้าร่วมงานแสดงสินค้าที่กระทรวงพาณิชย์จัด ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ

นมไทยคุณภาพดี ไม่ต่างจากนมฮอกไกโด การลงพืน้ ทีใ่ นจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัด ล�ำพูน ยังพบว่า เกษตรกรโคนมภาคเหนือมีการ รวมตัวกันจัดตั้งสถาบันเกษตรกรอย่างเข้มแข็ง ประกอบด้วยสหกรณ์โคนม 18 แห่ง โรงงาน

แปรรูปนมและผลิตภัณฑ์นม 5 แห่ง ศูนย์รวม น�้ำนมดิบของสหกรณ์ และบริษัทเอกชน 33 แห่ง มี เ กษตรกรผู ้ เ ลี้ ย งโคนม 1,539 ราย โคนม 69,513 ตัว โครีดนม 28,978 ตัว ปริมาณน�ำ้ นมดิบ ที่ผลิตได้ประมาณ 343 ตันต่อวัน อุตสาหกรรม โคนมภาคเหนื อ จึ ง ถื อ ว่ า มี ศั ก ยภาพสู ง เพราะ ได้ เ ปรี ย บด้ า นสภาพภู มิ ป ระเทศสู ง จากระดั บ น�้ำทะเลที่เหมาะสม ภูมิอากาศหนาวเย็น เหมาะ กับการเลี้ยงโคนม ส่งผลให้วัวมีสุขภาพดี มีแหล่ง อาหารอุดมสมบูรณ์ ท�ำให้น�้ำนมมีองค์ประกอบ ไขมัน และโปรตีนสูงกว่ามาตรฐาน เป็นโอกาสที่ จะพัฒนาการผลิตน�้ำนมโคคุณภาพสูงให้เป็นที่ รู้จักได้ เช่น นมล้านนา และนมป่าตึงห้วยหม้อ ซึ่งคุณภาพและรสชาติคล้ายนมฮอกไกโดที่ขึ้นชื่อ และเป็นจุดขายของเมืองฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น ที่ใครไปก็ต้องลองชิม

ดึงจุดดี เสริมจุดด้อย ให้ฟาร์มเล็ก - ฟาร์มใหญ่ ฟาร์ ม ขนาดใหญ่ มี ค วามพร้ อ มในการ แข่ ง ขั น กั บ นมนิ ว ซี แ ลนด์ และนมออสเตรเลี ย มากกว่าฟาร์มขนาดกลาง และขนาดเล็ก มีความ พร้อมบุกตลาดส่งออกไปยังต่างประเทศ ร่วมกับ กระทรวงพาณิชย์ เพราะได้เปรียบด้านเงินทุน มี ระบบก�ำจัดของเสียที่มีประสิทธิภาพ สามารถ เปลี่ ย นมู ล สั ต ว์ เ ป็ น พลั ง งานทดแทนเพื่ อ รั ก ษา สิ่งแวดล้อม โดยน�ำไปผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อผลิต กระแสไฟฟ้า และใช้ประโยชน์ในรูปแบบพลังงาน ทดแทนส�ำหรับรถยนต์ เครือ่ งจักรการเกษตร และ ปั่นไฟฟ้า ส่วนกากตะกอนน�ำไปผลิตปุ๋ยอัดเม็ด แต่ฟาร์มรายใหญ่กย็ งั ต้องการให้ภาครัฐเข้ามาช่วย พัฒนาผลิตภัณฑ์ รูปแบบบรรจุภัณฑ์ การตลาด การประชาสัมพันธ์ และการส่งออก ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

51


Around The World

ส่วนฟาร์มขนาดกลางถึงขนาดเล็ก ยังติด ปัญหาด้านการหาตลาด ขาดเงินลงทุนในระบบ ก�ำจัดและแปรรูปของเสีย ต้นทุนอาหารสัตว์สูง และต้องการเครือ่ งจักรผลิตอาหารข้น และอาหาร หยาบเอง จึงอยากให้ภาครัฐส่งเสริมให้มกี ารปลูก หญ้าเนเปียร์เพิ่มขึ้นเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ และ เปลีย่ นแนวทางให้เน้นจับตลาดเฉพาะกลุม่ (Niche Market) รวมถึงการสร้างมูลค่าเพิม่ เช่น ขยายตลาด และสร้างมูลค่าเพิ่มไปยังร้านกาแฟในเชียงใหม่ กว่า 4,000 ร้าน ทีต่ อ้ งการใช้และรับซือ้ น�ำ้ นมดิบ โปรตีนสูงเกินร้อยละ 3 ในราคาสูงถึง 30 บาท ต่อกิโลกรัม จากเดิมทีข่ ายได้ 20 บาทต่อกิโลกรัม นอกจากนี้ ยังมีความกังวลว่านมผงขาดมันเนย ที่จะเปิดตลาดในปี 2568 จะมาแย่งตลาดน�้ำนม ดิบของเกษตรกรในประเทศ จึงขอให้ภาครัฐเร่ง ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนบริ โ ภคนมสดที่ ผ ลิ ต จาก น�้ำนมดิบของเกษตรกรโคนมไทย และควรให้ สิทธิพิเศษกับผู้ผลิตผลิตภัณฑ์นมที่ใช้น�้ำนมดิบ จากเกษตรกรโคนมไทย

52 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

กระทรวงเกษตรฯ เตรียมอัดฉีด กว่า 400 ล้านบาท กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยส�ำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร มีมาตรการรองรับผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นในปี 2561 โดยเตรียมอัดฉีดเงิน 300 ล้านบาท ผ่านกองทุนปรับโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตร ให้กับกลุ่มสินค้าเกษตรที่ได้รับผล กระทบจากการเปิดเสรี FTA เพื่อเพิ่มขีดความ สามารถการแข่งขันของประเทศ และอีก 110 ล้าน บาท ผ่านกองทุนพัฒนาสหกรณ์โคนม เพื่อจัดหา เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ทดแทนการใช้แรงงาน และ ลดต้นทุนการผลิตให้กับสมาชิกสหกรณ์โคนม

ปศุสัตว์ติวเข้ม ลดต้นทุน สร้างมาตรฐานสากล ผูแ้ ทนกรมปศุสตั ว์ให้ความเห็นว่า เกษตรกร รายย่อยอาจต้องปรับตัวเพื่อให้สามารถแข่งขันได้ โดยลดรายจ่าย และเพิม่ รายได้ให้ตน้ ทุนน�ำ้ นมดิบ อยู่ในช่วง 9 - 12 บาทต่อกิโลกรัม (ปัจจุบันต้นทุน อยู่ที่ 14 บาทต่อกิโลกรัม ขณะที่ต้นทุนน�้ำนมดิบ ในนิวซีแลนด์ต�่ำกว่า 9 บาทต่อกิโลกรัม) และ


Around The World ควรเพิม่ ผลผลิตน�ำ้ นมดิบให้มากกว่า 13 กิโลกรัม ต่อตัวต่อวัน (นิวซีแลนด์ผลิตน�้ำนมดิบได้ 16 กิโลกรัมต่อตัวต่อวัน) เปลี่ยนสถานะเกษตรกร ไทยจากผู้ใช้แรงงานมาเป็นผู้บริหารฟาร์มรุ่นใหม่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ ต้องพัฒนาคุณภาพให้ได้มาตรฐาน สากล ได้แก่ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและ เหมาะสม (Good Agriculture Practices: GPA) ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้อง ควบคุมในการผลิตอาหาร (Hazard Analysis and Critical Point System: HACCP) หลักเกณฑ์ วิธีการที่ดีในการผลิต (Good Manufacturing Practice: GMP) มาตรฐานไอเอสโอ (International Standardization and Organization: ISO) มาตรฐานอาหารขององค์การอาหารและ เกษตรแห่งสหประชาชาติและองค์การอนามัยโลก (Joint FAO/WHO CODEX Alimentarius Commission: CODEX) และระบบการตรวจสอบ ย้อนกลับไปถึงฟาร์มได้ (Traceability)

ดันไทยสู่ศูนย์กลางอาหาร ในอาเซียนในอีก 5 ปี ผู้แทนเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ นโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ชี้แนะแนวทางว่า รัฐบาลตั้งเป้าหมาย ให้ไทยเป็นศูนย์กลางอาหารในอาเซียนภายในอีก 5 ปีข้างหน้า ซึ่งแนวโน้มความต้องการของตลาด เป็นอาหารสุขภาพ อาหารผูส้ งู อายุ อาหารฮาลาล และอาหารออร์แกนิก พร้อมยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ นมที่ได้รับรางวัลในปี 2560 เช่น โยเกิร์ต ที่มี ส่วนผสมของธัญพืชและผัก ไอศกรีมทีม่ สี ว่ นผสม ของวิตามิน นมสดที่ผลิตโดยไม่ผ่านกระบวนการ

ความร้อน (Cold Pressed Raw Milk) เป็นต้น โดย Food Innopolis มีโรงงานให้บริการเช่า (Pilot Plant) ในราคาทีเ่ หมาะสม ส�ำหรับผูป้ ระกอบการ ทีส่ นใจทดลองท�ำโรงงาน แต่ไม่มที ดี่ นิ และโรงงาน ของตัวเอง

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ รุกพบปะโคนมทุกภูมิภาค กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ร่วมกับ กรมปศุ สั ต ว์ และชุ ม นุ ม สหกรณ์ โ คนมแห่ ง ประเทศไทย มีแผนลงพื้นที่พบปะกลุ่มเกษตรกร และผู ้ ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรมโคนมใน ภูมภิ าคอืน่ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เตรียมความพร้อม รับมือการค้าเสรี โดยจัดขึน้ ทีส่ ระบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น และกาญจนบุรี ช่วงเดือนมกราคม -  มีนาคม 2561

โคนมไทยมาไกล เลิกตั้งรับ พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส รุกตลาดต่างประเทศ จะเห็นว่า ตั้งแต่ไทยได้ทยอยเปิดตลาด สิ น ค้ า นมและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นปี 2548 จนถึ ง ปั จ จุ บั น ภาคโคนมของไทยมี ก ารปรั บ ตั ว และ พัฒนาอย่างมาก เกษตรกรโคนมและผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมไม่ได้กังวลเหมือนช่วงแรกอีก แล้ว เนื่องจากมีระยะเวลาในการปรับตัวนานถึง 20 ปี ยังเหลือเวลาอีก 8 ปีที่จะผลักดันให้ไทย เป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกสินค้านมและ ผลิตภัณฑ์นมในภูมิภาค “นับจากนี้ โคนมไทยจะไม่เป็นฝ่ายตั้งรับ แต่ จ ะพลิ ก เกมเป็ น ฝ่ า ยรุ ก พร้ อ มบุ ก ตลาด อินเตอร์ต่อไป”

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

53


Around The World

ยินดี นายบัญชา สุขแก้ว “มิสเตอร์กุ้ง” คนใหม่ (ผู้อ�ำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่ง)

ขอแสดงความยินดีกับ นายบัญชา สุขแก้ว ที่ก้าวมารับต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่งคนใหม่ และ ล่าสุดเมือ่ ต้นเดือนมีนาคม 2561 ในการประชุมความก้าวหน้าการด�ำเนินงาน ของผูร้ บั ผิดชอบรายสินค้า (มิสเตอร์รายสินค้า) ซึง่ เป็นนโยบายให้กระทรวง เกษตรฯ ก�ำหนดผูร้ บั ผิดชอบรายสินค้า ท่านได้รบั การแต่งตัง้ เป็น “มิสเตอร์ กุ้ง” ซึ่งมีหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงกุ้งโดยตรง (ส่วน นายช�ำนาญ พงษ์ศรี รองอธิบดีกรมประมง ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นมิสเตอร์ สินค้าประมง และนายอรุณชัย พุทธเจริญ รองอธิบดีกรมประมง เป็น มิสเตอร์การแก้ไขปัญหาการท�ำประมงผิดกฎหมายขาดการรายงานและไร้การ ควบคุม หรือไอยูยู) ส�ำหรับ “มิสเตอร์กุ้ง” ประวัติของท่านโดยสังเขปเพื่อให้เป็นที่ รู้จักกันมากยิ่งขึ้น ดังนี้ นายบัญชา สุขแก้ว เกิดวันที่ 4 สิงหาคม 2508 ปัจจุบันอายุ 52 ปี ส�ำเร็จ การศึกษาประกาศนียบัตรชั้นสูงทางการประมง ปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต ปริญญาโท สาขาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และบัณฑิตทางกฎหมาย มหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และบัณฑิตทางกฎหมายปกครองจากศาล ปกครอง ด้านการท�ำงาน นายบัญชา สุขแก้ว ได้รับการบรรจุเป็นข้าราชการพลเรือน สามัญ สังกัดกรมประมง ในปี 2530 ต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่ประมง ส�ำนักงานประมง จังหวัดปัตตานี ส�ำนักงานประมงจังหวัดชัยภูมิ ต�ำแหน่งเจ้าพนักงานประมง กอง อนุรักษ์ทรัพยากรประมง และปี 2542 ได้เลื่อนขั้นเป็นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบาย และแผนงาน 6 กองอนุรกั ษ์ทรัพยากรประมง ต�ำแหน่งนิตกิ ร 7 หัวหน้าฝ่ายมวลชน สัมพันธ์ และเจ้าหน้าที่บริหารงานประมง 8 ส�ำนักบริหารจัดการด้านการประมง และเคยด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญๆ ได้แก่ ผู้อ�ำนวยการส่วนอนุญาตและจัดการประมง

54 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World ส�ำนักบริหารจัดการด้านการประมง ประมงจังหวัด จันทบุรี ในปี 2554 และประมงจังหวัดชลบุรี ในปี 2559 ตามล�ำดับ ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการ กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่ง ตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม 2560 เป็นต้นมา และ ล่าสุดได้รับการแต่งตั้งให้เป็น “มิสเตอร์กุ้ง” ด้วย ระหว่างปฏิบัติราชการ ท่านได้ผ่านการ อบรมหลักสูตรต่างๆ มากมาย ได้แก่ หลักสูตร การพัฒนานักกฎหมายภาครัฐระดับกลางในปี 2551 ได้รบั ประกาศนียบัตรการบริหารงานภาครัฐ และกฎหมายมหาชนชั้นสูง สถาบันพระปกเกล้า ในปี 2556 หลักสูตรนักบริหารการพัฒนาการ เกษตรและสหกรณ์ระดับสูงของสถาบันเกษตราธิการ ส�ำนักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใน ปี 2558 หลักสูตรนักบริหารระดับสูง ส�ำนักงาน คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในปี 2558 และ ในปี 255 - 2555 ได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษ สอนวิชากฎหมายประมงแก่นกั ศึกษามหาวิทยาลัย บูรพา และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในขณะที่ด�ำรงต�ำแหน่ง มีผลงานโดดเด่น ได้แก่ ริเริ่มจัดตั้งโครงการชุมชนประมงต้นแบบ ประกาศก�ำหนดการจัดการเขตประมงในจังหวัด จันทบุรี และชลบุรี และส่งเสริมเกษตรกรผู้เพาะ เลีย้ งกุง้ ทะเลในจังหวัดจันทบุรี และชลบุรี เข้าร่วม ในการด�ำเนินงานโครงการเมืองเกษตรสีเขียว และ เกษตรแปลงใหญ่ ซึ่งเป็นโครงการส�ำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้ อ มกั น นี้ ท่ า นได้ ฝ ากข้ อ คิ ด เห็ น ถึ ง เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่งทุกท่าน ดังนี้ “การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำชายฝั่ง เป็นอาชีพที่ท�ำ รายได้ให้แก่เกษตรกรผูเ้ พาะเลีย้ งของประเทศไทย มาเป็นระยะเวลานาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ อุตสาห-

กรรมการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล ที่มีจุดเด่นในเรื่อง ของความปลอดภัยทางด้านอาหาร ปราศจาก สารตกค้าง และระบบการตรวจสอบย้อนกลับที่ สามารถตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เป็ น ที่ ย อมรั บ ในตลาดโลกเป็ น ระยะเวลานาน ปัจจุบันเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งของไทย ได้มีการ ปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบการเลี้ ย งเพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลผลิ ต สูงในพื้นที่จ�ำกัด มีการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มา ผสมผสานเพื่อลดของเสียที่เกิดขึ้นภายในฟาร์ม และมีความใส่ใจต่อสภาพแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบนั ทีป่ ระเทศคูค่ า้ ของไทยเริ่มจับตามองในเรื่องของผลกระทบของ การเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น โดยได้ส่งสารผ่านการประกาศเพิ่มหลักเกณฑ์ ในการน� ำ เข้ า กุ ้ ง ของไทยในรู ป แบบต่ า งๆ เช่ น มาตรฐานสากลของฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล ที่ก�ำลัง เป็นที่ต้องการของประเทศคู่ค้าส�ำคัญอย่างสหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ่ และสหภาพยุโรป และเพือ่ เป็นการ รักษาสัดส่วนการตลาดของสินค้ากุ้งไทยในตลาด โลก กระผมขอเชิญชวนให้เกษตรกรผูเ้ พาะเลีย้ ง กุ้งของไทย ด�ำเนินกิจการด้วยความตระหนักถึง สภาพแวดล้อม เพื่อให้สินค้ากุ้งของไทยสามารถ ยื น หยั ด ได้ อ ย่ า งมั่ น คงในตลาดสากล และใน โอกาสนี้ กระผมของประชาสัมพันธ์การประกาศใช้ พระราชก�ำหนดการประมง 2558 และที่แก้ไข เพิ่มเติม 2560 ที่น�ำมาใช้แทนกฎหมายประมง ฉบับเดิม ที่ประกาศใช้มายาวนานตั้งแต่ปี 2490 กฎหมายฉบับใหม่นมี้ สี าระส�ำคัญทีเ่ กีย่ วกับการท�ำ ประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำของประเทศไทย อยู่หลายมาตรา การประกาศใช้กฎหมายฉบับนี้ กล่าวได้วา่ เป็นปฏิรปู ภาคการประมง และการเพาะ เลี้ยงสัตว์น�้ำครั้งใหญ่ที่สุดอีกครั้ง และแน่นอนว่า ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

55


Around The World คงมีหลายภาคส่วนได้รับผลกระทบจากการบังคับใช้กฎหมายในครั้งนี้ แต่เพื่อ เป็นการจัดระเบียบในภาคการประมงและการเพาะเลี้ยงให้เป็นที่ยอมรับในระดับ นานาชาติ และเพื่อรักษาไว้ให้เกิดความยั่งยืนของทรัพยากรและอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงของไทย และเพื่อให้การบังคับใช้สามารถด�ำเนินการได้จริง และก่อ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เกษตรกรผู้ประกอบอาชีพประมง กระผมจึงอยากขอให้ เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงทุกท่าน เตรียมพร้อมส�ำหรับการเปลี่ยนแปลง และกระผม อยากให้ความเชื่อมั่นแก่เกษตรกรทุกท่านว่า กฎระเบียบและประกาศทุกฉบับ ที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเลี้ยงที่กรมประมงประกาศใช้ กรมประมงด�ำเนินการโดย ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ที่จะเกิดแก่ประเทศชาติและเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ เป็นส�ำคัญ เพื่อให้สินค้าจากภาคการเพาะเลี้ยงของไทยเป็นที่ยอมรับและสามารถ แข่งขันได้ในตลาดโลกอย่างมั่นคงและยั่งยืนในอนาคต” ขอให้ท่านท�ำงานส�ำเร็จลุล่วงสมความตั้งใจทุกประการ เพื่อให้การเพาะเลี้ยง สัตว์น�้ำชายฝั่งของไทย รวมถึงสินค้ากุ้งได้รับการพัฒนา ปกป้องให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

56 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561




Around The World

สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย (TFMA) และ สมาคมส่วนผสมอาหารสัตว์แห่งประเทศเกาหลีใต้ (KFIA) ลงนามความร่วมมือพร้อมเปิดประตูการค้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ ผ่านสองงานปศุสัตว์ระดับนานาชาติ VIV Asia และ งาน VICTAM ASIA

เปิดประตูการค้าไทย - เกาหลีอย่างสมบูรณ์ เมื่อสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย (TFMA) และสมาคมส่วนผสมอาหารสัตว์แห่งประเทศเกาหลีใต้ (KFIA) ได้ข้อสรุป ของการเจรจาธุรกิจระหว่างประเทศที่เริ่มต้นขึ้นที่งานแสดงสินค้าส�ำหรับธุรกิจปศุสัตว์ นานาชาติ หรืองาน VIV Asia เมื่อปี 2017 ที่ผ่านมา จากการพบปะกันในครั้งนั้น ได้น�ำ มาสู่การต่อยอดธุรกิจอย่างสมบูรณ์ในครั้งนี้ โดยมีการลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) เพื่อแสดงศักยภาพและความพร้อมในการเปิดการค้าด้านวัตถุดิบอาหารสัตว์ผ่านงาน VICTAM ASIA 2018 อีกหนึ่งงานแสดงสินค้าส�ำหรับอุตสาหกรรมปศุสัตว์ที่กรุงเทพฯ ประเทศไทย โดยสองผู้จัดงานงานแสดงสินค้า มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้ร่วมมือกัน ส่งเสริมให้การค้าระหว่างประเทศในครั้งนี้เริ่มต้นได้อย่างสวยงาม ส่งผลในการกระตุ้น ภาพรวมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ พร้อมเปิดประตูการค้าส�ำหรับตลาดปศุสตั ว์ไทย - เกาหลี อย่างมีประสิทธิภาพ สาระส�ำคัญของการลงบันทึกความเข้าใจในครัง้ นีเ้ กีย่ วกับ การค้าและการแลกเปลีย่ น ข้อมูลอาหารและวัตถุดิบระหว่างไทยกับเกาหลีใต้ นี่คือก้าวที่ส�ำคัญของสองสมาคม ชั้นน�ำในภาควัตถุดิบอาหารสัตว์ เพื่อเริ่มต้นเป็นประตูสู่การค้าใหม่และเปิดโอกาสในการ เชื่อมโยงทั้งสองประเทศ ทั้งสองสมาคมมีความเชื่อมั่นว่าการลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ในครั้งนี้ จะส่งผลดีต่อทั้งสองฝ่าย ทั้งสองสมาคม จากจุดเริ่มต้นที่น�ำมาสู่ การเจรจาการค้าระหว่างประเทศอย่างสมบูรณ์ในครัง้ นี้ ทัง้ สองสมาคมแสดงให้เห็นว่า งาน แสดงสินค้าปศุสตั ว์และอาหารสัตว์ในประเทศไทยเป็นแพลตฟอร์มการค้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เสริมสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างองค์กร และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสองประเทศ ในการปรับปรุงอุตสาหกรรมปศุสัตว์และอาหารสัตว์ในเอเชียต่อไป สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย (TFMA) เป็นองค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหาผลก�ำไร ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มผู้ประกอบการที่ตระหนักถึงความส�ำคัญของการพัฒนาความร่วมมือ ระหว่างภาคปศุสัตว์ในประเทศไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยเริ่มต้นจากการเป็นกลุ่ม และจดทะเบียนภายใต้พระราชบัญญัติสมาคมการค้า พ.ศ. 2509 ในฐานะสมาคมผู้ผลิต ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

57


Around The World อาหารสัตว์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2521 วัตถุประสงค์หลักของสมาคม คือการช่วยเหลือสมาชิกในการแก้ปัญหาที่มีผลต่อธุรกิจอาหารสัตว์และปศุสัตว์ ในปี 2557 TFMA มีสมาชิกทั้งหมด 53 ราย และมีกรรมการอยู่ 17 ราย ซึ่งทางสมาคม มีพันธกิจหลักในการเอื้อประโยชน์แก่บรรดาสมาชิก โดยมีการปรับปรุงระบบข้อมูล และ สารสนเทศของมุง่ มัน่ ในการสร้างศูนย์รวบรวมข้อมูลส�ำหรับภาคปศุสตั ว์ของไทยเพือ่ ให้ธรุ กิจ นี้ มีความเข้มแข็งและมีส่งผลดีตลอดห่วงโซ่อุปทานทั้งในประเทศ และตลาดต่างประเทศ ในส่วนของสมาคมส่วนผสมอาหารสัตว์แห่งประเทศเกาหลีใต้ (KFIA) เป็นสมาคม ชั้นน�ำจากประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งมีพันธกิจหลักในการส่งเสริมการตลาดระหว่างประเทศ มีความพยายามอย่างต่อเนื่องในการตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ภายในกลุ่มบริษัท สมาชิก และยังมีการปรับปรุงระบบการจัดการอาหาร เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของสมาชิก โดยการด�ำเนินมาตรการทีจ่ ำ� เป็น อาทิ การยกเลิกกฎระเบียบ และปกป้องสิทธิ และผลประโยชน์ของสมาชิก เป็นต้น ซึง่ สมาคมส่วนผสมอาหารสัตว์แห่งประเทศเกาหลีใต้ (KFIA) ให้ความส�ำคัญอย่างยิง่ กับการเข้าร่วมงานแสดงสินค้าด้านปศุสตั ว์ในนานาประเทศ เพื่อส่งเสริมและเปิดประตูการค้านานาชาติให้ส�ำเร็จตามพันธกิจขององค์กร ในระหว่างการลงนามบันทึกความเข้าใจในครั้งนี้ นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายกสมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย (TFMA) และนายพัค เฮ ซัง ประธานสมาคมส่วนผสม อาหารสัตว์แห่งประเทศเกาหลี (KFIA) เผยว่า “วัตถุประสงค์ของบันทึกความเข้าใจนี้ คือ การส่งเสริมการพัฒนา การกระจายความหลากหลายของการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และข้อมูลทางการค้า ตลอดจนความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศของทั้งสอง สมาคม ซึง่ ทัง้ สองฝ่ายเห็นพ้องกันทีจ่ ะส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกทีน่ ำ� ไปสูก่ ารส่งเสริม เศรษฐกิจในอนาคตต่อไป ความร่วมมือครั้งนี้จะน�ำมาสู่การแลกเปลี่ยน ภาพรวมของ ตลาด การเผยแพร่ข้อมูลทางการค้า และเพิ่มโอกาสทางธุรกิจส�ำหรับประเทศไทย และ เกาหลีใต้ตอ่ ไป ซึง่ การลงนามในครัง้ นีจ้ ะประสบความส�ำเร็จมิได้หากปราศจากความร่วมมือ ของสองผู้จัดงานทั้ง งาน VIV Asia และ งาน VICTAM ASIA ซึ่งได้ช่วยประสานงานกัน อย่างพร้อมเพรียง และน�ำมาสู่ความร่วมมือระหว่างประเทศในครั้งนี้” สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม: กรุณาติดต่อ: คุณแสงทิพ เตชะปฏิภาณดี - ฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัท วีเอ็นยู เอ็กซิบิชั่นส์ เอเชีย แปซิฟิค จ�ำกัด อีเมล saengtip.won@vnuexhibitionsap.com หรือโทร. 02 - 6700900 ต่อ 122

58 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World

» สรุปข่าวจากสำ�นักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ « ๏ ฝรั่งเศส ไข้หวัดนกระบาด! สิงคโปร์ระงับนำ�เข้าไก่ หน่วยงานเกษตร อาหาร และสัตวแพทย์แห่งสิงคโปร์ (Agri - Food & Veterinary Authority of Singapore, AVA) ระงับการน�ำเข้าเนื้อไก่ชั่วคราวจากพื้นที่หนึ่งในจังหวัดซาร์ต (Sarthe) ของประเทศ ฝรั่งเศส และพื้นที่ใกล้เคียงในรัศมี 1 กิโลเมตรแล้ว เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2561 เนื่องจากมีรายงาน การระบาดของเชื้อไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 และ H5N5 ชนิดไม่รุนแรง (Low Pathogenicity Avian Influenza, LPAI) ทีฟ่ าร์มไก่จำ� นวนหนึง่ ในพืน้ ทีด่ งั กล่าว อย่างไรก็ตาม เนือ้ ไก่จากจังหวัดอืน่ ในฝรัง่ เศส ยังสามารถน�ำเข้าได้ แต่ต้องมีใบ Health Veterinary Certificate ซึ่งเป็นใบรับรองว่ามาจากแหล่งปลอด โรคระบาด และเนื้อไก่ที่ผ่านกระบวนการผลิตฆ่าเชื้อด้วยความร้อนไม่ถูกระงับน�ำเข้า (ที่มา : ava.gov.sg สรุปโดย : มกอช. (18/4/61))

๏ ไต้หวัน สั่งกำ�จัดสัตว์ปีกกว่าหมื่นตัว หลังพบหวัดนกระบาดเพิ่ม เมื่อวันที่ 16 เมษายน 2561 หน่วยงาน Animal Health Inspection and Protection Office ของไต้หวัน สั่งก�ำจัดสัตว์ปีกกว่า 10,820 ตัว ภายในฟาร์มสัตว์ปีกที่เมืองไถหนัน หลังได้รับการยืนยัน พบไข้หวัดนกสายพันธุร์ นุ แรง H5N2 ระบาด ซึง่ นับว่าเป็นการก�ำจัดครัง้ ทีส่ าม หลังจากได้รบั ผลกระทบ จากโรคดังกล่าว โดยเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้ด�ำเนินการฆ่าเชื้อ และเฝ้าระวังเชื้อไข้หวัดนก พร้อมมีการ ปรับปรุงขัน้ ตอนการตรวจติดตามฟาร์มสัตว์ปกี ทีต่ ดิ เชือ้ และฟาร์มสัตว์ในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง โดยหน่วยงาน ภาครัฐได้เรียกร้องให้ผู้ประกอบการฟาร์มสัตว์ปีกดูแลฟาร์มให้มีอากาศถ่ายเท และป้องกันไม่ให้นก ในธรรมชาติเข้ามาภายในฟาร์มสัตว์ปีก เนื่องจากอาจเป็นพาหะของไข้หวัดนก ทั้งนี้ สภาเกษตร (COA) ได้รายงานข้อมูล พบฟาร์มสัตว์ปีกในไต้หวันติดเชื้อไข้หวัดนกแล้ว จ�ำนวน 63 แห่ง และสั่งก�ำจัดสัตว์ปีกแล้วกว่า 473,058 ตัว (ที่มา : focustaiwan.tw สรุปโดย : มกอช. (17/04/61))

๏ ซาอุดีอาระเบีย ไข้หวัดนกระบาด! ไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N8 เป็นเชือ้ ไวรัสทีเ่ กิดจากเชือ้ ไวรัสอินฟลูเอนซ่าชนิดเอ (Influenza A) และ สามารถระบาดได้ในไก่ ไก่งวง เป็ด และห่าน เชือ้ ไวรัสดังกล่าวถูกค้นพบครัง้ แรกทีป่ ระเทศไอร์แลนด์ในปี 1983 และหลังจากนั้น ก็มีการพบเชื้อดังกล่าวอีกในหลายประเทศทั่วโลก โดยในปี 2016 - 2017 มีการ ระบาดในสหราชอาณาจักรและทวีปยุโรป ต่อมามีการระบาดอีกที่ตะวันออกกลาง แอฟริกา และเอเชีย กระทรวงสิ่งแวดล้อม น�้ำ และเกษตรแห่งซาอุดีอาระเบีย (Ministry of Environment, Water and Agriculture for Saudi Arabia) พบการระบาดไข้หวัดนก สายพันธุ์ H5N8 ในเขตการ์จ (Kharj Governorate region) จึงได้เก็บไก่จากเขตต่างๆ เพื่อตรวจสอบ และพบว่ามีไก่มากถึง 171 ตัวที่ติดเชื้อ ดังกล่าวแล้ว ดังนั้นทางการจึงก�ำจัดไก่มากถึง 254,050 ตัวทิ้งภายใน 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ มีค�ำแนะน�ำว่า ไม่ควรสัมผัสสัตว์ปีก หรือนกป่าที่ป่วย หรือตายแล้ว และควรแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ควรล้างมือด้วยสบู่ หรือสารฆ่าเชื้อเพื่อสุขอนามัยที่ดี (ที่มา : globalmeatnews.com สรุปโดย : มกอช. (11/4/61)) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

59


Around The World

๏ บราซิลโชว์พาว การันตีไข่จากแม่พันธุ์ปลอดโรคไข้หวัดนก โรคไข้หวัดนก และโรคนิวคาสเซิลนั้น เป็นก�ำแพงกีดกันทางการค้า และมีผลกระทบต่อการ ส่งออกของบราซิลอย่างมาก ดังนั้น บริษัทผลิตแม่พันธุ์ไข่ไก่แห่งหนึ่งจึงได้ค้นคว้าวิจัยแม่พันธุ์ไข่ไก่ ที่สามารถต้านทานโรคร้ายแรงดังกล่าวได้ โดยลงทุนมากถึง 5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และใช้เวลานานถึง 5 ปี ในการพัฒนาเรื่องนี้ กระทรวงเกษตร ปศุสัตว์ และการผลิตอาหารแห่งบราซิล (The Brazilian Ministry of Agriculture, Livestock and Food Supply, MAPA) ได้มอบรางวัลให้แก่บริษัทนี้ และรับรองให้เป็นสถานะ คอมพาร์ตเมนต์ (Compartmentalisation Status) ซึ่งเป็นสถานะที่องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่าง ประเทศ (World Organisation for Animal Health, WHO) ให้การยอมรับว่ามีมาตรฐานสูงด้านระบบ ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) นั้นหมายความว่า แม่พันธุ์ไก่ไข่จากบริษัทนี้มีความปลอดภัย เชิงพันธุกรรมในการต้านทานโรค ซึ่งฟาร์มที่ผลิตไข่ไก่โดยใช้แม่พันธุ์ไก่ไข่จากบริษัทนี้ สามารถส่งออก ไข่ไก่ได้ แม้ในช่วงการระบาดของโรคร้ายแรง และยังช่วยลดการกีดกันทางการค้ากับประเทศคู่ค้า ของบราซิลได้อีกทางหนึ่งด้วย (ที่มา : poultryworld.net สรุปโดย : มกอช. (4/4/61))

๏ ไทยไฟเขียวน�ำเข้ากุ้งอินเดีย 5 หมื่นตัน คณะกรรมการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมน�ำเข้ากุ้งไทยไฟเขียวน�ำเข้ากุ้งขาวแวนนาไมจากอินเดีย ปริมาณ 5 หมืน่ ตัน แต่หา้ มน�ำเข้าช่วงผลผลิตกุง้ ไทยออกสูต่ ลาด และราคาห้ามต�ำ่ กว่ากิโลกรัมละ 120 บาท เนือ่ งมาจากว่าผลผลิตในประเทศทีม่ ปี ระมาณ 4 แสนตันนัน้ ไม่เพียงพอต่อการแปรรูปเพือ่ ส่งออก โดยคาดว่า กรมประมงจะประกาศรายละเอียดในการน�ำเข้ากุง้ ขาวจากอินเดียได้ในช่วงครึง่ หลังปี 2561 นี้ เนือ่ งจากต้องส่งเจ้าหน้าทีไ่ ปตรวจโรคระบาด โดยเฉพาะโรค IMNV (โรคกล้ามเนือ้ ตายจากเชือ้ ไวรัส ที่ยังไม่พบการระบาดในประเทศไทย) ตลอดจนสารตกค้าง และยาฏิชีวนะที่อินเดีย ซึ่งอาจต้องใช้เวลา ถึง 4-5 เดือน ท�ำให้การน�ำเข้าอาจยืดเยื้อไปจนถึงกลางปี 2562 (ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ สรุปโดย : มกอช. (9/2/61))

๏ อินเดียคาด ส่งออกกุ้งโตกว่าร้อยละ 30 อินเดียคาดการณ์ว่าปริมาณการส่งออกกุ้งในปี 2018 จะสูงกว่า 500,000 ตัน หรือเพิ่มขึ้นราว ร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับปี 2017 โดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถืออินเดีย (Indian credit ratings agency; ICRA) ได้รายงานว่า การส่งออกกุ้งของอินเดียมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง และคาดว่า ในครึง่ ปีแรกของปี 2018 จะสามารถส่งออกได้เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 33.6 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2017 และคาดว่าอัตราการเติบโตเฉลี่ยทั้งปีจะอยู่ที่ประมาณร้อยละ 25-30 เนื่องจากมียอดความต้องการ สั่งซื้ออย่างต่อเนื่องจากผู้น�ำเข้ารายใหญ่ เช่น สหรัฐอเมริกา (ที่มา : undercurrentnews สรุปโดย : มกอช. (08/01/61))

60 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World

การเปรียบเทียบการเสริมซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว และเสริมร่วมกับยาปฏิชีวนะ ในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโตที่มีต่อประสิทธิภาพการผลิตของไก่เนื้อ Comparative evaluation of a synbiotic alone or in combination with different antibiotic growth promoters onperformance of broilers ๏ อดิลักข์ เล็บนาค1*, ยุวเรศ เรืองพานิช2, Basharat Syed3 ๏

≥ บทคัดย่อ ≤ หลายปีที่ผ่านมามีการให้ความสนใจเกี่ยวกับ ซินไบโอติก (Synbiotic) ในอาหารสัตว์ปีกเพิ่ม มากขึน้ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต และเป็นทางเลือกเพือ่ ใช้ทดแทนยาปฏิชวี นะในระดับกระตุน้ การ เจริญเติบโต (Antibiotic Growth Promotors; AGPs) ในการทดลองครั้งนี้จัดท�ำขึ้น เพื่อเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการผลิตของไก่เนื้อภายใต้อิทธิพลของการใช้ซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว และซินไบโอติก ร่วมกับยาปฏิชวี นะชนิดต่างๆ ในระดับกระตุน้ การเจริญเติบโต โดยใช้ไก่เพศผูแ้ รกเกิดสายพันธุร์ อส 308 จ�ำนวน 1,260 ตัว แบ่งเป็น 7 กลุ่มการทดลอง กลุ่มละ 6 ซ�้ำ ซ�้ำละ 30 ตัว เลี้ยงเป็นเวลา 42 วัน อาหารทดลองประกอบด้วย ข้าวโพดและกากถัว่ เหลืองเป็นหลัก โดยแบ่งออกเป็น 7 กลุม่ ดังนี้  อาหาร ควบคุมไม่ใช้ยาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโต  อาหารควบคุมเสริมด้วยแบซิตราซิน 100 กรัมต่อตันอาหาร  อาหารควบคุมเสริมด้วยโคลิสติน 10 กรัมต่อตันอาหาร  อาหารควบคุม เสริม ด้วยซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์®เอ็มอี) 500 กรัมต่อตันอาหาร  อาหารควบคุมเสริมด้วยซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์®เอ็มอี) 500 กรัมต่อตันอาหาร และแบซิตราซิน 60 กรัมต่อตันอาหาร   อาหารควบคุม ® เสริมด้วยซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์ เอ็มอี) 500 กรัมต่อตันอาหาร และโคลิสติน 5 กรัมต่อตันอาหาร และ  อาหารควบคุมเสริมด้วยซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์®เอ็มอี) 500 กรัมต่อตันอาหารแบซิตราซิน 60 กรัมต่อตันอาหาร และโคลิสติน 5 กรัมต่อตันอาหาร ผลการทดลองพบว่า น�ำ้ หนักตัวทีเ่ พิม่ ขึน้ ในช่วงทีส่ ำ� คัญของการผลิต (0 - 10วันของอายุไก่) ของไก่ กลุ่มที่เสริมด้วยซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว มีค่าสูงกว่ากลุ่มที่เสริมด้วยซินไบโอติกร่วมกับแบซิตราซิน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่เมื่อพิจารณาตลอดช่วงการทดลองจะไม่พบความแตกต่าง ทางสถิติในส่วนของน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น อัตราการกินอาหาร และประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็น น�้ำหนักตัวของทุกกลุ่มการทดลอง เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่เสริมด้วยซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว กองควบคุมอาหารและยาสัตว์ ศูนย์ราชการกรมปศุสัตว์ปทุมธานี อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม 3 บริษัท ไบโอมินโฮลดิ้ง จีเอ็มบีเอช, เออร์เบอร์ แคมปัส 1, 3131 เมืองเกทเซอร์ดอร์ฟ, ประเทศออสเตรีย 1 2

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

61


Around The World ทั้งนี้ตลอดการทดลอง กลุ่มที่เสริมด้วยซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว มีประสิทธิภาพการเปลี่ยน อาหารเป็นน�้ำหนักตัวเท่ากับ 1.87 ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัว ที่ดีขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมซึ่งมีประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัวเท่ากับ 1.93 (P = 0.0756) รวมถึงอัตราการตายของกลุ่มที่เสริมซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว มีแนวโน้มลดลงเมื่อ เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมโดยมีอัตราการตาย 1.11 และ 2.78 เปอร์เซ็นต์ตามล�ำดับ โดยสรุป การ ใช้สารเสริมกลุ่มซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์®เอ็มอี) เป็นทางเลือกที่มีประสิทธิภาพในการใช้เพื่อทดแทน ยาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโต และไม่จ�ำเป็นต้องใช้ร่วมกับยาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้น การเจริญเติบโต เช่น แบซิตาซิน และโคลิสตินในอาหารไก่เนื้อ ค�ำส�ำคัญ: ไก่เนื้อ, ประสิทธิภาพการผลิต, ซินไบโอติก, โปรไบโอติก, ยาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้นการ เจริญเติบโต

≥ Abstract ≤ There has been a growing interest in recent years in feeding synbiotics to poultry for improving growth performance as alternatives to antibiotic growth promoters (AGP’s). The objective of this experiment was to compare performance of broilers under the influence of a synbiotic supplementation alone or in combinationwith AGP’s. A total of 1260 Ross 308 male day old broiler chicks were randomly assigned to sevengroups, each consisting of 6 replicates with 30 birds per replicate. The trial was conducted for a period of 42 days duration. Dietary groups included a corn - soybean based control diet without growth promoter (G1) and the treatment diets containing either Bacitracin, (100 ppm, G2), Colistin (10 ppm, G3), Synbiotic (PoultryStar me, 0.5 kg/t, G4) or a combination of Synbiotic (0.5 kg/t) and Bacitracin (60 ppm, G5), Synbiotic (0.5 kg/t) and Colistin (5 ppm, G6) and Synbiotic (0.5 kg/t), Bacitracin (60 ppm) and Colistin (5 ppm G7). Synbiotic supplementation in broiler feed resulted in significantly higher body weight gain (BWG) than its combination with Bacitracin (P<0.05) during the critical phase of rearing from 0 - 10 days. None of the other groups showed any significant improvement in BWG, feed intake (FI) or feed conversion ratio (FCR) compared to the only synbiotic application (G4) during the overall experimental period from 0 - 42 days.

62 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World A tendency to improved FCR was observed in the synbiotic group (P = 0.0756, G4, 1.87) compared to control (G1, 1.93) during overall trial period. Bird mortality was also lower in the synbiotic group (G4, 1.11%) compared to control (G1, 2.78%). It can be concluded that synbiotic employed (PoultryStar me) could serve as an effective alternative in place of using AGP's like Bacitracin and Colistin in broiler diets. It can also serve this purpose without combining it with AGP's like Bacitracin and/or Colistin. Key words: Broilers, performance, synbiotic, probiotic, antibiotic growth promoters

≥ บทนำ� ≤ เนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับการตกค้างของยาปฏิชีวนะ โปรไบโอติกจึงได้รับความสนใจเป็น อย่างยิง่ และเป็นทางเลือกในการทดแทนยาปฏิชวี นะในอุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปกี (Gustafson and Bowen, 1997) สารเสริมอาหารสัตว์กลุม่ นีถ้ กู ใช้เป็นจ�ำนวนมากเพือ่ ทดแทนยาปฏิชวี นะในระดับกระตุน้ การเจริญเติบโต การห้ามใช้ยาปฏิชีวนะในอาหารสัตว์ เป็นแรงผลักดันหลักที่ท�ำให้เกิดการใช้สารเสริม อาหารสัตว์กลุม่ ซินไบโอติกเพือ่ เป็นทางเลือกในการทดแทนยาปฏิชวี นะในระดับกระตุน้ การเจริญเติบโต โดยที่จะต้องให้คุณประโยชน์ที่เหมือนเดิมหลังจากที่ใช้ในอาหารสัตว์ไปแล้ว แม้จะมีการถกเถียงกันเกีย่ วกับกลไกการท�ำงานของยาปฏิชวี นะทีอ่ ยูใ่ นอาหารสัตว์ (Huyghebaert et al., 2011) แต่ก็เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่ายาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโตมีฤทธิ์ต้าน เชื้อแบคทีเรีย ซึ่งช่วยลดอุบัติการณ์และความรุนแรงของการติดเชื้อแบบไม่แสดงอาการ อีกทั้งยังช่วย ลดปริมาณสารอาหารทีอ่ าจถูกใช้ไปโดยแบคทีเรีย และเพิม่ ปริมาณการดูดซึมสารอาหารในล�ำไส้โดยการ ท�ำให้เนื้อเยื่อชั้นมิวโคซาบางลง (Snyder and Wostmann, 1987; Brennan et al., 2003) ส่งผล ให้ประสิทธิภาพการผลิตสัตว์ดีขึ้น และมาจากเหตุผลที่ว่า การใช้ยาปฏิชีวนะในระดับการกระตุ้นการ เจริญเติบโตนั้น โดยปกติแล้วจะไม่สามารถกระตุ้นการเจริญเติบโตในสัตว์ที่ปราศจากเชื้อโรคในเชิง ปฏิบตั ขิ องอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ทใี่ ช้ยาปฏิชวี นะในระดับทีต่ ำ�่ กว่าการรักษาไม่พบว่ามีผลต่อ การยับยัง้ การเจริญเติบโตของเชือ้ แบคทีเรียประจ�ำถิน่ (Niewold, 2007) แต่อย่างไรก็ตาม เมือ่ มีการใช้ ยาปฏิชวี นะในอาหารไก่เนือ้ ในระดับทีต่ ำ�่ กว่าระดับทีส่ ดุ ทีม่ ผี ลต่อการยับยัง้ การเจริญเติบโตของจุลนิ ทรีย์ พบว่ามีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสมดุลของจุลินทรีย์ในล�ำไส้ (Pedroso et al., 2006; Wise and Siragusa, 2007) ซึ่งเป็นผลกระทบจากยาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโต การเปลีย่ นแปลงสัดส่วนของจุลนิ ทรียใ์ นล�ำไส้สง่ ผลต่อลักษณะกายวิภาคของผนังล�ำไส้ รวมไปถึง การตอบสนองของภูมคิ มุ้ กัน ซึง่ จะมีสง่ เสริมการเจริญเติบโตในสัตว์นนั้ ๆ เนือ่ งจากมีผลต่อการใช้พลังงาน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

63


Around The World ภายในตัวสัตว์ (Teirlynck et al., 2009) ดังนั้นสารใดที่จะถูกน�ำมาใช้เป็นทางเลือกเพื่อทดแทนยา ปฏิชวี นะในระดับกระตุน้ การเจริญเติบโตจึงควรมีผลต่อการเปลีย่ นแปลงสมดุลของจุลนิ ทรียใ์ นล�ำไส้ และ ปรับปรุงระบบภูมิคุ้มกันไปในทิศทางเดียวกับที่การใช้ยาปฏิชีวนะในระดับการกระตุ้นการเจริญเติบโต สามารถท�ำได้ การเสริมโปรไบโอติก (Probiotic) ในอาหารส่งผลต่อการคงอยู่และจ�ำนวนของจุลิทรีย์ที่เป็น ประโยชน์ในล�ำไส้ ซึง่ จะเพิม่ ความสามารถในการก�ำจัดเชือ้ ก่อโทษ และเพิม่ ประสิทธิภาพของการตอบสนอง ของระบบภูมคิ มุ้ กัน ส่งผลให้ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตดีขนึ้ (Dhama et al., 2011; Yang et al., 2012; Mountzouris, 2014; Mountzouris et al., 2015). โปรไบโอติก คือ จุลินทรีย์ที่มีชีวิต เมื่อใช้ในอาหารสัตว์ควรจะท�ำงานก่อประโยชน์เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการท�ำงานของล�ำไส้ สร้างสมดุลของจุลินทรีย์ การตอบสนองของภูมิคุ้มกัน และสุขภาพ โดยรวมของตัวสัตว์ (FAO/WHO, 2002) การท�ำงานร่วมกัน (Synergistic) ระหว่างโปรไบโอติก และพรีไบโอติก (Prebiotic) ในทางเดิน อาหาร สามารถเรียกอีกอย่างว่าซินไบโอติก (Roberfroid, 1998) การเสริมโปรไบโอติกร่วมกับ พรีไบโอติก สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบของจุลินทรีย์ภายในล�ำไส้ ส่งผลให้สามารถมีผลต่อการควบคุม การติดเชื้อในสัตว์ปีกได้ (Mead, 2000) โปรไบโอติกสามารถแข่งขันในการยึดเกาะพื้นที่บนผิวล�ำไส้ และการใช้ประโยชน์จากสารอาหารกับเชื้อก่อโรค (Nava, et al., 2005) กระตุ้นการตอบสนองของ ภูมคิ มุ้ กัน (Koenen, et al., 2004) ผลิตสารยับยัง้ แบคทีเรีย และเอนไซม์ในการย่อยสารอาหาร (Saarela, et al., 2000) ส่วนพรีไบโอติก คือ คาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายสัตว์ไม่สามารถย่อยได้ มักใช้ร่วมกับ โปรไบโอติกเพื่อเป็นอาหารแก่จุลินทรีย์ที่ดี ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีประโยชน์ ในล�ำไส้สัตว์ (Lee, et al., 2016) หรือเป็นสารที่มีโครงสร้างคล้ายคลึงกับพื้นที่ผิวบริเวณที่แบคทีเรีย ก่อโรคยึดเกาะบนล�ำไส้ ดังนั้น จึงสามารถลดปริมาณแบคทีเรียก่อโทษที่จะลงยึดเกาะบนผิวล�ำไส้ได้ เป็นการปรับสมดุลแบคทีเรีย เพื่อเพิ่มแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในล�ำไส้ (Ija and Tivey, 1998) ดังนั้น จึงมีความน่าสนใจในการประเมินผลการเสริมของโปรไบโอติกต่อประสิทธิภาพการผลิตไก่เนื้อ ผลิตภัณฑ์ประเภทซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์®เอ็มอี) ที่ใช้ในการทดลองนี้ประกอบไปด้วย แบคทีเรียสายพันธุ์ เอนเทอร์โรคอคคัส (Enterococcus), ไบฟิโดแบคทีเรียม (Bifidobacterium), พีดคิ อคคัส (Pedicoccus) และแลคโตแบซิลสั (Lactobacillus) และฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ (Fructooligosaccharides) อย่างไรก็ตาม การให้ยาปฏิชวี นะในระดับกระตุน้ การเจริญเติบโตนัน้ พบว่ามีผลต่อการ กระตุน้ การเจริญเติบโตและปรับสมดุลของภูมคิ มุ้ กัน (Niewold, 2007; Kogut and Swaggerty, 2012; Mountzouris, 2014) แต่ผลการใช้ร่วมกันกับผลิตภัณฑ์ซินไบโอติก ในแง่ของการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตของไก่เนื้อนั้นยังไม่มีข้อมูลที่บ่งบอกชัดเจน

64 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561



1.R&D µ¦ª· ´¥Â¨³¡´ µ 2.Consultation µ¦Ä®o µÎ ¦¹ ¬µ 3.Design µ¦°°  4.Manufacture µ¦ ¨· 5.Logistics µ¦ ¦·®µ¦ o µ µ¦ ´ Á È Â¨³ ­n 6.Installation µ¦ · ´ Ê 7.Commissioning µ¦ ­° 8.Training µ¦ ¹ ° ¦¤ 9.Service µ¦Ä®o ¦· µ¦®¨´ µ¦ µ¥

Pellet mill Dryer

Extruder

Pulverizer

Mixer

Hammer mill


Around The World วัตถุประสงค์ในการทดลองครั้งนี้ จึงเพื่อศึกษาผลของการเสริมผลิตภัณฑ์ซินไบโอติกที่ประกอบ ไปด้วยจุลินทรีย์หลายสายพันธุ์ที่มีความจ�ำเพาะต่อสัตว์ปีกในอาหารเพียงอย่างเดียว หรือเสริมร่วมกับ ยาปฏิชีวนะกลุ่มแบซิตาซิน และโคลิสติน ในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโตที่มีต่อประสิทธิภาพการผลิต ไก่เนื้อ

≥ อุปกรณ์และวิธีการทดลอง ≤ 1. สัตว์ทดลอง การทดลองนี้ท�ำการเลี้ยงไก่เนื้อเป็นระยะเวลา 42 วัน โดยใช้ลูกไก่เนื้อแรกเกิดเพศผู้ สายพันธุ์ รอส 308 จ�ำนวน 1,260 ตัว (น�้ำหนักตัวเฉลี่ย 45 กรัม ที่ 6 ชั่วโมงหลังจากฟักออกจากไข่) และ ปฏิบตั ติ ามเกณฑ์มาตรฐานทางจริยธรรมของสถาบันทีม่ อี ยู่ ท�ำการชัง่ น�ำ้ หนักลูกไก่ทกุ ตัว และแบ่งออก เป็น 7 กลุ่มทดลอง กลุ่มละ 6 ซ�้ำ ซ�้ำละ 30 ตัว ไก่ทุกตัวถูกเลี้ยงบนพื้นคอกที่ปูด้วยแกลบเป็นวัสดุ รองพืน้ ในคอกประกอบด้วยถังอาหาร และถังน�ำ้ แบบแขวน อาหารแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ อาหาร ระยะเล็ก อายุ 1 - 10 วัน อาหารระยะรุ่น อายุ 11 - 24 วัน อาหารระยะขุน 1 อายุ 25 - 35 วัน อาหาร ระยะขุน 2 อายุ 36 - 42 วัน โดยเป็นอาหารผงทั้งหมดตลอดระยะเวลาการทดลอง ให้อาหารและน�้ำ แบบไม่จ�ำกัด เปิดไฟ 23 ชั่วโมง และปิดไฟ 1 ชั่วโมงต่อวัน และอยู่ในโรงเรือนปิดแบบควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น และแรงลมตลอดการทดลอง ในสัปดาห์แรกของอายุไก่ควบคุมอุณหภูมิที่ 32 ถึง 34 องศา เซลเซียส หลังจากนัน้ ควบคุมอุณหภูมทิ ่ี 27 ถึง 25 องศาเซลเซียส ไก่ได้รบั วัคซีนป้องกันโรคนิวคลาสเซิล (ND Live B1) และโรคหลอดลมอักเสบในวันที่ 7 ของอายุไก่ วัคซีนป้องกันโรคกัมโบโรในวันที่ 14 ของ อายุไก่ และวัคซีนป้องกันโรคนิวคลาสเซิล (La Sota strain) และโรคหลอดลมอักเสบในวันที่ 21 ของ อายุไก่ มีการสังเกตการณ์สุขภาพสัตว์เป็นประจ�ำทุกวัน และบันทึกอย่างต่อเนื่อง บันทึกอุณหภูมิ โรงเรือน ความชื้นสัมพัทธ์ การระบายอากาศ และแสงสว่างตลอดช่วงทดลองเป็นประจ�ำทุกวัน 2. การออกแบบการทดลอง และอาหารทดลอง การทดลองแบ่งไก่ออกเป็น 7 กลุม่ อาหารทดลอง กลุม่ ละ 6 ซ�ำ้ ซ�ำ้ ละ 30 ตัว ตามวิธกี ารสุม่ แบบ สมบูรณ์ เพือ่ ลดความแตกต่างของกลุม่ ทดลอง รายละเอียดของอาหารทดลองแต่ละกลุม่ ตามตารางที่ 1

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

65


Around The World ตารางที่ 1 รายละเอียดของอาหารทดลอง กลุ่มทดลอง กลุ่มที่ 1 อาหารควบคุม กลุ่มที่ 2 อาหารควบคุม เสริมด้วยยาปฏิชีวนะ1 กลุ่มที่ 3 อาหารควบคุม เสริมด้วยยาปฏิชีวนะ2 กลุ่มที่ 4 อาหารควบคุม เสริมด้วยซินไบโอติก กลุ่มที่ 5 อาหารควบคุม เสริมด้วยซินไบโอติก ร่วมกับยาปฏิชีวนะ1 กลุ่มที่ 6 อาหารควบคุม เสริมด้วยซินไบโอติก ร่วมกับยาปฏิชีวนะ2 กลุ่มที่ 7 อาหารควบคุม เสริมด้วยซินไบโอติก ร่วมกับยาปฏิชีวนะ1 และยาปฏิชีวนะ 2

รายละเอียด ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโต แบซิตาซิน 100 กรัมต่อตันอาหาร โคลิสติน 10 กรัมต่อตันอาหาร ซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์®เอ็มอี 500 กรัมต่อตันอาหาร) ซินไบโอติก 500 กรัมต่อตันอาหาร ร่วมกับแบซิตาซิน 60 กรัม ต่อตันอาหาร ซินไบโอติก 500 กรัมต่อตันอาหาร ร่วมกับโคลิสติน 5 กรัม ต่อตันอาหาร ซินไบโอติก 500 กรัมต่อตันอาหาร ร่วมกับแบซิตาซิน 60 กรัม ต่อตันอาหารและโคลิสติน 5 กรัมต่อตันอาหาร

วัตถุดบิ และส่วนประกอบทางโภชนะของอาหารทดลองแสดงในตารางที่ 2 ผลิตภัณฑ์ซนิ ไบโอติก ทีใ่ ช้ในการศึกษาครัง้ นีม้ าจาก บริษทั ไบโอมิน กรุป๊ เมืองเก็ทเซอส์ดรอฟ ประเทศออสเตรีย และถูกน�ำ มาใช้ในอาหารตามค�ำแนะน�ำของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์®เอ็มอี) ที่ใช้ใน การทดลองนี้ประกอบไปด้วยแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ได้แก่ เอนเทอร์โรคอคคัส (Enterococcus) ไบฟิโดแบคทีเรียม (Bifidobacterium) พีดิคอคคัส (Pedicoccus) และแลคโตแบซิลัส (Lactobacillus) และฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ ตารางที่ 2 ส่วนประกอบและปริมาณของวัตถุดิบ และค่าโภชนะที่ค�ำนวณได้ในอาหาร วัตถุดิบ ข้าวโพด กากถั่วเหลืองสกัดน�้ำมัน (โปรตีน 46 เปอร์เซ็นต์) ถั่วอบไขมันเต็ม (โปรตีน 35.5 เปอร์เซ็นต์) ร�ำข้าว โมโนไดแคลเซียมฟอสเฟต (แคลเซียม 16.9 เปอร์เซ็นต์, ฟอสฟอรัส 21.6 เปอร์เซ็นต์) หินฝุ่น (แคลเซียม 38.7 เปอร์เซ็นต์) เกลือ โซเดียม ไบคาร์บอเนต (โซเดียม 27 เปอร์เซ็นต์) โคลีน คลอไรด์ (60 เปอร์เซ็นต์) พรีมิกซ์ แอล - ไลซีน

66 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

ระยะเล็ก ระยะรุ่น ระยะขุน 1 ระยะขุน 2 (1 - 10 DOA) (11 - 24 DOA) (25 - 35 DOA) (36 - 42 DOA) 53.40 57.17 61.69 61.69 30.78 25.94 19.77 19.77 12.00 13.50 15.00 15.00 0.50 0.50 1.24 1.24 0.52

0.33

0.09

0.09

0.96 0.41 0.05 0.04 0.60 0.28

0.87 0.41 0.05 0.03 0.60 0.22

0.72 0.39  -  0.04 0.60 0.19

0.72 0.39  -  0.04 0.60 0.19

»»


Around The World

«« วัตถุดิบ ดีแอล - เมทไธโอนีน แอล - ทรีโอนีน ซาลิโนมายซิน (66 ppm) สารกันหืน เอนไซม์ไฟเตส รวม พลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้ส�ำหรับสัตว์ปีก (กิโลแคลลอรี่ ต่อกิโลกรัม) โปรตีน ไขมัน เยื่อใย ไลซีนที่ย่อยได้ เมทไธโอนีนที่ย่อยได้ ทรีโอนีนที่ย่อยได้ ไลซีน เมทไธโอนีน+ ซีสเตอีน เมทไธโอนีน ทรีโอนีน แคลเซียม ฟอสฟอรัสรวม ฟอสฟอรัสที่ใช้ประโยชน์ได้ส�ำหรับสัตว์ปีก คลอไรด์ โซเดียม เกลือ

ระยะเล็ก ระยะรุ่น ระยะขุน 1 ระยะขุน 2 (1 - 10 DOA) (11 - 24 DOA) (25 - 35 DOA) (36 - 42 DOA) 0.26 0.22 0.20 0.20 0.13 0.09 0.06 0.06 0.05 0.05 0.05  -  0.02 0.02 0.02 0.02 0.01 0.01 0.01 0.01 100.00 100.00 100.00 100.00 3053

3100

3200

3200

23.00 5.02 4.00 1.28 0.51 0.88 1.44 0.92 0.61 0.97 0.80 0.60 0.33 1700 0.19 0.45

21.50 5.41 3.90 1.15 0.47 0.79 1.30 0.87 0.55 0.88 0.72 0.55 0.29 1600 0.19 0.45

19.50 6.54 3.72 1.02 0.43 0.70 1.17 0.80 0.50 0.78 0.61 0.48 0.24 1500 0.17 0.42

19.50 6.54 3.72 1.02 0.43 0.70 1.17 0.80 0.50 0.78 0.61 0.48 0.24 1500 0.17 0.42

อาหารทดลองทุกกลุ่มถูกน�ำไปวิเคราะห์หาค่าโภชนะโดยวิธีของ AOAC, 2016 เพื่อหาวัตถุแห้ง (DM, method 934.01) โปรตีนรวม (method 988.05) เยื่อใยรวม (method 962.09, CF, Foss Fiber Cap 2021 Fiber Analysis System, Foss Analytical,Hilleroed, Denmark) และไขมันรวม (petroleum ether extraction; method 920.39) โดยสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารทุกกลุ่ม และทุกระยะ ของการทดลอง ตามตารางที่ 3

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

67


Around The World ตารางที่ 3 องค์ประกอบทางโภชนะของอาหารทดลอง โดยการวิเคราะห์ทางเคมี (proximate analysis) โภชนะ (เปอร์เซ็นต์)

ระยะเล็ก 22.31 4.39 6.01 4.6 0.79 0.41 4,657.52

โปรตีน เยื่อใย ไขมัน เถ้า แคลเซียม ฟอสฟอรัส พลังงานรวม (แคลลอรี่ต่อกรัม)

ระยะ

ระยะรุ่น 20.54 4.66 6.26 4.69 0.8 0.43 4,684.73

ระยะขุน 1 18.25 4.08 5.49 3.87 0.63 0.34 4,530.39

ระยะขุน 2 18.68 3.87 6.08 3.84 0.57 0.33 4,603.69

3. การบันทึกผลการทดลอง น�ำ้ หนักไก่มชี วี ติ จะถูกชัง่ น�ำ้ หนักรวมในแต่ละซ�ำ้ ของกลุม่ ทดลอง และชัง่ ทุกกลุม่ การทดลองในวันที่ 0, 10, 24, 35 ของอายุไก่ และชั่งน�้ำหนักรายตัวในวันที่ 42 ของอายุไก่ น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น (Body weight gain; BWG) ได้จากการค�ำนวณปริมาณอาหารที่กิน (Feed intake; FI) และปริมาณอาหาร ที่กินเฉลี่ย (Average for feed intake; FI) จะถูกชั่งพร้อมกับการชั่งน�้ำหนักไก่มีชีวิตในแต่ละครั้ง อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัว (Feed conversion ratio; FCR) ค�ำนวณจากปริมาณอาหาร ที่กิน และน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นในแต่ละระยะของการชั่งน�้ำหนัก ตามกลุ่มการทดลองหลังจากปรับอัตรา การตายแล้ว 4. การวิเคราะห์และคำ�นวณทางสถิติ คอกทดลอง (ซ�ำ้ ) คือหน่วยทดลอง และข้อมูลในแต่ละซ�ำ้ ทัง้ หมดถูกน�ำมารวมกันเพือ่ หาค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งมาตราฐานของค่าเฉลีย่ ข้อมูลทัง้ หมดถูกน�ำไปวิเคราะห์หาค่าความแปรปรวนด้วยโปรแกรม SAPP version 10.1 โดยดูปัจจัยของอาหาร และท�ำการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วย Duncan’s new multiple range testที่ P<0.05.

≥ ผลการทดลอง ≤ ผลตลอดการทดลองพบว่าไก่เนื้อมีสุขภาพที่ดี และไม่มีการตายในช่วงแรกของการผลิตที่อายุ 0 ถึง 10 วัน จากผลการทดลองพบว่า การเสริมซินไบโอติกในอาหารไก่เนื้อ ส่งผลให้น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น มากกว่ากลุม่ ทีเ่ สริมด้วยซินไบโอติกร่วมกับแบซิตราซิน แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (P<0.05) ในช่วงที่ส�ำคัญคือช่วงแรกของการผลิต (อายุ 0 - 10 วัน) ดังแสดงในตารางที่ 4 ไก่เนื้อในกลุ่มทดลอง

68 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World ที่ 3 (โคลิสตินอย่างเดียว) และกลุ่มที่ 6 (โคลิสตินร่วมกับซินไบโอติก) มีน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นมากกว่า กลุม่ ทีเ่ สริมด้วยซินไบโอติกร่วมกับแบซิตราซิน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (P<0.05) เช่นเดียวกันในช่วง เวลาดังกล่าว(ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 ผลของการใช้ซินไบโอติก ร่วม/ไม่ร่วม ยาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโต ต่อประสิทธิภาพการผลิตของไก่เนื้อ ในระยะ 0 - 10 วันของอายุ กลุ่มทดลอง

น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น (กรัม/ตัว)

ปริมาณอาหารที่กิน (กรัม/ตัว)

กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 7 P - value SEM

192.656ab 193.094ab 199.133a 198.461a 186.050b 199.678a 193.189ab 0.0337 1.2663

263.472 272.611 271.389 270.217 272.361 267.611 265.583 0.6047 1.5107

1

ประสิทธิภาพ การเปลี่ยนอาหาร เป็นน�้ำหนักตัว 1.36 1.41 1.36 1.36 1.46 1.34 1.37 0.1492 0.0129

อัตราการตาย (เปอร์เซ็นต์) 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

a, b อักษรที่แตกต่างกันบนค่าเฉลี่ยในคอลลัมเดียวกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (P<0.05) 1  กลุ่มที่1 =  อาหารควบคุม, กลุ่มที่ 2  =  อาหารควบคุม+แบซิตราซิน, กลุ่มที่3  =  อาหารควบคุม+โคลิสติน, กลุ่มที่ 4  =  อาหารควบคุม +ซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์®เอ็มอี), กลุ่มที่ 5  =  อาหารควบคุม+ซินไบโอติก+แบซิตราซิน, กลุ่มที่ 6  =  อาหารควบคุม+ซินไบโอติก+ โคลิสติน, กลุ่มที่ 7  =  อาหารควบคุม+ซินไบโอติก+แบซิตราซิน+โคลิสติน

แต่เมื่อสิ้นสุดการทดลองการทดลอง ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติของทุกกลุ่ม การทดลองในส่วนของน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น อัตราการกินอาหาร และประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหาร เป็นน�้ำหนักตัว เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่เสริมด้วยซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว (ตารางที่ 5) ด้าน อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัว พบว่ามีแนวโน้มที่ดีขึ้น (P = 0.0756) โดยพบว่าไก่กลุ่มที่เลี้ยง ด้วยอาหารควบคุมเสริมด้วยแบซิตาซินมีอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัวเท่ากับ 1.86 กลุ่มที่ 4 ทีเ่ ลีย้ งด้วยอาหารควบคุมเสริมด้วยซินไบโอติกมีคา่ เท่ากับ 1.87 และกลุม่ ที่ 7 ทีเ่ ลีย้ งด้วยอาหารควบคุม เสริมด้วยซินไบโอติก ร่วมกับแบซิตาซินและโคลิสติน มีอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัวเท่ากับ 1.83 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่มีอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัวเท่ากับ 1.93 และกลุ่ม อื่นๆ ตลอดการทดลอง (ตารางที่ 5) นอกจากนี้ ไม่พบอัตราการตายตลอดการทดลองของกลุ่มที่ 6 คือไก่เลี้ยงด้วยอาหารควบคุมเสริมด้วยโคลิสติน แต่อย่างไรก็ตาม พบการตายในระดับต�ำ่ ของกลุ่มที่ 2, 4 และ 7 เพียง 1.11 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่พบอัตราการตายสูงถึง 2.78 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 5) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

69


Around The World ตารางที่ 5 ผลของการใช้ซินไบโอติก ร่วม/ไม่ร่วม ยาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโต ต่อประสิทธิภาพการผลิตของไก่เนื้อ ในระยะ 0 - 42 วันของอายุ กลุ่มทดลอง

น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น (กรัม/ตัว)

ปริมาณอาหารที่กิน (กรัม/ตัว)

กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 7 P - value SEM

2872.50 2921.17 2871.02 2923.90 2883.07 2893.12 2972.42 0.7736 18.1249

5547.01 5435.59 5540.05 5479.02 5412.70 5444.65 5453.08 0.6241 22.4774

1

ประสิทธิภาพ การเปลี่ยนอาหาร เป็นน�้ำหนักตัว 1.93 1.86 1.93 1.87 1.88 1.88 1.83 0.0756 0.0096

อัตราการตาย (เปอร์เซ็นต์) 2.78 1.11 1.67 1.11 1.67 0.00 1.11 0.4758 2.2160

a, b อักษรที่แตกต่างกันบนค่าเฉลี่ยในคอลลัมเดียวกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (P<0.05) 1 กลุม่ ที1่  =  อาหารควบคุม, กลุม่ ที่ 2  =  อาหารควบคุม+แบซิตราซิน, กลุม่ ที่ 3  =  อาหารควบคุม+โคลิสติน, กลุม่ ที่ 4  =  อาหารควบคุม+ ซินไบโอติก(โพลทรีสตาร์®เอ็มอี), กลุ่มที่ 5  =  อาหารควบคุม+ซินไบโอติก+แบซิตราซิน, กลุ่มที่ 6  =  อาหารควบคุม+ซินไบโอติก+ โคลิสติน, กลุ่มที่ 7  =  อาหารควบคุม+ซินไบโอติก+แบซิตราซิน+โคลิสติน

≥ อภิปรายผลการทดลอง ≤ ปัจจุบนั มีการใช้ซนิ ไบโอติกอย่างกว้างขวางเพือ่ ทดแทนยาปฏิชวี นะในระดับกระตุน้ การเจริญเติบโต ในสัตว์ปีก เนื่องจากความกังวลการตกค้างของยาปฏิชีวนะ และการห้ามการใช้ยาปฏิชีวนะในระดับ กระตุ้นการเจริญเติบโตในอาหารสัตว์ มีเอกสารและงานวิจัยจ�ำนวนมากแสดงถึงผลประโยชน์ของการ ใช้โปรไบโอติกสายพันธุ์เดียว หรือหลายสายพันธุ์ ต่อประสิทธิภาพการผลิตของไก่เนื้อ (Applegate et al., 2010; Fuentes et al., 2013; Zhang and Kim, 2014) การทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว หรือซินไบโอติกร่วมกับยาปฏิชีวนะชนิดต่างๆ ในระดับ กระตุ้นการเจริญเติบโต ซึ่งผลการทดลองพบว่าไก่เนื้อมีสุขภาพที่ดี และไม่พบการสูญเสียในช่วงการ เลีย้ งทีส่ ำ� คัญ (10 วันแรกของการเลีย้ ง) ดังแสดงในตารางที่ 4 (Pelicano et al., 2004 and Takahashi et al., 2005) และไม่พบการตายในระยะแรกของไก่เนื้อที่ท�ำการทดลองเสริมสารกระตุ้นการเจริญ เติบโตชนิดต่างๆ เช่นกันการใช้ซินไบโอติกในอาหารไก่เนื้อ ส่งผลให้น�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นแตกต่างอย่าง มีนยั ส�ำคัญเมือ่ เปรียบเทียบกับกลุม่ ทีใ่ ช้แบซิตาซิน (P<0.05) ในช่วงวันแรกหลังฟัก ซึง่ ระยะ 0 - 10 วัน เป็นช่วงทีม่ คี วามเสีย่ งสูง (ตารางที่ 4) โปรไบโอติกในอาหารส่งผลต่อการคงอยูแ่ ละจ�ำนวนของจุลนิ ทรีย์ ที่เป็นประโยชน์ในล�ำไส้ ซึ่งจะเพิ่มความสามารถในการก�ำจัดเชื้อก่อโทษ และเพิ่มประสิทธิภาพของ

70 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน ส่งผลให้ประสิทธิภาพการเจริญเติบโตดีขึ้น (Dhama et al., 2011; Yang et al., 2012; Mountzouris, 2014; Mountzouris et al., 2015). ไก่เนื้อในกลุ่มทดลองที่ 3 ที่ได้รับอาหารควบคุมเสริมด้วยโคลิสติน และกลุ่มทดลองที่ 6 ที่ ได้รบั อาหารควบคุมเสริมด้วยซินไบโอติกและโคลิสติน มีนำ�้ หนักตัวทีเ่ พิม่ มากขึน้ ดีทสี่ ดุ อย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติในระยะไก่เล็ก (ตารางที่ 4) ซึ่งอาจเป็นผลจากการท�ำงานส่งเสริมซึ่งกันและกัน ระหว่าง โปรไบโอติกพรีไบโอติกและยาปฏิชวี นะทีเ่ สริมในระดับเป็นสารเร่งการเจริญเติบโต (Roberfroid, 1998) แต่เมื่อสิ้นสุดการทดลอง ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติของทุกกลุ่มการทดลองในส่วน ของน�้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น อัตราการกินอาหารและประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัว เมื่อ เปรียบเทียบกับกลุ่มที่เสริมด้วยซินไบโอติกเพียงอย่างเดียว (ตารางที่5) ประสิทธิภาพของอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัวมีแนวโน้มที่ดีข้ึนในกลุ่มที่มีการเสริม ซินไบโอติกอย่างเดียวหรือร่วมกับยาปฏิชีวนะ (P = 0.0756) โดยพบว่ากลุ่มที่ 2 ที่ได้รับอาหารควบคุม เสริมด้วยแบซิตาซินมีค่าเท่ากับ 1.86 กลุ่มที่ 4 ที่ได้รับอาหารควบคุมเสริมด้วยซินไบโอติกมีค่าเท่ากับ 1.87 และกลุ่มที่ 7 ที่ได้รับอาหารควบคุมเสริมด้วยซินไบโอติกร่วมกับแบซิตาซินและโคลิสติน มีค่า เท่ากับ 1.83 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่มีประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัวเท่ากับ 1.93 และกลุ่มอื่นๆ ตลอดการทดลอง (ตารางที่ 5) นอกจากนี้ ไม่พบอัตราการตายตลอดการทดลอง ของกลุ่มที่ 6 อาหารควบคุมเสริมด้วยโคลิสติน แต่อย่างไรก็ตาม พบการตายในระดับต�่ำของกลุ่มที่ 2, 4 และ 7 เพียง 1.11 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมพบอัตราการตายถึง 2.78 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 5) อีกทั้งไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติของน�้ำหนักตัว ปริมาณอาหารที่กิน ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นน�้ำหนักตัว และอัตราการตายระหว่างกลุ่มซินไบโอติก โคลิสติน และแบซิตาซิน ทั้งแบบใช้เดี่ยวๆ หรือใช้ร่วมกัน ดังนั้น ยาปฏิชีวนะในระดับกระตุ้นการเจริญเติบโต อาจจะทดแทนด้วยซินไบโอติก โดยไม่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการผลิตของไก่เนื้อ

≥ สรุป ≤ ภายใต้เงื่อนไขของการทดลองครั้งนี้ สามารถสรุปได้ว่าผลิตภัณฑ์ซินไบโอติก (โพลทรีสตาร์® เอ็มอี) สามารถใช้เป็นทางเลือกทีม่ ปี ระสิทธิภาพเช่นเดียวกับการใช้แบซิตาซินและโคลิสตินทีใ่ ช้ในระดับ กระตุน้ การเจริญเติบโตในอาหารไก่เนือ้ นอกจากนี้ ยังสามารถใช้เพือ่ กระตุน้ การเจริญเติบโตโดยไม่ตอ้ ง ใช้ร่วมกับยาปฏิชีวนะในระดับเร่งการเจริญเติบโตอย่างเช่นแบซิตราซิน และหรือโคลิสติน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

71


Around The World

≥ เอกสารอ้างอิง ≤ Applegate T, Klose V, Steiner T, Ganner A, Schatzmayr G. Probiotics and phytogenics for poultry: Myth or reality? J ApplPoult Res 2010; 19:194–210. Brennan J, Skinner J, Barnum DA, Wilson J. The efficacy of bacitracin methylene disalicylate when fed in combination with narasin in the management of necrotic enteritis in broiler chickens. PoultSci 2003; 82: 360 - 3. Dhama K, Verma V, Sawant PM, Tiwari R, Vaid RK, Chauhan RS. Applications of probiotics in poultry: Enhancing immunity and beneficial effects on production performances and health: A review. J. ImmunolImmunopathol 2011; 13:1–19. FAO/WHO. Working Group Report on Drafting Guidelines for the Evaluation of Probiotics in Food. 2002; 30 April - 1 May, London, UK and Ontario, Canada. FAO, Rome, Italy. Fuentes C, Orozco L, Vicente J, Velasco X, Menconi A. Effect of a lactic acid bacteria based probiotic Floramax - B11, on performance, bone qualities and morphometric analysis of broiler chickens. An Economic Analysis. BiolSyst 2013; 12:322 - 327. Gustafson RH, Bowen RE. Antibiotic use in animal agriculture A review. J Applied Microbiol 1997; 83:531 - 541. Huyghebaert G, Ducatelle R, Van Immerseel F. An update on alternatives to antimicrobial growth promoters for broilers. Vet J 2011; 187:182 - 8. Iji PA,Tivey DR. Natural and synthetic oligosaccharides in broiler chicken diets. World's Poultry Science Journal 1998; 54(02):129 - 143. KoenenME, Kramer J, van der Hulst R, Heres L, Jeurissen SH, Boersma WJ. Immunomodulation by probiotic lactobacilli in layer -  and meat - type chickens. Br PoultSci 2004; 45(3):355 - 66. Kogut MH, Swaggerty CL. Effects of prebiotics and probiotics on the host immune response. 2012; Pages 61 - 72 in Direct - Fed Microbials and Prebiotics for Animals, Springer. Lee SI, Park SH, Ricke SC. Assessment of cecalmicrobiota, integron occurrence, fermentation responses, and Salmonella frequency in conventionally raised broilers fed a commercial yeast - based prebiotic compound. PoultSci 2016; 95:144 - 153. Mead GC. Prospects for 'competitive exclusion' treatment to control salmonellas and other foodborne pathogens in poultry. Vet J 2000; 159:111 - 123. Nava GM, Bielke LR, Callaway TR, Castaneda MP. Probiotic alternatives to reduce gastrointestinal infections: the poultry experience. Anim Health Res Rev 2005; 6(1):105 - 18. Mountzouris KC. Probiotics as alternatives to antimicrobial growth promoters (AGPs) in broiler nutrition: modes of action and effects on performance. In Probiotics in Poultry Production Concepts and Applications. Abdelrahman WHA, Mohnl M. eds, 5 m Publishing Ltd, Sheffield, UK 2014: 129 - 157.

72 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World Mountzouris KC, Palamidi I, Tsirtsikos P, Mohnl M, Schatzmayr G, Fegeros K. Effect of dietary inclusion level of a multi - species probiotic on broiler performance and two biomarkers of their caecal ecology. Anim Prod Sci 2015; 55:484 - 493. Niewold TA. The nonantibiotic anti - inflammatory effect of antimicrobial growth promoters, the real mode of action? A hypothesis. World’s Poultry Sci J 2007; 86: 605 - 9. Pedroso AA, Menten JFM, Lambais MR, Racanicci A MC, Longo FA, Sorbara JOB. Intestinal bacterial community and growth performance of chickens fed diets containing antibiotics. PoultSci 2006; 85: 747–52. Pelicano ERL, Souza PA, Souza HBA. Productive traits of broiler chickens fed diets containing different growth promoters. RevistaBrasileira de CiênciaAvícola 2004; 6(3); 177 - 182. Roberfroid MB. Prebiotics and synbiotics: concepts and nutritional properties. British Journal of Nutrition 1998;80 (Suppl. 2):197 - 02. Saarela M, Mogensen G, Fonden R, Mättö J, Mattila - Sandholm T. Probiotic bacteria: safety, functional and technological properties. J Biotechnol 2000; 84(3):197 - 215. Snyder DL, Wostmann BS. Growth rate of male germ free Wister rats fed ad libitum or restricted natural ingredient diet. Lab AnimSci 1987; 37: 320 - 5. Takahashi SE, MENDES AA, SALDANHA ESPB. Efficiency of prebiotics and probiotics on the performance, yield, meat quality and presence of Salmonella spp in carcasses of free - range broiler chickens. Revista Brasileira de CiênciaAvícola 2005; 7(3); 151 - 157. Teirlynck E, Bjerrum L, Eeckhaut V, Huyghebaert G,Pasmans F, Haesebrouck F, et al. The cereal type in feed influences gut wall morphology and intestinal immune cell infiltration in broiler chickens. Br J Nutr 2009; 102: 1453 - 1461. Wise MG, Siragusa GR. Quantitative analysis of the intestinal bacterial community in one -  to three - week - old commercially reared broiler chickens fed conventional or antibiotic - free vegetable - based diets. J Appl Microbiol 2007; 102: 1138 - 49. Yang C, Cao G, Ferket P, Liu T, Zhou L, Zhang L, Xiao Y, Chen A. Effects of probiotic, Clostridium butyricum, on growth performance, immune function, and cecalmicroflora in broiler chickens. PoultSci 2012; 91: 2121 - 2129. Zhang Z, Kim I. Effects of multi - strain probiotics on growth performance, apparent ileal nutrient digestibility, blood characteristics, cecal microbial shedding, and excreta odor contents in broilers. PoultSci 2014; 93:364–370.

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

73


Around The World

» ข้อมูลนำ�เข้ากุ้ง 2 ตลาดหลัก « ตารางการน�ำเข้ากุ้งแช่แข็งของญี่ปุ่น (มกราคม-ธันวาคม 2560) ประเทศ เวียดนาม อินเดีย อินโดนีเซีย อาร์เจนตินา ไทย จีน รัสเซีย แคนาดา พม่า ฟิลิปปินส์ บังคลาเทศ อื่นๆ รวม

ม.ค.-ธ.ค. 59 30,294 33,931 24,982 16,457 12,207 9,360 5,962 5,930 4,532 2,948 2,956 13,398 162,957

ม.ค.-ธ.ค. 60 35,225 34,686 23,313 21,578 12,534 8,867 5,343 5,168 4,746 3,074 2,167 14,244 170,945

หน่วย : ตัน % แตกต่าง 16.28 2.23 -6.68 31.12 2.68 -5.27 -10.38 -12.85 4.72 4.27 -26.69 6.31 4.90

ที่มา : www.e-start.go.jp

ตารางการน�ำเข้ากุ้งของสหรัฐอเมริกา (มกราคม-ธันวาคม 2560) ประเทศ อินเดีย อินโดนีเซีย ไทย เอกวาดอร์ เวียดนาม จีน เม็กซิโก อาร์เจนตินา เปรู กายานา ฮอนดูรัส อื่นๆ รวม

ม.ค.-ธ.ค. 59 153,984 117,095 81,151 73,128 63,413 34,829 25,327 7,732 9,511 8,356 3,647 25,420 603,593

ม.ค.-ธ.ค. 60 213,963 118,033 74,552 71,787 55,823 46,009 28,539 12,534 9,950 9,289 5,649 17,991 664,119

ที่มา : U.S. Department of Commerce and Census Bureau, NOAA

74 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

หน่วย : ตัน % แตกต่าง 38.95 0.80 -8.13 -1.83 -11.97 32.10 12.68 62.11 4.62 11.17 54.89 -29.23 10.03


ค ุณภาพ มาตรฐาน พร้อมบริการวิชาการ

Vitaroil MICRO ผลิตภัณฑ์นาเข้าจากประเทศสเปน มีสว่ นประกอบของอัลลิซนิ (Allicin) จากกระเทียมและสารสกัดจากเปลือกส้ม ทีน่ ามาผ่านกระบวนการห่อหุม้ ด้วย fatty acid mono- and diglycerides ทาให้มโี มเลกุลของแคปซูลมีขนาดเล็กตัง้ แต่ 50-1500 ไมโครเมตร

คุณสมบัตขิ อง fatty acid mono- and diglycerides  ช่ ว ยป้ องกัน สารออกฤทธิต์ ่ า งๆที่ ถู ก หุ้ ม ไว้ ให้ มีค วามเสถี ย ร และทนอุณหภูมแิ ละความดัน  ช่ ว ยป้ องกั น การท าปฏิ กิ ริ ย ากั บ โมเลกุ ล ไอออนของโลหะ คลอลีนคลอไรด์ และโมเลกุลอื่นในระบบทางเดินอาหาร  ทาให้ผลิตภัณฑ์สามารถเข้าทางานได้ตรงตาแหน่งโดยไม่ถูกทาให้ เสียสภาพหรือถูกทาลายจากน้ าย่อยในกระเพาะอาหาร

คุณสมบัตกิ ระเทียมและสารสกัดจากเปลือกส้ม  กระตุน้ การกิน กระตุน้ ภูมคิ มุ้ กัน  ช่วยลดการอักเสบของเซลล์ ปรับสมดุลจุลนิ ทรียใ์ นระบบทางเดินอาหาร  ส่วนประกอบจากน้ ามันหอมระเหย อัลลิซลิ ในกระเทียม และสารสกัดจากเปลือกส้ม ช่วยยับยัง้ เชือ้ แบคทีเรียก่อโรค ไวรัส เชือ้ รา ปรสิต และเป็ นทางเลือกในการใช้ ทดแทนยาปฏิชวี นะ

อัตราการใช้

สุกร 50-200 กรัม/ตัน สัตว์ปีก 50-100 กรัม/ตัน สัตว์เคีย้ วเอือ้ ง 50 กรัม/ตัน

ขนาดบรรจุ

1 กิโลกรัม

ผูผ้ ลิ ต Adibio SL (Spain) นาเข้าและจัดจาหน่ ายโดย บริษทั แลบอินเตอร์ จากัด บริษทั แลบ อินเตอร์ จากัด 77/12 หมู่ 2 ถ.พระราม 2 ต.นาโคก อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000 โทรศัพท์ 0 3488 6140-46 Ext.2311 แฟกซ์ 0 3488 6147 Website : www.inteqcgroup.com E-mail : techdep@inteqc.com



Around The World

ระเบียบกระทรวงพาณิชย์

ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออกหนังสือรับรองแสดงการได้รับสิทธิช�ำระภาษี ตามพันธกรณีตามความตกลงการเกษตรภายใต้องค์การการค้าโลก (WTO) ส�ำหรับสินค้ากากถั่วเหลือง เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ ปี 2561 ถึงปี 2563 พ.ศ. 2560 __________________

โดยที่เป็นการสมควรก�ำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการออกหนังสือรับรองแสดงการ ได้รบั สิทธิชำ� ระภาษีตามพันธกรณีตามความตกลงการเกษตรภายใต้องค์การการค้าโลก (WTO) ส�ำหรับ การน�ำเข้ากากถัว่ เหลืองเพือ่ ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเป็นวัตถุดบิ อาหารสัตว์ ปี 2561 ถึงปี 2563 ให้เป็น ไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2547 มติคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2557 และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2560 อาศัยอ�ำนาจตามความในข้อ 4 วรรคสาม ของประกาศกระทรวงพาณิชย์ ว่าด้วยการน�ำสินค้า เข้ามาในราชอาณาจักร (ฉบับที่ 111) พ.ศ. 2539 แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงพาณิชย์ ว่าด้วย การน�ำสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักร (ฉบับที่ 115) พ.ศ. 2539 ซึ่งออกตามความในมาตรา 5 แห่ง พระราชบัญญัติการส่งออกไปนอกและการน�ำเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522 รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงพาณิชย์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ในการออกหนังสือรับรองแสดงการได้รบั สิทธิชำ� ระภาษีตามพันธกรณีตามความตกลงการเกษตรภายใต้ องค์การการค้าโลก (WTO) ส�ำหรับสินค้ากากถัว่ เหลือง เพือ่ ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเป็นวัตถุดบิ อาหารสัตว์ ปี 2561 ถึงปี 2563 พ.ศ. 2560” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ข้อ 3 ในระเบียบนี้ “หนังสือรับรอง” หมายความว่า หนังสือรับรองแสดงการได้รับสิทธิช�ำระภาษีตามพันธกรณีตาม ความตกลงการเกษตรภายใต้องค์การการค้าโลก (WTO) “กากถัว่ เหลือง” หมายความว่า กากน�ำ้ มันและกากแข็งอืน่ ๆ ทีไ่ ด้จากการสกัดน�ำ้ มันถัว่ เหลือง จะบด หรือท�ำเป็นเพลเลตหรือไม่ก็ตาม เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ ตามพิกัดอัตรา ศุลกากรประเภทย่อย 2304.00.90.001 ข้อ 4 กากถัว่ เหลืองทีจ่ ะออกหนังสือรับรองตามระเบียบนี้ ต้องมีถนิ่ ก�ำเนิดและส่งมาจากประเทศ สมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO) หรือภาคีแกตต์ 1947 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

75


Around The World ข้อ 5 การออกหนังสือรับรองส�ำหรับการช�ำระภาษีในโควตา (1) ผู้มีสิทธิของหนังสือรับรองต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ (ก) ต้องเป็นผู้มีสิทธิของหนังสือรับรองตาม (2) (ข) ต้องไม่เป็นผูท้ อี่ ยูร่ ะหว่างถูกระงับการออกหนังสือรับรองส�ำหรับการน�ำเข้าตามข้อ 9 (2) ผู้มีสิทธิขอหนังสือรับรอง ได้แก่ (ก) ชุมนุมสหกรณ์โคนมแห่งประเทศไทย จ�ำกัด (ข) สมาคมปศุสัตว์ไทย (ค) สมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย (ง) สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย (จ) สมาคมผู้เลี้ยงไก่เนื้อเพื่อการส่งออก (ฉ) สมาคมผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อการค้าและการส่งออก (ช) สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ (ซ) สมาคมส่งเสริมการเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ฌ) สมาคมส่งเสริมผู้ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ (ญ) สมาคมพ่อค้าพืชผลไทย (ฎ) สมาคมการค้าสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูป (3) ให้กรมการค้าต่างประเทศออกหนังสือรับรองให้แก่ผู้มีสิทธิของหนังสือรับรอง โดย ไม่จ�ำกัดปริมาณและช่วงเวลาน�ำเข้า (4) ผู้มีสิทธิขอหนังสือรับรองสามารถโอนสิทธิการขอหนังสือรับรองให้แก่สมาชิกของ ตนเองได้ โดยต้องแจ้งการโอนสิทธิเป็นหนังสือต่อกรมการค้าต่างประเทศ ข้อ 6 การออกหนังสือรับรองส�ำหรับการช�ำระภาษีนอกโควตา ให้ออกได้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ข้อ 7 ให้ผู้มีสิทธิของหนังสือรับรองยื่นค�ำร้องขอหนังสือรับรองได้ที่กรมการค้าต่างประเทศ ตาม แบบที่กรมการค้าต่างประเทศก�ำหนด พร้อมเอกสารหลักฐาน ดังนี้ (1) ส�ำเนาใบก�ำกับสินค้า (Invoice) (2) ส�ำเนาใบตราส่งสินค้าทางเรือ (Bill of Lading: B/L) หรือส�ำเนาใบตราส่งสินค้าทาง อากาศ (Air Waybill) หรือเอกสารหลักฐานอื่นที่แสดงการขนส่งสินค้า (3) ส�ำเนาหนังสือรับรองถิ่นก�ำเนิดสินค้า (Certificate of Origin: C/O) หรือเอกสาร หลักฐานอื่นที่แสดงว่ากากถั่วเหลืองที่น�ำเข้ามีถิ่นก�ำเนิดจากประเทศที่ก�ำหนดไว้ตามข้อ 4

76 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World ข้อ 8 หนังสือรับรองให้มีอายุหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ออก แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม ของปีที่ออกหนังสือรับรองนั้น ข้อ 9 ให้ผู้ได้รับหนังสือรับรองรายงานการน�ำเข้าต่อกรมการค้าต่างประเทศ ตามแบบที่กรม การค้าต่างประเทศก�ำหนด พร้อมส�ำเนาใบขนสินค้าขาเข้าสถานะส่งมอบแล้ว (0409) และในกรณีที่ กรมการค้าต่างประเทศมีระบบรายงานการน�ำเข้าส่งออก ให้รายงานผ่านระบบทีก่ รมการค้าต่างประเทศ ก�ำหนดภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันที่น�ำสินค้าเข้าแต่ละครั้ง ผู้ได้รับหนังสือรับรองรายใดไม่รายงานการน�ำเข้าภายในระยะเวลาที่ก�ำหนดตามวรรคหนึ่ง ให้ กรมการค้าต่างประเทศระงับการออกหนังสือรับรองส�ำหรับการน�ำเข้าในครัง้ ถัดไปจนกว่าผูไ้ ด้รบั หนังสือ รับรองรายนั้นจะได้มีการส่งรายงานการน�ำเข้าครบถ้วนถูกต้องสมบูรณ์แล้ว ข้อ 10 ให้อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศรักษาการตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2560

(นางสาวชุติมา บุณยประภัศร) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ รักษาราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

77


Around The World หน้า ๓ เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๕๒ ง ราชกิจจานุเบกษา ๘ มีนาคม ๒๕๖๑ ______________________________________________________________________

ประกาศกระทรวงการคลัง

เรื่อง การยกเว้นอากร ลดและเพิ่มอัตราอากรศุลกากร ตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก (ฉบับที่ ๒) __________________

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมอัตราอากรศุลกากรส�ำหรับการน�ำเข้ากากถั่วเหลืองเฉพาะ ทีน่ ำ� เข้ามาเพือ่ ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเป็นวัตถุดบิ อาหารสัตว์ ตามประเภทย่อย ๒๓๐๔.๐๐.๙๐ รหัสย่อย ๐๑ ส�ำหรับปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ถึงปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และเพื่อปฏิบัติตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกช จัดตั้งองค์การการค้าโลก อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๔ วรรคหนึง่ แห่งพระราชก�ำหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ซึง่ แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมพระราชก�ำหนดพิกดั อัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับ ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๗ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกการลดและเพิม่ อัตราอากรศุลกากรส�ำหรับของตามประเภทย่อย ๒๓๐๔.๐๐.๙๐ รหัสย่อย ๐๑ ตามบัญชีอัตราอากร ๒ ท้ายประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากร ลด และเพิม่ อัตราอากรศุลกากรตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตัง้ องค์การการค้าโลก ลงวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ภาค ๒ พิกดั อัตราอากรขาเข้า และให้ลดและเพิม่ อัตราอากรศุลกากรส�ำหรับ ของตามบัญชีท้ายประกาศนี้แทน ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

78 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561


Around The World บัญชีท้ายประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากร ลดและเพิ่มอัตราอากรศุลกากร ตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2561 ภาค 2 พิกัดอัตราอากรขาเข้า

ประเภท ประเภทย่อย ย่รหัอสย

รายการ

23.04 2304.00.90 01

- เฉพาะที่น�ำเข้ามาเพื่อใช้ใน อุตสาหกรรมผลิตเป็นวัตถุดิบ อาหารสัตว์ - น�ำเข้าตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2563 - น�ำเข้าตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564

อัตราในโควตา อัตรานอกโควตา ตามสภาพ ตามสภาพ ตาม ตาม ราคา หน่วยละ ราคา หน่วยละ ร้อยละ หน่วย บาท ร้อยละ หน่วย บาท

2

-

-

119

-

-

10

-

-

119

-

-

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 35 เล่มที่ 179 มีนาคม - เมษายน 2561

79


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำ�วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ 1 บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ 3 บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) 4 บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด 5 บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) 6 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สระบุรี 7 บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด 8 บริษัท แลบอินเตอร์ จ�ำกัด 9 บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จ�ำกัด 10 บริษัท เชฟเฟิร์ด เทค คอนซัลแตนซี่ ไพรเวท จ�ำกัด 11 บริษัท เออร์เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด 12 บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จ�ำกัด 13 บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 14 บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด 15 บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 16 บริษัท พรีเมียร์ เทค โครโนส จ�ำกัด 17 บริษัท วี เอ็น ยู เอ็กซิบิชั่น เอเซีย แปซิฟิค จ�ำกัด 18 ลา เมคคานิค่า เอส อาร์ แอล ดิเรฟโฟ 19 บริษัท เออีซี อินโนเวเทค จ�ำกัด

โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 09-2089-1601 โทร. 0-2993-7500 โทร. 0-2817-6410 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2694-2498 โทร. 0-2740-5001 โทร. 0-2670-0900 ต่อ 122 โทร. 098-248-9771 โทร. 061-619-7471




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.