วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 186 (พ.ค.-มิ.ย. 62)

Page 1


ของรางวัล มูลคากวา

18 ลานบาท อาทิ

สแกน คิวอารโคด บนคูปอง แลวกรอกขอมูล (สงฟรี) สงรหัสชิงโชคมาที่ SMS หมายเลข 4141234 (คาบริการครั้งละ 3 บาท)

รหัสชิงโชค xxxxxxxxxx สงรหัสชิงโชคมาที่ SMS หมายเลข 4141234

วิธีที่

หยอนลงกลองรับชิ้นสวน ณ รานคาที่รวมรายการ

4

สงคูปองมาที่ตู ปณ.8 ปณ.หลักสี่ กรุงเทพ 10210


รายนามสมาชิก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27.

บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จ�ำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จ�ำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จ�ำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จ�ำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จ�ำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54.

บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จ�ำกัด บริษัท ยู่สูง จ�ำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จ�ำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จ�ำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท บุญพิศาล จ�ำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จ�ำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท วีพีเอฟ กรุ๊ป (1973) จ�ำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จ�ำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จ�ำกัด บริษัท เจบีเอฟ จ�ำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ทีอาร์เอฟ ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท บีอาร์เอฟ ฟีด (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท เกษมชัยฟาร์มอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท พนัส ฟีดมิลล์ จ�ำกัด บริษัท เอพีเอ็ม อะโกร จ�ำกัด บริษัท แสงทองอาหารสัตว์ จ�ำกัด

อภินันทนาการ


คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจ�ำปี 2562-2563

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.

นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายชยานนท์ กฤตยาเชวง นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ นายไพศาล เครือวงศ์วานิช นางเบญจพร สังหิตกุล นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ น.ส. สุวรรณี แต้ไพสิฐพงษ์ นายสมภพ เอื้อทรงธรรม นายโดม มีกุล นายวิโรจน์ กอเจริญรัตน์ นายเธียรเทพ ศิริชยาพร นายสุจิน ศิริมงคลเกษม น.ส. รติพันธ์ หิตะพันธ์ นายสุทธิชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล นายจ�ำลอง เติมกลิ่นจันทน์ นายพน สุเชาว์วณิช

นายกสมาคม อุปนายก อุปนายก อุปนายก เหรัญญิก เลขาธิการ รองเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ป. เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกรโฮลดิ้ง จ�ำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส (สระบุรี) จ�ำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�ำกัด บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จ�ำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด บริษัท ซันฟีด จ�ำกัด บริษัท บางกอกแร้นช์ จ�ำกัด (มหาชน)


บรรณาธิการแถลง การระบาดของอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ขยับใกล้เข้ามาชิดประเทศไทยมากขึ้น ท�ำให้ทกุ ฝ่ายต้องช่วยกันดูแลและป้องกัน ด้วยมาตรการต่างๆ ทีจ่ ะออกมาอย่างรัดกุม ยิง่ ขึน้ ทัง้ มาตรการห้าม มาตรการทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ และมาตรการป้องกัน และทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องจะร่วมมือ และไม่เป็นตัวการที่จะชักน�ำเชื้อโรคเข้ามาในประเทศ เพราะ ถ้าหากหลุดรอดเข้ามาแล้วจะสร้างความเสียหายแก่ธุรกิจภาคปศุสัตว์ และยากที่จะ แก้ไขในช่วงระยะเวลาสั้นๆ ข้อควรปฏิบัติเบื้องต้น คือ อาหารสัตว์ที่จะใช้ ต้องมั่นใจว่ามาจากแหล่งที่มี มาตรฐานเชื่อถือได้ อาหารของพนักงานต้องใช้เนื้อที่ไม่เสี่ยงมาปรุงอาหาร สัตว์พาหะ ต้องมีโปรแกรมควบคุม พนักงานในฟาร์มก็ต้องท�ำตามสุขลักษณะในการเข้าฟาร์ม อุปกรณ์ต่างๆ ที่จะน�ำเข้าฟาร์ม จะต้องผ่านขบวนการเข้าเครื่องอบรังสีอุลต้าไวโอเลต รถขนส่งมีระบบการฆ่าเชื้อ การขายหมูต้องมีเล้าขายมาตรฐานส�ำหรับเป็นที่ส่งหมู หมูที่จะเข้ามาเป็นหมูทดแทนก็จะต้องมีเล้ากักโรคนอกฟาร์มก่อนน�ำเข้าฝูง น�้ำที่จะใช้ ก็ต้องผ่านการบ�ำบัดก่อน และซากหมูก็ต้องมีบ่อทิ้งซาก หรือระบบย่อยสลายซาก ธุรกิจปศุสัตว์ มีห่วงโซ่ที่ต่อเนื่องกันค่อนข้างยาว และถ้าเสียหายที่จุดใดแล้ว จะกระทบยาวไปหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องกัน ทั้งต้นทาง และไปถึงปลายทาง จึงต้องช่วยกัน ดูแล แม้ว่าประเทศไทยมีการเลี้ยงสัตว์หลากหลายประเภท ซึ่งสามารถบริโภคทดแทน กันได้ เรามีทั้ง พืชและสัตว์ และจะต้องให้ทุกหน่วยของเกษตรกรอยู่ได้อย่างมีความสุข และขายผลผลิตได้ในราคาทีเ่ ป็นธรรม และผูบ้ ริโภครับได้ โดยการแข่งขันลดต้นทุน และ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้ได้คุณภาพที่ดี และมีปริมาณเพียงพอที่จะแข่งขันส่งออก น�ำเงินตราเข้าประเทศ ซึง่ ประเทศคูแ่ ข่งของเรามีความได้เปรียบในการจัดหาวัตถุดบิ น�ำเข้า ได้งา่ ย และต้นทุนถูกกว่าเรามาก ดังนัน้ โอกาสทีภ่ าคปศุสตั ว์ไทยจะแข่งขันได้ เราจะต้อง เปิดโอกาสให้มีการน�ำเข้าวัตถุดิบที่ประเทศยังขาดแคลนและไม่มีการผลิตในประเทศ รวมทัง้ เป็นวัตถุดบิ ทีใ่ ช้กนั ทัว่ โลก ก็จะท�ำให้นกั วิชาการด้านอาหารสัตว์ จะคิดค้นสูตรอาหาร ที่จะช่วยลดต้นทุนการเลี้ยงสัตว์เพื่อแข่งขันการส่งออกได้ ทั้งๆ ที่เกษตรกรภาคปศุสัตว์ มีความพร้อมและมีศักยภาพที่จะท�ำได้ดี จึงหวังว่า รัฐบาลชุดใหม่จะเห็นใจเกษตรกร ภาคปศุสัตว์ และพัฒนาปศุสัตว์ไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืนตลอดไป

บก.


วารสาร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36  เล่มที่ 186  ประจำ�เดือน พฤษภาคม - มิถุนายน 2562 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทาง ที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

Contents 

Thailand Focus

Food Feed Fuel

Market Leader

Around the World

ปศุสัตว์ลุยขับเคลื่อน ‘Food Feed Farm’ คุมเข้มมาตรฐานอาหารคน - สัตว์ - ฟาร์ม_ _____________________________________5 แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ความส�ำเร็จของระบบการตลาดน�ำการผลิต____________________________________ 7 เผยสินค้าเกษตรครึ่งปีหลัง 62________________________________________________________________________________________9 เดินสายฟังปัญหาชาวนา สั่งเคลียร์งานเดิมชง รบ. ใหม่_________________________________________________________________ 11 10 ข้อปฏิบต ั ิเพื่อป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร___________________________________________________________________ 13 10 ข้อห้าม ป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร_________________________________________________________________________ 17 10 มาตรการป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร ไม่ให้ระบาดเข้าสู่ประเทศไทย___________________________________________ 21 สศก. ชี้ข้าวโพดหลังนาดีกว่าท�ำนา > ภาคเหนือตอนล่างท�ำรายได้ 2 พันล้าน___________________________________________ 22 4 ชาติยุโรปหนุน ‘ข้าวไทย’ ยั่งยืน_ __________________________________________________________________________________ 24 ASF ช่วยอุ้มหมูไทย รัฐไม่หลงทิศกดดันตลาด________________________________________________________________________ 25 EHP กับ SHIV โรคใหม่กุ้ง ประมงหวัน ่ ซ้�ำรอย EMS___________________________________________________________________ 27 THAIFEX 2019 ยกเนื้อไก่สด “เบญจา ชิคเก้น” หนึ่งในนวัตกรรม พลิกโฉมอุตสาหกรรมอาหารไทย____________________ 29 จัดระบบบริหารจัดการนมโรงเรียนใหม่ มุ่งเด็กไทยบริโภคนมคุณภาพ - เกษตรกรโคนมเข้มแข็ง___________________________ 31 ปศ. ชลบุร ี บุกจับโรงฆ่าสัตว์เถื่อน พบซากหมูแหล่งเชื้อโรค____________________________________________________________ 34 กรมปศุสัตว์ ส่งชุดปฏิบต ั ิการพิเศษพญาไท บุกจับพ่อค้ารายใหญ่ ลอบขายซากหมูเล็กแช่แข็ง (หมูก้ ี) ส่งท�ำหมูหันขายในภัตตาคารชื่อดังหลายแห่งในกรุงเทพ__________________________________________________________ 36 สถานการณ์ถ่ัวเหลือง_ _____________________________________________________________________________________________ 39 สถานการณ์กากถั่วเหลือง___________________________________________________________________________________________41 สถานการณ์ปลาป่น...........................................................................................................................................................43 อธิบดีปศุสัตว์ เปิดศูนย์ท�ำความสะอาด ฆ่าเชื้อโรคยานพาหนะบรรทุกสินค้าปศุสัตว์______________________________________ 45 ปลัดเกษตรฯ หนุนผลิตสินค้าปศุสัตว์ปลอดภัยตีตลาดโลก____________________________________________________________ 47 ิ ดีข้ ึน_____________________________________________ 49 5 สมาคมปศุสัตว์ ขอบคุณ ’กฤษฎา’ ขับเคลื่อนงานให้เกษตรกรมีชีวต ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมสัตว์น้�ำของไทย จากอดีตสู่อนาคต_ ____________________________________________________51 หลักการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส และเชื้อแบคทีเรียในการเลี้ยงกุ้งอย่างมีประสิทธิภาพ__________________________________ 53 อหิวาต์สุกรระบาดในเวียดนาม_ _____________________________________________________________________________________ 63 ฮ่องกงพบการระบาดของอหิวาต์สุกรแอฟริกัน_ ______________________________________________________________________ 64 สถิติการส่งออกกุ้งไทย_____________________________________________________________________________________________ 65 สถิติการส่งออกสินค้ามาตรฐานปลาป่น ตามรายงานการส่งสินค้ามาตรฐานออกนอกราชอาณาจักร_____________________ 67 ประกาศกรมปศุสัตว์________________________________________________________________________________________________ 69 ระเบียบกรมปศุสัตว์_________________________________________________________________________________________________ 74 ขอบคุณ___________________________________________________________________________________________________________ 80

  ด�ำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย   ประธานกรรมการที ป ่ รึ ก ษา : นายประเสริ ฐ พุ ง ่ กุมาร    รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น  นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล       กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร  นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์  นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม  นายอดิเรก ศรีประทักษ์  นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล  นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง  นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์  นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ ์    บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิต ิ    กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง  นายอรรถพล ชินภูวดล  นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง  นางสาวกรดา พูลพิเศษ   ส�ำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 43 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4   โทรสาร 0-2675-6265   Email: tfma44@yahoo.com   Website: www.thaifeedmill.com



ระบบมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง

GMP / HACCP

ISO 9001 : 2015 / ISO 14001 : 2015


Thailand Focus

่ น ปศุสัตว์ลุยขับเคลือ

'Food Feed Farm'

คุมเข้มมาตรฐานอาหารคน - สัตว์ - ฟาร์ม กรมปศุ สั ต ว์ น� ำ คณะสื่ อ มวลชนลงพื้ น ที่ จั ง หวั ด ลพบุ รี  นครราชสีมาดูผลการด�ำเนินงานขับเคลือ่ มาตรฐาน อาหารคน อาหาร สัตว์ และมาตรฐานฟาร์มตามนโยบาย Food Feed Farm นายสุรเดช สมิเปรม รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ด้วย ปัจจุบันผู้บริโภคทั่วโลกให้ความใส่ใจในสุขภาพและความปลอดภัย ด้านอาหารมากยิ่งขึ้น กรมปศุสัตว์ในฐานะองค์กรที่มีหน้าที่หลัก ในการก�ำหนดนโยบายควบคุมการพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับการ ปศุ สั ต ว์ ใ ห้ ผ ลิ ต ออกมามี ม าตรฐานถู ก สุ ข อนามั ย ปราศจากโรค สารตกค้าง และสารปนเปื้อน จ�ำเป็นที่จะต้องก�ำหนดทิศทางการ ด�ำเนินงานทีช่ ดั เจนก็เพือ่ ให้กระบวนการผลิตอาหารตัง้ แต่กอ่ นทีจ่ ะได้ เป็นวัตถุดิบ จนน�ำมาสู่การแปรรูปไปเป็นอาหารอย่างถูกสุขอนามัย ปลอดภัย ต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม ซึ่งกรมฯ ได้มีการด�ำเนินการ (Food hazard) การยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยด้านอาหาร (Food safety) จะช่วยเสริมสร้างความปลอดภัยต่อสุขภาพผู้บริโภค ภายในประเทศ และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันด้านสินค้า เกษตรและอาหารกับนานาประเทศ โดยมาตรฐานในการผลิตสินค้า ปศุสตั ว์จะต้องครอบคลุมทัง้ ห่วงโซ่การผลิต ตัง้ แต่มาตรฐานอาหารสัตว์ มาตรฐานฟาร์ม และมาตรฐานการผลิตเนื้อสัตว์ โดยกรมปศุสัตว์มีนโยบายในการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการ ผลิตเนื้อสัตว์ให้สอดคล้องต่อระเบียบและข้อก�ำหนดของประเทศไทย และต่างประเทศ พร้อมติดตามข้อก�ำหนดที่มีการปรับเปลี่ยนอย่าง สม�่ำเสมอ เพื่อให้เท่าทันและทัดเทียมตลาดโลก ผู้บริโภคสามารถ ที่มา : แนวหน้า ฉบับวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

5


Thailand Focus

ตรวจสอบย้อนกลับได้ไปจนถึงแหล่งผลิตสินค้า เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการผลิต สินค้าปศุสัตว์โดยในด้านมาตรฐานการผลิตเนื้อ สัตว์ กรมปศุสัตว์มีการด�ำเนินการจัดตั้งโครงการ เนื้อสัตว์อนามัย โครงการเนื้อสัตว์ปลอดภัยใส่ใจ ผูบ้ ริโภค (ปศุสตั ว์ OK) เพือ่ การพัฒนามาตรฐาน สินค้าปศุสัตว์เกิดประโยชน์ต่อผู้ผลิต ผู้ขาย และ ผู้บริโภคภายในประเทศ อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับการน�ำคณะสือ่ มวลชน ลงพื้นที่ติดตามผลการด�ำเนินงานในครั้งนี้ก็เพื่อ เผยแพร่ผลการด�ำเนินงานดังกล่าวตามนโยบาย ของกรมฯ โดย สหกรณ์โคนมไทย - เดนมาร์ก สวนมะเดื่ อ จ� ำ กั ด จ.ลพบุ รี นั บ เป็ น สหกรณ์ ต้นแบบในการด�ำเนินการจัดตัง้ ศูนย์บริการอาหาร สัตว์ (Feed Center) เพื่อผลิตอาหารผสมครบ ส่วนส�ำหรับโคนม (TMR) ส�ำหรับการเลี้ยงโคนม ของสมาชิกสหกรณ์ฯ รวมถึงระบบการผลิตโค ทดแทน ซึ่งด�ำเนินการโดยสหกรณ์ที่ได้รับการ สนับสนุนงบประมาณและองค์ความรูต้ า่ งๆ ทัง้ จาก กรมปศุสัตว์ และจากหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การก�ำกับดูแลของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ส่วนผลการด�ำเนินงานของสหกรณ์โคนม ด่านขุนทด ซึ่งเป็นสหกรณ์โคนมขนาดเล็กแต่มี คุณภาพ มีสมาชิกเป็นผู้เลี้ยงโคนมเพียง 43 ราย แต่สมาชิกทัง้ หมดได้รบั การรับรองฟาร์มมาตรฐาน จากกรมปศุสตั ว์ ซึง่ เป็นตัวรับประกันได้วา่ น�ำ้ นม ทีผ่ ลิตมาจากสหกรณ์แห่งนี้ เป็นน�ำ้ นมทีม่ คี ณ ุ ภาพ ตรงตามมาตรฐาน และได้รับการรับรองจากกรม ปศุสัตว์ตั้งแต่จุดเริ่มต้นกระบวนการผลิตไปจนถึง มือผู้บริโภค

6

รองอธิบดีกรมปศุสตั ว์ กล่าวย�ำ้ ว่า “อย่างไร ก็ดี กรมฯ มุง่ หวังว่าการลงพืน้ ทีด่ งู านในครัง้ นี้ ทัง้ สองสหกรณ์ล้วนมีการด�ำเนินงานที่เกิดผลส�ำเร็จ ตามนโยบายของกรม ทีส่ ามารถเป็นโมเดลส�ำหรับ การพัฒนาเทคโนโลยีด้านอาหารสัตว์ส�ำหรับการ เลี้ยงโคนมให้แก่สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมอื่นๆ ใน ประเทศต่อไปได้เป็นอย่างดี″

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Thailand Focus

แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ความส� ำเร็จของระบบการตลาดน�ำการผลิต

แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร เป็นการด�ำเนินการร่วมกันของหน่วยงานหลัก ประกอบ ด้วย กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงมหาดไทย เพื่อรักษาเสถียรภาพ ราคาข้าวเปลือก เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ยกระดับคุณภาพผลผลิตให้ชาวนามีรายได้เพิ่มขึ้น นางสาวจริยา สุทธิไชยา เลขาธิการส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กล่าวว่า แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจรถือเป็นแผนการด�ำเนินงานที่ ประสบความส�ำเร็จอย่างมากทีเ่ กิดจากการบูรณาการความร่วมมือของ 3 กระทรวง หลัก เพือ่ การบริหารจัดการอุปสงค์ (Demand) อุปทาน (Supply) ให้สอดคล้องกัน แก้ปัญหาข้าวได้ทั้งระบบ ด้วยการใช้หลักการตลาดน�ำการผลิต ซึ่งได้ด�ำเนินการ มาตั้งแต่ปี 2559/60 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยแผนการผลิตข้าวครบวงจร แต่ละปีจะมีการก�ำหนดเป้าหมายการผลิตที่ชัดเจน สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งใน และ ต่างประเทศ โดยในปี 2562/63 กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนดอุปสงค์ จ�ำนวน 32.48 ล้านตันข้าวเปลือก และ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก�ำหนดอุปทาน จ�ำนวน 34.16 ล้านตันข้าวเปลือก จากนั้นจะก�ำหนด พื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าวให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ข้าว ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรฯ ดูแล ด้านการผลิต มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว ได้แก่ การส่งเสริมระบบนาแปลงใหญ่ การ ผลิตข้าวเพื่อสุขภาพ เช่น พันธุ์ กข43 การส่งเสริมการเกษตรแบบแม่นย�ำสูง การส่งเสริมปลูก ข้าวหอมมะลิคุณภาพชั้นเลิศ การผลิตข้าวอินทรีย์ การผลิตข้าว GAP รวมทั้งส่งเสริมการปลูกพืช หลังนา เป็นต้น เมือ่ การผลิตข้าวเป็นไปตามแผนทีว่ างไว้ กระทรวงพาณิชย์จะรับผิดชอบเรือ่ งการตลาด โดยจัดท�ำโครงการเชื่อมโยงตลาดข้าวอินทรีย์ และข้าว GAP โครงการรณรงค์บริโภคข้าวสาร Q ข้าว พันธุ์ กข43 โครงการจัดตลาดนัดข้าวเปลือก นอกจากนี้ มีการจัดหาและเชื่อมโยงตลาดต่างประเทศ ประชาสัมพันธ์รณรงค์การบริโภคข้าวและผลิตภัณฑ์ข้าวของไทยทั้งตลาดในประเทศ และต่างประเทศ ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานตามแผนการตลาดข้าวครบวงจร ปี 2562/63 กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ได้วางแผนการผลิตข้าว โดยก�ำหนดพื้นที่เป้าหมายส่งเสริมการปลูกข้าว พื้นที่รวม 72.81 ล้านไร่ ผลผลิต 34.62 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งเป็น ข้าวรอบที่ 1 (ข้าวนาปี) พื้นที่ 58.99 ล้านไร่ ผลผลิต 25.47 ล้านตันข้าวเปลือก ประกอบด้วย ข้าวหอมมะลิ 26.50 (ข้าวหอมมะลิในเขต 23 จังหวัด จ�ำนวน 23.03 ล้านไร่ ได้แก่ จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ ที่มา : มติชน ฉบับที่ 15051 วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

7


Thailand Focus และ 3 จังหวัดภาคเหนือ และข้าวหอมมะลินอก เขต 23 จังหวัด จ�ำนวน 3.47 ล้านไร่) ข้าวหอม ไทย 1.65 ล้านไร่ ข้าวเจ้า 14.01 ล้านไร่ (ข้าวเจ้า พืน้ นุม่ 0.15 ล้านไร่ ข้าวเจ้าพืน้ แข็ง 13.87 ล้านไร่) ข้าวเหนียว 16.17 ล้านไร่ และข้าวรอบที่ 2 (ข้าว นาปรัง) พื้นที่ 13.81 ล้านไร่ ผลผลิต 9.15 ล้านตันข้าวเปลือก การบริหารจัดการข้าวครบวงจร ท�ำให้เกิด ความสมดุลของผลผลิตกับความต้องการ ส่งผล ให้ราคาข้าวเปลือกที่เกษตรกรขายได้ในช่วง 4 เดือนแรกของปีนี้ (ม.ค. - เม.ย.) ข้าวเปลือกหอม มะลิ และข้าวเปลือกเหนียว ราคามีแนวโน้มสูงขึน้ ขณะที่ข้าวเปลือกเจ้าราคาลดลงเล็กน้อย โดย ข้าวเปลือกหอมมะลิ ราคาเฉลี่ยตันละ 15,534 บาท สูงขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีทผี่ า่ นมา ทีเ่ ฉลีย่ ตันละ 14,544 บาท หรือสูงขึ้น 6.81% เนื่อง จากผลผลิตได้ออกสู่ตลาดหมดแล้ว ขณะที่ความ ต้องการข้าวหอมมะลิยังมีอย่างต่อเนื่อง ส่วน ข้าวเปลือกเจ้า ราคาเฉลี่ยตันละ 7,689 บาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ที่เฉลี่ยตัน

8

ละ 7,722 บาท หรือลดลง 0.43% เนื่องจาก อยู่ในช่วงที่ผลผลิตข้าวนาปรังทยอยออกสู่ตลาด มาก ประกอบกับราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าคูแ่ ข่ง ท�ำให้ตลาดปลายทางชะลอค�ำสั่งซื้อ ข้าวเปลือก เหนียวเมล็ดยาว ราคาเฉลี่ยตันละ 10,254 บาท สูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของ ปีที่ผ่านมาที่เฉลี่ย ตันละ 9,481 บาท หรือสูงขึ้น 8.15% เนื่องจาก ผลผลิตออกสู่ตลาดลดลงจากผลกระทบภัยแล้ง ขณะทีต่ ลาดยังมีความต้องการข้าวเหนียวเพือ่ การ บริโภคภายในประเทศ ส่งผลให้ราคาปรับตัวสูงขึน้ อย่างไรก็ตาม ด้านสถานการณ์การส่งออก ข้าวในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้ (ม.ค. - มี.ค.) ไทย ส่งออกปริมาณ 2.409 ล้านตัน มูลค่า 39,607 ล้านบาท ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ทีผ่ า่ นมาทีส่ ง่ ออกได้ 2.785 ล้านตัน มูลค่า 44,179 ล้านบาท หรือลดลง 13.50% และ 10.35% ตาม ล�ำดับ เนื่องจากภาวะค่าเงินบาทแข็งค่า ส่งผลให้ ราคาข้าวไทยปรับตัวสูงขึ้นกว่าประเทศคู่แข่ง “ตั้งแต่เริ่มจัดท�ำแผนการผลิต และการ ตลาดข้าวครบวงจรมาจนถึงปีนี้ เชื่อมั่นว่าประสบ ความส�ำเร็จ เห็นผลอย่างชัดเจนในเรื่องการใช้ แผนการตลาดน�ำการผลิต สามารถบริหารจัดการ อุปสงค์และอุปทานให้สอดคล้องกัน เกษตรกร มีรายได้ มีความมั่นคงในอาชีพ และยกระดับ คุณภาพข้าวไทยในภาพรวมให้ดยี งิ่ ขึน้ ″ เลขาธิการ สศก. กล่าวทิ้งท้าย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Thailand Focus

เผยสินค้าเกษตรคร่งึ ปีหลัง 62 นางสาวจริยา สุทธิไชยา เลขาธิการส�ำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร (สศก.) เปิดเผยถึงสถานการณ์สินค้าเกษตรช่วง ครึ่งปีหลังว่า ตั้งแต่มิถุนายน - ธันวาคม 2562 นับเป็นช่วงที่จะ มีผลผลิตสินค้าเกษตรหลายชนิดออกมาในปริมาณมากกว่า ช่วงครึ่งปีแรก คิดเป็นสัดส่วนจีดีพีเกษตรในครึ่งปีหลังอยู่ที่ 50% โดยสินค้าที่ส�ำคัญได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางพารา สับปะรดโรงงาน ล�ำไย สุกร และกุ้ง ส�ำหรับข้าวนาปี ปี 2562/63 ผลผลิตในช่วงครึ่ง ปีหลัง คาดว่าจะมีปริมาณ 24.58 ล้านตันข้าวเปลือก โดย ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากในเดือนพฤศจิกายน ประมาณ 16.02 ล้านตันข้าวเปลือก หรือ 62.08% ของผลผลิตข้าวนาปี ทัง้ หมด ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ในช่วงครึง่ ปีหลังคาดว่าจะมีผลผลิต 4.22 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 4.16 ล้านตันในช่วงเดียวกับปีที่ ผ่านมา ซึ่งผลผลิตจะออกสู่ตลาดมาก และกระจุกตัวในช่วงเดือน กันยายน -พฤศจิกายน ประมาณ 3.29 ล้านตัน คิดเป็น 64.33% ของผลผลิตรวมทั้งประเทศ ยางพารา เนื่องจากช่วงครึ่งปีหลังเป็นช่วงเปิดกรีดยาง ท�ำให้มีผลผลิตออกสู่ตลาดมากประมาณ 3.51 ล้านตัน คิดเป็นสัดส่วน 71.21% ของผลผลิตรวมทัง้ ประเทศ เพิม่ ขึน้ จาก 3.36 ล้านตันในปี 2561 สับปะรดโรงงาน ผลผลิตออกสู่ตลาดมากช่วงแรกคือเดือนเมษายน - มิถุนายน ประมาณ 571,798 ตัน และช่วงเดือนตุลาคม - ธันวาคม ประมาณ 519,154 ตัน ล�ำไย คาดว่าผลผลิต จะออกสูต่ ลาด 776,260 ตัน โดยจะออกมากสุดในเดือนสิงหาคม ปริมาณ 249,220 ตัน หรือคิดเป็น 23.33% ของผลผลิตทัง้ หมด สุกร คาดว่าจะมีผลผลิตสุกรประมาณ 11.64 ล้านตัว ลดลงจาก 13.69 ล้านตัวในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยผลผลิต

ที่มา : ผู้จัดการรายวัน 360 องศา ฉบับวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

9


Thailand Focus

สุกรมีผลผลิตออกสูต่ ลาดใกล้เคียงกันตลอดทัง้ ปี กุง้ ในช่วง ครึ่งปีหลังมีปริมาณ 187,588 ตัน คิดเป็น 58.81% ของ ผลผลิตกุ้งทั้งหมด ซึ่งผลผลิตเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของ ปีที่ผ่านมา 14.88% สินค้าที่มีแนวโน้มราคาดีในช่วงครึ่งปีหลัง ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ราคาที่เกษตรกรขายได้ (ม.ค. - เม.ย.) ณ ความชื้น 14.5% เฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 8.33 บาท จึง คาดว่าช่วงครึง่ ปีหลังราคายังคงอยูใ่ นเกณฑ์ดี เนือ่ งจากความ ต้องการใช้ในประเทศเพิ่มขึ้น สับปะรดโรงงาน เนื่องจาก ผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง ขณะที่ตลาดมีความต้องการ เพิ่มขึ้น ประกอบกับสถานการณ์ตลาดต่างประเทศจะปรับ ตัวดีขึ้น ส่งผลให้ราคาส่งออกช่วงครึ่งปีหลังมีแนวโน้มเพิ่ม ขึ้น คาดว่าราคาที่เกษตรกรขายได้จะอยู่ในเกณฑ์กิโลกรัม ละ 5 - 6 บาท เพิ่มขึ้นจากช่วงครึ่งปีแรกที่ขายได้กิโลกรัม ละ 4.39 บาท ทั้งนี้ สศก. คาดว่าแนวโน้มจีดีพีเกษตรในปี 2562 อาจจะลดลงจากที่คาดการณ์ไว้เมื่อช่วงต้นปีอยู่ที่ 2.5 3.5% เนือ่ งจากปรากฏการณ์เอลนีโญส่งผลต่อการเปลีย่ น แปลงสภาพภูมิอากาศ ท�ำให้อุณหภูมิค่าเฉลี่ยสูงขึ้นกว่า ค่าปกติ ปริมาณน�้ำฝนต�่ำกว่าปีที่ผ่านมา และหากมีฝนทิ้ง ช่วง จะยิง่ ส่งผลต่อแผนการผลิต หรือปฏิทนิ การเพาะปลูก ของเกษตรกรได้ ตลอดจนปัจจัยภายนอก เศรษฐกิจโลก ชะลอตัว สงครามการค้าระหว่างสหรัฐฯ กับจีน ราคา น�้ำมันดิบผันผวน อัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้น ทั้งหมดเป็นปัจจัยต่อ ผลผลิตสินค้าเกษตร และมูลค่าจีพีดีเกษตรในภาพรวมทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม ขอให้ เกษตรกรติดตามข้อมูลสภาพอากาศ วางแผนการผลิตพืชให้สอดคล้องกับน�ำ้ ต้นทุน โดยเฉพาะเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี สามารถเข้าร่วมโครงการประกันภัยข้าวนาปี กับ ธ.ก.ส. เพื่อคุ้มครองความเสี่ยงภัยธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้น

10

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Thailand Focus

เดินสายฟังปัญหาชาวนา สั่งเคลียร์งานเดิมชง รบ. ใหม่

นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร ปลัดกระทรวง พาณิ ช ย์ เปิ ด เผยภายหลั ง การประชุ ม คณะ กรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) ที่มีนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ว่า ที่ประชุม เห็นชอบให้ช่วยเหลือเกษตรกรจ�ำนวน 28,792 ราย ที่ตกหล่นการเข้าร่วมโครงการช่วยเหลือ ค่าเก็บเกีย่ ว และปรับปรุงคุณภาพข้าว ปีการผลิต 2559/2560 ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นกลุม่ ชาวนาในจังหวัด สงขลา ที่ได้รับผลกระทบจากน�้ำท่วม ท�ำให้ต้อง เลื่อนเวลาการเพาะปลูกออกไป โดยขั้นตอนต่อ จากนีท้ างฝ่ายเลขานุการของ นบข. จะเสนอมติให้ ครม. วันที่ 28 พฤษภาคม นี้ พิจารณาเห็นชอบ เป็นเรื่องเร่งด่วน เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ตกหล่นครั้งนี้ โดยใช้งบประมาณลงไปช่วยรวม 180 ล้านบาท ทั้งนี้สาเหตุที่รัฐต้องช่วยเหลือ เนื่องจาก กลุ่มแรกได้รับผลกระทบจากน�้ำท่วมในจังหวัด สงขลา จนต้องเลื่อนการเพาะปลูกข้าวนาปี ท�ำให้ เกษตรกรต้องขึ้นทะเบียนหลังโครงการสิ้นสุดลง แล้ว จึงเข้าร่วมไม่ทัน จ�ำนวน 11,582 ราย อีก กลุ่มเป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนตามที่ตั้งแหล่ง

เพาะปลูก แต่ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) จัดท�ำข้อมูลตามภูมิล�ำเนา ท�ำให้ ธ.ก.ส. ไม่พบข้อมูล 1,521 ราย อีกกลุ่ม เป็นเกษตรกรที่แจ้งยกเลิกการเข้าร่วมโครงการ และเปลี่ยนไปท�ำเกษตรกรรมทางเลือกอื่น แต่ ขั้นตอนยกเลิกใช้เวลานานท�ำให้เข้าร่วมโครงการ ไม่ทัน 1,197 ราย นอกจากนี้ ยังรวมถึงกลุม่ เกษตรกรทีไ่ ม่ได้ รับเงินช่วยเหลือตามโครงการช่วยเหลือต้นทุนการ ผลิต ทีส่ นิ้ สุด 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ซึง่ ข้อมูล เบิกจ่ายเงินของ ธ.ก.ส. ใช้เวลา 7 วัน ท�ำให้ขอ้ มูล เกษตรกรที่จัดส่งในช่วง 19 - 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 เบิกจ่ายไม่ทัน 7,922 ราย อีกกลุ่มข้อมูล ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากเกษตรกรไม่ระบุพันธุ์ข้าว 1,238 ราย และสุดท้าย ธ.ก.ส. ตรวจสอบพบว่า เกษตรกรได้รบั เงินยังไม่ครบตามสิทธิ 5,332 ราย ขณะเดียวกันที่ประชุมยังรับทราบแนวทาง ช่วยเหลือเกษตรกรปลูกข้าวฤดูการผลิตปี 2562/ 2563 ที่จะด�ำเนินการตามนโยบายรัฐบาล ไม่ว่า สินเชื่อชะลอการขาย สินเชื่อระบายข้าว ชดเชย

ที่มา : เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

11


Thailand Focus ดอกเบี้ยภาคเอกชนในการเก็บข้าวในสต็อก ซึ่ง เป็นแนวทางเดิมทีช่ ว่ ยเหลือเกษตรกรช่วงทีผ่ า่ นมา โดยที่ประชุมมอบหมายให้กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ไปเชิญชวนเกษตรกรมาลงทะเบียน อีกทัง้ ยังจัดตั้งคณะท�ำงาน 28 ชุด ส�ำรวจและรับฟัง ความเดือดร้อนเกษตรกรทุกพื้นที่ เพื่อน�ำปัญหา ต่างๆ เสนอที่ประชุมต่อไป และที่ประชุมย�้ำให้ ทุกหน่วยงานเร่งเคลียร์งานเดิม เพื่อเตรียมชี้แจง ต่อรัฐบาลใหม่ด้วย นายบุณยฤทธิ์ กล่าวด้วยว่า ที่ประชุมยัง รับทราบรายงานการระบายข้าวในสต็อกรัฐจาก ทางคณะอนุกรรมการระบายข้าวได้สรุปว่า ล่าสุด ได้ระบายข้าวในสต็อกที่มาจากรัฐบาลต่างๆ ใน หลายปีที่ผ่านมาจนหมดสิ้นแล้ว จะเหลือเพียง บางส่วนทีเ่ ป็นข้าวทีต่ ดิ คดีความ หรือการฟ้องร้อง

12

ซึ่งมีเหลืออยู่จ�ำนวนไม่มาก ประมาณ 9.4 แสน ตัน โดยทางองค์การคลังสินค้า (อคส.) และองค์การ ตลาดเพือ่ เกษตรกร (อ.ต.ก.) จะรับไปด�ำเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อตามขั้นตอนให้เสร็จในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ส่วนการพิจารณาตัวเลข ทางบั ญ ชี ทางคณะอนุ ก รรมการปิ ด บั ญ ชี ข อง กระทรวงการคลัง จะมีการสรุปตัวเลขต่อไป อย่างไรก็ตาม ที่ประชุมยังรับทราบสถานการณ์ข้าวไทยในปี 2562 โดยปรับเป้าหมายการ ส่งออกข้าวไทย เป็น 10 ล้านตัน ลดลงจากปีกอ่ น ที่มีปริมาณ 11.09 ล้านตัน เนื่องจากเงินบาท แข็งค่าขึน้ และจีนเป็นตลาดส่งออกส�ำคัญของไทย มีสต็อกข้าวปริมาณมาก และระบายข้าวเก่าออก มาอย่างต่อเนื่อง

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

13


Thailand Focus

14

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

15


Thailand Focus

16

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562




Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

17


Thailand Focus

18

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

19


Thailand Focus

20

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Thailand Focus ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

21


Food Feed Fuel

สศก. ชี้ข้าวโพดหลังนาดีกว่าทำ�นา > ภาคเหนือตอนลา่ งท�ำรายได้ 2 พันลา้ น

ก�ำแพงเพชร เกษตรกรมีต้น ทุนข้าวโพด เลี้ ย งสั ต ว์ 4,768 บาท/ไร่ เกษตรกรขายได้ (ความชื้น 14.5%) ราคากิโลกรัมละ 8.00 บาท ได้ผลตอบแทน 7,357 บาท/ไร่ คิดเป็นรายได้ สุ ท ธิ 2,589 บาท/ไร่ ในขณะที่ ข ้ า วนาปรั ง เกษตรกรมีตน้ ทุน 4,231 บาท/ไร่ เกษตรกรขายได้ (ความชื้น 15%) ราคากิโล กรัมละ 7.40 บาท ผลตอบแทน 5,325 บาท/ไร่ รายได้สุทธิ 1,095 บาท/ไร่ นางอั ญ ชนา ตราโช รองเลขาธิ ก าร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยถึงสถานการณ์ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังนา ปีเพาะปลูก 2561/62 ที่ ป ลู ก ระหว่ า งเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2561 ถึ ง กุมภาพันธ์ 2562 ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ของแหล่งผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ส�ำคัญใน 5 จังหวัด เปรียบเทียบกับข้าวนาปรัง หลังจาก เกษตรกรเข้าร่วมโครงการสานพลังประชารัฐเพือ่ สนั บ สนุ น การปลู ก ข้ า วโพดหลั ง ฤดู ท� ำ นาของ รัฐบาล โดยส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกแทนข้าว รอบ 2 (ข้าวนาปรัง) ซึ่งจากการติดตามสถานการณ์โดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 12 (สศท.12) จังหวัดนครสวรรค์ (ข้อมูล ณ 19 เมษายน 2562) พบว่า

พิจิตร ต้นทุนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 4,604 บาท/ไร่ เกษตรกรขายได้ (ความชื้น 14.5%) ราคากิโลกรัมละ 7.90 บาท ผลตอบแทน 6,708 บาท/ไร่ รายได้สุทธิ 2,105 บาท/ไร่ ในขณะที่ ข้าวนาปรัง ต้นทุน 3,992 บาท/ไร่ เกษตรกรขายได้ (ความชื้น 15%) ราคากิโลกรัมละ 7.70 บาท ผลตอบแทน 5,287 บาท/ไร่ รายได้สุทธิ 1,294 บาท นครสวรรค์ ต้นทุนข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ 5,190 บาท/ไร่ เกษตรกรขายได้ (ความชื้น 14.5%) ราคากิโลกรัมละ 8.27 บาท ผลตอบแทน 8,426 บาท/ไร่ รายได้สทุ ธิ ไร่ละ 3,236 บาท/ไร่ ในขณะ ที่ข้าวนาปรัง ต้นทุน 4,227 บาท/ไร่ เกษตรกร ขายได้ (ความชื้น 15%) ราคากิโลกรัมละ 7.44 บาท ผลตอบแทน 5,433 บาท/ไร่ รายได้สุทธิ 1,206 บาท/ไร่

ที่มา : สยามธุรกิจ ฉบับวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

22

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


เพชรบูรณ์ ต้นทุนข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ 5,021 บาท/ไร่ เกษตรกรขายได้ (ความชื้น 14.5%) ราคากิโลกรัมละ 7.95 บาท ผลตอบแทน 7,529 บาท/ไร่ รายได้ สุ ท ธิ 2,509 บาท ในขณะที่ ข้าวนาปรัง ต้นทุน 4,144 บาท/ไร่ เกษตรกรขาย ได้ (ความชืน้ 15%) ราคากิโลกรัมละ 7.48 บาท ผลตอบแทน 5,313 บาท/ ไร่ รายได้สุทธิ 1,169 บาท/ไร่

Food Feed Fuel

อุทัยธานี ต้นทุนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 5,212 บาท/ไร่ เกษตรกรขายได้ (ความชื้น 14.5%) ราคากิโลกรัมละ 7.75 บาท ผลตอบแทน 8,032 บาท/ไร่ รายได้สุทธิ 2,820 บาท/ไร่ ในขณะที่ ข้าวนาปรัง ต้นทุน 4,334 บาท/ไร่ เกษตรกร ขายได้ (ความชื้น 15%) ราคากิโลกรัมละ 7.99 บาท ผลตอบแทน 5,710 บาท/ไร่ รายได้สุทธิ 1,376 บาท/ไร่

จากการส�ำรวจจะเห็นได้ชดั เจนว่า ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ให้ผลตอบแทนที่สูงกว่าข้าวนาปรัง และ จากข้อมูลกรมส่งเสริมการเกษตร (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2562) พบว่ามีเนื้อที่ปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์หลังนา ใน 5 จังหวัด รวม 278,038 ไร่ เกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 19,520 ราย โดย ผลผลิตทีเ่ ก็บเกีย่ วจะออกตลาดช่วงเดือนมีนาคม พฤษภาคม 2562 รวมปริมาณ 267,190 ตัน ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้เกษตรกรในโครงการฯ และน�ำรายได้เข้าสู่ 5 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ไม่ตำ�่ กว่า 2,147.61 ล้านบาท คิดเป็นผลตอบแทน สุทธิ (ก�ำไร) 756.45 ล้านบาท ซึ่งมากกว่าการ ปลูกข้าวรอบสองถึงร้อยละ 127 เมื่อเปรียบเทียบ กับการปลูกในพื้นที่เท่ากัน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

23


Food Feed Fuel

4 ชาติยุโรปหนุน ‘ข้าวไทย’ ยั่งยืน ▶ ก.เกษตร - จี ไอแซด เปิดThai Rice NAMA ▶ เพิ่มผลผลิต 4 ล้านตัน - ลดก๊าซเรือนกระจก

นางสาวดุจเดือน ศศะนาวิน รองปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า กระทรวง เกษตรฯ ร่วมกับองค์กรความร่วมมือต่างประเทศ เยอรมนี (จีไอแซด) จัดท�ำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และลดภาวะโลกร้อนจากการท�ำนา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือโครงการ Thai Rice NAMA ได้รับเงินสนับสนุน 14.9 ล้านยูโร หรือ ประมาณ 600 ล้านบาท จากรัฐบาลเยอรมนี รัฐบาลสหราชอาณาจักร รัฐบาลเดนมาร์ก และ สหภาพยุโรป (อียู) ผ่านโครงการ NAMA Faci lity ระยะเวลาด�ำเนินโครงการ 5 ปี (ปี 2561 2566) พัฒนาการผลิตข้าวของเกษตรกร จ�ำนวน 100,000 ครัวเรือน ในพื้นที่ 6 จังหวัด ภาคกลาง ได้แก่ ชัยนาท สิงห์บรุ ี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และสุพรรณบุรี ประมาณ 2.8 ล้านไร่ มีเป้าหมายการปรับเปลี่ยนระบบการท�ำนาเป็น แบบยั่งยืน และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต นางสาวดุจเดือนกล่าวว่า โครงการนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก คื อ ลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ น กระจก ทัง้ ในส่วนการท�ำนา และภาคการผลิตข้าว ทั้งระบบ รวมถึงผลิตข้าวได้มาตรฐานการผลิต ที่ยั่งยืน ซึ่งความร่วมมือครั้งนี้ ไทยตั้งเป้าจะลด ก๊าซเรือนกระจกให้ได้ 25% ภายในปี 2573

“โครงการนี้ นอกจากจีไอแซดแล้ว ยังมี ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จะปล่อยสินเชื่อสีเขียวให้แก่ผู้ให้บริการ เทคโนโลยีทางการเกษตรเพื่อลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก ถือเป็นความร่วมมือบูรณาการจาก หลายหน่วยงาน คาดว่าจะมีผู้ได้รับผลประโยชน์ ทีเ่ ป็นเกษตรกร และผูใ้ ห้บริการเทคโนโลยีจำ� นวน 454,200 คน มีพื้นที่เพาะปลูกเป้าหมายแบ่งเป็น นาปรังประมาณ 2.8 ล้านไร่ และนาปีอีก 2.8 ล้านไร่ คาดว่าจะได้ผลผลิตสูงสุดประมาณ 4 ล้าน ตันต่อปี″ นางสาวดุจเดือนกล่าว นางสาวดุจเดือนกล่าวว่า โครงการนี้ จะมุง่ เน้นให้เกษตรกรรายย่อยปรับเปลี่ยนวิธีการท�ำ นาแบบปัจจุบัน ไปสู่การท�ำนาที่ปล่อยก๊าซเรือน กระจกต�่ำ และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพันธุ์ ข้าว และเทคโนโลยีเฉพาะที่เหมาะสมกับพื้นที่ โดยโครงการจะมีการจัดตัง้ กองทุนหมุนเวียน และ ให้การฝึกอบรมเพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรเข้าถึง เทคโนโลยีการผลิตข้าวที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก รวมทัง้ การพัฒนามาตรฐานการผลิต ข้าวที่ยั่งยืน เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงตลาด และ ห่วงโซ่คุณค่า รวมถึงการขยายผลในพื้นที่อื่นต่อ ไป

ที่มา : มติชน ฉบับวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

24

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Food Feed Fuel

ASF ช่วยอุ้มหมูไทย

รัฐไม่หลงทิศกดดันตลาด ๏ ชาติชาย ศิริพัฒน์ ๏

นอกจากจะเป็นตลาดใหญ่ที่มีการบริโภค เนื้อหมูมากที่สุดในโลก จีนยังเป็นแหล่งผลิตเนื้อ หมูรายใหญ่ที่สุดของโลกเช่นกัน...แต่เมื่อต้อง ประสบปัญหาการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกร (ASF) อย่างหนัก สุกรถูกจับท�ำลายไป เป็นจ�ำนวนมากเกือบล้านตัว ส่งผลกระทบต่อ ปริมาณหมูไม่เพียงพอต่อความต้องการบริโภค เป็นธรรมดาของกลไกตลาด ราคาหมูใน ประเทศจีนจึงถีบตัวสูงขึน้ ...คาดว่าอาจเพิม่ สูงขึน้ ถึง 78% ในปีหน้า และกว่าจีนจะฟืน้ ตัวเข้าสูภ่ าวะ ปกติ น่าจะต้องกินเวลาไปถึงปี 2564 - 2565

ไม่เพียงแต่จีนเท่านั้น ASF ยังระบาดไปยัง เวียดนาม กัมพูชา ยิง่ ท�ำให้เกิดเนือ้ หมูในภูมภิ าคนี้ ขาดแคลน ภาวะเช่นนีจ้ ะดันราคาเนือ้ หมูในภูมภิ าค และในตลาดโลกให้พุ่งทะยานสูงขึ้นไปอีก กลับมาที่บ้านเรา...ด้วยมาตรฐานการผลิต และความปลอดภัยทางอาหารอันเป็นที่ยอมรับ ผนวกกับการทีป่ ระเทศไทย โดยกรมปศุสตั ว์ และ ผู้เลี้ยงสุกรทั่วประเทศ ได้จับมือกันป้องกัน ASF อย่างเข้มแข็ง กระทั่งปัจจุบันยังไม่พบการระบาด ของ ASF จึงกลายเป็นความได้เปรียบของประเทศ ไทย และท� ำ ให้ ห มู ข องไทยเป็ น ที่ ต ้ อ งการของ ประเทศต่างๆ

ที่มา : ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 03 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

25


Food Feed Fuel

ในประเทศที่ต้องประสบภาวะขาดแคลนเนื้อหมู ภายใต้การท�ำงานของกรมการค้าภายใน กระทรวง พาณิชย์ หน่วยงานหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับปากท้อง ประชาชน ที่วันนี้ต้องยอมรับ มีการท�ำงานแบบ บูรณาการ มองตลาดในประเทศควบคู่กับทิศทาง ตลาดโลก สามารถดูแลราคาหมูให้อยู่ในระดับ ไม่ กดดันให้ผู้เลี้ยงเร่งส่งหมูออกไปชายแดน ซึ่ง อาจส่งผลท�ำให้ปริมาณหมูในประเทศหายออก ไปจากระบบ จนเกิดความไม่สมดุลของระดับ อุปสงค์ - อุปทานในประเทศ ขณะเดียวกัน ไม่ปล่อยให้ผู้บริโภคต้อง เดือดร้อนกับราคาทีส่ งู เกินไป เพราะได้มกี ารหารือ ผูเ้ ลีย้ งสุกร วางมาตรการดูแลสุกรหน้าฟาร์มไม่ให้ เกินกิโลกรัมละ 75 บาท ราคาเนื้อสุกรช�ำแหละ ไม่เกินกิโลกรัมละ 150 บาท นั บ เป็ น การดู แ ลระดั บ ราคาตั้ ง แต่ ต ้ น น�้ ำ กลางน�้ำ และย�้ำไปที่ปลายน�้ำ อย่างร้านอาหาร ตามสั่งร้านข้าวแกง ร้านก๋วยเตี๋ยวด้วยว่า ไม่ให้ ฉวยโอกาสขึ้นราคา เพราะถ้าอาหารเหล่านี้ปรับขึ้นราคาไป แล้ว มักจะไม่ลดราคาเหมือนราคาเนือ้ หมูทปี่ รับ ขึ้น และลงตามกลไกตลาด ถื อ เป็ น ผลงานล�้ ำ ค่ า ของกรมปศุ สั ต ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์...ประเทศไทย ไม่ ต้องประสบภาวะขาดแคลนหมู ผูบ้ ริโภคคนไทย ยังคงมีหมูบริโภคได้อย่างเพียงพอเช่นเดิม ขณะที่ ภ าวะ ASF ดั น ราคาหมู ทั่ ว โลก สูงขึ้น แนวโน้มราคาของหมูไทยเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน แต่มั่นใจได้ว่าจะไม่แพงสุดโต่งเหมือน

26

นั บ เป็ น สั ญ ญาณดี ที่ ส องหน่ ว ยงานของ ประเทศท�ำงานเรื่องของหมูได้สอดคล้องต้องกัน ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทุกภาคส่วน เป็นมิติใหม่ win - win ด้วยกันทุกฝ่าย ทั้งเกษตรกร พ่อค้า เขียงหมู แม่ค้าอาหารตามสั่ง ผู้บริโภค ท�ำให้ ทุกอย่างขับเคลื่อนร่วมกันได้อย่างยั่งยืน เป็น ผลดีต่ออุตสาหกรรมหมู และส่งผลดีต่อภาพรวม เศรษฐกิจของประเทศ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562



โพลทรียสตาร PoultryStar

®

ทางเดินอาหารที่สมบูรณ สรางความแข็งแรงของลูกไก! 

มีประสิทธิภาพและจําเพาะตอสัตวปก

ไดรับการจดสิทธิบัตรและขึ้นทะเบียนโดย สหภาพยุโรป (EU)

ความหลากหลายของสายพันธุจุลินทรีย โปรไบโอติกทีถ่ กู คัดสรรมาอยางดี ทํางานรวมกับพรีไบโอติก

บริ ษัท เออร์ เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จํากัด 1/913 ถ.พหลโยธิน 60 ต.คูคต อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี 12130 โทร: 02-993-7500 แฟกซ: 02-993-8499 poultrystar.biomin.net

Naturally ahead


Food Feed Fuel

EHP กับ SHIV โรคใหม่กุ้ง

ประมงหวั่นซ�้ำรอย EMS นายอดิศร พร้อมเทพ อธิบดีกรมประมง เผยว่า ขณะนี้ มีรายงานในต่างประเทศ พบโรคระบาดในกุ้ง 2 โรค ท�ำให้มี อัตราการตายสูง ได้แก่ โรค Hepatopancreatic microsporidioisis caused by Enterocytozoon hepatopenaei หรือ EHP ทีเ่ กิดจากเชือ้ ไมโครสปอริเดีย ส่งผลให้กงุ้ โตช้า แตกไซส์ อาจท�ำให้เกิดอาการขีข้ าว กุง้ ทยอยตายกับโรค Shrimp hemocyte iridescent virus หรือ SHIV เพื่อเป็นการป้องกันเฝ้าระวัง และควบคุมไม่ให้เชื้อโรคดังกล่าวเข้ามาแพร่ระบาดในประเทศไทย โดยเฉพาะจากการน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้ง หรืออาหารมีชีวิตมาจากต่างประเทศ โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ออกประกาศก�ำหนดให้โรค EHP และ โรค SHIV ซึ่งเกิดในกุ้งเป็นโรคภายใต้ พ.ร.บ.โรคระบาดสัตว์เช่นเดียวกับโรคอื่นๆ ในสัตว์น�้ำที่เคยมีการประกาศไปแล้วก่อนหน้านี้ 38 โรค “การเพาะเลีย้ งกุง้ ภายในประเทศ จ�ำเป็นต้องปรับเข้าสูร่ ะบบปิด และจัดการ ฟาร์มตามหลักไบโอซีเคียวริตี้ เพือ่ ป้องกันและลดความเสีย่ งของการเกิดโรคระบาด ในกุง้ ไม่ให้สง่ ผลกระทบต่อผลผลิตกุง้ เหมือนช่วงทีโ่ รค EMS ระบาด ซึง่ มาตรการนี้ จะช่วยปกป้อง และรักษาเสถียรภาพกุ้งไทยให้เข้มแข็ง″ อธิบดีกรมประมงให้ข้อมูลโรค EHP เกิดจากเชื้อปรสิต Enterocytozoon hepatopenaei จัดอยู่ในกลุ่มของไมโครสปอริเดียน ซึ่งเป็นปรสิตที่มีขนาดเล็กมาก (เล็กกว่า 1 ไมครอน ไม่สามารถมองด้วยตาเปล่า) การตรวจสอบต้องใช้กล้อง จุลทรรศน์ที่ระดับก�ำลังขยายสูงสุด โดยมีรายงานการติดเชื้อปรสิตชนิดนี้ในกุ้ง Penaeus japonicas ในประเทศออสเตรเลีย มาตัง้ แต่ปี 2544 แม้วา่ กุง้ จะไม่ตายด่วน แบบ EMS แต่จะมีผลท�ำให้กุ้งโตช้า เลี้ยงต่อไปเกษตรกรจะขาดทุนค่าอาหาร

ที่มา : ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

27


Food Feed Fuel

ในประเทศไทยเคยพบปรสิตชนิดนี้ครั้งแรกในกุ้ง กุลาด�ำเมื่อปี 2547 พบในเซลล์ตับ และตับอ่อน ของกุ้งกุลาด�ำ แต่พบในสัดส่วนไม่มากพอที่จะก่อ ให้เกิดโรค EHP ส่วนโรค SHIV หรือไวรัสกุ้งเกล็ดเลือด เป็นเชื้อไวรัสตัวใหม่ในตระกูล Lridoviridae ในเชื้อ L.vannamei โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การประมงแห่ง ประเทศจีน ตรวจพบในกุ้งขาว Litopenaeus vannamei ที่บ่อเลี้ยงที่เมืองเจ้อเจียง แล้วเกิดตายลงเป็นจ�ำนวนมาก เมื่อปี 2556 พบการตายในกุ้งตัวใหญ่ ล�ำตัวสีซีด ท้องว่างเพราะไม่กนิ อาหาร กล้ามเนือ้ เปลือกแข็ง ตัวแดงเล็กน้อย และสามารถแพร่ เชื้อไปยังกุ้งก้ามกรามได้ด้วย แต่ยังไม่พบการระบาดในบ้านเรา

28

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Food Feed Fuel

ยกเนื้อไก่สด

THAIFEX 2019

“เบญจา ชิคเก้น”

หนึ่งในนวัตกรรม พลิกโฉมอุตสาหกรรมอาหารไทย “เบญจา ชิคเก้น” (Benja Chicken) เป็นผลิตภัณฑ์ “เนื้อไก่สด” รายเดียว ในกลุ่ม “วัตถุดิบสด” ที่ได้รับเลือกเป็นหนึ่งในนวัตกรรม Top Innovative Product ของงาน THAIFEX - World of Food Asia 2019 สร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ อุตสาหกรรมอาหารไทยและเทรนด์อาหารในอนาคต นายประสิทธิ์ บุญดวงประเสริฐ ประธานผูบ้ ริหารฝ่ายปฏิบตั กิ าร สายธุรกิจ การค้าระหว่างประเทศและพัฒนาธุรกิจ ผู้ดูแลผลิตภัณฑ์ เบญจา ชิคเก้น (Benja Chicken) กล่าวว่า จากการเลี้ยงไก่ด้วยข้าวกล้องเป็นครั้งแรกของโลก เป็นปัจจัย ส�ำคัญ ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ “เบญจา ชิคเก้น” ภายใต้ แบรนด์ U Farm ได้รบั คัดเลือกเป็น หนึ่งใน Top Innovative Product ของมหกรรมแสดงสินค้าอาหารและเครื่องดื่ม THAIFEX - World of Food Asia 2019 นับเป็นครัง้ แรกทีส่ นิ ค้าในกลุม่ “วัตถุดบิ สด” สามารถก้าวเป็นหนึ่งในสุดยอดนวัตกรรมอาหารจากกว่า 700 นวัตกรรมอาหาร ทุกประเภทจากทั่วโลก ผ่านการวิจัยผนวกกับความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนา อาหารสัตว์ จนได้ผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบโจทย์ของผู้บริโภคที่ใส่ใจสุขภาพ แต่ ไม่ทิ้งเรื่องรสชาติของอาหาร เป็นอีกต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่สร้างมูลค่าเพิ่ม และสร้าง การเปลี่ยนแปลงให้การผลิตอาหารโปรตีนในอนาคต พร้อมยกระดับมาตรฐาน อุตสาหกรรมของไทยก้าวสู่ระดับโลก

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

29


Food Feed Fuel

“การที่ เบญจา ชิคเก้น ผลิตภัณฑ์ เนื้อไก่สดสามารถเป็นสุดยอดนวัตกรรม ของงาน THAIFEX ขณะทีน่ วัตกรรมอาหาร ส่วนใหญ่มกั เป็นอาหารแปรรูป สะท้อนถึง ศักยภาพของผู้ประกอบการอาหารไทย ที่ สามารถสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ตั้งแต่ต้นทาง ของห่วงโซ่การผลิต” นายประสิทธิ์กล่าว เบญจา ชิ ค เก้ น เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ภายใต้แบรนด์ U Farm ที่ได้ทุ่มเทวิจัย และคิ ด ค้ น นวั ต กรรมให้ ต อบรั บ เทรนด์ อาหารสุขภาพ ผนวกกับใช้ความเชี่ยวชาญด้านการผลิตเนื้อสัตว์ ตั้งแต่ต้นน�้ำ ถึงปลายน�้ำ ช่วยพลิกโฉมอุตสาหกรรมการผลิตอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยมี จุดเด่นที่น�ำข้าวกล้อง ซึ่งเอกลักษณ์หนึ่งของอาหารไทย อุดมด้วยวิตามิน แร่ธาตุ และเส้นใยอาหาร นับเป็นหนึ่งใน Super food ส่วนส�ำคัญท�ำให้เนื้อไก่มีความ หอม นุ่ม และฉ�่ำของเนื้อไก่มากกว่าเนื้อไก่ปกติถึง 55% ที่ส�ำคัญยังปลอดสาร ปลอดภัย ไม่ใช้ฮอร์โมน และไม่เคยได้รับยาปฏิชีวะนะ 100% ตลอดการเลี้ยงดู ในระบบ Cage Free ซึง่ ได้รบั การรับรองมาตรฐานระดับโลกจาก NSF International (National Sanitation Foundation) อีกด้วย เบญจา ชิคเก้น ยังสร้างความแตกต่างในแง่รสชาติของอาหารเพื่อสุขภาพ จึงได้รับการตอบรับจากเชฟชั้นน�ำเลือกใช้เป็นวัตถุดิบพรีเมียมในการปรุงเมนู พิเศษ รวมทั้งยังได้เป็นผลิตภัณฑ์พรีเมี่ยมที่วางจ�ำหน่ายในเดอะมอลล์ ท็อป ซุปเปอร์มาร์เก็ต วิลล่า ฟู้ดแลนด์ ริมปิง เชียงใหม่ ที่ส�ำคัญยังเป็นแบรนด์เดียวของ อาหารไทยที่ได้รับเลือกให้วางจ�ำหน่ายในห้างดองกิ ทองหล่อ ซูเปอร์มาร์เก็ตชั้นน�ำ จากญี่ปุ่น ทั้งนี้ ผู้ที่สนใจสามารถสัมผัสกับความสุดยอดนวัตกรรมของ “เบญจา ชิคเก้น” และนวัตกรรมอาหารอื่นๆ ของซีพีเอฟ ได้ในงาน THAIFEX 2019 ที่บูธหมายเลข R01, R15, Q01 และ Q15 ในชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 2 จนถึงวันที่ 1 มิถุนายนนี้

30

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Food Feed Fuel

จัดระบบบริหารจัดการนมโรงเรียนใหม่ มุ่งเด็กไทยบริโภคนมคุณภาพ - เกษตรกรโคนมเข้มแข็ง

ตามที่คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปรับระบบโครงการนมโรงเรียนส�ำหรับเด็กและเยาวชนทั่วประเทศเพื่อ แก้ไขปัญหานมไม่ได้คุณภาพ และการส่งนมไปยังโรงเรียนไม่ตรงต่อเวลา ที่ก�ำหนดไว้ในสัญญา โดยมีแนวทางมุ่งให้เด็กนักเรียนไทยได้บริโภคนม ที่มีคุณภาพ และสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรโคนมไทย นายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า เพือ่ ให้การบริหารจัดการนมโรงเรียนปีการศึกษา 1/2562 เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ กระทรวงเกษตรฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการอาหาร นมเพื่อเด็กและเยาวชนขึ้น โดยมีอ�ำนาจหน้าที่ในการก�ำกับดูแลโครงการ อาหารเสริม (นม) โรงเรียน ให้เป็นไปตามแนวทางการปฏิรูประบบบริหาร จัดการโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ตามมติรัฐมนตรีรณรงค์การ บริโภคนมไปยังสถาบันการศึกษาทุกระดับ รวมทั้งก�ำหนดระเบียบ ประกาศ หรือค�ำสั่ง เพื่อก�ำกับและควบคุมการด�ำเนินงานโครงการ ซึ่งจ�ำเป็นจะต้อง อาศัยความร่วมมือของหน่วยงานในหลายภาคส่วน เพื่อให้เด็กนักเรียน ในประเทศไทยได้บริโภคนมที่มีคุณภาพตรงต่อเวลา กระจายทั่วถึงทุกพื้นที่ ซึง่ การบริโภคนมนอกจากจะส่งเสริมสุขภาพทีด่ แี ล้ว ยังเป็นส่วนส�ำคัญในการ สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรโคนมไทยอีกทางหนึ่งด้วย “ส�ำหรับระบบบริหารจัดการนมโรงเรียนทีป่ รับใหม่ จะกระจายอ�ำนาจ ให้ผวู้ า่ ราชการจังหวัด 5 จังหวัดทีม่ เี กษตรกรประกอบอาชีพโคนมจ�ำนวนมาก ได้แก่ สระบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น ราชบุรี และเชียงใหม่ โดยมีหน้าที่ ในการก�ำกับดูแลและบริหารจัดการนมโรงเรียนในพื้นที่ ซึ่งจะสามารถแก้

ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

31


Food Feed Fuel ปัญหาเรื่องคุณภาพของน�้ำนม และการจัดส่งให้ ตรงต่อเวลาได้ ส่วนการจัดซือ้ จัดจ้าง ผูป้ ระกอบการ และเกษตรกรที่จะเข้าโครงการฯ ต้องมีเอกสาร แสดงปริมาณ แหล่งทีม่ า และคุณภาพของน�ำ้ นมดิบ ทีต่ นเองมี รวมทัง้ มีระบบประกันภัยทีไ่ ด้มาตรฐาน ในส่วนกระทรวงเกษตรฯ มีมาตรการออกเบี้ย ปรับ และตัดสิทธิ์ผู้ประกอบการ หากพบปัญหา นมด้อยคุณภาพ″ นายกฤษฎา กล่าว ปริมาณความต้องการน�ำ้ นมในปัจจุบนั อยูท่ ี่ วันละ 1,078 ตัน/วัน เป็นไปตามฐานข้อมูลของ กระทรวงศึกษาธิการ และมีการบูรณาการไปยัง หน่วยงานอื่น เช่น ระบบการตรวจสอบคุณภาพ น�ำ้ นมโดยองค์การอาหารและยา (อย.) การก�ำกับ ดูแลการกระจายนมโรงเรียนไปอย่างทัว่ ถึง พร้อม ยืนยันว่า สามารถส่งนมโรงเรียนถึงมือนักเรียน ทันเปิดเทอมนี้แน่นอน โดยตลอดปีการศึกษา 2562 เด็กต้องได้รับนมครบถ้วนคนละ 260 วัน/ ถุง/กล่อง หรือภาคเรียนละ 130 วัน/ถุง/กล่อง ตลอดปีการศึกษา

32

นายกฤษฎา กล่าวต่อว่า ได้ตงั้ อนุกรรมการ ขับเคลื่อนโครงการนมโรงเรียนระดับกลุ่มพื้นที่ (5 กลุม่ ) เป็นผูพ้ จิ ารณาคัดเลือกและจัดสรรสิทธิ การจ�ำหน่ายนมโรงเรียนในโครงการฯ ให้กลุ่ม ผูป้ ระกอบการทีแ่ สดงความจ�ำนงเข้าร่วมโครงการ ส่งอาหารเสริม (นม) โรงเรียนแล้ว โดยใช้จำ� นวน นักเรียนตามข้อมูล (Big Data) ของกระทรวง ศึกษาธิการ และปริมาณ/ขีดความสามารถของ ผูป้ ระกอบการในการให้บริการนมโรงเรียนในพืน้ ที่ มาใช้ในการค�ำนวณจัดสรรปริมาณน�้ำนมให้แก่ ผูป้ ระกอบการแต่ละรายทีข่ อเข้าร่วมโครงการ เพือ่ ป้องกันการส่งนมไม่ตรงเวลา และนมไม่มคี ณ ุ ภาพ รวมทัง้ การส่งนมไม่ครบตามปริมาณความต้องการ ของจ�ำนวนนักเรียน ตามสัญญาซื้อขายระหว่าง องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.) หรือโรงเรียน เอกชน หรือหน่วยงานจัดซื้อ กับ อ.ส.ค. หรือ ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์นมที่ได้รับมอบอ�ำนาจ จาก อ.ส.ค. ดังนั้น ให้ปศุสัตว์จังหวัด และเกษตร จังหวัด จัดเจ้าหน้าที่ไปตรวจสอบการส่งมอบนม โรงเรียนให้แก่โรงเรียนต่างๆ ให้ครบทุกแห่ง รวมทัง้ ต้องเป็นน�้ำนมที่มีคุณภาพ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Food Feed Fuel

ด้าน นางสายฝน แสงแก้ว ครูโรงเรียนบรรพตวิทยา ต.ปอ อ.เวียงแก่น เชียงราย กล่าวว่า ปัจจุบันโรงเรียนรับ นมโรงเรียนประเภทยูเอชที (แบบกล่อง) จากองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล (อบต.) ปอ วันละ 271 กล่อง/คน เพื่อแจกจ่าย ให้นักเรียนตั้งแต่อนุบาล - ประถม 6 ซึ่งการด�ำเนินการที่ผ่านมา มีการจัดส่งครบถ้วน แต่เนื่องจากเป็นโรงเรียนบนดอย การ เดิ น ทางไกล และล� ำ บาก การจั ด ส่ ง อาจไม่ ต รงเวลาบ้ า ง นอกจากนี้ ในช่ ว ง รอยต่องบประมาณ จ�ำนวนวันในการจัดส่งก็ลดน้อยลง จากเดิมที่ก�ำหนดจัดส่ง ในภาคเรียนปกติจ�ำนวน 200 วัน และช่วงปิดเทอม 30 วัน ซึ่งปัญหาดังกล่าว ได้แจ้ง อบต. ให้รับทราบแล้ว ขณะที่ นางนวธรภร ชูแก้ว ครูโรงเรียนหนองผักฉีด ต.สุโสะ อ.ปะเหลียน จ.ตรัง บอกว่า ทางโรงเรียนจะรับนมโรงเรียนจากสหกรณ์โคนมพัทลุง จ�ำกัด จัดซื้อโดย อบต. สุโสะ จัดส่งให้เด็กดื่มในเทอมที่แล้ววันละ 53 คน/กล่อง ส่วน เทอม 1/2562 ก�ำลังระหว่างแจ้งข้อมูลจ�ำนวนนักเรียนเป้าหมายให้ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.ตรัง) คาดจะสามารถรับนมได้ในต้น มิถุนายนนี้ โดยจะรับเป็นนมประเภทพาสเจอร์ไรส์ โดยทางโรงเรียนได้เข้าร่วม โครงการมา 4 ปีแล้ว อย่างไรก็ตาม อยากให้รัฐบาลให้การสนับสนุนโครงการดีๆ แบบนี้ไปนานๆ

photo : Free-Photos_pixabay ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

33


Food Feed Fuel

ปศ. ชลบุรี บุกจับโรงฆ่าสัตว์เถื่อน พบซากหมูแหล่งเชื้อโรค

ปศุสัตว์ ชลบุรี สนธิก�ำลังทหารกองเรือ สัตหีบ - ต�ำรวจ บุกจับโรงฆ่าสัตว์เถือ่ น ยึดของกลาง ซากหมู 33 ตัว รวมมูลค่ากว่า 2.4 แสนบาท แจ้ง ความด�ำเนินคดีหลายข้อหาหนัก ยังเป็นแหล่งแพร่ เชื้อโรคร้าย เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 นาย สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยว่า กรม ปศุสัตว์ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ทหาร ต�ำรวจ เข้าตรวจ จั บ การประกอบกิ จ การฆ่ า สั ต ว์ โ ดยผิ ด กฎหมาย ในพื้นที่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ จากส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดชลบุรี ส�ำนักงานปศุสัตว์เขต 2 กองสารวัตร และ กักกัน ด่านกักกันสัตว์ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และจันทรบุรี ร่วมกับเจ้าหน้าที่ ทหาร จากกองรักษาความปลอดภัยฐานทัพเรือสัตหีบ เจ้าหน้าที่ต�ำรวจจากสถานี ต�ำรวจภูธรสัตหีบ เข้าตรวจค้นสถานที่ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการฆ่าสัตว์ ใน พื้นที่ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี พบการกระท�ำความผิด มีการประกอบกิจการฆ่าสัตว์ โดยไม่ได้รับอนุญาต จึงได้ท�ำการเข้าจับกุมพร้อมยึดของกลางเป็นซากสัตว์ และ วัสดุอปุ กรณ์ในการฆ่าสัตว์จำ� นวนมาก ตามทีไ่ ด้รบั ร้องเรียนว่ามีการประกอบกิจการ ฆ่าสัตว์โดยไม่ได้รับอนุญาต ผลการตรวจค้นพบว่ามีการกระท�ำความผิด จึงได้ จับกุมผู้กระท�ำความผิด พร้อมยึดของกลางเป็นซากสุกรช�ำแหละจ�ำนวน 33 ตัว น�้ำหนักประมาณ 3,300 กิโลกรัม และอุปกรณ์ที่ใช้ในการฆ่า จ�ำนวน 20 รายการ รวมมูลค่าประมาณ 247,500 บาท เพื่อส่งด�ำเนินคดีที่สถานีต�ำรวจภูธรสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยแจ้งข้อกล่าวหา ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติ ที่มา : เว็บไซต์เดลินิวส์ วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

34

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Food Feed Fuel ควบคุมการฆ่าสัตว์เพือ่ การจ�ำหน่ายเนือ้ สัตว์ พ.ศ. 2559 โดยท�ำการประกอบกิจการฆ่าสัตว์โดย ไม่ได้รับอนุญาต ต้องโทษตามมาตรา 56 ระวาง โทษจ�ำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินสองแสน บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ และไม่ปฏิบัติตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อ การจ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. 2559 การด� ำ เนิ น การเข้ า ตรวจค้ น จั บ กุ ม การ ประกอบกิจ การฆ่า สั ตว์ โ ดยผิ ดกฎหมายครั้ง นี้ เป็นนโยบายส�ำคัญของกรมปศุสัตว์ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เพื่ อ ความปลอดภั ย ของ ผู้บริโภคเป็นหลัก เนื่องจากเนื้อสัตว์ที่ได้จากการ ประกอบกิจการฆ่าสัตว์ที่ไม่ได้รับอนุญาต จะไม่มี การตรวจสอบใดๆ ไม่ทราบแหล่งที่มาของสัตว์ และผ่านกระบวนการฆ่าสัตว์ที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ท�ำให้เนือ้ สัตว์ไม่ปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค มีความเสีย่ ง ในการน�ำเชื้อโรคระบาดติดต่อไปยังผู้บริโภคได้ เช่น โรคท้องร่วงที่เกิดจากเชื้อซัลโมเนลล่า (salmonellosis) โรคพยาธิในระบบทางเดินอาหาร

หรืออันตรายจากสารตกค้าง เช่น สารเร่งเนือ้ แดง ฮอร์โมน และยาปฏิชวี นะ เป็นต้น ส่งผลต่อสุขภาพ ของผูบ้ ริโภค และอาจท�ำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชวี ติ ได้ นอกจากนี ้ การไม่ทราบแหล่งทีม่ าของสัตว์ทนี่ ำ� มาฆ่า อาจเป็นสาเหตุการแพร่กระจายของเชือ้ โรค ระบาดสัตว์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไข้หวัดนก (Avian Influenza: AI) กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับการ ปราบปรามการประกอบกิจการฆ่าสัตว์โดยผิด กฎหมายทั่วประเทศ เพื่อยกระดับให้โรงฆ่าสัตว์ มีมาตรฐานเดียวกัน สร้างความปลอดภัยให้กับ ผู้บริโภค หากมี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ต้ อ งการร้ อ งเรี ย น ผู้กระท�ำความผิดกฎหมาย สามารถติดต่อได้ที่ ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดทุกจังหวัด หรือต้องการ ร้องเรียนผูก้ ระท�ำผิดกฎหมาย ติดต่อกองสารวัตร และกักกัน กรมปศุสตั ว์โทรศัพท์ 0-2501-3473-5

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

35


Food Feed Fuel

กรมปศุ สัตว์ ส่ งชุดปฏิบัติการพิเศษพญาไท

บุกจับพอ่ คา้ รายใหญ่ ลอบขายซากหมูเล็กแช่แข็ง (หมูก)ี้ สง่ ท�ำหมูหันขายในภัตตาคารชื่อดังหลายแห่งในกรุงเทพ ๏ สุวรรณี กาญจนภูสิต ๏

ชุดปฏิบัติการพิเศษพญาไท กรมปศุสัตว์ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ สน.พระโขนง น�ำหมาย ศาลเข้าตรวจค้น และจับกุมพ่อค้ารายใหญ่ ลักลอบ น�ำซากหมูเล็กแช่แข็ง (หมูก้ี) ไม่สามารถระบุ แหล่งทีม่ าได้ จ�ำนวน 558 ตัว น�ำ้ หนักกว่า 1,400 กิโลกรัม มูลค่ากว่า 3.4 แสนบาท เก็บรวบรวม ไว้ในห้องเย็นชั้นล่างของตึกแถว 3 ชั้น ส�ำหรับ อยู่อาศัย แล้วน�ำส่งขายตามภัตตาคารที่จ�ำหน่าย หมูหัน เป็นเมนูหลักชื่อดังหลายแห่งในกรุงเทพฯ หวั่นเป็นหมูกี้ลักลอบจากประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค และเสี่ยงแพร่เชื้อแอฟริกา อหิวาต์ในสุกร ซึ่งเป็นโรคระบาดร้ายแรง

นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรม ปศุสัตว์ เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ชุดปฏิบัติการพิเศษ พญาไท กรมปศุสัตว์ น�ำโดย นายสัตวแพทย์ จิรภัทร อินทร์สขุ ต�ำแหน่งนายสัตวแพทย์ชำ� นาญการ ขอหมายศาลอาญา และร่วมกับเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจนครบาล สน.พระโขนง น�ำโดย ร้อยต�ำรวจ เอกสมบูรณ์ อีสา รองสารวัตรสอบสวน เข้าตรวจ ค้นตึกแถว 3 ชั้น 3 คูหา เลขที่ 228 อ่อนนุช 35 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง ซึง่ จากการสืบทราบ ทางลับ พบว่ามีชั้นล่างของตึกแถวเป็นห้องเย็น เพื่อเก็บรวบรวมซากหมูเล็กแช่แข็งไม่ทราบแหล่ง ที่มา แล้วลักลอบขนย้ายใส่รถยนต์เพื่อส่งขาย ให้กับภัตตาคารที่มีชื่อเสียงในกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีหมูหันเป็นเมนูหลักจ�ำหน่ายให้กับลูกค้าที่มา รับประทานอาหาร ผลการตรวจค้นตึกแถวดังกล่าว มีเนื้อที่รวม 100 ตารางวา โดยชั้นบนเป็นที่พัก อาศัย ส่วนชั้นล่างมีห้องเย็น 2 ห้อง ขนาด 6x3 เมตร และ 4x2 เมตร และในห้องเย็นทั้ง 2 ห้อง ตรวจพบซากหมูเล็กแช่แข็งอยู่ภายใน ซึ่งเจ้าของ ไม่สามารถระบุแหล่งที่มาของซากหมูเหล่านี้ได้ จ�ำนวน 558 ซาก เฉลี่ยน�้ำหนักซากละ 2.5 - 3

ที่มา : กรมปศุสัตว์ วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562

36

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Food Feed Fuel กิโลกรัม รวมน�้ำหนักทั้งหมดประมาณ 1,400 กิโลกรัม มูลค่ากว่า 3.4 แสนบาท เจ้าของรับ สารภาพว่าได้น�ำส่งซากหมูเหล่านี้ไปขายให้กับ ภัตตาคารรวม 4 แห่ง ซึ่งเป็นภัตตาคารชื่อดัง ในกรุงเทพฯ ทีม่ หี มูหนั เป็นเมนูหลักจ�ำหน่ายให้กบั ลูกค้าทีม่ ารับประทานอาหาร เจ้าหน้าทีช่ ดุ ปฏิบตั -ิ การพิเศษพญาไท ในฐานะพนักงานเจ้าหน้าที่ จึงได้แจ้งข้อหาในการกระท�ำความผิดตามมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ และมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการ จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ.2559 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

“ปฏิบัติการครั้งนี้ ในเบื้องต้นตรวจพบซาก หมูเล็กแช่แข็งจ�ำนวนมากที่เจ้าของไม่สามารถ น�ำหลักฐานแหล่งที่มา และไม่มีเอกสารหลักฐาน ที่ผ่านการตรวจสอบจากพนักงานตรวจโรคสัตว์ มาแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ จึงมีความผิด ตามกฎหมาย และท� ำ ให้ มี ค วามเสี่ ย งต่ อ เชื้ อ โรคระบาดปะปนมากับซากสัตว์ ไม่ปลอดภัยต่อ ผู้บริโภค พนักงานเจ้าหน้าที่ได้ท�ำการอายัดซาก หมูทั้งหมด เพื่อตรวจสอบแหล่งที่มาให้แน่ชัด เก็บตัวอย่างซากหมูส่งห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจ พิสูจน์เชื้อโรคปนเปื้อน และตรวจดีเอ็นเอ หาก ผลตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอพบว่า เป็นดีเอ็นเอของหมู ที่เลี้ยงในประเทศเพื่อนบ้าน จะถูกด�ำเนินคดีเพิ่ม รวมถึ ง ขยายผลเพื่อ ให้ ถึง ตั ว ผู้ กระท� ำผิด และ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

37


Food Feed Fuel

ผู้ร่วมขบวนการลักลอบน�ำเข้าต่อไป ซึ่งการตรวจสอบครั้งนี้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และเป็นหนึ่งในมาตรการที่เข้มงวด เพื่อป้องกันโรคอหิวาต์ แอฟริกาในสุกรทีอ่ าจแพร่ระบาดจากประเทศเพือ่ นบ้านเข้ามาในประเทศไทย อันจะ ท�ำให้เกิดความเสียหายต่ออุตสาหกรรมการเลีย้ งหมูของไทยอย่างรุนแรงได้” อธิบดี กรมปศุสัตว์กล่าวในที่สุด ทั้งนี้ หากประชาชนต้องการข้อมูลเพิ่มเติม หรือพบเห็นการกระท�ำผิด ด้านปศุสัตว์ โปรดติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อขอรับข้อมูล หรือแจ้งเบาะแสการกระท�ำ ความผิดเพื่อด�ำเนินการตามกฎหมาย โดยแจ้งผ่านแอพพลิเคชั่น DLD 4.0 ที่ ดาวน์โหลด และติดตั้งได้ในโทรศัพท์ทุกระบบ

38

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิตพืชน�้ำมัน - โลก (USDA) 1.2 ผลผลิตถั่วเหลือง 1.2.1 โลก (USDA) 1.2.2 ไทย (สศก.) - ถั่วฤดูแล้ง - ถั่วฤดูฝน 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก (USDA) 1.3.2 ไทย (สศก.) 1.4 ต้นทุนการผลิต (บาท/กก.) : (สศก.) 1.5 น�ำเข้า : กรมศุลกากร 1.6 ส่งออก : กรมศุลกากร ไทยน�ำเข้าจาก ไทยส่งออกไป

Food Feed Fuel

สถานการณ์

ถั่วเหลือง ปี 59

ปี 60

ปี 61

ปี 62

(ประมาณการ)

524.130

572.850

578.030

594.990

316.565 0.038 0.021 0.017

349.309 0.045 0.025 0.020

341.672 0.045 0.026 0.020

360.579 0.046 0.027 0.019

316.240 2.990 15.790

330.780 2.787 15.550

338.580 2.956

349.110 2.946

2.958 2.746 2.723 0.005 0.004 0.003 สหรัฐอเมริกา 53% บราซิล 45% แคนาดา 1% ลาว 53% กัมพูชา 36% เวียดนาม 10%

2. ราคา (บาท/กก.) ปี 60 2.1 เกษตรกรขายได้ (ชนิดคละ) : สศก. 14.91 2.2 ขายส่ง ตลาด กทม. : กรมการค้าภายใน - เกรดแปรรูปอาหาร 20.55 - เกรดผลิตอาหารสัตว์ 18.64 - เกรดสกัดน�้ำมัน 18.32 2.3 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก : www.cmegroup.com - บาท/กก. 12.24 - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 358.65

(ม.ค.-มี.ค. 62)

0.857 0.0008

ปี 61 16.68

มี.ค. 62 15.72

เม.ย. 62 17.26

20.53 18.53 18.50

19.50 17.50 18.50

19.50 17.50 18.50

11.11 342.50

10.50 329.20

9.77 324.22

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

39


Food Feed Fuel

1. สถานการณ์เดือนเมษายน 2562 ในประเทศ ผลผลิตออกสู่ตลาดในปริมาณลดลง ส่งผลให้ราคาถั่วเหลืองที่เกษตรกรขายได้ ชนิดคละปรับสูงขึน้ จากเดือนก่อน เฉลีย่ กก. ละ 1.54 บาท ด้านราคาขายส่งตลาด กทม. เกรดแปรรูป ผลิตภัณฑ์อาหาร เกรดผลิตอาหารสัตว์ และเกรดสกัดน�้ำมันยังทรงตัวเท่ากับเดือนก่อน ส�ำหรับการน�ำเข้าเมล็ดถัว่ เหลือง เดือนมกราคม - มีนาคม 2562 มีจำ� นวน 857,454 ตัน เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีจ�ำนวน 695,261 ตัน โดยน�ำเข้าจากประเทศสหรัฐอเมริกา (82%) บราซิล (16%) แคนาดา (2%) ต่างประเทศ USDA ประมาณการผลผลิตเมล็ดถัว่ เหลืองโลกมีปริมาณเพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นที่ 341.67 ล้านตัน เป็น 360.58 ล้านตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.53 นักลงทุนจึงชะลอการลงทุน ส่งผลให้ราคา ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกปรับลดลงตามภาวะอุปสงค์อุปทาน 2. แนวโน้มเดือนพฤษภาคม 2562 ผลผลิตส่วนใหญ่เป็นการน�ำเข้ามาจากต่างประเทศ และมี ปริมาณเพียงพอต่อความต้องการใช้ ด้านราคาเคลือ่ นไหวตามต้นทุนการน�ำเข้า ส�ำหรับผลผลิตถัว่ เหลือง ของไทยสิ้นสุดฤดูกาลเพาะปลูกแล้ว กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤษภาคม 2562

40

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Food Feed Fuel

สถานการณ์

กากถั่วเหลือง

1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิต - โลก (USDA) 1.1.1 วัตถุดิบอาหารสัตว์หมวดโปรตีน 1.1.2 กากถั่วเหลือง 1.2 ผลผลิต - ไทย (รายงานตามบันทึกข้อตกลงการรับซื้อกากถั่วเหลือง) 1.2.1 จากเมล็ดถั่วเหลืองในประเทศ 1.2.2 จากเมล็ดถั่วเหลืองน�ำเข้า 1.3 ความต้องการใช้ 1.3.1 โลก (USDA) 1.3.2 ไทย 1.4 น�ำเข้า : กรมศุลกากร 1.5 ส่งออก (ตัน) : กรมศุลกากร ไทยน�ำเข้าจาก (ข้อมูลปี 61) ไทยส่งออกไป (ข้อมูลปี 61)

ปี 59

ปี 60

ปี 61

ปี 62

(ประมาณการ)

305.240 215.971 1.434 0.011 1.423

319.79 225.549 1.413 0.008 1.405

331.18 232.347 1.445 0.009 1.437

337.92 238.099 1.508 0.009 1.499

213.148 4.506

221.663 4.674

229.423 4.789

234.506 4.789

2.578 2.949 2.954 27,240 15,900 44,596 บราซิล 71% สหรัฐอเมริกา 14% อาร์เจนตินา 12% ลาว 59% กัมพูชา 36% พม่า 4%

2. ราคา (บาท/กก.) ปี 60 2.1 ขายส่ง ตลาด กทม. : กรมการค้าภายใน - กากถั่วเหลืองในประเทศ - เมล็ดฯ ในประเทศ โปรตีน 44-48% 20.50 - เมล็ดฯ น�ำเข้า โปรตีน 44-46% 14.08 - กากถั่วเหลืองน�ำเข้า โปรตีน 46-48% 13.87 2.2 ซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโก : www.cmegroup.com - บาท/กก. 11.86 - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 347.50

ปี 61

มี.ค. 62

(ม.ค.-มี.ค. 62)

0.632 13,831

เม.ย. 62

20.50 14.64 14.36

13.47 13.37

13.42 13.32

12.05 371.75

10.77 337.61

10.17 337.09

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

41


Food Feed Fuel

1. สถานการณ์เดือนเมษายน 2562 ในประเทศ ราคาขายส่งกากถั่วเหลืองผลิตจากเมล็ดถั่วเหลืองน�ำเข้า โปรตีน 44 - 46% และ กากถั่วเหลืองน�ำเข้าโปรตีน 46 - 48% ตลาด กทม. ปรับลดลงจากเดือนก่อนเฉลี่ย กก ละ 0.05 บาท ตามต้นทุนการน�ำเข้าที่ปรับลดลงก่อนหน้านี้ (เฉลี่ยเดือน ม.ค. 62 ตันละ 344.73US$ และเฉลี่ย เดือน ก.พ. 62 ตันละ 337.61US$) ส�ำหรับการน�ำเข้ากากถั่วเหลือง เดือนมกราคม - มีนาคม 2562 มีจ�ำนวน 631,747 ตัน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีจ�ำนวน 690,434 ตัน โดยน�ำเข้าจากประเทศบราซิล (59%) อาร์เจนติน่า (23%) สหรัฐอเมริกา (17%) ต่างประเทศ ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดชิคาโกปรับลดลงจากเดือนก่อนจากตันละ 337.61US$ เป็นตันละ 337.09US$ เนื่องจากผลผลิตในแหล่งผลิตส�ำคัญในสหรัฐอเมริกา ประสบกับปัญหาสภาพ อากาศที่แปรปรวน ผลผลิตได้รับความเสียหาย ประกอบกับนักลงทุนยังรอความคืบหน้าผลการเจรจา การค้าระหว่างสหรัฐฯ และจีน 2. แนวโน้มเดือนพฤษภาคม 2562 ผลผลิตกากถั่วเหลืองโลกยังคงมีปริมาณเพียงพอต่อ ความต้องการของตลาด ด้านราคากากถั่วเหลืองน�ำเข้ามีแนวโน้มเคลื่อนไหวตามภาวะตลาดโลก กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤษภาคม 2562

42

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


1. ผลผลิตและการใช้ (ล้านตัน) 1.1 ผลผลิต 1.1.1 โลก : USDA 1.1.2 ไทย : สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 1.2 ความต้องการใช้ 1.2.1 โลก : USDA 1.2.2 ไทย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1.3 น�ำเข้า (ตัน) : กรมศุลกากร 1.4 ส่งออก (ตัน) : กรมศุลกากร ไทยน�ำเข้าจาก ไทยส่งออกไป 2. ราคา (บาท/กก.) : สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย 2.1 ปลาเป็ด - ดี (สด) - รอง (ไม่สด) 2.2 ปลาป่น ขายส่ง โปรตีน ต�่ำกว่า 60% - เบอร์ 1 - เบอร์ 2 2.3 ปลาป่น ขายส่ง โปรตีน 60% ขึ้นไป - เบอร์ 1 - เบอร์ 2

Food Feed Fuel

สถานการณ์

ปลาป่น ปี 59

ปี 60

ปี 61

ปี 62

(ประมาณการ)

4.51 0.31

4.87 0.29

4.98 0.39

4.73 0.35

4.75 0.73

5.42 0.77

5.32 0.78

5.20 0.78

72,654 62,601 62,912 154,572914 78,829 105,922 เยอรมนี 26.09% สเปน 15.85% ฝรั่งเศส 14.57% จีน 53.42% ญี่ปุ่น 16.91% เวียดนาม 12.14% ปี 60

ปี 61

มี.ค. 62

(ม.ค.-มี.ค. 62)

14,703 28,802

เม.ย. 62

8.64 6.87

8.78 6.87

8.12 6.51

7.99 6.44

34.33 31.64

34.51 31.13

29.00 25.00

29.67 25.67

37.33 33.96

37.65 33.82

32.00 29.00

32.67 29.67

1,200 35.32

1,295 38.27

2.4 ปลาป่น ตลาดเปรู โปรตีน 65% ขึ้นไป : https://hammersmithltd.blogspot.com/ - เหรียญสหรัฐฯ/ตัน 1,207 1,350 - (คิดเป็น โปรตีน 60% : บาท/กก.) 37.97 40.43

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

43


Food Feed Fuel

1. สถานการณ์เดือนเมษายน 2562 ในประเทศ ปริมาณผลผลิตยังมีเพียงพอต่อความต้องการของตลาด ภาวะการค้าคล่องตัวขึ้น เล็กน้อย ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นก่อนวันหยุดยาวของเทศกาลสงกรานต์ ส่งผลให้ราคาปรับสูงขึ้นจากเดือนก่อนเฉลี่ย กก. ละ 0.67 บาท ส�ำหรับการน�ำเข้าปลาป่น ปี 2562 (ม.ค. - มี.ค. 62) มีจ�ำนวน 14,703 ตัน ลดลงจาก ช่วงเดียวกันของปีกอ่ นทีม่ จี ำ� นวน 19,593 ตัน โดยน�ำเข้าจากประเทศเมียนมาร์ (47%) เวียดนาม (30%) อินเดีย (12%) ต่างประเทศ ปลาในเปรูสว่ นใหญ่เป็นปลาขนาดเล็ก ชาวประมงชะลอการจับปลาจนกว่าฤดูวางไข่ จะสิ้นสุดลง ประกอบกับนักลงทุนยังรอดูการประกาศโควตาการจับปลาของเปรู ส่งผลให้ภาวะการค้า ยังคงชะลอตัว 2. แนวโน้มเดือนพฤษภาคม 2562 ผลผลิตมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของตลาด ความ ต้องการใช้ปลาป่นทรงตัว ด้านราคามีแนวโน้มทรงตัวเท่ากับเดือนก่อน กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรมการค้าภายใน พฤษภาคม 2562

44

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


สินค้ำ คุณภำพ สำหรับปศุสตั ว์ไทย      

ผลิตจำกเมล็ดถัว่ เหลื องเกรดอำหำรสัตว์ 100% อุดมด้วยกรดไขมันไม่อ่ ิมตัวซึ่งจำเป็ นต่อกำรเจริ ญเติบโตของสัตว์ ควบคุมกำรผลิตด้วยเทคโนโลยี และเครื่ องจักรที่ทนั สมัย โปรตีน ไม่ต่ ำกว่ำ 36% ไขมัน ไม่ต่ ำกว่ำ 18% เมทไธโอนี น มำกกว่ำ 5,000 ppm ไลซีน มำกกว่ำ 6 กรัม/100 กรัมโปรตีน

สินค้ำ Premium Grade รับรองมำตรฐำน GMP & HACCP

บริษทั ยูนีโกร อินเตอร์เนชัน่ แนล จำกัด 120 หมู ่ 4 ตำบลสำมควำยเผื อก อำเภอเมื อง จังหวัดนครปฐม 73000 โทร. 0-3430-5101-2, 0-3439-5209 แฟกซ์ 0-3430-5103

www.unigrointer.com,

e-mail : unigro_inter@hotmail.com



Market Leader

อธิบดีปศุสัตว์ เปิดศูนย์ท�ำความสะอาด ฆ่าเชื้อโรคยานพาหนะบรรทุกสินค้าปศุสัตว์

อธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นประธานพิธีมอบ และเปิดศูนย์ ท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรคยานพาหนะบรรทุกสินค้าปศุสัตว์ ป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร เมื่ อ วั น ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2562 เวลา 10.30 น. นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นประธานพิธี มอบ และเปิ ด ศู น ย์ ท� ำ ความสะอาดและฆ่ า เชื้ อ โรคยานพาหนะ บรรทุกสินค้าปศุสตั ว์ ตามโครงการความร่วมมือระหว่างกรมปศุสตั ว์ และสมาคมผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ เพือ่ การป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกา ในสุกร พร้อมด้วย นายรณชัย จิตรวิเศษ ผู้ว่าราชการจังหวัด หนองคาย นายชิ ด ชั ย ศรี ด ามา ผู ้ อ� ำ นวยการแขวงทางหลวง หนองคาย กล่าวต้อนรับ และกล่าวมอบพื้นที่ โดยมี นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ น.สพส.ศีลธรรม วราอัศวปติ ปศข. 4 ปศจ. หนองคาย ปศจ. นครพนม ปศจ. บึงกาฬ ปศจ. มหาสารคาม ปศจ. หนองบั ว ล� ำ ภู เข้ า ร่ ว มงานในครั้ ง นี้ ที่สะพานมิตรภาพไทย - ลาวแห่งที่ 1 อ.เมือง จ.หนองคาย

ที่มา : มติชน ออนไลน์ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

45


Market Leader

นายสัตวแพทย์บุรินทร์ สรสิทธิ์สุขสกุล ผู ้ อ� ำ นวยการกองสารวั ต รและกั ก กั น กล่ า ว รายงานถึงวัถตุประสงค์ในการสร้างศูนย์ดังกล่าว กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ ตระหนักถึงความรุนแรงและความเสียหายอย่าง มากต่อภาคอุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรของโรค อหิวาต์แอฟริกาในสุกร ซึ่ง ณ ปัจจุบันยังไม่พบ การระบาดของโรคในประเทศไทย แต่มคี วามเสีย่ ง สูง เนื่องจากมีการระบาดในประเทศเพื่อนบ้าน โดยรอบ จึงได้ออกมาตรการต่างๆ และยกระดับ แผนเพื่อป้องกันโรคไม่ให้แพร่ระบาดเข้ามาใน ประเทศไทย ตั้งแต่การชะลอการน�ำเข้าสินค้า ปศุสัตว์จากประเทศที่เกิดการระบาด ก�ำหนด มาตรการป้องกันการลักลอบน�ำเข้าสินค้าปศุสัตว์ มีการสุ่มตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ และการ พ่นน�้ำยาฆ่าเชื้อในพาหนะที่ข้ามพรมแดนมายัง ประเทศไทย ตลอดจนท�ำหนังสือขอความร่วมมือ จากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ และเอกชน และได้ เสนอขออนุมัติแผนเตรียมความพร้อมรับมือโรค อหิวาต์แอฟริกาในสุกรในประเทศไทย ให้เป็น วาระแห่งชาติจากคณะรัฐมนตรี โดยมีมติเห็นชอบ เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2562

ทั้งนี้ ขอขอบคุณแขวงการทางหนองคาย ในการอนุเคราะห์สถานที่จัดสร้างศูนย์ท�ำความ สะอาดและฆ่าเชื้อโรคยานพาหนะบรรทุกสินค้า ปศุสัตว์ และสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ที่ได้ สนับสนุนการสร้างศูนย์ท�ำความสะอาดและฆ่า เชื้อโรคยานพาหนะบรรทุกสินค้าปศุสัตว์เพื่อร่วม กันป้องกันโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร

โดยการป้องกันโรคอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุด จะเกิดขึ้นได้จากความร่วมมือจากทุกภาค ส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ภาครัฐ เอกชน รวมถึงสถาบัน การศึกษาต่างๆ ตัวอย่าง เช่น ศูนย์แห่งนี้ ได้รับ ความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ แขวงการ ทางแห่งประเทศไทย สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ และกรมปศุสัตว์ ที่ท�ำให้เกิดขึ้นเพื่อการป้องกัน โรคระบาดสัตว์มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

46

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Market Leader

ปลัดเกษตรฯ

หนุนผลิตสินค้าปศุสัตว์ปลอดภัยตีตลาดโลก

คิกออฟ เปิดงานวันแรก “มหกรรมปศุสตั ว์ แห่งชาติ” ปลัดเกษตรฯ ย�้ำนโยบายผลิต สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ลดภาระงบรัฐ อุดหนุนเข้มอาหารปลอดภัย ปีนี้โชว์ 77 ปี จัด นิทรรศการความรู้ครบครัน จับคู่ธุรกิจ และ บริการฉีดวัคซีน ผ่าตัดท�ำหมันฟรี นายอนันต์ สุวรรณรัตน์ ปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เผย การจัดงานมหกรรม ปศุสัตว์แห่งชาติ ประจ�ำปี 2562 ภายใต้แนวคิด “เปิดบ้านปศุสัตว์ คัดสรรสิ่งดี 77 ปี เพื่อคนไทย” นั บ ว่ า เป็ น งานที่ ส� ำ คั ญ ของกรมปศุ สั ต ว์ ที่ ไ ด้ น� ำ ผลงานเด่นตลอดระยะเวลา 77 ปี มาเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบถึงการ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ควบคุ ม และก� ำ กั บ ดู แ ล กระบวนการผลิต ปศุสัตว์ การดูแลสุขภาพสัตว์ การรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสตั ว์ และการแปรรูป

ผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมและสนับสนุน การตลาดอย่างครบวงจร ตามภารกิจของกรม ปศุสัตว์ ตอบสนองนโยบายของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ทีม่ งุ่ เน้นให้หน่วยงานได้ทำ� หน้าที่ ทัง้ การสนับสนุน ส่งเสริม การผลิตให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาด และประสานงานร่วมกับ หน่วยงานรัฐและภาคเอกชน เพื่อเพิ่มช่องทาง จ�ำหน่ายผลผลิต และมีตลาดรองรับผลผลิตอันเป็น การแก้ไขปัญหาผลผลิตเกษตรล้นตลาด และราคา ตกต�่ำ ลดภาระงบประมาณของประเทศในการ พยุงราคาสินค้าเกษตร ยกระดับรายได้ให้เกษตรกร และเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของ ประเทศต่อไป และเชื่อมั่นว่าประชาชนจะมีความ มัน่ ใจต่อการบริโภคสินค้าปศุสตั ว์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ และ ได้มาตรฐานมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้รับการยอมรับ ในตลาดโลกต่อไป

ที่มา : ฐานเศรษฐกิจ มัลติมีเดีย วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

47


Market Leader ด้านนายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวว่า ตลอดระยะเวลา 7 ทศวรรษที่ผ่านมา ให้ประชาชน และผู้บริโภคได้ ทราบ และเชื่อมั่นต่อกระบวนการด้านการผลิต ด้านสุขภาพสัตว์ ด้าน มาตรฐานสินค้าปศุสตั ว์ โดยก�ำหนดกิจกรรมในวันที่ 31 พฤษภาคม เป็น วันเนือ้ (Meat Day) วันที่ 1 มิถนุ ายน เป็นวันดืม่ นมโลก (World Milk Day) และวันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันรณรงค์การบริโภคไข่ (Egg Day) ภายในงานมีการจัดกิจกรรมประกอบด้วย การแสดงผลการ ด�ำเนินงานโครงการตามนโยบายทีส่ ำ� คัญของรัฐบาล นิทรรศการแสดง ผลงานและนวัตกรรมด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาดปศุสัตว์ เกี่ยวกับ “เนื้อ นม ไข่” การรับมอบเงินสมทบโครงการธนาคารโค กระบือ การจับคูเ่ จรจาธุรกิจปศุสตั ว์ การประชุมสัมมนาวิชาการเกีย่ วกับ โรคระบาดสัตว์ที่ส�ำคัญ อาทิเช่น โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African Swine Fever) โรคพิษสุนัขบ้า (Rabies) การให้บริการตรวจสุขภาพ สัตว์เลี้ยง การฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า การผ่าตัดท�ำหมัน การ ออกร้านจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ปศุสตั ว์คณ ุ ภาพดี ราคาถูกจากภาคเอกชน และกลุม่ เกษตรกร นอกจากนี้ ยังมีการรับบริจาคเสือ้ ผ้า และยาเหลือใช้ แลกนมและไข่เพื่อสุขภาพ โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือประชาชน นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนเกษตรกร และผู้ประกอบการสนใจเข้าร่วมงาน ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม - 2 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ณ กรมปศุสัตว์ ถนนพญาไท เขตราชเทวี ไม่น้อยกว่าวันละ 1 หมื่นคน

48

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Market Leader

5 สมาคมปศุสัตว์ ขอบคุณ ’กฤษฎา’ ขับเคลื่อนงานให้เกษตรกรมีชีวิตดีขึ้น 5 สมาคมด้านปศุสตั ว์บกุ กระทรวงเกษตรฯ เข้าขอบคุณ “กฤษฎา” ขับเคลื่อนงานด้านปศุสัตว์ให้เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น รมว. กษ. ยัน “บิ๊กตู่” น�ำหลักการขับเคลื่อนต่อยอดเพื่อปากท้องเกษตรกร เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2562 นายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสตั ว์ พร้อมด้วย น.สพ.สมชวน รัตนมังคลานนท์ รองอธิบดี กรมปศุสัตว์ และนายกสมาคมสุกรแห่งชาติ นายกสมาคมผู้เลี้ยงและ ผู้ค้าไก่ไข่ นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่ภาคใต้ นายกสมาคมนมพาสเจอร์ไรส์ นายกสมาคมผู้เลี้ยงโคเนื้อ แห่งประเทศไทย เข้าพบ นายกฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพือ่ แสดง ความขอบคุณที่ช่วยผลักดันงานด้านปศุสัตว์ได้อย่างดี เกษตรกรมีคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ดีขึ้น นายกสมาคมผู้เลี้ยงและผู้ค้าไก่ไข่ กล่าวขอบคุณที่ช่วยผลักดันมาตรการรักษาเสถียรภาพราคา ไข่ไก่ เพื่อแก้ปัญหาไข่ล้นตลาด แนวทางรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ด�ำเนินการให้ความส�ำคัญแก่เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งไก่ไข่ ส่งผลให้ราคาไข่ไก่พงุ่ สูงขึน้ ใบละเกือบ 3 บาท ซึ่งราคาที่เป็นธรรมทั้งต่อผู้เลี้ยง ผู้ค้า และผู้บริโภคเกิดความเป็นธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ ขอขอบคุณนายกฤษฎา ที่ช่วยผลักดัน แม้ว่า ASF ไม่ได้เป็น โรคติดต่อจากสัตว์สคู่ น แต่เป็นโรคระบาดร้ายแรงในสุกร ยังไม่มวี คั ซีนป้องกันและควบคุมโรค เชือ้ โรค ทนทานในผลิตภัณฑ์จากสุกรและสิ่งแวดล้อมสูง สุกรที่หายป่วยแล้วจะเป็นพาหะของโรคได้ตลอด ที่มา : มติชนออนไลน์ วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

49


Market Leader

ชีวิต และสุกรที่ติดเชื้อมีการตายเฉียบพลันเกือบ 100% ซึ่งตามแผนเตรียมความพร้อมรับมือโรค ASF ได้ก�ำหนดมาตรการชดเชยหากต้องท�ำลาย สุกรที่เป็นส่วนส�ำคัญ นายกสมาคมนมพาสเจอร์ไรส์ ขอขอบคุณ ที่ช่วย ‘ปฏิรูปนมโรงเรียนส�ำเร็จ’ ยกเครื่องระบบ บริหารจัดการใหม่ แก้ปญ ั หานมบูด - ด้อยคุณภาพ ส่งไม่ตรงเวลา ท�ำให้เด็กนักเรียนกว่า 7.4 ล้าน คน ได้ดื่มนมที่มีคุณค่าโภชนาการสูงอย่างทั่วถึง ผูป้ ระกอบการได้รบั การจัดสรรสิทธิจำ� หน่ายอย่าง โปร่งใส ทีส่ ำ� คัญ เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งโคนมมีรายได้ดี ประกอบอาชีพอย่างมั่นคง นายกสมาคมผูเ้ ลีย้ งโคเนือ้ แห่งประเทศไทย กล่าวขอบคุณที่ช่วยผลักดัน ส่งเสริม และเข้ามา มีบทบาท หาทางออกเรื่องการส่งเสริมการเลี้ยง โคเนื้อในประเทศผ่านโครงการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โครงการโคบูรพา สนับสนุนการเลี้ยงตั้งแต่ต้นน�้ำ เพื่อให้ได้โคที่มีคุณภาพ ไม่มีสารเร่งเนื้อแดง และ เกษตรกรควรมีการรวมตัวกัน เพื่อสร้างอ�ำนาจ ต่อรอง ซึง่ จะท�ำให้การส่งออกดีขนึ้ และมีราคาสูง ขึ้น

50

ขณะที่ น ายกสมาคมผู ้ เ ลี้ ย งไก่ ไ ข่ ภ าคใต้ กล่าวว่า นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่มีเป้าหมายมุ่งสร้างความยั่งยืนแก่เกษตรกร ผู้เลี้ยงไก่ไข่ไทย โดยเฉพาะการรักษาเสถียรภาพ ราคาไข่ไก่ ด้วยการปรับสมดุลการผลิตให้เหมาะสม กับความต้องการบริโภคในประเทศ ลดผลกระทบ ต่ออุตสาหกรรมไข่ไก่ของไทยจากปัญหาไข่ไก่ ล้นตลาด เพื่อให้เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่สามารถ ขายไข่ไก่ได้ในราคาที่น่าพึงพอใจ โดยไม่ส่งผล กระทบต่อผูบ้ ริโภค ท�ำให้เกษตรกรอยูไ่ ด้ ประชาชน ผู้บริโภคไม่เดือดร้อน ด้านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ขอขอบคุณตัวแทนสมาคมฯ ทุกๆ คน เช่นกัน ที่มาแสดงความขอบคุณในวันนี้ ทั้งนี้ แม้ไม่ได้ท�ำงานต่อในหน้าที่เดิม แต่ด้วยความที่ ผูกพันกับอาชีพเกษตรกรเดิมอยู่แล้ว จะไม่ทิ้ง พีน่ อ้ งเกษตรกรอย่างแน่นอน และขอยืนยันว่า ท่าน นายกรัฐมนตรีจะน�ำหลักการขับเคลื่อนงานของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทีไ่ ด้ทำ� ไว้ ขับเคลือ่ น ต่อยอดเพื่อปากท้อง และคุณภาพชีวิตของพี่น้อง เกษตรกรดีขึ้นต่อไป

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Market Leader

ทิศทางการพัฒนา

อุตสาหกรรมสัตว์น�้ำของไทย จากอดีตสู่อนาคต

นายเปรมศักดิ์ วนัชสุนทร

รองกรรมการผู้จด ั การบริหาร บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ บรรยายเรื่อง ทิศทางการพัฒนา อุตสาหกรรมสัตว์น้�ำของไทยจากอดีตสู่อนาคต เมื่อวันที่ 28 มี.ค. 62 ที่ผ่านมา ในงานการประชุมวิชาการประจ�ำปี สวทช. ครัง้ ที่ 15 (NAC 2019)

ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย

อีก 30 ปีข้างหน้า ความต้องการของประชากรโลกอาจจะมากกว่า ปัจจุบันถึงร้อยละ 50 และแน่นอนว่า แหล่งอาหารที่มาจากการจับจาก ธรรมชาติย่อมลดลง และเน้นการใช้เทคโนโลยี หรือนวัตกรรมในการ ผลิตอาหารมากขึ้น ซึ่งต้องอาศัยนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ ในการค้นคว้า และพัฒนา และยังมีโอกาสอีกมากส�ำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำเพื่อผลิต อาหารทีเ่ หมาะสมกับมนุษย์ในปัจจุบนั และในอนาคต เมือ่ ประชากรเพิม่ ขึน้ การเพาะเลี้ยงก็เพิ่มขึ้น การบริโภคสัตว์น�้ำก็เพิ่มขึ้น ในปี 2530 ประเทศไทยเริ่มมีการเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำ มีการพัฒนาการ เลีย้ ง และพัฒนาความรูจ้ ากประเทศไต้หวัน ยังไม่มโี รคทีร่ นุ แรง แต่ขาดการ จัดการโซนนิ่ง พื้นที่การเลี้ยงขยายมาก ขาดการวางแผนที่ดี ขาดการดูแล สิ่งแวดล้อม ไม่มีการพัฒนาสายพันธุ์กุ้งกุลาด�ำ จนในที่สุดก็เกิดโรคตัวแดง ดวงขาวระบาด ในช่วงนี้เกิดการพัฒนาเครื่องมือในการตรวจหาเชื้อไวรัส ตัวแดงดวงขาวขึน้ คือ พีซอี าร์ (PCR) ซึง่ ถูกน�ำมาใช้ในการสกรีนพ่อแม่พนั ธุ์ กุง้ กุลาด�ำซึง่ จับจากธรรมชาติ จนกระทัง่ ปี 2543 ด้วยอุตสาหกรรมกุง้ กุลาด�ำ ก�ำลังย�่ำแย่ เกิดปัญหากุ้งไม่โต และโรคตัวแดงดวงขาวระบาดต่อเนื่อง ทาง ซีพีเอฟ ได้ตัดสินใจน�ำกุ้งขาวเข้ามาในประเทศไทย และช่วยสนับสนุนจนถึง ทุกวันนี้ ท�ำให้ประเทศไทยมีสายพันธุก์ งุ้ ขาวทีด่ ี มีการเลีย้ งกุง้ ขาวกันมากขึน้ ทดแทนกุ้งกุลาด�ำ ผลผลิตก็มากขึ้น อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีโรคใหม่ๆ เกิดขึ้น ตามมาเรือ่ ยๆ จนถึงปัจจุบนั ซึง่ สร้างปัญหาให้อตุ สาหกรรมกุง้ ไทยอย่างมาก จนผลผลิตกุง้ ของไทยลดลง ในขณะทีป่ ระเทศคูแ่ ข่งอืน่ ๆ มีการผลิตกุง้ มากขึน้ ก็ส่งผลถึงราคากุ้งตกต�่ำทั่วโลก

ที่มา : ข่าวกุ้ง ฉบับที่ 369 เดือนเมษายน พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

51


Market Leader

นักวิจย ั ภาครัฐ และเอกชนที่รว่ มบรรยายในส่วนของเซสชั่น “นวัตกรรม

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กับการพัฒนาคุณภาพสัตว์น้�ำไทยอย่างยั่งยืน”

ผลผลิตกุ้งไทยจากการเพาะเลี้ยง และสถานการณ์โรคที่ส�ำคัญ

ร่วมกันถ่ายรูปเป็นที่ระลึก

ปัญหาทีเ่ จอในห่วงโซ่อตุ สาหกรรมกุง้ ตัง้ แต่ เรื่องอาหาร (Feed) มีประเด็นปัญหาไอยูยู และ ปลาป่น ซึ่งจ�ำเป็นต้องตรวจสอบย้อนกลับถึงที่มา ได้วา่ ไม่ได้มกี ารท�ำผิดกฎหมาย ซึง่ เมือ่ ได้รบั การ แก้ไขปัญหาดังกล่าวก็จะเป็นจุดแข็งของไทยใน อนาคต ในส่วนของฟาร์มเลี้ยง (Farm) ไทยมีพ่อ แม่ พั น ธุ ์ ที่ ดี มี ลู ก พั น ธุ ์ ที่ ดี เป็ น ที่ ต ้ อ งการของ ทั่วโลก มีระบบการเลี้ยงที่ดี สะอาด ต่อไปต้อง พยายามท�ำให้การเลี้ยงมันง่ายขึ้น อาศัยคนน้อย ลง พยายามใช้เทคโนโลยีระบบออโตเมติกเข้ามา ช่วย พวกไอโอที (IoT) เป็น Hatchery 4.0 หรือ Farm 4.0 ช่วยในการบริหารจัดการฟาร์ม และ แก้ปัญหาเรื่องแรงงาน นอกจากนี้ ยังมีปะเด็น ในเรื่องของอาหารปลอดภัย (Food Safety) และ ระบบไบโอซีเคียว (Bio-Security) ที่ฟาร์มต้องให้ ความส�ำคัญ ในส่วนของสินค้ากุง้ (Food) ต้องรูถ้ งึ ความแตกต่างของสินค้าระหว่างไทย และคูแ่ ข่งขัน อื่นๆ เป็นเรื่องการตลาดที่ต้องวิเคราะห์ และต้อง ค�ำนึงถึงภาพลักษณ์ของสินค้า เช่น กระบวนการ เลี้ ย งท� ำ ลายสิ่ ง แวดล้ อ มหรื อ ไม่ ท� ำ ลายความ หลากหลายทางชีวภาพในแหล่งเลีย้ งหรือไม่ ท�ำลาย ป่าชายเลนหรือไม่ ใช้น�้ำมากไปหรือไม่ ผลิตก๊าซ

52

คาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเท่าไร ซึง่ ในอนาคตจะ มีเรือ่ งเหล่านีเ้ ข้ามาเรือ่ ยๆ ในเรือ่ งอาหารปลอดภัย (Food Safety) เป็นสิ่งส�ำคัญ และจ�ำเป็นต้องท�ำ ต้องไม่มียาตกค้าง หรือสารแปลกปลอม ผู้ผลิต ต้องค�ำนึงถึงสุขภาพผูบ้ ริโภค สินค้าต้องตรวจสอบ ย้อนกลับได้ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์บางชนิดมีคิวอาร์ โค้ด (QR Code) ให้ตรวจสอบแหล่งผลิต ผู้ผลิต ผู้บริโภคสามารถเรียกร้องความรับผิดชอบไปถึง ผูผ้ ลิตได้ เราสามารถสร้างความแตกต่างของสินค้า ได้จากสิง่ เหล่านี้ แม้วา่ จะต้องเจอปัญหากีดกันทาง การค้าต่างๆ นานา โชคดีว่าอุตสาหกรรมสัตว์น�้ำ กุ้งจัดว่าเป็นอาหารสุขภาพ และมั่นใจว่าอาหาร ทะเลทุกชนิดเป็นอาหารสุขภาพ วันนีค้ วามต้องการ ในการบริโภคก็มากขึ้นเรื่อยๆ “วันนี้ถ้าคุณท�ำธุรกิจ ไม่ใช่เฉพาะสัตว์น�้ำ เราจะค�ำนึงถึงเฉพาะก�ำไรไม่ได้อกี แล้ว ถ้าคิดเรือ่ ง ก�ำไรอย่างเดียว ตาย อยู่ไม่ได้ ไม่เหมือนกับ สมั ย ก่ อ น วั นนี้ คุณ ท�ำ ธุร กิจ คุ ณต้อ งค� ำนึง ถึ ง ชุมชนรอบข้างทีค่ ณ ุ ไปท�ำงานด้วยว่าต้องอยูไ่ ด้ ถ้า คุณเป็นบริษัทใหญ่ที่ท�ำแต่มุ่งหวังก�ำไร อยู่ไม่ได้ นีเ่ ป็นปรัชญาทีส่ ำ� คัญมากในการท�ำงานของบริษทั เรา” นายเปรมศักดิ์ กล่าวทิ้งท้าย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562




Market Leader

หลักการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส

และเชื้อแบคทีเร ียในการเลี้ยงกุ้ง อย่างมีประสิทธิภาพ

เมื่อเร็วๆ นี้ องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ หรือ โอไออี (OIE) ได้มีการประชุมด้านสุขภาพสัตว์น�้ำโลก โดยมีประเด็นส�ำคัญคือ เป็นแนวการ จัดการโรค และโรคอุบตั ใิ หม่ รวมทัง้ ความก้าวหน้าในการจัดการโรค จึงขอเสนอ หลั ก การควบคุ ม โรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส และเชื้ อ แบคที เ รี ย ในการเลี้ ย งกุ ้ ง อย่ า งมี ประสิทธิภาพ เป็นที่ทราบกันดีว่า โรคติดเชื้อไวรัสที่ส�ำคัญๆ ในการเลี้ยงกุ้ง เช่น โรคตัวแดงดวงขาว โรคหัวเหลือง โรคทอร่า ฯลฯ รวมทั้งโรคติดเชื้อแบคทีเรีย ที่ส�ำคัญๆ ในการเลี้ยงกุ้ง เช่น โรคอีเอ็มเอส โรคเรืองแสง โรคติดเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ ต่างก็เป็นโรคติดเชือ้ ทีส่ ามารถติดต่อกันได้ (Communicable Diseases) และมักก่อให้เกิดการระบาดจนสร้างความเสียหายในการเลี้ยงกุ้งได้อย่างกว้าง ขวางและรุนแรงมาก เพราะทั้งเชื้อไวรัส และเชื้อแบคทีเรียมีการแพร่กระจาย ได้อย่างรวดเร็ว ผ่านการกิน และการสัมผัส และควบคุมได้ยาก แต่สาเหตุการ เกิดโรคมีความแตกต่างกัน หากเกษตรกรมีความเข้าใจถึงที่มา หรือธรรมชาติ ของโรคติดเชือ้ ทัง้ สองชนิด ก็จะสามารถป้องกัน และควบคุมโรคติดเชือ้ เหล่านีไ้ ด้ หลักการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสในการเลี้ยงกุ้ง ธรรมชาติของไวรัสต้องอาศัยเซลล์สิ่งมีชีวิตอื่นๆ (Host) ในการเจริญเติบโต และขยายพันธุ์เพิ่มจ�ำนวนประชากร ไม่สามารถอาศัยอยู่อย่างอิสระได้นานในดิน น�้ำ อากาศ ต้องสิ่งมีชีวิตอื่นอาศัยต่อไป เช่น ปู กุ้ง แมลงในน�้ำ ตัวอ่อนแมลง ตัวอ่อนของสัตว์น�้ำ แพลงก์ตอนสัตว์ ฯลฯ ซึ่งจัดเป็นสัตว์พาหะน�ำโรคไวรัสในกุ้ง ดังนั้น การถ่ายน�้ำออกนอกฟาร์มเลี้ยงสู่แหล่งน�้ำสาธารณะโดยมีเชื้อไวรัสปนเปื้อน อยูใ่ นน�ำ้ นัน้ ก็เท่ากับเป็นการส่งเสริมให้ไวรัสเพิม่ จ�ำนวนในสัตว์พาหะทีอ่ ยูต่ ามแหล่ง น�้ำธรรมชาติ หากเกษตรกรสูบน�้ำกลับเข้ามาใช้โดยไม่มีการจัดการที่ดีพอ ก็อาจมี ที่มา : ข่าวกุ้ง ฉบับที่ 368-369 เดือนมีนาคม-เมษายน พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

53


Market Leader

ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสได้ ขณะเดียวกัน ภายในฟาร์มเลี้ยง บ่อพักน�้ำ บ่อเลี้ยง คลองส่งน�้ำ หากเต็มไปด้วยสัตว์พาหะ ก็มีความเสี่ยงต่อการ ติดเชือ้ ไวรัสเช่นเดียวกัน ดังนัน้ ระบบไบโอซีเคียว ที่ดี การควบคุมเชื้อไวรัสในน�้ำด้วยยาฆ่าเชื้อ การ ลดการปนเปื้อนระหว่างบ่อด้วยสุขาภิบาลที่ดี จะ ช่วยลดความเสียหายจากเชือ้ ไวรัสได้ การควบคุม โรคติดเชื้อไวรัส มีหลักการดังนี้ 1. การสกั ด กั้ น เชื้ อ ไวรั ส ไม่ ใ ห้ เ ข้ า มาใน ระบบการเลี้ยง โดยเน้นการป้องกันโรคด้วย ระบบไบโอซีเคียวอย่างเคร่งครัด

๏ การควบคุมทางชีวภาพ (Biological Precaution Measure) เช่น การใช้ลกู กุง้ ทีส่ ะอาด ปราศจากโรค การสกัดกัน้ สัตว์พาหะ และคัดกรอง สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่เข้ามาในฟาร์ม เช่น ปู นก สุนัข หรืออาหารสด เช่น เพรียง หอย ปลาหมึก ปลา เป็นต้น รวมทั้งควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่กระจาย ของเชื้อในกรณีที่เกิดโรคขึ้นในฟาร์ม เป็นต้น เพือ่ ให้ระบบไบโอซีเคียวทีใ่ ช้ปฏิบตั งิ าน มี ความรัดกุมมากขึน้ มีขอ้ ผิดพลาดน้อยลง เกษตรกร ผู้เลี้ยงกุ้งจะต้องค�ำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้

1.1 ควรใช้ลูกพันธุ์กุ้งที่ปลอดเชื้อ ผลิต การป้ อ งกั น โรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส ที่ รุ น แรง จากพ่อแม่พันธุ์กุ้งปลอดเชื้อโรค (SPF Seed อาทิ โรคตัวแดงดวงขาว หรือโรคหัวเหลือง หรือ and Brood Stock) เลี้ยงในโรงเรือนปิดที่มีระบบ เชื้อไวรัสชนิดอื่นๆ จะใช้ระบบไบโอซีเคียวเป็น ไบโอซีเคียวขั้นสูงสุด ใช้อาหารมีชีวิตที่ปลอดเชื้อ หลัก เพื่อพยายามสกัดกั้น (Exclude) เชื้อไวรัส ส�ำหรับพ่อแม่พันธุ์กุ้ง เช่น เพรียงที่เพาะเลี้ยง เข้าสูร่ ะบบการเลีย้ งจากช่องทางต่างๆ ท�ำให้ระบบ ในระบบไบโอซีเคียว ส�ำหรับกระบวนการผลิตใน การเลี้ยงกุ้งปลอดจากเชื้อ หรือแหล่งก�ำเนิดเชื้อ โรงเพาะฟักมาตรฐาน ต้องให้ความส�ำคัญกับการ โดยการป้องกันไวรัสจากทางน�้ำ ทางบก และทาง ป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อในทุกขั้นตอนการ อากาศ แนวทางการป้องกันและควบคุมประกอบ ผลิต ตัง้ แต่การฆ่าเชือ้ ในบ่อเลีย้ ง โรงเรือน ท่อน�ำ้ ด้วย ท่อลม รวมทั้งอุปกรณ์การเลี้ยงต่างๆ เพื่อป้องกัน ๏ การควบคุมทางกายภาพ (Physical การปนเปื้อนของเชื้อระหว่างรอบการเลี้ยง และ Precaution Measure) เช่น การกรองน�้ำ การปู ในระหว่างการเลี้ยง น�้ำที่ใช้ในการเลี้ยงผ่านการ พลาสติก การท�ำรั้วกั้นปู การขึงตาข่ายกันนก บ�ำบัดหลายขัน้ ตอน ทัง้ การตกตะกอน การฆ่าเชือ้ การท�ำรั้วล้อมรอบฟาร์ม หรือการกางมุ้งคลุมทั้ง ด้วยสารเคมีที่ปลอดภัย การกรอง การใช้รังสียูวี บ่อ เป็นต้น และโอโซนที่มีประสิทธิภาพสูงในการก�ำจัดเชื้อ ๏ การควบคุมทางเคมี (Chemical Pre -  ไวรัส โดยน�ำ้ ทีจ่ ะน�ำมาใช้ในการเลีย้ งจะมีการตรวจ caution Measure) เช่น การฆ่าเชือ้ โรคในน�ำ้ และ สอบว่าปลอดเชื้อก่อนน�ำมาใช้ทุกครั้ง นอกจากนี้ การก�ำจัดพาหะด้วยสารเคมีที่ถูกต้อง ปลอดภัย ยังให้ความส�ำคัญอย่างมากกับการตรวจคุณภาพ สามารถควบคุมเชื้อไวรัสได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลูกกุง้ ก่อนทีจ่ ะส่งถึงมือเกษตรกร โดยเฉพาะอย่าง และได้รบั การรับรองการขึน้ ทะเบียนจากหน่วยงาน ยิ่ง การตรวจเชื้อก่อโรคที่ส�ำคัญทุกชนิด ด้วย เทคนิคคิวพีซอี าร์ (qPCR) ทีม่ คี วามถูกต้อง แม่นย�ำ ราชการ

54

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


1.2 วิเคราะห์ความเสี่ยงของฟาร์ม เป็น การวิเคราะห์ถึงช่องทางที่อาจเกิดการปนเปื้อน ของเชื้อไวรัสจากภายนอกเข้าสู่ระบบการเลี้ยงใน ฟาร์ม เพื่อให้สามารถท�ำการป้องกันและระมัดระวังได้อย่างตรงจุด โดยช่องทางที่เชื้อสามารถ แพร่กระจายเข้าไปในฟาร์มที่มักพบได้บ่อยครั้ง ประกอบด้วย  -  การหมัน่ ตรวจสอบสัตว์พาหะใน ระบบการเลี้ยง เช่น กุ้งฝอย กุ้งน�้ำจืด ไข่ หรือ ตัวอ่อนของกุ้ง ปู แมลงน�้ำ ตัวอ่อนแมลง หอย ปลา หากพบ จ�ำเป็นต้องก�ำจัดให้หมดไป ก่อนการ ปล่อยกุ้ง เพื่อลดความเสี่ยงของการติดเชื้อไวรัส  -  การหมั่นตรวจสอบซากกุ้งป่วย กุ้งตายที่นกคาบมาตกลงไปในบ่อเลี้ยง การแพร่ กระจายเชื้อไวรัสโดยนก เกิดขึ้นได้ทั้งจากการที่ นกน�ำเชื้อที่ติดอยู่ตามขา หรือล�ำตัวลงไปในบ่อ เลี้ยง หรือจากการที่นกคาบซากกุ้งป่วยมาตกลง ในบ่อเลี้ยงขณะบินผ่าน การป้องกันการแพร่เชื้อ ไวรัสโดยนกนั้น ท�ำได้โดย ใช้เชือก หรือตาข่าย ขนาด 5 - 10 เซนติเมตร คลุมบ่อ รวมทั้งอาจต้อง จัดคนงานประจ�ำไว้คอยไล่นกในช่วงทีม่ กี ารระบาด ของโรค แต่ในบางฟาร์มที่อยู่ในพื้นที่ที่มีนกมาก

Market Leader

สูงมาก ซึ่งก่อนน�ำลูกกุ้งมาตรวจเชื้อไวรัสตัวแดง ดวงขาว จะท�ำให้ลูกกุ้งอยู่ในสภาวะเครียดก่อน โดยตั้งไว้ที่อุณหภูมิ 25 - 27 องศาเซลเซียส เป็น เวลา 24 - 48 ชั่วโมง เพื่อให้ไวรัสที่อาจมีอยู่ใน ปริมาณน้อยๆ เพิ่มจ�ำนวนจนสามารถตรวจพบ ได้ โดยที่ผ่านมา โรงเพาะฟักของซีพีเอฟยังไม่ เคยพบการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว หรือเชื้อ ไวรัสชนิดอื่นๆ ในลูกกุ้งมาก่อน ดังนั้นจึงมั่นใจ ได้ ว ่ า ลู ก กุ ้ ง ซี พี เ อฟทุ ก ชุ ด ปลอดจากเชื้ อ ไวรั ส ก่อโรคต่างๆ อย่างแน่นอน

อาจมีความจ�ำเป็นต้องลดความเสี่ยงโดยการใช้ มุง้ ขาวเบอร์ 20 คลุมทัว่ ทัง้ บ่อ ซึง่ วิธกี ารนี้ สามารถ ป้องกันไม่ให้ซากกุง้ ป่วยตกลงไปในบ่อเลีย้ งได้ และ ป้องกันแมลงบางชนิดทีอ่ าจเป็นพาหะของเชือ้ ไวรัส ได้ นอกจากนี้ ยังช่วยควบคุมการเปลี่ยนแปลง ของอุณหภูมนิ ำ�้ ในบ่อด้วย ในช่วงหน้าหนาวจะพบ ว่าบ่อที่คลุมด้วยมุ้งขาวจะมีอุณหภูมิน�้ำสูงกว่าบ่อ ที่ไม่ได้คลุมประมาณ 2 - 4 องศาเซลเซียส  -  มีการปนเปือ้ นของละอองน�ำ้ หรือ น�้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงกุ้งที่มีการติดเชื้อไวรัส (Contaminated Disposal Water) ลงไปในแหล่งน�้ำ สาธารณะ ฟาร์มทีม่ บี อ่ เลีย้ งอยูต่ ดิ กับทะเลในช่วง มรสุม ลมอาจพัดพาละอองน�้ำจากทะเล หรือ ตะกอนที่ มี ก ารปนเปื ้ อ นของเชื้ อ เข้ า มาจ� ำ นวน มาก อาจเพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ บ่อเลี้ยงได้ ฟาร์มที่ใช้น�้ำร่วมกันในช่วงที่ก�ำลังมี การระบาดของโรคไวรัส ซึง่ โอกาสการติดเชือ้ ของ กุ้งในบ่อจะมาก หรือน้อย ขึ้นอยู่กับปริมาณเชื้อ ที่เข้าสู่บ่อเลี้ยง ระยะเวลาในการสัมผัสเชื้อ และ สุขภาพของกุง้ ในบ่อ ดังนัน้ ควรงดเว้นการลงกุง้ ใน บ่อที่มักได้รับผลกระทบในช่วงที่มีปัญหาดังกล่าว หรือหามาตรการเตรียมน�้ำ เตรียมบ่อ และการ ฆ่าเชื้อโรคในน�้ำที่เหมาะสม ก่อนการปล่อยกุ้ง 1.3 ตรวจสอบและทบทวนความพร้อม ของระบบไบโอซีเคียว การมีระบบไบโอซีเคียวที่ พร้ อ มสมบู ร ณ์ รวมทั้ ง มี แ นวทางการปฏิ บั ติ ที่ ถูกต้อง สามารถช่วยควบคุมและป้องกันโรคไวรัส ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง จะต้องท�ำการตรวจสอบความสมบูรณ์ของระบบ ไบโอซีเคียว (Biosecurity Checklist) เช่น รัว้ กันปู เชือก หรือตาข่ายกันนก อุปกรณ์ฆา่ เชือ้ ก่อนเข้าสู่ บ่อเลีย้ ง และอืน่ ๆ ว่ามีครบถ้วน และพร้อมใช้งาน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

55


Market Leader

รูปที่ 1 ซากกุ้งตายค้างบ่อต้องรีบน�ำไปก�ำจัดทันที เพื่อป้องกันการระบาดของเชื้อไวรัสในวงกว้าง

นอกจากนี้ ยังต้องมีการทบทวนแนวทางปฏิบัติ งาน ว่ามีความเหมาะสม ถูกต้อง และรัดกุม เพียงพอหรือไม่ เพื่อให้ระบบไบโอซีเคียวสามารถ ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 1.4 ต้องใส่ใจ และให้ความส�ำคัญกับการ บ�ำบัดน�้ำ การทรีตน�้ำ การฆ่าเชื้อโรคในน�้ำ ก่อน น�ำไปเลีย้ งกุง้ อย่างจริงจัง โดยเฉพาะช่วงทีม่ คี วาม เสี่ยงในการเกิดโรคสูง จะพบว่าน�้ำธรรมชาติจาก ภายนอกมักจะมีการปนเปื้อนของเชื้อไวรัสในน�้ำ มากกว่าช่วงปกติ ดังนั้น การบ�ำบัดน�้ำในช่วงนี้ จึ ง ต้ อ งท� ำ อย่ า งพิ ถี พิ ถั น ในทุ ก ขั้ น ตอนจึ ง จะลด ความเสี่ยงได้ โดยน�้ำดิบที่สูบเข้ามาในฟาร์มต้อง ผ่านการก�ำจัดพาหะด้วยไตรคลอร์ฟอน 2 พีพเี อ็ม ก่อน แล้วจึงสูบมาเก็บในบ่อพักน�้ำ ลดความขุ่น โดยการตกตะกอนขั้นต้นด้วยด่างทับทิม 5 พีพีเอ็ม และควรพักน�้ำไม่น้อยกว่า 7 วัน จากนั้น สูบน�้ำส่วนใสด้านบนเข้าบ่อทรีตเพื่อเข้าสู่ขั้นตอน การฆ่าเชือ้ โดยใช้คลอรีนความเข้มข้น 15 พีพเี อ็ม จากนั้นสูบน�้ำส่วนใสผ่านใยฟูเพื่อกรองไปเก็บใน บ่อน�้ำพร้อมใช้ ปรับคุณภาพตามมาตรฐานการ เลี้ยงกุ้ง และน�ำไปใช้ต่อไป

56

รูปที่ 2 ระบบไบโอซีเคียวที่ดี ควบคู่กับการจัดสภาพแวดล้อม ในบ่อให้กุ้งอยู่สบาย สามารถป้องกัน และลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดเชื้อไวรัส

นอกจากนี้ ต้องเฝ้าระวังและติดตามการ ปนเปื้อนจากเชื้อที่มาจากน�้ำภายนอกที่สูบเข้ามา และจากการปนเปื ้ อ นของเชื้ อ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ใน ฟาร์ม การเฝ้าระวังเชื้อที่มาจากน�้ำภายนอก ท�ำ ได้โดยการสูบน�้ำภายนอกใส่ถังขนาดบรรจุ 1 - 2 ลูกบาศก์เมตร ทีม่ ฝี า หรือพลาสติกกันกุง้ กระโดด จากนั้นปล่อยกุ้งที่ปลอดเชื้อขนาด 0.2 กรัม ลง ในถัง ท�ำการสุ่มกุ้งตรวจโรคทุกสัปดาห์ ส่วนการ เฝ้าระวังการปนเปื้อนของเชื้อไวรัสเข้ามาในระบบ น�้ำภายในฟาร์ม ให้ปล่อยกุ้งขนาด 0.2 กรัม ลง เลีย้ งในกระชังขนาด 1 ลูกบาศก์เมตร ทีม่ ฝี า หรือ มุ้งตาข่ายกันกุ้งกระโดดออก วางลอยอยู่ในบ่อ พักน�้ำ แล้วสุ่มกุ้งตรวจโรคทุกสัปดาห์ วิธีการ ดังกล่าวสามารถตรวจสอบและเฝ้าระวังความเสีย่ ง จากโรคไวรัส ทั้งตัวแดงดวงขาว และหัวเหลือง ได้ดี 2. ควรมีการจัดการสภาพแวดล้อมในบ่อ เลี้ยงให้กุ้งอยู่สบาย ไม่เกิดความเครียด และ ความอ่อนแอ การสร้างสภาพแวดล้อมในบ่อให้เหมาะสมกับการเลี้ยงกุ้งตลอดระยะเวลาการเลี้ยง จะ ช่วยให้กงุ้ อยูส่ บาย ไม่เครียด มีความแข็งแรง และ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


2.1 เลี้ยงกุ้งในอัตราความหนาแน่นที่ เหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพความพร้อมของ ฟาร์ม ทัง้ ด้านปริมาณน�ำ้ ไฟฟ้า แรงงาน อุปกรณ์ เงินทุนต้องสอดคล้องกับเป้าหมายของผลผลิต 2.2 ก�ำจัดของเสีย หรือสารอินทรีย์ที่ เกิดขึ้นในบ่อเลี้ยง ลดการหมักหมม และเน่าเสีย ของตะกอนเลน ซึ่งก่อให้เกิดสารพิษต่างๆ ในน�้ำ และส่งผลกระทบต่อสุขภาพกุ้งโดยตรง ดังนั้น จึงต้องให้ความส�ำคัญกับการก�ำจัดตะกอนเลนที่ พื้นบ่อ โดยท�ำการดูดของเสียออกจากหลุมกลาง บ่อ และเก็บในบ่อทิ้งเลนที่แยกเป็นสัดส่วน (Sacrificed Sludge Pond) เพือ่ รอการบ�ำบัด ร่วมกับ การใช้จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการช่วยย่อย สลายของเสียในน�้ำ และพื้นบ่อ เช่น ไบโอทริม ไบโอรีดอกซ์ หรือซุปเปอร์พีเอส (ใช้ตามปริมาณ ที่แนะน�ำของผลิตภัณฑ์) การดูดของเสียออกจาก บ่อเลี้ยงและการใช้จุลินทรีย์ ต้องท�ำตั้งแต่ช่วงต้น ของการเลี้ยง ต่อเนื่องไปจนกระทั่งวันที่จับกุ้ง รวมทั้งการให้อาหารต้องระมัดระวังอย่าให้อาหาร เกินความต้องการของกุ้ง การเพิ่มอาหารจึงควร ค่อยๆ เพิม่ ไม่ควรเพิม่ เร็วเกินไป อาจท�ำให้อาหาร เหลือได้ 2.3 รักษาคุณภาพน�ำ้ ให้เหมาะสมตลอด การเลี้ยง ต้องติดตามผลคุณภาพน�้ำทุกวัน โดย เฉพาะเมือ่ อุณหภูมขิ องน�ำ้ ลดลงต�ำ่ กว่า 27 องศาเซลเซียส ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ หรือช่วงฤดูกาล ที่มีความเสี่ยง เช่น ฝนตกหนัก หรือมีโรคไวรัส ระบาดในพื้นที่ การอนุบาลลูกกุ้งในแท็งก์ หรือใน โรงเรือนปิดที่ควบคุมอุณหภูมิ สามารถช่วยลด ความเสี่ยงได้ดีกว่าการปล่อยลูกกุ้งลงบ่อเลี้ยง

Market Leader

ความต้านทานโรคสูงขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงของ การเกิดโรค โดยแนวทางหลักๆ มีดังนี้

โดยตรง คุณภาพน�้ำที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงกุ้ง ควรมีปริมาณออกซิเจนละลายน�้ำ (DO) ต้องไม่ ต�่ำกว่า 5 พีพีเอ็ม พีเอช (pH) ควรอยู่ในช่วง 7.5 - 8.3 และมีคา่ ความแตกต่างในรอบวันไม่ควร เกิน 0.5 ค่าอัลคาไลนิตี้ (Alkalinity) ไม่ควรต�ำ่ กว่า 150 - 180 พีพีเอ็ม ไม่ควรมีก๊าซพิษแอมโมเนีย ไนไตรท์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์ในบ่อ มีปริมาณ แร่ธาตุที่เพียงพอต่อความต้องการของกุ้ง ถ้า ความเค็มของน�้ำที่เลี้ยงมากกว่า 20 พีพีที ขึ้นไป ค่าแคลเซียมควรมากกว่า 250 พีพเี อ็ม แมกนีเซียม ควรมากกว่า 400 พีพีเอ็ม และโพแทสเซียมควร มากกว่า 150 พีพีเอ็ม เป็นต้น ทั้งนี้ปริมาณ และ สัดส่วนของแร่ธาตุขึ้นอยู่กับความเค็มที่ใช้เลี้ยงกุ้ง ด้วย ในระหว่างการเลี้ยง ถ้ามีการจับกุ้ง ออกบางส่วน (Partial Harvest) ต้องค�ำนึงถึงการ ปนเปือ้ นทีม่ าจากภายนอก เช่น คนงานควรอาบน�ำ้ ด้ ว ยสารละลายโพวิ โ ดนไอโอดี น ความเข้ ม ข้ น 10,000 พีพีเอ็ม และเปลี่ยนชุดใหม่ที่ฟาร์มจัดให้ ก่อนลงบ่อเลี้ยงทุกครั้ง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้จับกุ้ง ต้องมีการฆ่าเชื้อด้วยสารฆ่าเชื้อที่ปลอดภัย และ สามารถควบคุมเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ได้รับการรับรองขึ้นทะเบียนจาก หน่วยงานราชการ 3. ไม่เพิ่มจ�ำนวนเชื้อไวรัสทั้งภายใน และ ภายนอกฟาร์ม ถ้าในฟาร์มพบว่ามีกุ้งป่วยจาก โรคไวรัส สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือการป้องกันการแพร่ กระจายของเชื้อไม่ให้ติดต่อไปยังบ่ออื่นๆ ให้ท�ำ การแยกบ่อนั้นทันที โดยล้อมบ่อด้วยพีอี หรือ สแลนสูง 1.5 เมตร พร้อมทั้งแยกผู้ปฏิบัติงาน และอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากบ่ออื่นทันที และให้ ด�ำเนินการดังนี้

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

57


Market Leader

๏ ถ้ากุ้งที่ติดเชื้อไวรัสมีขนาดเล็กเกิน ไป ไม่สามารถจับขายได้ ให้ใส่ไตรคลอร์ฟอน ความเข้มข้น 2 พีพีเอ็ม ทิ้งไว้ 12 ชั่วโมง จากนั้น เติมคลอรีนความเข้มข้น 30 พีพีเอ็ม และต้อง ทิ้งน�้ำในบ่อไว้ไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้เชื้อไวรัส ที่หลงเหลือในน�้ำตายหมดก่อนสูบทิ้ง ส่วนซากกุ้ง ตายให้รวบรวมแล้วน�ำไปท�ำลายทิ้ง ๏ ถ้ากุ้งที่ติดเชื้อไวรัสสามารถจับขาย ได้ ต้องป้องกันไม่ให้เชื้อไวรัสแพร่กระจายไปยัง บ่ออืน่ ๆ ในระหว่างการจับกุง้ โดยพืน้ ทีท่ ำ� งานต่างๆ เช่น จุดน�ำกุ้งขึ้น จุดจอดรถขนส่ง และเส้นทาง การขนกุ้งจากบ่อไปยังลานคัด ต้องก�ำหนดให้อยู่ ในพืน้ ทีท่ ำ� งานทีม่ คี วามเสีย่ งการแพร่ของเชือ้ ไปยัง บ่อเลี้ยงอื่นน้อยที่สุด เครื่องสูบน�้ำ และท่อสูบน�้ำ ส�ำหรับใช้สูบน�้ำ ต้องไม่รั่ว หรือซึมออกมาขณะ สูบน�ำ้ ออกจากบ่อเลีย้ ง รวมทัง้ ต้องลดความแรงของ น�้ำตรงปลายท่อที่จะกระเซ็นออกนอกคลองน�ำ้ ทิ้ง พร้อมทั้งใส่สารฆ่าเชื้อในน�้ำตรงบริเวณปลายท่อ ในขณะที่สูบออกตลอดเวลา ส�ำหรับการขนส่ง กุ้งนั้น ต้องจุ่มกุ้งลงในคลอรีนความเข้มข้น 200 พีพีเอ็ม หรือเวอร์คอนความเข้มข้น 200 พีพีเอ็ม เพื่อเป็นการฆ่าเชื้อแบบสัมผัสพื้นผิวก่อนขนย้าย ถังขนกุ้งต้องมีฝาปิด เพื่อป้องกันกุ้งกระเด็นหล่น ระหว่างการขนย้าย และป้องกันไม่ให้น�้ำหกลงบน ถนน ในขณะที่ก�ำลังขนย้ายกุ้งจากบ่อไป ยังลานคัด ควรสเปรย์ดว้ ยสารละลายคลอรีนความ เข้มข้น 1,000 - 2,000 พีพีเอ็ม หรือเวอร์คอน ความเข้มข้น 5,000 พีพีเอ็ม บนถนนตามหลังรถ ขนย้ายทุกครั้ง ส่วนน�้ำที่สูบทิ้งจะต้องฆ่าเชื้อไวรัส

58

อิสระที่หลงเหลือในน�้ำ ด้วยสารละลายคลอรีน ความเข้มข้น 30 พีพีเอ็ม (Dosing) เมื่อจับกุ้ง เสร็จแล้ว อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้จับกุ้ง คัดแยกกุ้ง รถขนส่งกุ้ง และลานคัดกุ้ง จะต้องสเปรย์ด้วย คลอรีนความเข้มข้น 2,000 พีพเี อ็ม หรือเวอร์คอน ความเข้มข้น 5,000 พีพีเอ็ม ส�ำหรับคนงานที่ จับ และคัดแยกกุ้ง ต้องอาบน�้ำด้วยสารฆ่าเชื้อ โบรโมเซฟ 200 พีพเี อ็ม เพือ่ ก�ำจัดเชือ้ ทีป่ นเปือ้ น ตามร่างกาย ส่วนพืน้ บ่อต้องตากให้แห้งสนิท และ โรยปูนเผาให้พีเอชสูงกว่า 12 เพื่อก�ำจัดเชื้อไวรัส ในดินที่หลงเหลืออยู่เมื่อจับกุ้งเสร็จ เมือ่ ตรวจพบว่ากุง้ ในบ่อติดเชือ้ ไวรัส การตัดสินใจที่จะจับกุ้ง หรือจะท�ำลายทิ้ง ต้องท�ำ ทันที เนื่องจากกุ้งที่ป่วยจะมีการเพิ่มจ�ำนวน และ แพร่กระจายเชื้อในบ่ออย่างรวดเร็ว ถ้าปล่อยให้ เชื้อไวรัสในบ่อมีปริมาณมาก จะท�ำให้การป้องกัน การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสในฟาร์มท�ำได้ยาก กว่าเมือ่ เทียบกับการท�ำในขณะทีก่ งุ้ ในบ่อเริม่ ป่วย หรือเพิ่งตรวจพบการติดเชื้อใหม่ๆ จะเห็นได้วา่ การป้องกันและลดความ เสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสนั้น เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง สามารถควบคุมความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นได้เกือบ ทั้งหมด แต่สิ่งที่ส�ำคัญคือ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง จะต้องท�ำความเข้าใจโรค และให้ความส�ำคัญ และ ใส่ใจกับระบบไบโอซีเคียวอย่างเคร่งครัด รวมทั้ง จัดการสภาพแวดล้อมในบ่อเลี้ยงให้เหมาะสม ให้ กุง้ อยูส่ บาย ไม่เครียด ถ้าเกษตรกรสามารถปฏิบตั ิ ได้ตามที่กล่าวมาข้างต้น เชื่อมั่นได้ว่าจะสามารถ ป้องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดเชื้อ ไวรัสได้อย่างแน่นอน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


ธรรมชาติของแบคทีเรียพบได้ทั่วไปทุกที่ ในอากาศ ในน�้ำ ในดิน การเจริญเติบโต และ การขยายจ�ำนวนของแบคทีเรียขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ�ำนวย หรือเหมาะสม ซึ่งแตกต่าง กันไปตามชนิดของแบคทีเรีย โดยส่วนใหญ่ เชื้อ แบคทีเรียที่ก่อโรคจะเจริญเติบโตได้ดีต้องมีสาร อาหารที่ส�ำคัญ เช่น สารอินทรีย์ที่ละลายน�้ำ ทั้ง ไนโตรเจน และคาร์บอน ที่มักเพิ่มปริมาณสูงขึ้น ได้ตลอดเวลา จากการจัดการการเลีย้ งในบ่อ หรือ จากสภาวะอากาศ อุณหภูมิ ความเค็มที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น การควบคุมเชื้อแบคทีเรียจึงมุ่ง ไปในแง่ของการจัดสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะต่อ การเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียก่อโรค โดย ต้องพยายามควบคุมปัจจัยที่เกื้อหนุนการเจริญ เติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่ก่อโรคให้ลดน้อยลง ให้มากที่สุด และพยายามส่งเสริมสุขภาพ ท�ำให้ กุ้งมีความแข็งแรง เพื่อจะได้สามารถต่อสู้กับเชื้อ แบคทีเรียเหล่านั้นได้ ซึ่งแตกต่างจากการควบคุม เชื้อไวรัสที่เน้นการป้องกันไม่ให้มีเชื้อปรากฏขึ้น ในระบบการเลี้ยง โดยเฉพาะจากสัตว์พาหะ และ พยายามสกัดกัน้ ไม่ให้ตวั น�ำเชือ้ ไวรัส และเชือ้ ไวรัส อิสระในน�ำ้ แพร่ขยายเชือ้ และลุกลามไปในวงกว้าง หลักการควบคุมโรคติดเชื้อ แบคทีเรียในการเลี้ยงกุ้ง

1. ควรเลือกใช้ลกู พันธุก์ งุ้ ทีป่ ลอดเชือ้ หรือ เอสพีเอฟ (SPF) และมีการคัดเลือกสายพันธุท์ มี่ ี

Market Leader

ต่อไปขอกล่าวถึงโรคติดเชื้อแบคทีเรียใน การเลี้ยงกุ้ง ซึ่งเป็นโรคที่ก่อให้เกิดผลกระทบ และท� ำ ความเสี ย หายต่ อ อุ ต สาหกรรมกุ ้ ง ใน วงกว้าง

ความทนทานต่อการติดเชื้อแบคทีเรียอีเอ็มเอส (AHPND Tolerance Strain) จะช่วยเพิ่มความ ส�ำเร็จของการเลีย้ งกุง้ ลดความเสียหายทีเ่ กิดจาก การติดเชือ้ แบคทีเรียลงไปได้อย่างมาก โดยฟาร์ม จะต้องมีระบบสุขอนามัยที่ดีทั้งในโรงเลี้ยงพ่อแม่ พันธุ์ และโรงเพาะฟักลูกกุ้ง กระบวนการผลิตได้ มาตรฐาน สะอาด และมีการตรวจสอบที่ถูกต้อง และรัดกุมทุกขั้นตอน ท�ำให้กุ้งมีความปลอดภัย จากเชื้อแบคทีเรียก่อโรคมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง เชื้อวิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส สายพันธุ์ ก่อโรคอีเอ็มเอสนี้ ซึง่ สามารถเข้าสูร่ ะบบการผลิต ลูกกุ้งได้ในหลายช่องทาง เช่น ปนเปื้อนมากับไข่ น�ำ้ ทีใ่ ช้เลีย้ ง อาหารธรรมชาติสำ� หรับลูกกุง้ อุปกรณ์ การเลี้ยง ไบโอฟิล์มที่เกิดขึ้นในแท็งค์ หรืออาจ ตกค้างอยู่ในแท็งค์เลี้ยงก่อนลงกุ้งก็ได้ การผลิต ลูกกุ้งที่ดี ต้องมีการตรวจติดตามเฝ้าระวังการ ปนเปื้อนของเชื้อเป็นระยะๆ รวมทั้งผู้ปฏิบัติงาน ต้องใส่ใจในทุกรายละเอียดของกระบวนการผลิต จึงจะได้ลูกกุ้งที่ปลอดเชื้อ มีความทนทาน และมี คุณภาพดี ดังนัน้ เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ ต้องให้ความ ส�ำคัญกับการเลือกลูกพันธุ์กุ้งที่จะน�ำมาเลี้ยงมาก เป็นพิเศษ โดยควรใช้ลูกกุ้งจากโรงเพาะฟักที่มี ประวัติที่ดี และเชื่อถือได้จริงๆ เท่านั้น 2. การอนุบาลลูกกุง้ ก่อนปล่อยลงบ่อเลีย้ ง เนื่องจากความเสียหายของกุ้งจากโรคแบคทีเรีย โดยเฉพาะโรคอีเอ็มเอส มักเกิดในช่วงเดือนแรก ของการเลี้ยงกุ้ง จึงพบว่าการอนุบาลลูกกุ้งก่อน ปล่อยลงบ่อเลีย้ งจะช่วยลดความเสียหายจากโรคนี้ ได้อย่างมีนัยส�ำคัญ เมื่อเทียบกับการปล่อยลูกกุ้ง ลงไปเลี้ยงในบ่อเลี้ยงโดยตรง เพราะลูกกุ้งจะถูก เลีย้ งในระบบทีค่ วบคุมได้ บ่ออนุบาลมักมีขนาดเล็ก พื้นบ่อปูด้วยพลาสติกพีอี อยู่ในโรงเรือน หรือ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

59


Market Leader

มีหลังคา มีการเปลี่ยนน�้ำที่ดีและต่อเนื่อง และมี เครือ่ งให้อากาศทีด่ ี ท�ำให้ประสิทธิภาพในการก�ำจัด และควบคุมเชื้อแบคทีเรียท�ำได้ดีมากยิ่งขึ้น ท�ำให้ กุง้ แข็งแรง ปรับตัวได้เร็ว และมีความพร้อมส�ำหรับ การลงเลี้ยงในบ่อเลี้ยง นอกจากนี้ การจัดการ และควบคุมสภาพแวดล้อมในบ่ออนุบาล รวมทั้ง การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ท�ำได้ดีกว่าในบ่อเลี้ยง ที่มีขนาดใหญ่มาก ดังนั้น ในโครงสร้างของฟาร์ม เลีย้ งจึงควรมีบอ่ อนุบาลเป็นองค์ประกอบด้วย โดย ทั่วไปบ่ออนุบาลจะมีขนาดไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ความหนาแน่นของการปล่อยลูกกุ้งจะอยู่ ในช่วง 700 - 1,000 ตัวต่อตัน เมื่อท�ำการอนุบาล เป็นเวลา 25 - 30 วัน จะได้กุ้งน�้ำหนักประมาณ 1.5 กรัม ส�ำหรับปล่อยลงไปในบ่อเลี้ยงต่อไป อย่างไรก็ตาม การอนุบาลลูกกุ้งจะเกิด ประโยชน์อย่างเต็มที่ก็ต่อเมื่อลูกกุ้งที่อนุบาลแล้ว มีความแข็งแรง สมบูรณ์ และมีความทนทานต่อ เชื้อแบคทีเรีย ซึ่งความส�ำเร็จจะมากหรือน้อย ขึน้ อยูก่ บั ความพร้อม ความรู้ ความเข้าใจ และการ เอาใจใส่ของผู้เลี้ยง ถ้าขั้นตอนการอนุบาลท�ำได้ดี ก็จะได้ลกู กุง้ ทีม่ คี ณ ุ ภาพไปลงในบ่อเลีย้ ง โอกาสที่ จะประสบความส�ำเร็จในการเลี้ยงก็สูงมากยิ่งขึ้น 3. การควบคุมและลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในบ่อเลี้ยง เกษตรกรต้องท�ำการ ควบคุมเชือ้ แบคทีเรียก่อโรคในบ่อเลีย้ งกุง้ อาจต้อง ใช้หลากหลายวิธีร่วมกัน เช่น การใช้สารฆ่าเชื้อ การสร้างสมดุลของจุลินทรีย์ในบ่อโดยการเติม โปรไบโอติกลงในน�้ำ รวมทั้งการลดสารอินทรีย์ที่ ละลายน�ำ้ ตัง้ แต่ขนั้ ตอนการเตรียมบ่อ การเตรียม น�้ำ การดูดเลน และของเสียในระหว่างการเลี้ยง การให้อาหารพอเหมาะกับปริมาณกุ้งเป็นต้น

60

3.1 การก�ำจัด และควบคุมเชือ้ แบคทีเรีย ก่อโรคโดยการใช้สารฆ่าเชือ้ ในสภาวะปัจจุบนั ทีม่ ี การระบาดของโรคแบคทีเรียอีเอ็มเอสเป็นวงกว้าง จะพบการปนเปือ้ นของเชือ้ แบคทีเรีย วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส สายพันธุ์ก่อโรคในน�้ำจากภายนอกที่ จะน�ำมาใช้ในการเลีย้ งกุง้ ค่อนข้างมาก นอกจากนี้ ยังอาจมีการตกค้างของเชือ้ ทีผ่ วิ พืน้ บ่อ หรือไบโอฟิล์ม จากการเลี้ยงในรอบที่ผ่านมา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งบ่อที่พบความเสียหายของกุ้งจากโรคนี้ ดังนัน้ การก�ำจัดและควบคุมปริมาณเชือ้ แบคทีเรีย นี้ให้หมดไป หรือให้มีปริมาณลดน้อยลงโดยสาร ฆ่าเชื้อที่นิยมใช้กันทั่วไป ได้แก่ คลอรีนผง ความ เข้มข้น 30 - 35 พีพเี อ็ม ในการเตรียมน�ำ้ ก่อนปล่อย กุ้ง หรือใช้ท�ำความสะอาดพื้นผิว หรือเวอร์คอน 1.2 - 2.0 พีพเี อ็ม สามารถใช้ในการเตรียมน�ำ้ ใช้ทำ� ความสะอาดพื้นผิว และใช้ตัดเชื้อแบคทีเรียในน�้ำ ระหว่างที่มีกุ้งอยู่ในบ่อได้ ถึงแม้ว่าการจะก�ำจัด เชื้อแบคทีเรียนี้ให้หมดไปจะเป็นเรื่องที่ทำ� ได้ยาก แต่การลดปริมาณเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส สายพันธุ์ก่อโรคในน�้ำให้เหลือน้อย ที่สุดก็จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการควบคุม เชื้อแบคทีเรียในร่างกายกุ้ง และช่วยลดความ เสียหาย เพิ่มอัตรารอด และเพิ่มประสิทธิภาพ ในการเลี้ยงได้มาก 3.2 การสร้างสมดุลของจุลินทรีย์ในบ่อ เลี้ยงด้วยโปรไบโอติก ถือเป็นขั้นตอนที่ส�ำคัญ ถัดจากการก�ำจัดและควบคุมเชื้อแบคทีเรียก่อ โรคโดยการใช้สารฆ่าเชื้อ เนื่องจากสารฆ่าเชื้อจะ ท�ำให้จลุ นิ ทรียท์ มี่ อี ยูใ่ นน�ำ้ ตามธรรมชาติทงั้ ชนิดที่ เป็นประโยชน์ และชนิดที่ก่อโรค ถูกท�ำลายเกือบ ทัง้ หมด กอปรกับ หากสภาพแวดล้อมของบ่อเลีย้ ง

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Market Leader รูปที่ 3 แบคทีเรียวิบริโอเรืองแสง พบได้ในน้�ำที่มีความเค็มสูง โดยเฉพาะช่วงหน้าร้อน

รูปที่ 4 การดูดตะกอนสารอินทรีย์ตลอดการเลี้ยง ช่วยลดอาหารของเชื้อแบคทีเรียก่อโรค

เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย ก่อโรคแล้ว ก็จะท�ำให้เชื้อแบคทีเรียก่อโรคเพิ่ม จ�ำนวนได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น การควบคุมไม่ให้ เชื้อแบคทีเรียก่อโรคที่เหลืออยู่ในปริมาณต�่ำ เพิ่ม จ�ำนวนขึน้ จนก่อให้เกิดปัญหาต่อกุง้ ได้นนั้ สามารถ ท� ำ ได้ ด ้ ว ยการเติ ม จุ ลิ น ทรี ย ์ โ ปรไบโอติ ก ที่ เ ป็ น ประโยชน์ลงไปในน�้ำ (Bio - Augmentation) ให้มี ปริมาณมาก และมีความหลากหลายเพียงพอ เช่น การใช้จุลินทรีย์ไบโอรีดอก ไบโอทริม ซุปเปอร์ พีเอส ซุปเปอร์ไบโอติก เพื่อให้เกิดการแข่งขัน แข่งข่ม (Competitive Exclusion) และควบคุม การเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียก่อโรค ท�ำให้ เกิดสมดุลของปริมาณจุลินทรีย์ในบ่อกับอาหาร ในน�้ำ การใช้โปรไบโอติก ควรใช้เป็นโปรแกรม อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ช่วงการเตรียมน�้ำก่อนลงกุ้ง ระหว่างการเลีย้ งจนกระทัง่ จับกุง้ นอกจากนี้ ยังควร ให้โปรไบโอติกชนิดผสมอาหารอีกด้วย เช่น ไซมิติน พลัส เพื่อให้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์เข้าไป ยึดเกาะพื้นที่ในทางเดินอาหาร โดยเฉพาะส่วน ของกระเพาะอาหารและล�ำไส้ ท�ำให้เชือ้ แบคทีเรีย ก่อโรคไม่สามารถมายึดเกาะ และเจริญเติบโต แล้ว สร้างสารพิษออกมาท�ำลายตับกุง้ ท�ำให้ความเสีย่ ง ของการเกิดโรคติดเชื้อแบคทีเรียนี้ต�่ำลงได้อย่าง มาก

3.3 การลดสารอินทรีย์ในขั้นตอนการ เตรียมบ่อ เตรียมน�้ำ เป็นการควบคุมไม่ให้เกิด สภาวะทีเ่ อือ้ ต่อการเจริญเติบโตของเชือ้ แบคทีเรีย ก่อโรค เกษตรกรควร ฉีด ล้างบ่อให้สะอาด แล้ว ดูดของเสียน�ำไปเก็บไว้ในบ่อเก็บเลน ตากบ่อให้ แห้ง ส่วนการเตรียมน�้ำพร้อมใช้ สามารถท�ำการ ลดปริมาณสารอินทรีย์คาร์บอนที่ละลายน�้ำ (Dissolved Organic Carbon, DOC) ซึ่งเป็นสาร อาหารทีส่ ำ� คัญทีท่ ำ� ให้เชือ้ แบคทีเรียก่อโรคเกิดการ เจริญเติบโตและเพิ่มจ�ำนวนในน�้ำโดยการใช้สาร ฆ่าเชื้อโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต/ด่างทับทิม (โดสขึ้ น กั บ สารอิ น ทรี ย ์ ที่ ห ลงเหลื อ จากการท� ำ โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต ดีมานด์) เพื่อตก ตะกอน และออกซิไดซ์สารอินทรีย์ในน�้ำ น�้ำที่ พร้อมใช้ควรมีค่า DOC ต�่ำกว่า 1.0 พีพีเอ็ม ถ้า สามารถควบคุมให้นำ�้ พร้อมใช้มคี า่ DOC ต�ำ่ ๆ จะ ท�ำให้เชือ้ แบคทีเรียก่อโรคทีเ่ หลือจากการบ�ำบัดน�ำ้ ไม่สามารถเพิ่มจ�ำนวน และเจริญเติบโตได้อย่าง รวดเร็ว ท�ำให้การควบคุมโดยการใส่โปรไบโอติก ลงไปแข่งขัน และยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ แบคทีเรียก่อโรคนั้นจะมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

61


Market Leader

4. การลดสารอินทรีย์ในน�้ำระหว่างการเลี้ยง การควบคุมสภาพแวดล้อม ในบ่อเลี้ยงกุ้งให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงกุ้งตลอดระยะเวลาการเลี้ยง เพื่อให้กุ้งอยู่สบาย ไม่เครียด ท�ำให้กุ้งมีสุขภาพดี และมีโอกาสเกิดโรคน้อยลง โดย ปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในระหว่างการเลี้ยง ได้แก่ การสะสมของสารอินทรีย์ในน�้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหมักหมมของของเสียที่ พืน้ บ่อทีเ่ กิดจากอาหารเหลือ ขีก้ งุ้ ซากกุง้ ตาย คราบเปลือกกุง้ ซากแพลงก์ตอนตาย การควบคุมสารอินทรียใ์ นบ่อไม่ให้มปี ริมาณสูง จะช่วยให้การจัดการคุณภาพน�ำ้ ท�ำได้ ง่ายขึ้น คุณภาพน�้ำจะไม่แกว่งมาก รวมทั้งสารพิษต่างๆ เช่น แอมโมเนีย ไนไตรท์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์ ในบ่อก็จะเกิดขึ้นน้อยลง การลดสารอินทรีย์ในน�้ำระหว่าง การเลี้ยงสามารถท�ำได้หลากหลายวิธี ขึ้นกับความหนาแน่น และความพร้อมของ ฟาร์ม เช่น การดูดของเสีย การเปลี่ยนถ่ายน�้ำ การใช้จุลินทรีย์โปรไบโอติกต่อเนื่อง การใช้ปลาบ�ำบัดตะกอน การใช้วัสดุจับตะกอนไว้ที่ก้นบ่อ การใช้สีน�้ำเทียมลดการ เจริญเติบโตของแพลงก์ตอน เป็นต้น การดูดเลนของเสียทีม่ ปี ระสิทธิภาพต้องท�ำให้ เลนมาตกรวมกันในหลุมรวมเลนกลางบ่อ (Shrimp Toilet) แล้วท�ำการดูดออกไปทิง้ ในบ่อเก็บเลนที่แยกไว้เป็นสัดส่วน (Sacrificed Sludge Pond) เพื่อรอการบ�ำบัด โดยต้องท�ำต่อเนือ่ งทุกวัน ตัง้ แต่วนั แรกของการลงกุง้ จนกระทัง่ จับ ควบคูไ่ ปกับการ เปลี่ยนถ่ายน�้ำที่สะอาด มีปริมาณน�้ำพร้อมใช้อย่างเพียงพอตลอดการเลี้ยง จะเห็นว่า ในปัจจุบันนี้ แม้ว่าจะยังไม่มีวิธีการที่สามารถลดความเสี่ยงจาก การเกิดโรคติดเชื้อแบคทีเรียในกุ้งได้ 100% แต่ก็มีวิธีการที่สามารถจ�ำกัด และ ควบคุมความเสียหาย โดยการควบคุมเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในน�้ำให้อยู่ในระดับต�่ำๆ ตลอดระยะเวลาการเลี้ยงกุ้งได้ อย่างไรก็ตาม การที่จะประสบความส�ำเร็จในการ ต่อสู้กับโรคติดเชื้อแบคทีเรีย เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจ�ำเป็นต้องทุมเท เอาใจใส่ และ ให้ความส�ำคัญกับทุกๆ รายละเอียดในทุกขั้นตอนของการเลี้ยงอย่างจริงจัง จึงจะ ท�ำให้มีโอกาสที่จะประสบความส�ำเร็จในการเลี้ยงกุ้งได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ มีประสิทธิผลสูงสุด

62

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Around the World

อหิวาต์สุกรระบาด ใน เวียดนาม กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรเวียดนาม แถลงในเว็บไซต์ว่า เวียดนาม ก�ำลังรับมือการแพร่ระบาดของอหิวาต์สุกรแอฟริกัน หลังพบสุกรติดเชื้ออหิวาต์ สุกรแอฟริกันครั้งแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ขณะนี้แพร่ระบาดไปแล้ว 42 จังหวัด จากทั้งหมด 63 จังหวัด เป็นการระบาดที่อันตรายที่สุด และสร้างความเสียหาย มากที่สุดในประวัติศาสตร์ประเทศ แม้เชื้อไวรัสนี้มีมาเกือบร้อยปีแล้ว แต่ก็ยังไม่มี วัคซีนป้องกัน หรือยารักษา ขณะที่การควบคุมการระบาดก็ท�ำได้ยาก เนื่องจาก เชื้อไวรัสสามารถมีชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมได้นานโดยที่หยุดการเติบโต แต่ ไม่ตาย และสามารถแพร่ระบาดได้หลายวิธี ขณะที่องค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ หรือเอฟเอโอ (FAO) แนะน�ำตั้งแต่เดือนมีนาคม ให้เวียดนาม ประกาศให้อหิวาต์สุกรแอฟริกันระบาดเป็นเหตุฉุกเฉินระดับชาติ ชาวเวียดนาม บริโภคเนื้อหมูมากถึงสามในสี่ของอาหารทั้งหมด สุกรที่เลี้ยงทั่วประเทศ 30 ล้าน ตัว ส่วนใหญ่เลี้ยงเพื่อการบริโภคของคนในประเทศ 90 ล้านคน

ที่มา : แนวหน้า ฉบับวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

63


Around the World

ฮ่องกงพบการระบาด ของอหิวาต์สุกรแอฟริกัน

ทางการฮ่องกงเตรียมฆ่าหมู 6,000 ตัว ที่ฟาร์มแห่งหนึ่ง หลังพบมีการแพร่ระบาดของ โรคอหิวาต์สุกรแอฟริกัน (เอเอสเอฟ) ซึ่งพบเป็นครั้งแรก ส�ำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากเขตบริหารพิเศษฮ่องกง ประเทศจีน เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ว่าส�ำนักงานอาหารและสาธารณสุขของฮ่องกงออกแถลงการณ์เมื่อวันศุกร์ ว่าเจ้าหน้าที่อาจต้องฆ่าสุกร มากถึง 6,000 ตัว ในฟาร์มแห่งหนึ่ง หลังพบการแพร่ระบาดของโรคอหิวาต์สุกรแอฟริกัน (เอเอสเอฟ) ที่ฟาร์มแห่งดังกล่าว ถือเป็นครั้งแรกที่มีรายงานการแพร่ระบาดของเชื้อเอเอสเอฟบนเกาะฮ่องกง ซึ่ง รายงานของภาครัฐระบุว่า หมูที่ติดเชื้อน�ำเข้ามาจากฟาร์มแห่งหนึ่งในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของ จีน และไม่ห่างจากฮ่องกงมากนัก ทั้งนี้ นับตั้งแต่พบการแพร่ระบาดของเชื้อเอเอสเอฟในประเทศเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนสิงหาคม ปีทแี่ ล้ว รัฐบาลปักกิง่ พยายามอย่างหนักในการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ทีแ่ พร่กระจาย ไปแล้วในอย่างน้อย 23 มณฑล นอกจากนี้ ยังมีการแพร่ระบาดข้ามพรมแดนมายังพื้นที่บางส่วนของ เวียดนาม ลาว กัมพูชา และไทยด้วย ขณะที่มีรายงานสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อเอเอสเอฟ ในพื้นที่บางส่วนของยุโรป รวมถึงรัสเซีย เยอรมนี และเดนมาร์ก แม้เอเอสเอฟเป็นโรคทีย่ งั ไม่มคี วามเสีย่ งต่อมนุษย์ แต่จะส่งผลกระทบอย่างหนักต่ออุตสาหกรรม เนื้อหมูในภูมิภาค ยิ่งไปกว่านั้น นักวิทยาศาสตร์ยังไม่ประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาวัคซีนป้องกัน โรคอหิวาต์สุกรแอฟริกันด้วย

ที่มา : เว็บไซต์ เดลินิวส์ วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

64

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Around the World

ส่งออกกุ้งไทย 4 เดือนแรก ปี 2562 การส่งออกกุ้งของไทย เดือนมกราคม-เมษายน 2562 หน่วย : ปริมาณ-ตัน, มูลค่า-ล้านบาท

ประเทศ/กลุ่มประเทศ เอเชีย - จีน - ญี่ปุ่น - อื่นๆ สหรัฐอเมริกา อียู ออสเตรเลีย อื่นๆ รวม

ม.ค.-เม.ย.61 ปริมาณ 28,621 3,668 11,993 12,960 13,244 1,708 1,849 2,607 48,029

มูลค่า 8,445 1,134 4,212 3,099 4,782 599 700 857 15,383

ม.ค.-เม.ย.62 ปริมาณ 27,600 6,403 11,732 9,465 11,662 1,812 1,397 2,286 44,757

มูลค่า 7,752 1,797 4,086 1,869 3,932 622 471 672 13,449

% แตกต่าง ปริมาณ -3.57 74.56 -2.18 -26.97 -11.95 6.09 -24.45 -12.31 -6.81

มูลค่า -8.21 58.47 -2.99 -39.69 -17.77 3.84 -32.71 -21.59 -12.57

ที่มา : กรมศุลกากร

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

65


Around the World

ข้อมูลน�ำเข้ากุ้ง 2 ตลาดหลัก ตารางที่ 1 การน�ำเข้ากุ้งแช่แข็งของญี่ปุ่น (มกราคม-มีนาคม 2562) ประเทศ

เวียดนาม อินเดีย อินโดนีเซีย อาร์เจนตินา ไทย จีน แคนาดา พม่า รัสเซีย บังคลาเทศ กรีนแลนด์ อื่นๆ รวม

ที่มา : www.e-stat.go.jp

ม.ค.-มี.ค. 61

5,765 4,711 5,477 3,515 2,650 1,752 1,153 958 1,152 391 394 2,798 30,716

ม.ค.-มี.ค. 62

5,933 5,166 4,909 4,303 2,447 1,254 1,164 651 504 478 211 3,135 30,155

หน่วย : ตัน

% แตกต่าง

2.91 9.66 -10.37 22.42 -7.66 -28.42 0.95 -32.05 -56.25 22.25 -46.45 12.04 -1.83

ตารางที่ 2 การน�ำเข้ากุ้งของสหรัฐอเมริกา (มกราคม-มีนาคม 2562) ประเทศ อินเดีย อินโดนีเซีย เอกวาดอร์ เวียดนาม ไทย เม็กซิโก จีน อาร์เจนตินา เปรู ฮอนดูรัส กายานา อื่นๆ รวม

ม.ค.-มี.ค. 61 48,456 34,310 19,756 10,567 11,305 5,968 11,285 2,514 2,257 1,977 2,601 4,136 155,132

ม.ค.-มี.ค. 62 56,995 29,454 17,336 9,696 9,025 6,821 4,521 2,772 2,049 1,515 1,421 4,387 145,992

ที่มา : U.S. Department of Commerce and Census Bureau, NOAA

66

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

หน่วย : ตัน

% แตกต่าง

17.62 -14.15 -12.25 -8.24 -20.17 14.29 -59.94 10.26 -9.22 -23.37 -45.37 6.07 -5.89




ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

67

ปี 2559 ปริมาณ มูลค่า

ชั้น 1 สาธารณรัฐประชาชนจีน 43,481.46 1,884.80 ญี่ปุ่น 6,149.40 258.02 ไต้หวัน 7,417.00 276.97 มาเลเซีย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 24,243.34 1,122.18 ฟิลิปปินส์ 221.96 8.74 ศรีลังกา 44.00 0.79 อินโดนีเซีย 5,497.76 219.41 บังคลาเทศ 5,736.32 214.91 อินเดีย 900.00 45.17 ลิทัวเนีย 80.00 3.70 รวม ชั้น 1 93,771.24 4,034.69 ชั้น 2 สาธารณรัฐประชาชนจีน 23,226.14 805.02 ญี่ปุ่น 5,899.70 203.56 ไต้หวัน 3,505.40 114.21 บังคลาเทศ 4,660.00 180.29 ออสเตรเลีย รวม ชั้น 2 37,433.24 1,308.00

ประเทศ 1,195.11 27,558.15 46.91 4,003.00 90.43 2,912.98 160.00 147.12 12,032.60 3.81 1.51 216.70 4,747.50 214.74 2,700.00 1.75 1,918.08 54,114.23

397.31 17.98 28.80 1.62 188.43 32.83 666.96

ปี 2562 (ม.ค.-เม.ย.) ปริมาณ มูลค่า

727.09 10,855.20 37.89 500.00 36.79 800.00 4.89 40.00 299.88 4,960.00 173.25 22.20 959.42 1,301.98 18,114.62

ปี 2561 (ม.ค.-เม.ย.) ปริมาณ มูลค่า

1,153.21 16,857.05 162.41 900.00 115.24 927.70 7.59 100.00 543.90 6,455.00 218.05 3,805.00 104.97 620.00 2,305.37 29,664.75

ปี 2561 ปริมาณ มูลค่า -35.60 -44.44 100.00 -60.00 -23.16 -100.00 54.75 -38.94

-45.36 -52.56 100.00 -66.82 -37.17 -100.00 47.87 -48.77

% เปลี่ยนแปลง (62/61) ปริมาณ มูลค่า

Around the World

▶▶▶

18,180.00 618.83 21,806.00 822.52 4,818.80 169.48 10,175.26 309.35 111.16 82.54 4,800.00 163.21 9,120.00 329.04 2,420.00 89.32 3,200.00 99.58 32.23 11.48 1,542.70 49.95 700.00 24.93 200.00 6.82 - -100.00 -100.00 3,900.00 149.14 1,320.00 51.12 800.00 31.51 1,000.00 30.17 - 1,000.00 39.31 - 1,200.00 43.23 100.00 100.00 28,422.70 981.12 33,946.00 1,266.91 8,238.80 297.13 15,575.26 482.33 89.05 62.33

29,344.00 1,160.00 2,585.40 3,388.00 99.67 88.00 5,477.56 5,715.15 41.00 47,898.78

ปี 2560 ปริมาณ มูลค่า

ปริมาณ : เมตริกตัน  มูลค่า : ล้านบาท

สถิติการส่งออกสินค้ามาตรฐานปลาป่น ตามรายงานการส่งสินค้ามาตรฐานออกนอกราชอาณาจักร


68

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

ประเทศ

ชั้น 3 สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ บังคลาเทศ อินเดีย ไต้หวัน ออสเตรเลีย รวม ชั้น 3 รวมทั้งสิ้น

◀◀◀

100.00 6,820.00 638.50 1,660.00 40.00 2,300.00 11,558.50 142,762.98

ปี 2562 (ม.ค.-เม.ย.) ปริมาณ มูลค่า

700.00 23.75 800.00 22.00 160.00 4.75 51.84 51.84 1,660.00 50.50 1,650.96 35,349.88 1,199.79

ปี 2561 (ม.ค.-เม.ย.) ปริมาณ มูลค่า

6.40 3.65 51.84 1,400.00 61.89 1,400.00 3,634.17 39,303.55

ปี 2561 ปริมาณ มูลค่า

3.42 200.00 144.09 3.32 120.00 94.33 1,400.00 245.15 1,720.00 3,144.35 89,780.23

ปี 2560 ปริมาณ มูลค่า

3.44 100.00 242.95 4,000.00 19.92 100.00 57.81 0.67 90.60 2,520.00 415.40 6,720.00 5,758.09 83,041.48

ปี 2559 ปริมาณ มูลค่า 100.00 100.00 100.00 -100.00 18.57 -10.06

100.00 100.00 100.00 -100.00 -2.59 -27.33

% เปลี่ยนแปลง (62/61) ปริมาณ มูลค่า

Around the World


ราชกิจจานุเบกษา

Around the World

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๕๓ ง

๑๔ มิถุนายน ๒๕๖๒

ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง ก�ำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการท�ำลายสัตว์ที่เป็นโรคระบาด หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือสัตว์หรือซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด พ.ศ. ๒๕๖๒ เพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับการท�ำลายสัตว์ทเี่ ป็นโรคระบาด หรือมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือสัตว์ หรือซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตลอดจนเพื่อให้เกิด ความปลอดภัยด้านอาหาร และการลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๓ (๔) ประกอบมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘ อธิบดีกรมปศุสัตว์จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับนับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๒ ให้ยกเลิกประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง ก�ำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการท�ำลายสัตว์ที่เป็นโรค ระบาด หรือมีเหตุอนั ควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือสัตว์ หรือซากสัตว์ทเี่ ป็นพาหะของโรคระบาด พ.ศ. ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “สัตว์” หมายความว่า สัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ “ซากสัตว์” หมายความว่า (๑) ร่างกายหรือส่วนของร่างกายสัตว์ที่ตายแล้ว (๒) สิ่งใดๆ ที่ได้จากสัตว์ที่มีชีวิตหรือสัตว์ที่ตายแล้ว (๓) อาหารสุกที่ท�ำ ประกอบ หรือปรุงจากซากสัตว์ ตามที่รัฐมนตรีประกาศก�ำหนด (๔) สิ่งประดิษฐ์ส�ำเร็จรูปที่ท�ำจากซากสัตว์ตามที่รัฐมนตรีประกาศก�ำหนด “โรคระบาด” หมายความว่า โรคระบาดตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ “พาหะของโรคระบาด” หมายความว่า พาหะของโรคระบาดตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ “สัตวแพทย์” หมายความว่า สัตวแพทย์ตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ “สัตว์ที่เป็นโรคระบาด” หมายความว่า สัตว์ที่ได้รับเชื้อโรคระบาดทั้งที่แสดงอาการและไม่แสดงอาการ “สัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด” หมายความว่า สัตว์ที่สัตวแพทย์พิจารณาแล้วเห็นว่า มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

69


Around the World

(๑) เป็นสัตว์ที่มาจากแหล่งที่เกิดโรคระบาดหรือสงสัยว่ามีโรคระบาดและมีโอกาสสัมผัสกับเชื้อโรค ระบาด (๒) เป็นสัตว์ที่ไม่ทราบแหล่งที่มาและมีอาการคล้ายโรคระบาด “สัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด” หมายความว่า สัตว์ซึ่งไม่ปรากฏอาการของโรคระบาด แต่มีเชื้อ โรคระบาด หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าได้รับเชื้อโรคระบาดซึ่งอาจติดต่อคนหรือสัตว์อื่นได้ “ซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด” หมายความว่า (๑) ซากสัตว์ที่มาจากสัตว์ที่เป็นโรคระบาด หรือสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือสัตว์ ที่เป็นพาหะของโรคระบาด หรือ (๒) ซากสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีเชื้อโรคระบาด เช่น ซากสัตว์มาจากแหล่งที่มีโรคระบาด หรือ สงสัยว่ามีโรคระบาด หรือไม่ทราบแหล่งที่มา หรือไม่มีเอกสารรับรองสุขศาสตร์ซากสัตว์จากหน่วยงานที่ รับผิดชอบ หรือไม่มีหีบห่อที่ป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรคได้ เป็นต้น “ผูม้ อี ำ� นาจสัง่ ท�ำลาย” หมายความว่า สัตวแพทย์ หรือผูร้ กั ษาราชการแทน หรือผูร้ กั ษาการในต�ำแหน่ง ที่เป็นสัตวแพทย์แห่งท้องที่ที่พบสัตว์ที่เป็นโรคระบาด หรือสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือ สัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด หรือซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด แล้วแต่กรณี ข้อ ๔ ในการท�ำลายสัตว์ที่เป็นโรคระบาด หรือสัตว์ท่ีมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือ การท�ำลายสัตว์ หรือซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาดตามระเบียบนี้ ให้ผู้มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายด�ำเนินการ เพื่อให้เจ้าของสัตว์ หรือซากสัตว์ได้รับค่าชดใช้ราคาสัตว์ หรือซากสัตว์ ตามอัตราที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง ในกรณีทเี่ จ้าของสัตว์ หรือซากสัตว์ได้จงใจกระท�ำความผิดตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ เจ้าของ สัตว์ หรือซากสัตว์ จะไม่ได้รับค่าชดใช้ราคาสัตว์ หรือซากสัตว์ที่ถูกสั่งท�ำลาย ข้อ ๕ ให้ผู้อ�ำนวยการส�ำนักควบคุม ป้องกัน และบ�ำบัดโรคสัตว์รักษาการตามประกาศนี้ หมวด ๑ การท�ำลายสัตว์ที่เป็นโรคระบาด หรือสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด ข้อ ๖ สัตว์ที่เป็นโรคระบาด หรือสัตว์ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือสัตว์ที่เป็นพาหะ ของโรคระบาด ให้สัตวแพทย์ตามข้อ ๖ ซึ่งเป็นผู้มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายออกค�ำสั่งเป็นหนังสือให้ท�ำลายสัตว์ และ ให้ด�ำเนินการท�ำลายสัตว์ ณ จุดที่พบโรคระบาดสัตว์ หรือสถานที่อื่นใดที่สัตวแพทย์เห็นสมควร ข้อ ๗ ให้สัตวแพทย์ในต�ำแหน่งต่อไปนี้ มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายสัตว์ที่เป็นโรคระบาด หรือสัตว์ที่มี เหตุอนั ควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือสัตว์ทเี่ ป็นพาหะของโรคระบาดในเขตพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบตามชนิดของสัตว์ ต่อเจ้าของรายหนึ่งๆ ได้ไม่เกินจ�ำนวน ดังต่อไปนี้

70

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Around the World

(๑) ผู้อ�ำนวยการส�ำนักควบคุม ป้องกัน และบ�ำบัดโรคสัตว์ หรือผู้อ�ำนวยการกองสารวัตรและกักกัน มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายสัตว์ทั่วราชอาณาจักร (ก) ม้า โค กระบือ ลา ล่อ แพะ แกะ กวาง ชนิดใดชนิดหนึง่ หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๑,๐๐๐ ตัว (ข) สุกร หมูป่า ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ ตัว (ค) นก ไก่ เป็ด ห่าน ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๑,๐๐๐,๐๐๐ ตัว (ง) สุนัข แมว ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๕๐๐ ตัว (๒) ปศุสัตว์เขต มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายสัตว์ในพื้นที่เขตที่รับผิดชอบ (ก) ม้า โค กระบือ ลา ล่อ แพะ แกะ กวาง ชนิดใดชนิดหนึง่ หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๕๐๐ ตัว (ข) สุกร หมูป่า ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๕,๐๐๐ ตัว (ค) นก ไก่ เป็ด ห่าน ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ ตัว (ง) สุนัข แมว ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๒๐๐ ตัว (๓) ปศุสัตว์จังหวัด มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายสัตว์ในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ (ก) ม้า โค กระบือ ลา ล่อ แพะ แกะ กวาง ชนิดใดชนิดหนึง่ หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๑๐๐ ตัว (ข) สุกร หมูป่า ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๒,๐๐๐ ตัว (ค) นก ไก่ เป็ด ห่าน ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ ตัว (ง) สุนัข แมว ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๑๐๐ ตัว (๔) หัวหน้าด่านกักกันสัตว์ มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายสัตว์ในด่านกักกันสัตว์ หรือสถานที่กักกันสัตว์ที่อยู่ ภายใต้ความรับผิดชอบของด่านกักกันสัตว์นั้นๆ (ก) ม้า โค กระบือ ลา ล่อ แพะ แกะ กวาง ชนิดใดชนิดหนึง่ หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๕๐ ตัว (ข) สุกร หมูป่า ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๑,๐๐๐ ตัว (ค) นก ไก่ เป็ด ห่าน ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ ตัว (ง) สุนัข แมว ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๒๐ ตัว (๕) ปศุสัตว์อ�ำเภอ มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายสัตว์ในพื้นที่อ�ำเภอที่รับผิดชอบ (ก) ม้า โค กระบือ ลา ล่อ แพะ แกะ กวาง ชนิดใดชนิดหนึ่งหรือรวมกันรายละไม่เกิน ๕๐ ตัว (ข) สุกร หมูป่า ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๑,๐๐๐ ตัว (ค) นก ไก่ เป็ด ห่าน ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ ตัว (ง) สุนัข แมว ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือรวมกันรายละไม่เกิน ๕๐ ตัว การสั่งท�ำลายสัตว์จ�ำนวนที่เกินกว่าอ�ำนาจของปศุสัตว์อ�ำเภอ ให้เป็นอ�ำนาจของปศุสัตว์จังหวัด การสั่งท�ำลายสัตว์จ�ำนวนที่เกินกว่าอ�ำนาจของปศุสัตว์จังหวัด ให้เป็นอ�ำนาจของปศุสัตว์เขต การสั่งท�ำลายสัตว์จ�ำนวนที่เกินกว่าอ�ำนาจของหัวหน้าด่านกักกันสัตว์ ให้เป็นอ�ำนาจของผู้อ�ำนวยการ กองสารวัตรและกักกัน การสัง่ ท�ำลายสัตว์จำ� นวนทีเ่ กินกว่าอ�ำนาจของปศุสตั ว์เขต ให้เป็นอ�ำนาจของผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักควบคุม ป้องกัน และบ�ำบัดโรคสัตว์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

71


Around the World

ข้อ ๘ การสั่งท�ำลายสัตว์ชนิดอื่นตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ หรือจ�ำนวนที่เกินกว่าอ�ำนาจ ของผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักควบคุม ป้องกัน และบ�ำบัดโรคสัตว์ หรืออ�ำนาจของผูอ้ ำ� นวยการกองสารวัตรและกักกัน ให้เป็นอ�ำนาจของอธิบดีกรมปศุสัตว์ อธิบดีกรมปศุสัตว์มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายสัตว์ทั่วราชอาณาจักร ข้อ ๙ ในการท�ำลายสัตว์ทเี่ ป็นโรคระบาด หรือสัตว์ทมี่ เี หตุอนั ควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือสัตว์ ที่เป็นพาหะของโรคระบาดให้ด�ำเนินการตามหลักการการุณยฆาต โดยใช้วิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (๑) ใช้สารเคมีให้สัตว์กิน ฉีด หรือสูดดมเข้าร่างกายสัตว์เพื่อให้สัตว์นั้นตายโดยไม่ทรมาน (๒) ท�ำลายสัตว์ด้วยปืนชนิดยิงสัตว์โดยเฉพาะ ยิงสัตว์นั้นให้ตาย (๓) ท�ำลายสัตว์ด้วยอาวุธปืนตามกฎหมายว่าด้วยอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน และสิ่งเทียมอาวุธปืน (๔) ท�ำลายสัตว์ด้วยวิธีการช็อตด้วยไฟฟ้า (๕) กรณี นก ไก่ เป็ด ห่าน ให้ด�ำเนินการตาม (๑) หรือใช้วิธีการดึงคอให้สัตว์ตาย (๖) ท�ำลายสัตว์ด้วยวิธีอื่นตามที่ผู้มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายก�ำหนด ข้อ ๑๐ ซากสัตว์ซึ่งได้จากการท�ำลายในข้อ ๙ ให้ผู้ท�ำลายด�ำเนินการท�ำลายซากสัตว์นั้นตามวิธีการ ที่ก�ำหนดไว้ในข้อ ๑๒ หมวด ๒ การท�ำลายซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด ข้อ ๑๑ ซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด ให้สัตวแพทย์ตามข้อ ๖ ซึ่งเป็นผู้มีอ�ำนาจสั่งท�ำลาย ออกค�ำสั่งเป็นหนังสือให้ท�ำลายซากสัตว์นั้น และให้ด�ำเนินการท�ำลายซากสัตว์ ณ จุดที่พบโรคระบาด หรือ จุดที่พบซากสัตว์ หรือสถานที่อันใดที่สัตวแพทย์เห็นสมควร ข้อ ๑๒ ให้ท�ำลายซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด ตามลักษณะของซากสัตว์นั้น คือ (๑) ซากสัตว์ซึ่งมีลักษณะยังเป็นตัวสัตว์ทั้งตัวอยู่ (ก) ให้ผมู้ อี ำ� นาจสัง่ ท�ำลายมีคำ� สัง่ ให้ฝงั ซากสัตว์ในบริเวณทีด่ อนทีน่ ำ�้ ท่วมไม่ถงึ ห่างจากแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติ หรือไกลจากแหล่งชุมชน โดยให้สว่ นบนสุดของซากสัตว์อยูใ่ ต้ระดับผิวดินไม่นอ้ ยกว่า ๕๐ เซนติเมตร กรณีซากสัตว์ใหญ่ให้พนู ดินกลบหลุมเหนือระดับผิวดินไม่นอ้ ยกว่า ๕๐ เซนติเมตร และให้ใช้สารเคมีทสี่ ามารถ ท�ำลายเชื้อจุลินทรีย์หรือเชื้อโรคต่างๆ โดยการแช่ ราด หรือโรยที่ส่วนต่างๆ ของซากสัตว์นั้นจนทั่ว รวมถึง บริเวณปากหลุมที่ฝังซากสัตว์นั้นด้วย และท�ำการตรวจสอบดูแลพื้นที่ที่ฝังซากสัตว์ ป้องกันบุคคล หรือสัตว์ เข้าออกบริเวณสถานที่ฝังซากสัตว์ อย่างน้อย ๑๔ วัน หรือ (ข) ใช้ไฟเผาท�ำลายซากสัตว์นั้นให้ไหม้จนสิ้น หรือ (ค) ใช้วิธีการท�ำลายซากสัตว์ด้วยวิธีอื่นตามที่ผู้มีอ�ำนาจสั่งท�ำลายก�ำหนด

72

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Around the World

(๒) ซากสัตว์ซึ่งไม่มีลักษณะเป็นซากสัตว์ทั้งตัว หรือเป็นสิ่งใดๆ ที่ได้จากสัตว์ที่มีชีวิต หรือสัตว์ ที่ตายแล้ว ให้ท�ำลายตามวิธีที่ก�ำหนดใน (๑) กรณีซากสัตว์ที่ตัดออกจากสัตว์ขณะที่สัตว์ยังมีชีวิต เช่น งา เขา และขน เมื่อสัตวแพทย์พิจารณา แล้วเห็นว่าซากสัตว์นั้นยังใช้เป็นประโยชน์ได้ ให้จัดการท�ำลายเชื้อโรคระบาดด้วยวิธีพ่น แช่ ราด อบด้วยสาร เคมี หรือความร้อนที่สามารถท�ำลายเชื้อโรคได้ จนกว่าซากสัตว์นั้นปลอดจากเชื้อโรคระบาดตามหลักวิชาการ สัตวแพทย์ หมวด ๓ แบบเอกสาร ข้อ ๑๓ หนังสือสัง่ ท�ำลายสัตว์ หรือซากสัตว์ และเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องให้เป็นไปตามแบบทีก่ รมปศุสตั ว์ ก�ำหนด

ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

73


Around the World

เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๕๒ ง

ราชกิจจานุเบกษา

๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๒

ระเบียบกรมปศุสัตว์ ว่าด้วยการรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๒ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๓๕ วรรคสาม มาตรา ๓๖ วรรคสอง และมาตรา ๔๐ วรรคสี่ แห่ง พระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๙ อธิบดีกรมปศุสัตว์ออกระเบียบไว้ ดังนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๒ ระเบียบนีใ้ ห้ใช้บงั คับเมือ่ พ้นก�ำหนดหกสิบวันนับแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ข้อ ๔ ในระเบียบนี้ “เนื้อสัตว์” หมายความว่า เนื้อสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจ�ำหน่าย เนื้อสัตว์ “การรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์” หมายความว่า การรับรองว่าเนื้อสัตว์ผ่านการตรวจโดยพนักงาน ตรวจโรคสัตว์ มีความเหมาะสมที่จะน�ำเนื้อสัตว์ไปจ�ำหน่ายเพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ (๑) เพื่อการบริโภคของมนุษย์ (๒) น�ำไปผลิตหรือใช้เป็นอาหารสัตว์ (๓) วัตถุประสงค์อนื่ ๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับการบริโภค โดยให้ระบุวตั ถุประสงค์ของการจ�ำหน่ายให้ชดั เจน “ใบรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์” หมายความว่า เอกสารรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ที่ออกโดยพนักงาน ตรวจโรคสัตว์ตามแบบที่กรมปศุสัตว์ก�ำหนด “ตรารับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์” หมายความว่า เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ใช้รับรองเนื้อสัตว์ ตามแบบที่กรมปศุสัตว์ก�ำหนด “บรรจุภัณฑ์” หมายความว่า ภาชนะ หรือวัสดุที่ใช้บรรจุ หรือห่อหุ้มเนื้อสัตว์ ไม่ว่าด้วยการใส่ หรือ วิธีการใดๆ เพื่อป้องกันมิให้เนื้อสัตว์ได้รับการปนเปื้อน “สถานที่ปลายทาง” หมายความว่า (๑) สถานที่รับเนื้อสัตว์จากโรงฆ่าสัตว์ (๒) สถานที่รับเนื้อสัตว์จากสถานที่ฆ่าสัตว์นอกโรงฆ่าสัตว์ (๓) สถานที่รับเนื้อสัตว์จากสถานที่ช�ำแหละเนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ตายโดยมิได้ถูกฆ่า

74

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Around the World

หมวด ๑ การรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ฆ่าในโรงฆ่าสัตว์ ข้อ ๕ เมื่อพนักงานตรวจโรคสัตว์ท�ำการตรวจเนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ฆ่าในโรงฆ่าสัตว์เสร็จเรียบร้อย แล้ว และเห็นว่าเนื้อสัตว์นั้นเหมาะสมต่อการจ�ำหน่าย ไม่มีลักษณะตามประกาศกรมปศุสัตว์ ว่าด้วยเรื่องการ ก�ำหนดโรค หรือลักษณะของสัตว์หรือเนื้อสัตว์ที่ไม่เหมาะสมที่จะใช้เนื้อสัตว์นั้นเป็นอาหาร ให้พนักงานตรวจ โรคสัตว์รับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์โดยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (๑) จัดท�ำใบรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ ทั้งนี้ การออกใบรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ ให้ออกหนึ่งใบ ต่อหนึ่งสถานที่ปลายทาง (๒) อนุญาตให้น�ำเนื้อสัตว์บรรจุลงในบรรจุภัณฑ์ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้ (ก) ตราประทับรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ (ข) วันที่สัตว์เข้าฆ่า หรือรหัสในการบ่งชี้ชุดการผลิต (Lot number) ทั้งนี้ การใช้บรรจุภัณฑ์ตาม (๒) ต้องอยู่ในความควบคุมดูแลของพนักงานตรวจโรคสัตว์ และวันที่สัตว์ เข้าฆ่า หรือรหัสในการบ่งชี้ชุดการผลิต (Lot number) อาจปรากฏในรูปแบบรหัสคิวอาร์ (QR code) ได้ ข้อ ๖ เนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ฆ่าในโรงฆ่าสัตว์ที่เหมาะสมต่อการจ�ำหน่าย และมีใบรับรองให้จ�ำหน่าย เนื้อสัตว์ก�ำกับ หรือประทับตรารับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ฆ่าในโรงฆ่าสัตว์ หรือบรรจุอยู่ใน บรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ รี ายละเอียดตามข้อ ๕ (๒) ให้ถอื ว่าเนือ้ สัตว์นนั้ ได้รบั การรับรองให้จำ� หน่ายเนือ้ สัตว์ตามกฎหมาย ว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ หมวด ๒ การรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ตายโดยมิได้ถูกฆ่า และการรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ฆ่านอกโรงฆ่าสัตว์ ข้อ ๗ เมื่อพนักงานตรวจโรคสัตว์ท�ำการตรวจเนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ตายโดยมิได้ถูกฆ่า หรือเนื้อสัตว์ ของสัตว์ทฆี่ า่ นอกโรงฆ่าสัตว์เสร็จเรียบร้อยแล้ว และเห็นว่าเนือ้ สัตว์นนั้ เหมาะสมต่อการจ�ำหน่าย ไม่มลี กั ษณะ ตามประกาศกรมปศุสัตว์ว่าด้วยเรื่องการก�ำหนดโรค หรือลักษณะของสัตว์ หรือเนื้อสัตว์ที่ไม่เหมาะสมที่จะใช้ เนือ้ สัตว์นนั้ เป็นอาหาร ให้พนักงานตรวจโรคสัตว์ดำ� เนินการรับรองให้จำ� หน่ายเนือ้ สัตว์ โดยการจัดท�ำใบรับรอง ให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ตามข้อ ๕ (๑) ข้อ ๘ เนือ้ สัตว์ของสัตว์ทตี่ ายโดยมิได้ถกู ฆ่า และเนือ้ สัตว์ของสัตว์ทฆี่ า่ นอกโรงฆ่าสัตว์ทมี่ ใี บรับรอง ให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ก�ำกับ ให้ถือว่าเนื้อสัตว์นั้นได้รับการรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการ ควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

75


Around the World

หมวด ๓ การรายงาน ข้อ ๙ ให้พนักงานตรวจโรคสัตว์จัดท�ำรายงานผลการรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์ตามแบบรายงาน การรับรองให้จ�ำหน่ายเนื้อสัตว์แนบท้ายระเบียบนี้ และเสนออธิบดีกรมปศุสัตว์ตามที่กรมปศุสัตว์ก�ำหนด

76

ประกาศ ณ วันที่ 19 เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562


Around the World

แบบ รน.

เลขที่ ............................... ใบรับรองให้จำหน่ำยเนื้อสัตว์

ตำมพระรำชบัญญัติควบคุมกำรฆ่ำสัตว์เพื่อกำรจำหน่ำยเนื้อสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๙

เขียนที่ .......................................................... วันที่ ......... เดือน ....................... พ.ศ. ........ ข้าพเจ้า ............................................ พนักงานตรวจโรคสัตว์ ทะเบียนเลขที่ ........................... ได้ทาการตรวจ  เนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ฆ่าในโรงฆ่าสัตว์ ชื่อ ................................................................................. ใบอนุญาตประกอบกิจการฆ่าสัตว์ เลขที่ .............................................................................. ได้ทาการตรวจ  เนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ตายโดยมิได้ถูกฆ่า สถานทีส่ ัตว์ตาย ........................................................ ได้ทาการตรวจ  เนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ฆ่านอกโรงฆ่าสัตว์ สถานที่ฆ่าสัตว์ ........................................................... เรียบร้อยแล้ว รับรองว่าเนื้อสัตว์ดังกล่าวมีความเหมาะสมที่จะจาหน่าย  เพื่อการบริโภคของมนุษย์  เพื่อนาไปผลิตหรือใช้เป็นอาหารสัตว์  อื่น ๆ (ระบุ) ....................................................................................................................... โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ๑. วันที่นาสัตว์เข้าฆ่า/วันที่สัตว์ตาย ........................................... ๒. ชนิดสัตว์ .........................................  จานวน .................................. ตัว (กรณีจาหน่ายทั้งตัว) ๓. ชนิดสัตว์ .......................................  น้าหนักสุทธิ .......................... กิโลกรัม (กรณีจาหน่ายเป็นเนื้อสัตว์) ๓. รหัสในการบ่งชี้ชุดการผลิต (Lot number) และชุดย่อยการผลิต (Sub Lot number) (ถ้ามี) ...................... ......................................................................................................................................................................... ๔. สถานที่ปลายทาง .............................................. เลขที่ .................. หมู่ที่ ..... ถนน ........................................ ตาบล/แขวง ...................................... อาเภอ/เขต ................................... จังหวัด ........................................ ๕. ชื่อ-สุกล เจ้าของเนื้อสัตว์ ........................................................................ อยู่บ้านเลขที่ .................. หมู่ที่ ..... ถนน ........................................... ตาบล/แขวง ...................................... อาเภอ/เขต .................................... จังหวัด ......................................... โทรศัพท์ ...................................... ลงชื่อ ............................................. (.....................................) พนักงานตรวจโรคสัตว์ หมายเหตุ : การออกใบรับรองให้จาหน่ายเนื้อสัตว์ให้ออกหนึ่งใบรับรองต่อหนึ่งสถานที่ปลายทาง

วรฉัตร/ร่าง/พิมพ์/ทาน

/ตรวจ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

77


Around the World

แบบตรำรับรองให้จำหน่ำยเนื้อสัตว์ ตรารับรองให้จาหน่ายเนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ฆ่าในโรงฆ่าสัตว์

78

วรฉัตร/ร่าง/พิมพ์/ทาน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

/ตรวจ


Around the World

แบบรำยงำนกำรรับรองให้จำหน่ำยเนื้อสัตว์ ชื่อ-สกุล พนักงำนตรวจโรคสัตว์ ๑. ................................................................... ทะเบียน ........................................................ ชื่อ-สกุล พนักงำนตรวจโรคสัตว์ ๒. ................................................................... ทะเบียน ........................................................ ชื่อ-สกุล พนักงำนตรวจโรคสัตว์ ๓. ................................................................... ทะเบียน ........................................................  โรงฆ่ำสัตว์ชื่อ ....................................................................... ทะเบียนโรงฆ่ำสัตว์ ...............................................................  ชื่อสถำนทีช่ ำแหละเนื้อสัตว์ของสัตว์ที่ตำยโดยมิได้ถูกฆ่ำ หรือสถำนที่ฆ่ำสัตว์นอกโรงฆ่ำสัตว์ ........................................ สถำนที่ตั้ง .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................ ว /ด /ป

ชื่อ

สถำนที่ปลำยทำง

ที่อยู่

ชนิด เนื้อสัตว์

จำนวน (ตัว)

น้ำหนัก (กิโลกรัม)

วิธีกำรรับรอง รน บรรจุภัณฑ์

เลขที่ใบ รน.

หมำยเหตุ ๑) กรณีจาหน่ายเนื้อสัตว์เป็นลักษณะซากให้ระบุจานวนตัว หมายเหตุ ๒) กรณีรับรองโดยใบรับรองให้จาหน่ายเนื้อสัตว์ให้ระบุหมายเลขเอกสาร วรฉัตร/ร่าง/พิมพ์/ทาน

/ตรวจ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 36 เล่มที่ 186 พฤษภาคม - มิถุนายน 2562

79


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดท�ำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์

1 บริษัท เบทาโกร จ�ำกัด (มหาชน) 2 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ 3 บริษัท กรุงไทยอาหาร จ�ำกัด (มหาชน) 4 บริษัท ทีเอฟเอ็มเอส จ�ำกัด 5 บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) 6 บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สระบุรี 7 บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จ�ำกัด 8 บริษัท แลบอินเตอร์ จ�ำกัด 9 บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จ�ำกัด 10 บริษัท เออร์เบอร์ ไบโอเทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด 11 บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 12 บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด 13 บริษัท เกษตรภัณฑ์อุตสาหกรรม จ�ำกัด 14 บริษัท ไฟโตไบโอติกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 15 ลา เมคคานิค่า เอส.อาร์.ดิเรฟโฟ

โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 0-2937-4355 โทร. 0-2993-7500 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2817-6410 โทร. 0-2694-2498 โทร. 098-248-9771




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.